You are on page 1of 25

235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

Nonferrous Metal and Alloys

1. คํานํา
บทนี้เปนเรื่องของโลหะอื่นๆ นอกกลุมเหล็กที่สําคัญ ที่วิศวกรควรทราบ โดยเลือกใหเรียนเฉพาะ
โลหะบางตัว ทั้งนี้ใหนักศึกษาอานหนังสือตอไปนี้ประกอบดวย
1.1 ชาญวุฒิ ตั้งจิตวิทยา และสาโรช ฐิติเกียรติพงศ. 2535. วัสดุในงานวิศวกรรม
เอช.เอ็น. การพิมพ. กรุงเทพมหานคร. หนา 161-235
1.2 รศ. แมน อมรสิทธิ์. วัสดุวิศวกรรม. บทที่ 9 หนา 344-373
1.3 เล็ก สีคง. 2543. วัสดุวิศวกรรมและอุตสาหกรรม. คณะวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ที่นักศึกษาทุกคนมีอยูแ ลว หนา 280-325 โดยมีหวั ขอตาง ๆ
ดังนี้
1. อะลูมิเนียม และอะลูมิเนียมผสม (Aluminium and its alloys)
2. แมกนีเซียมและแมกนีเซียมผสม (Magnesium and its alloys)
3. ไทเทเนียมและไทเทเนียมผสม (Titanium and its alloys)
4. ทองแดงและทองแดงผสม (Copper and its alloys)
4.1 การผลิตทองแดง
4.2 ทองเหลือง (Brasses)
4.3 บรอนซ (Bronzes)
4.4 โลหะผสมทองแดง-นิกเกิล
5. นิกเกิลและนิกเกิลผสม (Nickel and its alloys)
5.1 นิกเกิล
5.2 โลหะผสมนิกเกิล-ทองแดง
5.3 โลหะผสมนิกเกิล-โครเมียม-เหล็ก
6. ดีบุก ตะกั่ว และพลวง (Tin, Lead and Antimony)
6.1 ตะกัว่
6.2 ดีบุก
6.3 พลวง
7. สังกะสีและสังกะสีผสม (Zinc and its alloys)

1
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

2
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

2. อะลูมิเนียม (Aluminium)
• ผลิตจากแรบอกไซทโดยใชไฟฟา
• มีคุณสมบัติสําคัญคือ
- ไมเปนสนิม (Good Corrosion Resistance) มี Al2O3 เคลือบผิว
- มีโครงสราง FCC ขึ้นรูปงาย (Ductile, Good manufacturing property)
- นําความรอน นําไฟฟาไดดี (Good electrical conductivity)
- มีน้ําหนักเบา (Light weight)
- อะลูมิเนียมบริสุทธิ์มีความแข็งแรงต่ํา
- สามารถนําธาตุอื่นมาผสมไดหลายธาตุ
• การเพิ่มความแข็งแรง
- โดยการผสมธาตุ (Solid Solution)
- โดยการแปรรูปเย็น (Work Hardening)
- โดยการบมแข็ง (Aged Hardening)
• อะลูมิเนียมผสมแบงเปน กลุมบมแข็งไดและบมแข็งไมได

2.1 แหลงผลิตอะลูมิเนียม

แหลง % Machiner
Equipment

United states 22.8 Building and


5.9%
Transportation
21.1%
Europe 21.7
construction
17.8%

Canada 8.9
Consumer

Latin/South America 8.8 durable 8%

Containers
Asia 5.6 Electrical 9.1% packing
27.4%
Exports 10.6%

Oceania 7.8
Africa 3.1
Others 21.3

2.2 การกํากับชื่อชิน้ งานขึ้นรูปขึน้ รูปของอะลูมิเนียมผสม (Designation for wrought aluminum alloys)


ในป พ.ศ. 2497 สมาคมอะลูมิเนียมแหงอเมริกา (The Aluminum Association of America) ไดจัด
โลหะผสมของอะลูมิเนียมขึน้ รูปเปนหมวดหมูตามสวนผสมและใชเลข 4 หลักเปนสัญลักษณในการกํากับชื่อ
ของโลหะ ในปจจุบันนีก้ ารกํากับชื่อตามนี้เปนที่รูจักและใชกันอยางแพรหลายจนเปนสากลนิยม
ความหมายของระบบเลข 4 หลักมีดังนี้
3
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

เลขหลักที่หนึง่ เปนสัญลักษณที่สําคัญที่สุดในการแสดงกลุมของโลหะผสมซึ่งมีอยู 8 กลุม ตามตาราง


เชน 1XXX แทนโลหะที่มีอะลูมิเนียมไมนอ ยกวา 99.0 เปอรเซ็นต โดยน้ําหนักเปนตน
เลขหลักที่สองใชสําหรับกํากับเมื่อมีการดัดแปลงสวนผสมของโลหะใหผิดไปจากโลหะผสมดั้งเดิม
ตัวเลข 0 แสดงวาเปนโลหะผสมดั้งเดิม ตัวเลข 1-9 แสดงวาเปนสวนที่ไดจากการดัดแปลงใหผิดไปจากเดิม
เชน 2024 (4.5 Cu, 1.5Mg, 0.5Si, 0.1 Cr) เทียบกับ 2218 (4.0 Cu, 2.0 Ni, 1.5 Mg, 0.2 Si) ซึ่งสังเกตไดวาโลหะ
2218 มีนิกเกิลผสมเพิ่มเติมเขาไป
ตัวเลขหลักทีส่ ามและหลักที่สี่ใชแสดงชนิดยอย ๆ ของโลหะผสมที่อยูในกลุมเดียวกัน ความแตกตาง
นี้มักจะเปนสวนผสมที่แตกตางกัน เชน 2014 (4.4 Cu, 0.8 Si, 0.8 Mn, 0.4 Mg) และ 2017 (4.0 Cu, 0.8 Si, 0.5
Mn, 0.5 Mg, 0.1 Cr) เปนตน
เฉพาะอะลูมิเนียมในกลุม 1XXX ตัวหลักที่สามและหลักที่สี่จะแสดงปริมาณของอะลูมิเนียมที่เปนจุด
ทศนิยม 2 ตําแหนง ที่ปรากฎภายหลัง 99 เปอรเซ็นต เชน 1060 และ 1080 หมายถึงอะลูมิเนียมขึ้นรูปที่มี
อะลูมิเนียมอยู 99.60 เปอรเซ็นต และ 99.80 เปอรเซ็นต ตามลําดับ

ตารางสัญลักษณที่ใชแทนอะลูมิเนียมขึ้นรูป
สัญลักษณ ธาตุที่เปนสวนผสมหลักในอะลูมิเนียม
1XXX อะลูมิเนียมที่มคี วามบริสุทธิ์ไมนอยกวา 99.0%
2XXX ทองแดง
3XXX แมงกานีส
4XXX ซิลิคอน
5XXX แมกนีเซียม
6XXX แมกนีเซียม กับ ซิลิคอน
7XXX สังกะสี
8XXX ธาตุอื่น ๆ
9XXX ยังไมมีที่ใช

หมายเหตุ สัญลักษณตัวเลข 4 หลักนี้ ไมมีความเกีย่ วของกับสัญลักษณตวั เลข 4 หลัก ที่ใชในโลหะผสมของ


เหล็กโดยสิ้นเชิง

2.3 การกํากับชื่อชิน้ งานหลอของอะลูมิเนียมผสม (Designation for cast aluminum alloys)


การตั้งชื่อชิ้นงานหลอ (cast alloys) ของอะลูมิเนียมผสมยังไมมีมาตรฐานที่ถือเปนสากลนิยม ใน
สหรัฐอเมริกามีมาตรฐานที่เปนที่ยอมรับกันอยู 2 มาตรฐาน คือ มาตรฐานของ ASTM เชน ASTM B 26, B 85
และ B 108 อีกมาตรฐานหนึ่งเปนมาตรฐานของบริษัทอะลูมิเนียมแหงอเมริกา ซึ่งเปนบริษัทที่ผลิตอะลูมิเนียมที่

4
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

ใหญที่สุดในอเมริกา มาตรฐานของเขาจึงมีอิทธิพลในวงการคามากและเปนที่นยิ มใชมากกวามาตรฐานแรก ใน


ที่นี้จะกลาวเฉพาะการตั้งชื่อโลหะผสมตามระบบของบริษัทหลัง สวนการตั้งชื่อตามระบบ ASTM นั้น สามารถ
ศึกษาไดจากการตั้งชื่อโลหะแมกนีเซียม ซึ่งใชหลักการเดียวกัน
ระบบการตั้งชือ่ อะลูมิเนียมหลอตามมาตรฐานของบริษัทอะลูมิเนียมแหงอเมริกานั้น ใชตัวเลข 2 หลัก
หรือ 3 หลักแทนชื่อโลหะ
ตัวเลข 2 หลักใชแทนโลหะอะลูมิเนียมผสมที่มีซิลิคอนเปนธาตุผสมหลัก สําหรับตัวเลข 3 หลักนั้น
ตัวเลขหลักแรกใชแทนกลุมโลหะผสมที่มีธาตุ ๆ หนึ่งเปนธาตุผสมหลัก เชน 1XX เปนกลุมโลหะผสมของ
อะลูมิเนียมที่มที องแดงเปนธาตุผสมหลัก เปนตน สัญลักษณทใี่ ชแทนธาตุผสมหลักตัวอื่น ๆ ดูไดจากตาราง
โลหะบางตัวอาจมีตัวอักษรภาษาอังกฤษนําหนาตัวเลขที่แทนชื่อของโลหะ เชน A, B,C,D….. ทั้งนี้
เพื่อแสดงวามีการดัดแปลงสวนผสมของโลหะใหผิดไปจากเดิม เพือ่ ใหเหมาะกับเงื่อนไขตาง ๆ เชน วิธีการ
หลอดังตัวอยาง เชน 214 (3.8 Mg) เหมาะสําหรับหลอลงแบบทราย (sand cast) A 214 (3.8 Mg 1.8 Zn) เหมาะ
สําหรับหลอลงแบบโลหะ (permanent mold) ฯลฯ

ตารางแสดงกลุมของอะลูมิเนียมหลอ
Table 3 Cast Alloy Designation System

2.4 Heat Treatment


2.4.1 Solid solution heat treatment
วิธีนี้เรียกสั้น ๆ ไดวา อบละลาย ซึ่งใชหลักที่วา ความสามารถในการละลายเขาเปนเนื้อเดียวกับ
อะลูมิเนียมของธาตุผสมที่สําคัญ อยางเชน ทองแดงนั้นเปนฟงกชันของอุณหภูมิ ที่อุณหภูมิสูง ธาตุผสมละลาย
ไดมากกวาที่อณ ุ หภูมิต่ํา เพราะฉะนั้นถาเผาอะลูมิเนียมที่ผสมทองแดงใหรอนขึ้นไปจนถึง 5400 C เปนเวลานาน
พอใหทองแดงที่ผสมอยูซึ่งไมเกินจุดอิ่มตัวละลายเขาในเนื้อของอะลูมิเนียมใหหมด จากนั้นก็ทําใหอะลูมิเนียม
เย็นตัวอยางรวดเร็วโดยการชุบลงในน้ํา เนื่องจากการเย็นตัวเกิดขึ้นรวดเร็วมาก ทองแดงที่เกินจุดอิ่มตัวที่
อุณหภูมิหองจึงถูกกักอยูใ นเนื้ออะลูมิเนียมและไมมีโอกาสเคลื่อนที่แยกตัวออกจากเนือ้ อะลูมิเนียมเปนเฟสใหม
เมื่อมองในระดับโครงสรางจุลภาค อะตอมของทองแดงถือเปนสิ่งแปลกปนเมื่ออยูในเนื้อของ
อะลูมิเนียมทําใหการเรียงตัวของอะตอมของอะลูมิเนียมบิดเบี้ยวไปจากที่ควรจะเปน กอใหเกิดสเตรน (strain)

5
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

ขึ้น และมีผลใหโลหะสรางแรงตานทานตอแรงทางกลภายนอกที่มากระทําไดมากขึ้น คือโลหะมีความแข็งแรง


มากขึ้นอันเปนผลจากการทีม่ ีทองแดงละลายผสมอยูในเนื้อ (solid solution hardening)

ตารางแสดงสมบัติทางกลของ Al-4.5% Cu ที่ผานการอบใหทองแดงละลายเปนเนือ้ เดียวกับอะลูมิเนียม


เทนไซลสเตรง, ยีลดสเตรง, ความยืด, ความแข็ง
สภาพของโลหะ
ksi ksi ใน 2 นิ้ว, % BHN
เพิ่งไดจากการหลอใหม ๆ 20.1 8.8 7.5 45
อบละลายที่ 5400C 1 ชม. แลวชุบน้ํา 32.2 22.6 5.5 76
อบละลายที่ 5400C 8 ชม.แลวชุบน้ํา 40.2 22.4 14.6 74
อบละลายที่ 5400C 40 ชม. ชุบน้ําแลวทิ้งไว 2 42.3 24 19.0 83
วัน
อบละลายที่ 5400C 40 ชม. ชุบน้ําแลว 35.8 17.4 20.7 62
ทดสอบทันที

2.4.2 Precipitation hardening


วิธีนี้ทําตอเนื่องจากการทําใหธาตุผสมละลายเขาเปนเนือ้ เดียวกับอะลูมิเนียม
ทองแดงที่มีปริมาณเกินจุดอิม่ ตัวแตละลายอยูเปนเนื้อเดียวกับอะลูมิเนียมนั้นไมมีเสถียรภาพ มัน
พยายามกอตัวเปนเฟสใหมแยกตัวออกจากเนื้ออะลูมิเนียม การกอตัวนี้ตองอาศัยการเคลื่อนที่ของทั้งอะตอม
อะลูมิเนียมและของทองแดง แตการเคลื่อนตัวของอะตอมในเนื้อโลหะในสภาพของแข็งทําไดลําบากมาก
ในทางปฏิบัตถิ ือไดวาไมเกิดขึ้น จึงตองมีการเผาใหอะลูมิเนียมรอนขึน้ เพื่อชวยใหอะตอมของธาตุในเนื้อโลหะ
สามารถเคลื่อนตัวไดงายขึ้น อุณหภูมิที่ใชเผาอยูชวง 1500-1800C
เนื่องจากเฟสใหมที่จะเกิดจากทองแดงที่เกินจุดอิ่มตัวกับอะลูมิเนียมบางสวนนั้นมีระบบผลึกแตกตาง
จากระบบผลึกของเนื้ออะลูมิเนียมที่มีอยูเดิม ดังนั้น ในชวงของการจุติของเฟสใหมนี้ อะตอมทั้งของธาตุ
ทองแดงและอะลูมิเนียมตองขยับตัวไปอยูในตําแหนงที่สมดุลของเฟสใหม ความเริ่มไมสอดคลองในเรื่องขนาด
และรูปทรงของผลึกของเฟสใหมและเฟสเกากอใหเกิดสเตรนขึ้นในเนือ้ ของอะลูมิเนียม ทําใหโลหะสามารถ
ตานทานตอแรงกระทําไดสงู ขึ้นคือแข็งแรงมากขึ้น
การทํากรรมวิธีทางความรอนแบบนีจ้ ึงเปนการใหพลังงานที่เหมาะสมเพื่อใหเกิดภาวะของการเริ่มจุติ
เปนเฟสใหมพอดี บางครั้งก็เรียกวิธีการนี้วา การบม (aging)
อนึ่ง ความแข็งแรงของโลหะจะมีมากเฉพาะในชวงที่อยูระหวางขบวนการจุติของเฟสใหมเทานัน้ ถา
ผานพนชวงนีไ้ ปถึงขั้นที่เกิดเฟสใหมเปนรูปเปนรางที่แนชัดจากเนื้ออะลูมิเนียมเดิมแลว อะตอมของธาตุในเฟส
ใหมจะไมเหนีย่ ว (coherent bond) กับอะตอมของธาตุในเฟสเกา หมายความวาไมเกิดสเตรน และความ
แข็งแรงของอะลูมิเนียมจะลดลงกวาเดิม ปรากฎการณนี้เรียกวา การบมมากเกินไป (overaging)

6
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

7
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

The effect of aging time and temperature


on the yield stress of 2014-T4 aluminum
alloy. Note that, for each temperature,
there is an optimal aging time for
maximum strength.

2.4.3 Annealing
วิธีนี้ทําเพื่อใหโลหะคลายสเตรนและสเตรสตกคางตาง ๆ ที่สะสมอยูในเนื้อโลหะภายหลังผานการขึ้น
รูปทางกลมา ผลก็คือ ทําใหโลหะมีความแข็งแรงลดลง แตความเหนียวเพิ่มขึ้นมาก ทําใหสามารถรับการแปร
รูปทางกลเพิ่มขึ้นไดอีกโดยไมเสี่ยงตอการแตกหักและยังใชแรงทางกลนอยลง กรรมวิธีนี้จึงนิยมใชแทรกอยู
ระหวางกรรมวิธีการรีดแผนอะลูมิเนียม ซึ่งเริ่มจากทอนอะลูมิเนียมหนาหลายนิ้ว เพือ่ รีดใหเปนแผน
อะลูมิเนียมหออาหาร หรือหอบุหรี่ เนื่องจากปริมาณการแปรรูปจากวัตถุดิบเริ่มแรกจนเปนผลิตภัณฑสําเร็จรูป
นั้นมีมาก ถารีดไปเรื่อย ๆ โดยไมอบออน สเตรนและสเตรสตกคางในเนื้อโลหะจะมากเกิดไปจนทําใหแผน
อะลูมิเนียมขาดได ดังนั้นจึงตองใชวิธีอบออนแทรกเขาระหวางขบวนการ เพื่อเพิ่มความเหนียวใหอะลูมิเนียม
กอนที่จะเริ่มรีดตอไป

2.5 ชนิดของโลหะอะลูมิเนียม
2.5.1 Commercially pure aluminium
บริสุทธิ์กวา 99.0% โดยน้ําหนัก เหมาะสําหรับการใชงานที่ตองทนตอการเกิดสนิมและขึ้นรูปไดดี
สามารถรีดเปนแผนบางๆ เชน Aluminium foil หรือเกรด EC (Electrical conductivity grade)ที่บริสุทธิ์มาก ใช
ทําสายไฟฟาเปลือย (สายไฟแรงสูง) และ bus bar
ชิ้นงานขึ้นรูปของโลหะนี้จดั อยูในกลุม 1XXX

Fig. 1 Reynolds Heavy Duty Foil product, an example


of aluminum food wrapping products made of
various grades of 1xxx commercially pure aluminum.

8
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

Fig. 2 Aluminum electrical bus bar installation with


1350 bus bar.

2.5.2 Al-Cu alloy (กลุม 2XXX)


แข็งแรงมากโดยการทํา Precipitation hardening (มี Cu 2.5-5.5%) อาจเติม Mg ดวย เกิดสารประกอบ
intermetallic Al2CuMg ทําใหมีความแข็งแรง (tensile strength ∼442MPa) ที่สําคัญไดแก เกรด 2024 (4.5 Cu,
1.5Mg, 0.6Mn) ใชทําโครงสรางเครื่องบิน

Aircraft wing and fuselage structure includes extrusions and plate of 2xxx alloys like 2024, 2124, and
2618 and 7xxx alloys like 7050 and 7475.

9
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

2.5.3 Al-Mn alloy (กลุม 3XXX)


ใชกับงานขึ้นรูป ไมนิยมทํางานหลอเพราะกําลังวัสดุไมสูงนัก Mn ชวยทําใหโลหะ มีกําลังวัสดุ
สูงขึ้น และทนทานตอ Corrosion ใชแทนกลุม 1XXX ที่นิยมมากคือโลหะ 3003 (1.2 Mn) ที่ใชทําเครื่องครัว
ภาชนะอะลูมิเนียมในอุตสาหกรรมอาหาร และคิ้วรถยนต

Bodies of most beverage


cans for beer and soft
drinks are alloy 3004:
Most used Al alloy

Alloy 3003 tubing in large commercial power plant


heat exchanger.

2.5.4 Al-Si alloy (กลุม 4XXX)


Si ชวยใหเบาขึ้น สมบัติการไหลขณะหลอหลอมดีขึ้น หลอชิ้นสวนที่ซับซอนไดคมชัด การหดตัว
หลังการแข็งตัวนอยกําลังวัสดุสูงมากขึ้นและทนตอ corrosion ไดดีมาก เหมาะกับงานหลอ
ตัวอยางการใชไดแก Aluminium 4032 (12 Si, 1Mg 1 Cu 1 Ni) ใชตี (forge) ใหเปนลูกสูบรถยนต
(แทนการหลอ)
โลหะ 13 (12%Si) ใชทําหัวลูกสูบรถยนต และหลองานที่มีผนังบาง ๆ และรูปราง ซับซอน
2.5.5 Al-Mg alloy (กลุม 5XXX)
ไดแก 5052 (2.5 Mg 0.2 Cr) , 5056 (5.2 Mg 0.5 Cr 0.1 Mn) และ 5186 ( 4.5 Mg 0.5 Cr 0.8 Mn) มี
น้ําหนักเบา กําลังวัสดุปานกลาง ทน Corrosion ในบรรยากาศทั่วไปไดดีเลิศ การใชงานคอนขางกวาง (wide
applications) เชนใชเปนโลหะแผนในงานอุตสาหกรรมรถยนต รถบรรทุกและเรือ งานโครงสราง (building and
construction)

Sheet of 5xxx alloys often forms the surface of dome


structures

10
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

Ship Structure Oil Rig

Car body

2.5.6 Al-Mg-Si alloy (กลุม 6XXX)


เกิดสารประกอบ Mg2Si ทําใหแข็งแรงขึ้น ที่สําคัญไดแก เกรด 6061 (0.6Si, 1Mg, 0.3Cu, 0.2Cr)
ขึ้นรูปงายดวยวิธี forging และ extrusion ใชทํากรอบประตูหนาตางกระจก ใชในงานโครงสรางทั่วไป
(complex architectural and structural parts)

2.5.7 Al-Zn alloy (กลุม 7XXX)


ธาตุอัลลอยดไดแก Zn, Mg and Cu เกิดสารประกอบ MgZn2 ทําใหแข็งแรงขึ้น
ที่สําคัญไดแก เกรด 7075 (5.6Zn,2.5Mg,1.6Cu, 0.5Cr) ที่ผานกรรมวิธีทางความรอน T6 มี Tensile strength สูง
มาก (504MPa) เหมาะสําหรับทําโครงสรางเครื่องบิน, drill pipe, automotive and truck bumpers

11
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

Example of a premium forged aircraft part,


usually of alloys such as 7050 or 7175-
T74

Manufacturing Properties and Applications of


Selected Wrought Aluminum Alloys
TABLE 6.4

Characteristics*
Corrosion
Alloy resistance Machinability Weldability Typical applications
1100 A C–D A Sheet metal work, spun hollow ware, tin
stock
2024 C B–C B–C Truck wheels, screw machine products,
aircraft structures
3003 A C–D A Cooking utensils, chemical equipment,
pressure vessels, sheet metal work,
builders’ hardware, storage tanks
5052 A C–D A Sheet metal work, hydraulic tubes, and
appliances; bus, truck and marine uses
6061 B C–D A Heavy-duty structures where corrosion
resistance is needed, truck and marine
structures, railroad cars, furniture,
pipelines, bridge rail-ings, hydraulic
tubing
7075 C B–D D Aircraft and other structures, keys,
hydraulic fittings
* A, excellent; D, poor.

2.6 อะลูมิเนียมผสมสําหรับงานหลอ
กระบวนการหลอ 3 วิธีคือ sand casting, permanent-mold and die-casting
Sand casting: แมพิมพทราย ใชในกรณีที่การผลิตปริมาณนอย การหลองานชิ้นใหญ มีความซับซอน
Permanet-mold casing: แมพิมพโลหะถาวร ไดผลิตภัณฑที่มีโครงสรางเกรนละเอียดกวา และมีความแข็งแรง
มากกวา มีการหดตัวและรูพรุนนอยกวา ชิน้ งานมีความซับซอนทําไดยาก
Die casting: อัตราการผลิตสูงโดยการอัดโลหะที่หลอมเหลวเขาไปในแมพิมพโลหะ เมื่อโลหะแข็งตัวแมพิมพจะ
ถูกเปดออกและผลิตภัณฑทหี่ ลอเสร็จจะถูกนําออกมา เปนระบบอัตโนมัติ ผลิตภัณฑมีความสนบูรณและขนาด
ถูกตองแมนยํา

12
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

3xx.x: Al–Si + Cu or Mg Alloys


นิยมใชในงานหลอมากที่สุด เนื่องจากมี Si ทําใหการไหลของโลหะที่หลอมเหลวดีขนึ้ และความสามารถในการ
ปอนเขาไปในแมพิมพดีขนึ้ ทําใหหลอชิ้นงานที่มีความซับซอนได และเพิ่มความแข็งแรงอีกดวย

Complex 3xx.x castings provide the ability


to obtain exceptionally intricate detail and
fine quality.

Automotive wheels are often cast A356.0-T6

2.6.5 ขอมูลอะลูมิเนียมและวัสดุในอินเทอรเน็ต
ในภาคผนวกนี้ ขอนําเสนอตัวอยางของเว็บไซต (web site) ในเครือขายในพิภพ (world wide web)
ที่เกี่ยวของกับอะลูมิเนียมและวัสดุอื่น ๆ ที่นาสนใจและอาจจะเปนประโยชน (ไมจํากัดเฉพาะอะลูมิเนียมหลอ)

ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับอะลูมิเนียม
หัวขอเรื่อง เว็บไซต
พื้นฐานเกี่ยวกับโลหะอะลูมิเนียม http://scifun.chem.wisc.edu/CHEMWEEK/Aluminum/ALUMINUM.html
สารประกอบของอะลูมิเนียม http://nobel.scas.bcit.bc.ca/resource/ptable/al.htm
Basic Aluminum Facts and http://www.aec.org/cyberg/aluminumoverview.htm
Extractive Metallurgy
จุดเริ่มตนที่ดใี นการศึกษา
อะลูมิเนียม

องคกรและบริษัทเอกชนที่เกี่ยวกับอะลูมิเนียม
หัวขอเรื่อง เว็บไซต
The Aluminum Association, Inc. http://www.aluminum.org/
Cast Aluminum Corporation http://aaacastco.Com/

13
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

GEMTEC Aluminium Products http://www.gemtec.co.za/


3D Guys Aluminum Castings http://www.3dguys.com/castings/
Ahresty-Die Casing Technology http://www.ahresty.com/
Cosworth Technology http://www.cosworth-technology.co.uk/

แหลงขอมูลทางดานวัสดุอนื่ ๆ ที่นาสนใจ
หัวขอเรื่อง เว็บไซต
MatWeb – แหลงคนควาขอมูลเกี่ยวกับวัสดุนับหมื่นชนิด http://matweb.com/
ASM International – องคกรระดับสากลทางดานวัสดุ http://www.asm-intl.org/
Light Metal Age – วารสารเกี่ยวกับโลหะน้ําหนักเบา http://www.lightmetalage.com/index.shtml

3. ทองแดง
• สกัดจากแรซึ่งมีสวนผสมของทองแดงซัลไฟด
• คุณสมบัติสําคัญของทองแดง
- นําความรอน นําไฟฟาไดดมี าก
- ไมเปนสนิม (Good corrosion resistance)
- มีความเหนียวดี (ductile) ขึ้นรูปงาย (Good manufacturing property)
- ผสมกับธาตุอื่นไดดี มีความแข็งแรงปานกลาง
• ธาตุผสมที่สําคัญไดแก
- สังกะสี ทองเหลือง (Brass)
- ดีบุก บรอนซดีบุก (Tin Bronze)
- อลูมิเนียม บรอนซอลูมิเนียม
- แมงกานีส แมงกานีสบรอนซ
- นิกเกิล โมเนลและคูโปนิกเกิล

3.1 ทองแดงบริสุทธิ์
ทองแดงคอนขางบริสุทธิ์ หมายถึง ทองแดงที่มีความบริสุทธิ์ตั้งแต 99.9 เปอรเซ็นตโดยน้ําหนักทัว่ ไป
นําไฟฟาไดดมี าก ใชในอุตสาหกรรมไฟฟา Electrolytic tough-pitch copper (99.95% Cu) (ETP copper) มักถูก
ใชทําเสนลวด แทงทองแดง แผนทองแดง หรือ Oxygen-free high conductivity copper
ทองแดงพวกนี้ใชทําสายไฟฟา บัสบาร (bus bar) หนาสัมผัสไฟฟา หมอน้ํารถยนต

14
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

3.2 Copper alloy


3.2.1 Brass (ทองเหลือง)
มี Zn ไมเกิน 40% ถาเกิน 40% ความเหนียวลดลงจนใชงานไมไดดี
ถา Zn ไมเกิน 15% จะมีสีคลายทองคําดูสวยงามและมีคา จึงใชทําเหรียญตราและเครื่องดนตรี
ทนตอการกัดกรอนไดดี สามารถหลอและขึ้นรูปไดดี ใชทํา plumbing fittings, pipes, rivets

3.2.2 Bronze
a) Tin bronze (ทองสําริด)
ใชทํา Bearing, Bushing (18% Sn) ทําระฆัง

b) Aluminium bronze (บรอนซอะลูมิเนียม (aluminum bronze)


บรอนซอะลูมิเนียม หมายถึงโลหะผสมของทองแดงที่มีอะลูมิเนียมเปนธาตุผสมหลักปริมาณ
อะลูมิเนียมในบรอนซที่นิยมมีประมาณ 9-11 เปอรเซ็นตโดยน้ําหนัก บรอนซชนิดนี้ มีขอดีคือ
- เปนบรอนซที่สามารถชุบแข็งได เทนไซลสเตรงจะขึ้นไดสูงถึง 100 ksi หลังการชุบแลว
- คงกําลังวัสดุไดที่อุณหภูมิสูงถึง 4000C ไดอยางสบาย
- ทนทานตอการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ที่อุณหภูมิสูงเพราะมีอะลูมิเนียม
- ทนทานตอการผุกรอนในภาวะทัว่ ไป
- ทนทานตอการสึกกรอน
- มีสีเหลืองอรามคลายทอง 18 กะรัต ใชทําเครื่องประดับและเครื่องตกแตงได (ทองคํา 100
เปอรเซ็นต มี 24 กะรัต)
ธาตุอื่น ๆ ที่นิยมผสมเขาในบรอนซอะลูมิเนียมไดแก นิกเกิล เหล็ก และ แมงกานีส ธาตุทั้งสาม ตาง
ชวยเพิ่มกําลังวัสดุใหกับบรอนซ นิกเกิลเพิ่มความทนทานตอการผุกรอนใหมากขึน้ ไปอีก เหล็กและแมงกานีส
ชวยทําใหบรอนซนี้มีขนาดของเกรนละเอียด และยังชวยคงความแข็งแรงใหกับโลหะมีอุณหภูมิสูงขึ้นดวย
15
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

โลหะนี้เหมาะสําหรับทําปมที่ใชในงานเหมือง อุปกรณในเรือเดินสมุทร วาลว คอวาลว (valve seat)


สลักและแปนเกลียว เครื่องตกแตง และเครื่องใชไมสอยอื่น ๆ
c) Silicon bronze (บรอนซซิลิคอน )
บรอนซซิลิคอนเปนโลหะผสมระหวางทองแดงกับซิลิคอน โดยทั่วไปมีซิลิคอนประมาณ 1-4% หาก
มีซิลิคอนนอยกวานี้ ผลสืบเนื่องของซิลิคอนที่มีตอบรอนซจะมีไมเดนชัด แตถาซิลิคอนมีมากเกินไปจะทําให
โลหะแข็งมากเกินไปจนขึ้นรูปลําบากมาก
ธาตุอื่นที่ผสมเขาโลหะเพื่อสงเสริมใหมีกําลังวัสดุเพิ่มขึ้นโดยใชปริมาณของซิลิคอนนอยลง ไดแก
เหล็ก แมงกานีส ดีบุก สังกะสี และ นิกเกิล บรอนซชนิดนี้ตองมีตะกัว่ ปนอยูไ มเกิน 0.05 เปอรเซ็นต โดย
น้ําหนัก หากมากกวานี้จะทําใหเปราะแตกหักเมื่อรอน ทําใหการขึ้นรูปรอนทําไดลําบากมาก
บรอนซซิลิคอนเปนบรอนซอีกกลุมหนึ่งทีท่ ําใหกําลังวัสดุสูงมาก ทนทานตอการผุกรอนทั่วไปที่
อุณหภูมิต่ํา และอุณหภูมิสูงไดดีกวาบรอนซดีบุก จึงใชแทนบรอนซดีบุกเมื่อตองการโลหะที่มีคุณภาพดีกวา
โลหะนี้เหมาะสําหรับทําทอในเครื่องไฮดรอริก ทอรอยสายไฟ สลักและแปนเกลียว เพลา หมอตม
ภาชนะใสสารเคมี เปนตน
d) Beryllium bronze (บรอนซเบริลเลียม)
บรอนซชนิดนีเ้ ปนบรอนซอีกกลุมหนึ่งที่สามารถเพิ่มความแข็งไดโดยกรรมวิธีทางความรอนและมี
ความทนทานตอการกัดกรอนดีมาก ทนทานตอการลา นําไฟฟาไดดพี อสมควรและไมเปนสารแมเหล็ก
นอกจากนี้ยังมีสมบัติพิเศษ คือ ไมเกิดประกายไฟเมื่อถูกตีหรือกระทบกระแทก เหมาะสําหรับทําสปริงแผน
ไดอะแฟรม หนาสัมผัสทางไฟฟา ซอคเก็ต (sockets) ทําเครื่องมือในงานขุดเจาะระเบิด (non-sparking tools)
และชิ้นสวนทางโครงสรางอื่น ๆ ที่ตองการกําลังวัสดุมาก ๆ
e) Chromium bronze
บรอนซโครเมียมคือ โลหะผสมระหวางทองแดงกับโครเมียม สวนผสมที่นิยม คือ 1 เปอรเซ็นต
โครเมียม บางครั้งก็เรียกวาทองแดงโครเมียม (chromium copper) บรอนซชนิดนี้มีคาการนําไฟฟาสูงและมี
กําลังวัสดุสูง เหมาะจะใชงานที่มีอุณหภูมสิ ูง
ตัวอยางการใชงานที่สําคัญ คือ เปนหนาสัมผัสทางไฟฟา และชิ้นสวนทางโครงสรางที่เปนตัวนํา
ไฟฟาดวย (1%Cr)
3.2.3 Cu-Ni alloy
ทองแดงอาจมีนิกเกิลผสมอยูป ระมาณ 4-30 เปอรเซ็นต โดยน้ําหนักเพือ่ ใหมีกําลังวัสดุสูง ทนทานตอ
การผุกรอนไดดีมาก ใชทําทอกลั่น (condenser tube) ปลอกกระสุนปน ลูกกุญแจ เนื่องจากโลหะนี้มีคณ ุ คา
ของมันพอสมควร จึงนิยมใชทําเหรียญกษาปณ เชน เหรียญบาท และเหรียญหาบาท
นิกเกิลเงิน (nickle silver) ที่จริงเปนโลหะผสมระหวางทอแดง สังกะสี และนิกเกิล ไมมีสวนผสม
ของเงินอยูเลย ที่เรียกชื่อนี้เปนเพราะโลหะชนิดนี้มีสีขาวคลายเงิน การใชงานในชวงแรก ๆ ของการคนพบสวน
ใหญใชแทนภาชนะที่ทําดวยเงิน ทําใหไดโหละที่มีราคาถูกลง แตยังมีสีสันที่นานิยมใช และดูมีคุณคา ที่จริงสี

16
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

ของนิกเกิลเงินอาจไมเปนสีขาว แตจะมีสีออกชมพูเรื่อ ๆ หรือฟาเรื่อ ๆ หรือเหลืองเรื่อ ๆ ก็ได ขึ้นอยูกบั


สวนผสมของนิกเกิลสังกะสี และทองแดงที่อยูในโลหะนั้น
โลหะนี้เหมาะสําหรับทําเครื่องประดับ ซิป ถาด จาน ชอน สอม อุปกรณในกลองถายรูป แผนปาย
ฯลฯ

Properties and Typical Applications of Selected


Wrought Copper and Brasses
TABLE 6.6
Ultimate
tensile Yield Elongation
Type and UNS Nominal strength strength in 50 mm
number composition (%) (MPa) (MPa) (%) Typical applications
Electrolytic tough pitch 99.90 Cu, 0.04 O 220–450 70–365 55–4 Downspouts, gutters, roofing,
copper (C11000) gaskets, auto radiators, busbars,
nails, printing rolls, rivets
Red brass, 85% 85.0 Cu, 15.0 Zn 270–725 70–435 55–3 Weather-stripping, conduits,
(C23000) sockets, fas-teners, fire
extinguishers, condenser and heat
exchanger tubing
Cartridge brass, 70% 70.0 Cu, 30.0 Zn 300–900 75–450 66–3 Radiator cores and tanks, flashlight
(C26000) shells, lamp fixtures, fasteners,
locks, hinges, ammunition
components, plumbing accessories
Free-cutting brass 61.5 Cu, 3.0 Pb, 340–470 125–310 53–18 Gears, pinions, automatic high-
(C36000) 35.5 Zn speed screw machine parts
Naval brass 60.0 Cu, 39.25 Zn, 380–610 170–455 50–17 Aircraft turnbuckle barrels, balls,
(C46400 to C46700) 0.75 Sn bolts, marine hardware, propeller
shafts, rivets, valve stems,
condenser plates

Properties and Typical Applications of Selected


Wrought Bronzes
TABLE 6.7
Ultimate
tensile Yield Elongation
Nominal strength strength in 50 mm
Type and UNS number composition (%) (MPa) (MPa) (%) Typical applications
Architectural bronze 57.0 Cu, 3.0 Pb, 415 (As 140 30 Architectural extrusions, store
(C38500) 40.0 Zn extruded) fronts, thresholds, trim, butts,
hinges
Phosphor bronze, 5% A 95.0 Cu, 5.0 Sn, 325–960 130–550 64–2 Bellows, clutch disks, cotter pins,
(C51000) trace P diaphragms, fasteners, wire
brushes, chemical hardware, textile
machinery
Free-cutting phosphor 88.0 Cu, 4.0 Pb, 300–520 130–435 50–15 Bearings, bushings, gears, pinions,
bronze (C54400) 4.0 Zn, 4.0 Sn shafts, thrust washers, valve parts
Low silicon bronze, B 98.5 Cu, 1.5 Si 275–655 100–475 55–11 Hydraulic pressure lines, bolts,
(C65100) marine hardware, electrical
conduits, heat exchanger tubing
Nickel silver, 65–10 65.0 Cu, 25.0 Zn, 340–900 125–525 50–1 Rivets, screws, slide fasteners,
(C74500) 10.0 Ni hollow ware, nameplates

17
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

4. สังกะสี (Zinc)
ก. สังกะสีหลอ
ข. สังกะสีฉาบบนเหล็ก
i) hot dip galvanizing
ii) electrogalvanizing
iii) Sherardizing
iv) Spraying
ค. Sacrificial electrode
ใชทําแทง electrode ใหผแุ ทนเหล็ก เปนการปองกันการผุกรอนของโครงสรางเหล็ก

4.1 การใชงานทั่ว ๆ ไป (คัดจากเอกสารประชาสัมพันธของบริษัทผาแดงอินดัสตรีจํากัด (มหาชน)


4.1.1. ใชในอุตสาหกรรมชุบเหล็ก
เนื่องจากสังกะสีมีคุณสมบัติทนตอการผุกรอนไดดี ดังนั้นเพื่อปองกันไมใหความชื้นและอากาศเขาถึง
เนื้อเหล็กจนทําใหเหล็กเกิดสนิม อุตสาหกรรมเหล็กชุบในประเทศไทยจึงนิยมใชโลหะสังกะสีมาเปนตัวเคลือบ
ชุบเหล็กกลา เชน ใชในอุตสาหกรรมแผนเหล็กชุบสังกะสี ลวดเหล็กชุบสังกะสี ขอตอทอเหล็กชุบสังกะสี ขอ
ตอทอเหล็กชุบสังกะสี ลวดเหล็กชุบสังกะสี เปนตน โดยรอยละ 70 สังกะสีภายในประเทศจะถูกนํามาใชใน
อุตสาหกรรมดังที่กลาวมานี้
4.1.2. ใชในอุตสาหกรรมทองเหลือง
ทองเหลืองเปนโลหะผสมที่เกิดจากการนําเอาทองแดงมาผสมสังกะสี โลหะทองเหลืองมีความ
แข็งแกรง ทนตอการผุกรอน สามารถนํามาขึ้นรูปหรือหลอผลิตภัณฑตาง ๆ ไดจึงนิยมใชทําอุปกรณตกแตงบาน
ภาชนะ และเครื่องประดับตาง ๆ ในประเทศไทยมีการใชโลหะสังกะสีในอุตสาหกรรมทองเหลืองประมาณรอย
ละ 11 ของปริมาณการใชโลหะสังกะสีทั้งหมด
4.1.3. ใชอุตสาหกรรมโลหะผสมสังกะสี (Die Casting Alloy No.3, Zamak – 3)
โลหะผสมสังกะสี คือ โลหะผสมที่มีสังกะสีเปนเนื้อหลักมีธาตุอื่น ๆ เชน อะลูมิเนียมและแมกนีเซียม
ผสมเขาไปดวยทําใหมีความแข็งแกรงกวาโลหะสังกะสีธรรมดา ทนตอการผุกรอนไดดี นํามาหลอเปนรูปตาง
ๆ ไดงาย และคงขนาดแมนยํา จึงใชมากในอุตสาหกรรมหลอผลิตภัณฑ เชน คารบูเรเตอร มือจับประตู
ของเด็กเลน ตะแกรงหนาของรถยนต บานพับประตู เปนตน
4.1.4 ใชในอุตสาหกรรมสังกะสีออกไซด (Zinc Oxide)
สังกะสีออกไซด คือสารประกอบของสังกะสีที่มีสภาพเปนแปงหรือผงใชในอุตสาหกรรมยาง สี
เซรามิค ยา และ อาหารสัตว สังกะสีออกไซดเกิดจากการนําสังกะสีมาหลอมละลายจนระเหยกลายเปนไอ เมื่อ
สังกะสีกระทบกับอากาศจะรวมตัวกับออกซิเจนกลายกลายเปนออกไซดซึ่งมีลักษณะเปนแปงหรือผง มีขนาด

18
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

แตกตางกันไปตามลักษณะของการใชงาน ในประเทศไทยมีการใชโลหะสังกะสีในอุตสาหกรรมสังกะสี
ออกไซดประมาณรอยละ 11 ของปริมาณการใชโลหะสังกะสีทั้งหมดภายในประเทศ
4.1.5 ใชในอุตสาหกรรมปลอกถานไฟฉาย
ปลอกถานไฟฉายทําจากโลหะผสมสังกะสีที่มีปริมาณของแคดเมียมรอยละ 0.05 และปริมาณเหล็กไม
เกินรอยละ 0.005 การที่มีปริมาณของเหล็กต่ํา ก็เพื่อชวยลดการผุกรอนของปลอกถานไฟฉายทําใหเก็บไวได
นาน สวนการเติมแคดเมียมเพื่อชวยใหโลหะผสมสังกะสีขึ้นรูปเปนปลอกถานไฟฉายไดงายขึ้นในประเทศไทย
ใชโลหะสังกะสีมาทําปลอกถานไฟฉายรอยละ 6 ของปริมาณการใชโลหะสังกะสีทั้งหมด

4.1.6 ประโยชนของแคดเมียม
1. ใชในอุตสาหกรรมตอเรือเปนตัวชุบเหล็กกลากันสนิม
2. ใชในอุตสาหกรรมแกวเซรามิค เม็ดพลาสติก โดยใชเปนรงควัตถุที่ใชสีสดใสโดยเฉพาะสีแดง สี
เหลือง

19
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

3. ใชในอุตสาหกรรมของเด็กเลน
4. ใชในอุตสาหกรรมพีวีซีทําใหมีความทนทานไมแตกงาย
5. ใชในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ที่สามารถอัดไฟฟาเขาใหมได เชน ถานนิคเคิลแคดเมียม

5. ตะกั่ว – ดีบุก - พลวง


5.1 ตะกั่ว (Lead)
ตะกัว่ เปนโลหะที่มีความหนาแนนมาก หนักแตออนนิ่มและเหนียว ขึ้นรูปไดงาย จุดหลอมเหลวต่ํา
และทนทานตอการกัดกรอนไดดี ใชทําแผนตะกัว่ ในหมอแบตเตอรี่รถยนต ความหนักของตะกัว่ มีประโยชน
สําหรับใชทําน้ําหนักถวงความสมดุล ตะกัว่ ยังใชทําฉากปองกันกัมมันตรังสีตาง ๆ แผนตะกัว่ ใชบุตามผนังหอง
และพื้นเพื่อเก็บเสียงและลดการสั่นสะเทือน สารประกอบของตะกั่วใชผสมในน้ํามันเบนซินเพื่อใหมีออกเท
นสูง นอกจากนี้ยังใชผสมในสีและในหมึกพิมพ
พลวง (Antimony) เมื่อผสมปนในเนื้อตะกั่ว ชวยทําใหมีความแข็งแรงสูงกวาตะกั่วธรรมดา ซึ่งใชทํา
ตะกัว่ แผนสําหรับทําปลอกหุมรอยเชื่อมตอของสายสงไฟฟาและสายโทรศัพท แคลเซียมยังอาจผสมเขาไปใน
ตะกัว่ เพื่อเพิ่มสมบัติความตานทานตอการเกิดครีพของตะกัว่ นิยมใชทําทอระบายน้าํ ที่มีฤทธิ์กัดกรอนมาก ๆ ใน
โรงงานทําสารเคมี
ตะกัว่ ที่มีดบี ุกผสมอยูประมาณ 10-25 เปอรเซ็นต มีชื่อทางการคาวา Terne Metals เหมาะสําหรับใช
เปนโลหะสําหรับอาบบนแผนเหล็กที่จะนําไปทําถังเก็บน้าํ มัน โลหะผสม 80 Pb-20 Sn ใชทําสีโปวรถเพื่อลบ
รอยตอและรอยขีดขวนตาง ๆ
5.2 ดีบุก (Tin)
ดีบุกเปนโลหะที่มีจุดหลอมเหลวต่ํา เนื้อออน แตทนทานตอการกัดกรอนไดดีมาก ไมเปนพิษ จึงใช
ฉาบบนแผนเหล็กเพื่อทํากระปองบรรจุอาหาร ในงานวิศวกรรมใชดีบุกมากในการทําโลหะบัดกรี แบริ่งและ
ผสมในตะกัว่ ฯลฯ

5.3 พลวง (Antimony)


พลวงบริสุทธิ์เปนโลหะที่แข็งเปราะมาก จึงไมคอยมีที่ใชงาน พลวงถูกใชมากในรูปที่เปนธาตุผสม
ในตะกั่ว และดีบุก เพื่อเพิ่มความแข็งแรง

5.4 ตัวอยางการใชงาน
ก. โลหะหลอตัวพิมพ เปนโลหะผสมตะกัว่ -ดีบุก-พลวง เชน 86 Pb-3Sn-11Sb (Linotype)
ข. โลหะทําแบริ่ง
Lead babbitts ตะกัว่ เปนหลัก มีดีบุก พลวงปน
Tin babbetts ดีบุกเปนหลัก ผสมกับพลวงและทองแดงโดยอาจมีตะกัว่ ปนดวยก็ได

20
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

ค. Solders (โลหะบัดกรี) ดีบุก-ตะกัว่


ง. Pewter ดีบุกสวนใหญมพี ลวง 1-8% ทองแดง 0.25-3% ใชทําของที่ระลึก แจกัน เหยือก
จ. ฟวสไฟฟา ตะกัว่ -ดีบุก-บิสมัส อาจมี Indium และ Cadmium ปนดวย

6. นิกเกิล (Nickel)
6.1 Nickel and low alloy nickel (นิกเกิลและนิกเกิลผสมนอย)
นิกเกิลคอนขางบริสุทธิ์ไดรับการใชงานในอุตสาหกรรมเคมี เชน โรงงานทําโซดาไฟ อุตสาหกรรม
ประกอบอาหาร และชิ้นสวนในวงจรอิเล็กทรอนิกส นิกเกิลผสมนอยที่นิยมใชกันไดแกพวกที่ผสมดวย
อะลูมิเนียมประมาณ 4.5 เปอรเซ็นต และมีชื่อทางการคาวา ดิวรานิกเกิล (duranickel) อะลูมิเนียมชวยเพิ่มเทน
ไซลและยีลดสเตรงของนิกเกิลไดมากถึงประมาณ 3 ถึง 10 เทาตามลําดับ จัดเปนพวกที่มีกําลังวัสดุสูง เหมาะ
สําหรับทําสปริง แผนไดอะแฟรม ฯลฯ
นิกเกิลที่ผสมดวยแมงกานีสประมาณ 4.5 เปอรเซ็นต มีชื่อทางการคาวาดีนกิ เกิล (D-nickel) เปนพวก
ที่เหมาะสําหรับใชงานในบรรยากาศที่มีซัลเฟอรปนอยูไดดี นิยมใชทําเขี้ยวหัวเทียนของเครื่องยนตและสายไฟ
หัวเทียน
นิกเกิลเกรดทีใ่ ชหลอทําอุปกรณตาง ๆ ที่ตองใชกับสารเคมีอยางเชน โซดาไฟ เปนพวกที่มีธาตุผสมอยู
อยางละเล็กละนอยเพื่อทําใหสมบัติหลอหลอมดีขึ้น

6.2 High alloy nickel (กลุมโลหะนิกเกิลผสมมากที่ทนทานตอการกัดกรอนจากสารเคมี)


นิกเกิลกลุมนีไ้ ดแก โมเนล (monel) และ แฮสเทลลอย (hastelloy)
โมเนล เปนโลหะผสมระหวางนิกเกิลกับทองแดงในอัตราสวนประมาณ 2 : 1 โดยน้ําหนัก ธาตุผสม
อื่น ๆ ที่สําคัญ คือ เหล็ก แมงกานีส และอะลูมิเนียม โมเนลมีความทนทานตอกรดเกลือและน้ําทะเลไดดีมากจึง
ใชทําภาชนะอุปกรณสําหรับงานดานนี้ เชนทําทอและชิ้นสวนในเครือ่ งสงผานความรอน ทําชิ้นสวนของวาลว
ของปม ทําสปริง ฯลฯ นอกจากนี้โมเนลยังไมดูดติดแมเหล็ก จึงใชทําชิ้นสวนทีต่ องใชในที่อณ
ุ หภูมิสูงและ
ตองไมเปนแมเหล็กในอากาศเย็น
แฮสเทลลอยเปนโลหะผสมระหวางนิกเกิลกับโมลิบดินัมเปนหลัก (ยกเวนแฮสเทลลอย-ดี ซึ่งไมมีโม
ลิบดินัมผสมอยู) เปนโลหะผสมที่มีชื่อเสียงในดานทนทานตอการถูกกัดกรอนจากสารเคมีไดดมี าก (ยกเวน
บรรยากาศเฉพาะที่หมายเหตุไวในตารางขางลางนี้)

21
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

ตัวอยางนิกเกิลผสมมากที่นยิ มใชในงานวิศวกรรม
เทนไซลสเตรง ยีลดสเตรง ความยืด
ชื่อ สวนผสมที่สําคัญ หมายเหตุ
(ksi) (ksi) (%)
โมเนล 400 67 Ni-32Cu 70-90 25-50 35-60
โมเนล K-500 67Ni-30Cu-3Al 130-190 85-160 15-35
แฮสเทลลอยเอ 57Ni-20Mo-20Fe 110-120 47-52 40-48 หามใชในบรรยากาศ
(อบออน) แบบออกซิไดซิ่งและ
กับกรดเกลือรอน ๆ
แฮสเทลลอย บี 60Ni30Mo-5Fe 130140 56-63 50-55 ทนทานตอกรดเกลือ
(อบออน) รอน ๆ แตยังหามใช
ในบรรยากาศแบบ
ออกซิไดซิ่ง
แฮสเทลลอย ซี 54Ni-17Mo-15Cr-5Fe- 120-130 55-65 40-50 ทนทานตอกรดออก
4W (อบออน) ซี่และบรรยากาศ
ออกซิไดซิ่งไดดี
แฮลเทลลอย ดี 84Ni-10Si-4Cu-1Mn- 110-125 - 0.2 ไมมีโมลิบดีนัมผสม
1Cr (สภาพหลอ) อยู เปราะมากใชกับ
กรดกํามะถันเดือด
ไดดี และตอการสึก
กรอนไดดีมาก

6.3 Ni-baseSuperalloys (ซูปเปอรแอลลอยกลุมนิกเกิล)


ซูปเปอรแอลลอย หมายถึง กลุมโลหะที่สามารถคงความแข็งแรงไดจนถึงอุณหภูมิสูงถึงประมาณ
10000C พวกที่ใชกันมากมี 3 กลุมคือ
(1) กลุมเหล็กไรสนิมที่มีนิกเกิลผสมอยูมากเปนพิเศษ
(2) ซูปเปอรแอลลอยกลุมนิกเกิล
(3) ซูปเปอรแอลลอยกลุมโคบอลต

บทนี้จะกลาวเฉพาะซูปเปอรแอลลอยกลุมนิกเกิล
ซูเปอรแอลลอยในงานวิศวกรรมแตละตัวมีชื่อทางการคาหลายชื่อ ซึ่งเรียกตามชื่อทีบ่ ริษัทผูผลิตไดตั้ง
ไว ชื่อเหลานี้เปนเครื่องหมายการคาจดทะเบียนแลวแทบทั้งสิ้น ตัวอยางซูปเปอรแอลลอยนิกเกิลบาง
สังเกตวา ซูเปอรแอลลอยมีธาตุตาง ๆ ผสมอยูมาก ตัวที่สําคัญมากคือโครเมียม ซึ่งทําหนาที่ปอ งกัน
ไมใหโลหะถูกออกซิไดซในที่อุณหภูมิสงู ทั้งยังชวยเพิม่ ความแข็งแรง ธาตุผสมสามัญอื่นๆ ไดแก C, Al, Ti,
Mo, B, Zr และ Nb ธาตุเหลานี้ชวยกันสงเสริมใหโลหะมีความแข็งแรงในที่อุณหภูมสิ ูง ขอเสียของการผสมธาตุ

22
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

มาก ๆ ในนิกเกิลก็มีคือ ในบางภาวะธาตุเหลานี้จะรวมตัวกันเปนสารประกอบและเกิดเปนเฟสที่เปราะขึ้นใน


เนื้อโลหะ ทั้งยังทําใหความทนทานตอการถูกกัดกรอนลดลง
ซูเปอรแอลลอยเปนโลหะทีม่ ีราคาคอนขางแพง เพราะทั้งตัวโลหะหลักและธาตุผสมตางมีราคาแพง
งานวิศวกรรมนิยมใชซูเปอรแอลลอยของนิกเกิล ทําชิ้นสวนและใบของเครื่องยนตเจท (jet) และในเครื่องยนต
กังหันกาซในโรงไฟฟา

6.4 Nickel alloy ที่ใชทําลวดความตานทานไฟฟา


ที่นิยมใชกันมี 3 กลุมคือ ไนโครม ไนโครมที่ผสมเหล็ก และคอนแสตนแทน (constantan) ดังใน
ตารางตอไปนี้

โลหะผสมของนิกเกิลที่ใชทําลวดความตานทานไฟฟา
ความตานทานไฟฟา
เทนไซลสเตรง ความยืด
ชื่อ สวนผสมที่สําคัญ ที่ 200 C ไมโคร
ksi (ที่6500C) (%)
โอหม-ซม.
ไนโครม 80Ni-20Cr 108 90 20
ไนโครมผสมเหล็ก 60Ni-24Fe-16Cr 112 38 13
35Ni-45Fe-20Cr 10 36 20
คอนสแตนแทน 45Ni-55Cu 50 - -
หมายเหตุ คอนสแตนเทนมีสัมประสิทธิ์การเปลี่ยนแปลงของความตานทานไฟฟาเมื่อเทียบกบอุณหภูมินอย
มาก จึงนิยมใชทําลวดวัดอุณหภูมิ (thermocouple wire) ดวย
Properties and Typical Applications of Selected
Nickel Alloys
TABLE 6.8 Properties and Typical Applications of Selected Nickel Alloys (All are Trade Names)
Ultimate
tensile Yield Elongation
Nominal strength strength in 50 mm
Type and UNS number composition (%) (MPa) (MPa) (%) Typical applications
Nickel 200 (annealed) None 380–550 100–275 60–40 Chemical and food processing
industry, aerospace equipment,
electronic parts
Duranickel 301 4.4 Al, 0.6 Ti 1300 900 28 Springs, plastics extrusion equipment,
(age hardened) molds for glass,
diaphragms
Monel R-405 (hot 30 Cu 525 230 35 Screw-machine products, water meter
rolled) parts
Monel K-500 29 Cu, 3 Al 1050 750 30 Pump shafts, valve stems, springs (age
hardened)
Inconel 600 (annealed) 15 Cr, 8 Fe 640 210 48 Gas turbine parts, heat-treating 23
equipment, electronic parts, nuclear
reactors
Hastelloy C-4 (solution- 16 Cr, 15 Mo 785 400 54 High temperature stability, resistance
treated and quenched) to stress-corrosion cracking
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

Properties and Typical Applications of Selected


Nickel-Base Superalloys at 870 °C
TABLE 6.9 Properties and Typical Applications of Selected Nickel-Base Superalloys at 870 °C
(1600 °F) (All are Trade Names)
Ultimate
tensile Yield Elongation
strength strength in 50 mm
Alloy Condition (MPa) (MPa) (%) Typical applications
Astroloy Wrought 770 690 25 Forgings for high temperature
Hastelloy X Wrought 255 180 50 Jet engine sheet parts
IN-100 Cast 885 695 6 Jet engine blades and wheels
IN-102 Wrought 215 200 110 Superheater and jet engine parts
Inconel 625 Wrought 285 275 125 Aircraft engines and structures,
chemical processing equipment
lnconel 718 Wrought 340 330 88 Jet engine and rocket parts
MAR-M 200 Cast 840 760 4 Jet engine blades
MAR-M 432 Cast 730 605 8 Integrally cast turbine wheels
René 41 Wrought 620 550 19 Jet engine parts
Udimet 700 Wrought 690 635 27 Jet engine parts
Waspaloy Wrought 525 515 35 Jet engine parts

7. โลหะผสมไทเทเนียม (Ti alloys)


คอนขางมีน้ําหนักเบา ความแข็งแรงสูง (high strength-to-weight ratio) ทนตอการกัดกรอนไดดี ราคาแพง ที่ใช
กันมากที่สุดคือ Ti-6Al-4V ใชในงานทางดานอวกาศ Used in many aerospace airframe and engine component
and also major non-aerospace applications in the marine, offshore and power generation industries

Aerospace and aircraft applications

Sport Products

24
235-230 Engineering Materials : Nonferrous metal

Biomedical

Cross-section of a jet engine


(PW2037) showing various
components and the alloys used
in manufacturing them.

Properties and Typical Applications of Selected


Wrought Titanium Alloys
TABLE 6.10 Properties and Typical Applications of Selected Wrought Titanium Alloys at Various
Temperatures
Nominal Ultimate Ultimate Elonga-
compos- tensile Yield Reduc- tensile Yield tion in Reduc-
ition strength strength Elonga- tion of Temp. strength strength 50 mm tion of
(%) UNS Condition (MPa) (MPa) tion (%) area (%) (°C) (MPa) (MPa) (%) area Typical Applications
99.5 Ti R50250 Annealed 330 240 30 55 300 150 95 32 80 Airframes; chemical,
desalination, and
marine parts; plate
type heat exchangers
5 Al, R54520 Annealed 860 810 16 40 300 565 450 18 45 Aircraft engine
2.5 Sn compressor blades and
ducting; steam turbine
blades
6 Al, R56400 Annealed 1000 925 14 30 300 725 650 14 35 Rocket motor cases;
4V blades and disks for
aircraft turbines and
compressors;
structural forgings and
fasteners; orthopedic
implants
425 670 570 18 40
550 530 430 35 50
Solution + 1175 1100 10 20 300 980 900 10 28
age
12 35
22 45
13 V, R58010 Solution + 1275 1210 8 — 425 1100 830 12 — High strength
11 Cr, age fasteners; aerospace
3 Al components;
honeycomb panels

25

You might also like