You are on page 1of 16

การจัดการวัสดุ

การจัดการวัสดุ (Material Management) จะเกีย่ วของกับการกําหนดปริมาณและระยะเวลา


ในการสั่งวัสดุ และการเตรียมการเพื่อใหการดําเนินงานราบรื่นตามแผนที่กําหนด
วัสดุคงคลัง (Inventory) เปนปจจัยสําคัญในการดําเนินงานของธุรกิจถึงแมองคการตางๆ จะ
มีความเขาใจในความหมายของวัสดุคงคลังแตผูบริหารและพนักงานในองคการกลับมีมุมมองและ
ความรูสึกที่แตกตางกันเกีย่ วกับวัสดุคงคลังและความสําคัญของมัน ตัวอยางเชน พนักงานขาย
ตองการใหมีสนิ คาคงคลังมากเพียงพอที่จะขาย หรือใหบริการแกลูกคาอยางรวดเร็ว ขณะที่นกั บัญชี
และนักการเงินกลับมองวา วัสดุคงคลังเปนสินทรัพยที่มสี ภาพคลองนอยกวาเงินสด ดังนั้นถา
ปริมาณวัสดุคงคลังมากแสดงวาอาจมีเงินทุนที่ไมถูกใชประโยชน หรือดําเนินงานขาดประสิทธิภาพ
เปนตน ดังนั้นผูบริหารจึงตองสามารถตัดสินใจ โดยถวงดุลระหวางประโยชนและตนทุนของวัสดุ
คงคลัง ประกอบกับความสอดคลองกับความตองการของทุกฝายและเปาหมายของธุรกิจ ซึ่งตองทํา
ความเขาใจในเรื่อตอไปนี้
หนาที่ของวัสดุคงคลัง (Functions of Inventories)
ปกติองคการตางๆจะมีวัตถุประสงคในการเก็บรักษาวัสดุคงคลังที่หลากหลายแตกตางกัน
อยางไรก็ดี เราสามารถจําแนกวัสดุคงคลังออกตามหนาทีไ่ ดเปน 5 ลักษณะคือ
1. วัสดุคงคลังแบบสงผาน (Transit Inventories) หรือวัสดุคงคลังในทอ (Pipeline Inventory)
เปนวัสดุคงคลังที่กําลังอยูในระหวางการเคลื่อนยายจากพืน้ ที่หนึ่งไปยังพื้นที่อื่นๆ
2. วัสดุคงคลังแบบปองกัน (Buffer Inventories) หรือปริมาณวัตถุดิบที่ปลอดภัย (Safety
Stock) เปนวัสดุคงคลังที่ธุรกิจเก็บไวเพื่อปองกันความไมแนนอนของปริมาณสินคาและ
ความตองการ โดยวัสดุคงคลังจะเปนกันชน (Cushion) เพื่อใหการดําเนินงานมีความ
ราบรื่นและตอเนื่อง โดยปองกันปญหาสินคาขาดมือ (Stock out) และการสั่งซื้อกลับ
(Backorder)
3. วัสดุคงคลังแบบลวงหนา (Anticipation Inventories) เปนวัสดุคงคลังที่จัดเก็บเพื่อปองกัน
ความเสี่ยงของสถานการณ เชน การขึ้นราคา การนัดหยุดงาน การเปลีย่ นแปลงตาม
สถานการณ หรือความผันผวนของสภาพเศรษฐกิจ เปนตน เพื่อใหการดําเนินงานมีคงาม
คงที่ไมขาดตอน หรือตองเรงกําลังการผลิต ตัวอยางเชน ผูผลิต ผูคาสง ผูคาปลีก และ
หางสรรพสินคาจะเก็บวัสดุลวงหนาในชวงเทศกาลปใหม เปนตน
4. วัสดุคงคลังแบบคูควบ (Decoupling Inventories) เปนระบบวัสดุคงคลังที่ชวยใหการ
หมุนเวียนของวัสดุ และกระบวนการผลิตดําเนินไปอยางราบรื่นในอัตราคงที่
5. วัสดุคงคลังแบบวงจร (Cycle Inventories) หรือวัสดุคงคลังที่สั่งซื้อ (Lot-size Inventory)
เปนปริมาณวัสดุคงคลังที่สั่งซื้อในรอบระยะเวลา เพื่อใหตนทุนการสั่งซื้อและการจัดเก็บ

Inventory Analysis 1
วัสดุคงคลังต่ําที่สุด โดยวัสดุคงคลังแบบวงจรเปนเครื่องมือสําคัญในการบริหารระบบวัสดุ
คงคลังธุรกิจ
ในทางปฏิบัตธิ ุรกิจตางๆ คงมิไดแยกเก็บวัสดุคงคลังตามหนาที่อยางชัดเจนตามที่กลาวมา และ
หลายธุรกิจก็ไมจําเปนที่จะตองมีวัสดุคงคลังในทุกหนาที่ แตเพื่อใหสามารถทําความเขาใจถึงความ
แตกตางของวัสดุคงคลังเพื่อใชในระบบการวางแผนจัดการวัสดุในเชิงรุก
รูปแบบของวัสดุคงคลัง (Forms of Inventories)
เราสามารถจําแนกวัสดุคงคลังออกเปน 4 รูปแบบดังตอไปนี้
1. วัตถุดิบ (Raw Materials) เปนวัตถุสินคา (Raw Materials) เปนวัตถุสินคา (Commodity)
วัสดุและชิน้ สวนตางๆ (Element) ที่นําเขาจากภายนอกองคการโดยการสั่งซื้อโดยตรงหรือ
โดยออม เพื่อใชในการผลิตผลิตภัณฑหรือบริการสําหรับลูกคา
2. พัสดุสําหรับธํารงรักษา ซอมบํารุงและดําเนินงาน (Maintenance, Repair and Operating
Supplies) หรือ MRO เปนวัสดุที่ใชในการสนับสนุนและธํารงรักษาการดําเนินงานของ
องคการ ไดแก อะไหล พัสดุ และอุปกรณในสโตร
3. งานระหวางทํา (Work in process) หรือ WIP เปนวัสดุคงคลังสําเร็จรูปเพื่อจัดเก็บและสง
มอบตอลูกคาตอไป โดยวัสดุคงคลังแบบควบคูจะเปนตัวอยางที่ดีของ WIP
4. สินคาสําเร็จรูป (Finished Goods) เปนผลลัพธที่ผานกระบวนการผลิตและจัดเก็บไว เพื่อรอ
การจัดจําหนายหรือสงตอไปยังบุคคลอื่น เชน ผูคาสง ผูคาปลีก หรือลูกคาเปนตน
เราจะเห็นวาระบบการดําเนินงานและระบบสินคาคงคลังจะมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกัน โดย
การบริหารวัสดุคงคลังจะมีผลกระทบตอการตอบสนองความตองการของลูกคา การใช
เครื่องมือและอุปกรณ กําลังการผลิตและแรงงาน ดังนั้นความสามารถในการบริหารวัสดุคงคลัง
ยอมจะทําใหธรุ กิจสามารถจัดการตนทุน และสามารถดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพ

Pipeline

Raw Warehouse Retail


Materials
Plan Store
Demand

WIP Finished
Goods

Inventory Analysis 2
การตัดสินใจเกี่ยวกับวัสดุคงคลัง
(Decisions in Inventory Management)
การจัดการวัสดุคงคลังจะมีวตั ถุประสงคสําคัญ เพื่อใหการตัดสินใจในระดับสินคาคงคลังที่
เหมาะสมและตองเปลี่ยนแปลงอยางไร ซึ่งผูบริหารวัสดุคงคลังจะตองตอบคําถามสําคัญ 2 ขอ
ตอไปนี้
1. เมื่อใดสมควรสั่งซื้อสินคา/วัตถุดิบ (When should an order be placed to replenish the
inventory?)
2. ปริมาณสินคาที่สมควรสั่งซื้อเปนเทาไร (How much should be ordered?)
• ความซับซอนของผลขึ้นอยูกับหลากหลายของตัวแปรตางๆในระบบ
• พิจารณาการวางแผนการผลิตและการควบคุมสินคาคงคลังการรองรับในอนาคต
ทั้งภายในและภายนอก
ประเภทของระบบการจัดการวัสดุคงคลัง
(Type of Inventory Management Systems)
เราสามารถแบงประเภทของการจัดการวัสดุคงคลัง ตามเวลาในการสั่งซื้อ (When to order)
ออกเปน 3 ลักษณะคือ
1. ระบบจุดสั่งซื้อ (Reorder Point Systems)
เปนระดับของวัสดุคงคลังที่ถูกกําหนดสําหรับการสั่งซื้อเขามาทดแทนสินคาเดิมทีถ่ ูกใชไปใน
ปริมาณทีแนนอน ซึ่งจะสั่งเมือ่ วัสดุคงคลังที่มีอยูในมือลดจํานวนลงถึงระดับที่กําหนดไว

Inventory Analysis 3
2. ระบบการตรวจสอบในรอบระยะเวลา (Periodic Review System)
ระดับของวัสดุคงคลังจะถูกตรวจสอบในแตละชวงเวลาที่เทากัน เพื่อจะทําการสั่งซื้อใน
จํานวนที่จะทําใหระดับของวัสดุคงคลังเปนไปตามตองการ โดยปริมาณการสั่งซื้อจะขึ้นอยู
กับระดับวัสดุคงคลังสูงสุด ซึ่งสามารถคํานวณจากสูตรตอไปนี้
RQ = ML - OI - OQ - DL
โดยที่ RQ = ปริมาณการสั่งซื้อใหม (Reorder Quantity)
ML = ระดับสูงสุด (Maximum Level)
OI = วัสดุคงคลังในมือ (On-hand Inventory)
OQ = ปริมาณที่กําลังสั่งซื้อ (On-order Quantity)
DL = ความตองการของเวลานํา

3. ระบบการวางแผนความตองการวัสดุ (Material Requirement Planning Systems) หรือ


ระบบ MRP
เปนระบบการจัดการการผลิตและวัสดุคงคลัง ซึ่งตองอาศัยปจจัยนําเขา (Input) 3 ประการ
ไดแก
• ตารางการผลิตหลัก (Master Production Schedule)
• แฟมใบกํากับวัสดุ (Bill of Material File) หรือแฟม BOM
• แฟมวัสดุคงคลังหลัก (Inventory Master File)

Inventory Analysis 4
โดยระบบมีผลลัพธ (Output) ที่สําคัญไดแก
• รายงานการสั่งซื้อ (Order Action Report)
• รานงานการเปดการสั่งซื้อ (Open Orders Report)
• รายงานแผนการสั่งซื้อ (Planned-order Release Report)

การแบงแยกวัสดุคงคลังแบบ ABC
ในทางปฏิบัติ ธุรกิจมีวัสดุคงคลังที่หลากหลาย จึงเปนไปไมไดที่ผูดแู ลจะสามารถดูแล
สินคาคงคลังทุกชนิดไดอยางเทาเทียมกัน จึงตองมีการจัดลําดับความสําคัญ เพื่อใหการจัดการระบบ
วัสดุคงคลังมีประสิทธิภาพ ซึ่งนิยมใช ระบบการจัดการวัสดุคงคลังแบบ ABC (ABC Classification
System) โดยมีระบบการแบงแยกแบบ ABC ซึ่งพิจารณาจากยอดเงินในการสั่งซื้อวัสดุคงคลังแตละ
ประเภทในแตละป เราเห็นวา มีสินคาบางประเภทที่มีปริมาณไมมากแตมีราคาสูง และสินคา
ประเภทมีปริมาณมากแตมีราคารวมต่ํา ซึ่งเปนปรากฏการณปกติในองคการตางๆ ที่จัดเก็บวัสดุคง
คลังหลากหลายซึ่งสมควรจําแนกออกเปน 3 ประเภทไดแก
1. รายการที่มีมูลคาสูง (High-value Items)
หมายถึง วัสดุคงคลังรอยละ 15 หรือ 20 ของรายการ ที่มีมลู คารวมถึงรอยละ 75 ถึง 80 ของ
คาใชจายวัสดุคงคลังใน 1 ป
2. รายการที่มีมูลคาปานกลาง (Medium-value Items)
หมายถึง วัสดุคงคลังรอยละ 30 ถึง 40 ของรายการ ที่มีมลู คารวมประมาณรอยละ 15 ของคา
วัสดุคงคลังใน 1 ป
3. รายการที่มีมูลคาต่ํา (Low-value Items)
หมายถึง วัสดุคงคลังรอยละ 40 ถึง 50 ของรายการ ที่มีมลู คารวมประมาณรอยละ 10 ถึง 15
ของคาวัสดุคงคลังในรอบ 1 ป

Inventory Analysis 5
ปริมาณการสัง่ ซื้อที่ประหยัด
ปกติแบบจําลอง ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic Order Quantity) หรือ EOQ จะ
เหมาะสําหรับการประยุกตกบั วัสดุคงคลังที่สั่งซื้อเปนครั้งๆ โดยไมไดดําเนินงานหรือจัดสงอยาง
ตอเนื่อง ซึ่งเราจะพิจารณาการเปรียบเทียบตนทุนการสั่งซื้อและตนทุนการเก็บรักษา
โดยมีสมมุติฐานตอไปนี้
1. อัตราความตองการคงที่ (Rate of Demand is constant.)
2. หามมีสินคาขาดมือ (Shortages are not allowed.)
3. รูเวลานําที่แนนอน ทําใหสามารถจัดตารางการสั่งสินคาอยางเหมาะสมกอนวัสดุคงคลังจะ
หมด (Lead times are known with certainty, so stock replenishment can be schedule to
arrive exactly when the inventory drops to zero.)
4. ราคาสั่งซื้อ ตนทุนการจัดซื้อ และคาใชจายในการจัดเก็บตอหนวยตางไมขึ้นกับปริมาณการ
สั่งซื้อ (Purchase price, ordering cost and per-unit holding cost are independent of
quantity ordered.)
5. การสั่งซื้อแตละรายการจะเปนอิสระจากัน (Items are ordered independently of each
other.)

Inventory Analysis 6
กําหนดให
Q = ปริมาณสั่งซื้อ (Order Quantity)
U = ความตองการในแตละป (Annual Usage)
CO = ตนทุนการสั่งซื้อแตละครั้ง (Cost to Place One Order)
CH = ตนทุนการเก็บรักษาตอหนวย (Annual Holding Cost per Unit)

ตนทุนการสั่งซื้อในแตละป = (U/Q) x CO
ตนทุนการเก็บรักษาในแตละป = (Q/2) x CH
ตนทุนรวมในแตละป (TAC) = [U/Q]CO + [Q/2]CH

2UC O
EOQ =
CH

Inventory Analysis 7
ตนทุนที่เกี่ยวของกับวัสดุคงคลัง
(Inventory-related Costs)
ปกติการจัดการวัสดุคงคลังที่มีตนทุนที่สําคัญ 5 ประการ
1. ตนทุนการสั่งซื้อหรือติดตั้ง (Ordering or Setup Costs) ตนทุนการสั่งซื้อจะเกีย่ วของกับการ
จัดหาวัตถุดิบและพัสดุจากภายนอกองคการขณะที่ตนทุนการติดตั้งหรือดําเนินงาน จะ
เกี่ยวของกับตนทุนการจัดหาและการดําเนินงานภายในระบบ เพื่อใหระบบการผลิต
ดําเนินงานซึ่งจะเกี่ยวของกับคาใชจายที่เปนเงินและเวลา
2. ตนทุนเก็บรักษา (Inventory Carrying of Holding Costs) จะมีสว นประกอบสําคัญ 3 ดาน
ไดแก
• ตนทุนของเงิน (Capital Costs)
• ตนทุนการจัดเก็บ (Storage Costs)
• ตนทุนความเสี่ยง (Risk Costs)
• Handling
• Insurance
3. ตนทุนสินคาขาดมือ (Stock Out Costs) เปนวัสดุคงคลังที่ขาดมือเมื่อเกิดความตองการ ซึ่ง
จะทําใหธุรกิจเสียจังหวะในการดําเนินงานหรือโอกาสในการตอบสนองความตองการของ
ลูกคา
4. ตนทุนเสียโอกาส (Opportunity Costs) เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยน (Trade-off) ระหวาการ
ตัดสินใจเลือกที่จะดําเนินการอยางหนึ่งกับทางเลือกอยางอื่น ตัวอยางเชน กําลังการผลิตกับ
วัสดุคงคลังเปนตน
5. Shortage Costs Cost: of canceling and order etc.
6. ตนทุนสินคา (Costs of Goods) ในการจัดเก็บเพื่อรอการสั่งซื้อและจัดสง ซึ่งจะมีผลตอ
ตนทุนของวัสดุคงคลัง
ขอดีและขอเสียของการประยุกตแบบ JIT
คุณสมบัติ ระบบดั้งเดิม ระบบทันเวลาพอดี
(Traditional system) (Just in time)
ความสําคัญ (Priorities) Accept all orders Limited market
Many options Few options
Low cost, high quality
วิศวกรรม (Engineering) Customized outputs Standardized outputs
Design from scratch Incremental design

Inventory Analysis 8
คุณสมบัติ ระบบดั้งเดิม ระบบทันเวลาพอดี
(Traditional system) (Just in time)
กําลังการผลิต (Capacity) Highly utilized Moderately utilized
Inflexible Flexible

เปรียบเทียบการผลิตแบบดัง้ เดิม กับแบบระบบทันเวลาพอดี


คุณสมบัติ ระบบดั้งเดิม ระบบทันเวลาพอดี
ระบบการแปรรูป Job shop Flow shop
(Transformation system) Cellular manufacturing
ผังการผลิต Large space Small space
(Layout) Materials handling equipment Close
Manual transfer
แรงงาน Narrow skills, specialized Broad skills
(Work Force) individualized Flexible
Competitive attitude Work teams
Change by edict Cooperative attitude
Easy space Change by consensus
Status: symbols, pay, privilege Hand pace
No status differentials
ตารางการผลิต Long setups Quick changeovers
(Scheduling) Long runs Mixed-model runs
สินคาคงคลัง Large WIP buffers Small WIP buffers
(Inventory) Stores Floor stock
Cribs
Stockrooms
ผูขายวัตถุดิบ Many Few or single-source
(Suppliers) Competitive Cooperative
Deliveries to central receiving area Network
Independent forecasts Deliveries directly to assembly
line
Shared forecasts

Inventory Analysis 9
คุณสมบัติ ระบบดั้งเดิม ระบบทันเวลาพอดี
การวางแผนและควบคุม Planning-oriented Control-oriented
(Planning and control) Complex Simple
Computerized Visual
คุณภาพ (Quality) Via inspection At the source
Critical points Continuous
Acceptance sampling Statistical process control
การบํารุงรักษา Corrective, By experts Preventive, By operator
(Maintenance) Run equipment fast Run equipment slowly
Run on shift Run 24 hours

ประโยชนของ JIT
1. ลดตนทุน (Cost Saving)
2. เพิ่มรายได (Revenue Increases)
3. ลดการลงทุน (Investment Savings)
4. พัฒนาแรงงาน (Work-force Improvement)
5. การคนหาปญหา (Uncovering Problems)
อุปสรรคหรือปญหาในการนําระบบ JITมาใช
1. เหมาะกับการผลิตที่ซ้ําๆมากกวาการทําตามลูกคา (Make to order)
2. เหมาะกับระบบการไหลตอเนื่องหรือเปนโครงการ
3. เหมาะกับงานมีระยะเวลาการดําเนินงานสูงหรือมาก
4. ตองมีวินยั สอดคลองกับการดําเนินงาน
5. ตองมีความเชือ่ ใจของคนในระบบทุกระดับ

Paul Zipkin (1991) สรุปปญหาที่เกิดกับระบบ JET


1. ไมเขาใจและสับสนในหลักการ JET
2. การประยุกต JET ลงทุนสูง
3. ใชกับงานดานอาจกอใหเกิดผลเสียมากกวา
4. ทําใหเกิดความเครียดแกคนงาน

Inventory Analysis 10
ตัวอยางที่ 1
โรงงานผลิตสินคาชนิดหนึ่งมีสายการผลิตดังรูปโดยที่การประกอบสินคา X จะตองใช
ชิ้นสวนหลัก 3 ชนิดคือ A, B และ C อยางละ 1 ชิ้น ซึ่ง B และ C สามารถสั่งซื้อจากภายนอกไดและ
ไดรับสินคาทันที ขณะที่สว นประกอบ A ทําการผลิตมาจาก D 1 ชิ้น จะผลิตมาจากสวนประกอบ E
1 ชิ้น ผูจัดการโรงงานมีแผนการผลิตสินคา X ในอีก 2 เดือนขางหนาคือ 1,000 ชิ้น และสินคา
คงเหลือปจจุบนั ของแตละชิน้ สวน สรุปไดดังนี้
ตารางแสดงจํานวนของสินคาคงคลัง
สวนประกอบ สินคาคงเหลือปจจุบัน
A 360
B 0
C 0
D 250
E 400
รูปแสดงสายการผลิตในโรงงาน
X

A B C

1. ปริมาณการสัง่ ซื้อที่ตองการ
การประกอบสินคา X จะใชชิ้นสวน A, B และ C อยางละ 1 ชิ้นสวนสําหรับชิ้นสวน B และ
C เทากันอยางละ 1,000 ชิ้น สําหรับสวนประกอบ A จะมีสินคาคงเหลือปจจุบัน 360 หนวย ซึ่ง
สวนประกอบ A จะมาจากการผลิต D และ D มาจากการผลิต E ดังนั้นเราสามารถหาปริมาณสั่งซื้อที่
ตองการไดดังนี้
สวนประกอบ A
ความตองการสินคา X มีจํานวน 1,000 ชิ้น
ปริมาณสวนประกอบ A ที่ใชประกอบสินคา X 1,000 ชิ้น
สินคาคงเหลือปจจุบัน 360 ชิ้น
ความตองการสวนประกอบ A เพิ่ม 640 ชิ้น

Inventory Analysis 11
สวนประกอบ D
ความตองการสินคา A มีจํานวน 640 ชิ้น
ปริมาณสวนประกอบ D ที่ใชประกอบสินคา A 640 ชิ้น
สินคาคงเหลือปจจุบัน 250 ชิ้น
ความตองการสวนประกอบ D เพิ่ม 390 ชิ้น

สวนประกอบ E
ความตองการสินคา D มีจํานวน 390 ชิ้น
ปริมาณสวนประกอบ E ที่ใชประกอบสินคา D 390 ชิ้น
สินคาคงเหลือปจจุบัน 400 ชิ้น
ความตองการสวนประกอบ E เพิ่ม 0 ชิ้น
ตารางสรุป ปริมาณความตองการสวนประกอบในการผลิตสินคา X
สวนประกอบ สินคาคงเหลือปจจุบัน
A 640
B 1,000
C 1,000
D 390
E 0

2. ชวงเวลาในการสั่งซื้อ
ในขั้นตอนการประกอบการผลิตแตละสวนประกอบ จะมีจํานวนวันทีใ่ ชในการผลิตที่
แตกตางกัน (Lead-time)
ตารางแสดงเวลาที่ใชในการผลิตสวนประกอบ
สวนประกอบ เวลาทํา
(เวลาที่ใชผลิต)
X 10
A 20
D 5
E 0
จากลําดับในสายการผลิต และเวลาทีใ่ ชในการประกอบสายการผลิตเราสามารถ
เขียนเสนเวลาของแตละขั้นตอน (Time Phasing) ไดดังนี้

Inventory Analysis 12
เริ่มผลิตสวนประกอบ A
เริ่มประกอบสินคา X
เริ่มผลิตสวนประกอบ D สินคา X
วัน

25 30 50 60

รูปแสดงเสนเวลาในการผลิตสินคา X
สินคา X มีกําหนดการสงมอบในอีก 2 เดือนขางหนา (60 วัน) การวงแผนความ
ตองการวัสดุเพื่อใชเปนสวนประกอบในการผลิตสินคา X สามารถกําหนดแผนงานในการ
ดําเนินการดังนี้
เริ่มผลิตสวนประกอบ D จากสวนประกอบ E ซึ่งมีสินคาคงเหลือเพียงพอ และมี
ความตองการสวนประกอบ D เพิ่ม จํานวน 390 กรัม โดยเริ่มผลิตในวันที่ 25 เมื่อรวมกับ
สินคาคงเหลือ D ปจจุบันอีก 250 ชนทํ ิ้ าใหเพียงพอตอความตองการสวนประกอบ A
จํานวน 640 ชิ้น และเริ่มผลิตในวันที่ 30 โดยใชเวลาผลิต 20 วัน และเริ่มทําการประกอบ
สินคา X ในวันที่ 50 โดยใชสวนประกอบ A ที่ผลิตเพิ่ม 640 ชิ้น รวมกับสินคาคงเหลือ
ปจจุบัน 360 ชิ้น ประกอบกับชิ้นสวน B และ C อยางละ 1,000 ชิ้น มาเปนสินคา X จํานวน
1,000 ชิ้นในวันที่ 60 ซึ่งเปนเวลา 2 เดือน พอดีกับความตองการสินคา X ในอีก 2 เดือน
ขางหนา
สําหรับการวางแผนความตองการวัสดุ ยังมีขอพิจารณาหรือเงื่อนไขที่เกีย่ วของใน
การวางแผน เชน การกําหนดมูลคากันชน (Safety Stock) ของผลิตภัณฑ ซึ่งจะสงผลตอ
ปริมาณสินคาหรือวัสดุที่จะนําไปใชไดจริง ตัวอยางเชน ถากําหนดให D มีผลิตภัณฑกันชน
จํานวน 100 ชิ้น ปริมาณความตองการ E ในการประกอบสวนประกอบ D จะเปลี่ยนเปน
490 ชิ้น ทําใหปริมาณสั่งซื้อที่ตองการของ E จาก 0 เปน 90 ชิ้น เปนตน เงื่อนไขการสัง่ ไม
ต่ํากวา 100 ชิ้นตอครั้ง จะทําใหสวนประกอบ E จะมีสินคาคงเหลือเพิ่ม 10 ชิ้น ซึ่งจะทําให
ตนทุนการเก็บรักษาเพิ่ม และตนทุนรวมในการผลิตเพิ่มขึ้นเชนกัน

ตัวอยางที่ 2
บริษัทเกษตรการคาทําการจําหนายลูกไกใหแกเกษตรกร ซงต ึ่ องสั่งจากสหฟารม
สําหรับลูกไกที่จําหนายตองผานกระบวนการนําไขไกไปอบเพื่อฟกเปนลูกไก ซึ่งจะใชเวลา
20 วัน ดังนั้นทางสหฟารมจึงใชเวลา 20 วัน หลังจากรับใบสั่งซื้อจึงสามารถดําเนินการสง
มอบได ทางบริษัทเกษตรการคามีเวลาทํางาน 360 วันตอป โดยความตองการลูกไกมี

Inventory Analysis 13
ปริมาณ 22 ½ โหลตอวัน ในการสั่งซื้อแตละครั้งมีตนทุน 40 บาท และมีตนทุนการเก็บ
รักษาเทากับ 80 บาทตอโหล ตอป ใหหา
1. ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด
2. จํานวนครั้งที่สั่งตอป
3. เวลานํา
4. ปริมาณความตองการในชวงเวลานํา

1. ปริมาณสัง่ ซื้อที่ประหยัด
U = 22.5 x 360 = 8,100 โหลตอป
CO = 40 บาทตอครั้ง
CH = 80 บาทตอโหลตอป
2 × 40 × 8,100
แทนคา =
80
= 90 โหลตอครั้ง
2. จํานวนครั้งทีส่ ั่งตอป
= 8,100/90
= 90 ครั้งตอป หรือ 4 วันตอครั้ง
3. เวลานํา
จากโจทย สหฟารมใชเวลาฟกไข 20 วัน ดังนั้นเวลานําเทากับ 20 วัน
4. ปริมาณความตองการในชวงเวลานํา
= C1
= 22.5 x 20
= 450 โหล
ตัวอยางที่ 3
โรงงานผลิตปากกาชนิดพิเศษสามารถผลิตปากกาไดวันละ 500 ดามซึ่งเพียงพอกับ
ความตองการของตลาด ในการทําปากกาจะตองสั่งสปริงเพื่อใชประกอบในการผลิต โดยมี
ราคา 1 บาทตอชิ้น (ปากกา 1 ดามใชสปริง 1 ชิ้น) ขณะที่ตนทุนการสัง่ ซื้อ 90 บาทตอครั้ง
ตนทุนการเก็บรักษาเทากับ 15 % ของราคา ถาบริษัทขายสปริงเสนอเงื่อนไขลด 0.5 %
สําหรับการซื้อทุกๆ 3 เดือน ใหหา
1. ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด และตนทุนรวม
2. ตนทุนแตละทางเลือก
กรณีที่ 1 สวนลด 0.5 สําหรับการสั่งซื้ออยางนอย 20,000 ชิ้นตอครั้งราคาขาย

Inventory Analysis 14
กรณีที่ 2 สั่งซื้อทุกๆ 3 เดือน มีสวนลด 0.7 %
3. โรงงานควรทําการตัดสินใจอยางไร
จากโจทย
U = 500 ชิ้นตอวัน หรือ 120,000 ชิ้นตอป (240 วันตอป)
CO = 90 บาทตอครั้ง
CH = 0.15 x 1 = 0.15 บาทตอชิ้นตอป

ปริมาณสัง่ ซื้อที่ประหยัด
2 × 90 × 120,000
แทนคา = = 12,000 ชิ้นตอครั้ง
0.15
ตนทุนรวม = 120,000 + 90 x (120,000/12,000) + 0.15(12,000/2)
= 121,800 บาทตอป
พิจารณาเงื่อนไข
กรณีที่ 1 สวนลด 0.5 สําหรับการสั่งซื้ออยางนอย 20,000 ชิ้นตอครั้งราคาขาย
เทากับ (1-0.05) = 0.995 บาทตอชิ้น
จากสมการตนทุนรวม
ATC = PD + COD/Q +IPQ/2
แทนคา = (0.995)(120,000) + (90) 120,000/20,000 + (0.15)(0.995) 20,000/2
= 121,432.5 บาทตอป
กรณีที่ 2 สั่งซื้อทุกๆ 3 เดือน มีสวนลด 0.7 %
ราคาขาย = 1-0.007 = 0.993 บาทตอชิ้น
ตนทุนเก็บรักษา = IP = (0.15)(0.993) = 0.149895
จํานวนครั้ง = 4 ครั้งตอป
ปริมาณที่สั่ง = 120,000 = 30,000 ตอครั้ง
ดังนั้นตนทุนรวม
= (0.993)(120,000) + (90)(4) + (0.15)(0.993)(30,000)
= 121,754.25 บาทตอป
จากทั้ง 2 ทางเลือก แสดงใหเราเห็นวา ทางเลือกที่จะรับสวนลด 0.5 % และสั่ง
สปริงที่ปริมาณ 20,000 ชิ้นตอครั้ง จะมีตน ทุนรวมนอยที่สุด ดังนั้นโรงงานควรเลือกวิธีการ
สั่งซื้อแบบที่ 1

Inventory Analysis 15
Homework
1. ใหใชรูปสายการผลิตขางลางคํานวณหาปริมาณตางๆ
X

A B C

D D E

2. ใหนกั ศึกษาใชโปรแกรม Excel คํานวณหาตามตัวอยางที่ 3 โดยมี


กรณีที่ 1 สวนลด 0.3, 0.4, 0.5, 0.6, 0.7 สําหรับการสั่งซื้ออยางนอย 20,000 ชิ้นตอ
ครั้งราคาขาย
กรณีที่ 2 สวนลด 0.5 สําหรับการสั่งซื้ออยางนอย 20,000, 30,000, 40,000, 50,000
ชิ้นตอครั้งราคาขาย
กรณีที่ 3 สั่งซื้อทุกๆ 2, 3, 4, 5, 6 เดือน มีสวนลด 0.7 %
กรณีที่ 4 สั่งซื้อทุกๆ 3 เดือน มีสวนลด 0.6 %, 0.7 %, 0.8 %
ใหทําตารางสรุปผลและวิเคราะหผลการสั่ง

Inventory Analysis 16

You might also like