You are on page 1of 7

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(นั่งราน)

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานกอสราง วาดวยนั่งราน

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16 มีนาคม


พ.ศ.2515 จึงเห็นสมควรปรับปรุงประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานกอสราง ลง
วันที่ 10 มิถุนายน 2519 เพื่อกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยสําหรับลูกจางในงาน
กอสรางไดเปนไปโดยเหมาะสมยิ่งขึ้น กระทรวงมหาดไทยจึงออกประกาศดังตอไปนี้

ขอ 1 ใหยกเลิกประกาศประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานกอสราง ลงวันที่


10 มิถนุ ายน 2519

ขอ 2 ประกาศกระทรวงมหาดไทยนี้เรียกวา “ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการ


ทํางานกอสราง วาดวยนั่งราน”
ขอ 3 ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เปนตนไป

ขอ 4 ในประกาศนี้
“งานกอสราง” หมายความวา การประกอบการเกี่ยวกับการกอสรางอาคาร สนามบิน ทางรถไฟ ทางรถราง
ทาเรือ ทางนํ้า ถนน การโทรเลข โทรศัพท ไฟฟา กาซ หรือประปา และหมายความรวมถึงการตอเติม ซอมแซม
ซอมบํารุง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร หรือสิ่งกอสรางนั้นๆ ดวย
“อาคาร” หมายความวา อาคารตามความหมายที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร
“นัง่ ราน” หมายความวา ที่ปฏิบัติงานซึ่งจัดไวสูงจากพื้นดิน หรือสวนของอาคาร หรือสวนของงานกอสราง
สําหรับเปนที่รองรับของผูปฏิบัติงาน และหรือวัสดุในงานกอสรางเปนการชั่วคราว
“นัง่ รานเสาเรียงเดี่ยว” หมายความวา นั่งรานซึ่งมีที่ปฏิบัติงานเปนคานยึดติดกับเสาแถวเดี่ยว
ขอ 5 ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้มิใหใชบังคับแก
(1) งานกอสรางอาคารที่ใชไมเปนสวนใหญและมีความสูงจากพื้นดินถึงคานรับหลังคา ไมเกิน 7.00 เมตร
(2) งานซอมแซม หรือตกแตงอาคาร โดยใชผูปฏิบัติงานนั้นคราวละไมเกินสองคน
(3) งานติดตั้งประปา ไฟฟา หรืออุปกรณอื่นๆ โดยใชผูปฏิบัติงานนั้นคราวละไมเกินสองคน

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เลม 99 ตอนที่ 103 วันที่ 30 กรกฎาคม 2525


กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(นั่งราน)

หมวด 1
งานกอสราง
ขอ 6 การทํางานกอสรางซึ่งมีความสูงเกิน 2.00 เมตรขึ้นไป นายจางตองจัดใหมีนั่งรานสําหรับการ
กอสรางงานนั้น

หมวด 2
แบบนั่งราน
ขอ 7 นัง่ รานเสาเรียงเดี่ยวที่สูงเกิน 7.00 เมตรขึ้นไป หรือนั่งรานที่สูงเกิน 21.00 เมตรขึ้นไป นายจางตอง
จัดใหผูที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่ ก.ว กําหนด เปนผูออกแบบและกําหนด
รายการละเอียดนั่งราน

ขอ 8 นัง่ รานเสาเรียงเดียวที่สูงไมเกิน 7.00 เมตร หรือนั่งรานที่สูงไมเกิน 21.00 เมตร นายจางตองจัด


ใหผูที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่ ก.ว. กําหนด เปนผูออกแบบและกําหนด
รายการละเอียดนัง่ ราน หรือจะใชตามนั่งรานมาตรฐานประเภทตางๆ ตามกําหนดในขอ 12 ก็ได

ขอ 9 ในกรณีที่นายจางจะใหผูที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมที่ ก.ว.กําหนด


เปนผูออกแบบและกําหนดรายการละเอียดนั่งราน อยางนอยตองเปนไปตามขอกําหนด ดังตอไปนี้
(1) นัง่ รานทีส่ รางดวยไมตองใชไมที่ไมผุเปอย ไมมีรอยแตกราวหรือชํารุดอื่นๆ ที่จะทําใหไมขาดความ
แข็งแรงทนทาน และจะตองมีหนวยแรงดัดประลัย (Ultimate Bending Stress) ไมนอยกวา 500 กิโลกรัมตอตา
รางเซนติเมตร และมีสวนปลอดภัยไมนอยกวาสี่เทาของแรงดัดประลัย เวนแตไมที่ใชเปนไมไผตองมีหลักฐาน
เอกสารในการทดสอบความแข็งแรงของวัสดุที่จะใชจากสถาบันที่ทางราชการเชื่อถือได มีสวนปลอดภัยเพียงพอ
และใหเปนไปตามที่กําหนดไวในขอ 11(6)
ถาสรางดวยโลหะ ตองเปนโลหะที่มีจุดคราก (Yield Point) ไมนอยกวา 2,400 กิโลกรัมตอตาราง
เซนติเมตร และมีสวนปลอดภัยไมนอยกวาสองเทาของจุดคราก
(2) นัง่ รานตองสามารถรับนํ้าหนักบรรทุกไดไมนอยกวาสองเทาของนํ้าหนักแหงการใชงานสําหรับนั่งรานที่
สรางดวยโลหะ และไมนอยกวาสี่เทาของนํ้าหนักแหงการใชงานสําหรับนั่งรานที่สรางดวยไม
(3) ทีร่ องรับนั่งรานตองมีความมั่นคงแข็งแรง สามารถรับนํ้าหนักบรรทุกไดไมนอยกวาสองเทาของนํ้าหนัก
แหงการใชงาน
(4) โครงนั่งรานตองมีการยึดโยง คํ้ายันหรือตรึงกับพื้นดิน หรือสวนของงานกอสราง เพื่อปองกันมิใหเซ
หรือลม
(5) ตองมีราวกันตกมีความสูงไมนอยกวา 90 เซนติเมตร และไมเกิน 1.10 เมตร จากพื้นนั่งรานตลอด
แนวยาวดานนอกของพื้นนั่งราน นอกจากเฉพาะชวงที่จําเปนเพื่อขนถายสิ่งของ ยกเวนนั่งรานเสาเรียงเดี่ยว
(6) ตองจัดใหมีพื้นนั่งรานปูติดตอกันมีความกวางไมนอยกวา 35 เซนติเมตร ยึดกับตงใหแนน ยกเวนนั่ง
รานเสาเรียงเดี่ยว
(7) ตองจัดใหมีบันไดภายในของนั่งราน โดยใชไมหรือโลหะ มีความเอียงลาดไมเกิน 45 องศา ยกเวน
นัง่ รานเสาเรียงเดี่ยว
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(นั่งราน)

(8) ตองออกแบบเผื่อไวใหนั่งรานสามารถรับนํ้าหนักผาใบ สังกะสี ไมแผน หรือวัสดุอื่นที่คลายกันตามที่


กําหนดไวในขอ 10 และขอ 11 (7) ดวย

หมวด 3
การสรางนั่งราน
ขอ 10 การสรางนั่งราน นายจางตองดําเนินการตามแบบและรายละเอียดตามขอ 9 และตามขอกําหนด
ดังตอไปนี้
(1) นัง่ รานที่สรางดวยไม ถายึดดวยตะปู จะตองใชตะปูขนาดและความยาวเหมาะสม และจะตองตอกใหมี
จํานวนเพียงพอสําหรับขอตอหนึ่งๆ เพื่อใหมีความมั่นคงแข็งแรง จะตอกตะปูในลักษณะรับแรงถอนโดยตรงมิได
และตองตอกใหสุดความยาวของตะปู เมื่อรื้อนั่งรานออก จะตองถอนตะปูจากไมนั่งรานหรือตีพับใหหมด
(2) นัง่ รานที่มีการใชลฟิ ทขนสงวัสดุขึ้นลง ตองจัดใหมีการปองกันไมใหเกิดการกระแทกนั่งรานในระหวาง
นําวัสดุขึ้นลงได
(3) หามมิใหสรางนั่งรานยึดโยงกับหอลิฟท
(4) ตองจัดใหมีผาใบ หรือสังกะสี หรือไมแผน หรือวัสดุอื่นที่คลายกันปดรอบนอกของนั่งราน ยกเวน
นัง่ รานเสาเรียงเดี่ยว เพื่อปองกันอันตรายจากสิ่งของตก
(5) เหนือชองที่กําหนดใหเปนทางเดินตองปดคลุมดวยผาใบ หรือสังกะสี หรือไมแผน หรือวัสดุอื่นที่
คลายกันเพื่อปองกันอันตรายแกผูใชทางเดินนั้น

หมวด 4
การใชนั่งราน
ขอ 11 นายจางตองจัดใหมีการใชนั่งรานเปนไปตามขอกําหนด ดังตอไปนี้
(1) ถานั่งรานสวนใดชํารุด หรือนาจะเปนอันตรายตอการใชนั่งรานนั้น ตองทําการซอมแซมสวนนั้นทันที
และหามมิใหลูกจางทํางานบนนั่งรานสวนนั้นจนกวาจะซอมแซมเสร็จ
(2) ในขณะมีพายุ หามมิใหลูกจางทํางานบนนั่งราน
(3) กรณีทพี่ นื้ นั่งรานลื่น หามมิใหใชลูกจางทํางานบนนั่งรานสวนนั้น
(4) ในกรณีทลี่ กู จางทํางานใกลสายหรืออุปกรณไฟฟาที่ไมมีฉนวนหุม ตองไมใหใกลเกินระยะที่กําหนดไว
สําหรับแรงดันแตละระดับขางลางนี้ ทั้งในแนวระดับและแนวดิ่ง เวนแตนายจางจะไดจัดใหมีการปองกันอันตราย
จากไฟฟานั้น เชน ใชฉนวนหุมที่เหมาะสม
ระยะหางไมนอยกวา 2.40 เมตร สําหรับแรงดันไฟฟาที่เกิน 50 โวลท ถึง 12,000 โวลท
“ 3.00 “ “ 12,000 “ “ 33,000 “
“ 3.30 “ “ 33,000 “ “ 69,000 “
“ 3.90 “ “ 69,000 “ “ 115,000 “
“ 5.30 “ “ 115,000 “ “ 230,000 “
(5) ในกรณีทมี่ ีการทํางานแบบนั่งรานหลายๆ ชั้นพรอมกัน ตองจัดใหมีสิ่งปองกันมิใหเกิดอันตรายตอผูที่
ทํางานอยูชั้นลางได
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(นั่งราน)

(6) ในกรณีที่ใชสารเคมีที่มีปฏิกิริยาทําใหเชือกหรือปอที่ผูกหรือมัดนั่งรานเสื่อมคุณภาพได เชน การใช


โซดาไฟบนนั่งรานเพื่อทําความสะอาดภายนอกอาคาร หามมิใหใชนั่งรานที่ผูกหรือมัดดวยเชือก หรือปอ
(7) ในกรณีทใี่ ชมาตรฐานนั่งรานประเภทตางๆ ตามกําหนดในขอ 12 หามมิใหใชนํ้าหนักบรรทุกนั่งราน
โดยเฉลี่ยเกินกวา 150 กิโลกรัมตอตารางเมตร ระหวางชองเสา
สํ าหรับนั่งรานเสาเรียงเดี่ยว หามมิใหใชนํ้าหนักบรรทุกบนนั่งรานแตละชั้นโดยเฉลี่ยแลวเกินกวา 50
กิโลกรัมตอความยาว 1.00 เมตร

หมวด 5
นั่งรานมาตรฐาน
ขอ 12 นัง่ รานที่สูงไมเกิน 21.00 เมตร และนายจางมิไดใหผูที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพ
วิศกรรมควบคุมตามที่ ก.ว.กําหนด เปนผูออกแบบนั่งราน นายจางตองจัดทํานั่งรานใหเปนไปตามขอกําหนดตาม
ทีร่ ะบุไวในขอ 9 และขอ 10 กับขอกําหนดสําหรับนั่งรานมาตรฐานประเภทตางๆ ดังตอไปนี้
(1) ประเภทนัง่ รานเสาเรียงเดี่ยว สูงไมเกิน 7.00 เมตร สําหรับปฏิบัติงานทาสี
(ก) ถาใชไมไผทํานั่งราน ไมไผทุกลําจะตองมีขนาดเสนผาศูนยกลางเฉลี่ยไมตํ่ากวา 6 เซนติเมตร
วัดตรงกลางทอน การตอไมไผใหตอทาบ มีความยาวของสวนที่ทาบนั้นไมนอยกวา 1.00 เมตร มัดใหติดกันดวย
วิธีขันชะเนาะไมนอยกวาสองเปลาะ เชือกหรือปอที่ใชสํ าหรับผูกลํ าไมไผจะตองเปนเชือกหรือปอใหมมีความ
เหนียวพอสมควร และจะตองมีขนาดเสนผาศูนยกลางไมนอยกวา 2 เซนติเมตร
การตัง้ เสาไมไผ ใหตั้งหางกันไมเกิน 1.50 ไมไผที่ทําคานใหผูกติดกับเสาทุกตน เมื่อตั้งเสาใหใชไม
ไผทะแยงมุมไมเกิน 45 องศา กับแนวราบ โดยใหมัดยึดโยงกับเสาทุกตนสลับฟนปลาตลอดแนวแลวใหใชไมไผ
ผูกยึดนั่งรานกับเสาสมอฝงดิน โดยมีระยะหางกันไมเกิน 4.50 เมตร
ชัน้ ของนั่งรานแตละชั้น จะมีระยะหางกันเกิน 2.00 เมตรไมได
(ข) ถาใชไมชนิดอื่นทํานั่งราน ไมทุกชิ้นจะตองมีขนาดพื้นที่หนาตัดไมนอยกวา 24 ตาราง
เซนติเมตรและมีหนาแคบไมนอยกวา 3 เซนติเมตร ระยะหางของเสาคานและระยะระหวางชั้นของนั่งรานใหจัดทํา
เชนเดียวกับนั่งรานไมไผ และใชตะปูเปนเครื่องยึดนั่งราน
นัง่ รานประเภทนี้ จะใชรับนํ้าหนักเกินนํ้าหนักผูปฏิบัติงานและวัสดุเบาที่จะนํามาใชงานไมได
(2) ประเภทนัง่ รานสูงไมเกิน 7.00 เมตร สําหรับงานกอสราง
(ก) ถาใชไมไผทํานั่งรานไมไผทุกลําจะตองมีขนาดเสนผาศูนยกลางเฉลี่ยไมตํ่ากวา 6 เซนติเมตร
วัดตรงกลางทอน การตอไมไผใหตอทาบมีความยาวของสวนที่ทาบกันไมนอยกวา 1.00 เมตร โดยมัดใหติดกัน
ดวยวิธีขันชะเนาะไมนอยกวาสองเปลาะ เชือกหรือปอที่ใชสําหรับผูกลําไมไผ จะตองเปนเชือกหรือปอใหม มีความ
เหนียวพอสมควรและจะตองมีขนาดเสนผาศูนยกลางไมนอยกวา 2 เซนติเมตร
การตัง้ เสาไมไผ ใหตั้งหางกันไมเกิน 1.50 เมตร เปนสองแถว และระยะระหวางแถวคูเสาตองหาง
กันไมนอยกวา 50 เซนติเมตร และไมเกิน 79 เซนติเมตร โดยใชไมไผผูกเปนคานยึดกับเสาทุกตนทั้งสองขาง
ตงสําหรับรองรับพื้นใหใชไมเครา ซึ่งมีพื้นที่หนาตัดไมนอยกวา 24 ตารางเซนติเมตร ผูกติดกับคานไมไผในระยะ
หางกันไมเกิน 50 เซนติเมตร ไมที่ใชปูนั่งรานใหใชไมที่มีความหนาไมนอยกวา 2 เซนติเมตร ยึดติดตงใหแนน
เมื่อตั้งเสาและผูกคานแลว ใหใชไมไผผูกทะแยงกับเสาทุกตน โดยทํามุมกับแนวราบไมเกิน 45
องศา โดยผูกสลับฟนปลาตลอดทั้งแถวหนาและแถวหลัง
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(นั่งราน)

ใหใชไมไผผูกยึดนั่งรานกับสวนของอาคารซึ่งแข็งแรงพอ หรือผูกยึดกับเสาสมอฝงดิน แตจะหางกัน


เกิน 4.50 เมตรมิได
ชัน้ ของนั่งรานแตละชั้น จะมีระยะหางกันเกิน 2.00 เมตร มิได
(ข) ใหจัดทําราวกันตก โดยใชไมไผผูกกับเสาตามแนวนอน ระยะความสูงจากพื้นนั่งรานแตละชั้น
ไมตากว
ํ่ า 90 เซนติเมตร และสูงไมเกิน 1.10 เมตร ทุกชั้นของนั่งราน
นัง่ รานประเภทนี้ จะใชรับนํ้าหนักจรเกิน 150 กิโลกรัมตอตารางเมตร มิได
(3) ประเภทนัง่ รานสูงไมเกิน 12.00 เมตร สําหรับงานกอสราง
(ก) ตองใชเสาไมที่มีพื้นที่หนาตัดไมนอยกวา 33 ตารางเซนติเมตร และหนาแคบไมนอยกวา 3
เซนติเมตร การตั้งเสาแตละตนหางกันไมเกิน 2.00 เมตร โดยตั้งเปนสองแถวและระยะระหวางแถวคูเสาตองหาง
กันไมนอยกวา 50 เซนติเมตร และไมเกิน 75 เซนติเมตร เสาไมตองตั้งใหไดดิ่งกับพื้นดิน การตอเสาไมทุกแหง
ตองตอดวยวิธีชนกัน และมีไมทาบรอยชนนั้นทั้งสองดาน ไมทาบตองมีพื้นที่หนาตัดไมนอยกวาหนาตัดของเสา
และมีความยาวไมนอยกวา 60 เซนติเมตร
ไมทใี่ ชทําคาน ตองมีพื้นที่หนาตัดไมนอยกวา 33 ตารางเซนติเมตร ไมดังกลาวตองมีหนาแคบไม
นอยกวา 3 เซนติเมตร และมีหนากวางไมนอยกวา 9 เซนติเมตร ระยะหางคานแตละชั้นไมเกิน 2.00 เมตร การ
ตอคานใหตอที่เสา คานใหยึดติดกับเสา และตองมีพุกรับทุกแหง
ไมที่ใชทําตง ตองมีพื้นที่หนาตัดไมนอยกวา 24 ตารางเซนติเมตร หนาแคบไมนอยกวา 3
เซนติเมตร ระยะหางของตงแตละอันไมเกิน 50 เซนติเมตร และตงทุกอันตองยื่นปลายออกจากคานไมนอยกวา
10 เซนติเมตร โดยยึดใหติดกับคานทุกแหง
ไมที่ใชทําคํ้ายัน ตองมีขนาดไมนอยกวาไมที่ใชทําตง คํ้ายันจากพื้นดินขึ้นไปโดยตลอดเปนรูปสลับ
ฟนปลา และทะแยงมุม 45 องศา ถึง 60 องศา
พืน้ นั่งรานใหใชไมที่มีความหนาไมนอยกวา 2 เซนติเมตร ปูทับตรงรอยตอของพื้นตองปูชนและให
เสริมตงรับปลายของพื้นทุกแหงที่มีรอยตอแลวยึดกับตงใหแนน
อุปกรณที่ใชยึดนั่งรานใหใชตะปูที่มีความยาวพอเหมาะ หรือสลักเกลียวยึดทุกจุด
การยึดนั่งรานติดกับอาคาร คาน หรือเสาคอนกรีตรอบนอกของอาคาร ใหฝงเหล็กกลมขนาดเสนผา
ศูนยกลาง 6 มิลลิเมตร ยาวไมนอยกวา 30 เซนติเมตร ไวในคอนกรีตยื่นจากผิวคอนกรีตและมีระยะหางกันไม
เกิน 2.00 เมตร เหล็กกลมดังกลาวใหปลอยโผลไว เพื่อยึดเสานั่งรานโดยรอบอาคาร และใหจัดทําไมคํ้ายัน
ปองกันนั่งรานเซหรือลมเขาหาอาคารทุกชั้นของอาคาร
นัง่ รานตองทําบันไดสําหรับขึ้นไวภายใน โดยใชไมขนาดหนาแคบไมนอยกวา 3 เซนติเมตร และ
หนากวางไมนอยกวา 7 เซนติเมตร ตีเปนลูกขั้นบันได ระยะของลูกขั้นบันไดหางกันไมเกิน 50 เซนติเมตรตอขั้น
บันไดแตละขั้นตองทําใหเยื้องกัน แตไมเกิน 10.00 เมตร
(ข) ใหจัดทําราวกันตก โดยใชไมขนาดหนาแคบไมนอยกวา 3 เซนติเมตร และหนากวางไมนอย
กวา 7 เซนติเมตร ติดตั้งเคราดานในของเสาโดยรอบนั่งราน ราวดังกลาวตองสูงไมนอยกวา 90 เซนติเมตร แตไม
เกิน 1.10 เมตร
นัง่ รานประเภทนี้ จะใชรับนํ้าหนักจรเกิน 150 กิโลกรัมตอตารางเมตร มิได
(4) ประเภทนัง่ รานสูงไมเกิน 21.00 เมตร สําหรับงานกอสราง ใหเปนไปตาม (3) ทุกประการ เวนแต
เสาไมสี่เหลีย่ มตองมีหนาแคบไมนอยกวา 7 เซนติเมตร และใหเสาตั้งอยูหางกันไมเกิน 1.50 เมตร
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(นั่งราน)

หมวด 6
การคุมครองความปลอดภัย
ขอ 13 นายจางตองจัดใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับนั่งราน หรือบนหรือภายใตนั่งราน หรือบริเวณใกลเคียง
กับนัง่ ราน ตามประเภทและลักษณะการทํางาน อันอาจไดรับอันตรายจากการทํางานนั้นๆ สวมใสอุปกรณคุมครอง
ความปลอดภั ย ที่ เ หมาะสมกั บ ลั ก ษณะการทํ างานและภาวะอั น ตรายที่ อ าจได รั บ ตลอดเวลาที่ลูกจางทํ างาน
ดังตอ ไปนี้
(1) งานชางไม สวมหมวกแข็งและรองเทาชนิดหุมสนพื้นยาง
(2) งานชางเหล็ก สวมหมวกแข็ง ถุงมือผาหรือหนัง และรองเทาชนิดหุมสนพื้นยาง
(3) งานผสมปูนซีเมนต สวมหมวกแข็ง ถุงมือยาง หรือถุงมือที่ทําดวยวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติคลายคลึงกัน
และรองเทายางชนิดหุมแขง
(4) งานกออิฐ ฉาบปูน หรือตกแตงผิวปูน สวมหมวกแข็ง ถุงมือยาง หรือถุงมือที่ทําดวยวัสดุอื่นที่มี
คุณสมบัติคลายคลึงกัน และรองเทาชนิดหุมสนพื้นยาง
(5) งานประกอบโครงสราง ขนยาย และติดตั้ง สวมหมวกแข็ง ถุงมือผาหรือหนัง และรองเทาชนิดหุมสน
พื้นยาง
(6) งานทาสี สวมหมวกแข็ง และรองเทาชนิดหุมสนพื้นยาง
(7) งานประปา สวมหมวกแข็ง ถุงมือผาหรือหนัง และรองเทาชนิดหุมสนพื้นยาง
(8) งานชางกระจก สวมหมวกแข็ง ถุงมือผาหรือหนัง และรองเทาชนิดหุมสนพื้นยาง
ขอ 14 นายจางตองจัดใหลูกจางซึ่งทํางานในที่สูงเกิน 4.00 เมตร ซึ่งมีลักษณะโดดเดี่ยวและไมมีอุปกรณ
คุมครองความปลอดภัยหรือการปองกันอันตรายอยางอื่น สวมเข็มขัดนิรภัยและเชือกนิรภัยตลอดเวลาในการ
ทํางาน

หมวด 7
มาตรฐานเกี่ยวกับอุปกรณคุมครองความปลอดภัย
ขอ 15 อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลตองเปนไปตามมาตรฐาน ดังตอไปนี้
(1) หมวกแข็ง ตองเปนรูปโดมชั้นเดียว ไมมีตะเข็บ ไมมีรูทะลุ ตัวหมวกทําดวยวัตถุที่ไมใชโลหะหรือมี
สวนทีเ่ ปนโลหะ มีนํ้าหนักไมเกิน 420 กรัม เมื่อทดสอบการรับแรงกระแทก และการรับแรงเจาะตามวิธีทดสอบ
ตองลึกไมเกิน 1 เซนติเมตร ตามลําดับ
สวนบนสุดของรองในหมวกตองมีระยะหางจากยอดหมวกดานในไมนอยกวา 3 เซนติเมตร
(2) ถุงมือ ตองมีความเหนียว ไมฉีกขาดงาย มีความยาวหุมถึงขอมือ และเปนชนิดที่สวมนิ้วมือไดทุกนิ้ว
เมือ่ สวมแลวสามารถเคลื่อนไหวนิ้วมือไดสะดวก ถาเปนถุงมือยางตองสามารถกันนํ้าและกรดหรือดางไดดวย
(3) รองเทาชนิดหุมสนพื้นยาง ตองทําดวยหนังหรือผาหุมเทาตลอดและมีพื้นรองเทาเปนยางสามารถ
ปองกันการลื่นได
(4) เข็มขัดนิรภัยตองทําดวยหนัง หรือทําดวยดาย หรือใยไนลอน หรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติคลายคลึงกัน
ถักเปนแถบมีความกวางไมนอยกวา 5 เซนติเมตร สามารถทนแรงดึงไดไมนอยกวา 1,150 กิโลกรัม
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(นั่งราน)

(5) เชือกนิรภัย ตองสามารถทนแรงดึงไดไมนอยกวา 1,150 กิโลกรัม ถาเปนลวดสลิงตองมีเครื่องชวย


รับแรงกระตุกติดตั้งไวดวย
(6) รองเทายางชนิดหุมแขง ตองทําดวยยางหรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติคลายคลึงกันหุมเทาตลอดขึ้นไป มี
ความสูงไมตํ่ากวาครึ่งหนึ่งของหนาแขง สามารถกันนํ้าและกรดหรือดางไดดวย

หมวด 8
เบ็ดเตล็ด
ขอ 16 ขอกําหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยตามประกาศนี้ เปนมาตรฐานขั้นตํ่าที่ตองปฏิบัติเทานั้น
ขอ 17 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายในการปฏิบัติตามประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2525

พลเอก สิทธิ จิรโรจน


รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

You might also like