You are on page 1of 265

การพัฒนายางธรรมชาตเพื ิ อการตดโลหะ


Development of Natural Rubber for Rubber to Metal Bonding


วไลพร คงศรีรอด
Wilaiporn Kongsrirod

ิ ิ
วทยานพนธ์ ่
นี8เป็ นสวนหนึ ิ
 งของการศึกษาตามหลักสูตรปรญญา

วทยาศาสตรมหาบั ณฑต ิ สาขาวชา ิ วทยาศาสตร์
ิ และเทคโนโลยีพอลิ เมอร์

มหาวทยาลั ิ
ยสงขลานครนทร์
A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements
for the Degree of Master of Science in Polymer Science and Technology
Prince of Songkla University
2552
ิ ิ Sิ
ลขสทธของมหาวทยาลั ิ ิ
ยสงขลานครนทร์
(1)
ิ ิ
ชือวทยานพนธ์ การพัฒนายางธรรมชาติเพือการติดโลหะ
ผูเ้ ขียน นางสาววิไลพร คงศรีรอด
สาขาวชา ิ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์

ิ ิ
อาจารย์ทีปรึกษาวทยานพนธ์
หลัก คณะกรรมการสอบ

……………………………...........…..………… ...………..………………..….ประธานกรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อรสา ภัทรไพบูลย์ชยั ) (ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นิตยา รัตนโสม)

…….……...…………...………...........กรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อรสา ภัทรไพบูลย์ชยั )

...…………….…………………...........กรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จิราภรณ์ ไชยบัญดิษฐ์)

...…………….…………………...........กรรมการ
(ดร.พัชราภรณ์ ฐิตวิ งศ์เศวต)

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อนุมตั ใิ ห้นบั วิทยานิพนธ์ฉบับนี9เป็น


ส่วนหนึงของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีพอลิเมอร์

…………………………………………...
(รองศาสตราจารย์ ดร.เกริกชัย ทองหนู)
คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย

(2)
ิ ิ
ชือวทยานพนธ์ การพัฒนายางธรรมชาติเพือการติดโลหะ
ผูเ้ ขียน นางสาววิไลพร คงศรีรอด
สาขาวชา ิ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์
ปี การศึกษา 2552

บทคัดยอ่

ในงานวิจยั นี)ได้ศกึ ษาความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ


(เหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง) โดยเตรียมคอมเปานด์ยางใส่สารเสริมการยึดติดทางการค้า
ได้แก่ ซิงค์ไดอะคริเลต (zinc diacrylate) ซิงค์ไดเมทาคริเลต (zinc dimethacrylate) และ
โคบอลต์สเตียเรต (cobalt stearate) รวมทัง) สารเสริมการยึดติดทีไ ด้จากการสังเคราะห์กราฟต์
โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต มาวัลคาไนซ์ตดิ กับแผ่นโลหะที
เตรียมผิวโดยใช้วธิ ที างกลและทางเคมี พร้อมทัง) รองพืน) โลหะด้วยสารรองพืน) ทีเ ตรียมขึน) จาก
ยางคอมเปานด์และสารรองพืน) ทางการค้า (Chemlok 205A) ด้วยอุณหภูม ิ 150°C (วัลคาไนซ์
ด้วยระบบกํามะถัน) และอุณหภูม ิ 160°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์) จากนัน) ทําการ
ทดสอบสมบัตกิ ารติดประสานระหว่างยางกับโลหะแบบปอกด้วยมุม 90 องศา ภายใต้แรงดึงคงที
ทีอ ุณหภูมหิ อ้ ง ตามมาตรฐาน ASTM D429 Method B พบว่าความล้มเหลวของการติดประสาน
ระหว่างยางกับโลหะมีลกั ษณะเป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกวิธขี องการเตรียมผิวโลหะ ทุกชนิดของสาร
รองพืน) และทุกชนิดของสารเสริมการยึดติด ทัง) ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์
ออกไซด์ ยกเว้น การติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดซิงค์ไดอะคริเลตทีว ลั คาไนซ์
ด้วยระบบเปอร์ออกไซด์กบั โลหะทองแดง ทีเ กิดความล้มเหลวของการติดประสานแบบโคฮีซฟี
ทุกวิธขี องการเตรียมผิว อีกทัง) ยังให้ความแข็งแรงในการติดประสานมีค่าสูงสุดอีกด้วย ทัง) ทีใ ช้
และไม่ใช้สารรองพืน) สําหรับค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็กมี
ค่าสูงสุด เมือ ใช้สารเสริมการยึดติดซิงค์ไดอะคริเลตทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ และ
เตรียมผิวด้วยการพ่นทราย โดยไม่จาํ เป็ นต้องใช้สารรองพืน) โลหะ สําหรับความแข็งแรงในการ
ติดประสานระหว่างยางกับโลหะอะลูมเิ นียมมีค่าสูงสุด เมือ ใช้สารเสริมการยึดติดโคบอลต์สเตีย
เรตทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน และเตรียมผิวด้วยการพ่นทราย โดยมีการรองพืน) โลหะด้วย
สารรองพืน) ทีเ ตรียมขึน) จากยางคอมเปานด์ และความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับ
โลหะทองแดงมีค่าสูงสุด เมือ ใช้สารเสริมการยึดติดซิงค์ไดอะคริเลตทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์
ออกไซด์ ในทุกวิธขี องการเตรียมผิว ทัง) ทีใ ช้และไม่ใช้สารรองพืน)

(3)
Thesis Title Development of Natural Rubber for Rubber to Metal Bonding
Author Miss Wilaiporn Kongsrirod
Major Program Polymer Science and Technology
Academic Year 2009

ABSTRACT

This research was studied the adhesion strength of natural rubber to


metal bonding (steel, aluminium and copper). The rubber compound was prepared by
adding adhesion promoters (commercial products) such as zinc diacrylate (ZDA), zinc
dimethacrylate (ZDMA), cobalt stearate also adhesion promoter from grafting of 2–
hydroxyethyl methacrylate onto natural rubber. Preliminary studies, peel test pieces
were prepared by vulcanizing the natural rubber compounds at 150°C (sulphur cure)
and 160°C (peroxide cure) in contact with steel, aluminium and copper substrates. The
substrate to which rubber bonded was treated by mechanical and chemical treatment
prior to coat with primer compound, primer commercial product (Chemlok 205A) and
without primer. Adhesion properties of rubber to steel, aluminium and copper substrates
were studied by means of peel tests. Peel tests were performed under constant load at
an angle of 90° and at room temperature followed by ASTM D429 method B. It was
found that bond failure occurred was adhesive failure in every types of surface pre-
treatment, primers and adhesion promoters in sulphur and peroxide cured systems
except zinc diacrylate on copper substrates with peroxide cure. This bond failure was
cohesive failure at every types of surface pre-treatment also provided highest adhesion
strength. The adhesion strength of natural rubber onto steel substrates by sand blasting
treatment and without primer was highest when zinc diacrylate was used as adhesion
promoter with peroxide cured system. For adhesion strength of natural rubber onto
aluminium substrates by sand blasting treatment and with compound as primer was
highest when cobalt stearate was used as adhesion promoter with sulphur cured
system. In addition, adhesion strength of natural rubber onto copper substrates in every
type of surface pre-treatment and with coated with and without primer was highest when
zinc diacrylate was used as adhesion promoter with peroxide cured system.

(4)
ิ ิ
กตตกรรมประกาศ

วิทยานิพนธ์ฉบับนีสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์และสําเร็จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี ผูว้ จิ ยั


ต้อ งขอขอบพระคุ ณ ผู้ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.อรสา ภัท รไพบูล ย์ช ัย อาจารย์ท0ีป รึก ษา
วิทยานิพนธ์เป็ นอย่างสูง ที0กรุณาแนะนําแนวทางในการทําวิจยั คอยให้คําปรึกษาและกําลังใจ
ทีด0 มี าโดยตลอด จนกระทังวิ0 ทยานิพนธ์มคี วามถูกต้องและเสร็จสมบูรณ์
ขอขอบพระคุ ณ ผู้ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.นิ ต ยา รัต นโสม ที0ก รุ ณ ารับ เป็ น
ประธานกรรมการสอบวิท ยานิ พ นธ์ ผู้ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.จิร าภรณ์ ไชยบัญ ดิษ ฐ์ และ
ดร.พัชราภรณ์ ฐิตวิ งศ์เศวต ที0รบั เป็ นกรรมการสอบและตรวจทานแก้ไขวิทยานิพนธ์ให้ถูกต้อง
สมบูรณ์ยงิ0 ขึน
ขอขอบคุณสํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั ทีส0 นับสนุ นทุนโครงการทุนวิจยั
มหาบัณฑิต สกว. (TRF-MAG) สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สัญญาเลขที0 MRG495S033
และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สําหรับทุนอุดหนุนการทําวิจยั เป็นอย่างสูง
ขอขอบคุณศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ยางพารา และสาขาวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ท0ไี ด้
อนุ เ คราะห์ส ถานที0พ ร้อ มทัง อุ ป กรณ์ ใ นการทํา วิจ ยั ขอขอบคุ ณ ภาควิช าฟิ ส ิก ส์ ที0ใ ห้ค วาม
อนุ เคราะห์ในการใช้เครื0องตัดแผ่นโลหะ และขอขอบคุณภาควิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตตานี ั ที0ให้ความ
อนุเคราะห์ในการใช้เครือ0 งพ่นทราย
สุดท้ายนีผู้วจิ ยั ขอขอบพระคุณ คุณพ่อสุรนิ ทร์ และคุณแม่เพ็ญ คงศรีรอด ด้วย
ความเคารพยิง0 ที0ไ ด้ส นับสนุ นทางด้านการศึก ษา และให้กํา ลัง ใจมาโดยตลอด ขอบพระคุณ
คณาจารย์ทุก ท่าน ที0ไ ด้ใ ห้วชิ าความรู้แก่ผู้วจิ ยั จนได้มโี อกาสทําวิทยานิพนธ์ฉบับนีไ ด้สําเร็จ
ั บนั และขอขอบคุณครอบครัวลาภมา ครอบครัวบัวทอง พีๆ0 เพื0อนๆ น้องๆ
ตัง แต่อดีตจนถึงปจจุ
ตลอดจนเจ้าหน้ าที0สาขาวิทยาศาสตร์พ อลิเมอร์ทุกท่านที0มไิ ด้ก ล่าวนามไว้ ณ ที0นี ที0ค อยให้
คําแนะนํา และให้ความช่วยเหลือในการวิจยั มาโดยตลอด คุณค่าและประโยชน์ใดๆ ทีพ0 งึ มีจาก
การทําวิทยานิพนธ์ฉบับนี ผูว้ จิ ยั ขอมอบเป็ นเครื0องบูชาพระคุณบิดา มารดา และครูอาจารย์ทุก
ท่าน ทีใ0 ห้การอบรมสังสอนแก่
0 ผวู้ จิ ยั ตลอดมา

วิไลพร คงศรีรอด

(5)
สารบัญ

หน้า
สารบัญ (6)
รายการตาราง (12)
รายการรูป (20)
สัญลักษณ์คาํ ย่อและตัวย่อ (24)
บทที0
1. บทนํา 1
1.1 บทนําต้นเรือ0 ง 1
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจยั 2
1.3 ขอบเขตของการวิจยั 2
1.4 ประโยชน์ทค0ี าดว่าจะได้รบั 3

2. เอกสารและงานวิจยั ทีเ0 กี0ยวข้อง 4


2.1 ยางธรรมชาติ (Natural Rubber : NR) 4
2.1.1 รูปแบบโดยทัวไปของยางธรรมชาติ
0 4
2.1.2 ข้อกําหนดการจัดชัน ยางแผ่นรมควัน 5
2.1.3 สมบัตขิ องยางธรรมชาติ 6
2.2 การทําผลิตภัณฑ์ยางติดโลหะแบบทัวไป 0 และแบบปราศจากการใช้ชนั  กาว 7
2.3 การพอลิเมอไรเซชันแบบอิมลั ชัน (Emulsion polymerization) 11
2.4 การเตรียมกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติดว้ ยเทคนิคการกราฟต์ 12
2.5 กราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติ 14
2.6 คุณสมบัตทิ างกายภาพและเคมีของ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (HEMA) 15
2.7 การติดประสาน 16
2.7.1 ทฤษฎีของการติดประสาน 16
2.7.2 กลไกการยึดติด 16
2.7.3 ปจจัั ยทีม0 ผี ลต่อการติดประสาน 19
ั ยในการเลือกวิธกี ารเตรียมผิว
2.7.4 ปจจั 20
2.7.5 ผลของการเตรียมผิววัสดุ 20
2.7.6 ข้อดีของการเตรียมผิว 21
2.7.7 การทดสอบความแข็งแรงในการยึดติด 21

(6)
่ )
สารบัญ (ตอ

หน้า
2.7.8 ลักษณะของความล้มเหลวในการยึดติด 22
2.8 การตรวจสอบเอกสาร 22
2.8.1 งานวิจยั ทีเ0 กีย0 วข้องกับการติดประสาน 22
2.8.2 งานวิจยั ทีเ0 กีย0 วข้องกับการดัดแปรโมเลกุลยางธรรมชาติ 28

3. วิธกี ารวิจยั 32
3.1 สารเคมี 32
3.2 อุปกรณ์และเครือ0 งมือทีใ0 ช้ในการวิจยั 35
3.3 วิธดี าํ เนินการทดลอง 38
3.3.1 การศึกษาตัวแปรทีม0 อี ทิ ธิพลต่อการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ 38
3.3.1.1 ชนิดของสารเสริมการยึดติด (adhesion promoter) หรือปริมาณ 38
กราฟต์โคพอลิเมอร์ต่อความแข็งแรงในการติดประสานระหว่าง
ยางกับโลหะ
3.3.1.2 อิทธิพลของระบบการวัลคาไนซ์ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 42
ระหว่างยางกับโลหะ
3.3.1.3 ชนิดของโลหะต่อความสามารถในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ 42
3.3.1.4 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะต่อความสามารถในการติดประสานระหว่างยาง 42
กับโลหะ
3.3.1.5 ชนิดของสารรองพืน (primer) ต่อความสามารถในการติดประสาน 44
ระหว่างยางกับโลหะ
3.3.2 การเตรียมกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทา- 45
คริเลต (HEMA)
3.3.2.1 วิธกี ารเตรียม 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตมอนอเมอร์ 45
3.3.2.2 การสังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 45
2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต
3.3.3 การศึกษาสมบัตเิ ชิงกลของคอมเปานด์ยางใส่สารเสริมการยึดติด 46
(adhesion promoter) : ชนิดทางการค้า และจากการสังเคราะห์กราฟต์
โคพอลิเมอร์

(7)
่ )
สารบัญ (ตอ

หน้า
3.3.4 การทดสอบความสามารถในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ ด้วย 49
วิธกี ารแบบปอก (peel test) ตามมาตรฐาน ASTM D429–03 Method B
3.3.4.1 การเตรียมตัวอย่างสําหรับทดสอบความสามารถในการติดประสาน 49
3.3.4.2 การทดสอบการติดประสาน (adhesion strength) ระหว่างยางกับ 50
โลหะ

4. ผลการทดลองและวิจารณ์ผลการทดลอง 52
4.1 ผลการศึกษาลักษณะของผิวโลหะก่อน – หลังการเตรียมผิวด้วยวิธที างกล 52
และทางเคมี
4.2 ผลของการใช้สารเสริมการยึดติด (adhesion promoter) ทางการค้าต่อสมบัตเิ ชิงกล 53
และสมบัตกิ ารติดประสานระหว่างยางกับโลหะ
4.2.1 ผลการใช้สารเสริมการยึดติดทางการค้าต่อสมบัตเิ ชิงกลของยางธรรมชาติ 53
4.2.2 ความสามารถในการติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติด 57
ทางการค้ากับโลหะ
4.2.2.1 ชนิดของสารเสริมการยึดติด (adhesion promoter) ทางการค้า 57
ต่อความสามารถในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ
1) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ0 ตรียมผิวด้วยวิธที างกล 58
(ขัดด้วยกระดาษทราย)
2) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ0 ตรียมผิวด้วยวิธที างกล 64
(พ่นทราย)
3) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ0 ตรียมผิวด้วยวิธที างเคมี 70
(กัดด้วยกรด)
4.2.2.2 ผลของชนิดโลหะต่อความสามารถในการติดประสานระหว่าง 75
ยางกับโลหะ
1) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ โดยปราศจากสารรองพืน 76
(No primer)
2) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน 81
จากยางคอมเปานด์ (Primer compound solution)

(8)
่ )
สารบัญ (ตอ

หน้า
3) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ ทีร0 องพืน ด้วยสาร 86
รองพืน ทางการค้า (Primer chemlok205A)
4.2.2.3 ผลของวิธกี ารเตรียมผิวโลหะต่อความสามารถในการติดประสาน 91
ระหว่างยางกับโลหะ
1) การติดประสานระหว่างยางปราศจากสารเสริมการยึดติดกับ 92
โลหะชนิดต่างๆ
2) การติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด 98
Zinc diacrylate กับโลหะชนิดต่างๆ
3) การติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด 103
Zinc dimethacrylate กับโลหะชนิดต่างๆ
4) การติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด 109
Cobalt stearate กับโลหะชนิดต่างๆ
4.2.2.4 ผลของชนิดสารรองพืน ต่อความสามารถในการติดประสาน 114
ระหว่างยางกับโลหะ
1) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะชนิดต่างๆ ทีเ0 ตรียมผิว 115
ด้วยวิธที างกล (ขัดด้วยกระดาษทราย)
2) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะชนิดต่างๆ ทีเ0 ตรียมผิว 123
ด้วยวิธที างกล (พ่นทราย)
3) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะชนิดต่างๆ ทีเ0 ตรียมผิว 130
ด้วยวิธที างเคมี (กัดด้วยกรด)
4.3 ผลจากการสังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซี 137
เอทิลเมทาคริเลต ทีอ0 ตั ราส่วนโมลของ NR/HEMA ต่างๆ
4.4 ผลของการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ต่อสมบัตเิ ชิงกล และสมบัตกิ ารติด 143
ประสานระหว่างยางกับโลหะ
4.4.1 ผลของการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซี 143
เอทิลเมทาคริเลต ทีอ0 ตั ราส่วนโมลของยางธรรมชาติ ต่อ 2–ไฮดรอกซีเอทิล
เมทาคริเลต (NR/HEMA) : 90/10 และ 85/15 ต่อสมบัตเิ ชิงกล

(9)
่ )
สารบัญ (ตอ

หน้า
4.4.2 ความสามารถในการติดประสานระหว่างคอมเปานด์ยางใส่ยางกราฟต์โค 147
พอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต
(NR–g–HEMA) กับโลหะ
4.4.2.1 ผลของปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ต่อความสามารถในการ 147
ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ
1) การติดประสานระหว่างยางคอมเปานด์ทย0ี างกราฟต์โค 148
พอลิเมอร์กบั โลหะทีเ0 ตรียมผิวทางกล (พ่นทราย) โดยมีการใช้
และไม่ใช้สารรองพืน
2) การติดประสานระหว่างคอมเปานด์ยางใส่ยางกราฟต์โค 156
พอลิเมอร์กบั โลหะทีเ0 ตรียมผิวทางกล (กัดด้วยกรด) โดยมี
การใช้และไม่ใช้สารรองพืน
4.4.2.2 ผลของชนิดโลหะต่อความสามารถในการติดประสานระหว่าง 162
คอมเปานด์ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ
1) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ โดยปราศจาก 163
สารรองพืน (Without primer)
2) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ ทีร0 องพืน ด้วยสาร 167
รองพืน จากยางคอมเปานด์ (Primer compound solution)
3) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ ทีร0 องพืน ด้วยสาร 171
รองพืน จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ (Primer NR-g-HEMA
solution)
4) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ ทีร0 องพืน ด้วยสาร 175
รองพืน ทางการค้า (Primer chemlok205A)
4.4.2.3 ผลของวิธกี ารเตรียมผิวโลหะต่อความสามารถในการติด 178
ประสานระหว่างคอมเปานด์ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ
1) การติดประสานระหว่างยางปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ 179
กับโลหะชนิดต่างๆ
2) การติดประสานระหว่างยางใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั รา 185
ส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 10 phr กับโลหะ
ชนิดต่างๆ

(10)
่ )
สารบัญ (ตอ

หน้า
3) การติดประสานระหว่างยางใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั รา 191
ส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 33 phr กับโลหะ
ชนิดต่างๆ
4.4.2.4 ผลของชนิดสารรองพืน ต่อความสามารถในการติดประสาน 197
ระหว่างคอมเปานด์ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ
1) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ0 ตรียมผิวด้วยวิธที างกล 198
(พ่นทราย) และรองพืน ด้วยสารรองพืน ชนิดต่างๆ
2) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะชนิดต่างๆ ทีเ0 ตรียมผิว 203
ด้วยวิธที างเคมี (กัดด้วยกรด)

5. สรุปผลการทดลอง และข้อเสนอแนะ 208


5.1 สรุปผลการทดลอง 208
5.2 ข้อเสนอแนะ 212

บรรณานุกรม 213
ภาคผนวก 219
ก.1 ลักษณะพืน ผิวโลหะหลังผ่านการเตรียมผิวโดยการขัดด้วยกระดาษทราย 220
(Sandpaper blasting)
ก.2 ลักษณะพืน ผิวโลหะหลังผ่านการเตรียมผิวโดยการพ่นทราย (Sand blasting) 221
ก.3 ลักษณะพืน ผิวโลหะหลังผ่านการเตรียมผิวโดยการกัดด้วยกรด (Acid etching) 222
ข.1 ตัวอย่างวิธกี ารคํานวณปริมาณนํายางและสารเคมีทใ0ี ช้ในการสังเคราะห์ 223
กราฟต์โคพอลิเมอร์ ในอัตราส่วนโมลของยางธรรมชาติต่อ 2–ไฮดรอกซี
เอทิลเมทาคริเลต (NR/HEMA) เท่ากับ 95/5
ข.2 การละลายของกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซี 224
เอทิลเมทาคริเลต (NR-g-HEMA)
ข.3 ตัวอย่างการคํานวณ Transmittance ratio ของกราฟต์โคพอลิเมอร์ 225
ค เอกสารการตีพมิ พ์เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ 226
ประวัตผิ เู้ ขียน 239

(11)
รายการตาราง

ตาราง หน้า
3.1 ลําดับการผสมยางกับสารเคมี (เมือ0 ใส่สารเสริมการยึดติด) 39
3.2 สูตรยางธรรมชาติทแ0ี ปรชนิดสารเสริมการยึดติด (adhesion promoter) ปริมาณ 40
10 phr โดยใช้ระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน (Sulphur cure)
3.3 สูตรยางธรรมชาติทแ0ี ปรชนิดสารเสริมการยึดติด (adhesion promoter) ปริมาณ 40
10 phr โดยใช้ระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ (Peroxide cure)
3.4 สูตรยางธรรมชาติดดั แปรโมเลกุล NR/HEMA : 90/10 และ 85/15 ทีแ0 ปรปริมาณ 41
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ในปริมาณต่างๆ โดยวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน
3.5 สูตรยางธรรมชาติดดั แปรโมเลกุล NR/HEMA : 90/10 และ 85/15 ทีแ0 ปรปริมาณ 41
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ในปริมาณต่างๆ โดยวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์
3.6 การเตรียมสารละลาย และการเตรียมผิวโลหะด้วยวิธที างเคมี 43
3.7 ปริมาณนํายางและสารเคมีทใ0ี ช้ในการกราฟต์โคพอลิเมอร์ระหว่างยางธรรมชาติกบั 46
2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต
3.8 ขนาดของตัวอย่างทดสอบความทนต่อแรงดึง 47
3.9 ตัวอย่างตารางทีใ0 ช้ในการบันทึกผลการทดสอบการติดประสาน 51
4.1 ลักษณะการวัลคาไนซ์ยางคอมเปานด์ใส่สารเสริมการยึดติดทางการค้าด้วยระบบ 54
กํามะถัน และเปอร์ออกไซด์
4.2 ผลของระบบการวัลคาไนซ์ และชนิดของสารเสริมการยึดติดทางการค้าทีป0 ริมาณ 55
10 phr ต่อสมบัตเิ ชิงกล
4.3 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ 58
โลหะชนิดต่างๆ (ขัดด้วยกระดาษทราย) โดยปราศจากสารรองพืน
4.4 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ 59
โลหะชนิดต่างๆ (ขัดด้วยกระดาษทราย) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน จากยาง
คอมเปานด์
4.5 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ 60
โลหะชนิดต่างๆ (ขัดด้วยกระดาษทราย) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า
4.6 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ 64
โลหะชนิดต่างๆ (พ่นทราย) ทีป0 ราศจากสารรองพืน
4.7 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ 65
โลหะชนิดต่างๆ (พ่นทราย) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน จากยางคอมเปานด์

(12)
รายการตาราง (ตอ่)

ตาราง หน้า
4.8 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ 66
โลหะชนิดต่างๆ (พ่นทราย) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า
4.9 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ 70
โลหะชนิดต่างๆ (กัดผิวด้วยกรด) ทีป0 ราศจากสารรองพืน
4.10 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยาง 71
กับโลหะชนิดต่างๆ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน จากยาง
คอมเปานด์
4.11 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยาง 72
กับโลหะชนิดต่างๆ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า
4.12 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการ 76
ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (ขัดด้วยกระดาษทราย) ทีป0 ราศจากสารรองพืน
4.13 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ 77
ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีป0 ราศจากสารรองพืน
4.14 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ 78
ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีป0 ราศจากสารรองพืน
4.15 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ 81
ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (ขัดด้วยกระดาษทราย) ทีร0 องพืน ด้วยสาร
รองพืน จากยางคอมเปานด์
4.16 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ 82
ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน จาก
ยางคอมเปานด์
4.17 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ 83
ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน
จากยางคอมเปานด์
4.18 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ 86
ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (ขัดด้วยกระดาษทราย) ทีร0 องพืน ด้วยสารรอง
พืน ทางการค้า
4.19 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ 87
ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า

(13)
รายการตาราง (ตอ่)

ตาราง หน้า
4.20 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการติด 88
ประสานระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า
4.21 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที0 92
ปราศจากสารเสริมการยึดติดกับโลหะ โดยปราศจากสารรองพืน
4.22 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป0 ราศจาก 93
สารเสริมการยึดติด กับโลหะทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน จากยางคอมเปานด์
4.23 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที0 94
ปราศจากสารเสริมการยึดติด กับโลหะทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า
4.24 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สาร 98
เสริมการยึดติดชนิด Zinc diacrylate กับโลหะ โดยปราศจากสารรองพืน
4.25 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สาร 99
เสริมการยึดติดชนิด Zinc diacrylate กับโลหะทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน จากยาง
คอมเปานด์
4.26 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สาร 100
เสริมการยึดติดชนิด Zinc diacrylate กับโลหะทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า
4.27 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สาร 103
เสริมการยึดติดชนิด Zinc dimethacrylate กับโลหะ โดยปราศจากสารรองพืน
4.28 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สาร 104
เสริมการยึดติดชนิด Zinc dimethacrylate กับโลหะทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน จาก
ยางคอมเปานด์
4.29 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริม 105
การยึดติดชนิด Zinc dimethacrylate กับโลหะทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า
4.30 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริม 109
การยึดติดชนิด Cobalt stearate กับโลหะ โดยปราศจากสารรองพืน
4.31 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริม 110
การยึดติดชนิด Cobalt stearate กับโลหะทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน จากยางคอมเปานด์
4.32 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สาร 111
เสริมการยึดติดชนิด Cobalt stearate กับโลหะทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า

(14)
รายการตาราง (ตอ่)

ตาราง หน้า
4.33 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 115
ระหว่างยางปราศจากสารเสริมการยึดติดกับโลหะ (ขัดด้วยกระดาษทราย)
4.34 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 116
ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Zinc diacrylate กับโลหะ (ขัดด้วย
กระดาษทราย)
4.35 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 117
ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Zinc dimethacrylate กับโลหะ (ขัดด้วย
กระดาษทราย)
4.36 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 118
ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Cobalt stearate กับโลหะ (ขัดด้วย
กระดาษทราย)
4.37 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 123
ระหว่างยางปราศจากสารเสริมการยึดติดกับโลหะ (พ่นทราย)
4.38 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 124
ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Zinc diacrylate กับโลหะ (พ่นทราย)
4.39 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 125
ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Zinc dimethacrylate กับโลหะ (พ่นทราย)
4.40 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 126
ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Cobalt stearate กับโลหะ (พ่นทราย)
4.41 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 130
ระหว่างยางปราศจากสารเสริมการยึดติดกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด)
4.42 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 131
ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Zinc diacrylate กับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด)
4.43 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 132
ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Zinc dimethacrylate กับโลหะ (กัดด้วยกรด)
4.44 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 133
ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Cobalt stearate กับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด)
4.45 เปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการกราฟต์ของนํายางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั ราส่วนโมล 137
ของ NR/HEMA : 95/5, 90/10 และ 85/15 ทีอ0 ุณหภูม ิ 50°C

(15)
รายการตาราง (ตอ่)

ตาราง หน้า
4.46 Transmittance ratio ของอัตราส่วนโมล NR/HEMA : 95/5, 90/10 และ 85/15 ที0 139
อุณหภูม ิ 50°C
4.47 ลักษณะการวัลคาไนซ์คอมเปานด์ยางใส่สารเสริมการยึดติดทีไ0 ด้จากการสังเคราะห์ 144
กราฟต์โคพอลิเมอร์ ด้วยระบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์
4.48 ผลของระบบการวัลคาไนซ์ และอัตราส่วนโมลของ NR/HEMA : 90/10 และ 145
85/15 ทีแ0 ปรปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ต่อสมบัตเิ ชิงกล
4.49 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทใ0ี ช้ กับโลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงใน 148
การติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีป0 ราศจากสารรองพืน
4.50 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทใ0ี ช้ กับโลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงใน 149
การติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน
จากยางคอมเปาน
4.51 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงใน 150
การติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน จาก
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
4.52 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ 151
ติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า
4.53 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทใ0ี ช้ กับโลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงใน 156
การติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีป0 ราศจากสารรองพืน
4.54 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงใน 157
การติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน
จากยางคอมเปานด์
4.55 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงใน 158
การติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน
จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
4.56 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ 159
ติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า
4.57 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทป0ี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความ 163
แข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีป0 ราศจากสารรองพืน

(16)
รายการตาราง (ตอ่)

ตาราง หน้า
4.58 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทป0ี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรง 164
ในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีป0 ราศจากสารรองพืน
4.59 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทป0ี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรง 167
ในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน จากยาง
คอมเปานด์
4.60 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทป0ี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรง 168
ในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน จาก
ยางคอมเปานด์
4.61 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทป0ี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรง 171
ในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน จากยาง
กราฟต์โคพอลิเมอร์
4.62 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทป0ี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรง 172
ในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน จาก
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
4.63 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทป0ี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรง 175
ในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน
ทางการค้า
4.64 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทป0ี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรง 176
ในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน
ทางการค้า
4.65 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป0 ราศจาก 179
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ (ปราศจากสารรองพืน )
4.66 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป0 ราศจาก 180
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ (รองพืน ด้วยสารรองพืน จากยางคอมเปานด์)
4.67 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป0 ราศจาก 180
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ (รองพืน ด้วยสารรองพืน จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์)
4.68 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป0 ราศจาก 181
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ (รองพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า)

(17)
รายการตาราง (ตอ่)

ตาราง หน้า
4.69 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีใ0 ส่ยาง 185
กราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 10 phr กับ
โลหะ (ปราศจากสารรองพืน )
4.70 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีใ0 ส่ยาง 186
กราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 10 phr กับ
โลหะ (รองพืน ด้วยสารรองพืน จากยางคอมเปานด์)
4.71 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีใ0 ส่ยาง 186
กราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 10 phr กับ
โลหะ (รองพืน ด้วยสารรองพืน จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์)
4.72 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีใ0 ส่ยาง 187
กราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 10 phr กับ
โลหะ (รองพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า)
4.73 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีใ0 ส่ยาง 191
กราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 33 phr กับ
โลหะ (ปราศจากสารรองพืน )
4.74 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีใ0 ส่ยาง 192
กราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 33 phr กับ
โลหะ (รองพืน ด้วยสารรองพืน จากยางคอมเปานด์)
4.75 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีใ0 ส่ยาง 192
กราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 33 phr กับ
โลหะ (รองพืน ด้วยสารรองพืน จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์)
4.76 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีใ0 ส่ยาง 193
กราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 33 phr กับ
โลหะ (รองพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า)
4.77 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 198
ระหว่างยางคอมเปานด์ปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ (พ่นทราย)
4.78 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 199
ระหว่างยางใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10
ปริมาณ 10 phr กับโลหะ (พ่นทราย)

(18)
รายการตาราง (ตอ่)

ตาราง หน้า
4.79 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 200
ระหว่างยางใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10
ปริมาณ 33 phr กับโลหะ (พ่นทราย)
4.80 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 203
ระหว่างยางคอมเปานด์ปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ (กัดผิวด้วยกรด)
4.81 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 204
ระหว่างยางใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10
ปริมาณ 10 phr กับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด)
4.82 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 205
ระหว่างยางใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10
ปริมาณ 33 phr กับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด)

(19)
รายการรูป

รูป หน้า
2.1 สูตรโครงสร้างยางธรรมชาติ 4
2.2 การทําผลิตภัณฑ์ยางติดโลหะแบบทัวไป 0 (ใช้ชนั  กาวในการยึดติด) 8
2.3 การใช้สาร Metallic Coagents ในการทําผลิตภัณฑ์ยางติดโลหะ 8
2.4 กลไกการเชื0อมโยงของสาร metallic coagents 9
2.5 สูตรโครงสร้างทางเคมีของ Zinc diacrylate (ZDA) 10
2.6 สูตรโครงสร้างทางเคมีของ Zinc dimethacrylate (ZDMA) 10
2.7 สูตรโครงสร้างทางเคมีของ Cobalt stearate 11
2.8 สูตรโครงสร้างทางเคมีของ Cobalt naphthenate 11
2.9 สูตรโครงสร้างทางเคมีของ 2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (HEMA) 15
2.10 การยึดติดทางกล (Mechanical bonding) 17
2.11 การแพร่เข้าหากันของสายโซ่ (Interdiffusion of chain) 17
2.12 แรงดึงดูดประจุหรือไฟฟาสถิ้ ตย์ (Electrostatic attraction) 18
2.13 พันธะทางเคมี (Chemical bounding) 19
2.14 การทดสอบความแข็งแรงของการยึดติด 22
2.15 ลักษณะของความล้มเหลวในการยึดติด 22
3.1 ชิน ทดสอบรูปดัมเบลล์ (Die C) สําหรับทดสอบความทนต่อแรงดึง 47
3.2 ขัน ตอนการเตรียมชิน ทดสอบสมบัตกิ ารติดประสาน (Peel test) 49
3.3 การทดสอบการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ 50
4.1 ลักษณะพืน ผิวโลหะส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ (Optical microscope) ทีก0 ําลังขยาย 52
100 เท่า (a) ก่อนเตรียมผิว (N), (b) เตรียมผิวด้วยวิธกี ารขัดกระดาษทราย (M1),
(c) เตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย (M2) และ (d) เตรียมผิวด้วยวิธกี ารกัดด้วยกรด (C)
4.2 โมดูลสั ที0 100% ของยางธรรมชาติทม0ี สี ารเสริมการยึดติดทางการค้า 55
4.3 ความทนต่อแรงดึงของยางธรรมชาติทม0ี สี ารเสริมการยึดติดทางการค้า 56
4.4 เปอร์เซ็นต์การยืด ณ จุดขาดของยางธรรมชาติทม0ี สี ารเสริมการยึดติดทางการค้า 56
4.5 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ 61
โลหะชนิดต่างๆ (ขัดด้วยกระดาษทราย)
4.6 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ 67
โลหะชนิดต่างๆ (พ่นทราย)

(20)
่ )
รายการรูป (ตอ

รูป หน้า
4.7 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ 73
โลหะชนิดต่างๆ (กัดผิวด้วยกรด)
4.8 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการติด 79
ประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (ปราศจากสารรองพืน )
4.9 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการติด 84
ประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (รองพืน ด้วยสารรองพืน จากยางคอมเปานด์)
4.10 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการติด 89
ประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (รองพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า)
4.11 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป0 ราศจาก 95
สารเสริมการยึดติด กับโลหะชนิดต่างๆ
4.12 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริม 101
การยึดติดชนิด Zinc diacrylate กับโลหะชนิดต่างๆ
4.13 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริม 106
การยึดติดชนิด Zinc dimethacrylate กับโลหะชนิดต่างๆ
4.14 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริม 112
การยึดติดชนิด Cobalt stearate กับโลหะชนิดต่างๆ
4.15 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 120
ระหว่างยางกับโลหะ (ขัดด้วยกระดาษทราย)
4.16 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 128
ระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย)
4.17 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 135
ระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด)
4.18 เปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซี 138
เอทิลเมทาคริเลตทีอ0 ตั ราส่วนโมลของ NR/HEMA : 95/5, 90/10 และ 85/15
ทีอ0 ุณหภูม ิ 50°C
4.19 Transmittance ratio ของอัตราส่วนโมล NR/HEMA : 95/5, 90/10 และ 85/15 139
ทีอ0 ุณหภูม ิ 50°C
4.20 โครงสร้างของกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 2-ไฮดรอกซีเอทิล 140
เมทาคริเลต (NR-g-HEMA)

(21)
่ )
รายการรูป (ตอ

รูป หน้า
4.21 IR สเปกตรัมของยางธรรมชาติ พอลิ(2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต) และยางกราฟต์ 141
โคพอลิเมอร์ (NR-g-HEMA) ทีอ0 ตั ราส่วนโมลของ NR/HEMA : 95/5
4.22 IR สเปกตรัมของกราฟต์โคพอลิเมอร์ (NR-g-HEMA) ทีอ0 ตั ราส่วนโมล NR/HEMA 142
เท่ากับ (a) 95/5 (b) 90/10 (c) 85/15 ปริมาณ SLS 1 กรัม (d) 85/15 ปริมาณ
SLS 2 กรัม
4.23 โมดูลสั ที0 100% ของยางธรรมชาติกราฟต์โคพอลิเมอร์ NR/HEMA : 90/10 (ปริมาณ 145
10 phr และ 33 phr) และ 85/15 ปริมาณ 43 phr
4.24 ความทนต่อแรงดึงของยางธรรมชาติกราฟต์โคพอลิเมอร์ NR/HEMA : 90/10 146
(ปริมาณ 10 phr และ 33 phr) และ 85/15 ปริมาณ 43 phr
4.25 เปอร์เซ็นต์การยืด ณ จุดขาดของยางธรรมชาติกราฟต์โคพอลิเมอร์ NR/HEMA : 146
90/10 (ปริมาณ 10 phr และ 33 phr) และ 85/15 ปริมาณ 43 phr
4.26 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ 153
ติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย)
4.27 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ 161
ติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด)
4.28 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทป0ี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรง 165
ในการติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ โดยปราศจากสารรองพืน
4.29 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทป0ี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรง 169
ในการติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน จากยางคอมเปานด์
4.30 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทป0ี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรง 173
ในการติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน จากยางกราฟต์โค
พอลิเมอร์
4.31 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทป0ี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรง 177
ในการติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะทีร0 องพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า
4.32 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางปราศจาก 183
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ กับโลหะชนิดต่างๆ
4.33 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่ยาง 189
กราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 10 phr กับโลหะ
ชนิดต่างๆ

(22)
่ )
รายการรูป (ตอ

รูป หน้า
4.34 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่ยาง 195
กราฟต์โคพอลิเมอร์ทอ0ี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 33 phr กับโลหะ
ชนิดต่างๆ
4.35 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 201
ระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย)
4.36 ชนิดของสารรองพืน ทีใ0 ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน 206
ระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด)

(23)
่ ่
สัญลักษณ์คํายอและตัวยอ


ตัวยอ

ตัวยอ ชื#อภาษาอังกฤษ ชื#อภาษาไทย
ADS Air dried sheet ยางแผ่นไม่รมควัน
FT-IR Fourier Transform Infrared เครือ0 งฟูเรียร์ทรานฟอร์มอินฟาเรด
Spectrometer สเปกโตรมิเตอร์
GE Grafting efficiency ประสิทธิภาพการกราฟต์
HEMA 2-Hydroxyethyl methacrylate 2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต
MDR Moving die rheometer เครือ0 งทดสอบหาเวลาการวัลคาไนซ์
ของยาง
NR Natural rubber ยางธรรมชาติ
PHEMA poly(2-hydroxyethylmethacrylate) พอลิ(2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต)
RSS Rib Smoke Sheet ยางแผ่นรมควัน
SLS Sodium lauryl sulphate โซเดียมลอริลซัลเฟต
TMTD Tetramethylthiuram disulfide เตตระเมทิลไทยูแรมไดซัลไฟด์
ZDA Zinc diacrylate ซิงค์ไดอะคริเลต
ZDMA Zinc dimethacrylate ซิงค์ไดเมทาคริเลต
ZnO Zinc oxide ซิงค์ออกไซด์
wt% %by weight เปอร์เซ็นต์โดยนําหนัก

(24)
่ ่ (ตอ่)
สัญลักษณ์คํายอและตัวยอ

สัญลักษณ์
สัญลักษณ์ ชื#อภาษาอังกฤษ ชื#อภาษาไทย
Å Angstrom อังสตรอม
°C degree celsius องศาเซลเซียส
kg/cm2 kilogram per centimeter กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
mm2 millimeter square ตารางมิลลิเมตร
MPa Mega Pascal เมกกะพาสคาล
N newton นิวตัน
N/m newton per meter นิวตันต่อเมตร
N/mm2 newton per millimeter square นิวตันต่อตารางมิลลิเมตร
N/m2 newton per meter square นิวตันต่อตารางเมตร
phr part per hundred rubber ส่วนต่อหนึ0งร้อยส่วนของยาง
rpm round per minute รอบต่อนาที

(25)
1

 1



1.1   


            !   "    

 #$%# &' ( ')* + ,& (./& ) 0, 2550)  "
( '6' &* ,*7 *% /8//&  *9): ;<
 9=!:06!*% * " ( '<
*)!*%6 ! + %+ #&'

#& ' > . ?= + % +  *%     :    '<  
' ' 600 &%0 /& &%' (6)(/& &*, 2544) 
'% ;<#&'>.?=
*&:,*: +9:!:!*%<" :* &% /8/+9%6
,%#&'>.?=*%,&9 ( ' /8//&  *9): 
*/&% 6'*% <*'***% 0<*'*6*)  !*%  : #% !% /& ,&9
*':A + B)6 <!*%</& 6<*'*  9:6,&9 *
':A  : %   ' )' 9  '= )' 9
:% /& )'9*% 6 
'%  + *'<*'* 9:6,&9
  + %      ) 6 9&   ;<     &  6 " #  ,&9   **%  /#: CD &= 
9& 6A ,*( )6*%!CCE :  ,&9 *&:! <*'*6 (=(,
2548) /':<*'**%(*&:():/& + %'% ) $  "'*,&9 
0$ ! + %
:  6':A  : )*) .=  /& &*9
9  E 9 / !*%/:   /:  /':+ . *
( '8%*6:6'!:" +9%!:0 ! <*'*6
,&9 "!*%,*'  ( ' '*#,&9 !*%!:* * " 9'% 
( '! + %+ <*'*6,&9 ,*' <
'%+: :+ <*'*6,&9 &
! +   *= 9 **/ ,% +   "<!*%<
  6 )6'*&: ,*+9%0+ '*   6,&9 !*%
,* + % "  *%+: <*'*/& ( '!*%**/ 
,&)&&+   *=  +9%
"<" "!*% " ,&9
*% "   E "  !:+9%**: . + % (Ansarifar et al., 2002)
/& 
/8/+ '*    9:6,&9 *%
2

1.2   


1.2.1 </8/+ '*    9:6,&9 ,*+ %
<*'* (adhesion promoter) %
1.2.2 </8/+ '*    9:6,&9 ,*+ %
<*'* (adhesion promoter)  9=<" 

1.3    


1.3.1 < *,&9 + %+ '*   6( '  : ,&9 9&8
,&9  &$  /& ,&9 /*
1.3.2 <('#,&9 ,*+ %('#*%(& /& 
  66#&'*    9:6,&9
1.3.3 <(&<*'* (adhesion promoter) %#&':
/8/+ '*    9:6,&9
1.3.4 <'*    9:6,&9 *%(*<" $ /66
Compression moulding  +9%  *='*6,&9 ,*+ % " 
'<"   *=  " '<" C'=,&=
/&  " % (Chemlok 205A) +  " #,&9
1.3.5 </8/+ '*    9:6,&9 ,*+ %
<*'*% 666<*'*!*% 9=
C'=,&=( '6 2-!]*;&&'
1.3.6 *66'#&'>.?= '' ASTM
1.3.6.1 *66''*    9:6,&9 (Adhesion to metal
test) *%*6/66  (peel test) '' ASTM
D429 Method B
1.3.6.2 *66' & <*'*6,&9 *%*6
 ':/*< (Tensile strength) /&  =;8 '= * . )**
(%Elongation at break) '' ASTM D412
1.3.7  9=/& ) #&
3

1.4 # $ %& '% 


1.4.1 !*%%$&*&6 "'% ;<
 "  + /& i *%
( ' 6#&'>.?='*,&9 + " ':!
1.4.2 + %
/ + i /& 6 )( '  +9%'*6,&9
%"!*%6''' '%
1.4.3  $&:( '+9%$<"
4

บทที 2

เอกสารและงานวจัิ ยทีเกียวข้อง

2.1 ยางธรรมชาติ (Natural Rubber : NR)

ยางธรรมชาติเป็ นยางทีไ ด้มาจากต้นไม้ชนิดหนึง เรียกตามภาษาพฤกษศาสตร์


ว่า Hevea braziliensis สามัญชนทัวไป  เรียกว่า ยางพารา หรือ ต้นยางพารา (para rubber) ซึง
นํ8ายางสดทีก รีดได้จากต้นยางพารา มีลกั ษณะเป็นของเหลวสีขาวเหมือนนํ8านม ยางธรรมชาติ
ชือทางเคมี คือ ซิส-1,4-พอลิไอโซพรีน (cis-1,4-polyisoprene) ประกอบด้วยหน่ วยย่อยของ
ไอโซพรีน (isoprene, C5H8) มีพนั ธะคู่อยู่ในสายโซ่ มีไฮโดรเจนและคาร์บอนเป็ นองค์ประกอบ
ซึง มีสตู รโครงสร้างทางเคมี ดังแสดงในรูปที 2.1

รูปที 2.1 สูตรโครงสร้างยางธรรมชาติ


(หน่วยเทคโนโลยียาง, 2550)

2.1.1 รูปแบบโดยทัวไปของยางธรรมชาต
 ิ โดยทัวไปยางธรรมชาติ
 สามารถแบ่ง
ออกได้เป็น 2 รูปแบบใหญ่ๆ ได้แก่
2.1.1.1 นํ8ายาง
นํ8ายาง ได้จากการนํานํ8ายางสดทีก รีดได้จากต้นยางพาราไปผ่านกระบวนการ
ั  ย ง (centrifugation) เพือลดปริมาณนํ8าในนํ8ายางส ด จนกระทังได้
ปนเหวี  น8ํายางทีม ปี ริมาณยาง
แห้งเพิม ขึน8 จาก 30 เป็น 60 wt% เรียกนํ8ายางทีไ ด้ว่า นํ8ายางข้น (concentrated latex)
นอกจากนี8 นํ8ายางข้นทีไ ด้ยงั มีการเติมสารแอมโมเนีย หรือแอมโมเนียร่วมกับสารเคมีอนื ๆ เพือ
ช่วยรักษาสภาพของนํ8ายางข้นให้เก็บไว้ได้นาน
5

2.1.1.2 ยางแห้ง
ยางแห้ง ได้จากการนํานํ8ายางสดทีก รีดได้จากต้นยางพารามาเติมกรด เช่น
กรดอะซิตกิ (acetic acid) กรดฟอร์มคิ (formic acid) หรือกรดซัลฟูรคิ (sulfuric acid) เป็ นต้น
เพือให้อนุภาคนํ8ายางจับตัวกันเป็นของแข็งแยกตัวจากนํ8 า จากนัน8 ก็ไล่ความชืน8 ออกจากเนื8อยาง
้ นการติดเชือ8 รา ซึงการทําให้ยางแห้งนี8อาจทําได้โดยนํ าไปตากแดดหรือผึง ในอากาศ
เพือปองกั
ร้อน เพือไล่ความชืน8 ยางทีไ ด้จะเรียกว่า ยางแผ่นไม่รมควัน (air dried sheet, ADS) แต่หากนํา
ยางไปทําการไล่ความชืน8 ด้วยวิธกี ารอบรมควัน ทีอ ุณหภูมปิ ระมาณ 60–70°C เป็ นเวลา 2–3 วัน
หรืออาจนานกว่านี8 ยางทีได้เรียกว่า ยางแผ่นรมควัน (ribbed smoked sheet, RSS) และ
สามารถแบ่งออกเป็ นชัน8 ต่างๆ ด้วยสายตาตามปริมาณสิง สกปรกหรือสิง ปนเปื8 อนในยาง ตัง8 แต่
ชัน8 ที 1 ซึง จัดว่าเป็ นเกรดทีด ที สี ุด ถึงชัน8 ที 5 ซึงเป็ นเกรดทีต ําทีส ุด นอกจากนี8 ยางแห้งอาจจัด
จําหน่ ายในรูปแบบของยางแท่ง (block rubber) ซึงเป็ นยางทีจดั ให้มรี ูปทรงสีเหลียม ขนาด
ประมาณ 675 × 330 มิลลิเมตร หนาประมาณ 175 มิลลิเมตร นํ8าหนักแต่ละแท่งเท่ากับ 33.33
กิโลกรัม (พรพรรณ, 2540) เตรียมโดยการนํายางมารีดให้เป็ นแผ่นด้วยเครืองรีดเครฟ (creping
machine) แล้วทําการตัดย่อยแผ่นยางให้เป็ นเม็ดเล็กขนาดประมาณ 24 มิลลิเมตร หลังจากอบ
ให้แห้งแล้วจึงทําการอัดให้เป็ นแท่ง นอกจากยางแผ่นไม่รมควัน ยางแผ่นรมควัน และยางแท่ง
แล้ว ยางเครฟก็จดั เป็ นยางแห้งรูปแบบหนึง โดยได้จากการนํ าเศษยาง เช่น ยางก้นถ้วย เศษ
ยางทีตดิ บนเปลือกไม้ หรือเศษจากแผ่นรมควัน เป็ นต้น ไปรีดในเครืองรีดเครฟ พร้อมทัง8 ใช้น8ํา
ทําความสะอาดเอาสิง สกปรกต่างๆ ออกจากยางในระหว่างการรีด จากนัน8 จึงนํายางแผ่นทีไ ด้ไป
ผึง ลมให้แห้ง

2.1.2 ข้อกําหนดการจัดชัน2 ยางแผนรมควั ่ น (วราภรณ์, 2549)


2.1.2.1 ยางแผ่นรมควันชัน8 พิเศษ (No.1 X RSS)
ต้องเป็ นยางแผ่นรมควันทีผลิต โดยมีการควบคุมอย่างเต็มที ก้อนยางแต่ล ะ
ก้อนต้องไม่ขน8ึ รา ไม่ปรากฏจุดหรือริว8 รอยด่างดวงของยางถูกรมควันมากเกินไป แผ่นยางต้อง
แห้ง ดี สะอาด รมควัน สมํา เสมอทั วทัง8 แผ่น ปราศจากฟองอากาศ สิง สกปรก ตลอดจนสิง
แปลกปลอม อืนๆ
2.1.2.2 ยางแผ่นรมควันชัน8 1 (No. 1 RSS)
ก้อนยางแต่ละก้อนต้องไม่ขน8ึ รา ไม่ปรากฏจุดหรือริว8 รอยของยางถูกรม ควัน
มากหรือน้อยเกินไป ยางต้องแห้งดี สะอาด รมควันสมําเสมอทัวทั  ง8 แผ่น ปราศจากฟอง อากาศ
สิง สกปรก ตลอดจนสิง แปลกปลอมอืนๆ
2.1.2.3 ยางแผ่นรมควันชัน8 2 (No. 2 RSS)
ก้อนยางมีราขึน8 ได้บา้ ง แต่ตอ้ งไม่เกินกว่า 5% (ก้อนยางตัวอย่าง) แผ่นยางมีจดุ
ด่างและฟองอากาศบ้าง แต่ปราศจากร่องรอยของการถูกรมควันไม่สมําเสมอ ยางต้องแห้งดี
6

สะอาด ไม่มจี ดุ ด่างของสิง สกปรก หรือสิง แปลกปลอม


2.1.2.4 ยางแผ่นรมควันชัน8 3 (No. 3 RSS)
ก้อนยางมีราขึน8 ได้บา้ ง แต่ตอ้ งไม่เกินกว่า 10% (ก้อนยางตัวอย่าง) แผ่นยางมี
จุดด่างและฟองอากาศบ้าง แต่ตอ้ งไม่มรี อ่ งรอยของยางถูกรมควันไม่สมําเสมอ ยางต้องแห้งดี
สะอาด ไม่มสี งิ แปลกปลอม
2.1.2.5 ยางแผ่นรมควันชัน8 4 (No. 4 RSS)
ก้อนยางมีราขึน8 ได้บา้ ง แต่ตอ้ งไม่เกินกว่า 20% (ก้อนยางตัวอย่าง) แผ่นยางมี
จุดด่างฟองอากาศ และร่องรอยของการรมควันไม่ถูกต้องปานกลาง ยางต้องแห้งดี ไม่มสี งิ
แปลกปลอม
2.1.2.6 ยางแผ่นรมควันชัน8 5 (No. 5 RSS)
ก้อนยางมีราขึน8 ได้บา้ ง แต่ตอ้ งไม่เกินกว่า 30% (ก้อนยางตัวอย่าง) แผ่นยางมี
จุดด่างและฟองอากาศ และร่องรอยของการรมควันไม่ถูกต้องขนาดใหญ่

2.1.3 สมบัติ ของยางธรรมชาติ (พงษ์ธร, 2548)


2.1.3.1 ยางธรรมชาติทคี งรูปแล้วจะมีความยืดหยุ่นสูง คือ เมือแรงภายนอก
ทีม ากระทํากับยางหมดไป ยางจะกลับคืนสู่รปู ร่างและขนาดเดิม (หรือใกล้เคียง) ได้อย่างรวดเร็ว
2.1.3.2 ยางธรรมชาติ (ในสภาพทียงั ไม่ค งรูป) มีส มบัติด ีเ ยีย มในด้านความ
เหนียวติดกัน (tack) ซึง เป็ นสมบัติสําคัญของการผลิต ผลิต ภัณฑ์ทตี ้องอาศัยการประกอบ
(assemble) ชิน8 ส่วนต่างๆ เข้าด้วยกัน เช่น ยางล้อรถ เป็นต้น
2.1.3.3 มีความทนทานต่อแรงดึง (tensile strength) เนืองจากโมเลกุลของยาง
ธรรมชาติมคี วามเป็นระเบียบสูง จึงทําให้ยางธรรมชาติสามารถตกผลึกได้ง่ายเมือถูกยืด ซึง ผลึก
ทีเ กิดขึน8 จะช่วยเสริมความแข็งแรงให้กบั ยาง ดังนัน8 ยางธรรมชาติจงึ มีค่าความทนทานต่อแรง
ดึงสูงมาก โดยทีไ ม่ตอ้ งใช้สารตัวเติมเสริมแรงเข้าช่วย ซึง สมบัตนิ 8ีจะแตกต่างจากยางสังเคราะห์
ทีส่วนใหญ่ มักมีค่าความทนทานต่อแรงดึงตํา จึงไม่สามารถนํ าไปใช้งานในทาง วิศวกรรมได้
นอกจากจะมีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงเข้าช่วยเท่านัน8
2.1.3.4 มีความทนทานต่อการฉีกขาด (tear strength) เนืองจากยางธรรมชาติ
สามารถตกผลึกได้เมือ ถูกยืด ดังนัน8 ยางธรรมชาติจงึ มีความทนทานต่อการฉีกขาดสูงมาก ทัง8 ที
อุณหภูมหิ อ้ งและทีอ ุณหภูมสิ งู
2.1.3.5 ยางธรรมชาติมสี มบัติเชิงพลวัต (dynamic properties) ทีด ี มีก าร
สูญเสียพลังงานในรูปของความร้อนตําในระหว่างการใช้งาน นอกจากนี8 ยางธรรมชาติยงั มีความ
ต้านทานต่อการล้า (fatigue resistance) ทีส งู มากอีกด้วย
7

2.1.3.6 มีค่าความต้านทานต่อการขัดถู (abrasion resistance) สูง แต่ยงั ด้อย


กว่ายางเอสบีอาร์ (SBR) เล็กน้อย แต่เมือเปรียบเทียบกับยางสังเคราะห์ชนิดอืนๆ พบว่ายาง
ธรรมชาติมคี ่าความต้านทานต่อการขัดถูอยูใ่ นกลุ่มทีส งู มาก
2.1.3.7 เนืองจากองค์ประกอบของยางธรรมชาติเป็ นสารไฮโดรคาร์บอนทีไ ม่ม ี
ขัว8 ดังนัน8 ยางดิบจึงละลายได้ดใี นตัวทําละลายทีไ ม่มขี วั 8 เช่น เบนซีน เฮกเซน และโทลูอนี เป็ น
ต้น ความสามารถในการละลายนี8จะลดลง ถ้ายางเกิดการคงรูป เนืองจากการเชือมโยงทางเคมี
ของโมเลกุลจะเกิดเป็ นโครงสร้างตาข่าย 3 มิติ ในการคงรูป จะไปขัดขวางกระบวนการละลาย
ของยาง ในยางคงรูปจึงเกิดการบวมตัวในตัวทําละลายเหล่านี8เท่านัน8 อย่างไรก็ด ี การบวมตัว
ของยางดังกล่าวจะทําให้สมบัตเิ ชิงกลของยางด้อยลง ด้วยเหตุน8ี ยางธรรมชาติจงึ ไม่ทนต่อนํ8ามัน
ปิโตรเลียม หรือตัวทําละลายทีไ ม่มขี วั 8 ต่างๆ แต่ยางจะทนทานต่อของเหลวทีม ขี วั 8 เช่น อะซิโตน
หรือแอลกอฮอล์ นอกจากนี8 ยางธรรมชาติยงั ทนทานต่อกรดและด่างเจือจางได้ด ี แต่ไม่ทนต่อ
กรดไนตริก และกรดกํามะถันเข้มข้น
2.1.3.8 เนืองจากโมเลกุลของยางธรรมชาติมพี นั ธะคู่อยู่มาก ทําให้ยางว่องไว
ต่ อ การทํา ปฏิกิร ิย ากับ ออกซิเ จน (เรีย กปฏิกิร ิย าทีเ กิด ขึ8น ว่ า ปฏิกิร ิย าออกซิเ ดชัน ) โดยมี
แสงแดดหรือ ความร้อ นเป็ น ตัว เร่ ง ปฏิกิร ิย า ดัง นั น8 ยางธรรมชาติจ ึง ถู ก ออกซิไ ดซ์ ไ ด้ ง่ า ย
นอกจากนี8 ยางธรรมชาติยงั ไม่ทนต่อโอโซน เพราะเมือยางถูกยืดและได้รบั โอโซนนานๆ จะเกิด
รอยแตกขนาดเล็กจํานวนมากทีบริเวณพื8นผิวในทิศตัง8 ฉากกับทิศทางการยืดตัวของยาง ด้วย
เหตุน8ี ในระหว่างการผลิต ผลิต ภัณฑ์จงึ ต้องมีการเติมสารเคมีบางชนิด เช่น สารปองกั ้ นการ
เสือมสภาพ (anti-degradants) และไข (wax) ลงไป เพือยืดอายุการใช้งานของยางธรรมชาติ
2.1.3.9 ยางธรรมชาติสามารถใช้งานได้ทอี ุณหภูมติ งั 8 แต่ -55°C จนถึง 70°C
แต่หากเก็บยางไว้ทอี ุณหภูมกิ ารใช้งานสูงเกินไป สมบัตเิ ชิงกลต่างๆ ก็จะด้อยลง เนืองจากความ
ร้อ นจะทํา ให้ยางเกิด การเสือ มสภาพ ในบางกรณีทมี กี ารออกสูต รยางผสมสารเคมีไ ด้อ ย่า ง
เหมาะสม (มีการเติมสารปองกั ้ นการเสือมสภาพลงไป) ยางธรรมชาติอาจสามารถนํ าไปใช้งาน
ได้อย่างต่อเนือง ทีอ ุณหภูมสิ ูงถึง 90°C หรืออาจสูงถึง 100°C (ในกรณีทยี างได้รบั อุณหภูมสิ ูง
เป็นช่วงๆ เท่านัน8 )

ิ ณฑ์ยางตดโลหะแบบทั
2.2 การทําผลตภั ิ วไป
 และแบบปราศจากการใช้ชนั 2 กาว
การทําผลิตภัณฑ์ยางติดโลหะแบบทัวไป  จะต้องมีการใช้ชนั 8 กาวในการยึดติด
ระหว่างยางกับโลหะ เพือให้เกิดแรงยึดเหนียวของพันธะระหว่างยางกับโลหะ และต้องทําการวัล
คาไนซ์ดว้ ยระบบการวัลคาไนซ์ทสี มบูรณ์ เพือเพิม สมบัตเิ ชิงกลของผลิตภัณฑ์ยางติดโลหะ ซึง
การทําผลิตภัณฑ์ยางติดโลหะแบบทัวไปนั
 น8 แสดงได้ดงั รูปที 2.2
8

รูปที 2.2 การทําผลิตภัณฑ์ยางติดโลหะแบบทัวไป (ใช้ชนั 8 กาวในการยึดติด)


(Costin and Nagel, 1990)

จากรายงานการใช้สาร metallic coagent พบว่าสาร metallic coagent ซึง เป็ น


สารประกอบอิน ทรีย์ข องโลหะทีส ามารถเพิม สมบัติเ ชิง กล และเป็ น ส่ ว นสํา คัญ ในการเพิม
ความสามารถให้การยึดติดระหว่างยางกับโลหะมีความแข็งแรงขึน8 ได้ โดยปราศจากการใช้ชนั 8
กาว แสดงได้ดงั รูปที 2.3 ในระหว่างการวัลคาไนซ์ สาร metallic coagent จะช่วยเพิม ความ
แข็งแรงในการยึด ติด ระหว่ างยางกับผิว ของโลหะขณะทีม กี ารเชือ มโยง (crosslink) เกิด ขึ8น
ภายในยาง ตัวอย่างสาร metallic coagent ได้แก่ Zinc diacrylate (ZDA) มีชอื ทางการค้าว่า
Saret® 633 และ Zinc dimethacrylate (ZDMA) มีชอื ทางการค้าว่า Saret® 634 เป็ นต้น
(Costin and Nagel, 1990)

รูปที 2.3 การใช้สาร metallic coagents ในการทําผลิตภัณฑ์ยางติดโลหะ


โดยปราศจากการใช้ชนั 8 กาว (Costin and Nagel, 1990)
9

สาร metallic coagent ทีม กี ารวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ (peroxide


cure) จะมีการเชือมโยงของพันธะแบบไอออนิก (ionic bond) ซึง สามารถแสดงสมบัตเิ ด่นของ
ระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ ในด้านการวัลคาไนซ์ทอี ุณหภูมสิ งู ได้ และแสดงสมบัติ
เด่นของระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน (sulphur cure) ในด้านการทนต่อแรงดึง (tensile
strength) และความต้านทานต่อการฉีกขาด (tear strength) ดังแสดงในรูปที 2.4

รูปที 2.4 กลไกการเชือมโยงของสาร metallic coagents


(Costin and Nagel, 1990)

ลักษณะเฉพาะของสาร metallic coagents (Costin and Nagel, 1990)


1. เกิดการไหลได้อย่างอิสระ (free flowing)
2. กระจายตัวได้ง่าย (easily dispersed)
3. ไม่เป็นสารระเหย (non-volatile)
4. มีกลิน น้อย (low odor)
้ นการเกิดการสุกก่อนกําหนด (scorch) ด้วยสารหน่วง (retarder) ทีไ ม่มหี มู่
5. ปองกั
nitroso
6. ให้สมบัตกิ ารยึดติดของพันธะไอออนิกระหว่างยางอีพดี เี อ็ม (EPDM) กับเหล็กและ
ทองเหลืองได้ดขี น8ึ

การทําให้ยางติดกับโลหะได้เอง เรียกว่า direct bonding compound สําหรับ


กระบวนการในการออกสูตรยางคอมเปานด์ให้ตดิ กับโลหะได้เองนัน8 มีความเกียวข้องโดยตรง
กับการเลือกใช้สารเคมีทมี สี มบัตใิ นการเพิม ประสิทธิภาพของการยึดติด ระหว่างพันธะของยาง
คอมเปานด์ก ับผิว ของโลหะ ซึง สารเคมีทเี ลือ กนัน8 จะต้อ งสามารถผสมลงในยางได้โดยตรง
เพือทีจ ะได้เป็นยางคอมเปานด์ และสามารถวัลคาไนซ์ให้ตดิ กับโลหะทีเ ตรียมไว้ได้
10

สารเคมีทผี สมในยางคอมเปานด์ เพือทําให้เกิดการยึดติดกับโลหะได้เอง แบ่งได้


เป็น 3 กลุ่ม ดังนี8
1. สารเสริมการยึดติด (adhesion promoters) โดยส่วนใหญ่เป็นสารประกอบ
อินทรียข์ องโลหะ ได้แก่ Zinc diacrylate, Zinc dimethacrylate, Cobalt stearate และ Cobalt
naphthenate เป็นต้น
2. สารช่วยในการวัลคาไนซ์ (vulcanizing agents) ได้แก่ กํามะถัน (sulphur)
และซิงค์ออกไซด์ (ZnO)
3. สารตัวเติม (fillers) ได้แก่ เขม่าดํา (carbon black) และซิลกิ า (silica)

ตัวอย่างสารเคมีทใี ช้เป็ นสารเสริมการยึดติด


สารเคมีทใี ช้เป็ นสารเสริมการยึดติด โดยผสมลงในยางคอมเปานด์เพือให้เกิด
การติดประสานกับโลหะได้เอง โดยปราศจากการใช้ชนั 8 กาวมีอยูห่ ลายชนิด ได้แก่
1. สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate (ZDA) มีชอื ทางการค้าว่า Saret® 633
ความถ่วงจําเพาะ 1.60 g/ml มีลกั ษณะเป็นผงสีเหลืองอ่อน มีกลิน คล้ายกรดเล็กน้อย มี
โครงสร้างแสดงดังรูปที 2.5
O O
CH2 C C O Zn O C C CH2
H H
รูปที 2.5 สูตรโครงสร้างทางเคมีของ Zinc diacrylate (ZDA)
(Costin and Nagel, 1990)

2. สารเสริมการยึดติด Zinc dimethacrylate (ZDMA) มีชอื ทางการค้าว่า


®
Saret 634 ความถ่วงจําเพาะ 1.50 g/ml มีลกั ษณะเป็ นผงสีขาวนวล มีกลิน คล้ายกรดเล็กน้อย
มีโครงสร้างแสดงดังรูปที 2.6
O O
CH2 C C O Zn O C C CH2
CH3 CH3
รูปที 2.6 สูตรโครงสร้างทางเคมีของ Zinc dimethacrylate (ZDMA)
(Costin and Nagel, 1990)
11

3. สารเสริมการยึดติด Cobalt stearate มีชอื พ้องว่า Octadecanoic acid


cobalt salt สูตรโมเลกุล Co(C18H35O2)2 ความถ่วงจําเพาะ 2.0 นํ8าหนักโมเลกุล 625.9 g/mol มี
ลักษณะเป็นเม็ดสีมว่ ง มีโครงสร้างแสดงดังรูปที 2.7

รูปที 2.7 สูตรโครงสร้างทางเคมีของ Cobalt stearate


(chemBlink, 2009)

4. สารเสริมการยึดติด Cobalt naphthenate มีชอื พ้องว่า Naphthenic acid


cobalt salt สูตรโมเลกุล 2(C11H7O2).Co นํ8าหนักโมเลกุล 401.28 g/mol มีลกั ษณะเป็น
ของเหลวสีมว่ งเข้ม มีโครงสร้างแสดงดังรูปที 2.8

รูปที 2.8 สูตรโครงสร้างทางเคมีของ Cobalt naphthenate


(Wikimedia Commons, 2007)


2.3 การพอลเมอไรเซชั นแบบอมัิ ลชัน (Emulsion polymerization) (สิทธิพงษ์, 2548)
กระบวนการอิมลั ชันพอลิเมอไรเซชัน เป็นหนึงในปฏิกริ ยิ าแบบอนุ มลู อิสระ
(Free–Radical polymerization) โดยเริม จากการทีอ นุมลู อิสระทีเ กิดจากการแตกตัวของตัวริเริม
ปฏิกริ ยิ า (i n i t i a t o r) ไปทําให้เกิดปฏิกริ ยิ าพอลิเมอไรซ์ของมอนอเมอร์ทไี ม่อมิ ตัว หรือไวนิล
มอนอเมอร์ (vinyl monomer) ทีไ ม่เข้ากับนํ8า ซึง มอนอเมอร์ส่วนมากจะกระจายเป็ นหยดนํ8ามัน
ขนาดเล็กแขวนลอยอยูใ่ นนํ8า การทีห ยดมอนอเมอร์ขนาดเล็กสามารถกระจายแขวนลอยอยูใ่ น
นํ8าได้อย่างเสถียร เนืองจากมีสารลดแรงตึงผิวทีเ ป็นโมเลกุลประเภททีด า้ นหนึงชอบนํ8าและอีก
ด้านไม่ชอบนํ8า อยูท่ ผี วิ สัมผัสระหว่างมอนอเมอร์และนํ8 า ผลิตภัณฑ์ทไี ด้จากกระบวนการอิมลั ชัน
พอลิเมอไรเซชัน คือ อนุ ภาคเล็กๆ ของพอลิเมอร์กระจายอยูใ่ นนํ8าอย่างเสถียร เรียกว่า ลาเท็กซ์
(latex)
12

ส่วนประกอบของระบบอิมลั ชันพอลิเมอไรเซชัน ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี8


1. ตัวกลาง (continuous phase) โดยทัวไปใช้  น8ําเป็ นตัวกลาง หน้าทีข องตัว-
กลาง คือ เป็นตัวระบายความร้อนทีเ กิดจากปฏิกริ ยิ า และเป็นตัวทีช ่วยให้เกิดการกระจาย
ลอยตัว และช่วยในการละลายสารเริม ต้นปฏิกริ ยิ า นํ8าทีใ ช้ในอิมลั ชันพอลิเมอไรเซชันต้อง
ปราศจากไอออนชนิดต่างๆ เนืองจากนํ8าทีม ไี อออนจะไปยับยัง8 ปฏิกริ ยิ าพอลิเมอไรเซชัน และ
ลดประสิทธิภาพของสารทีช ่วยให้เกิดการกระจายลอยตัว โดยไปลดความว่องไวของประจุ
นอกจากนี8ยงั ทําให้เปอร์ซลั เฟตไม่ละลาย
2. มอนอเมอร์ (monomer) เป็นตัวกําหนดสมบัตขิ องพอลิเมอร์ทไี ด้ มอนอเมอร์
ส่วนใหญ่มพี นั ธะคู่ ซึง เป็นไวนิลทีไ ม่อมิ ตัวในโมเลกุล
3. สารลดแรงตึงผิว (surfactant) เป็ นสารทีท ําให้เกิดการกระจายลอยตัวของ
มอนอเมอร์ในตัวกลาง สารลดแรงตึงผิวเป็ นโมเลกุลทีม ขี วั 8 (ไฮโดรฟิลกิ ) และไม่มขี วั 8 (ไฮโดรโฟ
บิก) อยูด่ ว้ ยกัน หน้าทีข องสารลดแรงตึงผิว คือ
3.1 ลดแรงตึงผิวระหว่างมอนอเมอร์และนํ8า เพือทําให้เกิดการกระจาย
ลอยตัวทีเ สถียร
3.2 ทําให้มอนอเมอร์เป็นอนุภาคขนาดเล็กทีเ สถียร
3.3 ทําให้เกิดไมเซลล์ (micelle) ซึง เป็นตําแหน่งทีเ กิดพอลิเมอไรเซชัน
3.4 ทําให้เกิดอนุภาคของพอลิเมอร์ และปองกั ้ นไม่ให้เกาะกันเป็นก้อน
ระหว่างและหลังปฏิกริ ยิ า
4. ตัวริเริม ปฏิกริ ยิ า (initiator) แบ่งตามลักษณะของพลังงานทีท ําให้แตกตัวได้
3 ชนิด
4.1 ตัวริเริม ปฏิกริ ยิ าแบบแตกตัวด้วยความร้อน (thermal initiator)
4.2 ตัวริเริม ปฏิกริ ยิ าแบบรีดอ็ กซ์ (redox initiator)
4.3 ตัวริเริม ปฏิกริ ยิ าแบบแตกตัวด้วยแสง (photo initiator)

2.4 การเตรียมกราฟต์โคพอลเมอร์ิ ของยางธรรมชาตด้ ิ วยเทคนคการกราฟต์



การสังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์ ต้องทําให้เกิดตําแหน่ งทีว ่องไวต่อปฏิกริ ยิ า
ขึน8 บนโมเลกุลของพอลิเมอร์ จึงจะสามารถเกิดการโคพอลิเมอไรซ์ได้ วิธที ใี ช้เตรียมกราฟต์โค
พอลิเมอร์ส่วนใหญ่ ได้จากวิธ ีแรดิคลั พอลิเมอไรเซชัน (radical polymerization) ซึงจะเกิด
กราฟต์ โ คพอลิ เ มอร์ แ บบเป็ น เนื8 อ เดี ย วกั น (homogeneous) หรือ ไม่ เ ป็ นเนื8 อ เดี ย วกั น
(heterogeneous) ขึน8 กับว่าพอลิเมอร์ทถี ูกกราฟต์สามารถละลายในมอนอเมอร์ทมี ากราฟต์ได้
หรือไม่ การสังเคราะห์โคพอลิเมอร์มหี ลายวิธไี ด้แก่
13


2.4.1 การถายโอนแรดคั ิ ล ในระหว่างการสังเคราะห์พอลิเมอร์อาจมีการถ่ายโอน แรดิคลั
จากพอลิเมอร์ทกี ําลังขยายขนาด (Pr) ให้กบั สารริเริม มอนอเมอร์ สารถ่ายโอนสายโซ่ (chain
transfer agent) ตัวทําละลายพอลิเมอร์หรือพอลิเมอร์ทกี ําลังขยายขนาด ดังสมการต่อไปนี8
P r * + I → P r + I* (transfer to initiator) (2.1)
Pr* + M → P r+ M * (transfer to monomer) (2.2)
P r* + R S H → P r + R S* (transfer to chain transfer agent) (2.3)
P r* + S → P r+ S* (transfer to solvent) (2.4)
P r* + P → P r+ P * (transfer to dead polymer) (2.5)
P r* + P * → P r+ P * (transfer to growing polymer) (2.6)

แต่ละกลไกจะมีการถ่ายโอนอะตอมของไฮโดรเจนไปยังสายโซ่ของพอลิเมอร์ทกี ําลังขยายขนาด
ทําให้ปฏิกริ ยิ าทีเ กิดบนพอลิเมอร์ส8นิ สุดลง ซึงกลไกในสมการที 2.5 เป็ นกลไกทีจําเป็ นสําหรับ
การสังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์

2.4.2 การกราฟต์ผานตํ ่ าแหนงที ่ ิ วในยางธรรมชาติ เป็ นการเข้าทําปฏิกริ ยิ าของ


่  ไมอมตั
สายโซ่พอลิเมอร์ทกี ําลังขยายขนาดทีต ําแหน่งไม่อมิ ตัว หรือพันธะคู่ของโมเลกุลในธรรมชาติ
ดังแสดงในสมการ 2.7

CH3 CH3
H2C C CH CH2 + Pr* H2C C CH CH2 (2.7)
* R


2.4.3 พอลเมอไรเซชั นแบบรีดอกซ์ เป็ นวิธกี ารเตรียมกราฟต์โคพอลิเมอร์ทมี ปี ระสิทธิ-
ภาพมากทีส ุดกับพอลิเมอร์ซงึ มีหมู่ไฮดรอกซิล เช่น พอลิไวนิลแอลกอฮอล์ และเซลลูโลส เป็ น
ต้น ในการเกิดปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์โดยใช้ซริ กิ ไอออน (ciric ion) หรือสารออกซิไดซ์ (oxidizing
agent) เป็นตัวเร่งปฏิกริ ยิ า จะทําให้เกิดอนุมลู อิสระบนพอลิเมอร์ วิธนี 8ีไม่มโี ฮโมพอลิเมอร์เกิดใน
ระบบ เพราะมอนอเมอร์ไ ม่ว่องไวต่ อ ซิรกิ ไอออน นอกจากนี8 สารริเ ริม ในปฏิกิรยิ ารีด อกซ์ม ี
ั ชนั อืน
ข้อจํากัดในกรณีทพี อลิเมอร์มหี มูฟ่ งก์

2.4.4 การสังเคราะห์ด้วยกระบวนการโฟโตเคมคั ิ ล สารอินทรียท์ มี โี ครงสร้างทีเ หมาะสม


สามารถดูดกลืนพลังงานแสงในช่วงทีส ามารถมองเห็นได้และในช่วงอัตราไวโอเลต ทําให้โมเลกุล
หรืออะตอมเปลีย นระดับพลังงานของโมเลกุลทีถูกกระตุ้นมากเกินไป อาจทําให้สายโซ่โมเลกุล
14

ขาดออก และถ้าในระบบมีมอนอเมอร์อยูด่ ว้ ย จะมีผลทําให้เกิดโคพอลิเมอร์แบบบล็อก แต่ถา้ หมู่


ด้านข้างถูกกระตุน้ จะทําให้เกิดกราฟต์โคพอลิเมอร์แทน


2.4.5 เทคนคการฉายรั งสี เมือพอลิเมอร์ได้รบั การฉายรังสีพลังงานสูง จะเกิดผลกระทบ
สองประการ คือ 1. เกิดการสูญเสียหมูท่ อี ยูด่ า้ นข้าง เช่น ไฮโดรเจนอะตอมจากสายโซ่พอลิเมอร์
2. สายโซ่หลักขาดออก
ซึง ทัง8 2 กรณี อนุ มลู อิสระของพอลิเมอร์อนื สามารถรวมตัวกับพอลิเมอร์ทถี ูกฉายรังสี แล้วเกิด
เป็นกราฟต์โคพอลิเมอร์และบล็อกโคพอลิเมอร์ได้ตามลําดับ การสังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์
โดยฉายรังสีโคบอลต์ 60 ให้กบั นํ8 ายางธรรมชาติทผี สมเมทิลเมทาคริเลต ทําให้มปี ระสิทธิภาพ
ของการกราฟต์สงู และในระบบไม่พบโฮโมพอลิเมอร์ของเมทิลเมทาคริเลต

2.5 กราฟต์โคพอลเมอร์ ิ ของยางธรรมชาติ


กระบวนการอิมลั ชันพอลิเมอไรเซชัน (Emulsion Polymerization) คือ การ
สังเคราะห์พอลิเมอร์ในรูปของอนุ ภาคพอลิเมอร์ ซึง แขวนลอยอยู่ในตัวกลางทีเ ป็ นของเหลว ซึง
ถ้าตัวกลางเป็ นนํ8 า ผลิตภัณฑ์ทไี ด้จะเรียกว่า ลาเท็กซ์ (latex) ข้อดีของการใช้การสังเคราะห์
แบบนี8กค็ อื ความหนืดของผสมพอลิเมอร์จะไม่มคี ่าตําตลอดระยะเวลาของการพอลิเมอไรเซชัน
เนืองจาก ระบบประกอบด้วยนํ8าเป็นส่วนใหญ่ทไี ม่เกีย วข้องในปฏิกริ ยิ า ซึง ถ้าเป็นการสังเคราะห์
พอลิเมอร์ แบบสารละลาย เมือเวลาของปฏิกิรยิ าผ่านไป ผลิตภัณฑ์ทเี กิดขึ8นจะมีความหนืด
เพิม ขึ8น อย่ า งมาก ทํา ให้จํา เป็ น ต้ อ งมีต ัว กวนหรือ ตัว ผสมทีม ีแ รงขับ สู ง และเนื อ งจากยาง
ธรรมชาติจากแหล่งกําเนิดอยู่ในรูปของลาเท็กซ์อยู่แล้ว ทําให้สามารถนํ ามาทําการสังเคราะห์
แบบอิม ัล ชัน พอลิเ มอไรเซชัน ได้ท ัน ที ช่ ว ยลดขัน8 ตอนของการเตรีย มสารละลายของยาง
ธรรมชาติและลดการใช้ตวั ทําละลาย ส่งผลให้ไม่มกี ารปนเปื8อนของตัวทําละลายในผลิตภัณฑ์ที
ได้ นอกจากนี8การใช้ระบบพอลิเมอไรเซชันแบบอิมลั ชัน จะทําให้แต่ละอนุ ภาคของยางธรรมชาติ
มีส่วนของพอลิเมอร์ชนิดทีส องประกอบอยู่ ซึงจะทําให้เกิดการกระจายตัวของพอลิเมอร์ชนิดที
สองในยางธรรมชาติอยู่ในระดับจุลภาค (microscopic) และจะส่งผลดีต่อคุณสมบัติต่างๆ ของ
พอลิเมอร์เชิงประกอบ
ในการสังเคราะห์อนุ ภาคลาเท็กซ์เชิงประกอบของพอลิเมอร์ 2 ชนิด ทําได้โดย
การนํ าพอลิเ มอร์ชนิด แรก ซึง อยู่ใ นรูปของลาเท็ก ซ์มาทํา ให้บวมโดยมอนอเมอร์ชนิด ทีส อง
จากนัน8 จึงทําการเติมตัวริเริม ปฏิกริ ยิ าลงไป เพือทําให้เกิดการพอลิเมอไรเซชันของมอนอเมอร์
ดังกล่าว บนอนุภาคของพอลิเมอร์ชนิดแรก ตัวแปรทีส าํ คัญทีจ ะส่งผลต่อผลิตภัณฑ์ทไี ด้จาก
พอลิเมอร์ลาเท็กซ์เชิงประกอบก็คอื สัณฐานวิทยาของอนุ ภาคลาเท็กซ์เชิงประกอบ โดยปจจั ั ยที
ส่ ง ผลต่ อ สัณ ฐานวิท ยามีอ ยู่ห ลายปจจั ั ย แต่ ป จจั
ั ย ทีสํา คัญ นั น8 ได้แ ก่ ชนิ ด และปริม าณของ
15

พอลิเมอร์ทใี ช้ (อัตราส่วนระหว่างพอลิเมอร์แต่ละตัว) ความเป็ นขัว8 ของพอลิเมอร์ รูปแบบการ


เติมมอนอเมอร์ สารเพิม ทีใ ช้ (surfactant หรือ chain transfer agent) ชนิดของตัวริเริม ปฏิกริ ยิ า
และอุณหภูมขิ องปฏิกริ ยิ า เป็นต้น
เนืองจากยางธรรมชาติมอี งค์ประกอบเป็ นสารไฮโดรคาร์บอนทีไ ม่มขี วั 8 ทําให้ไม่
สามารถยึดติด กับโลหะได้โ ดยตรง จึงจําเป็ น ทีจะต้อ งทําให้ยางมีขวั 8 ขึ8นโดยการกราฟต์ยาง
ธรรมชาติ ด้ ว ยมอนอเมอร์ ทีม ีค วามเป็ น ขัว8 สู ง เช่ น 2–ไฮดรอกซีเ อทิล เมทาคริเ ลต (2–
hydroxyethyl methacrylate, HEMA) ซึง เป็ นวิธหี นึง ทีจะปรับปรุง สมบัติใ ห้ดขี 8นึ และใช้
ประโยชน์ ได้กว้างขวางมากขึน8 ปกติ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต ใช้ในการสังเคราะห์พอลิ
เมอร์ หรือโคพอลิเมอร์ทใี ช้ในอุตสาหกรรมสี และกาว (Quadrat et al., 2004) เป็นหลัก

2.6 คุณสมบัติ ทางกายภาพและเคมีของ 2–ไฮดรอกซีเอทลเมทาครเลต


ิ ิ (HEMA)
2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (HEMA) มีสตู รโครงสร้างทางเคมี ดังแสดงในรูปที 2.9
ชือเคมี IUPAC : 2–Methyl–2 propenoic acid 2–hydroxyethyl ester
ชือเคมีทวไป
ั  : 2–Hydroxyethyl methacrylate
สูตรโมเลกุล : CH2=C(CH3)COOCH2CH2OH
นํ2าหนักโมเลกุล : 130.14
สถานะ : ของเหลวใส ไม่มสี ี
กลน ิ : คล้ายผลไม้
จุดเดือด (°C) : 205–208
จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง (°C) : -12
ความถวงจํ่ าเพาะ : 1.073 g/mL ที 25°C
ความเป็ นกรดดาง ่ (pH) : 4 ที 25°C
ความสามารถในการละลายนํ2าที (กรัม/100 มล.) : ละลายได้ ที 20°C
สารทีทาํ ให้เสถียร : ไฮโดรควิโนนโมโนเมทธิลอีเธอร์
(hydroquinone monomethyl ether)
ข้อมูลอืนๆ : สารนี8ไวต่อแสง ความชืน8 และความร้อน
O
H2 C O OH
CH3
รูปที 2.9 สูตรโครงสร้างทางเคมีของ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (HEMA)
(Bimax Chemicals Ltd., 2006)
16


2.7 การตดประสาน

2.7.1 ทฤษฎีของการตดประสาน
การติดประสาน หมายถึง กระบวนการนําสิง ต่างๆ ทีต อ้ งการจะนํามาเชือมต่อติดเข้า
ด้วยกันโดยใช้กาว หรืออีกความหมายหนึง คือ การทีส ถานะทีส องพืน8 ผิวยึดติดกัน โดยเกิดแรง
กระทําระหว่างผิวอย่างใดอย่างหนึง หรือการประกอบกันของแรงอันเนืองมาจากอิเล็กตรอนวง
นอก แรงทางกายภาพ หรือการติดกันโดยการเกีย วระหว่างผิว (Garbassi et al., 1994)

2.7.2 กลไกการยึดตด ิ
การทีจ ะทําให้วตั ถุ 2 ชิน8 หรือมากกว่าติดเข้าด้วยกันนัน8 จะต้องทําให้อะตอมของวัตถุ
ทัง8 สองเข้าใกล้กนั มากทีส ุด และเพียงพอทีจ ะทําให้เกิดแรงกระทําระหว่างโมเลกุล โดยปกติควร
มีระยะห่างไม่เกิน 3–10 Å หากเกินระยะนี8 แรงดังกล่าวจะลดลงอย่างรวดเร็ว ดังนัน8 การทีจ ะเกิด
การยึดติดทีด ตี อ้ งทําให้วตั ถุทงั 8 สองเข้าใกล้กนั เพียงพอ (ธนาวดี, 2546) โดยใช้ทฤษฎีต่างๆ
ต่อไปนี8ในการอธิบายกลไกการยึดติดของสารยึดติดกับวัสดุ
2.7.2.1 การยึดติดทางกล (Mechanical bonding)
การยึดติดทางกลเป็นการยึดติดโดยใช้แรงยึดเหนียวทีเ กิดจากการเกีย ว
ติดกันระหว่างโมเลกุลของสารยึดติดกับวัสดุ หรือเรียกอีกอย่างหนึงว่า mechanical interlocking
ใช้ในการยึดติดกับวัสดุทมี ผี วิ หน้าขรุขระไม่เรียบ เช่น ไม้ กระดาษ หรือเส้นใย ความขรุขระของ
ผิวหน้าทําให้มพี น8ื ทีผ วิ ในการยึดติดระหว่างสารยึดติดกับวัสดุมากขึน8 การยึดติดทางกลนี8เกิดขึน8
เมือ ทาสารยึดติดบนพืน8 ผิววัสดุทตี ้องการจะยึดติด และสารยึดติดจะไหลแทรกตัวไปบนพืน8 ผิวที
ขรุขระ รวมทัง8 ซอก ร่อง รู และช่องว่างอืนๆ บนพืน8 ผิว ทําให้สารยึดติดไหลเข้าไปแทนทีอ ากาศ
ในช่องว่างบนพืน8 ผิวของวัสดุ หรือการแพร่ผ่านลงไปในผิวของวัสดุ เมือสารละลายระเหย ทําให้
เกิดการเซ็ตตัว เป็ นเหตุเกิดการล็อกติดอยู่กบั พืน8 ผิวของวัสดุ แสดงดังรูปที 2.10 ความแข็งแรง
ของการยึดเกาะนี8ขน8ึ อยู่กบั ความขรุขระ (roughness) ของพืน8 ผิวทีจ ะเกิดการสัมผัส ทําให้เกิด
การแทรกตัวของสารยึดติด รวมทัง8 ปจจั ั ยต่างๆ ทีม ผี ลต่อความสามารถของสารยึดติด ในการ
เปี ยกและแทรกตัวในพืน8 ผิวทีจะยึดติด เช่น ความหนืดของสารยึดติด พื8นผิวทีมคี วามเรียบ
เกินไปจะเกิดการยึดเกาะเชิงกลน้อยหรือไม่มเี ลย (อิทธิพล, 2544)
17

รูปที 2.10 การยึดติดทางกล (Mechanical bonding)


(SpecialChem Adhesives & Sealants, 2007b)

2.7.2.2 การแพร่เข้าหากันของสายโซ่ (Interdiffusion of chain)


กลไกการยึดติดแบบนี8สามารถเกิดกับพื8นผิวทีมกี ารเคลือบพอลิเมอร์ เพือ
ปรับปรุงผิวก่อน แล้วจึงทําการเคลือบสารยึดติดลงไป การยึดติดของพืน8 ผิวสองชนิดสามารถเกิด
ได้ ถ้าโมเลกุลบริเวณพืน8 ผิวสัมผัสทัง8 สองชนิดมีการแพร่ (diffusion) เข้าหากันและกัน แสดงดัง
รูปที 2.11 เป็ นการแพร่ของสายโซ่โมเลกุลภายในเนื8อสารยึดติด มีการเคลือนไหว และบิดตัว
ของสายโซ่ ความแข็งแรงของการยึดเกาะชนิดนี8จะขึน8 อยู่กบั ปริมาณการเกียวพันกันของสายโซ่
โมเลกุล (molecular entanglement) ว่ามีมากหรือน้อย อีกทัง8 ขึน8 อยู่กบั ชนิดและจํานวนสายโซ่
โมเลกุล (อิทธิพล, 2544) เนืองจากความสามารถในการแพร่และการพันกันของสายโซ่ขน8ึ อยู่กบั
ความสามารถในการเคลือนทีข องสายโซ่โมเลกุล (molecular motion) ดังนัน8 การยึดเกาะแบบ
อินเตอร์ดฟิ ฟิ วชันสามารถเพิม ความสามารถในการแพร่ของสายโซ่โมเลกุลสารยึดติดได้ โดย
เพิม แรงกด เพิม อุณหภูม ิ เพิม เวลาในการติด หรือลดนํ8าหนักโมเลกุลของสายโซ่ นอกจากนี8การ
ใช้ตวั ทําละลาย (solvents) ทาทีพ8นื ผิว หรือการใช้สารเติมแต่งจําพวกพลาสติกไซเซอร์
(plasticizers) หรือแทกคิไฟเออร์ (tackifier) ร่วมด้วยจะทําให้สายโซ่โมเลกุลพอลิเมอร์สามารถ
เคลือนทีไ ด้งา่ ย

รูปที 2.11 การแพร่เข้าหากันของสายโซ่ (Interdiffusion of chain)


(SpecialChem Adhesives & Sealants, 2007c)
18

2.7.2.3 แรงดึงดูดประจุหรือไฟฟาสถิ ้ ตย์ (Electrostatic attraction)


แรงทางประจุไฟฟ้าเป็ นอีกปจจั ั ยหนึง ในการยึดติดระหว่างสารยึดติดกับวัตถุ แรงที
ใช้ในการยึดติด เป็ นแรงทีได้มาจากชัน8 อิเล็กตรอนคู่ (electrical double layer) ของประจุบน
พืน8 ผิวทีต ่างกัน แรงดึงดูดจะเกิดขึน8 เมือพืน8 ผิวทัง8 สองชนิดทีม ปี ระจุต่างกันมาอยู่ใกล้กนั นัน คือ
ถ้าพืน8 ผิวหนึงมีประจุบวก (net positive charge) และอีกพืน8 ผิวหนึงมีประจุรวมเป็ นลบ (net
negative charge) ตัวอย่างเช่น อันตรกิรยิ าระหว่างกรด-เบส (acid-base interaction) และ
พันธะไอออนิก (ionic bonding) แสดงดังรูปที 2.12 ความแข็งแรงของกลไกการยึดติดชนิดนี8
ขึน8 กับความหนาแน่นประจุ (charge density) แรงดึงดูดระหว่างประจุหรือไฟฟาสถิ ้ ตจะไม่ใช้แรง
ยึดติดหลักระหว่างพืน8 ผิวสองพื8นผิว แต่แรงดึงดูดชนิดนี8มสี ่วนร่วมกับกลไกการยึดติดชนิดอืน
ช่วยให้เกิดการยึดเกาะกันระหว่างสองพืน8 ผิวได้ดขี น8ึ เช่น การยึดเกาะของสารคู่ควบประเภท
ไซเลน (silane coupling agent) ทีม หี มูฟ่ งก์ ั ชนั เป็นประจุบวก (cationic function groups)
เป็นต้น เกาะกันอย่างไร

้ ตย์ (Electrostatic attraction)


รูปที 2.12 แรงดึงดูดประจุหรือไฟฟาสถิ
(SpecialChem Adhesives & Sealants, 2007d)

2.7.2.4 พันธะทางเคมี (Chemical bonding)


เป็นกลไกการยึดติดทีส าํ คัญทีส ุดชนิดหนึง แสดงดังรูปที 2.13 ซึง เป็ นการยึด
ั ชนั ทางเคมี
ติดเนืองจากการแทรกซึมระหว่างสารยึดติดและวัสดุ เกิดขึน8 เมือพืน8 ผิวหนึงมีหมู่ฟงก์
(function groups) บนพื8นผิว และอีกพืน8 ผิวหนึงมีหมู่ฟงก์ ั ชนั ทีสามารถเกิดปฏิกริิ ยาเคมี เกิด
เป็ นพันธะทางเคมี ได้แก่ พันธะโควาเลนต์เชือมระหว่างพืน8 ผิวสองพืน8 ผิว ซึง เป็ นการยึดติดที
แข็งแรง ความแข็งแรงของกลไกการยึดติดชนิดนี8 ขึน8 กับจํานวนและชนิดของพันธะทีเกิดขึน8
การเสีย สภาพของพื8น ผิว ระหว่ า งอิน เตอร์เ ฟสจะเกีย วข้อ งกับ การแตกหัก ของพัน ธะเคมีน8ี
ตัวอย่างการยึดเกาะด้วยพันธะทางเคมี ได้แก่ การเกิดพันธะโควาเลนต์ระหว่างสารคู่ควบ
ั ชนั บนพืน8 ทัง8 สอง
(coupling agent) กับหมูฟ่ งก์
19

รูปที 2.13 พันธะทางเคมี (Chemical bounding)


(SpecialChem Adhesives & Sealants, 2007a)


2.7.3 ปัจจัยทีมีผลตอการตดปร ิ ะสาน
โลหะส่วนใหญ่มชี นั 8 ของออกไซด์เกาะอยู่บนพืน8 ผิว โดยโครงสร้างของออกไซด์ทเี กิด
ขึน8 มีอยูห่ ลายแบบ ขึน8 อยูก่ บั องค์ประกอบและสภาวะแวดล้อมของโลหะแต่ละชนิด (Su, Y.–Y.
and Shemenski R.M., 2000) นอกจากนัน8 การทีว สั ดุต่างๆ จะได้ยดึ ติดประสานกันได้ ยังต้อง
อาศัยปจจั ั ยอืนๆ อีก ดังเช่น
2.7.3.1. ลักษณะผิวของวัสดุ (Nature of substrate surface)
a) ลักษณะผิวเชิงเรขาคณิต (surface geometry)
b) ลักษณะผิวเชิงเคมี (surface chemistry)
c) ความแข็งแรงเชิงกลของผิว (mechanical strength of surface region)
2.7.3.2. สมบัตเิ ชิงกลของผิววัสดุ (Mechanical properties of substrate)
2.7.3.3. ลักษณะของสารยึดติด (Nature of adhesive)
a) ความหนืด (viscosity)
b) ลักษณะทางเคมี (chemical nature)
c) สมบัตเิ ชิงกล (mechanical properties)
2.7.3.4. สภาวะของการเกิดพันธะ (Bonding condition)
a) ความดัน (pressure)
b) อุณหภูม ิ (temperature)
c) เวลา (time)
2.7.3.5. สภาวะก่อนการนําไปทดสอบ (Condition prior to be testing)
a) อุณหภูม ิ (temperature)
b) ความชืน8 (humidity)
c) ความเค้น (stress)
20

2.7.3.6. สภาวะขณะทําการทดสอบ (Testing condition)


a) อัตราในการยืด (strain rate)
b) อุณหภูม ิ (temperature)

2.7.4 ปัจจัยในการเลือกวธีิ การเตรียมผวิ (Adhesives Design Toolkit, 2007)


เนืองจากมีการนําโลหะมาใช้ในงานทางด้านวิศวกรรมอยูห่ ลายชนิดแตกต่างกัน
ั ยดังต่อไปนี8
ขึน8 อยูก่ บั งาน ซึง โลหะแต่ละชนิดก็มวี ธิ กี ารเตรียมผิวทีแ ตกต่างกัน ขึน8 อยูก่ บั ปจจั
2.7.4.1. ต้นทุนและวิธกี ารผลิต เนืองจากการเตรียมผิวด้วยวิธที างเคมีนนั 8 มักจะเสีย
ค่าใช้จ่ายถูกกว่าการเตรียมผิวด้วยวิธที างกล
2.7.4.2. สุขภาพและความปลอดภัย ในขณะทีเ ตรียมผิวโลหะ ควรมีอุปกรณ์ในการ
้ นการสูดดมสารเคมีทใี ช้ในการทําความสะอาดผิวหน้า และเตรียมชิน8 โลหะด้วยความ
ปองกั
ระมัดระวัง
2.7.4.3. ความยากง่ายในการเตรียมผิว ขึน8 อยูก่ บั ความพร้อมของเครือ งมือ สารเคมี
และชนิดของโลหะ ในการเลือกเครือ งมือควรใช้เครือ งมือเดิมทุกครัง8 ไม่ควรเปลีย นเครือ งมือ
หากไม่จาํ เป็น

2.7.5 ผลของการเตรียมผววั ิ สดุ (Effect of surface treatment)


ในการเตรียมผิววัสดุทจี ะติดกับสารยึดติดนัน8 เป็นการเพิม พืน8 ทีใ นการยึดติดและเพิม
ความสามารถในการกระจายตัวของสารยึดติดบนพืน8 ผิวของวัสดุทตี อ้ งการยึดติด รวมทัง8 เป็ น
การเตรียมมุมในการยึดติดให้เหมาะสมกับสารยึดติดทีน ํามายึดติด โดยวิธกี ารเตรียมผิววัสดุที
ต้องการนํามายึดติด (Wake, 1984) สามารถทําได้หลายวิธดี งั นี8
2.7.5.1. วิธที างกล (Mechanical method) เป็นการกําจัดชัน8 ผิวทีอ ่อนแอออกไป
ทําให้ผวิ มีความขรุขระและยังเป็นการเพิม ความแข็งแรงของรอยต่อได้อกี ด้วย การเตรียมผิวด้วย
วิธนี 8ี ทําให้เกิดการยึดติดเชิงกล (mechanical interlocking)
2.7.5.2. วิธที างเคมี (Chemical method) เป็นการใช้สารเคมีในการกําจัดผิวชัน8 นอก
ออก ซึง จะทําให้ผวิ มีความขรุขระ และทําให้มกี ารเปียกผิว (wetting) ของสารยึดติด (กาว) ได้ด ี
ยิง ขึน8
2.7.5.3. วิธบี ลั ค์ (Bulk method) เป็นวิธกี ารเตรียมผิวทีถ อื ว่าเป็นวิธที างอ้อม ซึง การ
เตรียมผิวด้วยวิธนี 8ีมผี ลในการเพิม ความแข็งแรงของรอยต่อ
21

2.7.6 ข้อดีของการเตรียมผวิ (Dunlap et al., 2002)


เป็นทีท ราบกันดีอยูแ่ ล้วตัง8 แต่ปี ค.ศ. 1950 ว่า การเตรียมพืน8 ผิว เป็ นวิธกี ารทําความ
สะอาดพืน8 ผิว ซึง เป็ นขัน8 ตอนแรกในการทําให้พนั ธะของการยึดติดมีค่าเพิม ขึน8 ในอุตสาหกรรม
เกียวกับการบิน และพบว่าการเตรียมพื8นผิวมีความสําคัญในการยึดติดของพันธะ และการทํา
ความสะอาดพื8น ผิว มีอ ยู่ห ลายวิธ ี ซึง แต่ ล ะวิธ ีนัน8 สามารถเพิมความแข็ง แรงของพัน ธะและ
ต้านทานการกัดกร่อนได้ โดยส่วนใหญ่การทําความสะอาดพื8นผิว เป็ นวิธกี ารเบื8องต้นก่อนทํา
การยึดติดในขัน8 ต่อไป
2.7.6.1. เพือกําจัดหรือขัดขวางการเกิดชัน8 ผิวทีอ ่อนแอ (weak layer) ขึน8 บนผิววัสดุ
2.7.6.2. เพือทําให้การยึดติดระหว่างสารยึดติด หรือสารรองพืน8 และวัสดุในระหว่าง
การยึดติดสามารถยึดติดกันในระดับโมเลกุลได้มากทีส ุด และเพิม ความ
สามารถในการยึดติดกับวัสดุทตี ดิ ได้ยาก เช่น polyolefins และ
polytetrafluoroethylene
2.7.6.3. เพือเพิม อายุการใช้งาน
2.7.6.4. เพือทําให้ผวิ มีความขรุขระ
้ น8 ผิวก่อนทําการยึดติด
2.7.6.5. เพือปกปองพื

2.7.7 การทดสอบความแข็งแรงในการยึดตด ิ (ธนาวดี, 2546)


การยึดติดทีด ตี อ้ งมีความต้านทานการแยก อันเนืองมาจากแรงกระทําในลักษณะต่างๆ
ตามสภาพการใช้งาน ดังนัน8 จึงต้องทําการทดสอบความแข็งแรงของการยึดติด โดยใช้แรงดึงใน
แบบต่างๆ ดังนี8
2.7.7.1 การดึงในแนวระนาบทีข นานกับการยึดติด (shear) โดยให้แรงดึงกระจายไป
ทัวพื
 น8 ทีท เี กิดการยึดติดทัง8 หมด ดังแสดงในรูปที 2.14(a)
2.7.7.2 การดึงในแนวตัง8 ฉากกับการยึดติด (tensile) โดยให้แรงดึงกระจายไปทัว
พืน8 ทีท เี กิดการยึดติดทัง8 หมด ดังแสดงในรูปที 2.14(b)
2.7.7.3 การดึงโดยใช้แรงแยก (cleavage) ซึง ให้แรงในการแยกเฉพาะบริเวณขอบ
ของการยึดติดเท่านัน8 ดังแสดงในรูปที 2.14(c)
2.7.7.4 การดึงแบบลอก (peel) ใช้ในการทดสอบเมือ มีวตั ถุอย่างน้อยหนึงชนิดทีผ วิ มี
ความยืดหยุน่ สูง ดังแสดงในรูปที 2.14(d)
22

(a) (b)

(c) (d)

รูปที 2.14 การทดสอบความแข็งแรงของการยึดติด


(The Adhesive and Sealant Council,Inc., 2008)

2.7.8 ลักษณะของความล้มเหลวในการยึดตด ิ
ความแข็ง แรงในการยึด ติด ของวัส ดุ จะมากหรือ น้ อ ย ขึ8นอยู่ก ับ ความแข็ง แรงของ
บริเวณทีมแี รงยึดติดตําทีส ุดในชิน8 งาน ซึง มักพบตามบริเวณต่างๆ เช่น ระหว่างสารรองพืน8 กับ
วัสดุ ภายในเนื8อวัสดุ หรือเกิดขึน8 ทัง8 สองบริเวณ ซึง ลักษณะของความล้มเหลวได้แสดงดังรูปที
2.15

ชัน2 กาว ชัน2 กาว ชัน2 กาว

ชัน2 วัสดุ ชัน2 วัสดุ ชัน2 วัสดุ


ิ ่
เกดระหวางสารรองพื 2นกับวัสดุ ิ งสองบรเวณ
เกดทั 2 ิ ิ ภายในเนื2 อวัสดุ
เกด
รูปที 2.15 ลักษณะของความล้มเหลวในการยึดติด
(Vetteworks, 2008)

2.8 การตรวจสอบเอกสาร
2.8.1 งานวจัิ ยทีเกียวข้องกับการตดประสาน

Ansarifar, et al. (2003) ได้ทาํ การศึกษาความแข็งแรงของการยึดติดระหว่างยาง
ธรรมชาติทใี ส่สารตัวเติมซิลกิ าชนิดตกตะกอน ปริมาณ 60 phr (โดยนํ8าหนัก) กับไนลอน 6,6
โดยคํานวณความแข็งแรงของการยึดติดจากการทดสอบแบบปอก (peel test) นอกจากนี8ยงั มี
การใส่ bis[3-triethoxysilylpropyl]-tetrasulphane (TESPT) ซึง เป็ น bifunctional organosilane
23

ลงไปในยางคอมเปานด์อกี ด้วย ในปริมาณ 3 phr และ 7 phr เพือไปขัดขวางไม่ให้ซลิ กิ ารบกวน


กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ าในการวัลคาไนซ์ยางด้วยระบบกํามะถัน หลังจากนัน8 นํายางมายึดติดกับ
ไนลอน 6,6 ด้วยกาวทีใ ช้ตวั ทําละลายอินทรีย์ (organic solvent–based) ซึง เป็นระบบในการยึด
ติดของยางกับไนลอน สําหรับการทดสอบความแข็งแรงของการยึดติดได้ทาํ การทดสอบแบบ
ปอกด้วยมุม 90 องศา และใช้อตั ราเร็วคงทีห รือภายใต้แรงคงที จากการทดสอบโดยใช้อตั ราเร็ว
คงที พบว่าสามารถคํานวณพลังงานในการปอก (peeling energies) ได้มากกว่า 17 kJ/m2 แต่
เมือ ทดสอบภายใต้แรงคงที พบว่าความล้มเหลวของรอยต่อทีเ กิดขึน8 นัน8 ขึน8 อยูก่ บั เวลาของการ
ทดสอบ และเกิดความล้มเหลวแบบโคฮีซฟี (cohesive failure) ขึน8 ในยางและในสารรองพืน8
(MEGUM 3276) มากกว่าทีจ ะเกิดบริเวณรอยต่อระหว่างสารรองพืน8 กับไนลอน และตําแหน่ง
ของการเกิดความล้มเหลวมีความไม่แน่นอน แต่ห่างจากสารทาทับ (MEGUM 102) อยูใ่ นช่วง
250 µm และ 700 µm และเป็นทีน ่ าสังเกตว่าการใส่ TESPT ลงในยางในปริมาณทีม ากกว่า 7
phr จะไม่มผี ลต่อความแข็งแรงในการยึดติด
Ansarifar, et al. (2002) เนืองจากได้มกี ารนําสารรองพืน8 (primer) มาใช้ในงานด้าน
ยางติดโลหะอยู่บ่อยครัง8 เพือปองกั ้ นพืน8 ทีผ วิ ในการยึดติดไม่ให้เกิดการกัดกร่อนขณะใช้งาน จึง
ได้ทาํ การศึกษาบทบาทของสารรองพืน8 (primer) ของการยึดติดระหว่างยางกับไนลอน 6,6 โดย
การทดสอบแบบปอก (peel test) โดยชิน8 ทดสอบทีน ํามาศึกษานัน8 เตรียมขึน8 จากการวัลคาไนซ์
ยางทีเ ติมเขม่าดํา ชนิด HAF ปริมาณ 60 phr ให้ยดึ ติดกับไนลอน 6,6 ซึง เป็ นซับสเตรท ทีร อง
พืน8 ด้วยกาวทีใ ช้ตวั ทําละลายอินทรีย์ (organic solvent–based) หรือกาวทีใ ช้น8ําเป็ นตัวทํา
ละลาย (water–based) หลังจากนัน8 ทาทับด้วยสารยึดติดทีใ ช้สาํ หรับการยึดติดกับยาง และทํา
การทดสอบแบบปอก ด้วยมุม 90 องศา ภายใต้แรงคงที ทีอ ุณหภูมปิ ระมาณ 23°C หลังจากทีด งึ
ยางออกจากซับสเตรทแล้ว พบว่าความล้มเหลวทีเ กิดขึน8 เป็ นแบบโคฮีซฟี (cohesive failure)
ซึง เกิดขึน8 ในสารรองพืน8 และในยางมากกว่าทีจ ะเกิดขึน8 ทีผ วิ ระหว่างสารรองพืน8 กับไนลอน แต่
สิง ทีน ่าสนใจ คือ เมือ นํายางมายึดติดกับไนลอนทีไ ด้เคลือบด้วยกาวทีใ ช้ตวั ทําละลายอินทรีย์
หรือกาวทีใ ช้น8ําเป็ นตัวทําละลาย และทดสอบแบบปอกภายใต้สภาวะเดียวกัน พบว่าควา
ล้มเหลวทีเ กิดขึน8 เป็ นแบบโคฮีซฟี ทีเ กิดขึน8 ภายในยางและความแข็งแรงในการยึดติดมีค่า
เพิม ขึน8
Ansarifar, et al. (2001) ได้ทาํ การศึกษาสมบัตขิ องการยึดติดระหว่างยางกับโลหะ
เหล็ก โลหะอะลูมเิ นียม และไนลอน 6,6 โดยใช้วธิ กี ารทดสอบแบบปอก (peel test) ซึง จากผล
การทดสอบพบว่า โลหะอะลูมเิ นียมผสมและไนลอน 6,6 ซึง มีน8ําหนักเบา สามารถนํามาใช้งาน
แทนการใช้โลหะเหล็กในงานด้านยางติดโลหะ เมือ ทําการดึงลอกยางด้วยมุม 90 องศา ภายใต้
อัตราความเร็วคงที หรือภายใต้แรงคงที พบว่าพลังงานทีใ ช้ในการปอกยางออกจากซับสเตรท
ไนลอน ต้องใช้พลังงานในการปอก (peeling energies) มากกว่า 24 kJ/m2 แต่สาํ หรับโลหะ
เหล็กและอะลูมเิ นียมต้องใช้พลังงานมากกว่า 13 kJ/m2 จากการทดสอบภายใต้แรงคงที พบว่า
24

ลักษณะของความล้มเหลวทีเ กิดขึน8 นัน8 ขึน8 อยูก่ บั เวลาในการทดสอบ และในบางครัง8 เกิดความ


ล้มเหลวแบบโคฮีซฟี (cohesive failure) ขึน8 ภายในยาง ห่างจากสารทาทับ (covercoat) อยู่
ในช่วง 20 และ 700 µm ความล้มเหลวของพันธะจะเกิดขึน8 อย่างช้าๆ เมือ มีการปอกเพิม ขึน8
ด้วยอัตราความเร็วทีต าํ กว่า 10-6 mm/s แต่จะเกิดความล้มเหลวอย่างรวดเร็ว เมือ ใช้อตั ราเร็วใน
การปอกประมาณ 240 mm/s สิง ทีน ่าสนใจ คือ ในการทดสอบแบบปอก ความล้มเหลวทีเ กิดขึน8
จากทัง8 2 วิธ ี นัน8 เกิดขึน8 แบบสุ่มและเกิดขึน8 อย่างฉับพลัน
Cook, et al. (1997) ได้ศกึ ษาการทดสอบแบบปอก (peel test) เพือใช้ในการศึกษา
การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ ทีผ ่านการขึน8 รูปแบบฉีด (injection moulding) โดยคํานวณ
พลังงานในการปอกจากแรงทีใ ช้ในการปอก ซึง เป็นพลังงานยืดหยุ่นทีเ ก็บสะสมไว้ในยาง จาก
การศึกษาพบว่าอัตราเร็วในการปอก (peel rate) ไม่มผี ลต่อพลังงานในการปอก และเมือ เพิม
องศา (มุม) ในการปอกมากขึน8 มีผลทําให้พลังงานในการปอกมีค่าเพิม ขึน8 เช่นกัน เนืองจาก
พลังงานในการปอกจะมีความแข็งแรงขึน8 อยูก่ บั มุมทีใ ช้ในการปอก เมือ เพิม มุมในการปอกจาก
30 องศา เป็น 90 องศา ตําแหน่งของความล้มเหลว คือ บริเวณทีม กี ารยึดเกาะกันภายในยางแต่
ไม่ลกึ มาก และบริเวณนี8ทาํ ให้เกิดรอยแตกทีผ วิ เพิม มากขึน8
Costin and Nagel (1990) ได้ศกึ ษาการทําผลิตภัณฑ์ยางติดโลหะ โดยใช้สารช่วยใน
การยึดติดประเภทสารประกอบอินทรียข์ องโลหะ คือ Zinc diacrylate มีชอื เรียกในทางการค้าว่า
Saret® 633 และ Zinc dimethacrylate มีชอื เรียกในทางการค้าว่า Saret® 634 และได้นําไป
เปรียบเทียบกับการทําผลิตภัณฑ์ยางติดโลหะแบบใช้ชนั 8 กาว และทดสอบสมบัตติ ่างๆ เช่น
สมบัตใิ นการติดประสาน พบว่าการใช้ Zinc diacrylate และ Zinc dimethacrylate ผสมลงในยาง
คอมเปานด์ นัน8 มีผลทําให้สมบัตเิ ชิงกลของยางดีขน8ึ และการติดประสานของพันธะระหว่างยาง
กับโลหะ มีความแข็งแรงกว่าการใช้ชนั 8 กาว
Dobias and Heckmann (1981) กล่าวถึงการยึดติดระหว่างผิวของยางกับผิวของ
โลหะ โดยการใช้ระบบการวัลคาไนซ์ยางแบบกํามะถัน ซึง หลังจากผสมยางกับกํามะถันแล้ว ยัง
มีการเติมสารอืนๆ คือ tellurium, โลหะผสม tellurium และสารประกอบของ tellurium ซึงเป็ น
สารทีช่วยเพิม ความแข็งแรงของพันธะ พบว่าสามารถช่วยเพิม ความแข็งแรงของพันธะระหว่าง
โลหะกับยางได้ หรือทําให้เกิดพันธะระหว่างยางกับผิวของโลหะได้เอง และยังมีผลทําให้ความ
แข็งแรงของการติดประสาน (adhesive strength) ระหว่างยางกับโลหะมีค่าเพิม ขึ8น 100%
นอกจากนี8 ย งั สามารถปองกั ้ น การเสือ มและการกัด กร่อ นของผลิต ภัณ ฑ์ย างติด โลหะจาก
สภาพแวดล้อมได้อกี ด้วย กระบวนการนี8เหมาะสําหรับการผลิตยางล้อรถ จักรยานยนต์ ยางล้อ
เครืองบิน สายพานลําเลียง เข็มขัดนิรภัย และท่อยาง ซึงผลิตภัณฑ์เหล่านี8มกี ารใช้งานภายใต้
ความเค้น (stresses) สูง
Hilton, et al. (2002) ได้กล่าวถึงยางคอมเปานด์ทมี สี ารประกอบอินทรียข์ องโลหะที
ประกอบด้วยอะตอมของโคบอลต์ หรืออะตอมของนิกเกิลประมาณ 3-4 อะตอม ซึง ในแต่ละ
25

อะตอมได้เชือมต่อกันด้วยอะตอมของออกซิเจน เพือยึดติดกับโลหะอะลูมเิ นียม ซิลกิ อน หรือ


ไทเทเนียม นอกจากนี8ยงั ประกอบด้วยการรวมตัวกันของกรดคาร์บอกซิลกิ ชนิดสายโซ่ธรรมดา
(aliphatic) และชนิดวงแหวน (aromatic) แทนการใช้สารเสริมการยึดติด เพือนําไปใช้ในการยึด
ติดระหว่างโลหะเหล็กทีเ ตรียมผิวโดยการเคลือบด้วยชัน8 ของทองเหลืองกับยางทีว ลั คาไนซ์
Ikeda, et al. (2003) ได้ทาํ การศึกษาการยึดติดจากการวิเคราะห์ดว้ ยวิธสี เปกโทร-
สโคปิค (spectroscopic) ซึง ทําให้เกิดการแพร่ออกไประหว่างชิน8 ตัวอย่างทีเ ชือมต่อกัน โดยจะ
เกิดการวัลคาไนซ์ของสารยึดติดระหว่างยางธรรมชาติกบั electroless Pd และ/หรือ Pd–P
alloys ในการส่งอิเล็กตรอนผ่านเข้าไปในกล้องจุลทรรศน์ สามารถแสดงให้เห็นรูปของชัน8 ทีเ กิด
การยึดติดของผิวระหว่างยางกับแผ่นฟิลม์ ของ electroless–plating ของ Pd กับ S ได้ โดยใช้
พลังงาน X–ray spectroscopy ให้แพร่กระจายเข้าไป เพือเปลีย นแปลงทีละน้อยตามความลึก
ของชัน8 ระหว่างผิวของยางกับแผ่นโลหะ (สําหรับ Pd-alloy) แต่จะต้องควบคุมความลึกของ Pd–
P alloys ให้เกิดการเปลีย นแปลงน้อยทีส ุด
Imori and Iida (2004) ได้ทาํ การศึกษาเพือพัฒนาและปรับปรุงสารตัวเร่งของการยึด
ติด (adhesion accelerator) ให้มสี มบัตใิ นการยึดติดทีด ี เทียบเท่าหรือสูงกว่ายางคอมเปานด์ที
ใส่สารประเภทโคบอลต์ และยังสามารถเก็บไว้ได้นานก่อนนําไปขึน8 รูป จากการทดลองพบว่าเมือ
ใส่สารตัวเร่งทีป ระกอบด้วยสารประเภทนิกเกิลร่วมกับสารประเภทสังกะสีลงในยางคอมเปานด์
แทนการใช้สารประเภทโคบอลต์ มีผลทําให้ได้สมบัตขิ องการยึดติดทีด กี ว่าการใช้สารประเภท
โคบอลต์เพียงลําพัง และการใส่สารตัวเร่งทัง8 2 ชนิดข้างต้น สามารถให้สมบัตกิ ารยึดติดทีด ใี น
ระหว่างกระบวนการของการวัลคาไนซ์ทอี ุณหภูมสิ งู อีกด้วย
Kent (2005) ได้กล่าวถึงวิธกี ารในการยึดติดของวัสดุทมี โี ครงสร้างต่างกัน เช่น การ
ยึดติดระหว่างยางกับโลหะ แต่เนืองจากยางไม่สามารถยึดติดกับโลหะได้โดยตรง ดังนัน8 จึงต้อง
มีการรองพืน8 โลหะด้วยสารรองพืน8 ก่อนนําไปยึดติดกับยาง ซึง สารรองพืน8 นี8มผี ลทําให้เกิดชัน8 ผิว
ทีอ ่อนแอ จึงมีผลทําให้ความแข็งแรงในการยึดติดระหว่างยางกับโลหะมีค่าตําลง ในงานวิจยั นี8จงึ
ได้ศกึ ษาวิธกี ารเพิม พืน8 ทีผ วิ ของโลหะ เพือยึดติดกับยาง ซึง เป็นการเพิม ความแข็งแรงของพันธะ
ในการยึดติด โดยการทําให้โลหะมีช่องว่างเพิม ขึน8 ก่อนนํ าไปยึดติดกับยาง หลังจากนัน8 ยางจะ
เกิดการหลอม และแทรกเข้าไปภายในช่องของโลหะ ทําให้เกิดการเชือมโยงภายในโลหะได้
ดังนัน8 จึงมีผลทําให้เกิดการยึดติดได้เพิม ขึน8 และทําให้ไม่สามารถดึงลอกยางออกจากแผ่นโลหะ
ได้ และจากการทดลอง พบว่าสามารถเพิม การยึดติดได้ถงึ 100 เท่า เมือเปรียบเทียบกับการใช้
วิธกี ารรองพืน8 ผิวโลหะด้วยสารรองพืน8 วิธกี ารเพิม ความสามารถในการยึดติดด้วยวิธนี 8ี สามารถ
ใช้ในการยึดติดระหว่างวัสดุ 2 ชนิด เช่น การยึดติดของโลหะกับวัสดุประเภทยาง อีพ๊อกซี หรือ
พลาสติก นอกจากนี8ยงั สามารถนํ าไปใช้แ ทนการยึด ติด ทีรองพื8นโลหะด้ว ยสารรองพื8น หรือ
อาจจะใช้ร่วมกับการรองพื8นโลหะก็ได้ นอกจากนี8ยงั พบว่า มีการใช้การยึดติดด้วยวิธกี ารแบบ
ใหม่น8อี ย่างกว้างขวาง ตัวอย่างเช่น การทําล้อรถถังหุม้ เกราะ รางปืนไรเฟิล ซีล โอริง เป็นต้น
26

Lu, et al. (2005) ได้ทาํ การศึกษาสมบัตเิ ชิงกลของยางชนิดต่างๆ ได้แก่ styrene


butadiene rubber (SBR), nitrile-butadiene rubber (NBR), ethylene-propylenediene
monomer (EPDM) Ethylene-propylene monomer (EPM), Poly(a-octene-co-ethylene)
Elastomer (POE) และ Hydrogenated nitrile-butadiene rubber (HNBR) โดยมีการเติม zinc
dimethacrylate (ZDMA) เป็นสารเสริมแรง และมีการแปรปริมาณเปอร์ออกไซด์ จากผลการ
ทดลองพบว่า เมือ ปริมาณเปอร์ออกไซด์เพิม ขึน8 มีผลทําให้ความทนต่อแรงดึงมีค่าเพิม สูงขึน8
เช่นกัน และมีค่าเพิม สูงขึน8 จนถึงค่าสูงสุดจากนัน8 ก็มคี ่าลดลง โดยทีค วามทนต่อแรงดึงสูงสุดและ
ปริมาณการใช้เปอร์ออกไซด์ ขึน8 อยูก่ บั ชนิดของยาง นอกจากนี8ยงั พบว่ายาง EPM, POE และ
HNBR มีค่าความทนต่อแรงดึงสูงกว่า 30 MPa ซึง เป็ นผลมาจากความอิม ตัวของยาง สําหรับค่า
โมดูลสั ที 100% (ของยาง NBR และ SBR) และ 300% (ของยางชนิดอืนๆ) มีค่าเพิม สูงขึน8 ตาม
ปริมาณของเปอร์ออกไซด์ทเี พิม ขึน8 โดยทีย าง NBR และ SBR มีอตั ราการการเพิม สูงขึน8
มากกว่ายางชนิดอืนๆ ในส่วนของการยืด ณ จุดขาดของยาง SBR, NBR, EPM และ EPDM มี
แนวโน้มลดลงค่อนข้างมากเมือ เปรียบเทียบกับยาง POE และ HNBR สําหรับทีป ริมาณเปอร์
ออกไซด์ตาํ ๆ พบว่าการยืด ณ จุด ขาดของยาง EPDM และ EPM มีค่าสูงกว่ายาง POE และ
HNBR ในขณะทีม ปี ริมาณเปอร์ออกไซด์สงู กลับมีแนวโน้มในทางกลับกัน สําหรับค่าความแข็ง
ของยาง SBR และ NBR พบว่าเมือ ปริมาณเปอร์ออกไซด์เพิม ขึน8 มีผลทําให้ความแข็งของยางมี
ค่าเพิม สูงขึน8 อย่างชัดเจนเมือเปรียบเทียบกับยางชนิดอืนๆ โดยมีค่าสูงกว่ายาง EPM, EPDM
และ HNBR เมือ ใช้เปอร์ออกไซด์น้อยกว่า 5 phr จากกราฟระหว่างความเค้นและความเครียด
ได้แสดงให้เห็นว่ามีค่าความทนต่อแรงดึงเกิดขึน8 เนืองจากความมีผลึกเกิดขึน8 ในสายโซ่ เป็ นผล
ทําให้ยางทีใ ส่ zinc dimethacrylate มีความแข็งแรงสูงขึน8 ทีอ ุณหภูมหิ อ้ ง และทีอ ุณหภูมดิ งั กล่าว
พบว่าความอิม ตัวและลักษณะสายโซ่ของยางเป็ นสิง ทีก ําหนดสมบัตเิ ชิงกลของยางผสมอีกด้วย
Mowdood (1986) กล่าวถึงการยึดติดทีด รี ะหว่างยางกับโลหะ โดยใช้ธรรมชาติ และ
ยางสังเคราะห์ เช่น ยางไนไตร์ ยางเอสบีอาร์ และยางอีพดี เี อ็ม เป็ นต้น ซึง การยึดติดเป็ นสิง ทีม ี
ความสําคัญในการผลิตยางทีเ สริมแรงด้วยโลหะ เช่น เหล็กติดแถบยาง พบว่าการยึดติดระหว่าง
ยางกับโลหะ ทีด มี คี วามสําคัญกับผลิตภัณฑ์ยางหลายชนิด เช่น สายพานลําเลียง ยานพาหนะที
มีตนี ตะขาบ และท่อยางทีเสริมแรงด้วยโลหะ การทดลองครัง8 นี8แสดงให้เห็นว่าการสารช่วยใน
การยึดติดในกลุ่มของกรด iminodiacetic, กรด N-substituted iminodiacetic, เกลือของกรด
iminodiacetic และเกลือของกรด N-substituted iminodiacetic ปริมาณ 0.5–10 phr มีประโยชน์
ต่อผลิตภัณฑ์ทมี กี ารเสริมแรงด้วยโลหะ เนืองจากช่วยเพิม สมบัตกิ ารยึดติดระหว่างยางกับโลหะ
ให้ดขี น8ึ
Mowrey (2003) ได้แสดงให้เห็นว่าสารยึดติด (กาว) ทีม นี 8ําเป็นองค์ประกอบ มีผลทํา
ให้การยึดติดทีไ ม่ด ี เมือใช้ยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน แต่เป็ นข้อดีสําหรับการยึดติดใน
ยางทีใช้ระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ ในงานวิจยั นี8ได้ศกึ ษาการยึดติดของยาง (ยาง
27

ธรรมชาติ ยางอีพดี เี อ็ม และยางซิลโิ คน) ทีใช้ระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ กับแผ่น


โลหะทีเ คลือบด้วยกาวก่อนนําไปวัลคาไนซ์ยดึ ติดกับยางคอมเปานด์โดยใช้ความร้อน และ/หรือ
ความดัน โดยใช้สารยึดติดทีเ หมาะสม ซึง มีความทนทาน มีพนั ธะในการยึดติดระหว่างยางวัลคา
ไนซ์กบั วัสดุรองรับหรือซับสเตรท สามารถทําการทดสอบสมบัติการยึดติด เพือดูพนั ธะทีเกิด
ความล้มเหลวด้วยมุมสูงๆ ได้ มีความแข็งแรงในการลอกแบบปอก (peel strength) สูง และมี
พันธะในการยึดติดทีมคี วามต้านทานต่อสิง แวดล้อม ยางทีเ หมาะสําหรับนํ ามายึดติดด้วยพันธะ
เปอร์ออกไซด์จะต้องไม่มอี งค์ประกอบของหมู่ nitroso และประกอบด้วยปจจั ั ยทีส ําคัญของตัวทํา
ละลาย การเกิดฟิ ลม์ พอลิเมอร์ เป็ นต้น ในการทดลองครัง8 นี8มจี ุดประสงค์เพือศึกษาวิธกี ารของ
การยึดติดของยางทีใ ช้ระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์กบั ผิวโลหะ
Nakamura (1976) ได้ศกึ ษาพันธะในการยึดติดระหว่างยางวัลคาไนซ์กบั โลหะ ซึง ใน
งานวิจยั นี8ได้ศกึ ษาการยึดติดของโลหะเหล็กทีป ราศจากการรองพืน8 ด้วยการเคลือบชัน8 ของ
ทองเหลือง บรอนซ์ หรือสังกะสี เพือเป็นการลดค่าใช้จา่ ย และตัดปญหาที ั ม คี วามเกีย วข้องกับ
การเคลือบโลหะ จากการทดลองพบว่าสามารถใช้สารยึดติดทีม สี ่วนประกอบของพันธะคู่ไดอีน
และวงแหวนไนโตรเจนในการเชือมพันธะระหว่างยางกับพืน8 ผิวของโลหะเหล็กได้ โดยการใส่สาร
ตัวเติมซิลกิ าทีม ขี นาดอนุ ภาคละเอียด และมีความบริสุทธิส‘ งู ลงในยางคอมเปานด์จะมีผลทําให้
ความแข็งแรงของพันธะมีค่าเพิม สูงขึน8 โดยเฉพาะอย่างยิง ทีอ ุณหภูมใิ นการวัลคาไนซ์สงู
หลังจากทําการทดลองโดยการแทนทีส ารตัวเติมเขม่าดําด้วยซิลกิ าด้วยนํ8าหนักทีเ ท่ากัน ผล
ปรากฏว่าสามารถเพิม ความแข็งแรงของพันธะได้
Sohnemann (1985) กล่าวถึงการทํายาง เพือใช้ในการยึดติดกับผิวโลหะโดยตรง
โดยเฉพาะการยึดติดกับโลหะเหล็ก เหล็กกล้า หรือเหล็กกล้าผสม โดยยางคอมเปานด์
ประกอบด้วยยางธรรมชาติ และ/หรือยางสังเคราะห์ มีการใส่สารตัวเติม (fillers) สารช่วยใน
กระบวนการผลิต(processing aids) สารทําให้ยางคงรูป (vulcanizing agents) และสารช่วยใน
การยึดติด(bonding agent) ซึง สารยึดติดทีอ ยูใ่ นรูปของฟีนอล หรืออนุพนั ธ์ของฟีนอล และ
สารประกอบโลหะยางคอมเปานด์มปี ระโยชน์ในการเคลือบและยึดติดกับโลหะ แต่การยึดติดของ
ยางกับโลหะจะเกิดขึน8 ในระหว่างการวัลคาไนซ์ ยางทีเ หมาะสําหรับการยึดติดกับโลหะประเภท
ทองเหลือง หรือเหล็กกล้า คือ ยาง Ethylene–propylene diene monomer rubber (EPDM)
หรือยางIsobutene–isoprene rubber (IIR) การใช้ยางสังเคราะห์ในการเตรียมยางคอมเปานด์ มี
ข้อดี คือให้การยึดติดทีด กี บั ผิวของโลหะ โดยไม่ตอ้ งเตรียมผิว ด้วยเหตุน8ีจงึ ไม่จาํ เป็นทีจ ะต้อง
เตรียมผิวโลหะ เช่น การทําความสะอาดแบบทัวไป  และทําให้ผวิ ขรุขระด้วยวิธที างกล
Uchino, et al. (1999) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของสารเสริมการยึดติด และองค์
ประกอบของยางทีน ํามายึดติดโดยมีการใส่สารเสริมการยึดติด โดยเฉพาะอย่างยิง ได้กล่าวถึง
องค์ประกอบของสารเสริมการยึดติดทีเ หมาะสม สําหรับการกระตุน้ การยึดติดระหว่างแผ่นทอง-
เหลือง เหล็กเส้น และยางทีน ํามาเคลือบเหล็กเส้น และยังกล่าวถึงองค์ประกอบของยางทีน ํามา
28

ยึดติด โดยมีการใส่สารเสริมการยึดติดลงในยาง ซึง สารเสริมการยึดติดทีใ ช้มสี ่วนประกอบของ


เกลือโลหะสังกะสี (Zn) โพแทสเซียม (K) อะลูมเิ นียม (Al) ไทเทเนียม (Ti) หรือโลหะ
เซอร์โคเนียมของกรดอินทรีย์ และเกลืออนินทรีย์ อย่างน้อย 1 ตัว และสารประกอบอินทรีย์
โมลิบดีนัม องค์ประกอบของสารช่วยในการยึดติด จะต้องมีองค์ประกอบทีเ ป็นรูปแบบเดียวกัน
กับองค์ประกอบของยางทีใ ช้ในการยึดติด ซึง ผลของการใช้สารเสริมการยึดติด พบว่ายางทีม ี
องค์ประกอบของสารยึดติดดังกล่าว มีความแข็งแรงในการยึดติดเพิม สูงขึน8 อย่างสมําเสมอ และ
ยังพบว่าการใช้สารเสริมการยึดติดดังกล่าวมีความปลอดภัย มีแรงในการยึดติดทีส งู และติดแน่น

2.8.2 งานวจัิ ยทีเกียวข้องกับการดัดแปรโมเลกุลยางธรรมชาติ


เจริญ และคณะ (2549) เตรียมยางธรรมชาติมาลิเอตจากยางธรรมชาติทลี ดนํ8าหนัก
โมเลกุล โดยการบดของยางธรรมชาติ (ADS) ด้วยการบด และนํ8ายางข้น (HA) และโดยการทํา
ปฏิกริ ยิ านํ8ายางข้นแอมโมเนียสูงกับโพแทสเซียมเปอร์ซลั เฟตร่วมกับโพรพาแนลพบว่ามีแถบ
การดูดกลืนแสงอินฟราเรด เนืองจากการมีหมูฟ่ งค์ ั ชนั คาร์บอนิล ซึง เป็นผลมาจากการทีม าลิอกิ
แอนไฮไดรด์ทําปฏิกริ ยิ าการกราฟต์ลงบนโมเลกุลยางธรรมชาติ คือ พีคเข้มทีต ําแหน่งเลขคลืน
1784 cm-1 ซึง เป็นพีคทีแ สดงถึงการมีพนั ธะ C=O ทีม กี ารสันแบบยื
 ด แบบสมมาตร และพีคอ่อน
-1
ทีต ําแหน่งเลขคลืน 1854 cm การเพิม ปริมาณมาลิอกิ แอนไฮไดรด์ในปฏิกริ ยิ ากราฟต์โคพอลิ-
เมอไรซ์ มีผลทําให้เกิดการกราฟต์ของมาลิอกิ แอนไฮไดรด์ในปริมาณทีส งู ขึน8 เมือ นํายาง
ธรรมชาติมาลิเอตไปเตรียมกาว เพือ ใช้ในการติดประสานยางคอมเปานด์กบั โลหะ พบว่าการ
เพิม ปริมาณมาลิอกิ แอนไฮไดรด์ในการเตรียมยางธรรมชาติมาลิเอต มีผลให้ค่าความตึงผิวของ
กาวมีแนวโน้มลดลง และความแข็งแรงของการติดประสานของกาวมีแนวโน้มเพิม ขึน8 ตาม
ปริมาณมาลิอกิ แอนไฮไดรด์ทใี ช้ในปฏิกริ ยิ า จนมีค่าสูงสุดทีป ริมาณการใช้ 10 phr นอกจากนี8
พบว่าการใช้เมทิลนี ไดไอโซไซยาเนตในสูตรกาวยางธรรมชาติ จะส่งผลให้การยึดติดประสาน
ของกาวกับโลหะ และคอมเปานด์ยางธรรมชาติมคี วามแข็งแรงมากขึน8 การใช้ไซเลนเป็นไพร
เมอร์ทาทับบนโลหะ จะให้ความแข็งแรงในการติดประสานยางคอมเปานด์กบั โลหะสูงกว่าการใช้
สารละลายของยางคลอโรพรีน และการไม่ใช่ไพรเมอร์ การลดนํ8 าหนักโมเลกุลของยางธรรมชาติ
มีผลทําให้เกิดการกราฟต์ดว้ ยมาลิอกิ แอนไฮไดรด์ได้ในปริมาณทีส งู ขึน8 และทําให้สารละลาย
กาวยางธรรมชาติมาลิเอตมีค่าความตึงผิวลดลงตามการลดนํ8าหนักโมเลกุลเฉลีย และเพิม ความ
แข็งแรงในการติดประสานของกาว นอกจากนี8พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานของกาว
ยางธรรมชาติมาลิเอต ระหว่างยางคอมเปานด์กบั ทองแดงมีค่าสูงสุด รองลงมาได้แก่ เหล็ก และ
อะลูมเิ นียม ตามลําดับ การใช้สารเพิม การยึดในการติดประสานของยางคอมเปานด์กบั โลหะของ
กาวยางธรรมชาติมาลิเอต พบว่าคิวมาโรนเรซินให้ค่าความตึงผิวตําทีส ุด และให้ความแข็งแรง
ในการติดประสานสูงทีส ุด
29

จรัญ (2547) ได้ทาํ การวิจยั เพือปรับปรุงสมบัตกิ ารทนต่อนํ8ามันของยางธรรมชาติ โดย


การกราฟต์โคพอลิเมอไรเซชันของอะคริโลไนไตรล์บนยางธรรมชาติ โดยกระบวนการอิมลั ชัน
ใช้ควิ มีนไฮโดรเปอร์ออกไซด์ และเตตระเอทธิลนี เพนตามีนเป็นตัวริเริม ปฏิกริ ยิ า จากการศึกษา
ผลกระทบของเวลาของปฏิกริ ยิ า ความเข้มข้นของมอนอเมอร์ อุณหภูมขิ องปฏิกริ ยิ า และความ
เข้มข้นของตัวริเริม ปฏิกริ ยิ าทีม ผี ลต่อเปอร์เซ็นต์การเปลีย น เปอร์เซ็นต์การกราฟต์ ประสิทธิ-
ภาพในการกราฟต์ และสมบัตขิ องกราฟต์โคพอลิเมอร์ พบว่าเปอร์เซ็นต์การเปลีย น เปอร์เซ็นต์
การกราฟต์ อัตราเร็วในการพอลิเมอไรเซชัน และการทนต่อนํ8ามันเพิม ขึน8 ตามการเพิม ความ
เข้มข้นของมอนอเมอร์ อุณหภูม ิ และความเข้มข้นของตัวริเริม ปฏิกริ ยิ า
ปวีณา (2548) ได้ทาํ การสังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์ระหว่างยางธรรมชาติกบั 2–
ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (2–Hydroxyethyl methacrylate) โดยศึกษาผลการเปลีย นแปลง
อัตราส่วนโมลระหว่างยางธรรมชาติกบั มอนอเมอร์ และอัตราส่วนโมลระหว่างยางธรรมชาติกบั
ตัวริเริม ปฏิกริ ยิ าเป็นหลัก และนํากราฟต์โคพอลิเมอร์ทไี ด้ไปศึกษาสมบัตทิ างความร้อน และการ
ละลายเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติ และจากการทดลองสังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์ ระหว่าง
ยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต โดยเลือกใช้โปแตสเซียมเปอร์ซลั เฟต (K2S2O8)
เป็นตัวริเริม ปฏิกริ ยิ า และทําให้เกิดการพอลิเมอไรเซชันในระบบอิมลั ชัน พร้อมทัง8 วิเคราะห์
โครงสร้างของผลิตภัณฑ์ทไี ด้ โดยใช้เทคนิค FT–IR (จากเครือ ง Fourier transform infrared
spectrophotometer) และทดสอบสมบัตทิ างความร้อนด้วยเทคนิค TG/DTA (จากเครือ ง
Thermogravimetric/Differential thermal analyzer) ในการทดลองเมือ เพิม ปริมาณของโปแตส
เซียมเปอร์ซลั เฟต จาก 0.05, 0.08 และ 0.10 เปอร์เซ็นต์โมล ตามลําดับ พบว่าการเกิดกราฟต์
โคพอลิเมอร์มแี นวโน้มเพิม มากขึน8 แต่ในขณะเดียวกันโอกาสทีจ ะเกิด พอลิ(2–Hydroxyethyl
methacrylate, PHEMA) ก็มากขึน8 ด้วย แต่จากการทดลองสรุปได้ว่า อัตราส่วนโมลระหว่างยาง
ธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตทีใ ห้กราฟต์โคพอลิเมอร์ทมี รี ะดับการกราฟต์สงู ทีส ุด
คือ 95:5 และปริมาณของตัวริเริม ปฏิกริ ยิ าเป็น 0.05 เปอร์เซ็นต์โมล นอกจากนี8 ยังพบว่าสมบัติ
ทางความร้อนของกราฟต์โคพอลิเมอร์ทไี ด้ดขี น8ึ เมือ เปรียบเทียบกับ พอลิ(2–ไฮดรอกซีเอทิล
เมทาคริเลต) และยางธรรมชาติ จากการทดสอบการละลายของกราฟต์โคพอลิเมอร์นนั 8 พบว่ามี
ความแตกต่างจาก พอลิ(2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต) และยางธรรมชาติ
สิทธิพงษ์ (2 5 4 7) ได้ศกึ ษากราฟต์โคพอลิเมอร์ของพอลิสไตรีนและยางธรรมชาติ
สังเคราะห์ได้โดยใช้เทคนิคอิมลั ชันพอลิเมอไรเซชันแบบกะ ใช้ตวั เริม ปฏิกริ ยิ าแบบแตกตัวด้วย
ความร้อน และแบบรีดอ็ กซ์ในการสังเคราะห์ การหาเอกลักษณ์ของกราฟต์โคพอลิเมอร์โดย FT–
IR พบพีกทีแ สดงเอกลักษณ์ของพอลิสไตรีนปรากฏอยู่ นอกจากนี8การทดสอบเชิงความร้อนโดย
TG–DTA แสดงอุณหภูมกิ ารสลายตัวของกราฟต์โคพอลิเมอร์ทสี งู ขึน8 เมือ เปรียบเทียบกับยาง
ธรรมชาติ ซึง ทัง8 หมดนี8แสดงถึงความสําเร็จของการกราฟต์พอลิสไตรีนลงบนยางธรรมชาติ
การศึกษาผลของเปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการกราฟต์ต่อปริมาณของสไตรีนมอนอเมอร์ พบว่า
30

เมือ เพิม สัดส่วนของสไตรีน ประสิทธิภาพการกราฟต์ของพอลิสไตรีนบนยางธรรมชาติจะเพิม ขึน8


จนกระทังถึ  งค่าสูงสุดทีป ระมาณ 7 0 % สําหรับตัวเริม ปฏิกริ ยิ าแบบแตกตัวด้วยความร้อน และ
ประมาณ 85% สําหรับตัวเริม ปฏิกริ ยิ าแบบรีดอ็ กซ์ หลังจากนัน8 ค่าเปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการ
กราฟต์จะลดตําลง ถ้ายังคงเพิม ปริมาณของสไตรีนมอนอเมอร์ขน8ึ อีก การศึกษาผลของปริมาณ
ตัวเริม ปฏิกริ ยิ าปรากฏว่า การเปลีย นแปลงของเปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการกราฟต์ เมือ เพิม
ปริมาณของตัวเริม ปฏิกริ ยิ ามีแนวโน้มเช่นเดียวกับการเพิม ปริมาณของสไตรีนมอนอเมอร์ นอก
จากนี8ยงั พบว่าในช่วงปริมาณของตัวเริม ปฏิกริ ยิ าทีศ กึ ษา ตัวเริม ปฏิกริ ยิ าแบบรีดอ็ กซ์ให้ค่า
ประสิทธิภาพการกราฟต์ทดี กี ว่าตัวเริม ปฏิกริ ยิ าแบบแตกตัวด้วยความร้อน โดยมีค่าสูงสุดที
ประมาณ 70% สําหรับตัวเริม ปฏิกริ ยิ าแบบรีดอ็ กซ์ และประมาณ 60% สําหรับตัวเริม ปฏิกริ ยิ า
แบบแตกตัวด้วยความร้อน
สิรธิ ร (2549) ได้ทาํ การศึกษาเกีย วกับผลของความดันทีใ ช้ประกบชิน8 งาน ในช่วง
2.5–20 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร และชนิดกาวต่อความแข็งแรงของการยึดติดระหว่างยางวัล-
คาไนซ์กบั หนังสังเคราะห์ พบว่าความดันและชนิดกาวมีอทิ ธิพลต่อค่าความแข็งแรงของการยึด
ติด โดยนํ8ายางธรรมชาติมคี ่าเพิม ขึน8 ตามความดันทีเ พิม ขึน8 ในขณะทีก าวคลอโรพรีนประเภท
Solvent based ไม่ได้มคี ่าเพิม ขึน8 ตามความดันทีเ พิม ขึน8 เมือ ทําการบ่มเร่งชิน8 ทดสอบทีอ ุณหภูม ิ
70°C เป็นระยะเวลา 168 ชัวโมง  ส่งผลให้ความแข็งแรงของการยึดติดลดตําลง การเปรีบเทียบ
ผลของการเตรียมผิวหน้ายางด้วยสารละลาย trichloroisocynuric acid/ethyl acethate (TCI/EA)
และสารละลายทางการค้า พบว่า การเตรียมผิวหน้ายางด้วยสารละลายทัง8 2 ชนิด ส่งผลให้ค่า
ความแข็งแรงของการยึดติดเพิม สูงขึน8 จากทีไ ม่ได้ใช้สารละลายนี8เท่ากับ 29.37 ปอนด์/นิ8ว และ
27.28 ปอนด์/นิ8ว ตามลําดับ ในการยึดติดระหว่างยางวัลคาไนซ์กบั หนังสังเคราะห์ดว้ ยกาวนํ8า
ยางผสมระหว่างนํ8ายางธรรมชาติ และกาวนํ8าพอลิยรู เี ทนทีอ ตั ราส่วนต่างๆ พบว่าความแข็งแรง
ของการยึดติดเพิม สูงขึน8 ตามอัตราส่วนกาวนํ8าพอลิยรู เี ทนทีเ พิม สูงขึน8 โดยเฉพาะกาวนํ8ายาง
ผสมระหว่างนํ8ายาง NR–g–MMA กับกาวนํ8าพอลิยรู เี ทน ในอัตราส่วน 30/70 จะให้ค่าความ
แข็งแรงของการยึดติดมากกว่า 14.80 ปอนด์/นิ8ว ขณะทีค วามแข็งแรงของการยึดติดด้วยกาว
ทางการค้ามีค่าอยูใ่ นช่วง 10.17–28.44 ปอนด์/นิ8ว
Promdum, et al. (2008) ได้ศกึ ษาการกราฟต์โคพอลิเมอไรเซชันระหว่างยาง
ธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต โดยใช้ควิ มีนไฮโดรเปอร์ออกไซด์ และเตตระเอธิลนี
เพนตามีน เป็ น ตัว ริเ ริม ปฏิกิร ิย า และได้เ ตรีย มด้ว ยกระบวนการอิม ลั ชัน พร้อ มทัง8 ทํา การ
วิเคราะห์โครงสร้างของผลิตภัณฑ์ทไี ด้ดว้ ยเทคนิค FT–IR และ 1H–NMR และทดสอบสมบัตกิ าร
ยึดติดของ NR–g–HEMA ตามมาตรฐาน ASTM D3807 และ ASTM D2339 นอกจากนัน8 ได้
ศึกษาผลของความเข้มข้นของมอนอเมอร์ ความเข้มข้นของตัวริเริม ปฏิกริ ยิ า อุณหภูมทิ ใี ช้ใน
การทํ า ปฏิกิ ร ิย า เวลาในการเกิ ด ปฏิกิ ร ิย า และความเร็ว ในการกวนขณะกราฟต์ และ
ประสิทธิภาพในการกราฟต์ พบว่า การกราฟต์ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตบนยางธรรมชาติ
31

ได้ให้ผลทีสูงทีส ุด เมือใช้ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต 5 phr ใช้ตวั ริเริม ปฏิกริ ยิ าทีความ


เข้มข้น 0.15%โมล ทําปฏิกริ ยิ าทีอ ุณหภูม ิ 60°C เป็ นเวลา 90 นาที กวนด้วยความเร็ว 50 rpm
นอกจากนี8ยงั พบว่า สมบัตใิ นการยึดติดกับไม้อดั ทีใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ให้ค่าในการติด
ประสานทีส งู กว่าการใช้ยางธรรมชาติทไี ม่ได้กราฟต์
Yue-E, et al. (1999) ได้ศกึ ษาการกราฟต์โคพอลิเมอไรเซชัน โดยนํา 2–ไฮดรอกซี
เอทิลเมทาคริเลต (HEMA) ต่อลงบนกิง ของยางคลอโรพรีนด้วยการฉายรังสีแกมมาจากโคบอลต์
–60 และศึกษาลักษณะพืน8 ผิวของยางคลอโรพรีนทีผ ่านการกราฟต์และยังไม่ได้กราฟต์ดว้ ย
เครือ ง FT–IR–PAS spectroscopy และ scanning electron microscope (SEM) จากการศึกษา
พบว่า มีการต่อกิง ของ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตบนเนื8อยางคลอโรพรีน และเปอร์เซ็นต์การ
กราฟต์ขน8ึ อยูก่ บั สารละลายระหว่างเอทานอลกับนํ8า เนืองจากเปอร์เซ็นต์การ กราฟต์จะเพิม ขึน8
เมือ pH ของสารละลายมีค่าเพิม ขึน8 นอกจากนี8ยงั พบว่าเปอร์เซ็นต์การกราฟต์ยงั ขึน8 อยูก่ บั
ปริมาณรังสี อัตราในการฉายรังสี ความเข้มข้นของมอนอเมอร์ และอุณหภูมทิ ใี ช้ขณะทําการฉาย
รังสี
32

บทที 3

วธีิ การวจัิ ย

3.1 สารเคมี

สารเคมีทใ ี ช้ในการวิจยั ประกอบด้วย


3.1.1 ยางแผ่นรมควันชัน" 3 (Rib Smoke Sheet No.3, RSS No.3) จากตลาดกลางยาง
พารา อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
3.1.2 นํ"ายางข้น ชนิดแอมโมเนียสูง (High Ammonia Concentrated Latex, HA) ซึง มี
ปริมาณเนื"อยางแห้งประมาณ 60 เปอร์เซ็นต์ (%) ผลิตโดยบริษทั ฉลองอุตสาหกรรม
นํ"ายางข้น จํากัด อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
3.1.3 กรดสเตียริก (Stearic acid) ความถ่วงจําเพาะ 0.85 มีลกั ษณะเป็นเม็ดสีขาวอมเหลือง
ทําหน้าทีเ ป็นสารกระตุน้ (activator) ช่วยให้สารตัวเร่งทํางานดีขน"ึ จําหน่ายโดย
ห้างหุน้ ส่วน กิจไพบูลย์เคมี จํากัด
3.1.4 เขม่าดํา (Carbon black) ชนิด High abrasion furnace black (HAF) เกรด N–330
ความถ่วงจําเพาะ 1.80 มีลกั ษณะเป็นผงสีดาํ ทําหน้าทีเ ป็นสารตัวเติมเสริม
ประสิทธิภาพ (reinforcing filler) จําหน่ ายโดยบริษทั โพลิเมอร์ อินโนเวชัน จํากัด
3.1.5 ซิงค์ออกไซด์ (Zinc oxide, ZnO) ชนิด white seal ความถ่วงจําเพาะ 5.57 มีลกั ษณะ
เป็นผงละเอียดสีขาว ทําหน้าทีเ ป็นสารกระตุน้ โดยใช้รว่ มกับกรดสเตียริค เพื อทําให้
การทํางานของสารตัวเร่งมีประสิทธิภาพยิง ขึน" จําหน่ายโดยบริษทั Univenture
Public Co., Ltd.
3.1.6 ไซโคลเฮกซิลเบนโซไทอะโซลซัลฟีนาไมล์ (N–cyclohexyl–2–benzothiazole
sulphenamide, CBS) ความถ่วงจําเพาะ 1.28 มีลกั ษณะเป็นเม็ดสีเขียวอ่อน ทํา
หน้าที เป็นสารตัวเร่ง เพื อช่วยเร่งให้ปฏิกริ ยิ าการวัลคาไนซ์ของยางเกิดเร็วขึน" โดย
จัดเป็นสารตัวเร่งทีไ ม่เร่งปฏิกริ ยิ าทีอ ุณหภูมขิ ณะผลิต แต่ช่วยเร่งในขณะวัลคาไนซ์
หรือทีเ รียกว่า “delayed action” จําหน่ ายโดยห้างหุน้ ส่วน กิจไพบูลย์เคมี จํากัด
3.1.7 เตตระเมทิลไทยูแรมไดซัลไฟด์ (Tetramethyl thiuram disulfide, TMTD) ความ
ถ่วงจําเพาะ 1.42 มีลกั ษณะเป็นผงสีขาว ทําหน้าทีเ ป็นสารตัวเร่ง เพื อช่วยเร่งให้
ปฏิกริ ยิ าการวัลคาไนซ์ของยางเกิดเร็วขึน" จําหน่ายโดยห้างหุน้ ส่วน กิจไพบูลย์เคมี
จํากัด
33

3.1.8 กํามะถัน (Sulphur) ความถ่วงจําเพาะ 2.0 มีลกั ษณะเป็นผงสีเหลือง ขนาดอนุภาค


325 mesh ทําหน้าทีเ ป็ นสารวัลคาไนซ์ (vulcanizing agent) สําหรับทําให้เกิดการ
เชื อมโยงของโมเลกุลยางทีม พี นั ธะคู่ทว ี ่องไว หรือเกิดการเชื อมโยง (crosslink) ตรง
จุดทีว ่องไวต่อปฏิกริ ยิ า จําหน่ายโดยบริษทั สยามเคมี จํากัด
3.1.9 นํ"ามันสปินเดิล (Spindle oil) ความถ่วงจําเพาะ 0.90 มีลกั ษณะเป็นของเหลวใสสี
เหลืองอ่อน ทําหน้าทีช ่วยในการผสม ทําให้ยางนิ มผสมสารเคมีได้งา่ ยขึน" จําหน่ าย
โดย ห้างหุน้ ส่วนจํากัด บอส ออฟติคอล
3.1.10 วิงค์สเตย์ แอล (Wingstay L) หรือ Butyrate reaction product of p–cresol and
dichloropentadiene ความถ่วงจําเพาะ 1.08 มีลกั ษณะเป็นผงละเอียดสีครีม หรือสี
ขาวอมเหลือง ใช้เป็นสารปองกั ้ นการเสื อมสภาพเนื องจากออกซิเจน (antioxidant)
้ นไม่ให้ยางเกิดการเสื อมสลาย หรือเกิดการเสื อมสลายช้าลง จําหน่ าย
เป็นการปองกั
โดยห้างหุน้ ส่วน กิจไพบูลย์เคมี จํากัด
3.1.11 คิวมาโรน เรซิน (Coumarone resin) ความถ่วงจําเพาะ 1.15 มีลกั ษณะเป็นเม็ดสี
เหลือง ทําหน้าทีเ ป็นสารแอนติออกซิแดนท์ (antioxidant) ปองกั ้ นไม่ให้ยางเกิดการ
เสือ มสลาย หรือเกิดการเสื อมสลายช้าลง จําหน่ายโดยห้างหุน้ ส่วน กิจไพบูลย์เคมี
จํากัด
3.1.12 ไดคิวมิล เปอร์ออกไซด์ (Dicumyl peroxide, DCP 98%) สูตรโมเลกุล C18H22O2
นํ"าหนักโมเลกุล 270.37 g/mol ความถ่วงจําเพาะ 1.00 มีลกั ษณะเป็นผงผลึกสีขาว
ทําหน้าทีเ ป็ นสารวัลคาไนซ์ (vulcanizing agent) จําหน่ ายโดย บริษทั พี ไอ
อินดรัสทรี จํากัด
3.1.13 โคบอล สเตียเรต (Cobalt stearate) สูตรโมเลกุล Co(C18H35O2)2 ความถ่วงจําเพาะ
2.0 นํ"าหนักโมเลกุล 625.9 g/mol มีลกั ษณะเป็นเม็ดสีมว่ ง ทําหน้าทีเ ป็ นสารเสริม
การยึดติด (adhesion promoter) จําหน่ ายโดย บริษทั พี ไอ อินดรัสทรี จํากัด
3.1.14 ซิงค์ไดอะคริเลต (Zinc diacrylate, ZDA) มีช อื ทางการค้าว่า Saret® 633 ความ
ถ่วงจําเพาะ 1.60 มีลกั ษณะเป็นผงสีเหลืองอ่อน ทําหน้าทีเ ป็ นสารเสริมการยึดติด
(adhesion promoter) จําหน่ายโดย บริษทั เคมีอนิ โนเวชัน จํากัด
3.1.15 ซิงค์ไดเมทาคริเลต (Zinc dimethacrylate, ZDMA) มีช อื ทางการค้าว่า Saret® 634
ความถ่วงจําเพาะ 1.50 มีลกั ษณะเป็นผงสีเหลืองอ่อน ทําหน้าทีเ ป็นสารเสริมการยึด
ติด (adhesion promoter) จําหน่ายโดย บริษทั เคมีอนิ โนเวชัน จํากัด
3.1.16 กาวเคมลอค 205A (Primer chemlok 205A) มีลกั ษณะเป็นของเหลวสีเทา เป็นสาร
รองพืน" (primer) ทางการค้า ใช้ในการรองพืน" ผิวโลหะก่อนนําไปยึดติดกับยางคอม
เปานด์ จําหน่ายโดยบริษทั พรีซสิ ชัน เอนยีเนียริง จํากัด
34

3.1.17 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (2–Hydroxyethyl methacrylate, HEMA 97%)


สูตรโมเลกุล CH2C(CH3)CO2CH2 CH2OH นํ"าหนักโมเลกุล 130.14 g/mol มีความ
หนาแน่น 1.073 ทีอ ุณหภูม ิ 25°C มีลกั ษณะเป็นของเหลวใส ไม่มสี ี ทําหน้าทีเ ป็น
สารตัง" ต้น ในการเกิดปฏิกริ ยิ าการกราฟต์โคพอลิเมอร์ ผลิตจากบริษทั Aldrich
3.1.18 โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (Sodium hydrogen carbonate) สูตรโมเลกุล
NaHCO3 มีลกั ษณะเป็นผงสีขาว ทําหน้าทีเ ป็นบัฟเฟอร์ ผลิตจากบริษทั Carlo
3.1.19 โซเดียม ลอริล ซัลเฟต (Sodium lauryl sulphate, SLS) สูตรโมเลกุล
CH3(CH2)11OSO3Na นํ"าหนักโมเลกุล 288.38 g/mol มีลกั ษณะเป็นแท่งสีขาว ทํา
หน้าทีเ ป็นอิมลั ซิไฟเออร์ ในปฏิกริ ยิ าการกราฟต์โคพอลิเมอร์ระหว่างยางธรรมชาติ
กับ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต ผลิตจากบริษทั Ajax
3.1.20 โพแทสเซียม เปอร์ซลั เฟส (Potassium persulphate) สูตรโมเลกุล K2S2O8
นํ"าหนักโมเลกุล 270.32 g/mol มีลกั ษณะเป็นเม็ดเล็กๆ สีขาว ทําหน้าทีเ ป็นตัวริเริม
ปฏิกริ ยิ า (initiator) ผลิตจากบริษทั Ajax
3.1.21 แคลเซียมคลอไรด์ (Calcium chloride) สูตรโมเลกุล CaCl2.2H2O นํ"าหนักโมเลกุล
147.02 g/mol เตรียมอยูใ่ นรูปสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ทค ี วามเข้มข้น 10% w/v
เพือ ใช้ในการจับตัวนํ"ายางกราฟต์โคพอลิเมอร์ มีลกั ษณะเป็ นผงสีขาว ผลิตจาก
บริษทั Ajax
3.1.22 ซิลคิ อน ไดออกไซด์ (Silicon dioxide) มีลกั ษณะเป็นเม็ดสีน"ําตาลอ่อน ใช้บรรจุลงใน
คอลัมน์ เพื อกําจัดตัวยับยัง" ปฏิกริ ยิ า (inhibitor) ในมอนอเมอร์ 2–ไฮดรอกซีเอทิล
เมทาคริเลต ผลิตจากบริษทั Riedel
3.1.23 อลูมเิ นียม ออกไซด์ (Aluminium oxide) สูตรโมเลกุล Al2O3 นํ"าหนักโมเลกุล 101.96
g/mol มีลกั ษณะเป็นผงละเอียดสีขาว ใช้บรรจุลงในคอลัมน์ เพื อกําจัดตัวยับยัง"
ปฏิกริ ยิ า (inhibitor) ในมอนอเมอร์ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต ผลิตจากบริษทั
Riedel
3.1.24 โทลูอนี (Toluene) สูตรโมเลกุล C6H5CH3 จุดเดือด 110.6°C ความหนาแน่น 0.867
ทําหน้าทีใ นการละลายยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ และยางคอมเปานด์ทเ ี ตรียมขึน" ใน
แต่ละสูตร เพื อใช้เป็นสารรองพืน" (primer) ผลิตจากบริษทั Lab–Scan
3.1.25 เอทานอล (Ethanol) สูตรโมเลกุล C2H5OH ความหนาแน่ น 0.78 นํ"าหนักโมเลกุล
46.07 g/mol มีลกั ษณะเป็นของเหลวใส ไม่มสี ี ใช้เป็นตัวทําละลาย ในการสกัด
พอลิ(2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต) และทําความสะอาดผิวหน้าโลหะ หลังจาก
เตรียมผิวทางกล ผลิตจากบริษทั Merck
35

3.1.26 ปิโตรเลียมอีเธอร์ (Petroleum ether) จุดเดือดอยูร่ ะหว่าง 37–51°C ความหนาแน่น


0.60 มีลกั ษณะเป็นของเหลวใส ไม่มสี ี ใช้เป็ นตัวทําละลายในการสกัดยางทีไ ม่เกิด
กราฟต์โคพอลิเมอร์ ผลิตจากบริษทั J.T.Baker
3.1.27 คลอโรเบนซีน (Chlorobenzene) 99% สูตรโมเลกุล C6H5Cl ความหนาแน่น 1.106
มีลกั ษณะเป็นของเหลวใส ไม่มสี ี ใช้เป็นตัวทําละลายมอนอเมอร์ ผลิตจากบริษทั
Aldrich
3.1.28 เมทิลแอลกอฮอล์ (Methyl alcohol) 99% สูตรโมเลกุล CH3OH ความหนาแน่น 0.79
มีลกั ษณะเป็นของเหลวใส ไม่มสี ี ใช้ในการเตรียมสารละลาย เพื อทําความสะอาดผิว
โลหะเหล็ก ผลิตจากบริษทั เกียรติปภา จํากัด
3.1.29 กรดออร์โธฟอสฟอริค (Orthophosphoric acid) 85% สูตรโมเลกุล H3PO4 ความ
หนาแน่น 1.689±1.701 มีลกั ษณะเป็ นของเหลวใส ใช้ในการเตรียมสารละลาย เพื อ
ทําความสะอาดผิวโลหะเหล็ก ผลิตจากบริษทั Carlo
3.1.30 โซเดียม ไดโครเมท (Sodium dichromate) สูตรโมเลกุล Na2Cr2O7.2H2O นํ"าหนัก
โมเลกุล 298.00 g/mol มีลกั ษณะเป็นเกล็ดสีสม้ ใช้ในการเตรียมสารละลาย เพื อทํา
ความสะอาดผิวโลหะอะลูมเิ นียม ผลิตจากบริษทั Ajax Finechem
3.1.31 กรดซัลฟูรคิ เข้มข้น (Concentrated sulphuric acid) 95–97% สูตรโมเลกุล H2SO4
นํ"าหนักโมเลกุล 98.08 g/mol มีลกั ษณะเป็นของเหลว ใช้ในการเตรียมสารละลาย
เพือ ทําความสะอาดผิวโลหะอะลูมเิ นียม ผลิตจากบริษทั Merck
3.1.32 กรดไนตริคเข้มข้น (Concentrated nitric acid) 69% ความหนาแน่ น 1.42 g/cm3 มี
ลักษณะเป็นของเหลวใส ใช้ในการเตรียมสารละลาย เพื อทําความสะอาดผิวโลหะ
ทองแดง ผลิตจากบริษทั BDH
3.1.33 ไอโซโพรพริลแอลกอฮอล์ (iso-propyl alcohol, IPA) สูตรโมเลกุล CH3CH(OH)CH3
นํ"าหนักโมเลกุล 60.10 g/mol มีลกั ษณะเป็นของเหลวใส ไม่มสี ี ใช้ในการเช็ดผิว
โลหะเหล็ก หลังจากทําความสะอาดผิวด้วยเมทานอล และกรดออร์โธฟอสฟอริค
ผลิตจากบริษทั BDH

3.2 อุปกรณ์และเครืองมือทีใช้ในการวจัิ ย

อุปกรณ์และเครือ งมือทีใ ช้ในการวิจยั ประกอบด้วย


3.2.1 เครือ งผสมยางสองลูกกลิง" (two roll mill) ใช้สาํ หรับผสมยางและสารเคมี ประกอบ
ด้วย ลูกกลิง" ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 นิ"ว ยาว 30 นิ"ว จํานวน 2 ลูก หมุนเข้า
หากันด้วยอัตราความเร็วลูกกลิง" หน้าต่อลูกกลิง" หลัง (friction ratio) เท่ากับ 1:1.27
ผลิตโดย บริษทั หงส์ยาวไทย จํากัด
36

3.2.2 เครือ งผสมยางแบบปิด (kneader) ใช้สาํ หรับการเตรียมมาสเตอร์แบทเขม่าดํา


(masterbatch carbon black) ความจุของห้องผสม 3 ลิตร ผลิตโดย บริษทั ยง ฟง
แมชชีนเนอรี จํากัด
3.2.3 เครือ งอัดเบ้า (compression moulding) รุน่ LCC 140 ใช้ระบบไฮโดรลิก โดยให้
ความร้อนด้วยไฟฟา้ และใช้ความดันสูงสุด (unit pressure) 200 kg/cm2 ทีย ดึ เบ้า
พิมพ์มขี นาด 18 × 18 นิ"ว ใช้สาํ หรับขึน" รูปยางคอมเปานด์ เพื อใช้ในการทดสอบ
สมบัตเิ ชิงกล และขึน" รูปผลิตภัณฑ์ยางติดโลหะ ผลิตโดย บริษทั ถัง–มาสเตอร์
(ประเทศไทย) จํากัด
3.2.4 เครือ งทดสอบเวลาการวัลคาไนซ์ของยาง (moving die rheometer, MDR 2000) รุน่
36 AIG 2953 ใช้สาํ หรับหาเวลาในการวัลคาไนซ์ (cure time) และระยะเวลาการสุก
ก่อนกําหนด (scorch time) ของยางคอมเปานด์ ผลิตโดยบริษทั Alpha Technologies
Service Inc. ประเทศสหรัฐอเมริกา
3.2.5 เครือ งทดสอบแรงดึง (tensometer) ยีห อ้ LLOYD instrument รุน่ LR10K ใช้สาํ หรับ
ทดสอบความทนต่อแรงดึง โมดูลสั เปอร์เซ็นต์การยืด ณ จุดขาด ของตัวอย่างยาง
วัลคาไนซ์ และทดสอบความแข็งแรงในการติดประสานของผลิตภัณฑ์ยางติดโลหะ
ผลิตโดยบริษทั อินโทรเอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด
3.2.6 เครือ ง Fourier Transform Infrared Spectrometer, (FT-IR) รุน่ EQUINOX 55
ทดสอบด้วยเทคนิค ATR โดยทดสอบในช่วงเลขคลื น 4000–400 cm-1 ใช้ในการ
วิเคราะห์โครงสร้างของผลิตภัณฑ์ทไ ี ด้จากการสังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์ระหว่าง
ยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต
3.2.7 กล้องจุลทรรศน์ (Optical microscope, OM) ยีห อ้ OLYMPUS รุน่ SBX60 ใช้สาํ หรับ
ดูพน"ื ผิวโลหะ เพือ เปรียบเทียบลักษณะพืน" ผิวก่อนและหลัง ทําความสะอาดผิวด้วยวิธ ี
ทางกล และทางเคมี
3.2.8 เครือ งพ่นทราย ใช้ในการเตรียมผิวโลหะด้วยวิธที างกล (พ่นทราย) ผลิตโดย โรงงาน
ชัยเจริญการช่าง กรุงเทพมหานคร
3.2.9 เครือ งรีดยาง ใช้สําหรับรีดยางกราฟต์โคพอลิเมอร์หลังจากจับตัวด้วยสารละลาย
แคลเซียมคลอไรด์ทค ี วามเข้มข้น 10% w/v
3.2.10 ตูอ้ บ (oven) ขนาด 53 ลิตร ใช้ในการอบยางกราฟต์โคพอลิเมอร์หลังจากจับตัวด้วย
สารละลายแคลเซียมคลอไรด์ทค ี วามเข้มข้น 10% w/v
3.2.11 ตูอ้ บสุญญากาศ (Vacuum oven) NAPCO® รุน่ 5851 ใช้สาํ หรับอบตัวอย่างทีไ ด้จาก
การสังเคราะห์กราฟโคพอลิเมอร์ระหว่างยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทา-
คริเลต ให้แห้งและระเหยตัวทําละลาย ก่อนนําไปสกัดแบบซอกห์เลต (soxhlet
extraction) ผลิตโดยบริษทั Precision Scientific
37

3.2.12 ตูด้ ดู ความชืน" Bossmen รุน่ SBR 98 ใช้สาํ หรับเก็บชิน" ตัวอย่างและยางกราฟต์โค


พอลิเมอร์หลังจากอบ จัดจําหน่ ายโดย MERITTECH CO., LTD.
3.2.13 ชุดปฏิกรณ์ใช้ในการเตรียมปฏิกริ ยิ าการกราฟต์โคพอลิเมอร์ระหว่างยางธรรมชาติ
กับ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต ประกอบด้วย ขวดก้นกลม 5 คอ อ่างนํ"าร้อน

คอนเดนเซอร์ เทอร์โมมิเตอร์ Droping funnel สําหรับปอนมอนอเมอร์ ชุดกวนผสม
สารเคมีกบั นํ"ายาง และถังแก๊สไนโตรเจน
3.2.14 ชุดสกัดตัวยับยัง" ปฏิกริ ยิ าในมอนอเมอร์ ประกอบด้วยคอลัมน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์
กลาง 1 นิ"ว บีกเกอร์สาํ หรับรองรับมอนอเมอร์ และภาชนะสําหรับหล่อเย็น
3.2.15 ชุดสกัดแบบซอกห์เลต (Soxhlet extraction) ประกอบด้วย เตาหลุม และชุดสกัด
แบบซอกห์เลต เพื อใช้สกัดยางธรรมชาติทไ ี ม่ได้กราฟต์ และพอลิ(2-ไฮดรอกซีเอทิล
เมทาคริเลต) ออกจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
3.2.16 เครือ งชังระบบดิ
จติ อลความละเอียด 2 ตําแหน่ง และ 4 ตําแหน่ง ใช้สาํ หรับชังยาง

และสารเคมี ในการเตรียมยางคอมเปานด์และยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ผลิตโดย
บริษทั Mettler
3.2.17 เครือ งวัดความหนาเวอร์เนียคาลิปเปอร์ ระบบดิจติ อล มีความละเอียด 0.01
มิลลิเมตร ใช้สาํ หรับวัดความหนาของชิน" ทดสอบ
3.2.18 เบ้าพิมพ์สแตนเลส ขนาด 14 x 14 x 1.5 เซนติเมตร ใช้สาํ หรับเป็ นแม่พมิ พ์ในการ
ขึน" รูปชิน" ทดสอบด้วยวิธกี ารอัดเบ้า เพื อเตรียมชิน" ทดสอบสมบัตเิ ชิงกล
3.2.19 เบ้าพิมพ์ ขนาด 15.2 x 20.3 เซนติเมตร ใช้สาํ หรับเตรียมชิน" ทดสอบความสามารถ
ในการติดประสาน (peel test)
3.2.20 เครือ งตัดชิน" ตัวอย่างรูปดัมเบลล์ แบบไดน์ C (Die C) ใช้สาํ หรับตัดชิน" ตัวอย่างยาง
วัลคาไนซ์ ตามมาตรฐาน ASTM D412 เพื อทดสอบความทนต่อแรงดึง โมดูลสั และ
เปอร์เซ็นต์การยืด ณ จุดขาด
3.2.21 มีดกรีดยาง ใช้สาํ หรับกรีดยางบนเครือ งบดยางสองลูกกลิง" เพื อตัดพลิกหน้ายาง
ขณะผสมยางกับสารเคมี
3.2.22 นาฬิกาจับเวลา ใช้สาํ หรับจับเวลาขณะผสมยางคอมเปานด์ และขึน" รูปชิน" ตัวอย่าง
ด้วยวิธกี ารอัดเบ้า
3.2.23 กระดาษทราย เบอร์ 100 สําหรับเตรียมผิวโลหะด้วยวิธที างกล (ขัดด้วยกระดาษ
ทราย)
3.2.24 แผ่นโลหะ ขนาดกว้าง 25±0.05 มิลลิเมตร หนา 1.6±0.1 มิลลิเมตร และยาว 60
มิลลิเมตร โดยแผ่นโลหะทีใ ช้ในการวิจยั มี 3 ชนิด คือ เหล็ก อะลูมเิ นียม และ
ทองแดง จําหน่ายโดย ห้างหุน้ ส่วนจํากัด เหล็กใต้ ร้านนานาอลูมเิ นียม และบริษทั
ไทยแสงเจริญโลหะ (1998) จํากัด ตามลําดับ
38

3.3 วธีิ ดาํ เนนการทดลอง


ทําการศึกษาผลของความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็ก
อะลูมเิ นียม และทองแดง โดยใช้คอมเปานด์ยางใส่สารเสริมการยึดติด (adhesion promoter)
ได้แก่ Zinc diacrylate (ZDA), Zinc dimethacrylate (ZDMA) และ Cobalt stearate เป็ นต้น
อีกทัง" ศึกษาการใช้ยางที มขี วั " โดยการสังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์ระหว่างยางธรรมชาติกบั
2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตทีม กี ารแปรอัตราส่วนโมลของยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิล
เมทาคริเลต (NR/HEMA) พร้อมทัง" ศึกษาสมบัตเิ ชิงกลของยางคอมเปานด์ก่อนนํ ามายึดติด ซึ ง
ขัน" ตอนในการศึกษาความแข็งแรงในการยึดติดประกอบด้วย 4 ขัน" ตอนหลัก ดังต่อไปนี"

3.3.1 การศึกษาตัวแปรทีมีอิ ทธพลตอการตดประส


ิ ่ ิ ่
านระหวางยางกั บโลหะ
3.3.1.1 ชนิดของสารเสริมการยึดติด (adhesion promoter) : ทางการค้า และจากการ
สังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์ระหว่างยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต ต่อความ
แข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ
ทําการเตรียมยางคอมเปานด์โดยใส่สารเสริมการยึดติด ซึง ได้แก่ สารเสริม
การยึดติดทางการค้า (Zinc diacrylate (ZDA), Zinc dimethacrylate (ZDMA) และ Cobalt
stearate) และสารเสริมการยึดติดทีไ ด้จากการสังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์ระหว่างยาง
ธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (NR–g–HEMA) ด้วยเครือ งผสมยางสองลูกกลิง"
(two roll mill) ทีอ ุณหภูมหิ อ้ ง ซึง มีลําดับการผสมดังแสดงในตารางที 3.1 โดยใช้ปริมาณสารเคมี
ต่างๆ พร้อมด้วยสารเสริมการยึดติดทางการค้า (Zinc diacrylate, Zinc dimethacrylate และ
Cobalt stearate) และสารเสริมการยึดติดทีไ ด้จากการสังเคราะห์ขน"ึ เอง (NR–g–HEMA) ดัง
แสดงในตารางที 3.2–3.5 หลังจากนัน" นํายางคอมเปานด์ มาศึกษาสมบัตกิ ารวัลคาไนซ์ดว้ ย
เครือ ง Moving die rheometer (MDR) ทีอ ุณหภูม ิ 150°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน) และ
อุณหภูม ิ 160°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์) หลังจากนัน" นํายางคอมเปานด์มาอัดขึน" รูป
ด้วยเครือ งอัดเบ้า (compression moulding) ทีอ ุณหภูมดิ งั กล่าว โดยใช้ความดัน 200 kg/cm2
และใช้เวลาในการวัลคาไนซ์ตามทีไ ด้จากการทดสอบด้วยเครือ ง MDR แล้วทดสอบสมบัตเิ ชิงกล
ตามมาตรฐาน ASTM D412 และทดสอบสมบัตกิ ารติดประสานระหว่างยางกับโลหะตาม
มาตรฐาน ASTM D429 Method B
39

ตารางที 3.1 ลําดับการผสมยางกับสารเคมี


ลําดับ เวลาที ใช้
ลําดับการผสมยางและสารเคมี
ที (นาที)
1 ตัง" ระยะห่างระหว่างลูกกลิง" 0.5 มิลลิเมตร บดยางโดยไม่ให้พนั ลูกกลิง"
2 ครัง" 1
2 ตัง" ระยะห่างระหว่างลูกกลิง" 1.4 มิลลิเมตร บดยางโดยให้พนั ลูกกลิง"
หน้า เมือ ยางถูกบดจนนิ ม และผิวยางเริม เรียบให้ปรับระยะห่างระหว่าง
ลูกกลิง" เป็น 1.4 มิลลิเมตร พร้อมทัง" ตัดยางสลับซ้ายขวา 4
3 เติมซิงค์ออกไซด์ 2
4 เติมคิวมาโรนเรซิน สารเสริมการยึดติด (adhesion promoter) และ
นํ"ามันสปินเดิล (ส่วนแรก) 5
5 เติมกรดสเตียริก 2
6 เติมสารเสริมการยึดติดส่วนที 2 นํ"ามันสปินเดิล (ส่วนที 2) 5
* * * **
7 เติมวิงค์สเตย์ แอล ทีเอ็มทีด ี ซีบเี อส กํามะถัน หรือเปอร์ออกไซด์ 3
8 ตัดยางเป็ นระยะ ¾ ของยางแต่ละด้าน โดยสลับซ้ายขวา และตัดยาง
คอมเปานด์ทไ ี ด้ออกจากลูกกลิง" 2
9 ตัง" ระยะห่างระหว่างลูกกลิง" เป็น 0.8 มิลลิเมตร นํายางคอมเปานด์ผ่าน
ลูกกลิง" จํานวน 6 ครัง" โดยม้วนยางทีผ ่านแต่ละครัง" เป็ นรูปทรงกระบอก
และใส่ปลายข้างหนึ งเข้าเครื อง ยกเว้น ครัง" ที 6 รีดยางคอมเปานด์ออก
มาเป็ นแผ่นให้มคี วามหนาไม่น้อยกว่า 6 มิลลิเมตร 2
รวมเวลา 26
หมายเหตุ : ในกรณีทใ ี ช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ให้ผสมยางกราฟต์โคพอลิเมอร์พร้อมกับยางแผ่นรมควัน
(Rss. No.3) ในลําดับการผสมที 2 และข้ามลําดับการใส่สารเสริมการยึดติด
* ใช้ในการเตรียมยางคอมเปานด์ ด้วยระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน
** ใช้ในการเตรียมยางคอมเปานด์ ด้วยระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์
40

ตารางที 3.2 สูตรยางธรรมชาติทแ ี ปรชนิดสารเสริมการยึดติด (adhesion promoter) ปริมาณ


10 phr โดยใช้ระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน (Sulphur cure)
Zinc Zinc Cobalt
None
Ingredients diacrylate dimethacrylate stearate
(phr)
(phr) (phr) (phr)
RSS no.3 100 100 100 100
ZnO 5 5 5 5
HAF N330 30 30 30 30
Spindle oil 5 5 5 5
Stearic acid 2 2 2 2
Wingstay L 1 1 1 1
TMTD 0.75 0.75 0.75 0.75
CBS 1 1 1 1
Coumarone resin 5 5 5 5
Sulphur 5 5 5 5
Adhesion promoters - 10 10 10

ตารางที 3.3 สูตรยางธรรมชาติทแ ี ปรชนิดสารเสริมการยึดติด (adhesion promoter) ปริมาณ


10 phr โดยใช้ระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ (Peroxide cure)
Zinc Zinc Cobalt
None
Ingredients diacrylate dimethacrylate stearate
(phr)
(phr) (phr) (phr)
RSS no.3 100 100 100 100
ZnO 5 5 5 5
HAF N330 30 30 30 30
Spindle oil 5 5 5 5
Stearic acid 2 2 2 2
Wingstay L 1 1 1 1
Coumarone resin 5 5 5 5
DCP 5 5 5 5
Adhesion promoters - 10 10 10
41

ตารางที 3.4 สูตรยางธรรมชาติดดั แปรโมเลกุล NR/HEMA : 90/10 และ 85/15 ทีแ ปรปริมาณ
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ในปริมาณต่างๆ โดยวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน
Amount of NR–g–HEMA (phr)
Ingredients
10a 33a 43b
RSS No.3 100 75 70
NR-g-HEMA 10 25 30
ZnO 5 5 5
HAF N330 30 30 30
Spindle oil 5 5 5
Stearic acid 2 2 2
Wingstay L 1 1 1
Coumarone resin 5 5 5
TMTD 0.75 0.75 0.75
CBS 1 1 1
Sulphur 5 5 5

ตารางที 3.5 สูตรยางธรรมชาติดดั แปรโมเลกุล NR/HEMA : 90/10 และ 85/15 ทีแ ปรปริมาณ
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ในปริมาณต่างๆ โดยวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์
Amount of NR–g–HEMA (phr)
Ingredients
10a 33a 43b
RSS No.3 100 75 70
NR-g-HEMA 10 25 30
ZnO 5 5 5
HAF N330 30 30 30
Spindle oil 5 5 5
Stearic acid 2 2 2
Wingstay L 1 1 1
Coumarone resin 5 5 5
DCP 5 5 5
หมายเหตุ : a หมายถึง สูตรยางธรรมชาติดดั แปรโมเลกุลทีอ ตั ราส่วนโมล NR/HEMA : 90/10
b
หมายถึง สูตรยางธรรมชาติดดั แปรโมเลกุลทีอ ตั ราส่วนโมล NR/HEMA : 85/15
42

3.3.1.2 อิทธิพลของระบบการวัลคาไนซ์ต่อความแข็งแรงในการติดประสานระหว่าง
ยางกับโลหะ
ทําการศึกษาระบบการวัลคาไนซ์ยางคอมเปานด์ (คอมเปานด์ยางใส่สารเสริม
การยึดติด และคอมเปานด์ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ระหว่างยางธรรมชาติกบั 2-ไฮดรอกซีเอทิล
เมทาคริเลต) ด้วยระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน และเปอร์ออกไซด์ เพื อศึกษาความแข็งแรง
ในการยึดติดระหว่างยางกับโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง

3.3.1.3 ชนิดของโลหะต่อความสามารถในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ
ทําการศึกษาความแข็งแรงในการยึดติดของโลหะ 3 ชนิด ได้แก่ โลหะเหล็ก
อะลูมเิ นียม และทองแดง กับยางคอมเปานด์ทเ ี ตรียมได้จากหัวข้อ 3.3.1.1

3.3.1.4 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะต่อความสามารถในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ


ทําการศึกษาวิธกี ารเตรียมผิวโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง ด้วยวิธ ี
ทางกล (ขัดด้วยกระดาษทรายและพ่นทราย) และทางเคมี (กัดผิวด้วยกรด) ซึง แสดงขัน" ตอนใน
การเตรียมผิวดังต่อไปนี"
1. การเตรียมผิวโลหะด้วยวิธที างกล แบ่งออกเป็น 2 วิธ ี ดังนี"
1.1 การเตรียมผิวโลหะโดยการขัดด้วยกระดาษทราย
ทําการเตรียมผิวโลหะทัง" 3 ชนิด ด้วยกระดาษทรายเบอร์ 100 (หยาบทีส ุด)
โดยทําการขัดผิวโลหะตามแนวยาวของแผ่นโลหะ ซึ งเวลาที ใช้ในการขัดผิวโลหะแต่ละชนิดมี
ความแตกต่างกันดังนี" โลหะเหล็กใช้เวลาประมาณ 10 นาที/ชิน" ในขณะที โลหะอะลูมเิ นียมและ
ทองแดงใช้เวลาประมาณ 5 นาที/ชิน"

1.2 การเตรียมผิวโลหะโดยการพ่นทราย
ทําการเตรียมผิวโลหะทัง" 3 ชนิด โดยการใช้เครื องพ่นทราย ซึง เวลาทีใ ช้ในการ
พ่นทําความสะอาดผิวโลหะแต่ละชนิด มีความแตกต่ างกันดัง นี" โลหะเหล็ก ใช้เ วลาในการพ่น
ประมาณ 5 นาที/ชิน" ในขณะทีโ ลหะอะลูมเิ นียมและทองแดงใช้เวลาประมาณ 2 นาที/ชิน"

หลังจากนัน" นําแผ่นโลหะทีผ ่านการเตรียมผิวด้วยวิธที างกลทัง" 2 วิธ ี มากําจัดสิง


สกปรกที ตกค้างบริเวณผิวหน้ าโลหะด้วยเอทานอล เพื อล้างคราบไขมันและกําจัดเศษผงออก
จากผิวโลหะ พร้อมทัง" ทําให้ผวิ โลหะแห้งด้วยลมร้อน ยกเว้น แผ่นโลหะทองแดงผึ งให้แห้งที
อุณหภูมหิ ้อง จากนัน" นํ าแผ่นโลหะที ทําความสะอาดแล้วเก็บไว้ในถุงซิปและใส่ตู้ดูดความชื"น
ก่อนนําไปยึดติดกับยางคอมเปานด์ต่อไป
43

2. การเตรียมผิวโลหะด้วยวิธที างเคมี (Adhesives Design Toolkit, 2007)


ในการเตรียมผิวโลหะทางเคมีแต่ละชนิด มีวธิ กี ารเตรียมสารละลายทีแ ตกต่างกัน
ขึน" อยูก่ บั ชนิดของโลหะ ซึง มีรายละเอียดแสดงดังตารางที 3.6 หลังจากทําความสะอาดผิวโลหะ
แล้ว ให้เก็บแผ่นโลหะไว้ในถุงซิปและใส่ตดู้ ดู ความชืน" ก่อนนําไปยึดติดกับยางคอมเปานด์ต่อไป

ตารางที 3.6 การเตรียมสารละลาย และการเตรียมผิวโลหะด้วยวิธที างเคมี



ชนดของ วธีิ การทําความสะอาด
วธีิ การเตรียมสารละลาย
โลหะ ิ
ผวโลหะ
เหล็ก เตรียมสารละลายกรดออร์โทฟอสฟอริค 1. นําแผ่นเหล็กแช่ไว้ในสาร
ในเมทานอลทีอ ตั ราส่วน 1:1 (โดยนํ"าหนัก) ละลายทีเ ตรียมได้เป็นเวลา 10
โดยเทกรดออร์โทฟอสฟอริคลงในเมทา- นาที ทีอ ุณหภูม ิ 60±2°C
นอล พร้อมทัง" กวนตลอดเวลา 2. ขัดสิง สกปรกด้วยแปรงไนลอน
และล้างออกด้วยนํ"าปราศจาก
ไอออน
่ แห้ง และเช็ดผิวโลหะ
3. เปาให้
ด้วย isopropyl alcohol (IPA)
4. นําแผ่นเหล็กไปอบทีอ ุณหภูม ิ
120°C เป็นเวลา 1 ชัวโมง
อะลูมเิ นียม เตรียมสารละลายโดยใช้โซเดียม- 1. ล้างแผ่นอะลูมเิ นียมด้วย
ไดโครเมท กรดซัลฟูรคิ เข้มข้น และนํ"า เอทานอล และนํามาแช่ไว้ในสาร
ปราศจากไอออน ในอัตราส่วน 1:5:15 ละลายทีเ ตรียมได้ เป็ นเวลา
(โดยนํ"าหนัก) โดยเทกรดซัลฟูรคิ ลงในนํ"า 30 นาที ทีอ ุณหภูม ิ 60–65°C
ปราศจากไอออนทีม ปี ริมาณ 60 % ของนํ"า 2. กําจัดและล้างสิง สกปรกด้วย
ทัง" หมด พร้อมทัง" กวนตลอดเวลา เติม นํ"าปราศจากไอออน
โซเดียมไดโครเมท กวนจนเป็นสารละลาย 3. เปาให้ ่ แห้งด้วยลมร้อนไม่เกิน
เดียวกัน หลังจากนัน" เติมนํ"าปริมาณที 65°C เป็นเวลา 10 นาที
เหลือ
44

ตารางที 3.6 การเตรียมสารละลาย และการเตรียมผิวโลหะด้วยวิธที างเคมี (ต่อ)



ชนดของ วธีิ การทําความสะอาด
วธีิ การเตรียมสารละลาย
โลหะ ิ
ผวโลหะ
ทองแดง เตรียมสารละลายกรดไนตริก ในนํ"า 1. นําแผ่นทองแดงแช่ไว้ในสาร
ปราศจากไอออน ทีอ ตั ราส่วน 7:15 (โดย ละลายทีเ ตรียมได้ 10-15 นาที
นํ"าหนัก) โดยค่อยๆ เทกรดไนตริกลงในนํ"า 2. กําจัดและล้างสิง สกปรกด้วย
อย่างช้าๆ พร้อมกับกวนตลอดเวลาเป็น นํ"าปราศจากไอออน
เวลา 30 วินาที 3. ปล่อยทิง" ไว้ให้แห้งทีอ ุณหภูม ิ
ห้อง (การใช้อากาศร้อนจะทําให้
สีผวิ ของโลหะเปลีย นไป)

3.3.1.5 ชนิดของสารรองพืน" (primer) ต่อความสามารถในการติดประสานระหว่างยาง


กับโลหะ
สารรองพืน" เป็ นอีกปจจัั ยหนึ งทีม ผี ลต่อความแข็งแรงในการยึดติดระหว่างยาง
คอมเปานด์กบั แผ่นโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง ซึง ในการศึกษาครัง" นี"ได้นําแผ่นโลหะที
ผ่านการเตรียมผิวด้วยวิธที างกล และทางเคมี มาจุม่ สารรองพืน" และผึง ให้แห้งทีอ ุณหภูมหิ อ้ ง
ก่อนนําไปยึดติดกับยางคอมเปานด์ในขัน" ตอนต่อไป โดยสารรองพืน" ทีใ ช้ในการศึกษามี 3 ชนิด
ได้แก่
(1) สารรองพืน" ทางการค้า คือ เคมลอค 205A (primer chemlok 205A)
(2) สารรองพืน" ทีเ ตรียมจากยางคอมเปานด์ เรียกว่า primer compound
(3) สารรองพืน" ทีเ ตรียมจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ เรียกว่า primer
NR–g–HEMA

วิธกี ารเตรียมสารรองพืน" ข้อ (2) และข้อ (3) แสดงขัน" ตอนดังต่อไปนี"


1) ละลายยางคอมเปานด์หรือยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ จํานวน 17.5 กรัม
ด้วยโทลูอนี จํานวน 95.16 มิลลิลติ ร
2) วางทิง" ไว้อย่างน้อย 24 ชัวโมง
ทีอ ุณหภูมหิ อ้ ง
3) กวนสารละลายยางในโทลูอนี ด้วยความเร็ว 60 รอบ/นาที เป็ นเวลา
15 นาที
45

3.3.2 การเตรียมกราฟต์โคพอลเมอร์ ิ ของยางธรรมชาตกั ิ บ 2-ไฮดรอกซีเอทลเมทา


ิ -
ิ (HEMA)
ครเลต
ศึกษาการเตรียมนํ"ายางกราฟต์โคพอลิเมอร์ระหว่างยางธรรมชาติกบั 2-ไฮดรอกซี
เอทิลเมทาคริเลต โดยใช้เทคนิคการเตรียมแบบอิมลั ชัน และใช้อตั ราส่วนโมลของยางธรรมชาติ
และ 2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต เท่ากับ 95/5, 90/10 และ 85/15 ซึง มีขนั " ตอนในการเตรียม
ดังนี"
3.3.2.1 วิธกี ารเตรียม 2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตมอนอเมอร์
ในการเตรียมมอนอเมอร์นนั " จะต้องมีการสกัดตัวยับยัง" ปฏิกริ ยิ าทีอ ยูใ่ น 2-
ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตมอนอเมอร์นนั " ออก โดยมีวธิ กี ารดังนี"
1) ใส่สาํ ลีไว้บริเวณด้านล่างของคอลัมน์หนาประมาณ 5 มิลลิเมตร แล้วเท
ทรายลงบนสําลีหนาประมาณ 3 มิลลิเมตร
2) ชังอะลู
มนิ ามา 8 กรัม แล้วค่อยๆ เทลงในคอลัมน์
3) เททรายลงบนอะลูมนิ าหนาประมาณ 3 มิลลิเมตร อีกครัง" แล้วปิดทับด้วย
สําลีหนาประมาณ 5 มิลลิเมตร
4) เท 2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตบริสุทธิลŒ งในคอลัมน์ เพื อกําจัดไฮโดร-
ควิโนนโมโนเมทธิลอีเธอร์ ซึง เป็นตัวยับยัง" ปฏิกริ ยิ าออก และรองรับ 2-
ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตทีไ หลผ่านคอลัมน์ดว้ ยขวดรูปชมพู่หมุ้ ด้วย
แผ่นอะลูมเิ นียม เพื อปองกั ้ นแสงและแช่ไว้ในนํ"าแข็ง
5) เก็บ 2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตทีไ ด้ ซึง มีลกั ษณะเป็นของเหลวใสไม่มสี ี
ไว้ทอ ี ุณหภูมติ าํ กว่า 4°C ก่อนนําไปใช้ในการสังเคราะห์ต่อไป

3.3.2.2 การสังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิล-


เมทาคริเลต
นํานํ"ายางธรรมชาติ (NRL) ทีม ปี ริมาณเนื"อยางแห้ง 60 เปอร์เซ็นต์ มา 58.33
กรัม แล้วเจือจางด้วยนํ"าทีป ราศจากไอออน (DI–water) ให้ได้ 100 กรัม เพื อให้ได้น"ํายางธรรม-
ชาติทม ี ปี ริมาณเนื"อยางแห้ง 35 เปอร์เซ็นต์ ใส่ลงในขวดก้นกลม 5 คอ จากนัน" เติมโซเดียมลอริล
ซัลเฟต (SLS), โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) และนํ" าทีป ราศจากไอออน ซึ ง
ปริมาณสารเคมีทใ ี ช้แสดงดังตารางที 3.7 แล้วค่อยๆ หยดสารละลายโพแทสเซียมเปอร์ซลั เฟต
(K2S2O8) พร้อมทัง" กวนด้วยความเร็ว 240 รอบต่อนาที ภายใต้บรรยากาศของแก๊สไนโตรเจน
เป็ นเวลา 3 ชัวโมง
หลังจากนัน" จึงเติม 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (HEMA) ทีส ารละลายใน
คลอโรเบนซีน และปล่อยให้เกิดปฏิกริ ยิ าต่ออีก 24 ชัวโมงจากนั น" แบ่งนํ" ายางกราฟต์โคพอลิ
เมอร์ทไ ี ด้ออกเป็น 2 ส่วน โดยส่วนแรกเทลงในจานเพาะเชือ" (Petri dish) ปล่อยให้ตวั ทําละลาย
ระเหยออกไปบางส่วน แล้วนําไปอบให้แห้งในตู้อบสุญญากาศทีอ ุณหภูม ิ 60°C เป็ นเวลา 2 วัน
46

แล้วนํามาสกัดแบบซอกห์เลต (soxhlet extraction) โดยสกัดครัง" ที 1 ใช้เอทานอลเป็ นตัวทํา


ละลาย เป็นเวลา 24 ชัวโมง
เพื อสกัดพอลิ(2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต) ออก สกัดครัง" ที 2 ใช้
ปิโตรเลียมอีเธอร์เป็นตัวทําละลายเป็นเวลา 24 ชัวโมง
เช่นกัน เพื อสกัดยางส่วนทีไ ม่เกิดกราฟต์
ออก หลังจากนัน" นํ าผลิตภัณฑ์ท เี หลือจากการสกัดไปวิเคราะห์ด้วยเทคนิค FT–IR โดยใช้
สภาวะของการทดสอบในช่วงเลขคลื น 4000–400 cm-1 และหาเปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการ
กราฟต์ (%Grafting efficiency, %GE) ดังแสดงในสมการที 3.1 นําส่วนที 2 มาจับตัวด้วย
สารละลายแคลเซียมคลอไรด์ ทีม คี วามเข้มข้น 10 % (w/v) และรีดเป็นแผ่นบาง ล้างด้วยนํ"ากลั น
หลายๆ ครัง" และนําไปอบทีอ ุณหภูม ิ 40°C เป็นเวลา 24 ชัวโมง


นํYาหนักยางกราฟต์โคพอลเมอร์
หลังสกัด
ิ ิ
%ประสทธภาพการกราฟต์ = × 100 (3.1)
ิ ก่อนสกัด
นํYาหนักยางกราฟต์โคพอลเมอร์

ตารางที 3.7 ปริมาณนํ"ายางและสารเคมีทใ ี ช้ในการกราฟต์โคพอลิเมอร์ระหว่างยางธรรมชาติกบั


2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต
NR/HEMA NRL HEMA K2S2O8 SLS NaHCO3 DI water
(molar ratio) (g) (g) (mole%) (g) (g) (ml)
95/5 100 3.53 0.07 0.50 0.5 300
90/10 100 7.44 0.07 0.75 1 300
85/15 100* 8.45 0.05 1 และ 2 1 300
(* ทีอ ตั ราส่วนโมล NR/HEMA : 85/15 ใช้น"ํายางธรรมชาติ (NRL) ทีม ปี ริมาณเนื"อยางแห้ง 25 เปอร์เซ็นต์)

3.3.3 การศึกษาสมบัติ เชงกลของคอมเปานด์


ิ ่ ิ
ยางใสสารเสรมการยึ ดตดิ (adhesion

promoter) : ชนดทางการค้ า และจากการสังเคราะห์กราฟต์โคพอลเมอร์ ิ
ศึกษาอิทธิพลของสารเสริมการยึดติดชนิดทางการค้า และจากการกราฟต์โคพอลิ
เมอร์ระหว่างยางธรรมชาติกบั 2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตต่อสมบัตเิ ชิงกลของยางซึง มีวธิ ี
การเตรียมและทดสอบชิน" ตัวอย่างดังต่อไปนี"
3.3.3.1 การเตรียมตัวอย่างสําหรับทดสอบความทนต่อแรงดึง ทําได้โดยการขึน" รูป
ยางคอมเปานด์ทท ี ราบเวลาในการวัลคาไนซ์ ซึง หาได้จากเครือ ง Moving die rheometer
(MDR) ไปทําการขึน" รูปด้วยวิธกี ารอัดเบ้า (compression moulding) โดยใช้ความดันประมาณ
200 kg/cm2 ทีอ ุณหภูม ิ 150°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน) และอุณหภูม ิ 160°C (วัลคาไนซ์
ด้วยระบบเปอร์ออกไซด์) หลังจากนัน" จึงทําการตัดชิน" ตัวอย่างเป็นรูปดัมเบลล์ (dumbbell) ด้วย
47

เครือ งตัดชิน" ตัวอย่างแบบ Die C ตามมาตรฐาน ASTM D412 ซึง มีขนาดและลักษณะดังแสดง


ในตารางที 3.8 และรูปที 3.1 ตามลําดับ ก่อนทีจ ะทําการทดสอบต้องมีการกําหนดช่วงการยืด
(benchmark) บนชิน" ทดสอบ และวัดความหนาของชิน" ทดสอบ 3 ตําแหน่ง คือ ตรงกลางของชิน"
ทดสอบ และบริเวณทีม กี ารเปลีย นแปลงพืน" ทีห น้าตัดทัง" สองด้านของชิน" ทดสอบ แล้วหาค่าเฉลีย
เพื อใช้ในการคํานวณ

รูปที 3.1 ชิน" ทดสอบรูปดัมเบลล์ (Die C) สําหรับทดสอบความทนต่อแรงดึง


(Ontario Die International Inc., 2009)

ตารางที 3.8 ขนาดของตัวอย่างทดสอบความทนต่อแรงดึง


ขนาด Type 1 ิ ิ
(มลลเมตร )
A (ความยาวทัง" หมด) 115.0
B (ความกว้างปลาย) 25.0 ± 1.0
C (ความยาวส่วนทีค อดขนาน) 33.0 ± 2.0
D (ความกว้างส่วนทีค อดขนาน) 6.0 ± 0.4
R1 (small radius) 14.0 ± 1.0
R2 (large radius) 25.0 ± 2.0
ความหนา 2.0 ± 0.2

3.3.3.2 นําชิน" ตัวอย่างยางวัลคาไนซ์ไปทดสอบความทนต่อแรงดึงด้วยเครือ ง


ทดสอบแรงดึง (tensometer) โดยใช้ความเร็วในการดึง 500 มิลลิเมตรต่อนาที บันทึกค่าแรงตรง
ตําแหน่งทีม กี ารยืดของชิน" ตัวอย่างจากเดิมเป็น 100% ของความยาวเดิมก่อนทําการทดสอบ
แรงดึงสูงสุดทีท าํ ให้ชน"ิ ทดสอบขาด (max load) และค่าการยืด ณ จุดขาด (elongation at
break) เพื อนําไปคํานวณค่าโมดูลสั (modulus) ทีก ารยืด 100% ค่าความเค้นทีจ ุดขาด (stress
at break) หรือค่าความทนต่อแรงดึง (tensile strength) และค่าเปอร์เซ็นต์การยืด ณ จุดขาด (%
elongation at break) ตามลําดับ ดังนี"
48

การคํานวณ
1. ค่าโมดูลสั ทีก ารยืด 100% (100% modulus) หน่ วยของแรงทีบ นั ทึกได้จากเครือ ง ณ
ตําแหน่งทีม กี ารยืดของชิน" ทดสอบ เป็น 100% จากช่วงการยืดทีก ําหนดไว้ คือ N เมือ นํามา
คํานวณต่อพืน" ทีห น้าตัดของชิน" ทดสอบขณะยังไม่ยดื (mm2) ดังแสดงในสมการที 3.2 จะได้ค่า
โมดูลสั ทีก ารยืด 100% มีหน่วยเป็น N/mm2 หรือ เมกกะพาสคาล (MPa) ในหน่วย SI ซึง เป็ น
หน่วยเดียวกันกับค่าความทนต่อแรงดึง

F
100% modulus = (3.2)
A
โดย
F คือ แรงดึงทีท าํ ให้ชน"ิ ทดสอบยืด 100% (N)
A คือ พืน" ทีห น้าตัดของชิน" ทดสอบ ขณะยังไม่มกี ารยืด (mm2)

2. ค่าความทนต่อแรงดึง (Tensile strength) คือ ค่าแรงดึงสูงสุดทีท ําให้ชน"ิ ทดสอบขาด


(หน่วยทีบ นั ทึกได้จากเครือ ง คือ นิวตัน, N) เมือ นํามาคํานวณต่อพืน" ทีห น้าตัดของชิน" ทดสอบ
ขณะยังไม่มกี ารยืด มีหน่วยเป็น mm2 ดังแสดงในสมการที 3.3 จะได้ค่าความทนต่อแรงดึง มี
หน่วยเป็ น N/mm2 หรือ เมกกะพาสคาล (MPa) ในหน่วย SI (1 N/m2 = 1 Pa)
Max load
Tensile strength = (3.3)
A
โดย
Max load คือ แรงดึงสูงสุดทีท าํ ให้ชน"ิ ทดสอบขาด (N)
A คือ พืน" ทีห น้าตัดของชิน" ทดสอบ ขณะยังไม่มกี ารยืด (mm2)

3. เปอร์เซ็นต์การยืด ณ จุดขาด (%Elongation at break)


(L – L0)
Elongation at break = × 100 (3.4)
L0

โดย
L คือ ระยะทีช น"ิ ทดสอบสามารถยืดตัวได้จนขาด (mm)
L0 คือ ระยะกําหนดก่อนทําการทดสอบ (mm)
49


3.3.4 การทดสอบความสามารถในการตดประสานระหวางยางกั ่ บโลหะ ด้วยวธีิ การ
แบบปอก (peel test) ตามมาตรฐาน ASTM D429-03 Method B
3.3.4.1 การเตรียมตัวอย่างสําหรับทดสอบความสามารถในการติดประสาน
การเตรียมตัวอย่างสําหรับทดสอบความสามารถในการติดประสาน ทําได้โดย
ชังยางคอมเปานด์
ประมาณ 25 กรัม มาอุ่นด้วยเครือ งผสมยางสองลูกกลิง" และวางลงในเบ้า โดย
วางแผ่นโลหะทีม คี วามหนา 1.6±0.1 มิลลิเมตร กว้าง 25±0.05 มิลลิเมตร ยาว 60 มิลลิเมตร ไว้
ด้านล่างและวางยางคอมเปานด์ไว้ดา้ นบนแผ่นโลหะ ทําการวัลคาไนซ์ยางติดโลหะภายใต้
อุณหภูม ิ 150°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน) และอุณหภูม ิ 160°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์
ออกไซด์) สําหรับเวลาทีใ ช้ในการวัลคาไนซ์ยางแต่ละสูตรหาได้จากเครือ ง Moving die
rheometer (MDR) หลังจากวัลคาไนซ์ยางติดกับแผ่นโลหะแล้ว ควรเก็บชิน" ทดสอบไว้ท ี
อุณหภูมหิ อ้ งอย่างน้อย 48 ชัวโมง
ก่อนนําไปทดสอบการติดประสาน ซึง ได้แสดงขัน" ตอนในการ
เตรียมชิน" ทดสอบสมบัตกิ ารติดประสาน ดังรูปที 3.2

(a) (b)

(c)
รูปที 3.2 ขัน" ตอนการเตรียมชิน" ทดสอบสมบัตกิ ารติดประสาน (Peel test)
(a) วางแผ่นโลหะไว้ดา้ นล่างของเบ้า (b) วางยางคอมเปานด์ไว้บนแผ่นโลหะ
(c) ชิน" ตัวอย่างทีไ ด้หลังจากทําการวัลคาไนซ์ยางติดกับแผ่นโลหะ
50

3.3.4.2 การทดสอบการติดประสาน (Adhesion strength) ระหว่างยางกับโลหะ


การทดสอบการติดประสานเป็นการวัดแรงทีใ ช้ดงึ แผ่นยางให้แยกออกจาก
แผ่นโลหะด้วยเครือ งทดสอบความทนต่อแรงดึง โดยกําหนดมุมในการดึง 90 องศา ด้วยอัตรา
ความเร็วคงที 50±5 มิลลิเมตรต่อนาที ทําการติดตัง" ชิน" ทดสอบเข้ากับทีจ บั ดังแสดงในรูปที 3.3
และใช้มดี คัตเตอร์ กรีดให้ยางขาดออกจากโลหะลึกประมาณ 2 มิลลิเมตร ตลอดความยาวหน้า
รอยต่อก่อนเดินเครือ ง เพื อฉีกแผ่นยางออกจากแผ่นโลหะ และบันทึกแรงดึงสูงสุดทีใ ช้ฉีกยาง
เป็นระยะ 25 มิลลิเมตร โดยทําการบันทึกผลการทดลองตามตารางที 3.9 เพื อนําไปคํานวณ
ความแข็งแรงในการติดประสานตามสูตร (3.5) (ในกรณีทใ ี ช้โลหะทีเ ตรียมผิวโดยการขัดด้วย
กระดาษทราย ได้ทําการดึงแผ่นยางออกจากโลหะตามแนวยาวของแผ่นโลหะ)

ยาง

ิY วอยาง
ทีจบั ชนตั ่
แผ่นโลหะ
ิ กบั ที )
(ยึดตดไว้
( b)

(a)

รูปที 3.3 การทดสอบการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (a) การจับชิน" ตัวอย่าง


(b) เครือ งทดสอบความทนต่อแรงดึง

่ ิ
การคํานวณคาการตดประสาน (Adhesion Strength) ดังแสดงในสูตร (3.5)

Adhesion Strength = F (3.5)


d

เมือ F คือ แรงดึงสูงสุด (นิวตัน) หรือแรงฉีกเฉลีย ทีไ ด้จากการวิเคราะห์ของแรงดึง


d คือ ความกว้างของแผ่นยาง (มิลลิเมตร)
51

ตารางที 3.9 ตัวอย่างตารางทีใ ช้ในการบันทึกผลการทดสอบการติดประสาน


Pull Type of Break, %
Metal and Metal
Stock Cure Sample, Average,
Finishing Used R RC CP M
Ibf/in. Ibf/in.

Date………………… By…………………

เมือ R เกิดความล้มเหลวทีเ นื"อยาง


RC เกิดความล้มเหลวทีร อยต่อระหว่างยางกับกาวชัน" นอก
CP เกิดความล้มเหลวทีร อยต่อระหว่างกาวกับสารรองพืน"
M เกิดความล้มเหลวระหว่างรองพืน" กับโลหะ
52

บทที 4


ผลการทดลองและวจารณ์ ผลการทดลอง

4.1 ผลการศึกษาลักษณะของผวโลหะ ิ ่ – หลังการเตรียมผวด้


กอน ิ วยวธีิ ทางกล
และทางเคมี
เนืองจากการเตรียมผิวโลหะมีผลต่อความแข็งแรงในการยึดติด ดังนัน" ในงาน
วิจยั นี" จึงได้มกี ารศึกษาผลของการเตรียมผิวโลหะ 2 วิธใี หญ่ๆ คือ การเตรียมผิวด้วยวิธที างกล
(ขัดด้วยกระดาษทรายและพ่นทราย) และวิธที างเคมี (กัดผิวด้วยกรด) ซึง ได้แสดงขัน" ตอนของ
การเตรียมผิวโลหะในหัวข้อ 3.3.1.4 จากนัน" นําแผ่นโลหะทีผ ่านการเตรียมผิวของแต่ละวิธมี า
ศึกษาลักษณะของพืน" ผิวด้วยกล้องจุลทรรศน์ (Optical microscope) ทีก ําลังขยาย 100 เท่า
เพือเปรียบเทียบกับผิวของโลหะทีไ ม่ได้ผ่านการเตรียมผิว ได้ผลการทดลองดังแสดงในรูปที 4.1

(a) (b) (c) (d)


รูปที 4.1 ลักษณะพืน" ผิวโลหะส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ (Optical microscope) ทีก ําลังขยาย 100
เท่า (a) ก่อนเตรียมผิว (N), (b) เตรียมผิวด้วยวิธกี ารขัดกระดาษทราย (M1),
(c) เตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย (M2) และ (d) เตรียมผิวด้วยวิธกี ารกัดด้วยกรด (C)
หมายเหตุ : Fe, Al และ Cu แทนโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง ตามลําดับ
53

ผลการศึกษาลักษณะพืน" ผิวโลหะก่อนและหลังการเตรียมผิวด้วยวิธที างกล และ


ทางเคมี ด้วยกล้องจุลทรรศน์ (Optical microscope) ทีก ําลังขยาย 100 เท่า ดังแสดงในรูปที 4.1
พบว่าลักษณะของพืน" ผิวมีความแตกต่างกันขึน" อยูก่ บั ชนิดและวิธกี ารเตรียมผิวโลหะ โดยโลหะที
เตรียมผิวด้วยวิธที างกล ไม่ว่าจะเป็นการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารขัดด้วยกระดาษทราย หรือการพ่น
ทราย จะเห็นความแตกต่างอย่างชัดเจนว่าลักษณะพืน" ผิวของโลหะทัง" 3 ชนิด มีความขรุขระ
มากกว่ า การเตรีย มผิว ทางเคมี (การกัด ผิว ด้ว ยกรด) และโลหะทีไ ม่ ไ ด้ผ่ า นการเตรีย มผิว
ตามลําดับ สําหรับลักษณะของพื"นผิวทัง" 3 ชนิด ทีเตรียมโดยวิธกี ารขัดด้วยกระดาษทราย
พบว่าพืน" ผิวมีรอยขรุขระเป็นแนวเดียวกับการขัดแผ่นโลหะ นอกจากนี" ยังมีลกั ษณะเป็ นร่องยาว
ตามความยาวของแผ่นโลหะอีกด้วย สําหรับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย พบว่ามีความ
ขรุขระเกิดขึน" ทัวบริ
 เวณผิวหน้าของโลหะ โดยมีลกั ษณะเป็นหลุมเล็กๆ ในส่วนของการเตรียมผิว
ด้วยวิธกี ารกัดผิวหน้าด้วยสารเคมีทเี ป็ นกรดนัน" พบว่าผิวหน้าของโลหะทัง" 3 ชนิด เกิดความ
ขรุขระทีมลี กั ษณะเป็ นหลุมเล็กๆ และละเอียดกว่าการเตรียมผิวด้วยการพ่นทรายเกิดขึ"นทัว
ผิวหน้าอย่างสมําเสมอ

4.2 ผลของการใช้สารเสรมการยึ ิ ดตดิ (adhesion promoter) ทางการค้าตอสมบั


่ ติ เชงกล

และสมบัติ การตดประสานระหวางยางกั
ิ ่ บโลหะ

4.2.1 ผลการใช้สารเสรมการยึ ิ
ดตดทางการค้ ่
าตอสมบัติ เชงกลของยางธรรมชาต
ิ ิ
เตรียมยางคอมเปานด์ใ ส่สารเสริมการยึด ติดทางการค้า ได้แ ก่ Zinc diacrylate
(ZDA), Zinc dimethacrylate (ZDMA) และ Cobalt stearate ตามสูตรดังแสดงในตารางที 3.2
และ 3.3 โดยมีลําดับการผสมดังแสดงในตารางที 3.1 จากนัน" นํายางคอมเปานด์ทไี ด้ไปทดสอบ
ลักษณะการวัลคาไนซ์ดว้ ยเครือง Moving die rheometer (MDR) ทีอ ุณหภูม ิ 150°C (วัลคาไนซ์
ด้วยระบบกํามะถัน) และอุณหภูม ิ 160°C (วัลคาไนซ์ด้วยระบบเปอร์ออกไซด์) แล้วขึน" รูปยาง
ด้วยวิธกี ารอัดเบ้า (compression molding) ตามเวลาในการวัลคาไนซ์ทไี ด้จากเครือง MDR ดัง
แสดงในตารางที 4.1 แล้วเตรียมชิน" ทดสอบรูปดัมเบลล์ และนําไปทดสอบด้วยเครือ งทดสอบแรง
ดึง เพือหาค่าสมบัตเิ ชิงกล เช่น โมดูลสั ที 100% (100% Modulus) ความทนต่อแรงดึง (Tensile
strength) และเปอร์เซ็นต์การยืด ณ จุดขาด (%Elongation at break) ของยางทัง" ทีใ ส่และไม่ใส่
สารเสริมการยึด ติด ทางการค้า โดยใช้ระบบการวัล คาไนซ์แ บบกํามะถันและเปอร์อ อกไซด์
แสดงผลการทดลองดังตารางที 4.2 และรูปที 4.2–4.4
54

เมือ นํายางใส่สารเสริมการยึดติดทางการค้า Zinc diacrylate (ZDA), Zinc


dimethacrylate (ZDMA) และ Cobalt stearate มาศึกษาลักษณะการวัลคาไนซ์ดว้ ยเครือ ง
MDR ทีอ ุณหภูม ิ 150°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน) และอุณหภูม ิ 160°C (วัลคาไนซ์ดว้ ย
ระบบเปอร์ออกไซด์) พบว่าสารเสริมการยึดติดมีผลต่อช่วงระยะเวลาทีส ามารถแปรรูปได้
(scorch time, Ts1) และเวลาในการวัลคาไนซ์ (cure time, Tc90) ดังสรุปได้ในตารางที 4.1

ตารางที 4.1 ลักษณะการวัลคาไนซ์ยางคอมเปานด์ใส่สารเสริมการยึดติดทางการค้าด้วยระบบ


กํามะถัน และเปอร์ออกไซด์
Sulphur cure @ 150°C Peroxide cure @ 160°C
Type of
adhesion promoter Ts1 Tc90 Ts1 Tc90
(Min:Sec) (Min:Sec) (Min:Sec) (Min:Sec)
None 1.18 ± 0.10 2.49 ± 0.60 0.54 ± 0.26 16.55 ± 1.02
Zinc diacrylate 1.17 ± 0.03 12.47 ± 0.80 0.35 ± 0.01 16.34 ± 0.32
Zinc dimethacrylate 1.44 ± 0.04 14.28 ± 3.16 0.40 ± 0.02 16.42 ± 0.87
Cobalt stearate 3.04 ± 0.06 11.28 ± 0.15 1.12 ± 0.35 4.52 ± 0.53

จากตารางที 4.1 พบว่ายางทีใ ส่สารเสริมการยึดติดและวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบ


กํามะถัน ได้แสดงลักษณะการวัลคาไนซ์แตกต่างจากยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด
กล่าวคือมีช่วงระยะเวลาทีส ามารถแปรรูปได้ (scorch time) และเวลาในการวัลคาไนซ์ (cure
time) นานขึน" อย่างเห็นได้ชดั เนืองจากสารเสริมการยึดติดเป็นสารทีส ามารถแตกตัวแล้วได้สาร
ทีเ ป็นกรด ซึง ทําให้ยางมีสภาพความเป็ นกรดไปด้วย และเป็นทีท ราบกันดีว่าสภาพความเป็ น
กรดในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน มีผลทําให้การเชือมโยงของกํามะถันกับยางเกิดขึน" ช้า
ลง หรือทีเ รียกว่าพฤติกรรมการหน่วง (กรรณิการ์, 2546) จึงทําให้ตอ้ งใช้เวลาในการวัลคาไนซ์
ยางเพิม ขึน" เมือ เปรียบเทียบกับยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด โดยทีย างปราศจากสารเสริม
การยึดติดใช้เวลาในการวัลคาไนซ์ประมาณ 3 นาที แต่เมือ ใส่สารเสริมการยึดติดลงไป พบว่า
ต้องใช้เวลาในการวัลคาไนซ์เพิม ขึน" มากกว่า 4 เท่า คือใช้เวลาประมาณ 12–15 นาที สําหรับ
การวัลคาไนซ์ยางด้วยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าเวลาทีใ ช้ในการวัลคาไนซ์หลังจากใส่สารเสริม
การยึดติด มีความใกล้เคียงกับยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด กล่าวคือ ใช้เวลาในการวัลคา
ไนซ์ประมาณ 16-17 นาที ยกเว้น ยางทีใ ส่ Cobalt stearate ทีใ ช้เวลาในการวัลคาไนซ์น้อยทีส ุด
คือประมาณ 5 นาที
55

ตารางที 4.2 ผลของระบบการวัลคาไนซ์ และชนิดของสารเสริมการยึดติดทางการค้าทีป ริมาณ


10 phr ต่อสมบัตเิ ชิงกล
Cure Type of adhesion 100%Modulus Tensile Elongation at
system promoter (MPa) strength (MPa) break (%)
None 3.45 ± 0.05 19.00 ± 1.45 347.63 ± 26.51
Sulphur Zinc diacrylate 2.12 ± 0.01 27.65 ± 1.18 626.88 ± 45.43
cure Zinc dimethacrylate 3.63 ± 0.13 20.30 ± 1.03 421.54 ± 12.31
Cobalt stearate 2.75 ± 0.07 28.06 ± 1.07 662.48 ± 19.26
None 2.35 ± 0.09 9.87 ± 2.26 217.96 ± 14.70
Peroxide Zinc diacrylate 5.60 ± 0.28 6.35 ± 0.17 102.87 ± 0.65
cure Zinc dimethacrylate 4.60 ± 0.17 11.60 ± 0.96 231.12 ± 8.55
Cobalt stearate 1.54 ± 0.10 17.14 ± 0.41 465.33 ± 19.26

6
Sulphur cure Peroxide cure
5
100% Modulus (MPa)

4
3
2
1
0
None Zinc diacrylate Zinc dimethacrylate Cobalt stearate
Type of adhesion promoter
รูปที 4.2 โมดูลสั ที 100% ของยางธรรมชาติทมี สี ารเสริมการยึดติดทางการค้า
56

30
Sulphur cure
25
Tensile strength (MPa)

Peroxide cure
20
15
10
5
0
None Zinc diacrylate Zinc dimethacrylate Cobalt stearate
Type of adhesion promoter

รูปที 4.3 ความทนต่อแรงดึงของยางธรรมชาติทมี สี ารเสริมการยึดติดทางการค้า

700
600 Sulphur cure
Elongation at break (%)

500 Peroxide cure


400
300
200
100
0
None Zinc diacrylate Zinc dimethacrylate Cobalt stearate
Type of adhesion promoter

รูปที 4.4 เปอร์เซ็นต์การยืด ณ จุดขาดของยางธรรมชาติทมี สี ารเสริมการยึดติดทางการค้า

สําหรับสมบัตขิ องยางวัลคาไนซ์ดงั แสดงในตารางที 4.2 และรูปที 4.2–4.4


พบว่ายางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันมีค่าความทนต่อแรงดึง และเปอร์เซ็นต์การยืด ณ จุด
ขาดสูงกว่ายางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ เนืองจากการวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันมี
การเชือมโยงแบบพอลิซลั ฟิดกิ เกิดขึน" จึงทําให้ยางมีสมบัตเิ ชิงกลทีด ี และสูงกว่ายางวัลคาไนซ์
ด้วยระบบเปอร์ออกไซด์ (พรพรรณ, 2528; Costin, R. and Nagel, W. 1990) แต่สาํ หรับค่า
โมดูลสั ที 100% ของยางใส่ Zinc diacrylate และ Zinc dimethacrylate ทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบ
กํามะถันมีค่าตํากว่ายางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ เมือ พิจารณาสมบัตเิ ชิงกลของยาง
ใส่สารเสริมการยึดติดแต่ละชนิด ในระบบกํามะถัน พบว่ายางใส่สารเสริมการยึดติด Zinc
57

dimethacrylate ให้ค่าโมดูลสั ที 100% ใกล้เคียงกับยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด และยังให้


ค่าสูงกว่ายางใส่สารเสริมการยึดติด Cobalt stearate และ Zinc diacrylate ตามลําดับ ในระบบ
เปอร์ออกไซด์ ยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate มีค่าโมดูลสั ที 100% สูงกว่ายางใส่
สารเสริมการยึดติด Zinc dimethacrylate ยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด และใส่สารเสริม
การยึดติด Cobalt stearate ตามลําดับ สําหรับค่าความทนต่อแรงดึง และเปอร์เซ็นต์การยืด ณ
จุดขาด ของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ มีแนวโน้มทีเ หมือนกัน
กล่าวคือ ยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน มีค่าความทนต่อแรงดึง และเปอร์เซ็นต์การยืด ณ
จุดขาด สูงสุดเมือ ใส่สารเสริมการยึดติด Cobalt stearate รองลงมาคือ Zinc diacrylate, Zinc
dimethacrylate และยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด ตามลําดับ แต่ในระบบเปอร์ออกไซด์
ยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Cobalt stearate ให้ค่าความทนต่อแรงดึงและเปอร์เซ็นต์การยืด ณ
จุดขาดสูงสุด รองลงมาคือ ยางใส่สารเสริมการยึดติด Zinc dimethacrylate ยางทีป ราศจากสาร
เสริมการยึดติด และยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate ตามลําดับ

ิ ่
4.2.2 ความสามารถในการตดประสานระหวางยางใสสารเสรมการยึ ่ ิ ิ
ดตดทางการค้ า
กับโลหะ
ศึกษาความสามารถในการติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดทางการค้า
ซึง ในงานวิจยั นี"ได้ศกึ ษาสารเสริมการยึดติด 3 ชนิด ได้แก่ Zinc diacrylate (ZDA), Zinc
dimethacrylate (ZDMA) และ Cobalt stearate เพือเปรียบเทียบกับยางทีป ราศจากสารเสริม
การยึดติด กับโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดงทีเ ตรียมผิวด้วยวิธที างกล และทางเคมี


4.2.2.1 ชนดของสารเสรมการยึ ิ ดตดิ (adhesion promoter) ทางการค้าตอความ


สามารถในการตดประสานระหวางยางกั ่ บโลหะ
ศึกษาผลของชนิดสารเสริมการยึดติดทางการค้า โดยในทีน "ไี ด้นําสารเสริม
การยึดติดทางการค้า 3 ชนิด ได้แก่ Zinc diacrylate (ZDA), Zinc dimethacrylate (ZDMA) และ
Cobalt stearate มาทําการศึกษาเพือเปรียบเทียบความสามารถในการติดประสานกับยางที
ปราศจากสารเสริมการยึดติด โดยนําสารเสริมการยึดติดมาเตรียมเป็ นยางคอมเปานด์ โดยมี
ปริมาณยางและสารเคมี ดังแสดงในตารางที 3.2 และ 3.3 แล้วนํามายึดติดกับโลหะทีผ ่านการ
เตรียมผิวด้วยวิธที างกล (การขัดด้วยกระดาษทรายและการพ่นทราย) และทางเคมี (การกัดผิว
ด้วยกรด) ตามหัวข้อ 3.3.1.4 โดยมีขนั " ตอนในการเตรียมชิน" ทดสอบดังแสดงในรูปที 3.2 แล้วทํา
การวัลคาไนซ์ขน"ึ รูปด้วยเครืองอัดเบ้าทีอ ุณหภูม ิ 150°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน) และ
อุณหภูม ิ 160°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์) จากนัน" ทดสอบความสามารถในการติด
ประสานแบบปอกด้วยมุม 90 องศา ทีอ ุณหภูมหิ อ้ ง ตามหัวข้อ 3.3.4.2 ซึง ผลของชนิดสารเสริม
58

การยึดติดทีใ ช้ในการติดประสานกับโลหะทีเ ตรียมผิวโดยการขัดด้วยกระดาษทราย แสดงดัง


ตารางที 4.3–4.5 และรูปที 4.5 ผลการติดประสานกับโลหะทีเ ตรียมผิวโดยการพ่นทราย แสดง
ดังตารางที 4.6–4.8 และรูปที 4.6 ผลการติดประสานกับโลหะทีเ ตรียมผิวโดยการกัดผิวด้วยกรด
แสดงดังตารางที 4.9–4.11 และรูปที 4.7 ตามลําดับดังนี"

1) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธที างกล (ขัดด้วยกระดาษ


ทราย)

ตารางที 4.3 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ


โลหะชนิดต่างๆ (ขัดด้วยกระดาษทราย) โดยปราศจากสารรองพืน"
Vulcanization Type of Type of
Adhesion strength (N/m)
system adhesion break
promoter Steel Aluminium Copper R* M
303.14 232.15 311.99
None 
± 22.29 ± 83.41 ± 46.31
Zinc 212.14 607.16 471.35

diacrylate ± 15.18 ± 40.80 ± 52.44
Sulphur cure
Zinc 263.05 218.73 420.28

dimethacrylate ± 16.40 ± 31.95 ± 75.17
Cobalt 1071.72 195.45 211.86

stearate ± 99.30 ± 58.35 ± 14.50
77.34 149.43 154.32
None 
± 2.86 ± 22.58 ± 29.17
Zinc 1199.38 1030.79
R* 
diacrylate ± 73.61 ± 294.47
Peroxide cure
Zinc 419.19 437.51 194.13

dimethacrylate ± 10.13 ± 34.52 ± 46.19
Cobalt 84.14 183.59 117.32

stearate ± 10.21 ± 33.60 ± 23.53
หมายเหตุ : มีการใช้สญ ่
ั ลักษณ์ดงั ตอไปนี ิ ิ
a ในการเขียนวทยานพนธ์ ตลอดทังa เลม่
R* เกิดความล้มเหลวทีเ นื"อยาง (Cohesive failure)
M เกิดความล้มเหลวระหว่างยาง/รองพืน" กับโลหะ (Adhesive failure)
59

ตารางที 4.4 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยาง


กับโลหะชนิดต่างๆ (ขัดด้วยกระดาษทราย) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยาง
คอมเปานด์
Vulcanization Type of Type of
Adhesion strength (N/m)
system adhesion break
promoter Steel Aluminium Copper R* M
382.11 376.09 321.16
None 
± 54.80 ± 38.49 ± 75.32
Zinc 430.67 573.87 530.47

diacrylate ± 14.98 ± 46.09 ± 40.29
Sulphur cure
Zinc 393.16 305.15 464.09

dimethacrylate ± 39.50 ± 83.72 ± 95.03
Cobalt 1634.31 556.56 284.15

stearate ± 89.45 ± 92.36 ± 47.69
110.84 151.58 179.02
None 
± 4.46 ± 37.48 ± 5.20
Zinc 1108.13 918.61
R* 
diacrylate ± 104.31 ± 115.56
Peroxide cure
Zinc 515.65 470.85 436.01

dimethacrylate ± 10.90 ± 53.79 ± 94.01
Cobalt 79.04 182.52 174.23

stearate ± 7.21 ± 10.92 ± 39.45
60

ตารางที 4.5 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยาง


กับโลหะชนิดต่างๆ (ขัดด้วยกระดาษทราย) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้า
Vulcanization Type of Type of
Adhesion strength (N/m)
system adhesion break
promoter Steel Aluminium Copper R* M
695.28 615.03 691.76
None 
± 55.51 ± 28.98 ± 120.05
Zinc 1056.43 1350.50 1104.86

diacrylate ± 55.05 ± 157.30 ± 133.62
Sulphur cure
Zinc 980.76 803.70 1297.74

dimethacrylate ± 115.53 ± 41.85 ± 137.19
Cobalt 1028.70 1206.58 1167.55

stearate ± 93.78 ± 49.07 ± 31.36
572.69 504.47 600.63
None 
± 54.59 ± 10.92 ± 12.60
Zinc 505.33 570.25
R* 
diacrylate ± 30.89 ± 87.09
Peroxide cure
Zinc 558.18 534.09 530.74

dimethacrylate ± 24.31 ± 51.54 ± 39.37
Cobalt 484.75 540.31 289.76

stearate ± 32.26 ± 154.30 ± 90.22
61

2000

Adhesion strength (N/m)


Steel Aluminium Copper
1500
1000
500
0
None ZDA ZDMA Cobalt None ZDA ZDMA Cobalt
stearate stearate

Sulphur cure Peroxide cure


Type of promoter

(a) Without primer


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500
1000
500
0
None ZDA ZDMA Cobalt None ZDA ZDMA Cobalt
stearate stearate

Sulphur cure Peroxide cure


Type of promoter

(b) With primer compound solution


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500
1000
500
0
None ZDA ZDMA Cobalt None ZDA ZDMA Cobalt
stearate stearate

Sulphur cure Peroxide cure


Type of promoter

(c) With primer chemlok205A


รูปที 4.5 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ
โลหะชนิดต่างๆ (ขัดด้วยกระดาษทราย)
62

ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด และ


ยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate (ZDA), Zinc dimethacrylate (ZDMA) และ Cobalt
stearate โดยวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ กับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธที างกล
(ขัดด้วยกระดาษทราย) และมีการรองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์
และสารรองพืน" ทางการค้า (Chemlok 205A) เพือเปรียบเทียบความแข็งแรงในการยึดติดกับ
โลหะทีป ราศจากสารรองพืน" ดังแสดงในตารางที 4.3–4.5 และรูปที 4.5 พบว่าความล้มเหลวของ
การยึดติดระหว่างยางกับโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง เกิดขึน" บริเวณรอยต่อระหว่างยาง
กับแผ่นโลหะ หรือเรียกอีกอย่างหนึงว่า เกิดความล้มเหลวแบบแอดฮีซฟี (adhesive failure) ทุก
ชนิดของสารเสริมการยึดติด และทุกชนิดของสารรองพืน" ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบ
กํามะถันและเปอร์ออกไซด์ ยกเว้น การติดประสานระหว่างยางทีใ ส่ Zinc diacrylate ในระบบ
เปอร์ออกไซด์ กับโลหะทองแดง (ทัง" ทีใ ช้และไม่ใช้สารรองพืน" ) ทีพ บว่ามีการเกิดความล้มเหลว
ของการยึดติดขึน" ภายในเนื"อยาง หรือเรียกอีกอย่างหนึงว่า เกิดความล้มเหลวแบบโคฮีซฟี
(cohesive failure) ซึง ความล้มเหลวทีเ กิดขึน" ในลักษณะนี" มีความแข็งแรงในการยึดติดระหว่าง
ยางกับโลหะสูงมาก จนทําให้ยางเกิดการฉีกขาดในขณะทําการทดสอบแบบปอกด้วยมุม 90
องศา จึงไม่สามารถอ่านค่าความแข็งแรงในการติดประสานได้ เมือ พิจารณาความแข็งแรงในการ
ติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" ดังแสดงในรูปที 4.5 (a) พบว่าในระบบ
การวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate ให้ความสามารถในการเกิด
แรงยึดเหนียวหรือพันธะในการยึดติดระหว่างยางกับโลหะอะลูมเิ นียมและทองแดงได้งา่ ย จึง
ส่งผลให้การติดประสานมีค่าเพิม สูงขึน" เมือ เปรียบเทียบกับยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด
อีกทัง" ยังให้ค่าสูงกว่าการใช้สารเสริมการยึดติด Zinc dimethacrylate และ Cobalt stearate อีก
ด้วย ส่วนสารเสริมการยึดติด Cobalt stearate สามารถเกิดพันธะในการยึดติดกับโลหะเหล็กได้
ง่ายกว่าโลหะชนิดอืนๆ จึงส่งผลให้ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็กมี
ค่าสูงกว่าโลหะอะลูมเิ นียม และทองแดงอย่างเห็นได้ชดั ในขณะทีก ารวัลคาไนซ์ยางด้วยระบบ
เปอร์ออกไซด์ พบว่าสารเสริมการยึดติดทัง" 3 ชนิด มีผลต่อการเพิม ความแข็งแรงในการติด
ประสานระหว่างยางกับโลหะทุกชนิด เมือ เปรียบเทียบกับยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด
โดยสารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate ให้ความแข็งแรงในการยึดติดกับโลหะทัง" 3 ชนิด สูงสุด
อีกทัง" ยังสูงกว่าสารเสริมการยึดติด Zinc dimethacrylate และ Cobalt stearate อย่างชัดเจน
สําหรับการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยาง
คอมเปานด์ ดังแสดงในรูปที 4.5 (b) พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ
ทัง" 3 ชนิด มีแนวโน้มเช่นเดียวกับการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีป ราศจากสารรองพืน"
ดังแสดงในรูปที 4.5 (a) ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน และเปอร์ออกไซด์ กล่าวคือ ใน
ระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate ให้ความแข็งแรงในการ
ติดประสานกับโลหะอะลูมเิ นียมและทองแดงสูงทีส ุด ในขณะทีส ารเสริมการยึดติด Cobalt
63

stearate ให้ความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุดเมือ ยึดติดกับโลหะเหล็ก สําหรับในระบบ


การวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าสารเสริมการยึดติดทัง" 3 ชนิด มีผลในการเพิม ความ
แข็งแรงของการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ โดยสารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate มีผล
ทําให้โลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดงมีความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุดอีกด้วย เมือ
เปรียบเทียบกับการติดประสานของสารเสริมการยึดติดอีก 2 ชนิด
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วย
Chemlok 205A ดังแสดงในรูปที 4.5 (c) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน สารเสริม
การยึดติดทัง" 3 ชนิด มีผลในการเพิม ความแข็งแรงของการยึดติดระหว่างยางกับโลหะทุกชนิด
เมือ เปรียบเทียบกับการติดประสานของยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด และยังมีแนวโน้มใน
การติดประสานทีเ ป็นแนวทางเดียวกับการติดประสานของโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" และ
โลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอมเปานด์ ดังแสดงในรูปที 4.5 (a) และ (b) ตามลําดับ
ในขณะทีก ารรองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" Chemlok205A มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติด
ประสานระหว่างยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันกับโลหะมีค่าเพิม สูงขึน" โดยเฉพาะสารเสริม
การยึดติด Zinc diacrylate ทีใ ห้ความแข็งแรงในการยึดติดกับโลหะอะลูมเิ นียม และทองแดงได้
สูงสุด ส่วนโลหะเหล็กมีความสามารถในการยึดติดกับยางได้สงู สุดเมือ ใช้สารเสริมการยึดติด
Cobalt stearate สําหรับในระบบการวัลคาไนซ์เปอร์ออกไซด์ พบว่าสารเสริมการยึดติดแต่ละ
ชนิดไม่มผี ลในการเพิม ความแข็งแรงของการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทัง" 3 ชนิด ยกเว้น
การติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติด Cobalt stearate ทีย งั คงให้ค่าความแข็งแรง
ในการติดประสานสูงสุด และยังเกิดความล้มเหลวในการติดประสานแบบโคฮีซฟี เช่นเดียวกับ
การติดประสานของโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" และโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอม
เปานด์
64

2) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธที างกล (พ่นทราย)

ตารางที 4.6 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ


โลหะชนิดต่างๆ (พ่นทราย) ทีป ราศจากสารรองพืน"
Vulcanization Type of Type of
Adhesion strength (N/m)
system adhesion break
promoter Steel Aluminium Copper R* M
512.53 472.72 314.65
None 
± 40.47 ± 109.43 ± 9.22
Zinc 847.22 865.91 1281.28

diacrylate ± 35.26 ± 85.80 ± 7.28
Sulphur cure
Zinc 729.08 451.78 403.55

dimethacrylate ± 66.09 ± 74.82 ± 54.57
Cobalt 1246.60 1637.36 474.59

stearate ± 58.94 ± 157.85 ± 47.46
289.25 284.00 319.08
None 
± 21.96 ± 45.41 ± 26.93
Zinc 2530.60 636.06
R* 
diacrylate ± 178.73 ± 81.91
Peroxide cure
Zinc 602.21 630.43 639.20

dimethacrylate ± 55.92 ± 112.95 ± 39.13
Cobalt 232.84 316.63 195.39

stearate ± 20.82 ± 31.07 ± 14.42
65

ตารางที 4.7 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ


โลหะชนิดต่างๆ (พ่นทราย) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอมเปานด์
Vulcanization Type of Type of
Adhesion strength (N/m)
system adhesion break
promoter Steel Aluminium Copper R* M
461.80 471.94 399.85
None 
± 22.66 ± 19.63 ± 38.92
Zinc 878.40 769.56 1225.48

diacrylate ± 35.52 ± 61.98 ± 40.18
Sulphur cure
Zinc 716.14 643.72 411.11

dimethacrylate ± 51.47 ± 26.27 ± 41.14
Cobalt 1912.36 1699.93 305.05

stearate ± 342.16 ± 124.09 ± 128.41
309.55 359.64 368.32
None 
± 6.16 ± 43.74 ± 29.31
Zinc 1956.65 909.05
R* 
diacrylate ± 245.50 ± 40.78
Peroxide cure
Zinc 672.13 675.12 549.35

dimethacrylate ± 98.77 ± 86.38 ± 126.19
Cobalt 299.53 324.53 122.22

stearate ± 33.85 ± 16.27 ± 26.45
66

ตารางที 4.8 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ


โลหะชนิดต่างๆ (พ่นทราย) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้า
Vulcanization Type of Type of
Adhesion strength (N/m)
system adhesion break
promoter Steel Aluminium Copper R* M
848.28 836.11 944.64
None 
± 38.57 ± 76.67 ± 54.47
Zinc 1142.35 1410.94 1674.74

diacrylate ± 69.63 ± 93.61 ± 223.79
Sulphur cure
Zinc 978.19 1032.38 1269.13

dimethacrylate ± 21.10 ± 104.40 ± 158.75
Cobalt 993.46 1670.86 1654.15

stearate ± 33.45 ± 13.51 ± 188.56
852.34 979.41 955.55
None 
± 107.46 ± 4.81 ± 39.46
Zinc 837.36 1174.01
R* 
diacrylate ± 18.83 ± 35.84
Peroxide cure
Zinc 808.09 987.98 714.86

dimethacrylate ± 44.79 ± 62.49 ± 55.85
Cobalt 603.91 775.69 753.71

stearate ± 63.11 ± 65.28 ± 39.07
67

2000 #

Adhesion strength (N/m)


Steel Aluminium Copper
1500
1000
500
0
None ZDA ZDMA Cobalt None ZDA ZDMA Cobalt
stearate stearate

Sulphur cure Peroxide cure


Type of promoter

(a) Without primer (# : adhesive failure)


2500
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


2000
1500
1000
500
0
None ZDA ZDMA Cobalt None ZDA ZDMA Cobalt
stearate stearate

Sulphur cure Peroxide cure


Type of promoter

(b) With primer compound solution


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel
1500 Aluminium
Copper
1000
500
0
None ZDA ZDMA Cobalt None ZDA ZDMA Cobalt
stearate stearate

Sulphur cure Peroxide cure


Type of promoter

(c) With primer chemlok205A


รูปที 4.6 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ
โลหะชนิดต่างๆ (พ่นทราย)
68

ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด และ


ยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate (ZDA), Zinc dimethacrylate (ZDMA) และ Cobalt
stearate โดยวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ กับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธที างกล
(พ่นทราย) และรองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ และสารรองพืน"
Chemlok 205A เพือเปรียบเทียบกับโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" ดังแสดงในตารางที 4.6–4.8
และรูปที 4.6 พบว่าความล้มเหลวในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทัง" 3 ชนิด มีลกั ษณะ
เป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของสารเสริมการยึดติด และทุกชนิดของสารรองพืน" ทัง" ในระบบ
การวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ ยกเว้น การติดประสานระหว่างยางทีใ ส่สารเสริม
การยึดติด Zinc diacrylate ในระบบเปอร์ออกไซด์กบั โลหะทองแดง ทีเ กิดความล้มเหลวในการ
ติดประสานแบบโคฮีซฟี เมือ พิจารณาความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะที
ปราศจากสารรองพืน" ดังแสดงในรูปที 4.6 (a) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน สาร
เสริมการยึดติดทัง" 3 ชนิด มีผลในการเพิม ความแข็งแรงของการติดประสานระหว่างยางกับ
โลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง ให้มคี ่าสูงขึน" เมือเปรียบเทียบกับการติดประสานของยาง
ทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด โดยเฉพาะสารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate ทีใ ห้ความ
แข็งแรงในการติดประสานกับโลหะทองแดงสูงทีส ุด ในขณะทีส ารเสริมการยึดติด Cobalt
stearate มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็กและอะลูมเิ นียมมี
ค่าสูงสุด สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์
พบว่าสารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate และ Zinc dimethacrylate มีผลต่อความแข็งแรงใน
การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทัง" 3 ชนิด โดยเฉพาะสารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate
ทีพ บว่าเกิดแรงยึดเหนียวหรือพันธะในการยึดติดกับโลหะทองแดงได้ง่ายทีส ุด จึงส่งผลให้ความ
แข็งแรงในการติดประสานมีค่าสูงสุดเมือ นํามายึดติดกับโลหะทองแดง
การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอม
เปานด์ ดังแสดงในรูปที 4.6 (b) พบว่าความแข็งแรงของการติดประสานระหว่างยางกับโลหะมี
แนวโน้มในการติดประสานทีเ ป็นแนวทางเดียวกันกับการติดประสานของโลหะทีป ราศจากสาร
รองพืน" ดังแสดงในรูปที 4.6 (a) กล่าวคือสารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate สามารถเกิด
พันธะการยึดติดกับโลหะทองแดงได้งา่ ย จึงส่งผลทําให้ยางมีความแข็งแรงในการติดประสานกับ
โลหะทองแดงสูงทีส ุด ในขณะทีส ารเสริมการยึดติด Cobalt stearate มีความแข็งแรงในการติด
ประสานสูงสุด เมือ ยึดติดกับโลหะเหล็ก และอะลูมเิ นียม อีกทัง" ยังมีความแข็งแรงในการติด
ประสานทีส งู กว่าการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดอืนๆ อีกด้วย สําหรับในระบบการวัลคาไนซ์แบบ
เปอร์ออกไซด์ พบว่าสารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate และ Zinc dimethacrylate มีผลในการ
เพิม ความแข็งแรงของการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทุกชนิด โดยทีค วามแข็งแรงในการ
ติดประสานของยางใส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate มีค่าสูงกว่าการใช้ Zinc
dimethacrylate อย่างเห็นได้ชดั โดยเฉพาะอย่างยิง เมือ นํามายึดติดกับโลหะเหล็ก และทองแดง
69

สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสาร


รองพืน" ทางการค้า ดังแสดงในรูปที 4.6 (c) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน ความ
แข็งแรงในการติดประสานของยางใส่สารเสริมการยึดติดมีค่าเพิม สูงขึน" ทุกชนิดของสารเสริม
การยึดติด และทุกชนิดของโลหะ เมือ เปรียบเทียบกับการติดประสานของยางทีป ราศจากสาร
เสริมการยึดติด โดยสารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate มีความแข็งแรงในการติดประสานกับ
โลหะทองแดงได้สงู สุด ในขณะทีส ารเสริมการยึดติด Cobalt stearate ให้ค่าการติดประสาน
สูงสุดเมือ ยึดติดกับโลหะเหล็กและอะลูมเิ นียม ซึง ความแข็งแรงในการติดประสานนี"มแี นวโน้ม
เช่นเดียวกับการติดประสานของโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" และโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน"
จากยางคอมเปานด์ ดังแสดงในรูปที 4.6 (a) และ (b) ตามลําดับ อีกทัง" สารเสริมการยึดติด Zinc
diacrylate ยังให้ความแข็งแรงในการติดประสานกับโลหะเหล็กทีใ กล้เคียงกับสารเสริมการยึดติด
Cobalt stearate อีกด้วย นอกจากนี"ยงั พบว่าสารเสริมการยึดติด Cobalt stearate ยังให้ความ
แข็งแรงในการติดประสานกับโลหะทองแดงสูงใกล้เคียงกับการติดประสานของโลหะอะลูมเิ นียม
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ กลับพบว่า
สารเสริมการยึดติดทัง" 3 ชนิด ไม่มผี ลต่อความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ
เหล็ก ในขณะทีส ารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate และ Zinc dimethacrylate มีแนวโน้มในการ
เพิม ความแข็งแรงของการติดประสานเมือ นํามายึดติดกับโลหะอะลูมเิ นียม นอกจากนี"ยงั พบว่า
สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate ยังให้ความแข็งแรงในการติดประสานกับโลหะทองแดง
สูงสุดอย่างเห็นได้ชดั อีกด้วย
70

3) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธที างเคมี (กัดผิวด้วยกรด)

ตารางที 4.9 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ


โลหะชนิดต่างๆ (กัดผิวด้วยกรด) ทีป ราศจากสารรองพืน"
Vulcanization Type of Type of
Adhesion strength (N/m)
system adhesion break
promoter Steel Aluminium Copper R* M
408.90 357.96 343.03
None 
± 78.18 ± 3.28 ± 15.80
Zinc 1116.21 352.51 591.59

diacrylate ± 58.54 ± 93.89 ± 7.84
Sulphur cure
Zinc 888.63 416.62 555.82

dimethacrylate ± 97.93 ± 36.83 ± 75.16
Cobalt 698.89 317.67 328.67

stearate ± 75.56 ± 17.04 ± 75.87
288.19 214.74 175.49
None 
± 38.76 ± 27.91 ± 21.82
Zinc 1164.22 1360.99
R* 
diacrylate ± 208.02 ± 204.85
Peroxide cure
Zinc 683.46 356.18 443.45

dimethacrylate ± 47.21 ± 30.82 ± 79.81
Cobalt 216.98 160.59 150.56

stearate ± 92.14 ± 24.13 ± 23.60
71

ตารางที 4.10 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่าง


ยางกับโลหะชนิดต่างๆ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยาง
คอมเปานด์
Vulcanization Type of Type of
Adhesion strength (N/m)
system adhesion break
promoter Steel Aluminium Copper R* M
714.49 385.53 455.39
None 
± 90.91 ± 22.21 ± 92.59
Zinc 837.80 526.74 505.39

diacrylate ± 83.45 ± 104.81 ± 36.38
Sulphur cure
Zinc 935.56 329.56 504.57

dimethacrylate ± 130.20 ± 35.45 ± 110.78
Cobalt 950.73 306.96 411.01

stearate ± 168.04 ± 39.35 ± 29.84
277.09 141.71 182.15
None 
± 23.06 ± 11.47 ± 44.64
Zinc 617.24 702.46
R* 
diacrylate ± 157.88 ± 85.55
Peroxide cure
Zinc 1124.42 365.11 417.58

dimethacrylate ± 73.08 ± 30.58 ± 26.48
Cobalt 446.47 155.14 446.06

stearate ± 30.49 ± 34.75 ± 109.17
72

ตารางที 4.11 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยาง


กับโลหะชนิดต่างๆ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้า
Vulcanization Type of Type of
Adhesion strength (N/m)
system adhesion break
promoter Steel Aluminium Copper R* M
515.07 437.99 578.98
None 
± 23.13 ± 76.82 ± 53.26
Zinc 687.20 713.77 1012.57

diacrylate ± 41.62 ± 71.44 ± 42.07
Sulphur cure
Zinc 439.49 761.94 1103.28

dimethacrylate ± 46.09 ± 40.93 ± 97.92
Cobalt 692.11 720.28 2897.37

stearate ± 31.24 ± 54.80 ± 319.38
1082.09 576.36 952.27
None 
± 39.80 ± 38.40 ± 89.21
Zinc 825.88 737.12
R* 
diacrylate ± 36.38 ± 108.14
Peroxide cure
Zinc 744.99 880.21 941.75

dimethacrylate ± 131.28 ± 54.05 ± 79.06
Cobalt 708.48 508.09 693.68

stearate ± 31.16 ± 50.91 ± 28.99
73

2000

Adhesion strength (N/m)


Steel Aluminium Copper
1500
1000
500
0
None ZDA ZDMA Cobalt None ZDA ZDMA Cobalt
stearate stearate

Sulphur cure Peroxide cure


Type of promoter

(a) Without primer


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500
1000
500
0
None ZDA ZDMA Cobalt None ZDA ZDMA Cobalt
stearate stearate

Sulphur cure Peroxide cure


Type of promoter

(b) With primer compound solution


2000 #
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500
1000
500
0
None ZDA ZDMA Cobalt None ZDA ZDMA Cobalt
stearate stearate

Sulphur cure Peroxide cure


Type of promoter

(c) With primer chemlok205A (# : adhesive failure)


รูปที 4.7 ชนิดของสารเสริมการยึดติด ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างยางกับ
โลหะชนิดต่างๆ (กัดผิวด้วยกรด)
74

ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด และ


ยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate (ZDA), Zinc dimethacrylate (ZDMA) และ Cobalt
stearate โดยวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ กับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธที าง
เคมี (กัดผิวด้วยกรด) และมีการรองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์
และสารรองพืน" Chemlok 205A เพือเปรียบเทียบกับโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" ดังแสดงใน
ตารางที 4.9–4.11 และรูปที 4.7 พบว่าความล้มเหลวในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ
เหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง มีลกั ษณะเป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของสารเสริมการยึดติด
และทุกชนิดของสารรองพืน" ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ ยกเว้น
การติดประสานระหว่างยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate ในระบบเปอร์ออกไซด์กบั
โลหะทองแดง ทีพ บว่าความล้มเหลวในการติดประสานมีลกั ษณะเป็นแบบโคฮีซฟี เมือ พิจารณา
ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะปราศจากสารรองพืน" ดังแสดงในรูปที 4.7
(a) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน สารเสริมการยึดติดทัง" 3 ชนิด มีแนวโน้มในการ
เพิม ความแข็งแรงของการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็กอย่างเห็นได้ชดั โดยสารเสริม
การยึดติด Zinc diacrylate ให้ความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุดกับโลหะเหล็ก เมือ
เปรียบเทียบกับยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด และการติดประสานของยางกับโลหะชนิด
อืนๆ ในขณะทีก ารวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าสารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate
มีผลทําให้ความแข็งแรงของการติดประสานระหว่างยางกับโลหะมีค่าเพิม สูงขึน" อย่างเห็นได้ชดั
โดยเฉพาะการติดประสานกับโลหะทองแดง
การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอม
เปานด์ ดังแสดงในรูปที 4.7 (b) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน สารเสริมการยึดติด
ทัง" 3 ชนิด มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทุกชนิด มีค่าเพิม
สูงขึน" โดยเฉพาะการติดประสานกับโลหะเหล็ก เช่นเดียวกับการติดประสานของโลหะที
ปราศจากสารรองพืน" ดังแสดงในรูปที 4.7 (a) โดยทีส ารเสริมการยึดติด Cobalt stearate มีค่า
ความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุดกับโลหะดังกล่าว สําหรับความแข็งแรงในการติดประสาน
ของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าสารเสริมการยึดติดทัง" 3 ชนิด มีผลต่อการ
เพิม ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง
โดยสารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate มีความสามารถในการติดประสานกับโลหะอะลูมเิ นียม
และทองแดง สูงกว่าสารเสริมการยึดติดชนิดอืนๆ โดยเฉพาะอย่างยิง เมือ ติดประสานกับ
โลหะทองแดง
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสาร
รองพืน" Chemlok 205A ดังแสดงในรูปที 4.7 (c) พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานของยาง
ใส่สารเสริมการยึดติดในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันมีค่าเพิม สูงขึน" ทุกชนิดของสารเสริม
การยึดติด และทุกชนิดของโลหะ นอกจากนี"ยงั พบว่ายางทีใ ส่สารเสริมการยึดติดทัง" 3 ชนิด
75

รวมทัง" ยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด สามารถเกิดพันธะในการยึดติดกับโลหะทองแดงได้


สูงสุด โดยสารเสริมการยึดติดทีม คี วามแข็งแรงในการติดประสานกับโลหะทองแดงสูงสุด ได้แก่
Cobalt stearate แต่สาํ หรับความแข็งแรงในการติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์
ออกไซด์ พบว่าสารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติดประสาน
กับโลหะทองแดงมีค่าสูงสุดอย่างเห็นได้ชดั และยังเกิดความล้มเหลวในการติดประสานเป็ นแบบ
โคฮีซฟี อีกด้วย ซึง สามารถยืนยันได้ว่าพันธะในการยึดติดระหว่างยางกับโลหะมีความแข็งแรงสูง
มาก จนทําให้เกิดความล้มเหลวในการยึดติดขึน" ภายในเนื"อยางขณะทําการทดสอบแบบปอก

ิ ่
4.2.2.2 ผลของชนดโลหะตอความสามารถในการตดประสานระหวางยางกัิ ่ บโลหะ
ในงานวิจยั นี"ได้ศกึ ษาความสามารถในการติดประสานของโลหะ 3 ชนิด ได้แก่
เหล็ก (steel) อะลูมเิ นียม (aluminium) และทองแดง (copper) โดยนําแผ่นโลหะทีม คี วามหนา
1.6±0.1 มิลลิเมตร กว้าง 25±0.05 มิลลิเมตร และยาว 60 มิลลิเมตร มาทําการเตรียมผิวด้วยวิธ ี
ทางกลและทางเคมี ตามหัวข้อ 3.3.1.4 จากนัน" นํายางคอมเปานด์ใส่สารเสริมการยึดติดทีเ ตรียม
ได้จากหัวข้อ 3.3.1.1 ซึง แสดงปริมาณยางและสารเคมีดงั ตารางที 3.2 และ 3.3 มายึดติดกับ
แผ่นโลหะ โดยขัน" ตอนในการเตรียมชิน" ทดสอบแสดงดังรูปที 3.2 แล้วทําการวัลคาไนซ์ขน"ึ รูป
ด้วยเครือ งอัดเบ้า ทีอ ุณหภูม ิ 150°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน) และอุณหภูม ิ 160°C (วัลคา
ไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์) หลังจากนัน" ทดสอบความสามารถในการติดประสานแบบปอก
ด้วยมุม 90 องศา ตามหัวข้อ 3.3.4.2 ซึง ผลของชนิดโลหะต่อความสามารถในการติดประสาน
ระหว่างยางกับโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" แสดงดังตารางที 4.12–4.14 และรูปที 4.8 การติด
ประสานกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ แสดงดังตารางที
4.15–4.17 และรูปที 4.9 และการติดประสานกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้า
(Chemlok 205A) แสดงดังตารางที 4.18–4.20 และรูปที 4.10 ตามลําดับดังนี"
76

1) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ โดยปราศจากสารรองพืน" (Without


primer)

ตารางที 4.12 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการ


ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (ขัดด้วยกระดาษทราย) ทีป ราศจากสารรองพืน"
Type of
Adhesion strength (N/m)
break
Vulcanization Type of
None Zinc Zinc Cobalt
system metal
diacrylate dimetha- stearate R* M
crylate
303.14 212.14 263.05 1071.72
Steel 
± 22.29 ± 15.18 ± 16.40 ± 99.30
232.15 607.16 218.73 195.45
Sulphur cure Aluminium 
± 83.41 ± 40.80 ± 31.95 ± 58.35
311.99 471.35 420.28 211.86
Copper 
± 46.31 ± 52.44 ± 75.17 ± 14.50
77.34 1199.38 419.19 84.14
Steel 
± 2.86 ± 73.61 ± 10.13 ± 10.21
149.43 1030.79 437.51 183.59
Peroxide cure Aluminium 
± 22.58 ± 294.47 ± 34.52 ± 33.60
154.32 194.13 117.32
Copper R* 
± 29.17 ± 46.19 ± 23.53
77

ตารางที 4.13 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ


ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีป ราศจากสารรองพืน"
Type of
Adhesion strength (N/m)
break
Vulcanization Type of
None Zinc Zinc Cobalt
system metal
diacrylate dimetha- stearate R* M
crylate
512.53 847.22 729.08 1246.60
Steel 
± 40.47 ± 35.26 ± 66.09 ± 58.94
472.72 865.91 451.78 1637.36
Sulphur cure Aluminium 
± 109.43 ± 85.80 ± 74.82 ± 157.85
314.65 1281.28 403.55 474.59
Copper 
± 9.22 ± 7.28 ± 54.57 ± 47.46
289.25 2530.60 602.21 232.84
Steel 
± 21.96 ± 178.73 ± 55.92 ± 20.82
284.00 636.06 630.43 316.63
Peroxide cure Aluminium 
± 45.41 ± 81.91 ± 112.95 ± 31.07
319.08 639.20 195.39
Copper R* 
± 26.93 ± 39.13 ± 14.42
78

ตารางที 4.14 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ


ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีป ราศจากสารรองพืน"
Type of
Adhesion strength (N/m)
break
Vulcanization Type of
None Zinc Zinc Cobalt
system metal
diacrylate dimetha- stearate R* M
crylate
408.90 1116.21 888.63 698.89
Steel 
± 78.18 ± 58.54 ± 97.93 ± 75.56
357.96 352.51 416.62 317.67
Sulphur cure Aluminium 
± 3.28 ± 93.89 ± 36.83 ± 17.04
343.03 591.59 555.82 328.67
Copper 
± 15.80 ± 7.84 ± 75.16 ± 75.87
288.19 1164.22 683.46 216.98
Steel 
± 38.76 ± 208.02 ± 47.21 ± 92.14
214.74 1360.99 356.18 160.59
Peroxide cure Aluminium 
± 27.91 ± 204.85 ± 30.82 ± 24.13
175.49 443.45 150.56
Copper R* 
± 21.82 ± 79.81 ± 23.60
79

2000

Adhesion strength (N/m)


None Zinc diacrylate Zinc dimethacrylate Cobalt stearate
1500

1000

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(a) Mechanical treatment (sandpaper blasting)


2000 #
None
Adhesion strength (N/m)

1500 Zinc diacrylate


Zinc dimethacrylate
1000 Cobalt stearate

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(b) Mechanical treatment (sand blasting)


หมายเหตุ # : Adhesive failure
2000
None Zinc diacrylate Zinc dimethacrylate Cobalt stearate
Adhesion strength (N/m)

1500

1000

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(c) Chemical treatment (acid etching)


รูปที 4.8 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการติด
ประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (ปราศจากสารรองพืน" )
80

ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง ที


เตรียมผิวด้วยวิธที างกล (การขัดด้วยกระดาษทรายและการพ่นทราย) และวิธที างเคมี (การกัด
ผิวด้วยกรด) โดยปราศจากสารรองพืน" กับยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติดและปราศจากสารเสริม
การยึดติด ซึง วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ ดังแสดงในตารางที 4.12–4.14
และรูปที 4.8 พบว่าความล้มเหลวในการติดประสานทีเ กิดขึน" ระหว่างยางกับโลหะทัง" 3 ชนิด มี
ลักษณะเป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของโลหะทัง" การเตรียมผิวด้วยวิธที างกล และทางเคมี รวมทัง"
ทุกชนิดของสารเสริมการยึดติดอีกด้วย ยกเว้น การติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริมการยึด
ติด Zinc diacrylate ในระบบเปอร์ออกไซด์กบั โลหะทองแดง ทีม ลี กั ษณะของความล้มเหลวเป็น
แบบโคฮีซฟี เมือ พิจารณาความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวโดย
การขัดด้วยกระดาษทราย ดังแสดงในรูปที 4.8 (a) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน
โลหะเหล็กสามารถเกิดพันธะในการยึดติดกับยางใส่สารเสริมการยึดติด Cobalt stearate ได้
สูงสุด ในขณะทีโ ลหะอะลูมเิ นียม และทองแดง รวมทัง" การติดประสานของโลหะทัง" 3 ชนิด ใน
ระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าการติดประสานของโลหะทองแดงกับยางทีใ ส่สาร
เสริมการยึดติด Zinc diacrylate มีความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุดอย่างชัดเจน อาจจะเป็ น
เพราะโลหะทองแดงสามารถเกิดพันธะในการยึดติดกับสารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate
ในช่วงของการเกิดปฏิกริ ยิ าวัลคาไนเซชันได้งา่ ยกว่าสารเสริมการยึดติดชนิดอืนๆ
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวโดยวิธ ี
การพ่นทราย ดังแสดงในรูปที 4.8 (b) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน โลหะเหล็ก
และอะลูมเิ นียม สามารถเกิดพันธะในการยึดติดทางกลกับยางใส่สารเสริมการยึดติด Cobalt
stearate ได้งา่ ย ซึง แตกต่างกับการติดประสานของโลหะทองแดง ทีส ามารถเกิดการยึดติดสูงสุด
เมือ ใช้สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate สําหรับในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์
พบว่าโลหะทัง" 3 ชนิด มีความแข็งแรงในการติดประสานกับยางใส่สารเสริมการยึดติด Zinc
diacrylate ได้สงู กว่าสารเสริมการยึดติดชนิดอืนๆ โดยทีโ ลหะทองแดงมีความแข็งแรงในการติด
ประสานกับสารเสริมการยึดติดชนิดนี"ได้สงู สุด เช่นเดียวกับการติดประสานกับโลหะทีเ ตรียมผิว
โดยวิธกี ารขัดด้วยกระดาษทรายดังแสดงในรูปที 4.8 (a)
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวโดยวิธ ี
การกัดผิวด้วยกรด ดังแสดงในรูปที 4.8 (c) พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทัง"
3 ชนิด มีแนวโน้มทีเ ป็นแนวทางเดียวกัน กล่าวคือ สามารถเกิดการติดประสานกับยางใส่สาร
เสริมการยึดติด Zinc diacrylate ได้สงู สุด ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน และเปอร์
ออกไซด์ โดยในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน โลหะเหล็กมีความสามารถในการติดประสาน
กับยางได้สงู สุด แต่ในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์กลับพบว่าโลหะทีม คี วามแข็งแรง
ในการติดประสานสูงสุด ได้แก่ โลหะทองแดง เช่นเดียวกับการติดประสานของโลหะทีผ ่านการ
เตรียมผิวด้วยวิธที างกลทัง" 2 วิธ ี ดังแสดงในรูปที 4.8 (a) และ (b) ตามลําดับ
81

2) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอม


เปานด์ (Primer compound solution)

ตารางที 4.15 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ


ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (ขัดด้วยกระดาษทราย) ทีร องพืน" ด้วยสาร
รองพืน" จากยางคอมเปานด์
Type of
Adhesion strength (N/m)
break
Vulcanization Type of
None Zinc Zinc Cobalt
system metal
diacrylate dimetha- stearate R* M
crylate
382.11 430.67 393.16 1634.31
Steel 
± 54.80 ± 14.98 ± 39.50 ± 89.45
376.09 573.87 305.15 556.56
Sulphur cure Aluminium 
± 38.49 ± 46.09 ± 83.72 ± 92.36
321.16 530.47 464.09 284.15
Copper 
± 75.32 ± 40.29 ± 95.03 ± 47.69
110.84 1108.13 515.65 79.04
Steel 
± 4.46 ± 104.31 ± 10.90 ± 7.21
151.58 918.61 470.85 182.52
Peroxide cure Aluminium 
± 37.48 ± 115.56 ± 53.79 ± 10.92
179.02 436.01 174.23
Copper R* 
± 5.20 ± 94.01 ± 39.45
82

ตารางที 4.16 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ


ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยาง
คอมเปานด์
Type of
Adhesion strength (N/m)
break
Vulcanization Type of
None Zinc Zinc Cobalt
system metal
diacrylate dimetha- stearate R* M
crylate
461.80 878.40 716.14 1912.36
Steel 
± 22.66 ± 35.52 ± 51.47 ± 342.16
471.94 769.56 643.72 1699.93
Sulphur cure Aluminium 
± 19.63 ± 61.98 ± 26.27 ± 124.09
399.85 1225.48 411.11 305.05
Copper 
± 38.92 ± 40.18 ± 41.14 ± 128.41
309.55 1956.65 672.13 299.53
Steel 
± 6.16 ± 245.50 ± 98.77 ± 33.85
359.64 909.05 675.12 324.53
Peroxide cure Aluminium 
± 43.74 ± 40.78 ± 86.38 ± 16.27
368.32 549.35 122.22
Copper R* 
± 29.31 ± 126.19 ± 26.45
83

ตารางที 4.17 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ


ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จาก
ยางคอมเปานด์
Type of
Adhesion strength (N/m)
break
Vulcanization Type of
None Zinc Zinc Cobalt
system metal
diacrylate dimetha- stearate R* M
crylate
714.49 837.80 935.56 950.73
Steel 
± 90.91 ± 83.45 ± 130.20 ± 168.04
385.53 526.74 329.56 306.96
Sulphur cure Aluminium 
± 22.21 ± 104.81 ± 35.45 ± 39.35
455.39 505.39 504.57 411.01
Copper 
± 92.59 ± 36.38 ± 110.78 ± 29.84
277.09 617.24 1124.42 446.47
Steel 
± 23.06 ± 157.88 ± 73.08 ± 30.49
141.71 702.46 365.11 155.14
Peroxide cure Aluminium 
± 11.47 ± 85.55 ± 30.58 ± 34.75
182.15 417.58 446.06
Copper R* 
± 44.64 ± 26.48 ± 109.17
84

2000
None Zinc diacrylate
Adhesion strength (N/m) 1500 Zinc dimethacrylate Cobalt stearate

1000

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(a) Mechanical treatment (sandpaper blasting)


2500
Adhesion strength (N/m)

None
2000 Zinc diacrylate
Zinc dimethacrylate
1500 Cobalt stearate
1000
500
0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(b) Mechanical treatment (sand blasting)


2000
None Zinc diacrylate Zinc dimethacrylate Cobalt stearate
Adhesion strength (N/m)

1500

1000

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(c) Chemical treatment (acid etching)


รูปที 4.9 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการติด
ประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (รองพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอมเปานด์)
85

ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทัง" 3 ชนิด ทีเ ตรียมผิวโดย


วิธกี ารขัดด้วยกระดาษทราย การพ่นทรายและการกัดด้วยกรด โดยมีการรองพืน" โลหะด้วยสาร
รองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ พร้อมทัง" ใช้ยางทัง" ทีใ ส่สารเสริมการยึดติด และยางที
ปราศจากสารเสริมการยึดติด ซึง วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ ดังแสดงใน
ตารางที 4.15–4.17 และรูปที 4.9 พบว่าความล้มเหลวในการติดประสานระหว่างยางทีว ลั คา
ไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ กับโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง มีลกั ษณะ
เป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของโลหะทัง" การเตรียมผิวด้วยวิธที างกล และทางเคมี รวมทัง" ทุกชนิด
ของสารเสริมการยึดติดอีกด้วย ยกเว้น การติดประสานระหว่างยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Zinc
diacrylate ในระบบเปอร์ออกไซด์ กับโลหะทองแดง ทีม ลี กั ษณะของความล้มเหลวเป็นแบบโคฮี
ซีฟ เมือ พิจารณาความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวโดยการขัด
ด้วยกระดาษทราย ดังแสดงในรูปที 4.9 (a) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน โลหะ
เหล็กสามารถเกิดพันธะในการยึดติดกับยางใส่สารเสริมการยึดติด Cobalt stearate ได้สงู สุด
อย่างเห็นได้ชดั เช่นเดียวกับการติดประสานของโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" ดังแสดงในรูปที
4.8 (a) ในขณะทีก ารติดประสานของโลหะอะลูมเิ นียม ทองแดง รวมทัง" การติดประสานของโลหะ
ทัง" 3 ชนิด กับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าโลหะดังกล่าวสามารถเกิดพันธะ
ในการยึดติด ทางกลทีด กี บั ยางใส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate โดยมีค่าความแข็งแรงใน
การติดประสานสูงกว่ายางทีใ ส่สารเสริมการยึดติดชนิดอืนๆ โดยเฉพาะการติดประสานของโลหะ
ทองแดง
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวโดยวิธ ี
การพ่นทราย ดังแสดงในรูปที 4.9 (b) มีแนวโน้มในการติดประสานเช่นเดียวกับการยึดติดของ
โลหะทีป ราศจากสารรองพืน" ดังรูปที 4.8 (b) ซึง ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน พบว่าโลหะ
เหล็กและอะลูมเิ นียม สามารถเกิดพันธะในการยึดติดทางกลกับยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด
Cobalt stearate ได้สงู สุด โดยเฉพาะโลหะเหล็ก รองลงมาคือ ยางใส่สารเสริมการยึดติด Zinc
diacrylate และ Zinc dimethacrylate ตามลําดับ ในขณะทีโ ลหะทองแดงมีค่าความแข็งแรงใน
การติดประสานสูงสุด เมือ ยึดติดกับสารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate สําหรับยางทีว ลั คาไนซ์
ด้วยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าโลหะทองแดงมีความสามารถในการติดประสานกับยางใส่สาร
เสริมการยึดติด Zinc diacrylate ได้สงู สุดอย่างเห็นได้ชดั เช่นเดียวกับการติดประสานกับโลหะที
เตรียมผิวโดยการขัดด้วยกระดาษทราย ดังแสดงในรูปที 4.9 (a)
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวโดยวิธ ี
การกัดผิวด้วยกรด ดังแสดงในรูปที 4.9 (c) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน โลหะ
เหล็กมีพนั ธะในการยึดติดหรือเกิดแรงยึดเหนียวในขณะทําการวัลคาไนซ์ กับยางทีใ ส่สารเสริม
การยึดติดทัง" 3 ชนิดได้ใกล้เคียงกัน โดยสามารถเกิดการติดประสานกับยางใส่สารเสริมการยึด
ติด Cobalt stearate ได้สงู ทีส ุด สําหรับในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ พบว่า
86

โลหะทองแดงมีความสามารถในการติดประสานกับยางใส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate


สูงสุด และยังเกิดความล้มเหลวในการติดประสานแบบโคฮีซฟี เช่นเดียวกับการติดประสานของ
โลหะทีข ดั ด้วยกระดาษทราย และการพ่นทราย ดังแสดงในรูปที 4.9 (a) และ (b) ตามลําดับ ซึง
ความล้มเหลวในการติดประสานเช่นนี" สามารถยืนยันได้ว่าพันธะในการยึดติดระหว่างยางกับ
โลหะทีเ กิดขึน" ในช่วงของการเกิดปฏิกริ ยิ าการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์มคี วามแข็งแรงสูง
มาก จนเกิดความล้มเหลวขึน" ภายในเนื"อยาง

3) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้า


(Primer chemlok205A)

ตารางที 4.18 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ


ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (ขัดด้วยกระดาษทราย) ทีร องพืน" ด้วยสารรอง
พืน" ทางการค้า
Type of
Adhesion strength (N/m)
break
Vulcanization Type of
None Zinc Zinc Cobalt
system metal
diacrylate dimetha- stearate R* M
crylate
695.28 1056.43 980.76 1028.70
Steel 
± 55.51 ± 55.05 ± 115.53 ± 93.78
615.03 1350.50 803.70 1206.58
Sulphur cure Aluminium 
± 28.98 ± 157.30 ± 41.85 ± 49.07
691.76 1104.86 1297.74 1167.55
Copper 
± 120.05 ± 133.62 ± 137.19 ± 31.36
572.69 505.33 558.18 484.75
Steel 
± 54.59 ± 30.89 ± 24.31 ± 32.26
504.47 570.25 534.09 540.31
Peroxide cure Aluminium 
± 10.92 ± 87.09 ± 51.54 ± 154.30
600.63 530.74 289.76
Copper R* 
± 12.60 ± 39.37 ± 90.22
87

ตารางที 4.19 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ


ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้า
Type of
Adhesion strength (N/m)
break
Vulcanization Type of
None Zinc Zinc Cobalt
system metal
diacrylate dimetha- stearate R* M
crylate
848.28 1142.35 978.19 993.46
Steel 
± 38.57 ± 69.63 ± 21.10 ± 33.45
836.11 1410.94 1032.38 1670.86
Sulphur cure Aluminium 
± 76.67 ± 93.61 ± 104.40 ± 13.51
944.64 1674.74 1269.13 1654.15
Copper 
± 54.47 ± 223.79 ± 158.75 ± 188.56
852.34 837.36 808.09 603.91
Steel 
± 107.46 ± 18.83 ± 44.79 ± 63.11
979.41 1174.01 987.98 775.69
Peroxide cure Aluminium 
± 4.81 ± 35.84 ± 62.49 ± 65.28
955.55 714.86 753.71
Copper R* 
± 39.46 ± 55.85 ± 39.07
88

ตารางที 4.20 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ


ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทาง
การค้า
Type of
Adhesion strength (N/m)
break
Vulcanization Type of
None Zinc Zinc Cobalt
system metal
diacrylate dimetha- stearate R* M
crylate
515.07 687.20 439.49 692.11
Steel 
± 23.13 ± 41.62 ± 46.09 ± 31.24
437.99 713.77 761.94 720.28
Sulphur cure Aluminium 
± 76.82 ± 71.44 ± 40.93 ± 54.80
578.98 1012.57 1103.28 2897.37
Copper 
± 53.26 ± 42.07 ± 97.92 ± 319.38
1082.09 825.88 744.99 708.48
Steel 
± 39.80 ± 36.38 ± 131.28 ± 31.16
576.36 737.12 880.21 508.09
Peroxide cure Aluminium 
± 38.40 ± 108.14 ± 54.05 ± 50.91
952.27 941.75 693.68
Copper R* 
± 89.21 ± 79.06 ± 28.99
89

2000
None Zinc diacrylate Zinc dimethacrylate Cobalt stearate
Adhesion strength (N/m) 1500

1000

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(a) Mechanical treatment (sandpaper blasting)


2000 None Zinc diacrylate Zinc dimethacrylate Cobalt stearate
Adhesion strength (N/m)

1500

1000

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(b) Mechanical treatment (sand blasting)


2000 #
None
Adhesion strength (N/m)

1500 Zinc diacrylate


Zinc dimethacrylate
1000 Cobalt stearate

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(c) Chemical treatment (acid etching)


หมายเหตุ # : Adhesive failure
รูปที 4.10 ชนิดของโลหะ กับการใช้สารเสริมการยึดติดชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการติด
ประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (รองพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้า)
90

ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง ที


เตรียมผิวโดยวิธกี ารขัดด้วยกระดาษทราย การพ่นทราย และการกัดผิวด้วยกรด พร้อมทัง" รอง
พืน" โลหะด้วยสารรองพืน" ทางการค้า กับยางทัง" ทีใ ส่สารเสริมการยึดติดและปราศจากสารเสริม
การยึดติด ซึง วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ ดังแสดงในตารางที 4.18–4.20
และรูปที 4.10 พบว่าความล้มเหลวในการติดประสานระหว่างยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน
และเปอร์ออกไซด์ กับโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง มีลกั ษณะเป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิด
ของโลหะทัง" การเตรียมผิวด้วยวิธที างกล และทางเคมี รวมทัง" ทุกชนิดของสารเสริมการยึดติดอีก
ด้วย ยกเว้น การติดประสานระหว่างยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate ในระบบเปอร์
ออกไซด์กบั โลหะทองแดงทีม ลี กั ษณะของความล้มเหลวเป็นแบบโคฮีซฟี เมือ พิจารณาความ
แข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวโดยวิธกี ารขัดด้วยกระดาษทราย ดัง
แสดงในรูปที 4.10 (a) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน โลหะทัง" 3 ชนิด มีแนวโน้มใน
การเกิดพันธะหรือแรงยึดเหนียวกับสารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate ได้งา่ ย โดยเฉพาะการ
ติดประสานของโลหะอะลูมเิ นียมกับยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate ทีม คี วาม
แข็งแรงในการติดประสานสูงสุด เมือ เปรียบเทียบกับโลหะชนิดอืนๆ สําหรับการติดประสานของ
โลหะกับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าโลหะทองแดงมีความสามารถในการยึด
ติดกับยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate อย่างชัดเจน และนอกจากมีค่าการติด
ประสานสูงสุดแล้วยังเกิดความล้มเหลวในการติดประสานแบบโคฮีซฟี เช่นเดียวกับโลหะที
ปราศจากสารรองพืน" และรองพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอมเปานด์อกี ด้วย ดังแสดงในรูปที
4.8 (a) และ 4.9 (a) ตามลําดับ
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวโดยวิธ ี
การพ่นทราย ดังแสดงในรูปที 4.10 (b) พบว่าโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง มีแนวโน้มใน
การเกิดพันธะหรือแรงยึดเหนียวของการยึดติดกับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันและเปอร์
ออกไซด์เป็นแนวทางเดียวกัน กล่าวคือโลหะทัง" 3 ชนิด สามารถเกิดพันธะในการยึดติดกับยาง
ใส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate ได้งา่ ยทีส ุด จึงทําให้สามารถเกิดการยึดติดทางกลได้สงู
โดยทีค วามแข็งแรงในการติดประสานมีค่าสูงสุด เมือ นําโลหะทองแดงมาติดประสานกับยางทีใ ส่
สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate และวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันหรือเปอร์ออกไซด์
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวโดยวิธ ี
การกัดผิวด้วยกรด ดังแสดงในรูปที 4.10 (c) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน โลหะ
เหล็ก และทองแดง สามารถเกิดพันธะในการยึดติดกับยางใส่สารเสริมการยึดติด Cobalt
stearate สูงกว่าสารเสริมการยึดติดชนิดอืนๆ โดยทีม คี วามแข็งแรงในการติดประสานสูงสุด
อย่างชัดเจนเมือ ใช้สารเสริมการยึดติดชนิดนี"ในการติดประสานกับโลหะทองแดง สําหรับใน
ระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าโลหะทองแดงมีความสามารถในการติดประสาน
กับยางใส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate ได้สงู สุด อีกทัง" ยังเกิดความล้มเหลวในการติด
91

ประสานแบบโคฮีซฟี อีกด้วย เช่นเดียวกับการติดประสานของโลหะทองแดงทีเ ตรียมผิวโดยวิธ ี


การขัดด้วยกระดาษทราย และการพ่นทราย ดังแสดงในรูปที 4.10 (a) และ (b) ตามลําดับ

4.2.2.3 ผลของวธีิ การเตรียมผวโลหะตอความสามารถในการตดประสานระหวางยาง


ิ ่ ิ ่
กับโลหะ
ศึก ษาผลของวิธ ีก ารเตรียมผิว โลหะ โดยนํ าโลหะแผ่นเหล็ก (steel) อะลูมเิ นียม
(aluminium) และทองแดง (copper) ทีม คี วามหนา 1.6±0.1 มิลลิเมตร กว้าง 25±0.05 มิลลิเมตร
และยาว 60 มิลลิเมตร มาผ่านการเตรียมผิวด้วยวิธที างกล (ขัดด้วยกระดาษทรายและพ่นทราย)
และการเตรียมผิวด้วยวิธที างเคมี (กัดผิวด้วยกรด) ตามหัวข้อ 3.3.1.4 หลังจากนัน" นํ ายางคอม
เปานด์ใส่สารเสริมการยึดติด ทีเ ตรียมได้จากหัวข้อ 3.3.1.1 โดยใช้ปริมาณยางและสารเคมีแสดง
ดังตารางที 3.2 และ 3.3 มายึดติดกับโลหะทีผ่านการเตรียมผิวข้างต้น สําหรับขัน" ตอนในการ
เตรียมชิ"นทดสอบแสดงดังรูปที 3.2 แล้ว ทําการวัลคาไนซ์ข"นึ รูปด้วยเครืองอัดเบ้าทีอุ ณหภูม ิ
150°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน) และอุณหภูม ิ 160°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์)
และทดสอบความสามารถในการติดประสานแบบปอก ด้วยมุม 90 องศา ตามหัวข้อ 3.3.4.2 ซึง
ผลของวิธกี ารเตรียมผิวโลหะต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ย
ระบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์กบั โลหะทัง" 3 ชนิด โดยใช้ยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด
แสดงดังตารางที 4.21–4.23 และรูปที 4.11 ยางทีใ ช้สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate แสดง
ดังตารางที 4.24–4.26 และรูปที 4.12 ยางทีใ ช้สารเสริมการยึดติด Zinc dimethacrylate แสดง
ดังตารางที 4.27–4.29 และรูปที 4.13 และยางทีใ ช้สารเสริมการยึดติด Cobalt stearate แสดง
ดังตารางที 4.30–4.32 และรูปที 4.14 ตามลําดับ ดังนี"
92

1) การติดประสานระหว่างยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติดกับโลหะชนิดต่างๆ

ตารางที 4.21 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที


ปราศจากสารเสริมการยึดติดกับโลหะ โดยปราศจากสารรองพืน"
Type
Surface
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
pre-
system break
treatment
Steel Aluminium Copper R* M
Sandpaper 303.14 232.15 311.99

blasting ± 22.29 ± 83.41 ± 46.31
Sand 512.53 472.72 314.65
Sulphur cure 
blasting ± 40.47 ± 109.43 ± 9.22
Acid 408.90 357.96 343.03

etching ± 78.18 ± 3.28 ± 15.80
Sandpaper 77.34 149.43 154.32

blasting ± 2.86 ± 22.58 ± 29.17
Sand 289.25 284.00 319.08
Peroxide cure 
blasting ± 21.96 ± 45.41 ± 26.93
Acid 288.19 214.74 175.49

etching ± 38.76 ± 27.91 ± 21.82
93

ตารางที 4.22 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป ราศ


จากสารเสริมการยึดติด กับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอมเปานด์
Type
Surface
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
pre-
system break
treatment
Steel Aluminium Copper R* M
Sandpaper 382.11 376.09 321.16

blasting ± 54.80 ± 38.49 ± 75.32
Sand 461.80 471.94 399.85
Sulphur cure 
blasting ± 22.66 ± 19.63 ± 38.92
Acid 714.49 385.53 455.39

etching ± 90.91 ± 22.21 ± 92.59
Sandpaper 110.84 151.58 179.02

blasting ± 4.46 ± 37.48 ± 5.20
Sand 309.55 359.64 368.32
Peroxide cure 
blasting ± 6.16 ± 43.74 ± 29.31
Acid 277.09 141.71 182.15

etching ± 23.06 ± 11.47 ± 44.64
94

ตารางที 4.23 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที


ปราศจากสารเสริมการยึดติด กับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้า
Type
Surface
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
pre-
system break
treatment
Steel Aluminium Copper R* M
Sandpaper 695.28 615.03 691.76

blasting ± 55.51 ± 28.98 ± 120.05
Sand 848.28 836.11 944.64
Sulphur cure 
blasting ± 38.57 ± 76.67 ± 54.47
Acid 515.07 437.99 578.98

etching ± 23.13 ± 76.82 ± 53.26
Sandpaper 572.69 504.47 600.63

blasting ± 54.59 ± 10.92 ± 12.60
Sand 852.34 979.41 955.55
Peroxide cure 
blasting ± 107.46 ± 4.81 ± 39.46
Acid 1082.09 576.36 952.27

etching ± 39.80 ± 38.40 ± 89.21
95

2000

Adhesion strength (N/m)


Steel Aluminium Copper
1500
1000
500
0
Sandpaper Sand Acid Sandpaper Sand Acid
blasting blasting etching blasting blasting etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(a) Without primer


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500
1000
500
0
Sandpaper Sand Acid Sandpaper Sand Acid
blasting blasting etching blasting blasting etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(b) With primer compound solution


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500
1000
500
0
Sandpaper Sand Acid Sandpaper Sand Acid
blasting blasting etching blasting blasting etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(c) With primer chemlok205A


รูปที 4.11 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป ราศจาก
สารเสริมการยึดติด กับโลหะชนิดต่างๆ
96

ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีปราศจากสารเสริมการยึดติดที
เตรียมขึน" ด้วยกระบวนการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ กับโลหะทัง" 3 ชนิด ทีผ ่าน
การเตรียมผิวด้วยวิธที างกล (ขัดด้วยกระดาษทรายและพ่นทราย) และเตรียมผิวด้วยวิธที างเคมี
(กัดผิวด้วยกรด) โดยปราศจากสารรองพืน" และรองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" ชนิดต่างๆ แสดงดัง
ตารางที 4.21–4.23 และรูปที 4.11 พบว่าลักษณะของความล้มเหลวทีเกิดขึน" เป็ นแบบแอด
ฮีซฟี ทุกชนิดของโลหะ ทุกวิธกี ารของการเตรียมผิว และทุกชนิดของสารรองพืน" เมือพิจารณา
ผลจากการศึกษาความแข็งแรงในการยึดติดระหว่างยางกับโลหะทีปราศจากสารรองพื"น ดัง
แสดงในรูปที 4.11 (a) พบว่าการเตรียมผิวโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดงด้วยวิธกี ารพ่น
ทรายมีแนวโน้ มในการติดประสานกับยางสูงสุด ทัง" ในระบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ ทัง" นี"
เนืองจากการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย เป็ นวิธกี ารทีทําให้ผวิ หน้าของโลหะมีความขรุขระ
มากทีส ุด ดังแสดงในรูปที 4.1 ซึงความขรุขระของผิวหน้าทําให้มพี น"ื ทีผ วิ ในการยึดติดระหว่าง
ยางกับแผ่นโลหะทัง" 3 ชนิดได้มากขึน" โดยยางคอมเปานด์จะไหลแทรกตัวไปบนพืน" ผิวทีข รุขระ
และช่องว่างอืนๆ บนพืน" ผิว (SpecialChem Adhesives & Sealants, 2007b) ในขณะทําการ
วัลคาไนซ์ ทําให้ยางสามารถเกิดการล็อกติดอยู่กบั พืน" ผิวของแผ่นโลหะ และมีการยึดติดทางกล
เกิดขึน" สําหรับในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน พบว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย
สามารถยึดติดกับโลหะเหล็กได้สูงสุด ในขณะทีก ารวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ ส่งผลให้
ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทองแดงมีค่า สูง สุด เมือ เตรียมผิว ด้ว ย
วิธกี ารพ่นทราย
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีรองพื"นด้วยสาร
รองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ ดังแสดงในรูปที 4.11 (b) พบว่ายางทีเ ตรียมด้วยระบบ
การวัลคาไนซ์แบบกํามะถันมีแนวโน้มในการติดประสานกับโลหะเหล็ก และทองแดงทีผ่านการ
เตรียมผิวโดยการกัดผิวด้วยกรดได้สูงกว่าการพ่นทราย และขัดด้วยกระดาษทราย ตามลําดับ
ทัง" นี"อาจเป็ นเพราะสารรองพื"นทีเตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ แทรกตัวเข้าไปภายในช่องว่าง
ของพื"นผิวเหล็ก และทองแดงทีผ่านการพ่นทราย แล้วเกิดการตกค้างของตัวทําละลายทีใช้ใน
การเตรียมยางคอมเปานด์ เนืองจากการพ่นทรายในบางครัง" มีผลทําให้พ"นื ผิวมีช่องว่างขนาด
ใหญ่ และมีรลู กึ กว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรด ทําให้ตวั ทําละลายไม่สามารถระเหย
ออกได้หมด จึงเป็ นเหตุให้เกิดการยึดติดเชิงกลได้น้อยกว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วย
กรด แต่ยงั มีค่าสูงกว่าการเตรียมผิวทีข ดั ด้วยกระดาษทราย แต่อย่างไรก็ตาม พบว่าโลหะเหล็กมี
ค่าความแข็งแรงในการติดประสานกับยางสูงสุด โดยมีการเตรียมผิวโลหะด้วยการกัดผิวหน้ า
ด้วยกรด สําหรับการติดประสานของยางในระบบเปอร์ออกไซด์กบั โลหะทัง" 3 ชนิด พบว่าการ
เตรียมผิวโลหะด้ว ยวิธ ีการพ่นทรายมีแนวโน้ มในการติด ประสานสูงสุด เช่นเดียวกับโลหะที
ปราศจากสารรองพืน"
97

สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีรองพื"นด้วยสาร
รองพืน" Chemlok 205A ดังแสดงในรูปที 4.11 (c) พบว่าโลหะทีผ ่านการเตรียมผิวด้วยวิธที าง
กลมีความสามารถในการติดประสานกับยางในระบบการวัล คาไนซ์แบบกํามะถันสูงกว่าการ
เตรียมผิวด้วยวิธที างเคมี และยังมีความสามารถในการยึดติดกับโลหะทัง" 3 ชนิดสูงใกล้เคียงกัน
โดยทีโลหะทองแดงมีแนวโน้มในการติดประสานสูงสุด สําหรับในระบบการวัลคาไนซ์ดว้ ยเปอร์
ออกไซด์ พบว่าโลหะทีเตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทรายมีความแข็งแรงในการติดประสานสูงกว่า
การขัดด้วยกระดาษทราย เนืองจากการพ่นทรายสามารถทําให้พ"นื ผิวของโลหะมีความขรุขระ
สมําเสมอ มากกว่าการขัดด้วยกระดาษทราย ดังแสดงในรูปที 4.1 จึงเป็ นผลทําให้ยางสามารถ
ไหลเข้าไปภายในช่องว่างของพื"นผิวแผ่นโลหะทีรองพื"นด้วยสารรองพื"น Chemlok 205A
ในขณะทําการวัลคาไนซ์ และเกิดการล็อกยางติดกับแผ่นโลหะได้ด ีกว่าการขัดด้ว ยกระดาษ
ทราย นอกจากนี" ย งั พบว่ า การเตรีย มผิว โลหะด้ว ยวิธ ีก ารพ่ น ทรายยัง มีแ นวโน้ ม ในการติด
ประสานทีแ ข็งแรงกว่าการกัดผิวหน้าด้วยกรด ยกเว้น การติดประสานของโลหะเหล็ก ทีม คี ่าการ
ติดประสานตํากว่าการกัดผิวหน้าด้วยกรดเพียงเล็กน้อย ซึง อาจจะเป็นผลมาจากการเกิดปฏิกริ ยิ
เคมีระหว่างสารรองพื"น Chemlok 205A กับสารเคมีทใี ช้ในการเตรียมผิวโลหะเกิดการตกค้าง
บริเวณผิวของโลหะเหล็ก หรืออาจจะเกิดจากการตกค้างของตัวทําละลายทีเ หลือจากสารรองพืน"
Chemlok 205A ฝงอยู ั ่ภายในช่องว่างของพืน" ผิวโลหะทีม รี ลู กึ และขนาดใหญ่ แล้วไม่สามารถ
ระเหยออกได้หมด จึงส่งผลทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะเหล็กกับยางทีว ลั
คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์มคี ่าสูงกว่าการเตรียมผิวด้วยวิธที างกลทัง" 2 วิธ ี นอกจากนี"ยงั
พบว่าสารรองพื"น Chemlok 205A มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับ
โลหะทุกชนิดมีค่าเพิม สูงขึน" เมือเปรียบเทียบกับโลหะทีปราศจากสารรองพื"นและรองพื"นด้วย
สารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์
98

2) การติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Zinc diacrylate


กับโลหะชนิดต่างๆ

ตารางที 4.24 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สาร


เสริมการยึดติดชนิด Zinc diacrylate กับโลหะ โดยปราศจากสารรองพืน"
Type
Surface
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
pre-
system break
treatment
Steel Aluminium Copper R* M
Sandpaper 212.14 607.16 471.35

blasting ± 15.18 ± 40.80 ± 52.44
Sand 847.22 865.91 1281.28
Sulphur cure 
blasting ± 35.26 ± 85.80 ± 7.28
Acid 1116.21 352.51 591.59

etching ± 58.54 ± 93.89 ± 7.84
Sandpaper 1199.38 1030.79
R* 
blasting ± 73.61 ± 294.47
Sand 2530.60 636.06
Peroxide cure R* 
blasting ± 178.73 ± 81.91
Acid 1164.22 1360.99
R* 
etching ± 208.02 ± 204.85
99

ตารางที 4.25 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สาร


เสริมการยึดติดชนิด Zinc diacrylate กับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยาง
คอมเปานด์
Type
Surface
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
pre-
system break
treatment
Steel Aluminium Copper R* M
Sandpaper 430.67 573.87 530.47

blasting ± 14.98 ± 46.09 ± 40.29
Sand 878.40 769.56 1225.48
Sulphur cure 
blasting ± 35.52 ± 61.98 ± 40.18
Acid 837.80 526.74 505.39

etching ± 83.45 ± 104.81 ± 36.38
Sandpaper 1108.13 918.61
R* 
blasting ± 104.31 ± 115.56
Sand 1956.65 909.05
Peroxide cure R* 
blasting ± 245.50 ± 40.78
Acid 617.24 702.46
R* 
etching ± 157.88 ± 85.55
100

ตารางที 4.26 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สาร


เสริมการยึดติดชนิด Zinc diacrylate กับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้า
Vulcanization Surface Type
system pre- Adhesion strength (N/m) of
treatment break
Steel Aluminium Copper R* M
Sandpaper 1056.43 1350.50 1104.86

blasting ± 55.05 ± 157.30 ± 133.62
Sand 1142.35 1410.94 1674.74
Sulphur cure 
blasting ± 69.63 ± 93.61 ± 223.79
Acid 687.20 713.77 1012.57

etching ± 41.62 ± 71.44 ± 42.07
Sandpaper 505.33 570.25
R* 
blasting ± 30.89 ± 87.09
Sand 837.36 1174.01
Peroxide cure R* 
blasting ± 18.83 ± 35.84
Acid 825.88 737.12
R* 
etching ± 36.38 ± 108.14
101

2000 #

Adhesion strength (N/m)


Steel Aluminium Copper
1500
1000
500
0
Sandpaper Sand Acid Sandpaper Sand Acid
blasting blasting etching blasting blasting etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(a) Without primer (# : adhesive failure)


2500
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


2000
1500
1000
500
0
Sandpaper Sand Acid Sandpaper Sand Acid
blasting blasting etching blasting blasting etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(b) With primer compound solution


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel
1500 Aluminium
Copper
1000
500
0
Sandpaper Sand Acid Sandpaper Sand Acid
blasting blasting etching blasting blasting etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(c) With primer chemlok205A


รูปที 4.12 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริม
การยึดติดชนิด Zinc diacrylate กับโลหะชนิดต่างๆ
102

ความแข็ง แรงในการติด ประสานระหว่ า งยางใส่ ส ารเสริม การยึด ติด Zinc


diacrylate (ZDA) ทีเ ตรียมขึน" ด้วยกระบวนการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ กับ
โลหะทัง" 3 ชนิด ทีผ ่านการเตรียมผิวด้วยวิธที างกล (ขัดด้วยกระดาษทรายและพ่นทราย) และ
เตรียมผิวด้วยวิธที างเคมี (กัดผิวด้วยกรด) โดยปราศจากสารรองพืน" และรองพืน" โลหะด้วยสาร
รองพืน" ชนิดต่างๆ แสดงดังตารางที 4.24–4.26 และรูปที 4.12 พบว่าลักษณะของความล้มเหลว
ทีเ กิดขึน" เป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของโลหะ ทุกวิธกี ารของการเตรียมผิว และทุกชนิดของสาร
รองพื"น ยกเว้น การติด ประสานระหว่ า งโลหะทองแดงกับ ยางทีว ัล คาไนซ์ด้ว ยระบบเปอร์
ออกไซด์ เมือพิจารณาผลจากการศึกษาความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะที
ปราศจากสารรองพืน" ดังแสดงในรูปที 4.12 (a) พบว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย มีผล
ทํา ให้ค วามแข็ง แรงในการยึด ติด ระหว่ า งยางกับ โลหะทองแดงมีค่ า การติด ประสานสู ง สุ ด
เนือ งจากวิธ ีก ารพ่นทรายเป็ นวิธ ีก ารเตรียมผิว ทีทําให้ผ ิว หน้ าของโลหะมีค วามขรุขระอย่าง
สมําเสมอ เพือให้ยางสามารถไหลเข้าไปภายในช่องว่างของพืน" ผิวโลหะขณะทําการวัลคาไนซ์
และเกิดการยึดติด ทางกลกับโลหะได้ จึงส่ง ผลให้โลหะทีเ ตรียมผิว ด้ว ยการพ่นทรายมีความ
แข็งแรงในการติดประสานสูงกว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารอืนๆ แต่สําหรับการติดประสานของ
ยางในระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าการเตรียมผิวโลหะทองแดงด้วยวิธกี ารทีต ่างกัน ไม่มผี ลในการ
ทําให้ความแข็งแรงของการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทองแดงมีค่าต่างกัน เนืองจากยาง
สามารถเกิดพันธะหรือแรงยึดเหนียวกับโลหะทองแดงได้สูงสุดกับทุกวิธกี ารเตรียมผิว อีกทัง" ยัง
เกิดความล้มเหลวในการติดประสานเกิดขึ"นภายในเนื"อยางอีกด้วย หรือทีเรียกว่าเกิดความ
ล้มเหลวแบบโคฮีซฟี (cohesive failure) ซึงเป็ นสิง ทีสามารถยืนยันได้ว่าพันธะหรือแรงยึด
เหนียวในการยึดติดระหว่างยางกับโลหะทองแดงมีค่าสูงมาก จนไม่สามารถแยกแผ่นยางออก
จากแผ่นโลหะได้ จึงทําให้ยางเกิดการฉีกขาดขณะทําการทดสอบแบบปอก
สําหรับความแข็งแรงในการยึดติดระหว่างยางกับโลหะทีรองพื"นด้วยสารรอง
พืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ ดังแสดงในรูปที 4.12 (b) พบว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่น
ทราย ส่งผลให้ความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทัง" 3 ชนิด มีค่าสูงกว่าการขัดด้วย
กระดาษทราย และการกัดผิวหน้ าด้ว ยกรด โดยทีทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานของ
โลหะทองแดงมีค่าสูงสุด เช่นเดียวกับการติดประสานของโลหะทีปราศจากสารรองพื"นกับยาง
ทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน ดังแสดงในรูปที 4.12 (a) สําหรับการติดประสานของโลหะทัง" 3
ชนิดกับยางในระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าการเตรียมผิวโลหะทองแดงด้วยวิธกี ารทีต่างกันไม่ม ี
ผลต่อค่าความแข็งแรงทีเ กิดขึน" อีกทัง" ยังทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานมีค่าสูงสุดกับทุก
วิธ ีก ารเตรีย มผิว และยัง มีค วามล้มเหลวของการติด ประสานเกิด ขึ"นภายในเนื"อ ยางอีก ด้ว ย
เช่นเดียวกับการติดประสานของโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" กับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์
ออกไซด์ ดังแสดงในรูปที 4.12 (a)
103

สําหรับความแข็งแรงในการยึดติดของโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้า


ดังแสดงในรูปที 4.12 (c) ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน พบว่าโลหะทีผ ่านการเตรียมผิว
ด้วยวิธที างกล (ขัดด้วยกระดาษทรายและพ่นทราย) มีความสามารถในการติดประสานกับยางที
สูงกว่าการเตรียมผิวด้วยวิธที างเคมี (กัดผิวด้วยกรด) ทุกชนิดของโลหะ นอกจากนี"ยงั พบว่าการ
เตรียมผิวโลหะทองแดงด้วยวิธกี ารพ่นทราย ส่งผลทําให้มคี วามแข็งแรงในการยึดติดกับยางสูง
กว่าโลหะอะลูมเิ นียมและเหล็ก ตามลําดับ สําหรับการติดประสานของยางในระบบการวัลคาไนซ์
แบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าการเตรียมผิวโลหะทองแดงด้วยวิธที างกลและทางเคมี ไม่มผี ลต่อค่า
ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะทองแดงกับยางคอมเปานด์วลั คาไนซ์ด้วยระบบ
เปอร์ออกไซด์ เช่นเดียวกับการติดประสานของโลหะทองแดงทีป ราศจากสารรองพืน" และรองพืน"
ด้วยสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ ดังแสดงในรูปที 4.12 (a) และ (b) ตามลําดับ

3) การติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Zinc dimethacrylate


กับโลหะชนิดต่างๆ

ตารางที 4.27 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สาร


เสริมการยึดติดชนิด Zinc dimethacrylate กับโลหะ โดยปราศจากสารรองพืน"
Type
Surface
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
pre-
system break
treatment
Steel Aluminium Copper R* M
Sandpaper 263.05 218.73 420.28

blasting ± 16.40 ± 31.95 ± 75.17
Sand 729.08 451.78 403.55
Sulphur cure 
blasting ± 66.09 ± 74.82 ± 54.57
Acid 888.63 416.62 555.82

etching ± 97.93 ± 36.83 ± 75.16
Sandpaper 419.19 437.51 194.13

blasting ± 10.13 ± 34.52 ± 46.19
Sand 602.21 630.43 639.20
Peroxide cure 
blasting ± 55.92 ± 112.95 ± 39.13
Acid 683.46 356.18 443.45

etching ± 47.21 ± 30.82 ± 79.81
104

ตารางที 4.28 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สาร


เสริมการยึดติดชนิด Zinc dimethacrylate กับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จาก
ยางคอมเปานด์
Type
Surface
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
pre-
system break
treatment
Steel Aluminium Copper R* M
Sandpaper 393.16 305.15 464.09

blasting ± 39.50 ± 83.72 ± 95.03
Sand 716.14 643.72 411.11
Sulphur cure 
blasting ± 51.47 ± 26.27 ± 41.14
Acid 935.56 329.56 504.57

etching ± 130.20 ± 35.45 ± 110.78
Sandpaper 515.65 470.85 436.01

blasting ± 10.90 ± 53.79 ± 94.01
Sand 672.13 675.12 549.35
Peroxide cure 
blasting ± 98.77 ± 86.38 ± 126.19
Acid 1124.42 365.11 417.58

etching ± 73.08 ± 30.58 ± 26.48
105

ตารางที 4.29 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สาร


เสริมการยึดติดชนิด Zinc dimethacrylate กับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน"
ทางการค้า
Type
Surface
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
pre-
system break
treatment
Steel Aluminium Copper R* M
Sandpaper 980.76 803.70 1297.74

blasting ± 115.53 ± 41.85 ± 137.19
Sand 978.19 1032.38 1269.13
Sulphur cure 
blasting ± 21.10 ± 104.40 ± 158.75
Acid 439.49 761.94 1103.28

etching ± 46.09 ± 40.93 ± 97.92
Sandpaper 558.18 534.09 530.74

blasting ± 24.31 ± 51.54 ± 39.37
Sand 808.09 987.98 714.86
Peroxide cure 
blasting ± 44.79 ± 62.49 ± 55.85
Acid 744.99 880.21 941.75

etching ± 131.28 ± 54.05 ± 79.06
106

2000

Adhesion strength (N/m)


Steel Aluminium Copper
1500
1000
500
0
Sandpaper Sand Acid Sandpaper Sand Acid
blasting blasting etching blasting blasting etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(a) Without primer


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500
1000
500
0
Sandpaper Sand Acid Sandpaper Sand Acid
blasting blasting etching blasting blasting etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(b) With primer compound solution


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500
1000
500
0
Sandpaper Sand Acid Sandpaper Sand Acid
blasting blasting etching blasting blasting etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(c) With primer chemlok205A


รูปที 4.13 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริม
การยึดติดชนิด Zinc dimethacrylate กับโลหะชนิดต่างๆ
107

ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติด Zinc
dimethacrylate (ZDMA) ทีเ ตรียมขึน" ด้วยกระบวนการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์
ออกไซด์ กับโลหะทัง" 3 ชนิด ทีผ ่านการเตรียมผิวด้วยวิธที างกล (ขัดด้วยกระดาษทรายและพ่น
ทราย) และเตรียมผิวด้วยวิธที างเคมี (กัดผิวด้วยกรด) โดยปราศจากสารรองพืน" และรองพืน"
ด้วยสารรองพืน" ชนิดต่างๆ แสดงดังตารางที 4.27–4.29 และรูปที 4.13 พบว่าลักษณะของความ
ล้มเหลวทีเ กิดขึน" เป็ นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของโลหะ ทุกวิธกี ารของการเตรียมผิว และทุกชนิด
ของสารรองพืน" เมือ พิจารณาค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีป ราศจาก
สารรองพืน" ดังแสดงในรูปที 4.13 (a) ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน พบว่าการเตรียมผิว
โลหะเหล็ก และทองแดงด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรด ส่งผลให้ความแข็งแรงในการติดประสานมีสงู
กว่าการเตรียมผิวโดยการพ่นทราย และการขัดด้วยกระดาษทราย โดยทีโ ลหะเหล็กมีค่าการติด
ประสานสูงสุด อาจจะเป็ นผลมาจากการพ่นทรายทําให้พน"ื ผิวของโลหะบางส่วนมีรอยขรุขระที
ลึก และขนาดใหญ่เกินไป จึงมีฟองอากาศฝงอยู ั ภ่ ายในช่องว่างแทนการฝงตัั วของยาง เป็ นเหตุ
ให้เกิดการยึดติดทางกลลดลง หรืออาจจะเป็นผลมาจากสารเคมีทใี ช้ในการเตรียมผิวโลหะเหล็ก
และทองแดงเกิดการตกค้างบนผิวของโลหะ ทําปฏิกริ ยิ าเคมีกบั ยางทีน ํามายึดติดโดยตรง จึง
ส่งผลให้ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็ก และทองแดงทีก ดั ผิวด้วย
กรดมีค่าสูงกว่าการเตรียมผิวทางกล สําหรับการติดประสานของยางในระบบเปอร์ออกไซด์
พบว่าการเตรียมผิวโลหะทัง" 3 ชนิดด้วยวิธกี ารพ่นทรายมีแนวโน้มในการติดประสานทีใ กล้เคียง
กัน และยังมีค่าความแข็งแรงในการติดประสานทีส งู กว่าการเตรียมผิวด้วยวิธอี นื อีกด้วย ยกเว้น
การเตรียมผิวโลหะเหล็ก ซึง พบว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทรายมีค่าด้อยกว่าการเตรียมผิว
ด้วยวิธกี ารกัดผิวหน้าด้วยกรดเพียงเล็กน้อย และยังมีแนวโน้มในการติดประสานเช่นเดียวกับ
กับยางในระบบกํามะถันข้างต้น
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีรองพื"นด้วยสาร
รองพืน" จากยางคอมเปานด์ ดังแสดงในรูปที 4.12 (b) ในระบบการวัลคาไนซ์ยางแบบกํามะถัน
พบว่าการเตรียมผิวโลหะเหล็ก และทองแดงด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรด ส่งผลทําให้มคี ่าความ
แข็งแรงในการติดประสานทีส ูงกว่าการเตรียมผิวโดยการพ่นทราย โดยทีโ ลหะเหล็กมีค่าการติด
ประสานสูงสุด เช่นเดียวกับการติดประสานของโลหะทีป ราศจากสารรองพื"น ดังแสดงในรูปที
4.12 (a) ซึงอาจจะเป็ นผลมาจากการเตรียมผิวเช่นเดียวกัน สําหรับการติดประสานของยางใน
ระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรด มีผลทําให้การติดประสาน
ของโลหะเหล็กมีค่าสูงกว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทรายและการขัดด้วยกระดาษทรายอย่าง
เห็นได้ชดั ซึง อาจจะเป็ นเพราะการแทรกตัวของสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ เข้า
ไปภายในช่องว่างของพื"นผิวเหล็กทีพ่นทราย แล้วเกิดการตกค้างของตัวทําละลายทีใช้ในการ
เตรียมยางคอมเปานด์ เนืองจากการพ่นทรายในบางครัง" มีผลทําให้พ"นื ผิวมีช่องว่างขนาดใหญ่
และมีรลู กึ กว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรด ทําให้ตวั ทําละลายไม่สามารถระเหยออก
108

ได้ห มด หรือ อาจจะมีส าเหตุ มาจากสารเคมีทีใ ช้ใ นการเตรีย มผิว โลหะเหล็ก เกิด การตกค้า ง
บริเวณผิวของโลหะ ทําปฏิกริ ยิ าเคมีกบั สารรองพืน" จากยางคอมเปานด์ จึงส่งผลให้ความแข็งแรง
ในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็กทีก ดั ผิวด้วยกรดมีค่าสูงกว่าการเตรียมผิวทางกล จึง
เป็นเหตุให้เกิดการยึดติดเชิงกลทีต าํ กว่าด้วย
สําหรับความแข็งแรงในการยึดติดระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน"
Chemlok 205A ดังแสดงในรูปที 4.13 (c) ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน พบว่าโลหะทัง" 3
ชนิด ทีผ ่านการเตรียมผิวด้วยวิธที างกล (ขัดด้วยกระดาษทรายและพ่นทราย) มีความสามารถ
ในการติด ประสานกับ ยางได้สูง กว่ า การเตรียมผิว ด้ว ยวิธ ีท างเคมี (กัด ผิว ด้ว ยกรด) โดยที
โลหะทองแดงมีค่าการติดประสานสูงสุด เมือเตรียมผิวด้วยวิธที างกลทัง" 2 วิธ ี เนืองจากการ
เตรียมผิวด้วยวิธกี ารทางกลสามารถทําให้พ"นื ผิวของโลหะมีความขรุขระสมําเสมอมากกว่ากา
เตรียมผิวด้วยวิธที างเคมี ดังแสดงในรูปที 4.1 จึงเป็ นผลทําให้ยางคอมเปานด์สามารถไหล
ในขณะทําการวัลคาไนซ์เข้าไปภายในช่องว่างของพืน" ผิวบนแผ่นโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน"
ทางการค้า และเกิดการล็อกยางติดกับแผ่นโลหะได้ดกี ว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารทางเคมี แต่
สําหรับการติดประสานของยางในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าการเตรียมผิว
โลหะเหล็ก และอะลูมเิ นียมด้วยวิธกี ารพ่นทรายมีผลต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสาน โดย
ทําให้มคี ่าในการติดประสานสูงสุด โดยเฉพาะการติดประสานของโลหะอะลูมเิ นียม ในขณะทีก าร
ติดประสานของโลหะทองแดงทีเตรียมผิวโดยการกัดผิวด้วยกรด มีความแข็งแรงสูงกว่าการพ่น
ทราย และยังมีค่าการติดประสานทีใกล้เคียงกับโลหะอะลูมเิ นียมทีเตรียมผิวด้วยการพ่นทราย
ซึง อาจจะเป็นผลมาจากสารเคมีทใี ช้ในการเตรียมผิวโลหะทองแดงเกิดการตกค้างบริเวณผิวของ
โลหะ ทําปฏิกริ ยิ าเคมีกบั สารรองพืน" Chemlok 205A และยางทีน ํามายึดติด หรืออาจจะเกิดจาก
การตกค้างของตัวทําละลายของสารรองพืน" Chemlok 205A ทีฝ งอยู ั ่ภายในช่องว่างของพืน" ผิว
โลหะทีมรี ลู กึ และขนาดใหญ่ แล้วไม่สามารถระเหยออกได้หมด จึงส่งผลทําให้ความแข็งแรงใน
การติดประสานระหว่างโลหะทองแดงกับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์มคี ่าสูงขึน" และ
สูงกว่าการเตรียมผิวด้วยวิธที างกล
109

4) การติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Cobalt stearate กับโลหะ


ชนิดต่างๆ

ตารางที 4.30 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สาร


เสริมการยึดติดชนิด Cobalt stearate กับโลหะ โดยปราศจากสารรองพืน"
Type
Surface
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
pre-
system break
treatment
Steel Aluminium Copper R* M
Sandpaper 1071.72 195.45 211.86

blasting ± 99.30 ± 58.35 ± 14.50
Sand 1246.60 1637.36 474.59
Sulphur cure 
blasting ± 58.94 ± 157.85 ± 47.46
Acid 698.89 317.67 328.67

etching ± 75.56 ± 17.04 ± 75.87
Sandpaper 84.14 183.59 117.32

blasting ± 10.21 ± 33.60 ± 23.53
Sand 232.84 316.63 195.39
Peroxide cure 
blasting ± 20.82 ± 31.07 ± 14.42
Acid 216.98 160.59 150.56

etching ± 92.14 ± 24.13 ± 23.60
110

ตารางที 4.31 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สาร


เสริมการยึดติดชนิด Cobalt stearate กับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จาก
ยางคอมเปานด์
Type
Surface
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
pre-
system break
treatment
Steel Aluminium Copper R* M
Sandpaper 1634.31 556.56 284.15

blasting ± 89.45 ± 92.36 ± 47.69
Sand 1912.36 1699.93 305.05
Sulphur cure 
blasting ± 342.16 ± 124.09 ± 128.41
Acid 950.73 306.96 411.01

etching ± 168.04 ± 39.35 ± 29.84
Sandpaper 79.04 182.52 174.23

blasting ± 7.21 ± 10.92 ± 39.45
Sand 299.53 324.53 122.22
Peroxide cure 
blasting ± 33.85 ± 16.27 ± 26.45
Acid 446.47 155.14 446.06

etching ± 30.49 ± 34.75 ± 109.17
111

ตารางที 4.32 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่


สารเสริมการยึดติดชนิด Cobalt stearate กับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน"
ทางการค้า
Type
Surface
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
pre-
system break
treatment
Steel Aluminium Copper R* M
Sandpaper 1028.70 1206.58 1167.55

blasting ± 93.78 ± 49.07 ± 31.36
Sand 993.46 1670.86 1654.15
Sulphur cure 
blasting ± 33.45 ± 13.51 ± 188.56
Acid 692.11 720.28 2897.37

etching ± 31.24 ± 54.80 ± 319.38
Sandpaper 484.75 540.31 289.76

blasting ± 32.26 ± 154.30 ± 90.22
Sand 603.91 775.69 753.71
Peroxide cure 
blasting ± 63.11 ± 65.28 ± 39.07
Acid 708.48 508.09 693.68

etching ± 31.16 ± 50.91 ± 28.99
112

2000

Adhesion strength (N/m)


Steel Aluminium Copper
1500
1000
500
0
Sandpaper Sand Acid Sandpaper Sand Acid
blasting blasting etching blasting blasting etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(a) Without primer


2500
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


2000
1500
1000
500
0
Sandpaper Sand Acid Sandpaper Sand Acid
blasting blasting etching blasting blasting etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(b) With primer compound solution


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500
1000
500
0
Sandpaper Sand Acid Sandpaper Sand Acid
blasting blasting etching blasting blasting etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(c) With primer chemlok205A


รูปที 4.14 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริม
การยึดติดชนิด Cobalt stearate กับโลหะชนิดต่างๆ
113

ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติด Cobalt
stearate ทีเ ตรียมขึน" ด้วยกระบวนการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ กับโลหะทัง" 3
ชนิด ทีผ ่านการเตรียมผิวด้วยวิธที างกล (ขัดด้วยกระดาษทรายและพ่นทราย) และเตรียมผิวด้วย
วิธที างเคมี (กัดผิวด้วยกรด) โดยปราศจากสารรองพืน" และรองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" จากยาง
คอมเปานด์และสารรองพืน" ทางการค้า แสดงดังตารางที 4.30–4.32 และรูปที 4.14 พบว่า
ลักษณะของความล้มเหลวทีเ กิดขึน" เป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของโลหะ ทุกวิธกี ารของการ
เตรียมผิว และทุกชนิดของสารรองพืน" เมือ พิจารณาความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยาง
กับโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" ดังแสดงในรูปที 4.14 (a) พบว่าการเตรียมผิวโลหะโดยการพ่น
ทรายส่งผลให้การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทัง" 3 ชนิด มีค่าสูงกว่าการเตรียมผิวด้วย
วิธกี ารขัดด้วยกระดาษทราย และการกัดผิวด้วยกรด ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน
และเปอร์ออกไซด์ ซึง เป็นผลเนืองจากการเตรียมผิวโดยการพ่นทรายสามารถทําให้ผวิ ของโลหะ
เกิดความขรุขระทีส มําเสมอมากกว่าการเตรียม ผิวโดยการขัดด้วยกระดาษทราย และการกัดผิว
ด้วยกรด จึงทําให้ยางคอมเปานด์สามารถไหลเข้าไปภายในช่องว่างของพืน" ผิวโลหะ และเกิด
การยึดติดทางกล (mechanical interlocking) ขึน" ได้มากกว่าเช่นกัน ในการวัลคาไนซ์ยางด้วย
ระบบกํามะถัน พบว่าการเตรียมผิวโลหะด้วยวิธกี ารพ่นทราย มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติด
ประสานระหว่างยางกับโลหะอะลูมเิ นียมมีค่าสูงสุด สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานของ
โลหะกับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าการเตรียมผิวโลหะด้วยวิธกี ารทีแ ตกต่าง
กัน ไม่ได้ส่งผลต่อความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทัง" 3 ชนิดมากนัก โดยที
การเตรียมผิวด้วยการพ่นทรายมีแนวโน้มในการติดประสานสูงทีส ุด เมือ พิจารณาชนิดของโลหะ
แล้ว พบว่าโลหะอะลูมเิ นียมมีค่าการติดประสานสูงกว่าโลหะชนิดอืน ๆ เช่นเดียวกับในระบบ
การวัลคาไนซ์แบบกํามะถันข้างต้น นอกจากนี"ยงั พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานของยาง
ทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันมีค่าสูงว่ายางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์อย่างชัดเจนทุก
ชนิดของโลหะ และทุกวิธกี ารของการเตรียมผิว
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสาร
รองพืน" จากยางคอมเปานด์ ดังแสดงในรูปที 4 . 1 4 ( b ) ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน
พบว่าการเตรียมผิวโลหะทัง" 3 ชนิด ด้วยวิธกี ารพ่นทราย มีค่าความแข็งแรงในการติดประสานที
สูงกว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารอืน เนืองจากการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทรายเป็ นวิธกี ารทีท าํ
ให้ผวิ ของโลหะมีความขรุขระมากทีส ุด และยังมีความสมําเสมอทัวทั  ง" ผิวหน้า ดังแสดงในรูปที
4 . 1 จึงเป็ นเหตุทาํ ให้ความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธพี ่นทรายมีค่า
สูงสุด เมือ เปรียบเทียบความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะแต่ละชนิด พบว่าโลหะเหล็กมี
ความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุด ทุกวิธขี องการเตรียมผิว สําหรับความแข็งแรงในการติด
ประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่ามีแนวโน้มในการติดประสานทีต าํ
กว่ายางวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน ทุกชนิดของโลหะ และทุกวิธขี องการเตรียมผิว นอกจากนี"
114

ยังพบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ การเตรียมผิวโดยการกัดผิวด้วยกรด มีผลทํา


ให้การติดประสานของโลหะเหล็ก และทองแดง มีแนวโน้มทีเ ท่ากัน และยังมีค่าสูงกว่าการติด
ประสานกับโลหะอะลูมเิ นียมอย่างเห็นได้ชดั
สํา หรับความแข็ง แรงในการติด ประสานของโลหะทีร องพื"น ด้ว ยสารรองพื"น
Chemlok 205A ดังในรูปที 4.14 (c) แสดงให้เห็นว่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยาง
ทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน มีความสามารถในการเกิดการยึดติดทางกลได้อย่างแข็งแรง กับ
โลหะทัง" 3 ชนิด และยังทําให้มคี ่าสูงกว่าการวัลคาไนซ์ยางด้วยระบบเปอร์ออกไซด์อกี ด้วย
สํ า หรับ ความแข็ง แรงในการติด ประสานของยางทีว ัล คาไนซ์ ด้ ว ยระบบกํ า มะถัน พบว่ า
โลหะทองแดงทีผ่านการเตรียมผิวด้วยวิธที างเคมี คือการกัดผิวด้วยกรด มีค่าการติดประสาน
สูงสุดอย่างชัดเจน ซึง จากผลการทดลองดังกล่าวอาจจะเป็ นไปได้ว่าความแข็งแรงทีเ กิดขึน" จาก
การเตรียมผิวด้วยวิธที างเคมีอาจเกิดจากการเกิดปฏิกิรยิ าเคมีระหว่างสารรองพื"น Chemlok
205A กับสารเคมีทใี ช้ในการเตรียมผิวโลหะเกิดการตกค้างบริเวณผิวของโลหะทองแดง หรือ
อาจจะเกิดจากการตกค้างของตัว ทําละลายในสารรองพื"น Chemlok 205A ทีฝงอยู ั ่ภายใน
ช่องว่างของพืน" ผิวโลหะทีม รี ลู กึ และขนาดใหญ่ แล้วไม่สามารถระเหยออกได้หมด จึงส่งผลทําให้
ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะทองแดงกับยางมีค่าสูงกว่าการเตรียมผิวด้วยวิธ ี
ทางกล สําหรับการติดประสานของยางในระบบเปอร์ออกไซด์กบั โลหะ พบว่าโลหะอะลูมเิ นียม มี
แนวโน้มในการติดประสานสูงสุด เมือผ่านการเตรียมผิวโดยการพ่นทราย เช่นเดียวกับการติด
ประสานของโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" ดังแสดงในรูปที 4.14 (a)


4.2.2.4 ผลของชนดสารรองพื ่ ิ
aนตอความสามารถในการตดประสานระหวางยางกั ่ บ
โลหะ
ศึกษาผลของการใช้สารรองพืน" 2 ชนิด ได้แก่ สารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอม
เปานด์ (primer compound) และสารรองพืน" ทางการค้า (primer chemlok 205A) โดยทําการ
เคลือบผิวหน้าโลหะด้วยวิธกี ารจุม่ แผ่นโลหะทีผ ่านการเตรียมผิวด้วยวิธที างกลและทางเคมี ตาม
หัวข้อ 3.3.1.4 ลงในสารรองพืน" ก่อนนําไปยึดติดกับยางคอมเปานด์ทเี ตรียมได้จากหัวข้อ
3.3.1.1 โดยมีปริมาณยางและสารเคมี ดังแสดงในตารางที 3.2 และ 3.3 เพือเปรียบเทียบความ
แข็งแรงในการติดประสานกับโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" ซึง ขัน" ตอนในการเตรียมชิน" ทดสอบ
แสดงดังรูปที 3.2 แล้วทําการวัลคาไนซ์ขน"ึ รูปด้วยเครืองอัดเบ้าทีอ ุณหภูม ิ 150°C (วัลคาไนซ์
ด้วยระบบกํามะถัน) และอุณหภูม ิ 160°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์) และทดสอบ
ความสามารถในการติดประสานแบบปอก ด้วยมุม 90 องศา ตามหัวข้อ 3.3.4.2 ซึง ผลของชนิด
สารรองพืน" ทีย ดึ ติดกับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธที างกล (ขัดด้วยกระดาษทราย) แสดงดังตารางที
4.33–4.36 และรูปที 4.15 เตรียมผิวด้วยวิธที างกล (พ่นทราย) แสดงดังตารางที 4.37–4.40
115

และรูปที 4.16 และเตรียมผิวด้วยวิธที างเคมี (กัดผิวด้วยกรด) แสดงดังตารางที 4.41–4.44 และ


รูปที 4.17 ตามลําดับดังนี"

1) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะชนิดต่างๆ ทีเ ตรียมผิวด้วยวิธที างกล (ขัด


ด้วยกระดาษทราย)

ตารางที 4.33 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางปราศจากสารเสริมการยึดติดกับโลหะ (ขัดด้วยกระดาษทราย)
Type
Type
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
of
system break
primer
Steel Aluminium Copper R* M
Without 303.14 232.15 311.99

primer ± 22.29 ± 83.41 ± 46.31
Primer 382.11 376.09 321.16
Sulphur cure 
compound ± 54.80 ± 38.49 ± 75.32
Primer 695.28 615.03 691.76

chemlok ± 55.51 ± 28.98 ± 120.05
Without 77.34 149.43 154.32

primer ± 2.86 ± 22.58 ± 29.17
Primer 110.84 151.58 179.02
Peroxide cure 
compound ± 4.46 ± 37.48 ± 5.20
Primer 572.69 504.47 600.63

chemlok ± 54.59 ± 10.92 ± 12.60
116

ตารางที 4.34 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Zinc diacrylate กับโลหะ (ขัดด้วย
กระดาษทราย)
Type
Type
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
of
system break
primer
Steel Aluminium Copper R* M
Without 212.14 607.16 471.35

primer ± 15.18 ± 40.80 ± 52.44
Primer 430.67 573.87 530.47
Sulphur cure 
compound ± 14.98 ± 46.09 ± 40.29
Primer 1056.43 1350.50 1104.86

chemlok ± 55.05 ± 157.30 ± 133.62
Without 1199.38 1030.79
R* 
primer ± 73.61 ± 294.47
Primer 1108.13 918.61
Peroxide cure R* 
compound ± 104.31 ± 115.56
Primer 505.33 570.25
R* 
chemlok ± 30.89 ± 87.09
117

ตารางที 4.35 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Zinc dimethacrylate กับโลหะ (ขัดด้วย
กระดาษทราย)
Type
Type
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
of
system break
primer
Steel Aluminium Copper R* M
Without 263.05 218.73 420.28

primer ± 16.40 ± 31.95 ± 75.17
Primer 393.16 305.15 464.09
Sulphur cure 
compound ± 39.50 ± 83.72 ± 95.03
Primer 980.76 803.70 1297.74

chemlok ± 115.53 ± 41.85 ± 137.19
Without 419.19 437.51 194.13

primer ± 10.13 ± 34.52 ± 46.19
Primer 515.65 470.85 436.01
Peroxide cure 
compound ± 10.90 ± 53.79 ± 94.01
Primer 558.18 534.09 530.74

chemlok ± 24.31 ± 51.54 ± 39.37
118

ตารางที 4.36 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Cobalt stearate กับโลหะ (ขัดด้วย
กระดาษทราย)
Type
Type
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
of
system break
primer
Steel Aluminium Copper R* M
Without 1071.72 195.45 211.86

primer ± 99.30 ± 58.35 ± 14.50
Primer 1634.31 556.56 284.15
Sulphur cure 
compound ± 89.45 ± 92.36 ± 47.69
Primer 1028.70 1206.58 1167.55

chemlok ± 93.78 ± 49.07 ± 31.36
Without 84.14 183.59 117.32

primer ± 10.21 ± 33.60 ± 23.53
Primer 79.04 182.52 174.23
Peroxide cure 
compound ± 7.21 ± 10.92 ± 39.45
Primer 484.75 540.31 289.76

chemlok ± 32.26 ± 154.30 ± 90.22
119

Adhesion strength (N/m) 2000


Steel Aluminium Copper
1500
1000
500
0
No Primer Primer No Primer Primer
primer compound chemlok primer compound chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(a) Without adhesion promoter


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500
1000
500
0
No Primer Primer No Primer Primer
primer compound chemlok primer compound chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(b) Zinc diacrylate (ZDA)


120

Adhesion strength (N/m) 2000


Steel Aluminium Copper
1500
1000
500
0
No Primer Primer No Primer Primer
primer compound chemlok primer compound chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(c) Zinc dimethacrylate (ZDMA)


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500
1000
500
0
No Primer Primer No Primer Primer
primer compound chemlok primer compound chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(d) Cobalt stearate


รูปที 4.15 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน
ระหว่างยางกับโลหะ (ขัดด้วยกระดาษทราย)

ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดงที


เตรียมผิวโดยการขัดด้วยกระดาษทรายทัง" ทีใ ช้และไม่ใช้สารรองพืน" กับยางวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบ
กํามะถัน และเปอร์ออกไซด์ ได้ผลการทดลองดังแสดงในตารางที 4.33–4.36 และรูปที 4.15
พบว่าลักษณะของความล้มเหลวทีเ กิดขึน" เป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของสารรองพืน" ทุกชนิด
ของโลหะ และทุกชนิดของสารเสริมการยึดติด ยกเว้น การติดประสานระหว่างโลหะ ทองแดงกับ
ยางใส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate ในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ทเี กิดความ
121

ล้มเหลวในการติดประสานเป็นแบบโคฮีซฟี เมือ พิจารณาค่าความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างโลหะทีเ ตรียมผิวโดยการขัดด้วยกระดาษทราย และรองพืน" ด้วยสารรองพืน" ชนิดต่างๆ
กับยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด ดังแสดงในรูปที 4.15 (a) พบว่าสารรองพืน" มีผลทําให้
ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทัง" 3 ชนิดมีค่าเพิม ขึน" เมือ เปรียบเทียบกับ
โลหะทีป ราศจากสารรองพืน" โดยสารรองพืน" ทางการค้าให้ความแข็งแรงในการติดประสานของ
โลหะสูงกว่าโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอมเปานด์ และโลหะทีป ราศจากสารรองพืน"
ตามลําดับ ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน และเปอร์ออกไซด์ ซึง โลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม
และทองแดงมีความแข็งแรงในการติดประสานกับยางวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันใกล้เคียงกัน
และมีค่าการติดประสานสูงสุดเมือ รองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" Chemlok 205A สําหรับยางทีว ลั
คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าโลหะทัง" 3 ชนิด มีค่าการติดประสานทีใ กล้เคียงกันเมือ
รองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" Chemlok 205A โดยทีก ารติดประสานของโลหะเหล็กและทองแดง
มีแนวโน้มในการติดประสานสูงสุด เช่นเดียวกับการติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบ
กํามะถัน
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะทีเ ตรียมผิวโดยการขัดด้วย
กระดาษทราย และรองพืน" ด้วยสารรองพืน" ชนิดต่างๆ กับยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Zinc
diacrylate ดังแสดงในรูปที 4.15 (b) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน มีแนวโน้มใน
การติดประสานเช่นเดียวกับการติดประสานของยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด ดังแสดงใน
รูปที 4.15 (a) กล่าวคือความแข็งแรงในการติดประสานมีค่าเพิม สูงขึน" เมือ รองพืน" โลหะด้วยสาร
รองรองพืน" จากยางคอมเปานด์และสารรองพืน" ทางการค้า ตามลําดับ เนืองจากสารรองพืน"
สามารถไหลเข้าไปภายในช่องว่างของพืน" ผิวโลหะและเกิดการล็อกติดกับพืน" ผิวของโลหะ ดังนัน"
เมือ นํายางคอมเปานด์มาวัลคาไนซ์ให้ยดึ ติดกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จึงส่งผลให้ความ
แข็งแรงในการติดประสานมีค่าเพิม สูงขึน" โดยทีส ารรองพืน" Chemlok 205A สามารถเพิม พันธะ
หรือแรงยึดเหนียวในการยึดติดให้กบั โลหะทัง" 3 ชนิด จึงมีผลทําให้ความแข็งแรงในการติด
ประสานมีค่าเพิม สูงขึน" เมือ นํามายึดติดกับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน โดยเฉพาะการติด
ประสานของโลหะอะลูมเิ นียม สําหรับการติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์
ออกไซด์ พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็กและอะลูมเิ นียมมี
แนวโน้มลดลง ในขณะทีก ารติดประสานของโลหะทองแดง พบว่าสารรองพืน" ไม่มผี ลต่อความ
แข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดกับโลหะทองแดง เนืองจากสารรอง
พืน" ไม่มผี ลทําให้ค่าความแข็งแรงในการติดประสานมีค่าเพิม ขึน" หรือลดลง อีกทัง" ยังทําให้เกิด
ความล้มเหลวในการติดประสานแบบโคฮีซฟี อีกด้วย ซึง เป็ นสิง ยืนยันได้ว่าความแข็งแรงในการ
ติดประสานระหว่างยางกับโลหะทองแดงมีค่าสูงมาก จนไม่สามารถแยกแผ่นยางออกจากแผ่น
โลหะได้ จึงทําให้เกิดความล้มเหลวขึน" ภายในเนื"อยาง
122

สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะทีเ ตรียมผิวโดยการขัดด้วย
กระดาษทราย และรองพืน" ด้วยสารรองพืน" ชนิดต่างๆ กับยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Zinc
dimethacrylate ดังแสดงในรูปที 4.15 (c) พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะ
ทัง" 3 ชนิดกับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน และเปอร์ออกไซด์มแี นวโน้มเช่นเดียวกัน
กล่าวคือ สารรองพืน" มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และ
ทองแดงมีค่าเพิม สูงขึน" โดยทีส ารรองพืน" Chemlok 205A มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติด
ประสานมีค่าสูงสุดโดยเฉพาะการติดประสานของโลหะทองแดง ในขณะทีก ารติดประสานของ
ยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าค่าความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะที
รองพืน" ด้วยสารรองพืน" ชนิดต่างๆ มีแนวโน้มทีใ กล้เคียงกัน โดยทีค วามแข็งแรงในการติด
ประสานของโลหะทัง" 3 ชนิด มีค่าการติดประสานสูงสุดเมือ รองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน"
Chemlok 205A เช่นเดียวกับการติดประสานของยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด ดังแสดงใน
รูปที 4.15 (a)
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะทีเ ตรียมผิวโดยการขัดด้วย
กระดาษทราย และรองพืน" ด้วยสารรองพืน" ชนิดต่างๆ กับยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Cobalt
stearate ดังแสดงในรูปที 4.15 (d) พบว่าสารรองพืน" มีผลในการเพิม ความแข็งแรงของการติด
ประสานระหว่างยางกับโลหะทัง" 3 ชนิด ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์
ออกไซด์ โดยในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน พบว่าสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอม
เปานด์มผี ลทําให้โลหะเหล็กสามารถเกิดการยึดติดกับยางใส่สารเสริมการยึดติด Cobalt
stearate ได้สงู สุด สําหรับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ กลับพบว่าสารรองพืน"
Chemlok 205A มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานมีค่าสูงสุดกับทุกชนิดของโลหะ เมือ
เทียบกับโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" และรองพืน" ด้วยสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอม
เปานด์ โดยเฉพาะการติดประสานของโลหะอะลูมเิ นียม นอกจากนี"ยงั พบว่าความแข็งแรงในการ
ติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันมีค่าสูงกว่ายางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์
ออกไซด์ ทุกชนิดของโลหะ ทัง" ทีใ ช้และไม่ใช้สารรองพืน"
123

2) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะชนิดต่างๆ ทีเ ตรียมผิวด้วยวิธที างกล (พ่น


ทราย)

ตารางที 4.37 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางปราศจากสารเสริมการยึดติดกับโลหะ (พ่นทราย)
Type
Type
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
of
system break
primer
Steel Aluminium Copper R* M
Without 512.53 472.72 314.65

primer ± 40.47 ± 109.43 ± 9.22
Primer 461.80 471.94 399.85
Sulphur cure 
compound ± 22.66 ± 19.63 ± 38.92
Primer 848.28 836.11 944.64

chemlok ± 38.57 ± 76.67 ± 54.47
Without 289.25 284.00 319.08

primer ± 21.96 ± 45.41 ± 26.93
Primer 309.55 359.64 368.32
Peroxide cure 
compound ± 6.16 ± 43.74 ± 29.31
Primer 852.34 979.41 955.55

chemlok ± 107.46 ± 4.81 ± 39.46
124

ตารางที 4.38 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Zinc diacrylate กับโลหะ (พ่นทราย)
Type
Type
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
of
system break
primer
Steel Aluminium Copper R* M
Without 847.22 865.91 1281.28

primer ± 35.26 ± 85.80 ± 7.28
Primer 878.40 769.56 1225.48
Sulphur cure 
compound ± 35.52 ± 61.98 ± 40.18
Primer 1142.35 1410.94 1674.74

chemlok ± 69.63 ± 93.61 ± 223.79
Without 2530.60 636.06
R* 
primer ± 178.73 ± 81.91
Primer 1956.65 909.05
Peroxide cure R* 
compound ± 245.50 ± 40.78
Primer 837.36 1174.01
R* 
chemlok ± 18.83 ± 35.84
125

ตารางที 4.39 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Zinc dimethacrylate กับโลหะ (พ่นทราย)
Type
Type
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
of
system break
primer
Steel Aluminium Copper R* M
Without 729.08 451.78 403.55

primer ± 66.09 ± 74.82 ± 54.57
Primer 716.14 643.72 411.11
Sulphur cure 
compound ± 51.47 ± 26.27 ± 41.14
Primer 978.19 1032.38 1269.13

chemlok ± 21.10 ± 104.40 ± 158.75
Without 602.21 630.43 639.20

primer ± 55.92 ± 112.95 ± 39.13
Primer 672.13 675.12 549.35
Peroxide cure 
compound ± 98.77 ± 86.38 ± 126.19
Primer 808.09 987.98 714.86

chemlok ± 44.79 ± 62.49 ± 55.85
126

ตารางที 4.40 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Cobalt stearate กับโลหะ (พ่นทราย)
Type
Type
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
of
system break
primer
Steel Aluminium Copper R* M
Without 1246.60 1637.36 474.59

primer ± 58.94 ± 157.85 ± 47.46
Primer 1912.36 1699.93 305.05
Sulphur cure 
compound ± 342.16 ± 124.09 ± 128.41
Primer 993.46 1670.86 1654.15

chemlok ± 33.45 ± 13.51 ± 188.56
Without 232.84 316.63 195.39

primer ± 20.82 ± 31.07 ± 14.42
Primer 299.53 324.53 122.22
Peroxide cure 
compound ± 33.85 ± 16.27 ± 26.45
Primer 603.91 775.69 753.71

chemlok ± 63.11 ± 65.28 ± 39.07
127

Adhesion strength (N/m) 2000


Steel Aluminium Copper
1500
1000
500
0
No Primer Primer No Primer Primer
primer compound chemlok primer compound chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(a) Without adhesion promoter


2500 #
Adhesion strength (N/m)

2000 Steel Aluminium Copper


1500
1000
500
0
No Primer Primer No Primer Primer
primer compound chemlok primer compound chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(b) Zinc diacrylate (ZDA)


หมายเหตุ # : Adhesive failure
128

Adhesion strength (N/m) 2000


Steel Aluminium Copper
1500
1000
500
0
No Primer Primer No Primer Primer
primer compound chemlok primer compound chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(c) Zinc dimethacrylate (ZDMA)


2500
Adhesion strength (N/m)

2000 Steel Aluminium Copper


1500
1000
500
0
No Primer Primer No Primer Primer
primer compound chemlok primer compound chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(d) Cobalt stearate


รูปที 4.16 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน
ระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย)

ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดงที


เตรียมผิวโดยการพ่นทรายทัง" ทีใ ช้และไม่ใช้สารรองพืน" กับยางวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันและ
เปอร์ออกไซด์ ได้ผลการทดลองดังแสดงในตารางที 4.37–4.40 และรูปที 4.16 พบว่าลักษณะ
ของความล้มเหลวทีเ กิดขึน" เป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของสารรองพืน" ทุกชนิดของโลหะ และ
ทุกชนิดของสารเสริมการยึดติด ยกเว้น การติดประสานระหว่างโลหะ ทองแดงกับยางใส่สาร
เสริมการยึดติด Zinc diacrylate ในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ทเี กิดความล้มเหลว
129

ในการติดประสานเป็นแบบโคฮีซฟี เช่นเดียวกับโลหะทีเ ตรียมผิวโดยการขัดด้วยกระดาษทราย


เมือ พิจารณาค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ชนิด
ต่างๆ กับยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด ดังแสดงในรูปที 4.16 (a) พบว่าสารรองพืน" มีผลทํา
ให้ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะมีค่าเพิม สูงขึน" โดยสารรองพืน" Chemlok
205A มีแนวโน้มในการเพิม ความแข็งแรงของการติดประสานระหว่างยางกับโลหะได้สงู สุด
รองลงมาคือสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ และโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" ทัง" ใน
ระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ โดยเฉพาะการรองพืน" ด้วยสารรองพืน"
Chemlok 205A มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทองแดงมี
ค่าสูงสุด เมือ ใช้ระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานกับ
ยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าสารรองพืน" Chemlok 205A มีส่วนในการเพิม
ความแข็งแรงของการติดประสานในโลหะทัง" 3 ชนิด เมือ เปรียบเทียบกับการรองพืน" ด้วยสาร
รองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ และโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" อย่างชัดเจน
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานกับยางใส่สารเสริมการยึดติด Zinc
diacrylate ดังแสดงในรูปที 4.16 (b) พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะทีร อง
พืน" ด้วยสารรองพืน" ชนิดต่างๆ กับยางในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ มี
แนวโน้มในการติดประสานทีเ ป็นแนวทางเดียวกัน กล่าวคือ ความแข็งแรงในการติดประสานมี
แนวโน้มเพิม สูงขึน" อย่างเห็นได้ชดั เมือ รองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" Chemlok 205A โดยเฉพาะ
การติดประสานของโลหะทองแดง นอกจากนี"ยงั พบว่า ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน
ความล้มเหลวของการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทองแดงทีร องพืน" ด้วย Chemlok 205A
เกิดความล้มเหลวแบบแอดฮีซฟี ในขณะทีร ะบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ ความล้มเหลว
ในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทองแดงทีเ กิดขึน" เป็ นแบบโคฮีซฟี ทุกชนิดของสารรอง
พืน"
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ชนิด
ต่างๆ กับยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Zinc dimethacrylate ดังแสดงในรูปที 4.16 (c) พบว่าใน
ระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทัง" 3
ชนิด มีค่าเพิม สูงขึน" อย่างชัดเจนเมือ รองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" Chemlok 205A โดยที
โลหะทองแดงมีค่าการติดประสานสูงสุด เช่นเดียวกับการติดประสานของยางทีใ ส่สารเสริมการ
ยึดติด Zinc diacrylate ดังแสดงในรูปที 4.16 (b) ในส่วนของการติดประสานกับยางทีว ลั คาไนซ์
ด้วยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าค่าความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทีป ราศจากสารรอง
พืน" และโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอมเปานด์มแี นวโน้มในการติดประสานที
ใกล้เคียงกัน ทุกชนิดของโลหะ แต่ความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทีร องพืน" ด้วยสาร
รองพืน" Chemlok 205A มีความแข็งแรงในการติดประสานสูงกว่าสารรองพืน" ชนิดอืนๆ โดยที
โลหะอะลูมเิ นียมมีความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุด
130

สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ชนิด


ต่างๆ กับยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Cobalt stearate ดังแสดงในรูปที 4.16 (d) พบว่าสารรอง
พืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ มีแนวโน้มในการติดประสานกับโลหะเหล็กสูงสุดเช่นเดียว
กับการติดประสานของโลหะทีเ ตรียมผิวโดยการขัดด้วยกระดาษทราย ดังแสดงในรูปที 4.15 (d)
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าการ
รองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" ทางการค้า มีผลทําให้ค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่าง
ยางกับโลหะทัง" 3 ชนิด มีค่าสูงกว่าการติดประสานของโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยาง
คอมเปานด์ และโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" อย่างชัดเจน โดยโลหะทีม คี วามแข็งแรงในการติด
ประสานสูงสุด ทัง" ทีม กี ารรองพืน" และปราศจากสารรองพืน" ได้แก่ โลหะอะลูมเิ นียม

3) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะชนิดต่างๆ ทีเ ตรียมผิวด้วยวิธที างเคมี


(กัดผิวด้วยกรด)

ตารางที 4.41 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางปราศจากสารเสริมการยึดติดกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด)
Type
Type
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
of
system break
primer
Steel Aluminium Copper R* M
Without 408.90 357.96 343.03

primer ± 78.18 ± 3.28 ± 15.80
Primer 714.49 385.53 455.39
Sulphur cure 
compound ± 90.91 ± 22.21 ± 92.59
Primer 515.07 437.99 578.98

chemlok ± 23.13 ± 76.82 ± 53.26
Without 288.19 214.74 175.49

primer ± 38.76 ± 27.91 ± 21.82
Primer 277.09 141.71 182.15
Peroxide cure 
compound ± 23.06 ± 11.47 ± 44.64
Primer 1082.09 576.36 952.27

chemlok ± 39.80 ± 38.40 ± 89.21
131

ตารางที 4.42 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Zinc diacrylate กับโลหะ (กัดผิวด้วย
กรด)
Type
Type
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
of
system break
primer
Steel Aluminium Copper R* M
Without 1116.21 352.51 591.59

primer ± 58.54 ± 93.89 ± 7.84
Primer 837.80 526.74 505.39
Sulphur cure 
compound ± 83.45 ± 104.81 ± 36.38
Primer 687.20 713.77 1012.57

chemlok ± 41.62 ± 71.44 ± 42.07
Without 1164.22 1360.99
R* 
primer ± 208.02 ± 204.85
Primer 617.24 702.46
Peroxide cure R* 
compound ± 157.88 ± 85.55
Primer 825.88 737.12
R* 
chemlok ± 36.38 ± 108.14
132

ตารางที 4.43 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Zinc dimethacrylate กับโลหะ (กัดด้วย
กรด)
Type
Type
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
of
system break
primer
Steel Aluminium Copper R* M
Without 888.63 416.62 555.82

primer ± 97.93 ± 36.83 ± 75.16
Primer 935.56 329.56 504.57
Sulphur cure 
compound ± 130.20 ± 35.45 ± 110.78
Primer 439.49 761.94 1103.28

chemlok ± 46.09 ± 40.93 ± 97.92
Without 683.46 356.18 443.45

primer ± 47.21 ± 30.82 ± 79.81
Primer 1124.42 365.11 417.58
Peroxide cure 
compound ± 73.08 ± 30.58 ± 26.48
Primer 744.99 880.21 941.75

chemlok ± 131.28 ± 54.05 ± 79.06
133

ตารางที 4.44 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิด Cobalt stearate กับโลหะ (กัดผิวด้วย
กรด)
Type
Type
Vulcanization Adhesion strength (N/m) of
of
system break
primer
Steel Aluminium Copper R* M
Without 698.89 317.67 328.67

primer ± 75.56 ± 17.04 ± 75.87
Primer 950.73 306.96 411.01
Sulphur cure 
compound ± 168.04 ± 39.35 ± 29.84
Primer 692.11 720.28 2897.37

chemlok ± 31.24 ± 54.80 ± 319.38
Without 216.98 160.59 150.56

primer ± 92.14 ± 24.13 ± 23.60
Primer 446.47 155.14 446.06
Peroxide cure 
compound ± 30.49 ± 34.75 ± 109.17
Primer 708.48 508.09 693.68

chemlok ± 31.16 ± 50.91 ± 28.99
134

Adhesion strength (N/m) 2000


Steel Aluminium Copper
1500
1000
500
0
No Primer Primer No Primer Primer
primer compound chemlok primer compound chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(a) Without adhesion promoter


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500
1000
500
0
No Primer Primer No Primer Primer
primer compound chemlok primer compound chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(b) Zinc diacrylate (ZDA)


135

Adhesion strength (N/m) 2000


Steel Aluminium Copper
1500
1000
500
0
No Primer Primer No Primer Primer
primer compound chemlok primer compound chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(c) Zinc dimethacrylate (ZDMA)


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500
1000
500
0
No Primer Primer No Primer Primer
primer compound chemlok primer compound chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(d) Cobalt stearate


รูปที 4.17 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน
ระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด)

ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดงที


เตรียมผิวโดยการกัดผิวด้วยกรด ทัง" ทีใ ช้และไม่ใช้สารรองพืน" กับยางวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบ
กํามะถันและเปอร์ออกไซด์ ได้ผลการทดลองดังแสดงในตารางที 4.41–4.44 และรูปที 4.17
พบว่าลักษณะของความล้มเหลวทีเ กิดขึน" เป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของสารรองพืน" ทุกชนิด
ของโลหะ และทุกชนิดของสารเสริมการยึดติด ยกเว้น การติดประสานระหว่างโลหะ ทองแดงกับ
ยางใส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate ในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ ทีเ กิด
136

ความล้มเหลวในการติดประสานเป็ นแบบโคฮีซฟี เมือ พิจารณาค่าความแข็งแรงในการติด


ประสานระหว่างโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ชนิดต่างๆ กับยางทีป ราศจากสารเสริมการยึดติด
ดังแสดงในรูปที 4.17 (a) ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน พบว่าสารรองพืน" มีผลทําให้ความ
แข็งแรงในการติดประสานของโลหะทัง" 3 ชนิด มีค่าเพิม สูงขึน" โดยทีเ มือ นําสารรองพืน" ทีเ ตรียม
ขึน" จากยางคอมเปานด์มาใช้ในการรองพืน" โลหะเหล็ก ส่งผลให้ความแข็งแรงในการติดประสานมี
ค่าสูงสุด สําหรับในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าความแข็งแรงในการติด
ประสานของโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้ามีค่าสูงกว่าโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน"
จากยางคอมเปานด์ และโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" อย่างชัดเจน โดยเฉพาะการติดประสาน
ของโลหะเหล็ก เช่นเดียวกับการติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานกับยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Zinc
diacrylate ดังแสดงในรูปที 4.17 (b) พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานของยางทีใ ช้ระบบ
การวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน มีแนวโน้มในการติดประสานกับโลหะเหล็กได้สงู สุด โดยปราศจาก
สารรองพืน" นอกจากนี"ยงั พบว่ายางทีเ ตรียมขึน" จากกระบวนการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ม ี
ความแข็งแรงในการติดประสานกับโลหะทองแดงสูงสุด ทุกชนิดของสารรองพืน" หรือแม้
ปราศจากสารรองพืน" ก็ตาม อีกทัง" ยังมีพนั ธะในการยึดติดทีแ ข็งแรงมาก จนทําให้เกิดความ
ล้มเหลวในการติดประสานแบบโคฮีซฟี อีกด้วย
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานกับยางทีใ ส่สารเสริมการยึดติด Zinc
dimethacrylate ดังแสดงในรูปที 4.17 (c) พบว่าในระบบวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน สารรองพืน"
Chemlok 205A มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทองแดงมีค่าเพิม สูงขึน"
อย่างเห็นได้ชดั เมือ เปรียบเทียบกับการใช้สารรองพืน" จากยางคอมเปานด์ และโลหะทองแดงที
ปราศจากสารรองพืน" อีกทัง" ยังมีแนวโน้มในการติดประสานทีส งู สุดอีกด้วย ในส่วนของการติด
ประสานระหว่างโลหะกับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าสารรองพืน" มีผลในการ
เพิม ความแข็งแรงของการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทุกชนิด โดยสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน"
จากยางคอมเปานด์ได้ส่งผลให้ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็กมี
ค่าสูงสุด เมือ เปรียบเทียบความแข็งแรงในการติดประสานกับโลหะชนิดอืน
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะ กับยางทีใ ส่สารเสริมการยึด
ติด Cobalt stearate ดังแสดงในรูปที 4.17 (d) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน สาร
รองพืน" Chemlok 205A มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะอะลูมเิ นียม และ
ทองแดงมีค่าเพิม สูงขึน" โดยเฉพาะการติดประสานของโลหะทองแดงทีพ บว่ามีค่าการติด
ประสานสูงสุดอย่างเห็นได้ชดั เมือ เปรียบเทียบกับการติดประสานของโลหะชนิดอืนๆ
เช่นเดียวกับการติดประสานของยางใส่สารเสริมการยึดติด Zinc diacrylate ดังแสดงในรูปที
4.17 (c) ในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าสารรองพืน" Chemlok 205A มีผลต่อ
การเพิม ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทัง" 3 ชนิด โดยทีโ ลหะเหล็ก และ
137

ทองแดงมีความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะใกล้เคียงกัน และยังมีค่าความแข็งแรงใน
การติดประสานสูงสุดอีกด้วย

4.3 ผลจากการสังเคราะห์กราฟต์โคพอลเมอร์ ิ ของยางธรรมชาตกั ิ บ 2–ไฮดรอกซีเอทลิ


เมทาครเลติ ทีอตั ราสวนโมลของ
่ NR/HEMA ตางๆ ่
จากการสังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 2-ไฮดรอกซีเอทิล
เมทาคริเลตทีอ ตั ราส่วนโมลของ NR/HEMA : 95/5, 90/10 และ 85/15 พบว่าสารผสมทีไ ด้ในแต่
ละชุดการทดลองมีลกั ษณะเป็ นอิมลั ชัน ซึง หลังจากทําให้ผลิตภัณฑ์ทไี ด้จากการสังเคราะห์แห้ง
แล้ว จึงนํ าผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวไปทําการสกัดแบบซอกห์เลต (soxhlet extraction) ตามหัวข้อ
3.3.2.2 หลังจากนัน" นําผลิตภัณฑ์ส่วนทีเ หลือจากการสกัดก็คอื ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ระหว่าง
ยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (NR–g–HEMA) ไปวิเคราะห์ด้วยเทคนิค FT-
IR เพือหาเปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการกราฟต์โคพอลิเมอร์, Transmittance ratio และศึกษา
โครงสร้างของกราฟต์โคพอลิเมอร์ ด้วยเทคนิค FT-IR ได้ผลการทดลองแสดงดังต่อไปนี"

1) เปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการกราฟต์โคพอลิเมอร์ (%Grafting efficiency, %GE) ของยาง


ธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตทีอ ตั ราส่วนโมลของ NR/HEMA : 95/5, 90/10 และ
85/15 ทีอ ุณหภูม ิ 50°C

นํานํ"ายางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ระหว่างยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริ


เลต (HEMA) ซึง เตรียมตามสูตรในตารางที 3.7 โดยใช้อตั ราส่วนโมลของยางธรรมชาติต่อ 2–
ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตมอนอเมอร์ (NR/HEMA) : 95/5, 90/10 และ 85/15 ทีอ ุณหภูม ิ
50°C แสดงผลการทดลอง ดังตารางที 4.45 และรูปที 4.27

ตารางที 4.45 เปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการกราฟต์ของนํ" ายางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วน


โมลของ NR/HEMA : 95/5, 90/10 และ 85/15 ทีอ ุณหภูม ิ 50°C
NR/HEMA
Grafting efficiency (%)
(molar ratio)
95/5 98.79
90/10 83.80
85/15 (SLS 1 g.) 71.52
85/15 (SLS 2 g.) 69.76
138

รูปที 4.18 เปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซี


เอทิลเมทาคริเลตทีอ ตั ราส่วนโมลของ NR/HEMA : 95/5, 90/10 และ 85/15
ทีอ ุณหภูม ิ 50°C

เมือ พิจารณาเปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการกราฟต์โคพอลิเมอร์ของ 2–ไฮดรอกซี


เอทิลเมทาคริเลต (HEMA) บนยางธรรมชาติ ดังแสดงในตารางที 4.45 และรูปที 4.18 พบว่าเมือ
เพิม อัตราส่วนโมลของ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตมากขึน" เปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการ
กราฟต์มแี นวโน้มลดลงตามจํานวนโมลของ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตทีเ พิม ขึน" การลดลง
ของประสิทธิภาพการกราฟต์ของ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตบนยางธรรมชาติน"ี เนืองจาก
2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตมอนอเมอร์ มีโอกาสทีจ ะเกิดเป็นโฮโมพอลิเมอไรเซชัน ทําให้ได้
พอลิ(2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต) ทีม ากขึน" นอกจากนี"ยงั พบอีกว่า การเพิม ปริมาณของ
มอนอเมอร์ในการเข้าทําปฏิกริ ยิ าบนบริเวณทีว ่องไว (Reactive site) บนพืน" ผิวของอนุภาคยาง
ซึง มีปริมาณของมอนอเมอร์ทมี าก ทําให้ชนั " ของมอนอเมอร์ทลี อ้ มรอบอนุภาคยางอยูม่ คี วามหนา
มากเกินไป ทําให้การทํางานของตัวริเริม ปฏิกริ ยิ าในการเข้าไปยังผิวของอนุภาคยาง และ
ก่อให้เกิดปฏิกริ ยิ าเป็ นไปได้ยาก ดังนัน" ตัวริเริม ปฏิกริ ยิ าจะก่อให้เกิดปฏิกริ ยิ ารบกวนแทน (Side
reaction) เช่น การเกิดการถ่ายโอนสายโซ่ไปยังมอนอเมอร์ และทําให้มอนอเมอร์รวมตัวกันเอง
เกิดเป็นโมเลกุลขนาดใหญ่ จึงเป็ นเหตุทาํ ให้ประสิทธิภาพของการกราฟต์ลดลง และแนวโน้ม
ดังกล่าวมีความสอดคล้องกับงานวิจยั ทีผ ่านมาของ (ปวีณา, 2548)
139

2) Transmittance ratio ของนํ"ายางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR/HEMA :


95/5, 90/10 และ85/15 ทีอ ุณหภูม ิ 50°C

ผลจากการเตรียมนํ"ายางกราฟต์โคพอลิเมอร์ โดยการกราฟต์ 2–ไฮดรอกซี


เอทิลเมทาคริเลต (HEMA) ลงบนยางธรรมชาติ ซึง เตรียมตามสูตรในตารางที 3.7 โดยใช้อตั รา
ส่วนโมลของ NR/HEMA : 95/5, 90/10 และ 85/15 ทีอ ุณหภูม ิ 50°C แสดงผลการทดลองดัง
ตารางที 4.46 และรูปที 4.19

ตารางที 4.46 Transmittance ratio ของอัตราส่วนโมล NR/HEMA : 95/5, 90/10 และ 85/15 ที
อุณหภูม ิ 50°C
NR/HEMA
Transmittance ratio
(molar ratio)
95/5 0.7795
90/10 0.9120
85/15 (SLS 1 g.) 0.4439
85/15 (SLS 2 g.) ไม่สามารถหาค่าได้

รูปที 4.19 Transmittance ratio ของอัตราส่วนโมล NR/HEMA : 95/5, 90/10 และ 85/15
ทีอ ุณหภูม ิ 50°C
140

ระดับการเกิดกราฟต์ของ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตบนยางธรรมชาติมแี นว
โน้มลดลง ดังแสดงในตารางที 4.46 และรูปที 4.19 โดยพบว่า เมือ เพิม ปริมาณมอนอเมอร์ของ
2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตมากขึน" (อัตราส่วนโมล NR/HEMA มากกว่า 90/10) เนืองจาก
มอนอเมอร์ของ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตมีโอกาสทีจ ะเกิดโฮโมพอลิเมอไรเซชันได้ พอลิ
(2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต) ทีม ากขึน" ซึง มีความสอดคล้องกับเปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการ
กราฟต์ (%grafting efficience) ดังนัน" จึงทําให้ประสิทธิภาพการกราฟต์ลดลง ในการทดลองมี
การเพิม อัตราส่วนโมลของ NR/HEMA เป็น 85/15 ดังนัน" จึงต้องมีการเพิม ปริมาณของสารลด
แรงตึงผิว (โดยแปรปริมาณ SLS ที 1 และ 2 กรัม) ด้วยเหตุน"จี งึ มีผลทําให้สารลดแรงตึงผิวไป
ห่อหุม้ อนุภาคของยางหนามากเกินไป ทําให้การเกิดปฏิกริ ยิ าเป็ นไปได้ยาก หรือเกิดอย่างไม่
สมบูรณ์ จึงไม่สามารถใช้โซเดียมลอริลซัลเฟต (SLS) ในปริมาณ 2 กรัมได้

3) การศึกษาโครงสร้างของกราฟต์โคพอลิเมอร์ ด้วยเทคนิค FT-IR


ผลการศึกษาการกราฟต์ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (HEMA) ลงบนยางธรรมชาติ
ซึง เตรียมตามสูตรในตารางที 3.7 โดยใช้อตั ราส่วนโมลของ NR/HEMA : 95/5, 90/10 และ
85/15 ทีอ ุณหภูม ิ 50°C พบว่าสามารถสังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์ทมี โี ครงสร้างทีน ่าจะ
เป็นไปได้ ดังแสดงในรูปที 4.20 ได้เป็นผลสําเร็จ และสามารถยืนยันได้ดว้ ย IR สเปกตรัมของ
กราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต เมือ เปรียบเทียบกับ IR
สเปกตรัมของยางธรรมชาติ และพอลิ(2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต) ดังแสดงรูปที 4.21 และ
4.22
H3C H H3C H
C C C C
CH2 H2C CH2 CH
H2C
H 3C C
O C
O
H 2C
CH 2
HO

รูปที 4.20 โครงสร้างของกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 2-ไฮดรอกซีเอทิล


เมทาคริเลต (NR-g-HEMA)
141

NR

C=CH

PHEMA

C=O

OH
C=O
NR-g-HEMA

รูปที 4.21 IR สเปกตรัมของยางธรรมชาติ พอลิ(2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต) และยางกราฟต์


โคพอลิเมอร์ (NR-g-HEMA) ทีอ ตั ราส่วนโมลของ NR/HEMA : 95/5

จากการนํ าผลิต ภัณ ฑ์ทไี ด้จากการสังเคราะห์ไปวิเ คราะห์ด้ว ยเทคนิค FT-IR


และนํา IR สเปกตรัมมาเปรียบเทียบกับ IR สเปกตรัมของยางธรรมชาติ และพอลิ (2-ไฮดรอกซี
เอทิลเมทาคริเลต) ได้ผลดังแสดงในรูปที 4.21 ซึง พบว่า IR สเปกตรัมของยางธรรมชาติมยี อด
(Peak) ปรากฏทีต ําแหน่งเลขคลืน 1653 cm-1 ซึง ได้แสดงถึงการมีพนั ธะของ C=C อย่างชัดเจน
ส่วนยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ (NR-g-HEMA) ซึงเป็ นผลิตภัณฑ์ทไี ด้จากการสังเคราะห์ มียอด
ของ OH ปรากฏทีต ําแหน่ งเลขคลืน 3393 cm-1 และมียอดของ C=O ทีต ําแหน่ งเลขคลืน 1703
cm-1 ซึงอยู่ในตําแหน่ งเดียวกับยอดของ C=O ของ พอลิ (2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต) ที
142

ตําแหน่ งเลขคลืน 1706 cm-1 และเมือพิจารณา IR สเปกตรัมของยางธรรมชาติทตี ําแหน่ งเลข


คลืน 825 cm-1 กับส่วนยอดของ C=CH ทีต ําแหน่ งเลขคลืน 833 cm-1 ของยางกราฟต์โคพอลิ-
เมอร์ พบว่า มีค่าการดูดกลืน (Absorbance) ลดลงมาก แสดงว่าพันธะคู่ (C=C) ได้เกิดปฏิกริ ยิ า
กับ พอลิ( 2-ไฮดรอกซีเ อทิล เมทาคริเ ลต) จากผลการดูด กลืน ทีล ดลงนี" ส ามารถยืน ยัน ได้ว่ า
ผลิตภัณฑ์ทไี ด้จากการสังเคราะห์มโี มเลกุลของ พอลิ(2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต) กราฟต์ลง
บนโมเลกุลของยางธรรมชาติ และคาดว่าน่ าจะมีโครงสร้างดังแสดงในรูปที 4.20 นอกจากนี"ยงั
สามารถยืนยันได้จากการละลายของกราฟต์โคพอลิเมอร์ทไี ด้ เมือเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติ
และพอลิ(2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต) ดังแสดงในตาราง ก.1 (ภาคผนวก ก)

จากการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ทไี ด้จากการกราฟต์โคพอลิเมอร์ดว้ ยเทคนิค FT-IR


ในช่วง 4000–400 cm-1 โดยทําการแปรปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมลของ
NR/HEMA : 95/5, 90/10 และ 85/15 (แปรปริมาณ SLS 1 และ 2 กรัม) ได้ผลการทดลองดัง
แสดงในรูปที 4.22
280
(d)
240
(c)
200
Transmittance (%)

160
(b)

120 (a)
80

40
1703 833
0
4000 3500 3000 2500 2000 1500 1000 500
Wavenumber cm-1

รูปที 4.22 IR สเปกตรัมของกราฟต์โคพอลิเมอร์ (NR-g-HEMA) ทีอ ตั ราส่วนโมล NR/HEMA


เท่ากับ (a) 95/5 (b) 90/10 (c) 85/15 ปริมาณ SLS 1 กรัม (d) 85/15 ปริมาณ
SLS 2 กรัม

จากรูปที 4.22 พบว่าสเปกตรัมอินฟาเรดทีต ําแหน่งเลขคลืน 836 cm-1 ซึง แสดง


ถึงการมีพนั ธะ C=CH นัน" มีการดูดกลืน (Adsorbance) ลดลงมาก เมือ เทียบกับสเปกตรัม
143

อินฟาเรดของยางธรรมชาติบริสุทธิ  ในรูปที 4.21 แสดงว่าพันธะคู่เกิดปฏิกริ ยิ ากับ 2-ไฮดรอกซี


เอทิลเมทาคริเลต และเป็ นการยืนยันได้ว่าผลิตภัณฑ์ทเี หลือจากการสกัดนัน" เป็ นส่วนของกราฟต์
โคพอลิเมอร์ระหว่าง NR/HEMA จริง ยกเว้น ผลิตภัณฑ์ทไี ด้จากการกราฟต์ทอี ตั ราส่วนของ
NR/HEMA : 85/15 โดยใส่ SLS ปริมาณ 2 กรัม ไม่เกิดการกราฟต์ขน"ึ อาจเนืองมาจากสารลด
แรงตึงผิวไปห่อหุม้ อนุ ภาคยางหนาเกินไป ทําให้มอนอเมอร์ไม่สามารถเข้าไปทําปฏิกริ ยิ ากับ
พันธะคู่ของยางได้ มีผลทําให้การเกิดปฏิกริ ยิ าเป็นไปได้ยาก จึงทําให้ยางกราฟต์สตู รนี"ไม่เหมาะ
ในการศึกษาต่อไป

4.4 ผลของการใช้ยางกราฟต์โคพอลเมอร์ ิ ่
ตอสมบัติ เชงกล
ิ และสมบัติ การตดประสาน


ระหวางยางกั บโลหะ
4.4.1 ผลของการใช้ยางกราฟต์โคพอลเมอร์ ิ ของยางธรรมชาตกัิ บ 2–ไฮดรอกซี

เอทลเมทาครเลต ิ ่
ทีอัตราสวนโมล ของยางธรรมชาตตอ ิ ่ 2–ไฮดรอกซีเอทลเมทาครเลต
ิ ิ
(NR/HEMA) : 90/10 และ 85/15 ตอสมบั ่ ติ เชงกล

เตรียมยางคอมเปานด์ตามสูตรในตารางที 3.4 และ 3.5 โดยมีการใส่ยางกราฟต์โค
พอลิเ มอร์ข องยางธรรมชาติก ับ 2–ไฮดรอกซีเ อทิล เมทาคริเ ลต ในอัต ราส่ ว นโมลของยาง
ธรรมชาติต่อ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (NR/HEMA) : 90/10 ปริมาณ 10 phr และ 33 phr
และในอัตราส่วนโมลของยางธรรมชาติต่อ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต : 85/15 ปริมาณ 43
phr ซึง มีลําดับการผสมแสดงดังตารางที 3.1 จากนัน" ขึน" รูปยางคอมเปานด์ดว้ ยวิธกี ารอัดเบ้าที
อุณหภูม ิ 150°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน) และอุณหภูม ิ 160°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์
ออกไซด์) ตามเวลาในการวัลคาไนซ์ทไี ด้จากเครือง MDR ดังแสดงในตารางที 4.47 แล้วทําการ
เตรียมชิ"นทดสอบรูปดัมเบลล์ และนํ าไปทดสอบด้ว ยเครืองทดสอบแรงดึง เพือ หาค่าสมบัติ
เชิงกล เช่น โมดูลสั ที 100% (100% Modulus) ความทนต่อแรงดึง (Tensile strength) และ
เปอร์เซ็นต์การยืด ณ จุดขาด (%Elongation at break) ของยางทัง" ทีใ ส่และไม่ใส่ยางกราฟต์โค
พอลิเมอร์ แสดงผลการทดลองดังตารางที 4.48 และรูปที 4.23–4.25
144

เมือ นําคอมเปานด์ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมลของ NR/HEMA :


90/10 ปริมาณ 10 phr และ 33 phr ทีอ ตั ราส่วน NR/HEMA : 85/15 ปริมาณ 43 phr มาศึกษา
ลักษณะการวัลคาไนซ์ดว้ ยเครือ ง MDR ทีอ ุณหภูม ิ 150°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน) และ
อุณหภูม ิ 160°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์) พบว่าปริมาณของยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
ไม่มผี ลต่อช่วงระยะเวลาทีส ามารถแปรรูปได้ (scorch time, Ts1) และเวลาในการวัลคาไนซ์
(cure time, Tc90) ดังสรุปได้ในตารางที 4.47

ตารางที 4.47 ลักษณะการวัลคาไนซ์คอมเปานด์ยางใส่สารเสริมการยึดติดทีไ ด้จากการ


สังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์ ด้วยระบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์

Sulphur cure @ 150°C Peroxide cure @ 160°C


Amount of
NR-g-HEMA Ts1 Tc90 Ts1 Tc90
(Min:Sec) (Min:Sec) (Min:Sec) (Min:Sec)
None 1.18 ± 0.10 2.49 ± 0.60 0.54 ± 0.26 16.55 ± 1.02
NR-g-HEMA* 10 phr 1.03 ± 0.02 2.04 ± 0.02 1.00 ± 0.01 18.23 ± 1.13
NR-g-HEMA* 33 phr 1.29 ± 0.01 2.38 ± 0.01 1.01 ± 0.01 17.46 ± 0.06
NR-g-HEMA** 43 phr 1.48 ± 0.03 2.57 ± 0.04 0.57 ± 0.02 17.26 ± 1.31
หมายเหตุ : * อัตราส่วนโมลของ NR/HEMA : 90/10
** อัตราส่วนโมลของ NR/HEMA : 85/15

จากตารางที 4.47 พบว่าลักษณะการวัลคาไนซ์ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ที


ปริมาณต่างๆ ไม่มคี วามแตกต่างจากยางทีป ราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ กล่าวคือมีช่วง
ระยะเวลาทีส ามารถแปรรูปได้ (scorch time) และเวลาในการวัลคาไนซ์ (cure time) ทีใ กล้เคียง
กัน โดยการวัลคาไนซ์ยางด้วยระบบกํามะถัน ใช้เวลาในการวัลคาไนซ์ประมาณ 2-3 นาที และ
ยางทีใ ช้ระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ ใช้เวลาประมาณ 17-19 นาที นอกจากนี"ยงั
พบว่าการวัลคาไนซ์ยางด้วยระบบกํามะถันใช้เวลาในการวัลคาไนซ์สนั " กว่ายางในระบบเปอร์
ออกไซด์อย่างชัดเจน
145

ตารางที 4.48 ผลของระบบการวัลคาไนซ์ และอัตราส่วนโมลของ NR/HEMA : 90/10 และ


85/15 ทีแ ปรปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ต่อสมบัตเิ ชิงกล
Cure Amount of 100%Modulus Tensile Elongation at
System NR-g-HEMA (MPa) strength (MPa) break (%)
None 3.24 ± 0.34 21.99 ± 1.35 363.70 ± 30.17
NR/HEMA : 90/10
Sulphur 2.82 ± 0.20 18.80 ± 2.05 376.16 ± 31.18
10 phr
cure
NR/HEMA : 90/10
3.73 ± 0.17 14.04 ± 1.50 260.53 ± 21.97
33 phr
NR/HEMA : 85/15
3.97 ± 0.22 13.87 ± 2.57 258.34 ± 35.37
43 phr
None 2.15 ± 0.08 7.66 ± 0.97 212.70 ± 21.29
NR/HEMA : 90/10
1.97 ± 0.46 8.90 ± 1.69 289.70 ± 87.07
Peroxide 10 phr
cure NR/HEMA : 90/10
2.55 ± 0.23 7.45 ± 0.91 173.60 ± 20.34
33 phr
NR/HEMA : 85/15
2.56 ± 0.18 7.47 ± 1.37 182.92 ± 15.11
43 phr
5
Sulphur cure Peroxide cure
4
100% Modulus (MPa)

0
None 10 33 43
Amount of NR-g-HEMA (phr)

รูปที 4.23 โมดูลสั ที 100% ของยางธรรมชาติกราฟต์โคพอลิเมอร์ NR/HEMA : 90/10


(ปริมาณ 10 phr และ 33 phr) และ 85/15 (ปริมาณ 43 phr)
146

25
Sulphur cure Peroxide cure
20
Tensile strength (MPa)

15

10

0
None 10 33 43
Amount of NR-g-HEMA (phr)

รูปที 4.24 ความทนต่อแรงดึงของยางธรรมชาติกราฟต์โคพอลิเมอร์ NR/HEMA : 90/10


(ปริมาณ 10 phr และ 33 phr) และ 85/15 (ปริมาณ 43 phr)
500
Sulphur cure Peroxide cure
400
Elongation at break (%)

300

200

100

0
None 10 33 43
Amount of NR-g-HEMA (phr)

รูปที 4.25 เปอร์เซ็นต์การยืด ณ จุดขาดของยางธรรมชาติกราฟต์โคพอลิเมอร์ NR/HEMA :


90/10 (ปริมาณ 10 phr และ 33 phr) และ 85/15 (ปริมาณ 43 phr)

หมายเหตุ
10 หมายถึง มียางแผ่นรมควัน (RSS No.3) ปริมาณ 100 phr และยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
(อัตราส่วน NR/HEMA : 90/10) ปริมาณ 10 phr
33 หมายถึง มียางแผ่นรมควัน (RSS No.3) ปริมาณ 100 phr และยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
(อัตราส่วน NR/HEMA : 90/10) ปริมาณ 33 phr
43 หมายถึง มียางแผ่นรมควัน (RSS No.3) ปริมาณ 100 phr และยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
(อัตราส่วน NR/HEMA : 85/15) ปริมาณ 43 phr
147

สําหรับสมบัตเิ ชิงกลของยางวัลคาไนซ์ เมือ ทดสอบด้วยเครือ งทดสอบแรงดึง


ได้ผลดังแสดงในตารางที 4.48 และรูปที 4.23–4.25 พบว่ายางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันให้
ค่าโมดูลสั ที 100% ความทนต่อแรงดึง และเปอร์เซ็นต์การยืด ณ จุดขาด สูงกว่ายางทีใ ช้ระบบ
การวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ เนืองจากการวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันเกิดการเชือมโยง
แบบพอลิซลั ฟิดกิ ทําให้ยางมีสมบัตเิ ชิงกลดีและสูงกว่ายางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์
(พรพรรณ, 2528) เมือ พิจารณาอัตราส่วนโมลของ NR/HEMA และปริมาณของยางธรรมชาติ
กราฟต์โคพอลิเมอร์ พบว่าค่าโมดูลสั ที 100% มีแนวโน้มเพิม ขึน" (ยกเว้น ทีอ ตั ราส่วน
NR/HEMA : 90/10 ปริมาณ 10 phr พบว่ามีค่าโมดูลสั ที 100% ตํากว่าการไม่ใส่ยางธรรมชาติ
กราฟต์โคพอลิเมอร์ ทัง" 2 ระบบของการวัลคาไนซ์) แต่ค่าความทนต่อแรงดึง และเปอร์เซ็นต์
การยืด ณ จุดขาด มีแนวโน้มลดลง ตามปริมาณของมอนอเมอร์ และปริมาณของยางกราฟต์
โคพอลิเมอร์ทเี พิม ขึน" ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ เนืองจากความ
มีขวั " ทีแ ตกต่างกันของยางธรรมชาติและยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ เมือ นํามาเตรียมเป็นยางคอม
เปานด์ จึงส่งผลให้การกระจายตัวของยางทัง" 2 ชนิด รวมทัง" สารเคมีทใี ช้ไม่มคี วามสมําเสมอ
หรืออาจจะกระจายตัวได้ ไม่ดเี ท่าทีค วร จึงส่งผลให้ยางผสมทีไ ด้มสี มบัตติ าํ ลงจากทีค วรจะเป็ น


4.4.2 ความสามารถในการตดประสานระหวางยางที ่ ิ
่ กราฟต์โคพอลเมอร์
ใสยาง ของ
ยางธรรมชาตกั ิ บ 2-ไฮดรอกซีเอทลเมทาครเลต
ิ ิ (NR–g–HEMA) กับโลหะ

4.4.2.1 ผลของปรมาณยางกราฟต์ ิ
โคพอลเมอร์ ่
(NR-g-HEMA) ตอความสามารถ

ในการตดประสานระหวางยางกั ่ บโลหะ
ศึกษาผลของปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ โดยการนํ ายางกราฟต์โคพอลิ
เมอร์ มาเตรียมเป็นยางคอมเปานด์ตามสูตรดังตารางที 3.4 และ 3.5 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะทัง" 3
ชนิด ด้วยวิธกี ารพ่นทราย และการกัดผิวด้วยกรด ตามหัวข้อ 3.3.1.4 จากนัน" นํายางคอมเปานด์
ไปหาเวลาในการวัลคาไนซ์ดว้ ยเครือง MDR เพือนําเวลามาใช้ในการขึน" รูปเป็ นผลิตภัณฑ์ยาง
ติดโลหะ โดยวางแผ่นโลหะไว้ดา้ นล่างและวางแผ่นยางทีย งั ไม่วลั คาไนซ์ไว้ดา้ นบน ดังแสดงใน
รูปที 3.2 แล้วทําการขึน" รูปด้วยเครืองอัดเบ้าทีอ ุณหภูม ิ 150°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน)
และอุณหภูม ิ 160°C (วัลคาไนซ์ด้วยระบบเปอร์ออกไซด์) ตามเวลาดังแสดงในตารางที 4.47
และทดสอบความแข็งแรงในการติดประสาน ตามหัวข้อ 3.3.4.2 ได้ผลการทดลองดังแสดงใน
ตารางที 4.49–4.52 และรูปที 4.26 เมือยึดติดกับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย และ
แสดงในตารางที 4.53–4.56 และรูปที 4.27 เมือ ยึดติดกับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วย
กรด ตามลําดับดังนี"
148

1) การติดประสานระหว่างยางทีใ ส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะทีเ ตรียมผิว


ทางกล (พ่นทราย) โดยมีการใช้และไม่ใช้สารรองพืน"

ตารางที 4.49 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทใี ช้ กับโลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงใน


การติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีป ราศจากสารรองพืน"
Type of
Vulcanization Amount of Adhesion strength (N/m)
break
system NR-g-HEMA
Steel Aluminium Copper R* M
512.53 472.72 314.65
None 
± 40.47 ± 109.43 ± 9.22
NR/HEMA :
406.77 217.33 215.70
90/10 
Sulphur cure ± 23.20 ± 42.73 ± 33.44
10 phr
NR/HEMA :
327.31 255.51 365.00
90/10 
± 49.57 ± 44.18 ± 32.54
33 phr
289.25 284.00 319.08
None 
± 21.96 ± 45.41 ± 26.93
NR/HEMA :
237.51 128.69 226.80
Peroxide cure 90/10 
± 36.93 ± 60.11 ± 17.24
10 phr
NR/HEMA :
229.25 217.28 223.17
90/10 
± 15.82 ± 43.88 ± 27.34
33 phr
149

ตารางที 4.50 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทใี ช้ กับโลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงใน


การติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จาก
ยางคอมเปานด์
Type of
Vulcanization Amount of Adhesion strength (N/m)
break
system NR-g-HEMA
Steel Aluminium Copper R* M
461.80 471.94 399.85
None 
± 22.66 ± 19.63 ± 38.92
NR/HEMA :
430.09 247.84 471.43
90/10 
Sulphur cure ± 19.80 ± 27.66 ± 69.04
10 phr
NR/HEMA :
463.49 294.09 539.24
90/10 
± 76.54 ± 22.79 ± 112.54
33 phr
309.55 359.64 368.32
None 
± 6.16 ± 43.74 ± 29.31
NR/HEMA :
198.95 116.54 253.92
Peroxide cure 90/10 
± 2.76 ± 28.42 ± 11.37
10 phr
NR/HEMA :
175.63 173.25 241.24
90/10 
± 20.67 ± 9.83 ± 7.53
33 phr
150

ตารางที 4.51 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงใน


การติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จาก
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
Type of
Vulcanization Amount of Adhesion strength (N/m)
break
system NR-g-HEMA
Steel Aluminium Copper R* M
482.56 550.28 340.12
None 
± 50.24 ± 46.23 ± 22.16
NR/HEMA :
285.50 331.06 336.75
90/10 
Sulphur cure ± 53.99 ± 48.55 ± 41.34
10 phr
NR/HEMA :
420.17 347.31 340.77
90/10 
± 10.82 ± 49.41 ± 10.29
33 phr
284.12 290.12 322.20
None 
± 25.64 ± 20.87 ± 32.04
NR/HEMA :
127.03 114.22 174.34
Peroxide cure 90/10 
± 10.03 ± 41.62 ± 32.89
10 phr
NR/HEMA :
226.63 113.75 212.35
90/10 
± 13.64 ± 17.76 ± 45.02
33 phr
151

ตารางที 4.52 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงใน


การติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทาง
การค้า
Type of
Vulcanization Amount of Adhesion strength (N/m)
break
system NR-g-HEMA
Steel Aluminium Copper R* M
848.28 836.11 944.64
None 
± 38.57 ± 76.67 ± 54.47
NR/HEMA :
401.13 500.01 582.13
90/10 
Sulphur cure ± 12.36 ± 72.10 ± 56.69
10 phr
NR/HEMA :
348.46 372.82 532.39
90/10 
± 47.87 ± 54.29 ± 55.25
33 phr
852.34 979.41 955.55
None 
± 107.46 ± 4.81 ± 39.46
NR/HEMA :
509.98 586.99 511.56
Peroxide cure 90/10 
± 39.93 ± 9.32 ± 8.02
10 phr
NR/HEMA :
485.04 613.23 486.10
90/10 
± 22.96 ± 47.19 ± 10.89
33 phr
152

Adhesion strength (N/m) 2000


Steel Aluminium Copper
1500

1000

500

0
None 10 33 None 10 33

Sulphur cure Peroxide cure


Amount of NR-g-HEMA (phr)

(a) Without primer


2000
Steel Aluminium Copper
Adhesion strength (N/m)

1500

1000

500

0
None 10 33 None 10 33

Sulphur cure Peroxide cure


Amount of NR-g-HEMA (phr)

(b) With primer compound solution


153

2000
Steel Aluminium Copper
Adhesion strength (N/m)

1500

1000

500

0
None 10 33 None 10 33

Sulphur cure Peroxide cure


Amount of NR-g-HEMA (phr)

(c) With primer NR-g-HEMA solution


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500

1000

500

0
None 10 33 None 10 33

Sulphur cure Peroxide cure


Amount of NR-g-HEMA (phr)

(d) With primer chemlok205A


รูปที 4.26 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ
ติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย)
154

ความแข็งแรงในการติดประสานของยางทีใ ส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะที


เตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย โดยมีการแปรปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ เพือศึกษาความ
แข็งแรงในการติดประสาน ซึงได้ผลการทดสอบแสดงดังตารางที 4.49–4.52 และรูปที 4.26
พบว่าความล้มเหลวในการติดประสานเป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกปริมาณของยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
และทุก ชนิด ของโลหะ เมือ พิจารณาความแข็งแรงในการติด ประสานระหว่างยางกับโลหะที
ปราศจากสารรองพื"น ดังแสดงในรูปที 4.26 (a) ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน พบว่า
ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป ราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ กับยางทีใ ส่ยาง
กราฟต์โคพอลิเมอร์ทปี ริมาณ 10 phr และ 33 phr พบว่าปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ที
เพิม ขึน" มีผลต่อความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็ก และโลหะอะลูมเิ นียม
น้อยมาก อาจเนืองจากความมีขวั " ในยางกราฟต์มปี ริมาณไม่เพียงพอทีจ ะช่วยเพิม ความแข็งแรง
ในการยึดติดระหว่างยางกับโลหะได้ อีกทัง" ยังส่งผลให้ความแข็งแรงในการติดประสานมีแนวโน้ม
ลดลงเมือ เปรีย บเทีย บกับ ยางทีป ราศจากยางกราฟต์ โคพอลิเ มอร์ อาจเนื อ งมาจากการใส่
โซเดียมลอริลซัลเฟต (SLS) ซึงเป็ นสารอิมลั ซิไฟเออร์ มีผลในการขัดขวางการเกิดการยึดติด
ระหว่างผิวหน้าของโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" กับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน หรืออาจ
เกิดจากการกระจายตัวของสารเคมี และยางมีขวั " (ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์) รวมทัง" ยางไม่มขี วั "
(ยางธรรมชาติ) ทีอ ยู่ในยางคอมเปานด์ไม่ดเี ท่าทีค วร ทําให้การกระจายตัวของยางและสารเคมี
ไม่สมําเสมอ จึงส่งผลให้ความแข็งแรงในการติดประสานมีค่าลดลง สําหรับความแข็งแรงในการ
ติดประสานระหว่างยางใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ปริมาณ 33 phr พบว่าปริมาณยางกราฟต์โค
พอลิเมอร์ทปี ริมาณนี" มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานกับโลหะทองแดงเพิม สูงขึ"น
และยังสูงกว่าการติดประสานของยางทีป ราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์อกี ด้วย สําหรับการวัล
คาไนซ์ด้วยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทัง" 3 ชนิด มี
แนวโน้มทีใกล้เคียงกัน โดยความแข็งแรงในการติดประสานของยางทีป ราศจากยางกราฟต์โค
พอลิเมอร์ มีความแข็งแรงในการติดประสานสูงกว่ายางทีใ ส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทุกชนิดของ
โลหะ ในขณะทีความแข็งแรงของการติดประสานระหว่างโลหะกับยางทีปริมาณยางกราฟต์โค
พอลิเมอร์ 10 phr และ 33 phr มีแนวโน้มทีใ กล้เคียงกัน
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานกับโลหะทีรองพื"นด้วยสารรองพื"นจาก
ยางคอมเปานด์ ดังแสดงในรูปที 4.26 (b) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน ความ
แข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะเหล็กกับยางทีใ ส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ปริมาณ 33 phr
มีค่าความแข็งแรงในการติดประสานใกล้เคียงกับยางทีป ราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ อีกทัง"
ยังมีแนวโน้มในการติดประสานทีส งู กว่ายางทีใ ส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ปริมาณ 10 phr อีกด้วย
ในขณะทีความแข็งแรงของการติดประสานกับโลหะอะลูมเิ นียม มีค่าความแข็งแรงลดลงตาม
ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทเี พิม ขึน" นอกจากนี"ยงั พบว่า ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ที
เพิม สูงขึน" มีผลต่อความแข็งแรงในการติดประสานกับโลหะทองแดง โดยทําให้ความแข็งแรงใน
155

การติดประสานมีค่าสูงสุด เมือใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ปริมาณ 33 phr แต่การวัลคาไนซ์ดว้ ย


ระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทัง" 3 ชนิด มี
แนวโน้มลดลง ตามปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทเี พิม สูงขึน"
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานกับโลหะทีรองพื"นด้วยสารรองพื"นจาก
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ดังแสดงในรูปที 4.26 (c) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน
การเพิม ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ในยางคอมเปานด์ ไม่ได้ส่งผลต่อความแข็งแรงในการ
ติดประสานระหว่างยางกับโลหะ เนืองจากความแข็ง แรงในการติดประสานของยางทีใส่ยาง
กราฟต์โคพอลิเมอร์ปริมาณ 10 phr และ 33 phr มีแนวโน้มทีใ กล้เคียงกัน ในขณะทีค วาม
แข็งแรงในการติดประสานกับโลหะทองแดงกลับพบว่า ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ไม่มผี ลต่อการ
เพิม ความแข็งแรงของการติดประสานกับโลหะทองแดง ถึงแม้จะมีการเพิม ปริมาณยางกราฟต์
จาก 10 phr เป็ น 33 phr แล้วก็ตาม ความแข็งแรงในการติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ย
ระบบเปอร์อ อกไซด์ พบว่าความแข็งแรงในการติด ประสานของโลหะ มีแ นวโน้ มในการติด
ประสานทีเ ป็ นแนวทางเดียวกัน กล่าวคือ ความแข็งแรงในการติดประสานมีแนวโน้มเพิม สูงขึน"
ตามปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ แต่พบว่ายังคงมีความแข็งแรงในการติดประสานทีด อ้ ยกว่า
ยางทีป ราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
สําหรับค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีรองพื"นด้วย
สารรองพืน" Chemlok 205A ดังแสดงในรูปที 4.26 (d) พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานมี
แนวโน้มลดลง ตามปริมาณการเพิม ขึน" ของยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์
แบบกํามะถัน และเปอร์ออกไซด์ โดยทีโ ลหะทองแดงมีแนวโน้มในการติดประสานสูงสุด เมือใช้
ระบบกํามะถัน ในขณะทีโ ลหะอะลูมเิ นียมมีค่าการติดประสานสูงสุด เมือใช้ระบบการวัลคาไนซ์
แบบเปอร์ออกไซด์ นอกจากนี"ยงั พบว่าการรองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" Chemlok 205A มีผล
ทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานกับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ มีค่าเพิม สูงขึน"
อย่างเห็นได้ชดั เมือเปรียบเทียบกับโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" หรือรองพืน" ด้วยสารรองพืน" ที
เตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ และจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
156

2) การติดประสานระหว่างคอมเปานด์ยางใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะที
เตรียมผิวทางเคมี (กัดผิวด้วยกรด) โดยมีการใช้และไม่ใช้สารรองพืน"

ตารางที 4.53 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทใี ช้ กับโลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงใน


การติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีป ราศจากสารรองพืน"
Type of
Vulcanization Amount of Adhesion strength (N/m)
break
system NR-g-HEMA
Steel Aluminium Copper R* M
408.90 357.96 343.03
None 
± 78.18 ± 3.28 ± 15.80
NR/HEMA :
475.79 90.76 136.03
90/10 
Sulphur cure ± 49.39 ± 9.57 ± 9.73
10 phr
NR/HEMA :
401.99 164.26 116.80
90/10 
± 30.80 ± 37.76 ± 41.68
33 phr
288.19 214.74 175.49
None 
± 38.76 ± 27.91 ± 21.82
NR/HEMA :
200.01 96.75 120.50
Peroxide cure 90/10 
± 63.51 ± 6.56 ± 33.67
10 phr
NR/HEMA :
176.56 38.38 89.84
90/10 
± 5.73 ± 3.66 ± 8.68
33 phr
157

ตารางที 4.54 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงใน


การติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน"
จากยางคอมเปานด์
Type of
Vulcanization Amount of Adhesion strength (N/m)
break
system NR-g-HEMA
Steel Aluminium Copper R* M
714.49 385.53 455.39
None 
± 90.91 ± 22.21 ± 92.59
NR/HEMA :
554.71 78.83 123.37
90/10 
Sulphur cure ± 80.12 ± 2.55 ± 3.86
10 phr
NR/HEMA :
448.03 224.83 307.76
90/10 
± 53.55 ± 26.07 ± 25.17
33 phr
277.09 141.71 182.15
None 
± 23.06 ± 11.47 ± 44.64
NR/HEMA :
240.26 95.55 121.78
Peroxide cure 90/10 
± 52.32 ± 8.44 ± 29.37
10 phr
NR/HEMA :
369.78 92.87 133.73
90/10 
± 22.80 ± 9.26 ± 18.50
33 phr
158

ตารางที 4.55 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงใน


การติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน"
จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
Type of
Vulcanization Amount of Adhesion strength (N/m)
break
system NR-g-HEMA
Steel Aluminium Copper R* M
524.23 401.46 352.56
None 
± 48.20 ± 20.48 ± 36.84
NR/HEMA :
588.28 87.68 147.05
90/10 
Sulphur cure ± 40.91 ± 21.98 ± 14.43
10 phr
NR/HEMA :
551.89 243.81 194.72
90/10 
± 53.30 ± 12.90 ± 16.75
33 phr
364.58 115.37 164.32
None 
± 33.12 ± 11.56 ± 42.38
NR/HEMA :
349.42 101.13 153.79
Peroxide cure 90/10 
± 79.51 ± 11.16 ± 12.86
10 phr
NR/HEMA :
356.94 80.83 93.98
90/10 
± 37.29 ± 7.36 ± 14.92
33 phr
159

ตารางที 4.56 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงใน


การติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน"
ทางการค้า
Type of
Vulcanization Amount of Adhesion strength (N/m)
break
system NR-g-HEMA
Steel Aluminium Copper R* M
515.07 437.99 578.98
None 
± 23.13 ± 76.82 ± 53.26
NR/HEMA :
284.07 416.23 413.48
90/10 
Sulphur cure ± 60.66 ± 49.03 ± 18.60
10 phr
NR/HEMA :
308.29 331.09 436.00
90/10 
± 7.66 ± 23.43 ± 40.24
33 phr
1082.09 576.36 952.27
None 
± 39.80 ± 38.40 ± 89.21
NR/HEMA :
472.56 645.66 616.50
Peroxide cure 90/10 
± 45.88 ± 40.53 ± 32.89
10 phr
NR/HEMA :
482.44 498.87 503.40
90/10 
± 35.67 ± 35.96 ± 11.66
33 phr
160

2000
Steel Aluminium Copper
Adhesion strength (N/m)

1500

1000

500

0
None 10 33 None 10 33

Sulphur cure Peroxide cure


Amount of NR-g-HEMA (phr)

(a) Without primer


2000
Steel Aluminium Copper
Adhesion strength (N/m)

1500

1000

500

0
None 10 33 None 10 33

Sulphur cure Peroxide cure


Amount of NR-g-HEMA (phr)

(b) With primer compound solution


161

Adhesion strength (N/m) 2000


Steel Aluminium Copper
1500

1000

500

0
None 10 33 None 10 33

Sulphur cure Peroxide cure


Amount of NR-g-HEMA (phr)

(c) With primer NR-g-HEMA solution


2000
Steel Aluminium Copper
Adhesion strength (N/m)

1500

1000

500

0
None 10 33 None 10 33

Sulphur cure Peroxide cure


Amount of NR-g-HEMA (phr)

(d) With primer chemlok205A


รูปที 4.27 ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรงในการ
ติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด)

ความแข็งแรงในการติดประสานของยางทีใ ส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะที


เตรียมผิวด้วยวิธกี ารกัดด้วยกรด โดยมีการแปรปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ เพือศึกษาความ
แข็งแรงในการติดประสาน ซึง ได้ผลการทดสอบแสดงดังตารางที 4.53–4.56 และรูปที 4.27
พบว่าความล้มเหลวในการติดประสานเป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกปริมาณของยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
และทุกชนิดของโลหะ เมือ พิจารณาความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะที
ปราศจากสารรองพืน" ดังแสดงในรูปที 4.27 (a) ซึง แสดงให้เห็นว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบ
162

กํามะถัน ความแข็งแรงของการติดประสานระหว่างโลหะเหล็กกับยางใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
ปริมาณ 10 phr มีความแข็งแรงในการติดประสานทีส ูงสุด อีกทัง" ยังมีค่าการติดประสานสูงกว่า
โลหะอะลูมเิ นียมและทองแดง ทุกปริมาณของยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ รวมทัง" ยางทีป ราศจาก
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์อกี ด้วย ในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าความแข็งแรง
ในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทัง" 3 ชนิด มีแนวโน้มลดลง ตามปริมาณการเพิม ขึน" ของ
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จาก
ยางคอมเปานด์ ดังแสดงในรูปที 4.27 (b) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน ความ
แข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็กมีค่าลดลง ตามปริมาณการเพิม ขึน" ของยาง
กราฟต์โคพอลิเมอร์ ในส่วนของการติดประสานกับโลหะอะลูมเิ นียมและทองแดง พบว่าความ
แข็งแรงในการติดประสานมีค่าเพิม ขึน" เมือ ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์เพิม ขึน" แต่ยงั มีค่า
ตํากว่าการติดประสานของยางทีป ราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ แต่สาํ หรับในระบบการวัลคา-
ไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานกับโลหะเหล็กมีค่าเพิม ขึน" ตาม
ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทเี พิม ขึน" โดยทีค วามแข็งแรงในการติดประสานของยางกราฟต์
โคพอลิเมอร์ทปี ริมาณ 33 phr มีค่าสูงสุดเมือ ยึดติดกับโลหะเหล็ก
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จาก
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ดังแสดงในรูปที 4.27 (c) พบว่าปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ไม่มผี ล
ในการเพิม ความแข็งแรงของการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็ก นอกจากนี"ยงั พบว่า
ความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะเหล็กยังมีค่าการติดประสานสูงสุดอีกด้วย เมือ เปรียบ
เทียบกับการติดประสานของโลหะอะลูมเิ นียม และทองแดง ทุกปริมาณของยางกราฟต์โคพอลิ
เมอร์ ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน และเปอร์ออกไซด์
สําหรับค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีรองพื"นด้วย
สารรองพืน" Chemlok 205A ดังแสดงในรูปที 4.27 (d) พบว่าค่าความแข็งแรงในการติดประสาน
ระหว่างยางกับโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง มีแนวโน้มลดลง ตามปริมาณยางกราฟต์โค
พอลิเมอร์ทเี พิม ขึน" ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน และเปอร์ออกไซด์ เช่นเดียวกับการ
ติดประสานของโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย ดังแสดงในรูปที 4.26 (d)


4.4.2.2 ผลของชนดโลหะ ่
ตอความสามารถในการ ิ
ตดประสานระหวาง ่ คอม
เปานด์ยางกราฟต์โคพอลเมอร์ ิ กับโลหะ
ศึกษาความสามารถในการติดประสานของโลหะ 3 ชนิด ได้แก่ เหล็ก (steel)
อะลูมเิ นียม (aluminium) และทองแดง (copper) โดยนําแผ่นโลหะทีม คี วามหนา 1.6±0.1
มิลลิเมตร กว้าง 25±0.05 มิลลิเมตร และยาว 60 มิลลิเมตร มาทําการเตรียมผิวด้วยวิธที างกล
และทางเคมี ตามหัวข้อ 3.3.1.4 จากนัน" นํายางคอมเปานด์ทเี ตรียมได้จากหัวข้อ 3.3.1.1 ซึง
163

แสดงปริมาณยางและสารเคมีดงั ตารางที 3.4 และ 3.5 มายึดติดกับแผ่นโลหะ โดยขัน" ตอนใน


การเตรียมชิน" ทดสอบแสดงดังรูปที 3.2 แล้วทําการวัลคาไนซ์ขน"ึ รูปด้วยเครือ งอัดเบ้า ทีอ ุณหภูม ิ
150°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน) และอุณหภูม ิ 160°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์)
หลังจากนัน" ทดสอบความสามารถในการติดประสานแบบปอก ด้วยมุม 90 องศา ตามหัวข้อ
3.3.4.2 ซึง ผลของชนิดโลหะต่อความสามารถในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีป ราศจาก
สารรองพืน" แสดงดังตารางที 4.57–4.58 และรูปที 4.28 การติดประสานของโลหะทีร องพืน" ด้วย
สารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ แสดงดังตารางที 4.59–4.60 และรูปที 4.29 การติด
ประสานของโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ แสดงดัง
ตารางที 4.61–4.62 และรูปที 4.30 การติดประสานของโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทาง
การค้า (Chemlok 205A) แสดงดังตารางที 4.63–4.64 และรูปที 4.31 ตามลําดับดังนี"

1) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ โดยปราศจากสารรองพืน" (Without


primer)
ตารางที 4.57 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทปี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความ
แข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีป ราศจากสารรองพืน"
Type of
Adhesion strength (N/m)
break
Vulcanization Type of
None NR/HEMA : NR/HEMA :
system metal
90/10 90/10 R* M
10 phr 33 phr
512.53 406.77 327.31
Steel 
± 40.47 ± 23.20 ± 49.57
472.72 217.33 255.51
Sulphur cure Aluminium 
± 109.43 ± 42.73 ± 44.18
314.65 215.70 365.00
Copper 
± 9.22 ± 33.44 ± 32.54
289.25 237.51 229.25
Steel 
± 21.96 ± 36.93 ± 15.82
284.00 128.69 217.28
Peroxide cure Aluminium 
± 45.41 ± 60.11 ± 43.88
319.08 226.80 223.17
Copper 
± 26.93 ± 17.24 ± 27.34
164

ตารางที 4.58 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทปี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความ


แข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีป ราศจาก
สารรองพืน"
Type of
Adhesion strength (N/m)
break
Vulcanization Type of
None NR/HEMA : NR/HEMA :
system metal
90/10 90/10 R* M
10 phr 33 phr
408.90 475.79 401.99
Steel 
± 78.18 ± 49.39 ± 30.80
357.96 90.76 164.26
Sulphur cure Aluminium 
± 3.28 ± 9.57 ± 37.76
343.03 136.03 116.80
Copper 
± 15.80 ± 9.73 ± 41.68
288.19 200.01 176.56
Steel 
± 38.76 ± 63.51 ± 5.73
214.74 96.75 38.38
Peroxide cure Aluminium 
± 27.91 ± 6.56 ± 3.66
175.49 120.50 89.84
Copper 
± 21.82 ± 33.67 ± 8.68
165

Adhesion strength (N/m) 2000


None NR/HEMA : 90/10 10 phr NR/HEMA : 90/10 33 phr
1500

1000

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(a) Mechanical treatment (sand blasting)

2000
Adhesion strength (N/m)

None NR/HEMA : 90/10 10 phr NR/HEMA : 90/10 33 phr


1500

1000

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(b) Chemical treatment (acid etching)


รูปที 4.28 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทปี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรง
ในการติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะ โดยปราศจากสารรองพืน"
166

ผลการทดสอบความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ โดยมีการ
เปรียบเทียบความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะ 3 ชนิด ได้แก่โลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม
และทองแดง ทีป ราศจากสารรองพืน" ได้ผลการทดลองดังแสดงในตารางที 4.57–4.58 และรูปที
4.28 ซึง พบว่าความล้มเหลวในการติดประสานเป็ นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของโลหะ ทุกวิธกี าร
เตรียมผิว และทุกปริมาณของยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ สําหรับความแข็งแรงในการติดประสาน
ระหว่างยางกับโลหะทีผ ่านการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย ดังแสดงในรูปที 4.28 (a) พบว่าใน
ระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน โลหะเหล็กมีแนวโน้มในการเกิดพันธะการยึดติดกับยางได้สงู
กว่าโลหะชนิดอืนๆ ทุกปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ รวมทัง" ยางทีป ราศจากยางกราฟต์โค
พอลิเมอร์อกี ด้วย ในการติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่า
โลหะทองแดง มีความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุด เมือ ยึดติดกับยางทีป ราศจากยางกราฟต์
โคพอลิเมอร์
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีผ ่านการเตรียมผิว
ด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรด ดังแสดงในรูปที 4.28 (b) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน
โลหะเหล็กมีความสามารถในการเกิดพันธะหรือแรงยึดเหนียวในการยึดติดกับยางได้สงู กว่า
โลหะอะลูมเิ นียม และทองแดงทุกปริมาณของยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ โดยมีค่าการติดประสาน
สูงสุด เมือ ใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ปริมาณ 10 phr สําหรับในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์
ออกไซด์ พบว่ามีแนวโน้มในการติดประสานทีเ ป็ นแนวทางเดียวกับการวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบ
กํามะถัน กล่าวคือ โลหะเหล็กมีความแข็งแรงในการติดประสานสูงกว่าโลหะชนิดอืนๆ โดยทีม ี
ค่าการติดประสานสูงสุด เมือยึดติดกับยางทีป ราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
167

2) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอม


เปานด์ (Primer compound solution)

ตารางที 4.59 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทปี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความ


แข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร องพืน" ด้วยสาร
รองพืน" จากยางคอมเปานด์
Type
Adhesion strength (N/m) of
Vulcanization Type of break
system metal None NR/HEMA : NR/HEMA :
90/10 90/10 R* M
10 phr 33 phr
461.80 430.09 463.49
Steel 
± 22.66 ± 19.80 ± 76.54
471.94 247.84 294.09
Sulphur cure Aluminium 
± 19.63 ± 27.66 ± 22.79
399.85 471.43 539.24
Copper 
± 38.92 ± 69.04 ± 112.54
309.55 198.95 175.63
Steel 
± 6.16 ± 2.76 ± 20.67
359.64 116.54 173.25
Peroxide cure Aluminium 
± 43.74 ± 28.42 ± 9.83
368.32 253.92 241.24
Copper 
± 29.31 ± 11.37 ± 7.53
168

ตารางที 4.60 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทปี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความ


แข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร องพืน" ด้วย
สารรองพืน" จากยางคอมเปานด์
Type
Adhesion strength (N/m) of
Vulcanization Type of break
system metal None NR/HEMA : NR/HEMA :
90/10 90/10 R* M
10 phr 33 phr
714.49 554.71 448.03
Steel 
± 90.91 ± 80.12 ± 53.55
385.53 78.83 224.83
Sulphur cure Aluminium 
± 22.21 ± 2.55 ± 26.07
455.39 123.37 307.76
Copper 
± 92.59 ± 3.86 ± 25.17
277.09 240.26 369.78
Steel 
± 23.06 ± 52.32 ± 22.80
141.71 95.55 92.87
Peroxide cure Aluminium 
± 11.47 ± 8.44 ± 9.26
182.15 121.78 133.73
Copper 
± 44.64 ± 29.37 ± 18.50
169

Adhesion strength (N/m) 2000


None NR/HEMA : 90/10 10 phr NR/HEMA : 90/10 33 phr
1500

1000

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(a) Mechanical treatment (sand blasting)

2000
None NR/HEMA : 90/10 10 phr NR/HEMA : 90/10 33 phr
Adhesion strength (N/m)

1500

1000

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(b) Chemical treatment (acid etching)


รูปที 4.29 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทปี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรง
ในการติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอมเปานด์
170

ผลการทดสอบความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ โดยมีการ
เปรียบเทียบความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะ 3 ชนิด ได้แก่โลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม
และทองแดง ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอมเปานด์ ได้ผลการทดลองดังแสดงในตารางที
4.59–4.60 และรูปที 4.29 ซึง พบว่าความล้มเหลวในการติดประสานเป็ นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิด
ของโลหะ ทุกวิธกี ารเตรียมผิว และทุกปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ สําหรับความแข็งแรงใน
การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีผ ่านการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย ดังแสดงในรูปที
4.29 (a) พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทองแดงมีแนวโน้มเพิม
สูงขึน" ตามปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทเี พิม ขึน" โดยยางกราฟต์ทปี ริมาณ 33 phr มีค่าความ
แข็งแรงในการติดประสานสูงสุด สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์
ด้วยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าโลหะทองแดงมีค่าความแข็งแรงในการติดประสานสูงกว่าโลหะ
ชนิดอืนๆ ทุกปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ โดยทีค วามแข็งแรงในการติดประสานมีค่าสูงสุด
เมือ ยึดติดกับยางทีป ราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ เช่นเดียวกับการติดประสานของโลหะที
ปราศจากสารรองพืน" ดังแสดงในรูปที 4.28 (a)
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีผ ่านการเตรียมผิว
ด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรด ดังแสดงในรูปที 4.29 (b) พิจารณาการติดประสานระหว่างยางที
วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันกับโลหะทัง" 3 ชนิด พบว่าโลหะเหล็กมีความสามารถในการเกิด
พันธะทีแ ข็งแรงกว่าโลหะชนิดอืนๆ ทุกปริมาณของยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ อีกทัง" ยังให้ความ
แข็งแรงในการติดประสานสูงสุดกับยางทีป ราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์อกี ด้วย ความ
แข็งแรงในการติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าโลหะเหล็กมีแนว
โน้มในการติดประสานทีส งู กว่าการยึดติดกับโลหะอะลูมเิ นียม และทองแดง เช่นเดียวกับใน
ระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน โดยโลหะเหล็กมีความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุดเมือ ยึด
ติดกับยางทีใ ส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ปริมาณ 33 phr
171

3) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางกราฟต์


โคพอลิเมอร์ (Primer NR-g-HEMA solution)

ตารางที 4.61 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทปี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความ


แข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร องพืน" ด้วยสาร
รองพืน" จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
Type of
Adhesion strength (N/m)
break
Vulcanization Type of
None NR/HEMA : NR/HEMA :
system metal
90/10 90/10 R* M
10 phr 33 phr
482.56 285.50 420.17
Steel 
± 50.24 ± 53.99 ± 10.82
550.28 331.06 347.31
Sulphur cure Aluminium 
± 46.23 ± 48.55 ± 49.41
340.12 336.75 340.77
Copper 
± 22.16 ± 41.34 ± 10.29
284.12 127.03 226.63
Steel 
± 25.64 ± 10.03 ± 13.64
290.12 114.22 113.75
Peroxide cure Aluminium 
± 20.87 ± 41.62 ± 17.76
322.20 174.34 212.35
Copper 
± 32.04 ± 32.89 ± 45.02
172

ตารางที 4.62 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทปี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความ


แข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร องพืน" ด้วย
สารรองพืน" จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
Type of
Adhesion strength (N/m)
break
Vulcanization Type of
None NR/HEMA : NR/HEMA :
system metal
90/10 90/10 R* M
10 phr 33 phr
524.23 588.28 551.89
Steel 
± 48.20 ± 40.91 ± 53.30
401.46 87.68 243.81
Sulphur cure Aluminium 
± 20.48 ± 21.98 ± 12.90
352.56 147.05 194.72
Copper 
± 36.84 ± 14.43 ± 16.75
364.58 349.42 356.94
Steel 
± 33.12 ± 79.51 ± 37.29
115.37 101.13 80.83
Peroxide cure Aluminium 
± 11.56 ± 11.16 ± 7.36
164.32 153.79 93.98
Copper 
± 42.38 ± 12.86 ± 14.92
173

2000
None NR/HEMA : 90/10 10 phr NR/HEMA : 90/10 33 phr
Adhesion strength (N/m)

1500

1000

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(a) Mechanical treatment (sand blasting)


2000
Adhesion strength (N/m)

None NR/HEMA : 90/10 10 phr NR/HEMA : 90/10 33 phr


1500

1000

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(b) Chemical treatment (acid etching)


รูปที 4.30 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทปี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรง
ในการติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางกราฟต์โค
พอลิเมอร์
174

ผลการทดสอบความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ โดยมีการ
เปรียบเทียบความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะ 3 ชนิด ได้แก่โลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม
และทองแดง ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ได้ผลการทดลองดังแสดงใน
ตารางที 4.61–4.62 และรูปที 4.30 จากผลการทดสอบพบว่าความล้มเหลวในการติดประสาน
เป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของโลหะ ทุกวิธกี ารเตรียมผิว และทุกปริมาณยางกราฟต์โคพอลิ
เมอร์ สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีผ ่านการเตรียมผิวด้วย
วิธกี ารพ่นทราย ดังแสดงในรูปที 4.30 (a) พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน ความ
แข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะอะลูมเิ นียมมีค่าสูงสุด เมือ ยึดติดกับยางที
ปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะชนิดอืนๆ
พบว่ามีค่าใกล้เคียงกัน ในส่วนของการติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์
พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทองแดงมีค่าสูงกว่าโลหะเหล็ก และอะลูมเิ นียม
ทุกปริมาณของยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ โดยทีม คี ่าความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุด เมือ ยึด
ติดกับยางทีป ราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ เช่นเดียวกับการติดประสานของโลหะทีป ราศจาก
สารรองพืน" และโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอมเปานด์
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีผ ่านการเตรียมผิว
ด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรด ดังแสดงในรูปที 4.30 (b) พบว่าความแข็งแรงในการติดประสาน
ระหว่างยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์กบั โลหะเหล็ก มีแนวโน้มในการติด
ประสานทีเ ป็นแนวทางเดียวกัน กล่าวคือ ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์มผี ลต่อความแข็งแรง
ในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเพียงเล็กน้อย เนืองจากความแข็งแรงในการติดประสาน
ของโลหะเหล็กกับยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทปี ริมาณต่างๆ มีค่าใกล้เคียงกัน แต่ความแข็งแรงใน
การติดประสานมีค่าสูงกว่าการยึดติดกับโลหะอะลูมเิ นียม และทองแดง ทัง" ในระบบการวัลคา
ไนซ์ แบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์
175

4) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้า


(Primer chemlok205A)

ตารางที 4.63 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทปี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความ


แข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย) ทีร องพืน" ด้วยสาร
รองพืน" ทางการค้า
Type of
Adhesion strength (N/m)
break
Vulcanization Type of
None NR/HEMA : NR/HEMA :
system metal
90/10 90/10 R* M
10 phr 33 phr
848.28 401.13 348.46
Steel 
± 38.57 ± 12.36 ± 47.87
836.11 500.01 372.82
Sulphur cure Aluminium 
± 76.67 ± 72.10 ± 54.29
944.64 582.13 532.39
Copper 
± 54.47 ± 56.69 ± 55.25
852.34 509.98 485.04
Steel 
± 107.46 ± 39.93 ± 22.96
979.41 586.99 613.23
Peroxide cure Aluminium 
± 4.81 ± 9.32 ± 47.19
955.55 511.56 486.10
Copper 
± 39.46 ± 8.02 ± 10.89
176

ตารางที 4.64 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทปี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความ


แข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด) ทีร องพืน" ด้วย
สารรองพืน" ทางการค้า
Type of
Adhesion strength (N/m)
break
Vulcanization Type of
None NR/HEMA : NR/HEMA :
system metal
90/10 90/10 R* M
10 phr 33 phr
515.07 284.07 308.29
Steel 
± 23.13 ± 60.66 ± 7.66
437.99 416.23 331.09
Sulphur cure Aluminium 
± 76.82 ± 49.03 ± 23.43
578.98 413.48 436.00
Copper 
± 53.26 ± 18.60 ± 40.24
1082.09 472.56 482.44
Steel 
± 39.80 ± 45.88 ± 35.67
576.36 645.66 498.87
Peroxide cure Aluminium 
± 38.40 ± 40.53 ± 35.96
952.27 616.50 503.40
Copper 
± 89.21 ± 32.89 ± 11.66
177

Adhesion strength (N/m) 2000


None NR/HEMA : 90/10 10 phr NR/HEMA : 90/10 33 phr
1500

1000

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(a) Mechanical treatment (sand blasting)


2000
Adhesion strength (N/m)

None NR/HEMA : 90/10 10 phr NR/HEMA : 90/10 33 phr


1500

1000

500

0
Steel Aluminium Copper Steel Aluminium Copper

Sulphur cure Peroxide cure


Type of metal

(b) Chemical treatment (acid etching)


รูปที 4.31 ชนิดของโลหะ กับการใช้ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทปี ริมาณต่างๆ ต่อค่าความแข็งแรง
ในการติดประสาน ระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้า
178

ผลการทดสอบความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ โดยมีการ
เปรียบเทียบความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะ 3 ชนิด ได้แก่โลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม
และทองแดง ทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" Chemlok 205A ได้ผลการทดลองดังแสดงในตารางที
4.63–4.64 และรูปที 4.31 จากผลการทดสอบพบว่าความล้มเหลวในการติดประสานเป็ นแบบ
แอดฮีซฟี ทุกชนิดของโลหะ ทุกวิธกี ารเตรียมผิว และทุกปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีผ ่านการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่น
ทราย ดังแสดงในรูปที 4.31 (a) พบว่าโลหะทองแดงมีความสามารถในการติดประสานกับยาง
วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันทัง" ทีใ ส่ และไม่ใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ได้สงู กว่าโลหะอะลูมเิ นียม
และเหล็ก อีกทัง" ยังมีความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุดอีกด้วย ในขณะทีก ารวัลคาไนซ์ดว้ ย
ระบบเปอร์ออกไซด์ ส่งผลให้โลหะอะลูมเิ นียมมีแนวโน้มในการติดประสานกับยางทัง" ทีใ ส่ และไม่
ใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์สูงกว่าโลหะทองแดง และเหล็ก ตามลําดับ
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีผ ่านการเตรียมผิว
ด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรด ดังแสดงในตารางที 4.64 และรูปที 4.31 (b) พบว่าในระบบการวัลคา
ไนซ์แบบกํามะถัน โลหะทองแดงมีแนวโน้มในการติดประสานกับยางทัง" ทีใ ส่ และไม่ใส่ยาง
กราฟต์โคพอลิเมอร์ ได้สงู กว่าโลหะอะลูมเิ นียม และเหล็ก ในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์
ออกไซด์ พบว่าโลหะเหล็ก และทองแดงมีค่าการติดประสานกับยางทีป ราศจากยางกราฟต์โค
พอลิเมอร์ทใี กล้เคียงกัน อีกทัง" ยังมีความแข็งแรงในการยึดติดสูงกว่าโลหะชนิดอืนๆ ถึงแม้จะมี
การเพิม ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กต็ าม

4.4.2.3 ผลของวธีิ การเตรียมผวโลหะิ ่


ตอความสามารถในการตดประสานิ
ระหวาง ่ คอมเปานด์ยางกราฟต์โคพอลเมอร์ ิ กับโลหะ
ศึกษาผลจากการเตรียมผิวโลหะ โดยในทีน "ไี ด้ทาํ การศึกษาการเตรียมผิวโลหะ
2 วิธ ี ได้แก่ วิธที างกล คือ การทําความสะอาดผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย (sand blasting) และการ
เตรียมผิวด้วยวิธที างเคมี (กัดผิวด้วยกรด) ซึง วิธกี ารในการเตรียมผิวโลหะนัน" ได้นําโลหะเหล็ก
อะลูมเิ นียม และทองแดง มาทําความสะอาดผิวตามหัวข้อ 3.3.1.4 (ข้อ 1.2 และข้อ 2) และนํามา
ยึดติดกับยางคอมเปานด์ในแต่ละสูตรตามตารางที 3.4 และ 3.5 นอกจากนัน" ก่อนทีจ ะนํายาง
คอมเปานด์มายึดติดกับโลหะได้นนั " ต้องมีการรองพืน" ผิวโลหะด้วยสารรองพืน" 3 ชนิด ได้แก่
สารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ (primer compound) สารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยาง
กราฟต์โคพอลิเมอร์ (primer NR-g-HEMA) และสารรองพืน" ทางการค้า (Primer chemlok
205A) ก่อนนําไปยึดติดกับยางคอมเปานด์ในขัน" ตอนต่อไป เพือเปรียบเทียบความแข็งแรงใน
การติดประสานกับโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" โดยขัน" ตอนในการเตรียมชิน" ทดสอบแสดงดังรูป
ที 3.2 แล้วทําการวัลคาไนซ์ขน"ึ รูปด้วยเครือ งอัดเบ้า (compression molding) ทีอ ุณหภูม ิ 150°C
(วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน) และอุณหภูม ิ 160°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์)
179

จากนัน" ทดสอบความสามารถในการติดประสานแบบปอก ด้วยมุม 90 องศา ตามหัวข้อ 3.3.4.2


ซึง ผลของวิธกี ารเตรียมผิวโลหะต่อความแข็งแรงในการติดประสาน โดยใช้ยางคอมเปานด์ที
ปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์แสดงดังตารางที 4.65–4.68 และรูปที 4.32 ยางคอมเปานด์ใส่
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 10 phr แสดงดังตารางที
4.69–4.72 และรูปที 4.33 ยางคอมเปานด์ใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-
HEMA : 90/10 ปริมาณ 33 phr แสดงดังตารางที 4.73–4.76 และรูปที 4.34 ตามลําดับดังนี"

1) การติดประสานระหว่างยางปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะชนิด
ต่างๆ

ตารางที 4.65 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที


ปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ (ปราศจากสารรองพืน" )
Vulcanization Surface Type of
Adhesion strength (N/m)
system pre- break
treatment Steel Aluminium Copper R* M
Sand 512.53 472.72 314.65

blasting ± 40.47 ± 109.43 ± 9.22
Sulphur cure
Acid 408.90 357.96 343.03

etching ± 78.18 ± 3.28 ± 15.80
Sand 289.25 284.00 319.08

blasting ± 21.96 ± 45.41 ± 26.93
Peroxide cure
Acid 288.19 214.74 175.49

etching ± 38.76 ± 27.91 ± 21.82
180

ตารางที 4.66 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที


ปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ (รองพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยาง
คอมเปานด์)
Vulcanization Surface Type of
Adhesion strength (N/m)
system pre- break
treatment Steel Aluminium Copper R* M
Sand 461.80 471.94 399.85

blasting ± 22.66 ± 19.63 ± 38.92
Sulphur cure
Acid 714.49 385.53 455.39

etching ± 90.91 ± 22.21 ± 92.59
Sand 309.55 359.64 368.32

blasting ± 6.16 ± 43.74 ± 29.31
Peroxide cure
Acid 277.09 141.71 182.15

etching ± 23.06 ± 11.47 ± 44.64

ตารางที 4.67 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที


ปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ (รองพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยาง
กราฟต์โคพอลิเมอร์)
Vulcanization Surface Type of
Adhesion strength (N/m)
system pre- break
treatment Steel Aluminium Copper R* M
Sand 482.56 550.28 340.12

blasting ± 50.24 ± 46.23 ± 22.16
Sulphur cure
Acid 524.23 401.46 352.56

etching ± 48.20 ± 20.48 ± 36.84
Sand 284.12 290.12 322.20

blasting ± 25.64 ± 20.87 ± 32.04
Peroxide cure
Acid 364.58 115.37 164.32

etching ± 33.12 ± 11.56 ± 42.38
181

ตารางที 4.68 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที


ปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ (รองพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้า)
Vulcanization Surface Type of
Adhesion strength (N/m)
system pre- break
treatment Steel Aluminium Copper R* M
Sand 848.28 836.11 944.64

blasting ± 38.57 ± 76.67 ± 54.47
Sulphur cure
Acid 515.07 437.99 578.98

etching ± 23.13 ± 76.82 ± 53.26
Sand 852.34 979.41 955.55

blasting ± 107.46 ± 4.81 ± 39.46
Peroxide cure
Acid 1082.09 576.36 952.27

etching ± 39.80 ± 38.40 ± 89.21
182

Adhesion strength (N/m) 2000


Steel Aluminium Copper
1500

1000

500

0
Sand blasting Acid etching Sand blasting Acid etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(a) Without primer

2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500

1000

500

0
Sand blasting Acid etching Sand blasting Acid etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(b) With primer compound solution


183

Adhesion strength (N/m) 2000


Steel Aluminium Copper
1500

1000

500

0
Sand blasting Acid etching Sand blasting Acid etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(c) With primer NR-g-HEMA solution

2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500

1000

500

0
Sand blasting Acid etching Sand blasting Acid etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(d) With primer chemlok205A


รูปที 4.32 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางปราศจาก
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ กับโลหะชนิดต่างๆ

ผลการทดสอบความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป ราศจากยาง
กราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย และการกัดผิวด้วยกรด นอกจากนี"
ยังมีการรองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" ชนิดต่างๆ ได้ผลการทดลองดังแสดงในตารางที 4.65–4.68
และรูปที 4.32 พบว่าความล้มเหลวในการติดประสานเป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของโลหะ ทุก
วิธกี ารเตรียมผิว และทุกชนิดของสารรองพืน" สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่าง
184

ยางปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ (ปราศจากสารรองพืน" ) ดังแสดงในรูปที 4.32 (a)


พบว่าการเตรียมผิวโลหะด้วยวิธกี ารพ่นทราย มีผลต่อความแข็งแรงในการติดประสานระหว่าง
ยางกับโลหะทัง" 3 ชนิด กล่าวคือมีแนวโน้มในการติดประสานทีแ ข็งแรงกว่าโลหะทีผ ่านการ
เตรียมผิวด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรด ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน และเปอร์ออกไซด์
เนืองจากการเตรียมผิวโดยการพ่นทราย เป็นวิธกี ารทีท ําให้ผวิ ของโลหะมีพน"ื ผิวในการยึดติด
เพิม ขึน" ทําให้ยางสามารถไหลเข้าไปในช่องว่างหรือรูบนพืน" ผิวโลหะ และยังเกิดการล็อกยางติด
กับผิวโลหะขณะทําการวัลคาไนซ์ยางได้มากขึน" ด้วย จึงส่งผลให้ความแข็งแรงในการติดประสาน
มีค่าเพิม สูงขึน" เช่นกัน โดยในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน โลหะเหล็กมีค่าการติดประสาน
สูงสุด แต่สาํ หรับในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ กลับพบว่าโลหะทีม คี ่าความแข็งแรง
ในการติดประสานสูงสุดคือ โลหะทองแดง
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป ราศจากยางกราฟต์โค
พอลิเมอร์กบั โลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอมเปานด์ ดังแสดงในรูปที 4.32 (b) ใน
ระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน พบว่า การเตรียมผิวโลหะเหล็กด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรด
ส่งผลให้ความแข็งแรงในการยึดติดระหว่างยางกับโลหะเหล็กมีค่าสูงสุด ในขณะทีค วามแข็งแรง
ของการติดประสานกับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าความแข็งแรงของการติด
ประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย มีค่าสูงกว่าการเตรียมผิวโดยการ
กัดผิวด้วยกรด ทุกชนิดของโลหะ ซึง โลหะทองแดงเป็นโลหะทีม คี ่าความแข็งแรงในการติด
ประสานกับยางสูงสุด เมือ เทียบกับโลหะอะลูมเิ นียม และทองแดง ตามลําดับ
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป ราศจากยางกราฟต์โค
พอลิเมอร์กบั โลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ดังแสดงในรูปที 4.32
(c) พบว่าการเตรียมผิวโลหะเหล็กด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรด มีผลต่อการเพิม ความแข็งแรงใน
การติดประสานกับยาง ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ เมือ
เปรียบเทียบกับการติดประสานของโลหะเหล็กทีผ ่านการเตรียมผิวโดยการพ่นทราย สําหรับใน
ระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ
อะลูมเิ นียม (พ่นทราย) มีค่าการยึดติดสูงสุด อีกทัง" ยังมีค่าใกล้เคียงกับการติดประสานของโลหะ
เหล็ก (กัดผิวด้วยกรด) ในขณะทีค วามแข็งแรงของการติดประสานกับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบ
เปอร์ออกไซด์ พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็ก (กัดผิวด้วยกรด)
มีค่าการยึดติดสูงสุดอย่างเห็นได้ชดั
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีป ราศจากยางกราฟต์โค
พอลิเมอร์กบั โลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" Chemlok 205A ดังแสดงในรูปที 4.32 (d) พบว่า
ความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดงทีผ ่านการเตรียมผิว
ด้วยการพ่นทราย มีแนวโน้มในการติดประสานทีส งู กว่าการเตรียมผิวโดยการกัดผิวด้วยกรด ทัง"
ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ เนืองจากการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่น
185

ทราย ทําให้ผวิ หน้าของโลหะเกิดความขรุขระได้มากกว่าการกัดผิวด้วยกรด ดังนัน" เมือ นําโลหะ


เหล่านี"มาเคลือบผิวหน้าด้วยสารรองพืน" Chemlok 205A ทําให้สารรองพืน" สามารถไหลเข้าไป
ภายในช่องว่างของโลหะได้ด ี เมือ นํายางคอมเปานด์มาติดกับแผ่นโลหะจึงทําให้เกิดการยึดติด
ทางกลทีด ขี น"ึ จึงเป็นเหตุทที าํ ให้ความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะรองพืน" ด้วยสารรอง
พืน" Chemlok 205A มีความแข็งแรงในการติดประสานทีส งู กว่าการรองพืน" ด้วยสารรองพืน" ที
เตรียมขึน" เองอีกด้วย สําหรับในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน พบว่าความแข็งแรงในการติด
ประสานของโลหะทองแดง (พ่นทราย) มีแนวโน้มในการยึดติดกับยางสูงสุด ในขณะทีค วาม
แข็งแรงในการติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าโลหะทัง" 3 ชนิดมี
แนวโน้มในการติดประสานทีใ กล้เคียงกัน

2) การติดประสานระหว่างยางใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล
NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 10 phr กับโลหะชนิดต่างๆ

ตารางที 4.69 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที


ใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ
10 phr กับโลหะ (ปราศจากสารรองพืน" )
Vulcanization Surface Type of
Adhesion strength (N/m)
system pre- break
treatment Steel Aluminium Copper R* M
Sand 406.77 217.33 215.70

blasting ± 23.20 ± 42.73 ± 33.44
Sulphur cure
Acid 475.79 90.76 136.03

etching ± 49.39 ± 9.57 ± 9.73
Sand 237.51 128.69 226.80

blasting ± 36.93 ± 60.11 ± 17.24
Peroxide cure
Acid 200.01 96.75 120.50

etching ± 63.51 ± 6.56 ± 33.67
186

ตารางที 4.70 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที


ใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ
10 phr กับโลหะ (รองพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอมเปานด์)
Vulcanization Surface Type of
Adhesion strength (N/m)
system pre- break
treatment Steel Aluminium Copper R* M
Sand 430.09 247.84 471.43

blasting ± 19.80 ± 27.66 ± 69.04
Sulphur cure
Acid 554.71 78.83 123.37

etching ± 80.12 ± 2.55 ± 3.86
Sand 198.95 116.54 253.92

blasting ± 2.76 ± 28.42 ± 11.37
Peroxide cure
Acid 240.26 95.55 121.78

etching ± 52.32 ± 8.44 ± 29.37

ตารางที 4.71 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที


ใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ
10 phr กับโลหะ (รองพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์)
Vulcanization Surface Type of
Adhesion strength (N/m)
system pre- break
treatment Steel Aluminium Copper R* M
Sand 285.50 331.06 336.75

blasting ± 53.99 ± 48.55 ± 41.34
Sulphur cure
Acid 588.28 87.68 147.05

etching ± 40.91 ± 21.98 ± 14.43
Sand 127.03 114.22 174.34

blasting ± 10.03 ± 41.62 ± 32.89
Peroxide cure
Acid 349.42 101.13 153.79

etching ± 79.51 ± 11.16 ± 12.86
187

ตารางที 4.72 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที


ใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ
10 phr กับโลหะ (รองพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้า)
Vulcanization Surface Type of
Adhesion strength (N/m)
system pre- break
treatment Steel Aluminium Copper R* M
Sand 401.13 500.01 582.13

blasting ± 12.36 ± 72.10 ± 56.69
Sulphur cure
Acid 284.07 416.23 413.48

etching ± 60.66 ± 49.03 ± 18.60
Sand 509.98 586.99 511.56

blasting ± 39.93 ± 9.32 ± 8.02
Peroxide cure
Acid 472.56 645.66 616.50

etching ± 45.88 ± 40.53 ± 32.89
188

Adhesion strength (N/m) 2000


Steel Aluminium Copper
1500

1000

500

0
Sand blasting Acid etching Sand blasting Acid etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(a) Without primer

2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500

1000

500

0
Sand blasting Acid etching Sand blasting Acid etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(b) With primer compound solution


189

Adhesion strength (N/m) 2000


Steel Aluminium Copper
1500

1000

500

0
Sand blasting Acid etching Sand blasting Acid etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(c) With primer NR-g-HEMA solution


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500

1000

500

0
Sand blasting Acid etching Sand blasting Acid etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(d) With primer chemlok205A


รูปที 4.33 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่ยาง
กราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 10 phr กับโลหะ
ชนิดต่างๆ

ผลการทดสอบความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่ยางกราฟต์โค
พอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 10 phr กับโลหะทีม กี ารเตรียมผิวด้วย
วิธกี ารพ่นทราย และการกัดผิวด้วยกรด นอกจากนี"ยงั มีการรองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" ชนิด
ต่างๆ ได้ผลการทดลองดังแสดงในตารางที 4.69–4.72 และรูปที 4.33 พบว่าความล้มเหลวใน
การติดประสานเป็ นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของโลหะ ทุกวิธกี ารเตรียมผิว และทุกชนิดของสาร
190

รองพืน" สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" ดัง


แสดงในรูปที 4.33 (a) พบว่าการเตรียมผิวโลหะด้วยวิธกี ารพ่นทราย มีผลทําให้ความแข็งแรงใน
การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทัง" 3 ชนิด มีแนวโน้มในการติดประสานกับโลหะอะลูมเิ นียม
และทองแดงทีแ ข็งแรงกว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรดอย่างชัดเจน ทัง" ในระบบ
การวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน และเปอร์ออกไซด์ สําหรับในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน
พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็ก มีค่าสูงสุด รองลงมาคือ โลหะ
อะลูมเิ นียม และทองแดงทีม คี วามแข็งแรงในการติดประสานใกล้เคียงกัน ในขณะทีค วามแข็งแรง
ของการติดประสานกับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าความแข็งแรงในการติด
ประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็ก มีค่าสูงสุดเช่นเดียวกัน รองลงมาคือ โลหะทองแดง และ
อะลูมเิ นียม ตามลําดับ
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสาร
รองพืน" จากยางคอมเปานด์ และรองพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ดังแสดงใน
รูปที 4.32 (b) และ (c) พบว่ามีแนวโน้มในการติดประสานทีเ ป็นแนวทางเดียวกัน กล่าวคือ การ
เตรียมผิวโลหะโดยการกัดผิวด้วยกรด มีผลต่อความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะ
เหล็กกับยาง ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ แต่สาํ หรับความแข็งแรง
ในการติดประสานระหว่างโลหะอะลูมเิ นียม และทองแดงกับยาง พบว่าการเตรียมผิวโลหะด้วย
วิธกี ารพ่นทราย มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบ
กํามะถันและเปอร์ออกไซด์ มีค่าสูงกว่าการเตรียมผิวโดยการกัดผิวด้วยกรด ทัง" การรองพืน" ผิว
โลหะด้วยสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ และสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางกราฟต์
โคพอลิเมอร์ สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทีเ ตรียม
ขึน" จากยางคอมเปานด์ พบว่าในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน โลหะเหล็ก (กัดผิวด้วยกรด)
มีความแข็งแรงในการติดประสานกับยางได้สงู สุด แต่ในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์
กลับพบว่าโลหะทีม คี วามแข็งแรงในการติดประสานสูงทีส ุด ได้แก่ โลหะทองแดง (พ่นทราย)
และสําหรับความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทีร องพืน" ด้วยสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จาก
ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะกับยางทีว ลั คาไนซ์
ด้วยระบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ มีแนวโน้มในการติดประสานทีเ ป็ นแนวทางเดียวกัน
กล่าวคือโลหะเหล็ก (กัดผิวด้วยกรด) มีความแข็งแรงในการติดประสานกับยางได้สงู สุด
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสาร
รองพืน" ทางการค้า ดังแสดงในรูปที 4.33 (d) พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะที
ผ่านการเตรียมผิวด้วยการพ่นทราย มีแนวโน้มในการติดประสานทีส งู กว่าการเตรียมผิวโดยการ
กัดผิวด้วยกรดทุกชนิดของโลหะ เมือ ยึดติดกับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน โดยโลหะทีม ี
ความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุดได้แก่ โลหะทองแดง ในขณะทีย างวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบ
191

เปอร์ออกไซด์ มีแนวโน้มในการติดประสานกับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธกี ารกัดด้วยกรดทุกชนิด


ของโลหะ ซึง โลหะทีม แี นวโน้มในการติดประสานสูงสุดได้แก่ โลหะอะลูมเิ นียม

3) การติดประสานระหว่างยางใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล
NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 33 phr กับโลหะชนิดต่างๆ

ตารางที 4.73 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที


ใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ
33 phr กับโลหะ (ปราศจากสารรองพืน" )
Vulcanization Surface Type of
Adhesion strength (N/m)
system pre- break
treatment Steel Aluminium Copper R* M
Sand 327.31 255.51 365.00

blasting ± 49.57 ± 44.18 ± 32.54
Sulphur cure
Acid 401.99 164.26 116.80

etching ± 30.80 ± 37.76 ± 41.68
Sand 229.25 217.28 223.17

blasting ± 15.82 ± 43.88 ± 27.34
Peroxide cure
Acid 176.56 38.38 89.84

etching ± 5.73 ± 3.66 ± 8.68
192

ตารางที 4.74 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที


ใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ
33 phr กับโลหะ (รองพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางคอมเปานด์)
Vulcanization Surface Type of
Adhesion strength (N/m)
system pre- break
treatment Steel Aluminium Copper R* M
Sand 463.49 294.09 539.24

blasting ± 76.54 ± 22.79 ± 112.54
Sulphur cure
Acid 448.03 224.83 307.76

etching ± 53.55 ± 26.07 ± 25.17
Sand 175.63 173.25 241.24

blasting ± 20.67 ± 9.83 ± 7.53
Peroxide cure
Acid 369.78 92.87 133.73

etching ± 22.80 ± 9.26 ± 18.50

ตารางที 4.75 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที


ใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ
33 phr กับโลหะ (รองพืน" ด้วยสารรองพืน" จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์)
Vulcanization Surface Type of
Adhesion strength (N/m)
system pre- break
treatment Steel Aluminium Copper R* M
Sand 420.17 347.31 340.77

blasting ± 10.82 ± 49.41 ± 10.29
Sulphur cure
Acid 551.89 243.81 194.72

etching ± 53.30 ± 12.90 ± 16.75
Sand 226.63 113.75 212.35

blasting ± 13.64 ± 17.76 ± 45.02
Peroxide cure
Acid 356.94 80.83 93.98

etching ± 37.29 ± 7.36 ± 14.92
193

ตารางที 4.76 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางที


ใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ
33 phr กับโลหะ (รองพืน" ด้วยสารรองพืน" ทางการค้า)
Vulcanization Surface Type of
Adhesion strength (N/m)
system pre- break
treatment Steel Aluminium Copper R* M
Sand 348.46 372.82 532.39

blasting ± 47.87 ± 54.29 ± 55.25
Sulphur cure
Acid 308.29 331.09 436.00

etching ± 7.66 ± 23.43 ± 40.24
Sand 485.04 613.23 486.10

blasting ± 22.96 ± 47.19 ± 10.89
Peroxide cure
Acid 482.44 498.87 503.40

etching ± 35.67 ± 35.96 ± 11.66
194

Adhesion strength (N/m) 2000


Steel Aluminium Copper
1500

1000

500

0
Sand blasting Acid etching Sand blasting Acid etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(a) Without primer


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500

1000

500

0
Sand blasting Acid etching Sand blasting Acid etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(b) With primer compound solution


195

Adhesion strength (N/m) 2000


Steel Aluminium Copper
1500

1000

500

0
Sand blasting Acid etching Sand blasting Acid etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(c) With primer NR-g-HEMA solution


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500

1000

500

0
Sand blasting Acid etching Sand blasting Acid etching

Sulphur cure Peroxide cure


Surface pre-treatment

(d) With primer chemlok205A


รูปที 4.34 วิธกี ารเตรียมผิวโลหะ ต่อค่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่ยาง
กราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 33 phr กับโลหะ
ชนิดต่างๆ

ผลการทดสอบความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางใส่ยางกราฟต์โค
พอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10 ปริมาณ 33 phr กับโลหะทีม กี ารเตรียมผิวด้วย
วิธกี ารพ่นทราย และการกัดผิวด้วยกรด โดยมีการรองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" ชนิดต่างๆ ได้ผล
การทดลองดังแสดงในตารางที 4.73–4.76 และรูปที 4.34 จากผลการทดสอบพบว่าความ
ล้มเหลวในการติดประสานเป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของโลหะ ทุกวิธกี ารเตรียมผิว และทุก
196

ชนิดของสารรองพืน" สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีป ราศจาก


สารรองพืน" ดังแสดงในรูปที 4.34 (a) พบว่าการเตรียมผิวโลหะด้วยวิธกี ารพ่นทราย มีผลทําให้
ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทัง" 3 ชนิด มีแนวโน้มในการยึดติดที
แข็งแรงกว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรด ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน
และเปอร์ออกไซด์ โดยในระบบวัลคาไนซ์ดว้ ยแบบกํามะถัน พบว่าโลหะทองแดง (พ่นทราย) มี
แนวโน้มในการติดประสานสูงสุด ในขณะทีก ารติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์
ออกไซด์ กลับพบว่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธกี าร
พ่นทราย มีความแข็งแรงในการติดประสานทีใ กล้เคียงกัน อีกทัง" ยังมีค่าสูงกว่าการเตรียมผิว
ด้วยการกัดกรดอย่างเห็นได้ชดั เมือ ใช้โลหะอะลูมเิ นียมและทองแดง
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสาร
รองพืน" จากยางคอมเปานด์ ดังแสดงในรูปที 4.34 (b) พบว่าการเตรียมผิวโลหะด้วยวิธกี ารพ่น
ทรายส่งผลให้ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดง กับ
ยางวัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน รวมทัง" การติดประสานระหว่างโลหะอะลูมเิ นียมและทองแดง
กับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ มีค่าความแข็งแรงในการติดประสานทีส งู กว่าการ
เตรียมผิวด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรด สําหรับในระบบการวัลคาไนซ์ยางด้วยระบบกํามะถัน พบว่า
โลหะทองแดง มีความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุด รองลงมาคือ โลหะเหล็กและอะลูมเิ นียม
ตามลําดับ ในขณะทีค วามแข็งแรงของการติดประสานกับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์
ออกไซด์ กลับพบว่าความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็กมีค่าสูงสุดอย่าง
เห็นได้ชดั เมือ เตรียมผิวโดยการกัดผิวด้วยกรด
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสาร
รองพืน" จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ดังแสดงในรูปที 4.34 (c) พบว่าการเตรียมผิวโลหะเหล็ก
ด้วยวิธกี ารกัดผิวด้วยกรด มีผลในการเพิม ความแข็งแรงของการติดประสานกับยางทัง" ในระบบ
การวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน และเปอร์ออกไซด์ ในขณะทีก ารเตรียมผิวโดยการพ่นทราย มีผลทํา
ให้ความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะอะลูมเิ นียมและทองแดง มีค่าเพิม สูงขึน" ทัง" 2 ระบบ
ของการวัลคาไนซ์ สําหรับในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน พบว่าความแข็งแรงในการติด
ประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็ก (กัดผิวด้วยกรด) มีค่าความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุด
ในขณะทีค วามแข็งแรงในการติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่า
ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะเหล็ก (กัดผิวด้วยกรด) มีค่าสูงสุด
เช่นเดียวกัน
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีร องพืน" ด้วยสาร
รองพืน" ทางการค้า ดังแสดงในรูปที 4.34 (d) พบว่าความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทัง"
3 ชนิด ทีเ ตรียมผิวด้วยการพ่นทราย มีแนวโน้มในการติดประสานทีส งู กว่าการเตรียมผิวโดย
การกัดผิวด้วยกรด ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ สําหรับในระบบ
197

การวัลคาไนซ์ยางด้วยระบบกํามะถัน โลหะทองแดงมีค่าความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุด
ทัง" การเตรียมผิวด้วยการพ่นทรายและการกัดผิวด้วยกรด ในขณะทีค วามแข็งแรงในการติด
ประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าความแข็งแรงในการติดประสาน
ระหว่างยางกับโลหะอะลูมเิ นียม (พ่นทราย) มีค่าสูงสุดอย่างเห็นได้ชดั นอกจากนี"ยงั พบว่าการ
รองพืน" โลหะด้วย Chemlok 205A มีผลในการเพิม ความแข็งแรงของการยึดติดในทุกชนิดของ
โลหะอย่างชัดเจนเมือ ใช้ระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์


4.4.2.4 ผลของชนดสารรองพื ่ ิ
aนตอความสามารถในการตดประสานระหวางยาง ่
กับโลหะ
ศึกษาผลของชนิดสารรองพืน" ในทีน "ไี ด้ทําการศึกษาชนิดของสารรองพืน" 3
ชนิด ได้แก่ สารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ (Primer compound solution) สารรอง
พืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ (Primer NR-g-HEMA solution) และสารรองพืน"
ทางการค้า (Primer chemlok 205A) สําหรับโดยนําโลหะทีผ ่านการเตรียมผิวด้วยวิธที างกล
(พ่นทราย) และทางเคมี (กัดผิวด้วยกรด) ตามหัวข้อ 3.3.1.4 มาจุ่มในสารรองพืน" แต่ละชนิด
ก่อนนําไปยึดติดกับยางคอมเปานด์ทเี ตรียมขึน" จากสูตรดังแสดงในตารางที 3.4 และ 3.5 เพือ
เปรียบเทียบความแข็งแรงในการติดประสานกับโลหะทีป ราศจากสารรองพืน" ซึง ขัน" ตอนในการ
เตรียมชิน" ทดสอบแสดงดังรูปที 3.2 แล้วทําการวัลคาไนซ์ขน"ึ รูปด้วยเครือ งอัดเบ้าทีอ ุณหภูม ิ
150°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน) และอุณหภูม ิ 160°C (วัลคาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์)
จากนัน" ทดสอบความสามารถในการติดประสานแบบปอก ด้วยมุม 90 องศา ตามหัวข้อ 3.3.4.2
ซึง ผลของชนิดสารรองพืน" ทีย ดึ ติดกับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธที างกล (พ่นทราย) แสดงดังตาราง
ที 4.77–4.79 และรูปที 4.35 และเตรียมผิวด้วยวิธที างเคมี (กัดผิวด้วยกรด) แสดงดังตารางที
4.80–4.82 และรูปที 4.36 ตามลําดับดังนี"
198

1) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธที างกล (พ่นทราย)


และรองพืน" ด้วยสารรองพืน" ชนิดต่างๆ

ตารางที 4.77 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางคอมเปานด์ปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ (พ่นทราย)
Vulcanization Type Type
system of Adhesion strength (N/m) of
primer break
Steel Aluminium Copper R* M
Without 512.53 472.72 314.65

primer ± 40.47 ± 109.43 ± 9.22
Primer 461.80 471.94 399.85

compound ± 22.66 ± 19.63 ± 38.92
Sulphur cure
Primer 482.56 550.28 340.12

NR-g-HEMA ± 50.24 ± 46.23 ± 22.16
Primer 848.28 836.11 944.64

chemlok ± 38.57 ± 76.67 ± 54.47
Without 289.25 284.00 319.08

primer ± 21.96 ± 45.41 ± 26.93
Primer 309.55 359.64 368.32

compound ± 6.16 ± 43.74 ± 29.31
Peroxide cure
Primer 284.12 290.12 322.20

NR-g-HEMA ± 25.64 ± 20.87 ± 32.04
Primer 852.34 979.41 955.55

chemlok ± 107.46 ± 4.81 ± 39.46
199

ตารางที 4.78 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10
ปริมาณ 10 phr กับโลหะ (พ่นทราย)
Vulcanization Type Type
system of Adhesion strength (N/m) of
primer break
Steel Aluminium Copper R* M
Without 406.77 217.33 215.70

primer ± 23.20 ± 42.73 ± 33.44
Primer 430.09 247.84 471.43

compound ± 19.80 ± 27.66 ± 69.04
Sulphur cure
Primer 285.50 331.06 336.75

NR-g-HEMA ± 53.99 ± 48.55 ± 41.34
Primer 401.13 500.01 582.13

chemlok ± 12.36 ± 72.10 ± 56.69
Without 237.51 128.69 226.80

primer ± 36.93 ± 60.11 ± 17.24
Primer 198.95 116.54 253.92

compound ± 2.76 ± 28.42 ± 11.37
Peroxide cure
Primer 127.03 114.22 174.34

NR-g-HEMA ± 10.03 ± 41.62 ± 32.89
Primer 509.98 586.99 511.56

chemlok ± 39.93 ± 9.32 ± 8.02
200

ตารางที 4.79 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10
ปริมาณ 33 phr กับโลหะ (พ่นทราย)
Vulcanization Type Type
system of Adhesion strength (N/m) of
primer break
Steel Aluminium Copper R* M
Without 327.31 255.51 365.00

primer ± 49.57 ± 44.18 ± 32.54
Primer 463.49 294.09 539.24

compound ± 76.54 ± 22.79 ± 112.54
Sulphur cure
Primer 420.17 347.31 340.77

NR-g-HEMA ± 10.82 ± 49.41 ± 10.29
Primer 348.46 372.82 532.39

chemlok ± 47.87 ± 54.29 ± 55.25
Without 229.25 217.28 223.17

primer ± 15.82 ± 43.88 ± 27.34
Primer 175.63 173.25 241.24

compound ± 20.67 ± 9.83 ± 7.53
Peroxide cure
Primer 226.63 113.75 212.35

NR-g-HEMA ± 13.64 ± 17.76 ± 45.02
Primer 485.04 613.23 486.10

chemlok ± 22.96 ± 47.19 ± 10.89
201

2000

Adhesion strength (N/m)


Steel Aluminium Copper
1500

1000

500
0
No Primer Primer NR- Primer No Primer Primer NR- Primer
primer compound g-HEMA chemlok primer compound g-HEMA chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(a) Without adhesion promoter


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500

1000

500
0
No Primer Primer NR- Primer No Primer Primer NR- Primer
primer compound g-HEMA chemlok primer compound g-HEMA chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(b) NR-g-HEMA : 10 phr


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500

1000
500

0
No Primer Primer NR- Primer No Primer Primer NR- Primer
primer compound g-HEMA chemlok primer compound g-HEMA chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(c) NR-g-HEMA : 33 phr


รูปที 4.35 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน
ระหว่างยางกับโลหะ (พ่นทราย)
202

ผลการทดสอบความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธ ี


ทางกล (พ่นทราย) และมีการรองพืน" ด้วยสารรองพืน" ชนิดต่างๆ กับยางทัง" ทีใ ส่และไม่ใส่ยาง
กราฟต์โคพอลิเมอร์ แสดงดังตารางที 4.77–4.79 และรูปที 4.35 พบว่าความล้มเหลวของการ
ติดประสานระหว่างยางกับโลหะมีลกั ษณะเป็ นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของสารรองพืน" ทุกชนิด
ของโลหะ และทุกปริมาณของยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ เมือ พิจารณาความแข็งแรงของการติด
ประสานระหว่างคอมเปานด์ยางปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ ดังแสดงในรูปที 4.35
(a) พบว่าสารรองพืน" ทางการค้ามีผลในการเพิม ความแข็งแรงของการติดประสานระหว่างยางที
ปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะทัง" 3 ชนิด อย่างชัดเจน ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์
แบบกํามะถัน และเปอร์ออกไซด์ โดยโลหะทีม คี วามแข็งแรงในการติดประสานกับยางวัลคาไนซ์
ด้วยระบบกํามะถันสูงสุด ได้แก่ โลหะทองแดง รองลงมาคือ โลหะเหล็กและอะลูมเิ นียม ทีม คี วาม
แข็งแรงในการติดประสานใกล้เคียงกัน ในขณะทีก ารติดประสานของยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบ
เปอร์ออกไซด์ มีค่าความแข็งแรงในการติดประสานกับโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดงที
ใกล้เคียงกัน
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีใ ส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
ปริมาณ 10 phr กับโลหะ ดังแสดงในรูปที 4.35 (b) พบว่าสารรองพืน" ทางการค้ามีผลในการเพิม
ความแข็งแรงของการติดประสานระหว่างยางกับโลหะทุกชนิด ทัง" ในระบบการวัลคาไนซ์แบบ
กํามะถันและเปอร์ออกไซด์ โดยทีโ ลหะทองแดงมีค่าการติดประสานสูงสุดเมือ ยึดติดกับยางทีว ลั
คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน ในขณะทีโ ลหะอะลูมเิ นียมมีค่าการติดประสานสูงสุด เมือนํามายึดติด
กับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์
ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางทีใ ส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ปริมาณ
33 phr กับโลหะ ดังแสดงในรูปที 4.35 (c) ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน พบว่าการรอง
พืน" โลหะด้วยสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์ มีแนวโน้มในการทําให้โลหะเหล็ก และ
ทองแดงสามารถเกิดการยึดติดกับยางได้สงู กว่าการใช้สารรองพืน" ชนิดอืนๆ โดยเฉพาะการติด
ประสานของโลหะทองแดงทีม คี ่าการติดประสานสูงสุด สําหรับในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์
ออกไซด์ พบว่าสารรองพืน" ทางการค้า (Chemlok 205A) มีผลในการเพิม ความแข็งแรงของการ
ยึดติด ระหว่างยางกับโลหะทุกชนิดอย่างเห็นได้ชดั ซึง โลหะทีม คี วามแข็งแรงในการติดประสาน
สูงสุด ได้แก่โลหะอะลูมเิ นียม เช่นเดียวกับการติดประสานของยางทีป ราศจากยางกราฟต์โคพอลิ
เมอร์ และยางทีใ ส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ปริมาณ 10 phr ข้างต้น
203

2) การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธที างเคมี (กัดผิวด้วยกรด)


และรองพืน" ด้วยสารรองพืน" ชนิดต่างๆ

ตารางที 4.80 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางคอมเปานด์ปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ (กัดผิวด้วย
กรด)
Vulcanization Type Type
system of Adhesion strength (N/m) of
primer break
Steel Aluminium Copper R* M
Without 408.90 357.96 343.03

primer ± 78.18 ± 3.28 ± 15.80
Primer 714.49 385.53 455.39

compound ± 90.91 ± 22.21 ± 92.59
Sulphur cure
Primer 524.23 401.46 352.56

NR-g-HEMA ± 48.20 ± 20.48 ± 36.84
Primer 515.07 437.99 578.98

chemlok ± 23.13 ± 76.82 ± 53.26
Without 288.19 214.74 175.49

primer ± 38.76 ± 27.91 ± 21.82
Primer 277.09 141.71 182.15

compound ± 23.06 ± 11.47 ± 44.64
Peroxide cure
Primer 364.58 115.37 164.32

NR-g-HEMA ± 33.12 ± 11.56 ± 42.38
Primer 1082.09 576.36 952.27

chemlok ± 39.80 ± 38.40 ± 89.21
204

ตารางที 4.81 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10
ปริมาณ 10 phr กับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด)
Vulcanization Type Type
system of Adhesion strength (N/m) of
primer break
Steel Aluminium Copper R* M
Without 475.79 90.76 136.03

primer ± 49.39 ± 9.57 ± 9.73
Primer 554.71 78.83 123.37

compound ± 80.12 ± 2.55 ± 3.86
Sulphur cure
Primer 588.28 87.68 147.05

NR-g-HEMA ± 40.91 ± 21.98 ± 14.43
Primer 284.07 416.23 413.48

chemlok ± 60.66 ± 49.03 ± 18.60
Without 200.01 96.75 120.50

primer ± 63.51 ± 6.56 ± 33.67
Primer 240.26 95.55 121.78

compound ± 52.32 ± 8.44 ± 29.37
Peroxide cure
Primer 349.42 101.13 153.79

NR-g-HEMA ± 79.51 ± 11.16 ± 12.86
Primer 472.56 645.66 616.50

chemlok ± 45.88 ± 40.53 ± 32.89
205

ตารางที 4.82 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน


ระหว่างยางใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทอี ตั ราส่วนโมล NR-g-HEMA : 90/10
ปริมาณ 33 phr กับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด)
Vulcanization Type Type
system of Adhesion strength (N/m) of
primer break
Steel Aluminium Copper R* M
Without 401.99 164.26 116.80

primer ± 30.80 ± 37.76 ± 41.68
Primer 448.03 224.83 307.76

compound ± 53.55 ± 26.07 ± 25.17
Sulphur cure
Primer 551.89 243.81 194.72

NR-g-HEMA ± 53.30 ± 12.90 ± 16.75
Primer 308.29 331.09 436.00

chemlok ± 7.66 ± 23.43 ± 40.24
Without 176.56 38.38 89.84

primer ± 5.73 ± 3.66 ± 8.68
Primer 369.78 92.87 133.73

compound ± 22.80 ± 9.26 ± 18.50
Peroxide cure
Primer 356.94 80.83 93.98

NR-g-HEMA ± 37.29 ± 7.36 ± 14.92
Primer 482.44 498.87 503.40

chemlok ± 35.67 ± 35.96 ± 11.66
206

2000

Adhesion strength (N/m)


Steel Aluminium Copper
1500

1000

500
0
No Primer Primer NR- Primer No Primer Primer NR- Primer
primer compound g-HEMA chemlok primer compound g-HEMA chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(a) Without adhesion promoter


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500

1000

500
0
No Primer Primer NR- Primer No Primer Primer NR- Primer
primer compound g-HEMA chemlok primer compound g-HEMA chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(b) NR-g-HEMA : 10 phr


2000
Adhesion strength (N/m)

Steel Aluminium Copper


1500

1000
500

0
No Primer Primer NR- Primer No Primer Primer NR- Primer
primer compound g-HEMA chemlok primer compound g-HEMA chemlok

Sulphur cure Peroxide cure


Type of primer

(c) NR-g-HEMA : 33 phr


รูปที 4.36 ชนิดของสารรองพืน" ทีใ ช้กบั โลหะชนิดต่างๆ ต่อความแข็งแรงในการติดประสาน
ระหว่างยางกับโลหะ (กัดผิวด้วยกรด)
207

ผลการทดสอบความแข็งแรงในการติดประสาน ระหว่างโลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธ ี


ทางเคมี (กัดผิวด้วยกรด) และมีการรองพืน" โลหะด้วยสารรองพืน" ชนิดต่างๆ กับยางคอมเปานด์
ทัง" ทีใ ส่ และไม่ใส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ดังแสดงในตารางที 4.80–4.82 และรูปที 4.36 พบว่า
ความล้มเหลวของการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ มีลกั ษณะเป็นแบบแอดฮีซฟี ทุกชนิดของ
สารรองพืน" ทุกชนิดของโลหะ และทุกปริมาณของยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ เมือ พิจารณาความ
แข็งแรงของการติดประสานระหว่างคอมเปานด์ยางปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์กบั โลหะ
ดังแสดงในรูปที 4.36 (a) พบว่าสารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางคอมเปานด์มผี ลในการเพิม ความ
แข็งแรงของการยึดติดระหว่างยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันกับโลหะเหล็ก อีกทัง" ยังมีค่าใน
การยึดติดสูงสุดอีกด้วย เมือ เปรียบเทียบกับการติดประสานของโลหะชนิดอืนๆ ทัง" ทีใ ช้และไม่ใช้
สารรองพืน" สําหรับในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ พบว่าสารรองพืน" ทางการค้ามีผล
ในการเพิม ความแข็งแรงในการยึดติดกับโลหะทุกชนิด โดยเฉพาะการติดประสานกับโลหะเหล็ก
และทองแดงทีม คี ่าสูงสุดอย่างเห็นได้ชดั
สําหรับความแข็งแรงในการติดประสานของยางทีใ ส่ยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
ปริมาณ 10 phr และ 33 phr ดังแสดงในรูปที 4.36 (b) และ (c) พบว่าความแข็งแรงในการติด
ประสานของยางทัง" 2 ปริมาณ มีแนวโน้มในการติดประสานทีเ หมือนกัน กล่าวคือ ในระบบ
การวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน สารรองพืน" ทีเ ตรียมขึน" จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ มีผลในการทํา
ให้ความแข็งแรงของการยึดติดระหว่างยางกับโลหะเหล็กมีค่าการติดประสานสูงสุด ในขณะที
สารรองพืน" Chemlok 205A มีผลในการเพิม ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างโลหะเหล็ก
อะลูมเิ นียม และทองแดง กับยางทีว ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์อย่างชัดเจน
208

บทที 5

สรุปผลการทดลอง

5.1 สรุปผลการทดลอง

5.1.1 ลักษณะของพืน ผิวโลหะก่อนและหลังการเตรียมผิวด้วยวิธที างกล และทางเคมี เมือ(


ตรวจสอบด้วยกล้องจุลทรรศน์ (Optical microscope) ทีก( ําลังขยาย 100 เท่า พบว่าลักษณะ
พืน ผิวของโลหะเหล็ก อะลูมเิ นียม และทองแดงทีผ( ่านการเตรียมผิวด้วยวิธที างกล ทัง การขัด
ด้วยกระดาษทราย และการพ่นทราย มีความขรุขระมากกว่าโลหะทีผ( ่านการเตรียมผิวด้วยวิธ ี
ทางเคมี (การกัดผิวด้วยกรด) และโลหะทีไ( ม่ได้ผ่านการเตรียมผิว ตามลําดับ โดยพืน ผิวของ
โลหะทีผ( ่านการขัดด้วยกระดาษทราย มีรอยขรุขระแบบเส้นเป็ นร่องยาวขนานกับความยาวของ
แผ่นโลหะ สําหรับโลหะทีผ( ่านการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย พบว่าความขรุขระมีลกั ษณะ
เป็นหลุมเล็กๆ เกิดขึน ทัวบริ
( เวณผิวหน้าของโลหะ ในส่วนของพืน ผิวโลหะทีผ( ่านการผิวด้วยกรด
มีความขรุขระสมํ(าเสมอ เป็นหลุมละเอียดและมีขนาดเล็กกว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทราย

5.1.2 การศึกษาสเปกตรัมของยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทีอ( ตั ราส่วนโมลของยางธรรมชาติต่อ


2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (NR/HEMA) เท่ากับ 95/5, 90/10 และ 85/15 (SLS ปริมาณ 1
กรัม) ด้วยเทคนิค FT-IR เพื(อเปรียบเทียบกับ IR สเปกตรัมของยางธรรมชาติ พบว่าสเปกตรัม
ของยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ได้ปรากฏยอดแหลม (peak) เพิม( ขึน ทีต( ําแหน่ ง 1724 cm-1, 1718
cm-1 และ 1716 cm-1 ตามลําดับ ซึง( ได้แสดงถึงการมีหมู่ฟงก์ ั ชนั C=O ในโมเลกุลของยาง
กราฟต์โคพอลิเมอร์ และเป็ นการยืนยันได้ว่าโมเลกุลของ 2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลตได้
กราฟต์อยูบ่ นโมเลกุลของยางธรรมชาติ

5.1.3 ลักษณะการวัลคาไนซ์ของยางใส่สารเสริมการยึดติด
5.1.3.1 ยางใส่สารเสริมการยึดติดทางการค้า
การใส่สารเสริมการยึดติดทางการค้า มีผลทําให้เวลาของการวัลคาไนซ์เพิม(
ขึน อย่างชัด เจน เมื(อ ใช้ระบบการวัล คาไนซ์แ บบกํ ามะถัน สํา หรับ การวัล คาไนซ์แ บบเปอร์
ออกไซด์ พบว่ าการใส่ส ารเสริมการยึด ติด ซิงค์ไ ดอะคริเ ลต (ZDA) และซิงค์ไ ดเมทาคริเ ลต
(ZDMA) ไม่มผี ลต่อเวลาในการวัลคาไนซ์ยาง ส่วนการใส่สารเสริมการยึดติดโคบอลต์สเตียเรต
พบว่ามีผลทําให้เวลาของการวัลคาไนซ์ลดลง
209

5.1.3.2 ยางใส่สารเสริมการยึดติดทีส( งั เคราะห์จากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ระหว่าง


ยางธรรมชาติกบั 2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (NR-g-HEMA)
การเพิม( ปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ไม่มผี ลต่อเวลาในการวัลคาไนซ์
ยาง ทัง ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน และเปอร์ออกไซด์ นอกจากนียงั พบว่าการวัลคา
ไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถันใช้เวลาในการวัลคาไนซ์เร็วกว่าระบบเปอร์ออกไซด์อย่างชัดเจน

5.1.4 สมบัตเิ ชิงกลของยางก่อนนําไปยึดติดกับโลหะ


5.1.4.1 สมบัตเิ ชิงกลของยางใส่สารเสริมการยึดติดทางการค้า
ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน พบว่ายางใส่สารเสริมการยึดติดซิงค์ได
เมทาคริเลต มีค่าโมดูลสั ที( 100% ใกล้เคียงกับยางทีป( ราศจากสารเสริมการยึดติด อีกทัง ยังมีค่า
สูงกว่ายางทีใ( ส่สารเสริมการยึดติดโคบอลต์สเตียเรต และซิงค์ไดอะคริเลต ตามลําดับ สําหรับ
ความทนต่อแรงดึง และเปอร์เซ็นต์การยืด ณ จุดขาด มีค่าสูงสุดเมือ( ใส่สารเสริมการยึดติด
โคบอลต์สเตียเรต รองลงมาคือ สารเสริมการยึดติดซิงค์ไดอะคริเลต ซิงค์ไดเมทาคริเลตและยาง
ทีป( ราศจากสารเสริมการยึดติด ตามลําดับ สําหรับในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์
พบว่ายางใส่สารเสริมการยึดติดซิงค์ไดอะคริเลตมีค่าโมดูลสั ที( 100% สูงกว่ายางใส่สารเสริมการ
ยึดติดซิงค์ไดเมทาคริเลต ยางทีป( ราศจากสารเสริมการยึดติด และยางใส่สารเสริมการยึดติด
โคบอลต์สเตียเรต ตามลําดับ ในขณะทีค( วามทนต่อแรงดึงและเปอร์เซ็นต์การยืด ณ จุดขาด
มีค่าสูงสุด เมือ( ใช้ยางทีใ( ส่สารเสริมการยึดติดโคบอลต์สเตียเรต รองลงมาคือ ยางใส่สารเสริมการ
ยึดติดซิงค์ไดเมทาคริเลต ยางทีป( ราศจากสารเสริมการยึดติด และยางใส่ซงิ ค์ไดอะคริเลต
ตามลําดับ

5.1.4.2 สมบัตเิ ชิงกลของยางใส่สารเสริมการยึดติดทีไ( ด้จากการสังเคราะห์กราฟต์โค


พอลิเมอร์ระหว่างยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต
เมือ( ใส่ยางธรรมชาติดดั แปรโมเลกุลทีอ( ตั ราส่วนโมลของยางธรรมชาติต่อ 2-
ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (NR/HEMA) เท่ากับ 90/10 ปริมาณ 10 phr และ 33 phr ที(
อัตราส่วนโมลของยางธรรมชาติต่อ 2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต เท่ากับ 85/15 ปริมาณ 43
phr (แทนการใส่สารเสริมการยึดติด) พบว่าอัตราส่วนโมลของมอนอเมอร์ 2–ไฮดรอกซีเอทิล
เมทาคริเลต และปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ (NR-g-HEMA) ทีม( ากขึน มีผลทําให้โมดูลสั ที(
100% มีแนวโน้มเพิม( ขึน เช่นกัน แต่ค่าความทนต่อแรงดึง และเปอร์เซ็นต์การยืด ณ จุดขาดมี
แนวโน้มลดลง ตามปริมาณมอนอเมอร์และปริมาณยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทเ(ี พิม( ขึน ทัง ในระบบ
การวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์ (ยกเว้น ในอัตราส่วนโมลของยางธรรมชาติต่อ 2-
ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต เท่ากับ 90/10 ทีป( ริมาณ 10 phr พบว่ามีค่าโมดูลสั ที( 100% ตํ(ากว่า
ยางปราศจากยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ทงั  ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์ออกไซด์)
210

5.1.5 การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ โดยใช้สารเสริมการยึดติดทางการค้า


5.1.5.1 ความล้มเหลวของการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ มีลกั ษณะเป็นแบบ
แอดฮีซฟี (adhesive failure) ทุกชนิดของโลหะ ทุกวิธขี องการเตรียมผิวโลหะ ทุกชนิดของสาร
รองพืน และทุกชนิดของสารเสริมการยึดติด ทัง ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและเปอร์
ออกไซด์ ยกเว้นการติดประสานระหว่างยางใส่สารเสริมการยึดติดชนิดซิงค์ไดอะคริเลต (ZDA)
ทีว( ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์กบั โลหะทองแดง ทีเ( กิดความล้มเหลวของการติดประสาน
แบบโคฮีซฟี (cohesive failure) ทัง ทีใ( ช้และไม่ใช้สารรองพืน

5.1.5.2 ความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทีเ( ตรียมผิวโดยการขัดด้วยกระดาษ


ทราย
ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน สารเสริมการยึดติดโคบอลต์สเตียเรต
ให้ความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุดกับโลหะเหล็ก ทัง ทีใ( ช้และไม่ใช้สารรองพืน ในขณะที(
สารเสริมการยึดติดซิงค์ไดอะคริเลตให้ค่าความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุด เมือ( ยึดติดกับ
โลหะอะลูมเิ นียมและทองแดงทีร( องพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า
ในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ สารเสริมการยึดติดซิงค์ไดอะคริ
เลต มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานมีค่าสูงสุดกับทุกชนิดของโลหะทีป( ราศจากสาร
รองพืน และยังทําให้การติดประสานระหว่างยางกับโลหะทองแดง เกิดความล้มเหลวในการติด
ประสานแบบโคฮีซฟี ทัง ทีใ( ช้และไม่ใช้สารรองพืน

5.1.5.3 ความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทีเ( ตรียมผิวโดยการพ่นทราย


ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน สารเสริมการยึดติดโคบอลต์สเตียเรตให้
ความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุดกับโลหะเหล็กและอะลูมเิ นียม ทัง ทีใ( ช้และไม่ใช้สารรองพืน
นอกจากนีสารเสริมการยึดติดซิงค์ไดอะคริเลตยังให้ค่าความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุด
เมือ( ยึดติดกับโลหะทองแดงทัง ทีใ( ช้และไม่ใช้สารรองพืน
ในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ สารเสริมการยึดติดซิงค์ไดอะคริ
เลต มีผลทําให้ความแข็งแรงในการติดประสานมีค่าสูงสุดกับโลหะเหล็กทีป( ราศจากสารรองพืน
และโลหะอะลูมเิ นียมทีร( องพืน ด้วยสารรองพืน ทางการค้า อีกทัง ยังทําให้การติดประสานระหว่าง
ยางกับโลหะทองแดง เกิดความล้มเหลวในการติดประสานแบบโคฮีซฟี ทัง ทีใ( ช้และไม่ใช้สารรอง
พืน
211

5.1.5.4 ความแข็งแรงในการติดประสานของโลหะทีเ( ตรียมผิวโดยการกัดด้วยกรด


ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถัน สารเสริมการยึดติดซิงค์ไดอะคริเลต ให้
ค่าความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุดกับโลหะเหล็กทีป( ราศจากสารรองพืน สําหรับสารเสริม
การยึดติดซิงค์ไดเมทาคริเลตให้ความแข็งแรงในการติดประสานสูงสุดกับโลหะอะลูมเิ นียมทีร( อง
พืน โลหะด้วยสารรองพืน ทางการค้า และสําหรับสารเสริมการยึดติดโคบอลต์สเตียเรตให้คา่ ความ
แข็งแรงในการยึดติดสูงสุดกับโลหะทองแดงทีร( องพืน โลหะด้วยสารรองพืน ทางการค้าเช่นเดียว
กัน
ในระบบการวัลคาไนซ์แบบเปอร์ออกไซด์ สารเสริมการยึดติดซิงค์ไดอะคริ
เลต ให้ความแข็งแรงในการยึดติดสูงสุดกับทุกโลหะทีป( ราศจากสารรองพืน อีกทัง ยังทําให้การ
ติดประสานระหว่างยางกับโลหะทองแดง เกิดความล้มเหลวในการติดประสานแบบโคฮีซฟี ทัง ที(
ใช้และไม่ใช้สารรองพืน

5.1.6 การติดประสานระหว่างยางกับโลหะ โดยใช้สารเสริมการยึดติดทีไ( ด้จากการสังเคราะห์


กราฟต์โคพอลิเมอร์ระหว่างยางธรรมชาติกบั 2-ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต
5.1.6.1 ความล้มเหลวของการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ มีลกั ษณะเป็นแบบ
แอดฮีซฟี (adhesive failure) ทุกชนิดของโลหะ ทุกวิธขี องการเตรียมผิวโลหะ ทุกชนิดของสาร
รองพืน และทุกปริมาณของยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ ทัง ในระบบการวัลคาไนซ์แบบกํามะถันและ
เปอร์ออกไซด์

5.1.6.2 ความแข็งแรงในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ
การใช้สารรองพืน ทางการค้า (Chemlok 205A) ส่งผลให้ความแข็งแรงในการ
ติดประสานระหว่างยางทีว( ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบเปอร์ออกไซด์กบั โลหะทุกชนิด มีแนวโน้มทีใ( ห้
ความแข็งแรงในการติดประสานสูงกว่ายางทีว( ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน ทัง การเตรียมผิวด้วย
วิธกี ารพ่นทราย และการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารกัดด้วยกรด นอกจากนียงั พบว่าการใช้สารรองพืน
ทางการค้า ส่งผลให้ความแข็งแรงของยางทีว( ลั คาไนซ์ดว้ ยระบบกํามะถัน มีค่าการยึดติดกับ
โลหะทีเ( ตรียมผิวด้วยวิธกี ารพ่นทรายสูงกว่าการเตรียมผิวด้วยวิธกี ารกัดด้วยกรด ในทุกชนิด
ของโลหะ และทุกปริมาณของยางกราฟต์โคพอลิเมอร์
212

5.2 ข้อเสนอแนะ

5.2.1 ควรนํายางสังเคราะห์ทม(ี คี วามเป็นขัว ต่างกัน เช่น ยางเอสบีอาร์ (SBR), ยางอีพดี เี อ็ม


(EPDM), ยางคลอโรพรีน (Chloroprene, CR) และยางเอ็นบีอาร์ (NBR) มาศึกษาความแข็งแรง
ในการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ เพื(อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติ
5.2.2 ควรเพิม( ชนิดของโลหะให้มคี วามหลากหลายมากขึน เช่น ทองเหลือง (brass),
สังกะสี (zinc) และนิคเกิล (nickel) เป็นต้น
5.2.3 ควรศึกษาการติดประสานระหว่างยางกับโลหะ ด้วยกาวระบบ 2 ชัน ประกอบด้วยชัน
รองพืน (primer) และชัน ทาทับ (cover) ซึง( กาวระบบ 2 ชัน ในทางการค้าทีร( จู้ กั กันอย่าง
แพร่หลาย ได้แก่ ChemlokTM และ MegumTM เนื(องจากการติดประสานด้วยระบบนีมผี ลทําให้
ความแข็งแรงในการติดประสานมีค่าเพิม( สูงขึน มากกว่าการใช้สารรองพืน เพียงชัน เดียว
5.2.4 การวิจยั ในขัน ต่อไปควรพัฒนาสูตรยางและกาวติดโลหะ ทีม( ยี างธรรมชาติเป็น
องค์ประกอบหลัก เพื(อให้มคี วามแข็งแรงในการติดประสานเทียบเท่า หรือดีกว่ากาวทางการค้า
213

บรรณานุกรม

กรรณิการ์ สหกะโร. 2546. การศึกษายางธรรมชาติมาลิเอตเพื!อเป็นแนวทางในการใช้ทาํ ยางติด


โลหะ. รายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ ภาควิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : ปตตานี

เจริญ นาคะสรรค์, จิราภรณ์ เยีย8 นชลคํา และอาซีซนั แกสมาน. 2549. กาวติดยางกับโลหะจาก


กราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั มาลิอกิ แอนไฮไดรด์. ใน วิจยั ยางพาราเพื!อ
อนาคตทีย! งยื
ั ! น: กรุงเทพฯ หน้า 59–65.

จรัญ พุ่มนก. 2547. การกราฟต์โคพอลิเมอไรเซชันของอะคริโลไนไตรล์บนยางธรรมชาติ โดย


กระบวนการอีมลั ชัน. วิทยานิพนธ์วศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงขลา.

ชัชพล มีเพ็ชรทาน. 2544. การศึกษากระบวนการอิมลั ชันโคพอลิเมอไรเซชันของสไตรีน และ


ยางธรรมชาติ. วิทยานิพนธ์วศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ธนาวดี ลีจ8 ากภัย. 2546. เกร็ดน่ ารูข้ องกาว. อัพเดท. 18, 192(กันยายน): 89–92

บุญธรรม นิธอิ ุทยั และ ชลดา เลวิส. 2544. ยางติดโลหะและการเตรียมผิวโลหะ. วารสารยาง


และพอลิเมอร์. 5, 1(มกราคม–มีนาคม): 1–5.

ปวีณา ฆารไสว. 2548. กราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริ-


เลต. วารสารวิจยั มข. 10, 2(เมษายน–มิถุนายน): 141–150.

พงษ์ธร แซ่อุย. 2548. สารเคมียาง. ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค): กทม.

พรพรรณ นิธอิ ุทยั . 2528. สารเคมีสําหรับยาง. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย


สงขลานครินทร์. หน้า 14–31 : ปตตานี ั
214

พรพรรณ นิธอิ ุทยั . 2540. ยาง: เทคนิคการออกสูตร. ภาควิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์


คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : ปตตานี ั

วราภรณ์ ขจรไชยกุล. 2549. ยางธรรมชาติ : การผลิตและการใช้งาน. พิมพ์ครัง8 ที! 1. ห้าง


หุน้ ส่วนจํากัด ซีโน ดีไซน์: กรุงเทพฯ

สิทธิพงษ์ อํานวยพานิชย์. 2547. กราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั พอลิสไตรีน. วารสาร


วิจยั มข. 9, 2(กรกฎาคม–ธันวาคม): 82–96.

สิทธิพงษ์ อํานวยพานิชย์, ศราณี นารีจนั ทร์ และสมพิศ ยอดรัก. 2548. การสังเคราะห์อนุภาค


เชิงประกอบของยางธรรมชาติกบั พอลิสไตรีน โดยวิธอี มิ ลั ชันพอลิเมอไรเซชัน. รายงาน
วิจยั ฉบับสมบูรณ์ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.).

สิรธิ ร แก้วกลํ!า. 2549. กาวผสมของนํ8ายางธรรมชาติกบั กาวพอลิยรู เี ทนเพื!อใช้ตดิ ยางวัลคาไนซ์


กับหนังสังเคราะห์. วิทยานิพนธ์วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงขลา.

หน่วยเทคโนโลยียาง. 2550. ชนิดของยางและการใช้งาน. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก:


http://rubber.sc.mahidol.ac.th/rubbertech/NR.htm. (วันทีส! บื ค้น 9 เมษายน 2550)

อรวรรณ ทองเนื8องาม และนุ ชนารถ กังพิสดาร. 2550. ศักยภาพการผลิตยางของไทย. วารสาร


ยางพารา. 28, 1(มกราคม–เมษายน): 42–52

อิทธิพล แจ้งชัด. 2544. พอลิเมอร์คอมโพสิต. ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ สถาบัน


เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง: กรุงเทพมหานคร

Adhesives Design Toolkit. 2007. Adhesive bonding - a guide to best practice.


http://www.adhesivestoolkit.com/DocuData/SurfacePreTreatment.xtp. (accessed
30/04/07)

Ansarifar, M.A., Chong, L.K., Zhang, J., Bell, A. and Ellis, R.J. 2003. Effect of
bifunctional organosilane on the joint strength of some natural rubber
compounds to nylon 6,6. J. Adhesion & Adhesives. 23: 177–188.
215

Ansarifar, M.A., Zhang, J., Baker, J., Bell, A. and Ellis, R.J. 2001. Bonding properties of
rubber to steel, aluminium and nylon 6,6. J. Adhesion & Adhesives. 21:
369–380.

Ansarifar, M.A., Zhang, J., Bell, A. and Ellis, R.J. 2002. Role of primer in rubber to
nylon 6,6. J. Adhesion & Adhesives. 22: 245–255.

Bimax Chemicals Ltd. 2006. 2-Hydroxyethyl methacrylate. http://www.bimax.com/hema.


htm. (accessed 19/04/08)

Cook, J.W., Edge, S. and Packham, D.E. 1997. The adhesion of natural rubber to steel
and the use of the peel test to study its nature. J. Adhesion & Adhesives. 17:
333–337.

Costin, R. and Nagel, W. 1990. Metallic coagents for rubber-to-metal adhesion.


Sartomer Company, Inc. Pennsylvania, USA : 5530 05/05

chemBlink. 2009. Cobalt stearate. http://www.chemblink.com/products/13586-84-0.htm.


(accessed 13/01/09)

Dobias, B. and Heckmann K. 1981. Method to directly bond rubber to metal. US Patent
4, 297, 159, October 27.

Dunlap, D., Parekhji, J. and Your, A.J. 2002. Interfacial adhesion. Master of Chemical
and Materials Engineering report, San Jose State university, California, USA.

Garbassi, F., Morra, M. and Occhiello, E. 1994. Polymer Surfaces from Physics to
Technology. John Wiley and Sons Ltd.,: England

Hilton, J.M., Hawkins, I.M. and Wilson, J.C. 2002. Rubber adhesion promoters. US
Patent 6, 353, 047, March 5.
216

Ikeda, Y., Nawafune, H., Mizumoto, S., Sasaki, M., Nagatani, A., Nishimori, A.,
Yamaguchi, K., Uchida, E. and Okada, T. 2003. Physico–chemical analysis on
chemical bonding at adhesion interface between rubber and Pd alloy. J.
Adhesion & Adhesives. 23: 231–234.

Imori, T. and Iida, K. 2004. Adhesion accelerator for bonding rubber to metal and rubber
composition. US Patent 6, 809, 138 B2, October 26.

Kent, H.D. 2005. Rubber to metal bonding method. US Patent 6, 843, 876 B1, January
18.

Lu, Y., Liu, L., Tian, M., Geng, H. and Zhang, L. 2005. Study on mechanical properties
of elastomers reinforced by zinc dimethacrylate. European Polymer Journal 41:
589–598.

Mowdood, S.K. 1986. Rubber–metal adhesion promoters. US Patent 4, 605, 693,


August 12.

Mowrey, D.H. 2003. Adhesives for bonding peroxide–cured elastomers. US Patent


6, 512, 039 B1, January 28.

Nakamura, H. 1976. Bonding of rubber to metal. US Patent 3, 998, 992, December 21.

Ontario Die International Inc. 2009. Tensile Test. http://www.superdumbbell.com/


techinfo–tenstest.htm. (accessed 23/02/09)

Promdum, Y., Klinpituksa, P. and Ruamjarern, J. 2008. Grafting of natural rubber with
2–hydroxyethyl methacrylate for plywood adhesion improvement. Proceeding
of the 10th National Graduate Research Conference. Sukhothai Thammathirat
Open University, September 12-13, 2008. pp. 1–11
217

Quadrat, O., Horsky, J. and Snuparek, J. 2004. Effect of styrene units in lattices of
acrylate copolymers with structured particles on the thickening with
associative thickeners. Prog. Org. Coat. 50: 166–171

Sohnemann, R. 1985. Rubber mixture for direct bonding to metal surfaces. US Patent
4, 511, 697, April 16.

SpecialChem Adhesives & Sealants. 2007a. Adhesion theory–Chemisorption.


http://www.specialchem4adhesives.com/resources/adhesionguide/index.aspx?id
=theory3. (accessed 15/02/07)

SpecialChem Adhesives & Sealants. 2007b. Adhesion theory–Mechanical Interlocking.


http://www.specialchem4adhesives.com/resources/adhesionguide/index.aspx?id
=theory4. (accessed 15/02/07)

SpecialChem Adhesives & Sealants. 2007c. Adhesion theory–Diffusion.


http://www.specialchem4adhesives.com/resources/adhesionguide/index.aspx?id
=theory5. (accessed 15/02/07)

SpecialChem Adhesives & Sealants. 2007d. Adhesion theory–Electrostatic.


http://www.specialchem4adhesives.com/resources/adhesionguide/index.aspx?id
=theory6. (accessed 15/02/07)

Su, Y.-Y. and Shemenski, R.M. 2000. The role of oxide structure on copper wire to the
rubber adhesion. Applied Surface Science 161: 355–364.

The Adhesive and Sealant Council, Inc. 2008. Types of Stress. http://www.adhesives.
org/StructuralDesign/TypesofStress.aspx. (accessed 19/08/08)

Uchino, O., Nakane, S., Fujiki, K., Imori, T. and Iida, K. 1999. Adhesion promoter
composition and adherent rubber composition containing the same. US Patent
5, 994, 434, November 30.
218

Vetteworks. 2008. Adhesives. http://vetteworks.tripod.com/adhesive.htm. (accessed


09/05/08)

Wikimedia Commons. 2007. Cobalt naphthenate. http://commons.wikimedia.org/wiki/File:


Cobalt_naphthenate.png. (accessed 13/01/09)

Wake, W.C. 1982. Adhesion and the formulation of adhesives. 2nd Ed. Applied science:
New York.

Yue-E, F., Jun, J. and Chaoxiong, M. 1999. Study of radiation–induced grafting of


2–hydroxyethyl methacrylate to chloroprene rubber membrane. Radiation
Physics and Chemistry. 54: 159–163.
219

ภาคผนวก
220

ภาคผนวก ก


ก.1 ลักษณะพืนผวโลหะหลั ่
งผานการเตรี ิ
ยมผวโดยการขั
ดด้วยกระดาษทราย
(Sandpaper blasting)
(1) โลหะเหล็ก

ชิน ที 1 ชิน ที 2 ชิน ที 3

(2) โลหะอะลูมเิ นียม

ชิน ที 1 ชิน ที 2 ชิน ที 3

(3) โลหะทองแดง

ชิน ที 1 ชิน ที 2 ชิน ที 3


221

ก.2 ลักษณะพืนผวิโลหะหลังผานการเตรี
่ ิ
ยมผวโดยการ ่ ทราย (Sand blasting)
พน
(1) โลหะเหล็ก

ชิน ที 1 ชิน ที 2 ชิน ที 3

(2) โลหะอะลูมเิ นียม

ชิน ที 1 ชิน ที 2 ชิน ที 3

(3) โลหะทองแดง

ชิน ที 1 ชิน ที 2 ชิน ที 3


222

ก.3 ลักษณะพืนผวิโลหะหลังผานการเตรี
่ ิ
ยมผวโดยการ กัดด้วยกรด (Acid etching)
(1) โลหะเหล็ก

ชิน ที 1 ชิน ที 2 ชิน ที 3

(2) โลหะอะลูมเิ นียม

ชิน ที 1 ชิน ที 2 ชิน ที 3

(3) โลหะทองแดง

ชิน ที 1 ชิน ที 2 ชิน ที 3


223

ภาคผนวก ข

่ ิ การคํานวณปรมาณนํ
ข.1 ตัวอยางวธี ิ ายางและสารเคมีที<ใช้ในการสังเคราะห์กราฟต์โค

พอลเมอร์ ่
ในอัตราสวนโมลของยางธรรมชาตตอิ ่ 2–ไฮดรอกซีเอทลเมทาครเล
ิ ิ ต
่ บ 95/5
(NR/HEMA) เทากั

กรณี ใช้นํายางธรรมชาติ (35 %DRC) ปริมาณ 100 กรัม


(1) คํานวณนํายางธรรมชาติ 100 กรัม เท่ากับกีโ มล
นํายางธรรมชาติ 100 กรัม มีเนือยางปริมาณ 35 กรัม
เนืองจากยางธรรมชาติมนี ําหนักโมเลกุล เท่ากับ 68 กรัม/โมล
ดังนัน ยางธรรมชาติ 35 กรัม เท่ากับ 0.5147 โมล

(2) คํานวณ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (HEMA) 5% เท่ากับกีโ มล


จากอัตราส่วนโมลของ NR/HEMA เท่ากับ 95/5 ดังนัน จึงเปรียบเทียบการใช้ยาง
ธรรมชาติ เท่ากับ 95% และใช้ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต เท่ากับ 5%
ยางธรรมชาติ 95% เท่ากับ 0.5147 โมล
HEMA 5% เท่ากับ 0.0271 โมล

(3) คํานวณ 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต (HEMA) 0.0271 โมล เท่ากับกีก รัม


เนืองจาก 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต มีนําหนักโมเลกุล เท่ากับ 130.14 กรัม/โมล
ดังนัน 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต 0.0271 โมล เท่ากับ 3.5268 กรัม

(4) คํานวณปริมาณการใช้ K2S2O8 0.05%โมล (คิดเทียบกับโมลของยางธรรมชาติ)


ยางธรรมชาติ 100 โมล ใช้ K2S2O8 เท่ากับ 0.05 โมล
ยางธรรมชาติ 0.5147 โมล ใช้ K2S2O8 เท่ากับ 2.5735 × 10-4 โมล
เนืองจาก K2S2O8 มีนําหนักโมเลกุล เท่ากับ 270 กรัม/โมล
ดังนัน K2S2O8 ปริมาณ 2.5735 × 10-4 โมล เท่ากับ 0.0695 กรัม
224


ข.2 ผลการละลายของกราฟต์โคพอลเมอร์ ิ บ 2–ไฮดรอกซีเอทลิเมทา
ของยางธรรมชาตกั
ิ ต (NR-g-HEMA)
ครเล

ทําการทดสอบการละลายของกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั
2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต เพือ เปรียบเทียบกับการละลายของยางธรรมชาติ และพอลิ(2-
ไฮดรอกซีเอทิลเมทาคริเลต) บริสุทธิ O ในตัวทําละลายชนิดต่างๆ ได้แก่ ไดคลอโรมีเทน
(CH2Cl2), คลอโรเบนซิน (C6H5Cl), ไดเมทธิลซัลฟอกไซด์ (DMSO), โทลูอนี และอะซีโตน โดย
การตัดชิน ส่วนของผลิตภัณฑ์ทไี ด้จากการสังเคราะห์ ตัวอย่างละ 50 มิลลิกรัม ในตัวทําละลาย
10 มิลลิลติ ร และวางทิง ไว้เป็นเวลา 2 วัน ได้ผลการทดลองดังแสดงในตาราง ข.1

ตาราง ข.1 การละลายของกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกบั 2–ไฮดรอกซีเอทิลเมทา


คริเลต (NR-g-HEMA) เปรียบเทียบกับยางธรรมชาติ และพอลิ(2-ไฮดรอกซีเอทิล
เมทาคริเลต)

Solvent NR PHEMA NR-g-HEMA

Dichloromethane Non-dissolve Non-dissolve Non-dissolve


Chlorobenzene Swell Swell Swell
Dimethyl sulfoxide (DMSO) Non-dissolve Non-dissolve Non-dissolve
Toluene dissolve Non-dissolve Swell
Acetone Non-dissolve Non-dissolve Non-dissolve
225


ข.3 ตัวอยางการคํ ิ
านวณ Transmittance ratio ของกราฟต์โคพอลเมอร์

C
A

B D

log (A/B)
Transmittance ratio =
log (C/D)
log (0.8538/0.5692)
= log (0.9000/0.5769)

= log (1.50)
log (1.56)

= 0.1761
0.1931

= 0.9120
226

ภาคผนวก ค
เอกสารการตีพิ มพ์เผยแพรผลงานทางวชาการ
่ ิ
227

ประวัติ ผูเ้ ขียน

ชื<อ สกุล นางสาววิไลพร คงศรีรอด


รหัสประจําตัวนักศึกษา 4822070
วุฒิ การศึกษา
วุฒิ ชื<อสถาบัน ปี ที<สาํ เร็จการศึกษา
วิทยาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2548
(วัสดุศาสตร์)


ทุนการศึกษา (ที<ได้รบั ในระหวางการศึ กษา)
ทุนวิจยั มหาบัณฑิต สกว. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สัญญาเลขที MRG495S033

การตีพิ มพ์เผยแพรผลงาน

วิไลพร คงศรีรอด และ อรสา ภัทรไพบูลย์ชยั . 2551. สมบัตกิ ารติดประสานระหว่างยาง
ธรรมชาติกบั โลหะทีเ ตรียมผิวด้วยวิธที างกลและทางเคมี. การประชุมเสนอผลงานวิจยั
ระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครัง ที 10. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

Patarapaiboolchai, O. and Kongsrirod, W. 2007. “Effect of promoters on natural rubber


to metal bonding” (oral). Proceedings of 11th International Seminar on
Elastomers (ISE 2007), 23–27 September 2007. Konzerthaus Freiburg,
Konrad-Adenauer-Platz 1: 79098 Freiburg, Germany pp.125–126
EFFECT OF PROMOTERS ON NATURAL RUBBER
TO METAL BONDING

11th International Seminar on


Elastomers

Orasa Patarapaiboolchai1* and Wilaiporn Kongsrirod2

1
Natural Rubber Products Technology Transfer Centre, Faculty of Science, Prince of Songkla University, Hatyai,
Songkhla, Thailand, 90112- orasa.p@psu.ac.th; 2 Polymer Science Program, Faculty of Science, Prince of Songkla
University, Hatyai, Songkhla, Thailand, 90112-kongsrirod_sci@hotmail.com

Three types of promoters used for being studied to be rubber to metal (steel, copper and aluminium) bonding in this
research. It was found that zinc diacrylate provided higher adhesion strength on aluminium than other promoters did,
especially with using peroxide cure even no primer is applied. When chemlok 205A was used as a primer, zinc
dimethacrylate show higher adhesion strength than other promoters in both sulphur and peroxide cure, however
peroxide cure give higher adhesion strength than sulphur cure. In addition, cobalt naphthenate shows high adhesion
strength with sulphur cure even without primer; however it has less adhesion strength than zinc diacrylate.

2.2 Compounding
Introduction
The preparation of rubber compound was done in both
Adhesives are extensively used in human being life sulphur and peroxide system by mixing rubber (RSS-3)
for a long time not only in various industries also in the with adding ingredients as described in table 1, on a
domestic life. Therefore, a market value of adhesive is laboratory size (160x380 mm) two roll mill model Y-
very important, significant new markets will be 160-M2-8 with friction ratio 1:1.22 in according to the
generated in the future especially in the area of method described by ASTMD3184-80 [4]
structural adhesives for the automobile and aerospace
industries. Convention metal reinforced rubber 2.3 Testing
products require both an adhesive to bond the metal to The various rubber compounds were compression
the rubber and a separate curing system to increase the mould at 150 oC according to their respective t90 as
mechanical properties of the rubber [1]. Therefore, it is shown in table 1. The dumb-bell test pieces are
a need for new fundamental science studies to insure prepared for physical testing tested following ASTM
reliability and long term durability. Generally, natural D412-68[5]. Standard test specimens are prepared
rubber is a non polar material then it is hard to bond to following ASTM D 429-03[6].Adhesion strength of
polar substrate like metal compare to Metallic rubber to metal was determined in newtons per
monomer which can be used to create strong adhesive millimeter of width with applying a steady load at the
bond to metal surface so, attempt to increase the rate of 50 mm/min.
adhesion ability by using adhesion promoter [2]. is
Table X – Formulation of natural rubber compound with cure time in
very challenge for this research by determination the both vulcanization system
amount and type of promoter to create rubber to metal
adhesion without the use of external adhesive. The Ingredients control 1 2 3
bonding properties of rubber to metal are significant RSS-3 100 100 100 100
importance to users and were assessed by means of ZnO 5 5 5 5
HAF N330 30 30 30 30
peel test [3]. The properties of the rubber compound Aromatic oil 5 5 5 5
with promoters were also characterized by mechanical Stearic acid 2 2 2 2
propertied Wingstay L 1 1 1 1
sulphur 5 5 5 5
Experimentals MBT 1.5 1.5 1.5 1.5
TMTD 1 1 1 1
2.1 Material Cobalt naphthenate - 10
Zinc diacrylate 10
Natural rubber (NR) was purchased from local area, Zinc dimethylacrylate 10
Songkla (Thailand). The promoters are cobalt. Cure time at 150 oC 5;48 7;16 6;36 6;24
Naphthenate from Sigma-Aldrich, zinc diacrylate (min; sec) in S cure
Cure time at 150 oC 14;35 13;33 13;36 15;39
(ZDA) and zinc dimethylacrylate(ZDMA) from (min; sec) in peroxide*
Innovation Polymer. Peroxide (DCP) agent is from cure
chemical/TSC polymer. Other ingredients were
purchased from Polymer Innovation Co.Ltd. Thailand. *DCP 5 phr
Results and Discussion

The effect of adhesion promoter on tensile strength is


summarized in Figs.1. It can be seen that tensile
strength decreases with increasing promoter in every
adhesion promoters used for both sulphur and peroxide
cure and sequential order is ZDA>cobalt naphthenate
>ZDMA for sulphur cure but ZDA shows lower tensile
strength than cobalt naphthenate and ZDMA, Figure 2 – The adhesion strength of natural rubber compound
respectively with peroxide cure. In addition, with type of metal at various adhesion
vulcanization time of each adhesion promoters is not promoters 10 phr (* without primer, **apply
differing in significant as shown in Table 1. Selectivity with rubber compound as primer, ***apply
of promoter for rubber to metal was shown in Figs 2 with chemlok 205A as primer)
(sulphur in the left and peroxide in the right hand side).
For sulphur curing system to obtain high adhesion Conclusions
strength, it is necessary to apply primer on the metal All three types of promoter reduce the tensile strength.
surface. In addition, cobalt naphthenate provided It is necessary to apply primer on the metal surface in
highest adhesion strength with iron and aluminium every promoter used with sulfur cure except using
metal but a slightly less than ZDMA with copper ZDA on copper with peroxide cure. Each adhesion
metal. Moreover, it gave higher adhesion strength with promoter works different with different metals. All
aluminium than copper and iron. Furthermore, high three types of promoter show lower adhesion strength
adhesion strength is obtained from cobalt naphthenate in iron than copper and aluminium respectively. To
with rubber compound solution as a primer while bond rubber to aluminium metal, cobalt naphthenate is
ZDMA and ZDA are recommended to apply with recommended as a promoter and used rubber
chemlok 205A as a primer. For peroxide curing system compound solution as a primer for sulphur cure and
to obtain high adhesion strength, it is necessary to ZDA and ZDMA are more favorable with rubber
apply primer on the metal surface except using ZDA on compound solution and/or chemlok 205A as a primer
copper metal. In addition, ZDA provided highest for peroxide cure. To bond rubber with Copper, ZDMA
adhesion strength with copper and aluminium metal with chemlok as a primer is recommended for sulphur
while ZDMA gave highest adhesion strength with cure while cobalt naphthenate without primer is prefer
aluminium and iron metal. Moreover, cobalt for peroxide cure. To bond rubber with iron, cobalt
naphthenate is not recommend to used with peroxide naphthenate with rubber compound solution is
cure since it provide lowest adhesion strength while recommended for sulphur cure while, ZDMA with
ZDA and ZDMA are prefer to cure with peroxide. chemlok as a primer is prefer for peroxide cure.
Furthermore, high adhesion strength is obtained from
ZDMA with chemlok as a primer in every metal while
Acknowledgements
ZDA is recommended to apply with rubber compound
solution as a primer in iron and aluminium but without The authors wish to thank The Thailand Research Fund
primer with copper metal. (TRF) and Prince of Songkla University for the
financial support to this research also would like to
sincere thanks to Miss Wilaiporn Srikongrod for her
hard working to get all the presented data.

References

1. SARTOMER Application Bulletin: 4550/12/04


2. United States Patent 6884832, Adhesion promoter
for cord-reinforced rubber and metal or polymer
substrate/rubber composites, 04/26/2005
3. D.E. Packham, Handbook of Adhesion, Longman
Science & Technical, England, 1992. P.400 - 401
Figure 1 – The tensile properties of natural rubber 4. American Society for Testing and Material (ASTM)
compound using different adhesion promoter D3184-80
types 10 phr in sulphur cure system (left)
5. American Society for Testing and Material (ASTM)
and peroxide cure system (right)
D412-68
6. American Society for Testing and Material (ASTM)
D 429-03, Method B- 90o Stripping Test
P-PS 032
ADHESION PROPERTIES OF NATURAL RUBBER TO METAL BONDING USING
PHYSICAL AND CHEMICAL TREATMENT

Wilaiporn Kongsrirod, Orasa Patarapaiboolchai

Polymer Science Program, Faculty of Science, Prince of Songkla University, Hatyai,


Songkhla
E-mail : orasa.p@psu.ac.th, Tel. 0-7428-8199

This work was studied the effect of surface treatment (physical and chemical
treatment) on adhesion strength of natural rubber to metal bonding. The rubber compound
was prepared by mixing adhesion promoters (zinc diacrylate, zinc dimethacrylate and cobalt
stearate) and other chemicals in the sulphur cure system. Adhesion strength between natural
rubber and metals (peel test) was tested under constant load at angle of 90°. It was found that
rubber to metal bonding is adhesive failure between primer and metal. The rubber compound
with cobalt stearate as adhesion promoter provided higher adhesion strength than other
promoters in every three metals, especially copper metals. When rubber compound was used
as a primer on steel metals and chemlok 205A were used as a primer on aluminium and
copper metals, the highest adhesion strength will be obtained.

Keywords:
Natural rubber, Promoter, Adhesion and peel test

STOU. 1 Grad Research 10


สมบัติการติดประสานระหวางยางธรรมชาติกับโลหะที่เตรียมผิวดวยวิธที างกลและทางเคมี
ADHESION PROPERTIES OF NATURAL RUBBER TO METAL BONDING USING
PHYSICAL AND CHEMICAL TREATMENT

Wilaiporn Kongsrirod and Orasa Patarapaiboolchai*


Polymer Science Program, Faculty of Science, Prince of Songkla University, Hatyai,
Songkhla.

บทคัดยอ
ในงานวิจัยนี้ไดทําการศึกษาผลของการเตรียมผิวโลหะ (เหล็ก อะลูมิเนียม และทองแดง) ตอสมบัติการติด
ประสานระหวางยางธรรมชาติกับโลหะที่เตรียมผิวดวยวิธีทางกลและทางเคมี โดยใชยางคอมเปานดที่ วัลคาไนซดวย
ระบบกํามะถัน และใชสารชวยในการยึดติด (promoter) 3 ชนิด ไดแก zinc diacrylate, zinc dimethacrylate และ cobalt
stearate เปนตน แลวทดสอบสมบัติการติดประสานระหวางยางกับโลหะแบบปอก (peel test) ดวยมุม 90 องศา ภายใตแรง
ดึงคงที่ พบวา ความลมเหลวของการทดสอบมีลักษณะแบบแอดฮีซีฟ (adhesive failure) ระหวาง primer กับโลหะทุกชนิด
สําหรับยางที่ใสสารชวยในการยึดติดชนิด cobalt stearate ใหความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับโลหะทุกชนิด
โดยเฉพาะกับโลหะทองแดง และมีคาสูงกวาการใชสารชวยในการยึดติดชนิดอื่นๆ โดยที่คาในการติดประสานระหวางยาง
กับโลหะเหล็กมีคาเพิ่มขึ้นเมื่อรองพื้นโลหะดวย primer จากยางคอมเปานด และการติดประสานระหวางยางกับโลหะ
อะลูมิเนียมและทองแดงมีคาเพิ่มขึ้นเมื่อรองพื้นโลหะดวย primer ทางการคา (chemlok 205A)

คําสําคัญ:
ยางธรรมชาติ สารชวยในการยึดติด การติดประสาน และ การทดสอบแบบปอก

STOU. 2 Grad Research 10


บทนํา
ในปจจุบันไดมีการผลิตผลิตภัณฑยางที่ใชงานในทางดานวิศวกรรม ซึ่งผลิตภัณฑโดยสวนใหญจะไมไดทําขึ้นจาก
ยางเพียงอยางเดียว เนื่องจากไดมีการเสริมความแข็งแรงใหกับโครงสรางผลิตภัณฑดังกลาวดวยโลหะ ตัวอยางผลิตภัณฑยาง
ติดกับโลหะ ไดแก ยางตีนตะขาบรถถัง ลูกกลิ้งยาง ยางลอ รถยกและยางลอตัน เปนตน (บุญธรรมและชลดา, 2544)
นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑในบางประเภทที่มีการนําโลหะไปยึดติดกับยางเพื่อใหมีความสะดวกในการติดตั้ง เชน ยางกัน
สะเทือน ในอดีตการยึดติดระหวางยางกับโลหะนิยมใชเทคนิคที่เรียกวาการชุบทองเหลือง ซึ่งในวิธีนี้จะเคลือบพื้นผิวโลหะ
ที่สะอาดดวยแผนฟลมทองเหลืองบางๆ โดยใชวิธีการชุบดวยไฟฟา กอนที่จะนําโลหะดังกลาวไปยึดติดกับยาง (พงษธร,
2548) การยึดติดดวยวิธีดังกลาวมีวิธีการที่ยุงยากและใชตนทุนสูง ปจจุบันจึงไดมีการคิดคนกาวขึ้นมาใชแทนวิธีการเดิมใน
การผลิตผลิตภัณฑยางติดโลหะ และยังคงนิยมใชเทคนิคนี้ในการทําใหเกิดแรงยึดเหนี่ยวระหวางพันธะของยางกับโลหะ คือ
การใชชั้นกาวกับยางธรรมชาติ โดยกาวที่ใชเปนกาวสําหรับติดโลหะโดยเฉพาะ ซึ่งมีอยูมากมายหลายชนิดและหลายบริษัท
เพื่อใหผูใชสามารถเลือกใชใหเหมาะสมกับชนิดของยางและโลหะ ตัวอยางกาวที่ใชในการยึดติดยางกับโลหะโดยเฉพาะ
เชน กาวที่มีชื่อในทางการคาวา Chemlok ของบริษัท Hughson Chemical , Inc. จากประเทศสหรัฐอเมริกา การเชื่อมติด
ระหวางยางกับโลหะโดยการใชกาวนี้มีวิธีการที่ไมสลับซับซอน สามารถทําไดสะดวกและรวดเร็ว และยังใหความแข็งแรง
สูง เหมาะกับการใชงานเกือบทุกประเภทแตเนื่องจากกาวที่ใชสําหรับติดโลหะโดยเฉพาะนั้นเปนกาวประเภท isocyanates
เชน triphenylmethane triisocyanate ซึ่งมีหมู isocyanates อยูในโครงสรางจึงมีความวองไวตอปฏิกิริยาสูง ทําใหเกิดปฏิกิริยา
ขางเคียงที่ไมตองการไดงายและยังมีความวองไวตอความชื้นและไอน้ํา และยังมีราคาแพงอีกดวย
ปจจุบันยางพาราเปนพืชเศรษฐกิจที่มีความสําคัญของประเทศ และประเทศไทยยังเปนผูผลิตยางธรรมชาติมาก
ที่สุดในโลก (นุชนารถและอรวรรณ, 2550) นอกจากนี้ยางธรรมชาติยังมีสมบัติที่หลากหลาย เชน มีความทนทานตอการขัด
ถูสูง (abrasion resistance) มีความเหนียว (tack) และมีความสามารถในการยึดติดกับวัสดุอื่นได แตในขณะเดียวกันยาง
ธรรมชาติก็ยังมีขอดอย คือ ที่ไมสามารถยึดติดกับโลหะไดโดยตรง เนื่องจากความไมมีขั้วของยาง จึงทําใหไมสามารถนํา
ยางธรรมชาติไปผลิตเปนผลิตภัณฑบางชนิดได ดังนั้นจึงไดทําการศึกษาวิจัยเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติดังกลาวเพื่อใหยางติด
ประสานกับโลหะไดเอง โดยปราศจากการใชชั้นกาว ดวยการใสสารชวยในการติดประสาน (Promoter) ลงในยางคอม
เปานด และมีการรองพื้นโลหะดวย primers เนื่องจาก primers เปนสิ่งที่ถูกนํามาใชในงานติดโลหะ เพื่อปองกันชิ้นงานเกิด
การกัดกรอนขณะใชงาน (M.A. Ansarifar และคณะ, 2002) และยังเปนการเพิ่มความแข็งแรงระหวางยางและโลหะ กอน
นําไปยึดติดกับโลหะที่ตองการ

วัตถุประสงค
เพื่อศึกษาความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางธรรมชาติกับโลหะที่เตรียมผิวดวยวิธีทางกลและทางเคมี

วิธีดําเนินการวิจัย

1. วัสดุและสารเคมี
ยางแผนรมควันชั้น 3 จัดจําหนายโดยตลาดกลางยางพารา อ. หาดใหญ จ. สงขลา สารชวยในการยึดติด (promoter)
ที่นํามาศึกษาในครั้งนี้ มี 3 ชนิด ไดแก Zinc diacrylate (ZDA) มีชื่อทางการคาวา Saret®633 และ Zinc dimethacrylate
(ZDMA) มีชื่อทางการคาวา Saret®634 จัดจําหนายโดย บริษัท เคมีอินโนเวชั่น จํากัด และ Cobalt stearate จัดจําหนาย
โดย บริษัท พีไอ อินดัสทรี จํากัด Primer ทางการคา (chemlok 205A) จัดจําหนายโดย บริษัท พรีซีสชั่น เอนยีเนียริ่ง จํากัด
โทลูอีน ใชในการเตรียม primer จากยางคอมเปานด จัดจําหนายโดย หางหุนสวนจํากัด เจ พี เคมีภัณฑ กํามะถัน (Sulphur)

STOU. 3 Grad Research 10


และสารเคมีที่ใชในการเตรียมยางคอมเปานดอื่นๆ จัดจําหนายโดยหางหุนสวน กิจไพบูลยเคมี จํากัด สําหรับสารเคมีที่ใช
ในการเตรียมผิวทางเคมี ไดแก โซเดียมไดโครเมต กรดซัลฟุริคเขมขน กรดไนตริกเขมขน กรดออรโทฟอสฟอริค และ
เมทิลแอลกอฮอล จัดจําหนายโดย หางหุนสวนจํากัด เจ พี เคมีภัณฑ

2. การเตรียมยางคอมเปานด
ทําการผสมยางธรรมชาติกับสารตัวเติม สารเคมีตางๆ (ยกเวน กํามะถัน) และสารชวยในการยึดติดดังสูตร ตาม
ตารางที่ 1 ดวยเครื่องผสมแบบปด (Kneader) ซึ่งมีปริมาตรของหองเสื้อผสมเทากับ 3 ลิตร มี fill factor ในการผสมเทากับ
0.85 และอุณหภูมิของหองผสมไมเกิน 75 °C ตั้งทิ้งไว 1 คืน กอนนําไปผสมกับกํามะถันดวยเครื่องบดผสมแบบ 2 ลูกกลิ้ง
(Two roll mill) ขนาดเสนผานศูนยกลาง 11.8 นิ้ว Friction ratio เทากับ 1:1.27
ตารางที่1 สูตรตางๆ ของยางคอมเปานด โดยใชระบบการวัลคาไนซแบบกํามะถัน (Sulphur cure)
Zinc Zinc Cobalt
None
Ingredients diacrylate dimethacrylate stearate
(phr)
(phr) (phr) (phr)
RSS no.3 100 100 100 100
ZnO 5 5 5 5
HAF N330 30 30 30 30
Spindle oil 5 5 5 5
Stearic acid 2 2 2 2
Wingstay L 1 1 1 1
TMTD 0.75 0.75 0.75 0.75
CBS 1 1 1 1
Coumarone resin 5 5 5 5
Sulphur 5 5 5 5
Promoters - 10 10 10
Cure time at 150°C
2:30 ± 0.04 11:15 ± 0.70 13:53 ± 0.69 10:33 ± 0.08
(Min : Sec)

3. การเตรียมชิ้นตัวอยางเพื่อนําไปทดสอบสมบัติการติดประสาน (Adhesion properties)


3.1 การเตรียมผิวโลหะ เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการยึดติดระหวางยางกับโลหะ และกําจัดสิ่งสกปรกที่ติดอยูบน
พื้นผิว ไดแก น้ํามัน คราบไขมัน ฝุน และสนิมเปนตน เนื่องจากสิ่งสกปรกเหลานี้เปนสาเหตุหลักที่ทําใหความแข็งแรงของ
พันธะระหวางยางกับโลหะลดลง ในที่นี้ทําการเตรียมผิวของโลหะ 2 แบบ คือ
3.1.1 เตรียมผิวโลหะดวยวิธีทางกล (Physical treatment) โดยใชเครื่องพนทราย พนขัดผิวดวยทราย (sand
blasting) ลงบนแผนโลหะ ซึ่งโลหะแตละชนิดใชเวลาในการพนที่แตกตางกัน โดยโลหะเหล็กใชเวลา 5 นาที/ชิ้น ขณะที่
โลหะอะลูมิเนียมและโลหะทองแดงใชเวลา 2 นาที/ชิ้น หลังจากนั้นกําจัดสิ่งตกคางบริเวณผิวหนาชิ้นโลหะดวยโทลูอีนอีก
ครั้ง เพื่อลางคราบไขมันและกําจัดเศษผงเหล็กออกจากผิวโลหะ ทําใหแหงดวยลมรอน นําชิ้นงานเก็บไวในถุงซิบและตูดูด
ความชื้น กอนนําไปใชงาน

STOU. 4 Grad Research 10


3.1.2 เตรียมผิวโลหะดวยวิธีทางเคมี (Chemical treatment) ใชสารละลายเคมีในการทําความสะอาดพื้นผิว
โลหะ ซึ่งสารละลายเคมีที่ใชในการทําความสะอาดนั้นขึ้นอยูกับชนิดของโลหะ ตัวอยางเชนโลหะเหล็ก ใชสารละลาย
เมทิลแอลกอฮอลและกรดออรโทฟอสฟอริค โลหะอะลูมิเนียมใชโซเดียม-ไดโครเมต กรดซัลฟุริคเขมขน และน้ําปราศจาก
ไอออน และโลหะทองแดงใชกรดไนตริกเขมขน และน้ําปราศจากไอออน หลังจากทําความสะอาดผิวโลหะดวยสารละลาย
เคมีแลว ลางดวยน้ําปราศจากไอออนอีกครั้ง เพื่อกําจัดสารละลายเคมีที่ตกคางอยูบนผิวโลหะกอนที่จะทําใหแหงดวยลม
รอน นําชิ้นงานเก็บไวในถุงซิบและตูดูดความชื้น กอนนําไปใชงาน
(http://www.adhesivestoolkit.com/DocuData/SurfacePreTreatment.xtp, 2550)

3.2 การเตรียมชิ้นทดสอบสมบัติการติดประสาน (Peel test) ตามมาตรฐานASTM D429-03 Method B


นํายางคอมเปานดที่เตรียมไดจากตารางที่ 1 มาอุนยางดวยเครื่องผสมยางสองลูกกลิ้ง (two roll mill) และชั่งยางให
มีน้ําหนักเทากับ 25 กรัม โดยวางแผนโลหะที่มีความหนา 1.6 ± 0.1 มิลลิเมตร กวาง 25 ± 0.05 มิลลิเมตร ยาว 125 มิลลิเมตร
และยางคอมเปานดลงในโมลที่มีขนาด 15.2 x 20.3 เซนติเมตร โดยวางแผนโลหะไวดานลางและวางยางคอมเปานดไว
ดานบนแผนโลหะ ทําการวัลคาไนซยางติดโลหะภายใตอุณหภูมิ 150 °C และเวลาในการวัลคาไนซยางแตละสูตรหาไดจาก
เครื่อง MDR 2000 หลังจากวัลคาไนซยางติดโลหะแลว ควรเก็บชิ้นทดสอบไวที่อุณหภูมิหอง อยางนอย 48 ชั่วโมง กอน
นําไปทดสอบการติดประสาน

4. การทดสอบการติดประสาน (Peel test) ระหวางยางกับโลหะ แตละชนิด ตามมาตรฐาน ASTM D429-03


Method B
การทดสอบการติดประสานเปนการวัดแรงที่ใชดึงแผนยางใหแยกออกจากแผนโลหะ กําหนดเปนมุม 90 องศา
ดวยอัตราความเร็วคงที่ 50 ± 5 มิลลิเมตรตอนาที โดยติดตั้งชิ้นทดสอบเขากับที่จับและใชคัตเตอรกรีดใหยางขาดออกจาก
โลหะลึกประมาณ 2 มิลลิเมตร ตลอดความยาวหนารอยตอกอนเดินเครื่อง เพื่อฉีกแผนยางออกจากแผนโลหะ และบันทึก
แรงดึงสูงสุดที่ใชฉีกยางเปนระยะ 25 มิลลิเมตร เพื่อนําไปวิเคราะหตอไป

ผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย
1. การวิเคราะหผิวหนาของโลหะดวยเครื่อง Optical microscope
ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพผิวหนาโลหะ ดวยเครื่อง Optical microscopeหลังจาก
ทําการเตรียมผิวโลหะดวยวิธีการทางกล (พนทราย) และทางเคมี (จุมสารเคมี) แลวนําไปดูพื้นผิวหลังจากทําการเตรียมผิว
ดวยกลอง Optical microscope ไดผลการทดลอง แสดงไดดังรูปที่ 1

STOU. 5 Grad Research 10


(a) (b) (c)

รูปที่ 1 ลักษณะพื้นผิวของโลหะ (a) กอนเตรียมผิว (b) หลังจากเตรียมผิวดวยวิธีทางกล (c) หลังจากเตรียมผิวดวย


วิธีทางเคมี สองดวยกลอง Optical microscope ที่กําลังขยาย 100 เทา

จากรูปที่ 1 พบวาพื้นผิวของโลหะทั้ง 3 ชนิด ที่เตรียมผิวดวยวิธีทางกลนั้นมีลักษณะผิวที่ขรุขระมากกวาการเตรียม


ผิวทางเคมี จึงทําใหมีพื้นที่ในการยึดติดระหวางยางกับโลหะเพิ่มมากขึ้น จากลักษณะพื้นผิวของแผนโลหะทั้ง 3 ชนิด ที่
เตรียมผิวดวยวิธีทางกล พบวาแผนโลหะที่มีความขรุขระมากที่สุด คือ ทองแดง รองลงมา คือ อะลูมิเนียม และ เหล็ก
ตามลําดับ สําหรับการเตรียมผิวดวยวิธีทางเคมีนั้น พบวาแผนโลหะที่มีความขรุขระมากที่สุด คือ ทองแดง เชนเดียวกับการ
เตรียมผิวดวยวิธีทางกล แตการเตรียมผิวดวยวิธีทางเคมีนั้น โลหะเหล็กเกิดการกัดกรอนไดมากกวาโลหะอะลูมิเนียม จึงทํา
ใหโลหะเหล็กมีความขรุขระมากกวาอะลูมิเนียม แตก็ยังมีความขรุขระนอยกวาโลหะทองแดง
2. การเตรียมผิวโลหะดวยวิธีทางกลและทางเคมี ตอคาการติดประสาน (Adhesion strength) ระหวางยางกับโลหะ
ตามมาตรฐาน ASTM D429-03 Method B
ศึกษาการเตรียมผิวดวยวิธีทางกล (พนทราย) และทางเคมี (จุมสารเคมี) ตอคาการติดประสาน ระหวางยางกับ
โลหะ โดยใชระบบการวัลคาไนซแบบกํามะถันในการเตรียมยางคอมเปานด ที่แปรชนิดสารชวยในการยึดติด (promoters) 3
ชนิดไดแก Zinc diacrylate, Zinc dimethacrylate (Richard and Walter, 1990) และ Cobalt Stearate เปนตน ในปริมาณ 10
phr เทากัน ซึ่งมีการเปรียบเทียบการใช primer และไมใช primer ในการรองพื้นผิวโลหะแตละชนิด ไดผลดังตอไปนี้
2.1 ผลของการติดประสานระหวางยางกับโลหะเหล็กที่แปรชนิดสารชวยในการยึดติด ในปริมาณ
10 phr แสดงไดดังรูปที่ 2

STOU. 6 Grad Research 10


(a) (b)

รูปที่ 2 การเตรียมผิว และชนิดของสารชวยในการยึดติดตอคาความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับ


โลหะเหล็กที่ใชและไมใช primer (a) วิธีทางกล และ (b) วิธีทางเคมี

จากรูปที่ 2 (a) คาความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับโลหะเหล็กที่ผานการเตรียมผิวดวยวิธีทางกล มี


ลักษณะของความลมเหลวแบบแอดฮีซีฟ (Adhesive failure) ระหวาง primer กับโลหะ และพบวา การใสสารชวยในการยึด
ติดลงในยางคอมเปานดนั้นสงผลใหความแข็งแรงในการติดประสานมีคาเพิ่มขึ้นทุกชนิดของสารชวยในการยึดติด ทั้งที่ใช
และไมใชการรองพื้นดวย primer เมื่อพิจารณาคาความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางคอมเปานดที่ใชสารชวยใน
การยึดติดแตละชนิดกับโลหะเหล็ก พบวายางที่ไมใสสารชวยในการยึดติดมีคาการยึดติดที่ดีเมื่อมีการรองพื้นโลหะดวย
primer ทางการคา ในสวนของยางที่ใสสารชวยในการยึดติดนั้น ความแข็งแรงในการติดประสานขึ้นอยูกับชนิดของ primer
กลาวคือ ยางที่ใสสารชวยในการยึดติดชนิด Zinc diacrylate และ Zinc dimethacrylate มีคาการยึดติดที่ดีเมื่อมีการรองพื้น
โลหะดวย primer ทางการคา สวนยางที่ใสสารชวยในการยึดติดชนิด Cobalt stearate มีคาการยึดติดที่ดีและมีคาสูงกวาการ
ใสสารชวยในการยึดติดชนิดอื่นๆ เมื่อรองพื้นผิวโลหะดวย primer จากยางคอมเปานด และจากรูปที่ 2 (b) คาความแข็งแรง
ในการติดประสานระหวางยางกับโลหะเหล็กที่ผานการเตรียมผิวดวยวิธีทางเคมี มีลักษณะของความลมเหลวแบบแอดฮีซีฟ
(Adhesive failure) ระหวาง primer กับโลหะ เชนกันและพบวา การใสสารชวยในการยึดติดลงในยางคอมเปานดนั้น สงผล
ใหความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับโลหะมีคาเพิ่มขึ้นเชนกัน โดยโลหะที่รองพื้นดวย primer จากยางคอม
เปานด และไมมีการรองพื้นดวย primer มีคาเพิ่มขึ้นทุกชนิดของสารชวยในการยึดติดอยางเห็นไดชัด ในการเตรียมผิวดวย
วิธีทางเคมีนี้ มีผลทําใหความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางคอมเปานดที่ใสสารชวยในการยึดติด ชนิด Zinc
diacrylate และ Cobalt stearate กับโลหะเหล็กที่รองพื้นดวย primer ทางการคาเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอย
ความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับโลหะเหล็กที่เตรียมผิวทั้ง 2 วิธี พบวา การเตรียมผิวดวยวิธีทางกล
นั้น มีแนวโนมใหคาความแข็งแรงในการติดประสานที่สูงกวาการเตรียมผิวทางเคมีทุกชนิดของสารชวยในการยึดติด เมื่อมี
การรองพื้นผิวดวย primer ทางการคา ยกเวน ยางที่ใสสารชวยในการยึดติดชนิด Cobalt stearate ที่มีความแข็งแรงในการติด
ประสานสูง เมื่อมีการรองพื้นโลหะดวย primer จากยางคอมเปานด เนื่องจากโลหะเหล็กที่เตรียมผิวดวยวิธีทางกลนั้น มี
พื้นที่ผิวมากกวาการเตรียมผิวทางเคมี จึงทําใหมีพื้นที่ผิวสัมผัสกับยางและ primer ทางการคา มากกวา

STOU. 7 Grad Research 10


2.2 ผลของการติดประสานระหวางยางกับโลหะอะลูมิเนียมที่แปรชนิดสารชวยในการยึดติด ในปริมาณ
10 phr แสดงไดดังรูปที่ 3

(a) (b)

รูปที่ 3 การเตรียมผิวและชนิดของสารชวยในการยึดติดตอคาความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับ
โลหะอะลูมิเนียมที่ใชและไมใช primer (a) วิธีทางกล และ (b) วิธีทางเคมี
จากรูปที่ 3 (a) คาความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับโลหะอะลูมิเนียมที่ผานการเตรียมผิวดวยวิธีทาง
กล มีลักษณะของความลมเหลวแบบแอดฮีซีฟ (Adhesive failure) ระหวาง primer กับโลหะ และพบวา การใสสารชวยใน
การยึดติดลงในยางคอมเปานดนั้นสงผลใหความแข็งแรงในการติดประสานมีคาเพิ่มขึ้นทุกชนิดของสารชวยในการยึดติด
เมื่อมีการรองพื้นโลหะดวย primer จากยางคอมเปานด และ primer ทางการคา ความแข็งแรงในการติดประสานสูงที่สุด
เมื่อใสสารชวยในการยึดติดชนิด Cobalt stearate และรองพื้นโลหะดวย primer ทางการคา รองลงมา คือ การใสสารชวยใน
การยึดติดชนิด Zinc diacrylate และ Zinc dimethacrylate ที่มีการรองพื้นโลหะดวย primer ทางการคา ดวยเชนกัน ในทาง
กลับกันเมื่อพิจารณาเฉพาะการไมใช primer รองพื้นโลหะนั้น พบวา การใสสารชวยในการยึดติดชนิด Cobalt stearate ให
คาความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับโลหะที่ต่ํา สวนการใสสารชวยในการยึดติดชนิด Zinc diacrylate พบวา
ใหคาความแข็งแรงในการติดประสานดีกวาการใสสารชวยในการยึดติดชนิด Cobalt stearate อยางเห็นไดชัด และจากรูปที่
3 (b) คาความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับโลหะ อะลูมิเนียมที่ผานการเตรียมผิวดวยวิธีทางเคมี มีลักษณะของ
ความลมเหลวแบบแอดฮีซีฟ (Adhesive failure) ระหวาง primer กับโลหะ เชนกัน และพบวา ความแข็งแรงในการติด
ประสานมีคาเพิ่มขึ้น เมื่อมีการรองพื้นโลหะดวย primer ทางการคา ทุกชนิดของสารชวยในการยึดติด และรองพื้นโลหะดวย
primer จากยางคอมเปานด เมื่อใชสารชวยในการยึดติดชนิด Zinc diacrylate
ความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับโลหะอะลูมิเนียมที่เตรียมผิวทั้ง 2 วิธี พบวา มีแนวโนมใหคาความ
แข็งแรงในการติดประสานที่เหมือนกัน กลาวคือ ความแข็งแรงในการติดประสานเพิ่มขึ้นเมื่อรองพื้นโลหะดวย primer ทาง
การคาทุกชนิดของสารชวยในการยึดติด แตความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับโลหะที่เตรียมผิวดวยวิธีทางกล
นั้นใหคาความแข็งแรงในการติดประสานสูงกวาการเตรียมผิวดวยวิธีทางเคมีอยางเห็นไดชัด ยกเวน ยางที่ใสสารชวยในการ
ยึดติดชนิด Cobalt stearate ยึดติดกับโลหะที่ผานการเตรียมผิวดวยวิธีทางกล โดยปราศจากการใช primer

STOU. 8 Grad Research 10


2.3 ผลของการติดประสานระหวางยางกับโลหะทองแดงที่แปรชนิดสารชวยในการยึดติด ในปริมาณ
10 phr แสดงไดดังรูปที่ 4

จากรูปที่ 4 (a) คาความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับโลหะทองแดงที่ผานการเตรียมผิวดวยวิธีทางกล


มีลักษณะของความลมเหลวแบบแอดฮีซีฟ (Adhesive failure) ระหวาง primer กับโลหะ และพบวา การใสสารชวยในการ
ยึดติดลงในยางคอมเปานดนั้นสงผลใหความแข็งแรงในการติดประสานมีคาเพิ่มขึ้นทุกชนิดของสารชวยในการยึดติด เมื่อ
รองพื้นโลหะดวย primer ทางการคา ยกเวน การใสสารชวยในการยึดติด ชนิด Zinc diacrylate ใหคาความแข็งแรงในการติด
ประสานดีทุกชนิดของ primer และไมมี primer ก็ตาม และจากรูปที่ 4 (b) คาความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยาง
กับโลหะ ทองแดงที่ผานการเตรียมผิวดวยวิธีทางเคมี มีลกั ษณะของความลมเหลวแบบแอดฮีซีฟ (Adhesive failure) ระหวาง
primer กับโลหะเชนกัน และพบวา การใสสารชวยในการยึดติดลงในยางคอมเปานดนั้นสงผลใหความแข็งแรงในการติด
ประสานมีคาเพิ่มขึ้นทุกชนิดของสารชวยในการยึดติด เมื่อรองพื้นโลหะดวย primer ทางการคา โดยเฉพาะยางที่มีการใส
สารชวยในการยึดติดชนิด Cobalt stearate

(a) (b)

รูปที่ 4 การเตรียมผิว และชนิดของสารชวยในการยึดติดตอคาความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับ


โลหะทองแดงที่ใชและไมใช primer (a) วิธีทางกล และ (b) วิธีทางเคมี

ความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับโลหะทองแดงที่เตรียมผิวทั้ง 2 วิธี พบวา มีแนวโนมใหความ


แข็งแรงในการติดประสานที่เหมือนกัน กลาวคือ ความแข็งแรงในการติดประสานเพิ่มขึ้น เมื่อรองพื้นโลหะดวย primer ทาง
การคา ทุกชนิดของสารชวยในการยึดติด แตความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับโลหะที่เตรียมผิวดวยวิธีทางกล
นั้นใหคาความแข็งแรงในการติดประสานสูงกวาโลหะที่เตรียมผิวดวยวิธีทางเคมี ยกเวน การติดประสานระหวางยางที่ใส
สารชวยในการยึดติด Cobalt stearate กับโลหะที่เตรียมดวยวิธีทางเคมีใหความแข็งแรงในการติดประสานสูงที่สุด

STOU. 9 Grad Research 10


สรุปผลการวิจัย

1. ความแข็งแรงในการติดประสานระหวางโลหะที่เตรียมผิวดวยวิธีทางกลและทางเคมี นั้น มีลักษณะของความ


ลมเหลวแบบแอดฮีซีฟ (adhesive failure) ระหวาง primer กับโลหะ และโลหะที่เตรียมดวยวิธีทางกลนั้นมีแนวโนมใหคา
ความแข็งแรงในการติดประสานระหวางยางกับโลหะที่สูงกวาโลหะที่เตรียมดวยวิธีทางเคมีอยางชัดเจน
2. การใชสารชวยในการยึดติด ชนิด Zinc diacrylate และ Zinc dimethacrylate นั้น เหมาะสําหรับการติดประสาน
ระหวางยางกับโลหะ ทองแดงที่ผานการเตรียมผิวดวยวิธีทางกลมากที่สุด และมีคาความแข็งแรงในการติดประสานเพิ่มมาก
ขึ้น เมื่อมีการรองพื้นผิวดวย primer ทางการคา เชนเดียวกัน
3. การใชสารชวยในการยึดติด ชนิด Cobalt stearate นั้น เหมาะสําหรับการติดประสานระหวางยางกับโลหะทุก
ชนิด แตเหมาะสําหรับการติดประสานระหวางยางกับโลหะอะลูมิเนียมและโลหะทองแดง เมื่อมีการรองพื้นโลหะดวย
primer ทางการคา และเหมาะสําหรับการติดประสานระหวางยางกับโลหะเหล็กเมื่อมีการรองพื้นโลหะดวย primer จากยาง
คอมเปานด

กิตติกรรมประกาศ

ผลงานวิ จั ย ฉบั บ นี้ สํ า เร็ จ ลุ ล ว งไปได ด ว ยดี เพราะได รั บ คํ า ปรึ ก ษางานวิ จั ย ตรวจทานและแก ไ ขการเขี ย น
ผลงานวิ จัย ฉบั บ นี้จ าก ผู ช วยศาสตราจารย ดร. อรสา ภั ท รไพบู ลย ชัย นอกจากนี้ ข อขอบพระคุ ณสํ า นัก งานกองทุ น
สนับสนุนการวิจัย (สกว.) และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ที่ใหการสนับสนุนทุนในการวิจัยครั้งนี้
ขอขอบพระคุณสาขาวิทยาศาสตรพอลิเมอรที่อํานวยความสะดวกในการบริการวัสดุ อุปกรณและเครื่องมือที่ใชในงานวิจัย
เปนอยางดี

บรรณานุกรม

นุชนารถ กังพิสดาร และ อรวรรณ ทองเนื้องาม. (2550). ศักยภาพการผลิตยางของไทย. วารสารยางพารา,ปที่


28 ฉบับที่ 1,หนา 42-52
บุญธรรม นิธิอุทัย และ ชลดา เลวิส. (2544). ยางติดโลหะและการเตรียมผิวโลหะ.วารสารยางและพอลิเมอร,
ปที่ 5 ฉบับที่ 1, หนา 1-5
พงษธร แซอุย. (2548). สารเคมียาง ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค).
American Society for Testing and Material (ASTM) D429-03, Method B-900 Stripping Test
M.A. Ansarifar, J. Zhang, A. Bell and R.J. Ellis. 2002. Role of primer in rubber to nylon 6,6. Journal of
Adhesion & Adhesive, 22, 245-255.
Richard Costin and Walter Nagel. (1990). Metallic coagents for rubber-to-metal adhesion. Sartomer
Company, Inc.Pennsylvania, USA :5530 05/05
www.adhesivestoolkit.com/DocuData/SurfacePreTreatment.xtp

STOU. 10 Grad Research 10

You might also like