You are on page 1of 7

NIMT ARTICLE

การถายทอดเวลามาตรฐานผานระบบ
FM/RDS
สมชาย นวมเศรษฐี, เทพบดินทร บริรักษอราวินท และ ทยาทิพย ทองตัน
หองปฏิบัติการดานเวลาและความถี่ ฝายมาตรวิทยาไฟฟา สถาบันมาตรวิทยาแห‹งชาติ (ประเทศไทย)

เรือ่ งของ “เวลา” นัน้ สงผลกระทบในวงกวางกับประเทศ ประชาชน และวิถชี วี ติ


เนื่องจากเมื่อวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในปจจุบันมีความกาวหนา เรามีเครื่องมือที่
สามารถวัดเวลาไดละเอียดขึ้นแมเศษเสี้ยวของวินาทีก็สามารถจะตรวจจับได และยัง
สรางนาฬิกาที่มีความพิเศษ สามารถเดินไดอยางเที่ยงตรงถึงขนาดที่วา กวานาฬิกานี้
จะเดินผิดพลาดไป 1 วินาที ก็ไดเวลาเปนแสนปเลยทีเดียวนาฬิกาชนิดนี้ก็คือนาฬิกา
อะตอมซีเซียมนั่นเอง จากนั้นเมื่อมีนาฬิกาที่มีความถูกตองแมนย�ำสูงขนาดนี้แลว
จึงน�ำไปสูก ารก�ำหนดมาตรฐานทางดานเวลาขึน้ และเวลามาตรฐานนีเ้ องถูกน�ำไปใชใน
ภาคสวนตางๆ ของสังคมมนุษยยกตัวอยางไดแก เวลามาตรฐานซึง่ ถูกใชในระบบการเงิน
จะสงผลตอความยุติธรรมในการด�ำเนินธุรกรรมทางการเงิน เชน การสงค�ำสั่งซื้อขาย
หลักทรัพย การคิดเงินคาโทรศัพทตามเวลาที่ใชงาน การโอนเงินขามประเทศ การ
ประมูลสินคา เปนตน ตอมาถาเวลามาตรฐานถูกน�ำไปใชในภาคอุตสาหกรรมและ
การผลิต จะสงผลกระทบตอคุณภาพของสินคาที่ผลิตไดเชน การทดสอบการท�ำงาน
ของ Microchip วาสามารถท�ำงานไดที่ความเร็วเทาใด ก็จ�ำเปนตองใชเครื่องมือวัด
และมาตรฐานการวัดดาน “เวลา” เปนฐานดวย ถาหากมาตรฐานเวลาถูกน�ำไปใชใน
วงทางการแพทย เชนการวัดอัตราการเตนของหัวใจ หรือ อัตราการไหลของยาซึ่งถูก
ปลอยเขาสูกระแสเลือดใหไดปริมาณที่ถูกตองในเวลาที่ก�ำหนดก็ตองมีมาตรฐานที่
เชื่อถือไดเพื่อความปลอดภัยของผูปวย สิ่งตางๆ เหลานี้ลวนแตตองการความแมนย�ำ
ตองการมาตรฐานในการวัดทางดาน “เวลา” ดวยกันทั้งสิ้น
ในปจจุบันหองปฏิบัติการดานเวลาและความถี่ สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ
ซึ่งมีหนาที่คือ การจัดหา รักษา และถายทอดมาตรฐานทางดานเวลาและความถี่
ไปสู  ภ าครั ฐ และเอกชน ได มี ก ารพั ฒ นาขี ด ความสามารถจนเป น ที่ ย อมรั บ ใน
ระดับสากลแลวดวยการรับรองมาตรฐาน ISO17025 จากประเทศเยอรมันนี และ
ประเทศญี่ปุน และดวยความรวมมือจากกองทัพอากาศ กองทัพบก และบมจ. อสมท.
จึงมี “โครงการพัฒนาระบบสงสัญญาณเวลามาตรฐานผานความถีว่ ทิ ยุ FM/RDS”
ขึน้ เพือ่ ใหสว นราชการและประชาชน ไดเขาถึงเวลามาตรฐานและใชประโยชนจากเวลา
มาตรฐานซึ่งเปนพื้นฐานส�ำคัญที่สงผลตอกิจกรรมการใชชีวิตและพฤติกรรมทาง
ดานการตรงตอเวลาของคนในสังคมตอไปดังนั้นเรื่องของเวลาและความถี่จึงนับวามี
ความส�ำคัญอยางยิ่งยวดและควรมีการพัฒนาและเผยแพรใหกวางขวางตอไป

12
Vol.12 No.57 July-August 2010
ระบบสงสัญญาณเวลามาตรฐานผาน FM/RDS
Network Time Protocol RDS Group 4A

GPS
Receiver
RDS Encoder Exciter

L-R Stereo Signal Broadcast Station


102.5 MHz RTAF

FM/RDS Broadcast System

Antena Signal Processing Module


L-R Stereo Signal Amp/Speaker
Digital Signal
Processing
Module Micro-Controller
CT Clock Data
Module Time Code

FM/RDS Receiver
รูปที่ 1 แสดงใหเปนถึงระบบการรับ/สง สัญญาณเวลามาตรฐานผาน FM/RDS

จากรูปที่ 1 ในสวนของ FM/RDS Broadcast System เครือ่ ง GPS Receiver


ซึ่งผานการสอบเทียบแลวจะท�าการไดรับสัญญาณ 1PPS และขอมูลเวลา UTC ซึ่งถูก
สงมาจากดาวเทียม GPS ซึ่งในขั้นตอนนี้ท�าใหเวลาภายในเครื่อง GPS Receiver
สามารถสอบกลับไดไปสูเวลามาตรฐานประเทศไทย จากนั้น GPS Receiver จะแปลง
รหัสสัญญาณทีไ่ ดรบั มาจากดาวเทียม GPS ใหอยูใ นรูปแบบของ Network Time Protocol
พรอมทั้งท�าตัวเองใหเปน Time Server หรือ NTP Server ดวย จากนั้นขอมูล
ในรูปแบบของ Network Time Protocol จะถูกเขารหัสใหมโดย RDS Encoder เพื่อ
ใหขอมูลเวลามาตรฐานพรอมส�าหรับการสงผานระบบ RDS ของสถานีวิทยุ FM ซึ่งใน
ทีน่ ใี้ ชสถานี 102.5 MHz ของกองทัพอากาศ โดยมาตรฐานการเขารหัสสัญญาณจะท�า
ในรูปแบบที่เรียกวา RDS Group 4A ซึ่งเปนสวนที่มีไวส�าหรับสงเวลามาตรฐาน
ออกอากาศโดยเฉพาะ เมื่อขอมูลเวลา ถูกเขารหัส เปน RDS Group 4A เรียบรอยแลว
จะถูกสงออกอากาศไปพรอมกับสัญญาณเสียง L-R Stereo Signal ตามที่เห็นในรูป

13
Vol.12 No.57 July-August 2010
Modified Julian Day code UTC
B0TP Spare bits (5 decimal digits) Hour Minute Local time offset

Checkword Group Checkword Checkword Checkword


PI code + type PTY + + +
offset A code offset B offset C offset D

0 1 0 0 0 216 215 214 20 24 23 22 21 20 25 24 23 22 21 20 +- 24 23 22 21 20


Modified Julian Day code Hour code Sense of local time offset
0= +, 1= -

รูปที่ 2 แสดงรูปแบบการเขารหัสสัญญาณของ RDS Group 4A

ตอมาในสวนของ FM/RDS Receiver เมื่อเครื่องรับที่สามารถถอดรหัส


สัญญาณระบบ FM/RDS ไดรับสัญญาณก็จะถูกสงไปใหสวนที่ท�าหนาที่ถอดรหัส
ในทีน่ กี้ ค็ อื Signal Processing Module จะท�าการถอดรรหัสสัญญาณวิทยุโดยแยกเอา
Main carrier และ Sub carrier ออกจากกันจนในทีส่ ดุ จะไดขอ มูลของเสียง L-R Stereo
signal และ CT Clock Data เมื่อถึงขั้นตอนนี้ สัญญาณเสียงก็จะถูกสงไปยัง Speaker
หรือ Amplifier ตอไป สวนสัญญาณในสวนทีเ่ ปน CT Clock Data นัน้ จะถูกสงตอไปยัง
Micro-controller Module เพื่อท�าการแปลง CT Clock Data ใหอยูในรูปแบบที่
สามารถสงไปใหนาฬกาแสดงผลได ดังนั้นนาฬกาก็จะแสดงผลเวลามาตรฐานซึ่งมี
ความเชื่อถือไดและมีความถูกตองสูงมาก โดยนาฬกาจะไดรับขอมูลเวลามาตรฐาน
จากสถานีสงทุกๆ 1 นาที และมีความผิดพลาดไมเกิน 100 มิลลิวินาที

14
Vol.12 No.57 July-August 2010
รูปแบบในการสงสัญญาณเวลามาตรฐานผาน FM/RDS

RDS Subcarrier
- RDS 57kHz 100
FM Baseband Spectrum
Percent Modulation

67 kHz Subcarrier

92 kHz Subcarrier
Stereo Subcarrier
Main Channel

50
Pilot

RDS

0
0 25 50 75 100
ทอ.06 : FM 102.5 MHz Frequency in kHz
อสมท. : FM 95.0 MHz
รูปที่ 3 แสดงใหเห็นต�ำแหนง Baseband Spectrum ของ RDS Subcarrier

จากรูปที่ 3 ขอมูลเวลามาตรฐานประเทศไทย จะถูกสงผานความถี่วิทยุ FM


โดยแทรกเขาไปในสวนของ RDS Subcarrier ความถี่ 57kHz และ Modulation ไมเกิน
10% เพื่อใหไดคุณภาพของสัญญาณที่ดีที่สุด ดังนั้นผูใชที่มีเครื่องรับซึ่งสามารถ
ถอดรหัสเวลาจาก RDS Subcarrier ไดก็จะไดรับขอมูลเวลามาตรฐานไปใชงาน
นอกจากนี้การสงขอมูลผานชองสัญญาณ RDS ยังสามารถใสพิกัดของเครื่องสงไป
พรอมกันดวย เพื่อผูใชจะสามารถค�ำนวณหาต�ำแหนงของผูใชงานไดอีกดวย

15
Vol.12 No.57 July-August 2010
สวนของเครื่องรับจะประกอบไปดวยเครื่องมือตางๆ ดังตอไปนี้

Std. Freq. O/P


Measurement Equipment
- Oscilloscope Special
- Signal Generator FM Radio Receiver
- Universal Counter
Digital Clock Radio Clock Wrist Watch - etc.

รูปที่ 4 Receiver Equipment

จากรูปที่ 4 สามารถแบงตามลักษณะของเครื่องมือไดเปน 2 ประเภทคือ


1. ประเภททีเ่ ปนเครือ่ งรับสัญญาณเวลาซึง่ ใชงานทัว่ ๆ ไป เชน นาฬกาแขวน
นาฬกาขอมือ หรือ นาฬกาตัง้ โต๊ะ อาจรวมไปถึง อุปกรณบอกเวลา อืน่ ๆ จะเปนอุปกรณ
ที่ ถู ก ออกแบบขึ้ น เพื่ อ ให ส ามารถรั บ สั ญ ญาณเวลามาตรฐานที่ ส  ง มาพร อ มกั บ
สัญญาณวิทยุ FM/RDS ได เพือ่ ท�าการปรับเทียบใหตรงกับเวลามาตรฐานประเทศไทย
2. ประเภททีเ่ ปนเครือ่ งมือวัดทีใ่ ชในดานเวลาและความถี่ เชน Oscilloscope
Signal Generator หรือ Universal Counter จะน�าเอาสัญญาณ Standard Frequency
Output ทีไ่ ดมาจาก เครือ่ งรับวิทยุแบบพิเศษ ดังแสดงในรูปที่ 4 มาท�าการ Lock เขากับ
สัญญาณ Timebase ของเครื่องมือ สงผลใหความถูกตองของสัญญาณ Timebase
ของเครื่องมือวัดนั้นมีความถูกตองสูงขึ้น

16
Vol.12 No.57 July-August 2010
สิ่งที่คาดว่าจะได้รับทันทีเมื่อเสร็จจบโครงการ
1. หน่วยงานภาครัฐและเอกชนรวมถึงประชาชนทั่วไป สามารถเข้าถึงเวลา
มาตรฐานที่มีความถูกต้องและน�ำไปใช้ประโยชน์ได้จริง และเวลามาตรฐานเป็นที่
เชื่อถือได้ตามมาตรฐานสากล
2. สนับสนุนประกาศกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเรื่อง
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผูใ้ ห้บริการ พ.ศ. 2550 ข้อ 9
เพื่อที่จะได้รับข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ที่มีความถูกต้องและน�ำไปใช้ประโยชน์
ได้จริง เมื่อผู้ให้บริการตั้งนาฬิกาของอุปกรณ์บริการทุกชนิด ได้ตรงกับเวลาอ้างอิง
มาตรฐานสากล
3. อุตสาหกรรมทั่วไป สามารถน�ำเวลามาตรฐานนี้ มาใช้ในการให้บริการ
การผลิต และงานวิจัยได้
4. ในแงม่ มุ ของการทหาร สง่ ผลใหร้ ะบบการวัดและเครือ่ งมือวัดทางดา้ นเวลา
รวมถึงระบบอาวุธมีความถูกต้องแม่นย�ำสูงเป็นรากฐานอันน�ำไปสู่ความมั่นคงของ
ประเทศ
5. สามารถน�ำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาระบบตรวจสอบต�ำแหน่งที่แม่นย�ำโดย
ไม่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีของต่างชาติ
6. ระบบสาธารณูโภค พื้นฐานที่ใช้เวลามาเกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
(เช่น ระบบรถไฟฟ้า ตารางการบิน ระบบสัญญาณไฟจราจร ระบบการซือ้ ขายหลักทรัพย์
การควบคุมข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ฯลฯ)

17
Vol.12 No.57 July-August 2010
สรุป
การทีป่ ระเทศไทยไดม้ รี ะบบเวลามาตรฐานซึง่ เปน็ ทีย่ อมรับในระดับสากลนัน้
ส่งผลโดยตรงต่อชีวิตของประชาชนและทรัพย์สินของประเทศ และจากโครงการนี้
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กองทัพอากาศ และกองทัพบก ได้มีส่วนผลักดันให้มี
การเผยแพร่และถ่ายทอดเวลามาตรฐานออกไปอย่างกว้างขวาง อีกทั้งโครงการนี้ยัง
สอดรับกับ “แผนงานวิจัยกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)” และ “แผนงานวิจัย
กับนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจยั แห่งชาติ (พ.ศ. 2551-2553)” รวมถึงสนับสนุน
ประกาศกระทรวงเทคโนโลยีและสารสนเทศและการสือ่ สาร เรือ่ งหลักเกณฑ์การเก็บรักษา
ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ พ.ศ.2550 นอกจากนั้นยังมีผลกระทบ
ในเชิ ง บวกกั บ การพั ฒ นาความรู ้ ท างด ้ า นวิ ท ยาศาสตร ์ เทคโนโลยี ความมั่ น คง
ทางด้านการทหาร และ ระบบสารสนเทศ อย่างยั่งยืนในอนาคตโดยมิต้องพึ่งพา
เทคโนโลยีของต่างชาติ และยังส่งผลให้หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไป
สามารถเข้าถึงเวลามาตรฐานและน�ำไปใช้ในการพัฒนาระบบสังคมให้เกิดประโยชน์
สูงสุดอีกด้วย
ทั้งหมดนี้เกิดจากการที่ประเทศไทยมีองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ซึง่ องค์ความรูน้ นั้ ได้ถกู น�ำไปใช้จริงในเชิงปฏิบตั กิ าร วิจยั และพัฒนา จนน�ำ
ไปสูก่ ารมี “มาตรฐานแห่งชาติทางด้านเวลา” ซึง่ เชือ่ ถือได้ และเปน็ ทีย่ อมรับในระดับ
สากลนั่นเอง

18
Vol.12 No.57 July-August 2010

You might also like