You are on page 1of 9

การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่ งชาติ ครั้งที่ 19 19th National Convention on Civil Engineering

วันที่ 14-16 พฤษภาคม 2557 จ. ขอนแก่ น 14-16 May 2014, KhonKaen, THAILAND

เกณฑ์ ความปลอดภัยสํ าหรับเครื่องมือวัดพฤติกรรมในเขื่อนดินถม


ต่ อการพิบัติเนื่องจากการกัดเซาะภายใน
The Safety Criteria for Geotechnical Instruments
on the Internal Erosion in Embankment Dams

ชิโนรส ทองธรรมชาติ1,* และ ดนัย วัฒนาดิลกกุล2

1
ศูนย์ วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ.กรุ งเทพฯ
2
กองความปลอดภัยเขื่อนฝ่ ายบํารุ งรั กษาโยธาการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่ งประเทศไทย จ.นนทบุรี

บทคัดย่ อ internal erosion process for the dam interpretation by geotechnical


instruments in order to evaluate the safety of embankment dam. Three
กลไกของการพิบตั ิของเขื่อนดิ นถมเนื่ องจากการกัดเซาะภายในได้ถูก
levels of safety criteria, namely normal, alert and alarm are established to
ศึ ก ษามาอย่างต่อ เนื่ องในทศวรรษที่ ผ่านมา โดยทบทวนข้อ มู ล ทั้งจาก
indicate the safety status of the dam based on the seepage behavior of the
ประวัติการพิบตั ิของเขื่อน ผลการทดสอบในห้องปฏิ บตั ิการ และทฤษฎี
dam.
การไหลซึ ม ที่ พ ฒ ั นาไปอย่างมาก ในปี ค.ศ. 2013 ICOLD ได้เ สนอ
Bulletin ที่สรุ ปกระบวนการพฤติกรรมการกัดเซาะภายในเขื่อนดิ นถม อัน Keywords: internal erosion, dam safety criteria, dam instruments
ประกอบด้วย การเริ่ มต้น การต่อเนื่ อง การขยายตัว จนกระทัง่ นําไปสู่ การ
พิบตั ิ ไว้อ ย่า งน่ า สนใจ การศึ ก ษานี้ ไ ด้นํา กระบวนการเกิ ดการกัด เซาะ 1. คํานํา
ภายในมาประยุก ต์ใ ช้กบั การแปลผลจากเครื่ องมื อวัดพฤติ ก รรมเขื่ อนที่ ในอดีตที่ผา่ นมา หน่วยงานที่ดูแลความมัน่ คงปลอดภัยเขื่อนของไทย
ติดตั้งไว้ เพื่อระบุความปลอดภัยของเขื่ อนดิ นถม และจัดทําเกณฑ์ความ ทั้งราชการและรัฐวิสาหกิจ มีความพยายามในการกําหนดเกณฑ์ของค่าที่
ปลอดภัยเขื่อนขึ้น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับปกติ ระดับเฝ้ าระวัง และระดับ อ่านได้จากเครื่ องมื อวัดพฤติ กรรมเขื่อน สําหรั บใช้บ่งบอกความผิดปกติ
แจ้งเตือน เพื่อใช้อธิ บายสถานะความปลอดภัยของเขื่อนตามกระบวนการ ของข้อมูลที่ตรวจวัดได้เพื่อนําไปใช้ประเมินความภัยเขื่อน ซึ่ งส่ วนใหญ่
กัดเซาะภายในที่เกิดขึ้น จะกําหนดโดยอ้างอิงจากค่าที่ใช้ออกแบบเขื่อน หรื อกําหนดจากค่าที่ได้
คําสําคัญ: การกัดเซาะภายใน,เกณฑ์ความปลอดภัยเขื่อน,เครื่ องมือวัด จากการคาดการณ์ ด้วยหลัก สถิ ติจากค่ า การตรวจวัด ที่ ผ่านมาหรื ออาจ
พฤติกรรมเขื่อน กํา หนดจากค่ า ที่ มี ผู ้วิ จ ัย ที่ มี ชื่ อ เสี ย งได้ ก ํา หนดไว้เ กณฑ์ดัง กล่ า วมิ ไ ด้
สะท้อนให้เห็ นถึ งพฤติ กรรมของตัวเขื่ อนที่ ผิดปกติ แต่เป็ นเพียงการบ่ง
Abstract บอกความผิดปกติของค่าที่ตรวจวัดได้ในทางสถิติเท่านั้น
ปั จ จุ บ ัน ศู น ย์ วิ จ ั ย และพัฒ นาวิ ศ วกรรมปฐพี แ ละฐานราก คณะ
Mechanism of failure due to internal erosion in embankment dams
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่ วมกับกองความปลอดภัย
has been continuously studied for the last decade. The lesson learned
เขื่อน ฝ่ ายบํารุ งรักษาโยธาการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ตแห่ งประเทศไทย (กฟผ.) ได้
cases, the laboratory testing and the analytical method were reviewed.
พัฒ นาเกณฑ์ ค วามปลอดภัย เขื่ อ นสํ า หรั บ เขื่ อ นของ กฟผ. โดยใช้
In 2013, ICOLD launched the bulletin which concludes the process of the
กระบวนการพฤติกรรมการกัดเซาะภายในเขื่อนดิ นถมที่ได้รับการวิจยั จน
internal erosion in the embankment dams. The internal erosion process
เกิ ด องค์ ค วามรู ้ ที่ ก้ า วหน้ า ไปอย่ า งมากในทศวรรษที่ ผ่ า นมา [1]
ICOLD mentioned consists of initiation, continuation, progression and
มาประยุกต์ใช้จดั ทําเกณฑ์ความปลอดภัยเขื่อน เพื่อใช้อธิ บายสถานะความ
breach formation. This study presents the manner of introducing the
ปลอดภัยของเขื่อนตามกระบวนการกัดเซาะภายในที่เกิดขึ้น
* ผูเ้ ขียนผูร้ ับผิดชอบบทความ (Corresponding author)
E-mailaddress: t_chinoros@yahoo.com

1690
2. ทฤษฎี ทั้งนี้ยงั ไม่ปรากฏรายงานที่ระบุพฤติกรรมการไหลซึ มที่ตรวจวัด
จากเครื่ องมือวัดว่าเป็ นเช่นนี้ หรื อไม่
2.1 การกัดเซาะภายใน (internal erosion)
- Contact erosion เป็ นการกัดเซาะที่เกิ ดขึ้นบริ เวณรอยต่อของชั้น
ในปี ค.ศ. 2013 องค์ ก ารเขื่ อ นใหญ่ ร ะหว่ า งชาติ (International ของวัส ดุ หากชั้นวัสดุ ที่ มีช่ องว่างขนาดใหญ่ ก ว่าที่ จะเป็ นชั้น
Commission on Large Dams, ICOLD) ได้รวบรวมองค์ความรู ้ น้ ี ไว้ใน กรองสําหรับชั้นวัสดุที่เม็ดดินเล็กจะเกิดการพัดพาเม็ดดินนั้น รู ป
Bulletin ซึ่ งบรรยายถึ งกระบวนการเกิ ดการกัดเซาะภายในเขื่อนวัสดุ ถม ที่ 2 แสดงเส้นทางการไหลซึ มที่สามารถเกิด contact erosion
อันประกอบด้วย การเริ่ มต้นของการกัดเซาะ (initiation) มีความต่อเนื่ อง - Suffusion เป็ นการกัดเซาะในระยะยาวที่ มกั เกิ ดในดิ นถมที่เป็ น
ของการกัดเซาะ (continuation) การพัฒนาเป็ นเส้นท่อ (progression) และ เม็ด (granular material)ได้แก่ filter material หรื อดิ นฐานราก
การก่อตัวของ breach opening (breach formation) โดยมีกลไกของการ จําพวกดิ น เม็ด หยาบ มี ข นาดคละไม่ ดี ดิ น เม็ด ขนาดใหญ่ ที่ มี
เริ่ มต้นของการกัดเซาะภายในตัวเขื่อน เป็ น 4 รู ปแบบ ได้แก่ concentrated ก่ อให้ เ กิ ด โครงข่ ายของช่ องว่ างที่ ไม่ เ ป็ นตัวกรองของดิ น เม็ด
leak, backward erosion, contact erosion และ suffusion [1] ขนาดเล็กกว่า ทําให้เม็ดดิ นขนาดเล็กสามารถถูกพัดพาออกไป
- Concentrated leakเป็ นการกัดเซาะที่เกิ ดขึ้นจากการไหลของนํ้า ได้ รู ป ที่ 3แสดงลัก ษณะของดิ น ที่ ส ามารถถู ก กัด เซาะได้ด้ว ย
ผ่า นรอยแตก นํ้า ที่ ไ หลผ่ า นรอยแตกจะทํา ให้ เ กิ ด hydraulic กลไกนี้
shear stress ขึ้นที่ผนังรอยแตก ผนังของรอยแตกจะเริ่ มถูกกัด
เซาะได้ หากcritical shear stressของดิ นบดอัดซึ่ งบ่งชี้ ถึงความ
ต้า นทานต่ อ การกัด เซาะของดิ น บดอัด มี ค่ า ตํ่า กว่ า hydraulic
shear stress โดยทัว่ ไปดิ นบดอัดจะมี ค่า critical shear stress
มากกว่า 150 Pa
ค่า hydraulic shear stress, τที่ ผ่านรอยแตกประมาณได้จาก
สมการที่ (1) ที่ ρwเป็ นความหนาแน่ นของไหล Wcเป็ นความ
กว้างของรอยแตกHเป็ นศักย์น้ าํ Lเป็ นความยาวของรอยแตก รูปที่ 2 เส้นทางการไหลที่ก่อให้เกิด contact erosion
ρ gW H
τ≅ w c (1)
2L
Flow direction

รอยแตกภายในตัวเขื่อนที่เกิดขึ้นจะขึ้นอยูก่ บั ปั จจัยหลายประการ
เช่ น คุณภาพของการบดอัดดิ น สภาพภูมิ ประเทศบริ เวณที่ ต้ งั
เขื่ อน ในรู ป ที่ 1จะพบว่า หากรอยแตกมี ข นาด 3 มม. จะมี
Internal suffusion External suffusion Contact suffusion
hydraulic shear stress ประมาณ 150Pa ณ การไหลผ่านรอยแตก
ที่มี hydraulic gradient ประมาณ 10 รูปที่ 3 ลักษณะการเกิด suffusion [2]
600
Crack width
500
3 mm อย่า งไรก็ ต าม เครื่ อ งมื อ วัด พฤติ ก รรมที่ ใ ช้ อ ยู่ใ นปั จ จุ บ ัน สามารถ
Wall shear stress, Pa

5 mm
400
10 mm ตรวจสอบการกัด เซาะภายในได้เ พียง concentrate leakและ backward
300
erosionขณะที่กลไกแบบsuffusion และ contact erosion ยังจําเป็ นต้องอาศัย
200

100
งานวิจยั เพื่อหาวิธีการตรวจวัดพฤติ กรรมที่เหมาะสมในโครงการนี้ จึงไม่
0 พิจารณาให้ระบบสามารถติดตามพฤติกรรมกลไกสองแบบหลังนี้ ได้
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
Hydraulic gradient การกัดเซาะอาจหยุดหรื อเกิ ดขึ้นต่อได้ (continuation) หลังจากการกัด
รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่าง hydraulic shear stress ที่เกิดขึ้น เซาะได้เ ริ่ ม ขึ้ น จะขึ้ น อยู่ก ับ การทํางานของการกรอง หากขนาดของ
ณ ผนังของรอยแตกกับ hydraulic gradient ช่องว่างภายในชั้นกรองเล็กพอที่จะดักเม็ดดิ น (base soil) ที่ถูกพัดพามาได้
การการกัดเซาะก็จะหยุดลง (no erosion) ในทางตรงกันข้าม ชั้นกรองที่
- Backward erosionเกิดขึ้นได้กบั ดิ นบดอัดหรื อดิ นฐานรากที่มีค่า ออกแบบไม่ดียอ่ มไม่ทาํ ให้การกัดเซาะหยุดได้ การกัดเซาะคงดําเนิ นต่อไป
plastic index น้อยกว่า 7 เมื่อปรากฏexit pointขึ้ นในมวลดิ น ในระดับ ต่างๆ ขึ้ นกับ ประสิ ท ธิ ภาพของการกรอง ดังตัวอย่างกรณี ก าร
ความดัน นํ้า จากการไหลบริ เ วณจุ ด ทางออกที่ ท าํ ให้ effective บกพร่ องของชั้นกรองในระดับต่างๆ ดังนี้
stress ภายในมวลดินในบริ เวณนั้นเป็ นศูนย์ยอ่ มทําให้เม็ดดิ นเริ่ ม No erosion – ชั้นกรองหยุดการกัดเซาะได้
ถูกพัดพาออกไปผลจากการเกิด backward erosion ในทางทฤษฎี Some erosion – ชั้นกรองหยุดการกัดเซาะได้หลังจากการเซาะไปแล้ว
ย่อมทําให้มวลดิ นบริ เวณใกล้แนวกัดเซาะมี ค วามดัน นํ้าลดลง โดยอาจมีอตั ราการไหลซึ มเพิ่มขึ้น (อาจสู งไปถึง 100ลิตร/วินาที)

1691
Excessive erosion – ชั้นกรองหยุดการกัดเซาะได้ แต่หลังจากเกิ ดการ การไหลซึ มในขั้นเริ่ มต้นจะเกิ ดการเปลี่ ยนแปลงในระดับขนาดที่เล็ก
กัดเซาะไปมากแล้ว อัตราการไหลซึ มที่ ตรวจวัดได้อาจสู งกว่า 100 ถึ ง มาก เครื่ องมื อที่ ติดตั้งเพื่อตรวจวัด การไหลซึ ม ได้แก่ พิโซมิ เ ตอร์ จะไม่
1000ลิตร/วินาที สามารถตรวจวัด พฤติ ก รรมในระดับขนาดที่ เ ล็ก มากได้ พิ โซมิ เตอร์ จะ
Continuing erosion – ชั้นกรองมีเม็ดดิ นหยาบเกินไปจนไม่สามารถ ตรวจวัดพฤติ กรรมในภาพรวมหรื อมีขนาดใหญ่กว่านั้นมาก ดังตัวอย่าง
หยุดการกัดเซาะได้ อาจมีการไหลซึ มด้วยอัตราที่สูงกว่า 1000ลิ ตร/วินาที ของการเกิ ด concentrated leak ในชั้นดิ นถมเขื่อน เริ่ มจากรอยแตกภายใน
และอัตราการไหลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื้ อดิ นเหนี ยวแกนเขื่อนอาจมี ขนาดเล็กประมาณ 3 มม. ขณะที่ ระยะการ
ด้วยเหตุน้ ีจึงสรุ ปได้ว่าตัวชี้ วดั ที่สาํ คัญของcontinuation นี้ คืออัตราการ ตรวจวัด (sensing length) ของ open standpipe piezometer จะยาวถึง 4
ไหลซึมที่จะเพิ่มขึ้น และระดับความขุ่นของนํ้าที่รั่วซึ มออกมา หากมีความ เมตร ดังรู ปที่ 5 นัน่ คือความดันนํ้าที่ ตรวจวัดจากพิโซมิ เตอร์ จะเป็ นความ
ขุ่นมากย่อมแสดงให้เห็ นว่ามีอนุ ภาคเม็ดดิ นถูกกัดเซาะออกมามากนัน่ เอง ดันนํ้าเฉลี่ ยตลอดระยะการตรวจวัด จึงเป็ นไปไม่ได้ที่พิโซมิ เตอร์ น้ ี จะใช้
ในสนามจึงควรมีการตรวจสอบพื้นที่เปี ยกด้านท้ายเขื่อนและความขุ่นของ ตรวจวัดความดันนํ้าในรอยแตกที่เริ่ มเกิ ด concentrated leak ได้ หากรอย
นํ้าที่ไหลซึมหรื อรั่วซึม แตกขยายออกจากการกัดเซาะภายในและขยายเป็ นโพรงที่ใหญ่ข้ ึน ความ
สําหรับกระบวนการกัดเซาะขั้น progression และ breach formation ดันนํ้าที่ตรวจวัดได้จากพิโซมิเตอร์ ยอ่ มสู งจากเดิม
ไม่ได้นาํ เสนอในบทความนี้ เนื่ องจากโครงการนี้ กาํ หนดให้เกณฑ์ความ นอกจากนี้ เครื่ องมือวัดความดันนํ้าที่มีการผลิตอยูใ่ นปั จจุบนั นี้ มีขนาด
ปลอดภัยที่กาํ หนดขึ้นเพื่อใช้เตือนสถานะความไม่ปลอดภัยเขื่อนก่อนที่จะ ใหญ่ไม่สามารถวัดพฤติ กรรมการกัดเซาะเริ่ มต้นที่เกิ ดขึ้นในรอยแตกได้
เข้าสู่กระบวนการ progression ซึ่ งอันตรายและยากแก่การแก้ไขซ่อมแซม หรื อในทางปฏิ บตั ิ การติ ดตั้งให้เครื่ องมื อวัดอยู่ตรงกับรอยแตกจึ งเป็ นไป
ไม่ได้ ดังนั้นเกณฑ์ระดับเฝ้ าระวังจึงไม่สามารถที่นาํ critical shear stress ที่
2.2 เครื่ องมือวัดพฤติกรรมเขื่อนและข้ อจํากัด
รอยแตกมาใช้เป็ นเงื่อนไข นอกจากนี้ค่า critical shear stress จะได้จากการ
เครื่ องมือวัดพฤติกรรมเขื่อนที่จะกล่าวถึ งในส่ วนนี้ ขอกล่าวถึ งเฉพาะ ทดสอบในห้องปฏิ บตั ิ การซึ่ งไม่ได้ดาํ เนิ นการไว้ก่อนโครงการนี้ เกณฑ์
เครื่ องมือวัดพฤติกรรมเขื่อนที่เกี่ยวข้องกับการกัดเซาะภายในเท่านั้น ได้แก่ ระดับเฝ้ าระวังจึงควรพิจารณาเป็ นพฤติกรรมแทนการใช้ค่า critical shear
พิโซมิเตอร์ และฝายวัดอัตราการไหลซึม stress ดังนั้นหากเกิ ด concentrated leak บริ เวณแกนดิ นเหนี ยว จะ
2.2.1 พิโซมิเตอร์ ตรวจสอบ initiation ได้จากการเพิ่มขึ้นของระดับนํ้าหรื อความดันนํ้าใน
ความดันนํ้าในตัวเขื่อน ซึ่ งสามารถคํานวณเป็ น ศักย์น้ าํ (piezometric บริ เวณดังกล่าว
head) ได้ น้ ั นถู ก ตรวจวัด ได้ ด้ ว ยพิ โ ซมิ เ ตอร์ ณ แต่ ล ะขั้น ตอนของ OSP
กระบวนการการกัดเซาะ ความดันนํ้าอาจเพิ่มขึ้นหรื อลดลงขึ้นอยูก่ บั กลไก Dam crest

ของการกัดเซาะภายใน ดังนั้นตําแหน่งที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถตรวจวัด
พฤติ ก รรมการกัด เซาะภายในได้จึ ง ต้อ งอาศัย กรณี ศึ ก ษาและผลการ
วิเคราะห์การไหลซึมของเขื่อนนั้นๆ Crack Sensing
ตัวอย่างหน้าตัดสําหรับการติดตั้งพิโซมิ เตอร์ แสดงในรู ปที่ 4ที่ แม้ว่า width 3mm crack Length
ตําแหน่งที่กาํ หนดขึ้นจะครอบคลุมเส้นทางการไหลซึ มทั้งการไหลซึ มผ่าน 4m
ตัวเขื่ อน การไหลซึ มผ่านฐานรากเขื่ อน และการไหลซึ มจากตัวเขื่ อนสู่
ฐานรากแล้วก็ตาม แต่เส้นทางการไหลซึ มที่เกิ ดขึ้นจริ งอาจไม่ผ่านหน้าตัด
รูปที่ 5 ความดันนํ้าที่ตรวจวัดได้จาก open standpipe piezometer
ที่ ติด ตั้ง พิโ ซมิ เ ตอร์ ไ ว้ หรื ออาจผ่านได้เ พี ยงบางตํา แหน่ งที่ ติด ตั้ง พิ โ ซ
ที่ติดตั้งในแกนดินเหนียว
มิเตอร์ จึงเป็ นไปได้ที่เครื่ องมือที่ติดตั้งไว้จะไม่สามารถตรวจพบการไหล
ซึ ม ได้ การตรวจสภาพเขื่ อ นในสนามจึ งเป็ นมาตรการหนึ่ งที่ ท ดแทน สําหรั บ backward erosion ในตัวเขื่ อนต้องติ ด ตั้งเครื่ องมื อวัด ณ
จํานวนเครื่ องมือที่จาํ กัดได้ บริ เ วณรอยต่ อระหว่างแกนดิ น เหนี ยวและชั้น กรอง ที่ ค าดว่าจะเกิ ด การ
N.W.L
เคลื่ อนตัวจนทําให้ เกิ ด exit point ซึ่ งเป็ นไปได้ยากที่ จะคาดการณ์ ได้
8 ดังนั้นพิโซมิเตอร์ ที่ติดตั้งในแกนดิ นเหนี ยวที่ตรวจวัดพฤติ กรรมในระดับ
L.W.L 7

5
6 ใหญ่ จะไม่สามารถตรวจวัดได้ในทันทีที่ backward erosion เริ่ มต้นขึ้ น
1 2
3 4 แต่จะเป็ นการตรวจวัดเมื่อการกัดเซาะนี้ ได้ลุกลามขยายตัวจนทําให้ความ
ดันนํ้าลดลงจนในบริ เวณนั้นมีความดันเท่ากับพื้นที่ดา้ นท้ายนํ้า

รูปที่ 4ตัวอย่างหน้าตัดสําหรับการติดตั้งพิโซมิเตอร์ 2.2.2 ฝายวัดอัตราการไหล


สํ า หรั บ พฤติ ก รรมการกั ด เซาะต่ อ เนื่ อ ง(continuation)สามารถู ก
ตรวจวัดได้โดยเครื่ องมื อวัดอัตราการไหลของนํ้า ที่เชื่ อมัน่ ได้ว่าสามารถ

1692
รั บนํ้าที่ ไหลซึ มผ่ านมาได้เ กื อ บทั้งหมด กล่ า วคื อปริ มาณนํ้าไหลซึ ม ที่ ดังนั้นเกณฑ์ความปลอดภัยเขื่อนที่ระบุจากการตรวจวัดด้วยเครื่ องมือ
ตรวจวัดต้องสามารถสะท้อนหรื อเป็ นตัวแทนของการไหลซึ มที่ เกิ ดขึ้ น วัด และการตรวจสอบสภาพเขื่ อนควรจัดทําขึ้ น โดยพิจารณาให้ส ะท้อน
รวมทั้งสามารถแยกแยะหรื อประเมินได้ว่ามีพ้ืนที่รับนํ้าเข้าสู่ เครื่ องมื อวัด พฤติ ก รรมตามกระบวนการไหลซึ ม ที่ เ กิ ด ขึ้ น ตัวอย่างเช่ น การกํา หนด
นั้นได้ สิ่ งที่เป็ นข้อจํากัดของการตรวจวัดอัตราการไหลซึมคือ ฝายวัดอัตรา เกณฑ์ในรู ปที่ 6 ที่แสดงเส้นทางการพิบตั ิเนื่ องจากการไหลซึ มผ่านตัวเขื่อน
การไหลที่ติดตั้งจะไม่สามารถรับนํ้าที่ไหลซึ มได้ท้งั หมด โดยทัว่ ไปฝายวัด ที่มีกลไกเริ่ มต้นจาก concentrated leak และระบุเกณฑ์ความปลอดภัยเขื่อน
อัต ราการไหลของนํ้า จะตั้ง อยู่ด้า นท้า ยนํ้า ของส่ ว นการระบายนํ้า แต่ ตามพฤติกรรมที่คาดว่าจะตรวจวัดได้เกณฑ์ความปลอดภัยเขื่อนที่จดั ทําขึ้น
สําหรับเขื่อนบางแห่ ง ฝายวัดอัตราการไหลของนํ้าจะไม่ได้รับนํ้าโดยตรง นี้ กฟผ. ประสงค์ที่จดั ทําสําหรับใช้งานภายในหน่วยงานของกฟผ. เพื่อให้
จากระบบระบายนํ้า ดังนั้นอัตราการไหลที่ ตรวจวัดได้จึงอาจเป็ นเพี ยง ระบบติ ด ตามความปลอดภัย เขื่ อ นระยะไกล (dam safety remote
บางส่ วนและบางตําแหน่ งอาจไม่รับนํ้าที่ระบายออกจากตัวเขื่ อนและฐาน monitoring system) ใช้ระบุสถานะของเขื่อนที่ไม่เป็ นปกติสาเหตุของความ
รากเขื่อน ผิดปกติน้ นั ซึ่ งเจ้าหน้าที่จะนําไปสนับสนุ นการตรวจสอบความมัน่ คงของ
ด้วยข้อจํากัดที่ กล่ าวมา การติ ดตามพฤติ กรรมเขื่ อนจากเครื่ องมื อวัด เขื่ อน เพื่อยืนยันความผิดปกติที่อาจเกิ ดขึ้น ซึ่ งอาจนําไปสู่ การปรั บปรุ ง
พฤติกรรมเขื่อนเพียงอย่างเดี ยวจึ งไม่เพียงพอ การตรวจสอบสภาพเขื่ อน ซ่อมแซมเขื่อน ที่จะเป็ นการป้ องกันมิให้เกิ ดเหตุการณ์ที่นาํ ไปสู่ การพิบตั ิ
ทางสายตา (visual inspection)ควรถูก นํามาใช้เพื่อยืนยันพฤติ กรรมของ ของเขื่อน
เขื่อนที่ผิดปกติดว้ ย
3. พฤติกรรมทีไ่ ด้ จากการตรวจวัด
2.3 เกณฑ์ ความปลอดภัยเขื่อน
ข้อมูลจากการตรวจวัด ศักย์น้ าํ จากพิโซมิ เตอร์ และอัตราการไหลซึ ม
ICOLD แนะนําเกณฑ์ความปลอดภัยเขื่อนสําหรับการตรวจตราความ จากฝายวัดอัตราการไหล ได้ถูกนําไปศึกษาและสรุ ปเป็ นพฤติกรรมทัว่ ไป
ปลอดภัยเขื่อน (dam surveillance) ควรระบุถึงพฤติกรรมของตัวเขื่อนด้วย จากการตรวจวัด การศึกษาใช้ cause and effect plot นอกเหนื อไปจาก
[3]โดยกล่าวไว้2ระดับที่บ่งชี้ พฤติกรรมเขื่อนที่ไม่เป็ นปกติ ดังนี้ time history plot ที่ดาํ เนิ นการอยูแ่ ล้ว โดยพฤติกรรมที่สรุ ปได้จาก cause
ระดับเฝ้ าระวัง (alert) เมื่อเขื่อนมีพฤติกรรมเปลี่ ยนไปจากพฤติกรรม and effect plot มีดงั นี้
ปกติ ค่ า อ่ า นมี ค่ า อยู่ น อกช่ ว งที่ ค าดว่ า จะเกิ ด ขึ้ น โดยพิ จ ารณาถึ ง การ ศักย์น้ าํ (piezometric head) มีผลต่างสู งสุ ดของค่าที่อ่านได้จากการวัด
เปลี่ยนแปลงของแรงที่กระทําแล้ว ระหว่างการอ่ า นขาขึ้ น กับ ขาลงที่ ระดับ นํ้าเดี ย วกัน (Hysteresis)มี ปั จจัย
ระดับแจ้งเตือน (alarm) เมื่อเขื่อนมีพฤติกรรมที่ ผิดปกติยิ่งขึ้น จนทํา สําคัญคือระยะเวลาที่ระดับนํ้าจะค้างไว้ ดังแสดงในรู ปที่ 7 และรู ปที่ 8
ให้เ ขื่อนมีค วามมัน่ คงลดลงแต่ยงั คงปลอดภัย เช่ น ค่ าความดันนํ้าในตัว
เขื่อนสูงจนทําให้อตั ราส่ วนความปลอดภัยจากการเคลื่อนพัง เท่ากับ 1
Normal Alert Alarm Action

Piezometric Relatively high Piezometric head


head as piezometric head from increase with time at
The system should be
expected in expected in the analysis the same RWL, the detected the unusual thing
the analysis, piezometric pressure is before these items are
and No Clear water seepage low the limit of the Movement of the dam observed.
seepage. observed at D/S toe safety (no slope failure). surface is initiating
and area

รูปที่ 6 ระดับการแจ้งเตือนเมื่อเขื่อนเกิดการไหลซึมผ่านตัวเขื่อน

1693
ทั้งนี้ที่ต้งั ของพิโซมิเตอร์ เป็ นอีกปั จจัย ที่ทาํ ให้ความสัมพันธ์ระหว่างศักย์น้ าํ กับระดับนํ้าในอ่างฯ ต่างกัน ในบริ เวณฐานยันเขื่อน (abutment)ระดับนํ้า
ใต้ดินในบริ เวณดังกล่าวสามารถทําให้ศกั ย์น้ าํ ที่ตรวจวัดได้สูงกว่าระดับนํ้าในอ่างฯ ขณะที่บริ เวณที่มีการควบคุมการไหลซึ ม เช่ น หลังม่านอัดฉี ดนํ้าปูน
แกนดินเหนียวด้านท้ายนํ้า และ ใกล้กบั ชั้นกรองแนวดิ่งหรื อแนวราบ ศักย์น้ าํ จะถูกควบคุมให้มีค่าอยูใ่ นช่ วงแคบๆ ซึ่ งอาจขึ้นอยูก่ บั ความแม่นยําในการ
ตรวจวัดทั้งอุปกรณ์และบุคคลากร
1993
145
1994
1995
140
1996
1997
135

Piezometric Head (m MSL)


1998
1999
130 2000
2001
2002
125
2003
2004
120
2005
2006
115 2007
2008

110 2009
130 135 140 145 150 155 160 165 170 2010
RWL (m MSL) 2011

รูปที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างศักย์น้ าํ กับระดับนํ้าในอ่างฯ บริ เวณใกล้ฐานยันเขา

1993
1994
1995
90 1996
Piezometric Head (m MSL)

1997
1998
HOPP-52 = 0*RWL + 84.230 1999
85 2000
2001
2002
HOPP-52 = 0*RWL + 82.265 2003
80
2004
2005
2006
75 2007
130 135 140 145 150 155 160 165 170 2008
2009
RWL (m MSL) 2010
2011

รูปที่ 8 ความสัมพันธ์ระหว่างศักย์น้ าํ กับระดับนํ้าในอ่างฯ บริ เวณตัวเขื่อน

โดยปกติอตั ราการไหลซึมจะไม่มีความสัมพันธ์กบั ระดับนํ้าในอ่างฯ เพราะกําแพงทึบนํ้าหรื อม่านอัดฉี ดนํ้าปูนที่มีประสิ ทธิ ภาพจะควบคุมให้อตั รา


การไหลซึมไม่ข้ ึนกับระดับนํ้าในอ่างฯ แต่ปัจจัยอื่นๆ เช่น ปริ มาณนํ้าฝน ซึ่งทําให้เกิดการไหลซึ มบริ เวณเขื่อน อาจทําให้อตั ราการไหลซึ มแปรปรวนได้
แต่หากเขื่อนไม่มีการปิ ดกั้น อัตราการไหลซึมอาจมีความสัมพันธ์กบั ระดับนํ้าในอ่างฯ ดังแสดงในรู ปที่ 9
100
1999

2000
80
2001
Seepage Discharge (l/min)

2002
60 2003

2004

40 2005

2006

20 2007

2008

2009
0
130 135 140 145 150 155 160 165 170
RWL (m MSL)

รูปที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการไหลซึมกับระดับนํ้าในอ่างฯ

ดังที่ กล่าวมาแล้วว่า อัตราการไหลที่ เพิ่มขึ้ นเป็ นตัวชี้ วดั ที่ สําคัญของการกัดเซาะภายในที่ ก่อให้เกิ ดปั ญหาหรื อไม่ ระบบที่ ออกแบบไว้จึงทําการ
ตรวจสอบอัตราการไหลซึ มก่อน โดยอัตราการไหลซึ มอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้เป็ น 3 ลักษณะ ได้แก่ สู งกว่าเกณฑ์ปกติ อยูใ่ นเกณฑ์ปกติ ตํ่ากว่าเกณฑ์
ปกติ ซึ่งอัตราการไหลซึ มมักมีค่าสัมพันธ์กบั ระดับนํ้าในอ่างฯ จึงอาจแสดงการเปลี่ยนแปลงของอัตราการไหล กับระดับนํ้าในอ่างฯได้ดงั รู ปที่ 10 สมการ
ปกติท้งั เส้นบนและเส้นล่างจะแสดงถึงช่วงค่าอัตราการไหลซึ มที่เป็ นไปได้ หากไม่มีความผิดปกติในระบบการควบคุมการไหลซึ ม (ทั้งระบบปิ ดกั้นและ
ระบบการระบายนํ้า) ซึ่ งยังขึ้นอยูก่ บั ความคลาดเคลื่อนได้จากเครื่ องมือวัดและจากการอ่านอีกด้วย

1694
พึงระลึกไว้ว่า อัตราการไหลซึ มที่ตรวจวัดได้อาจไม่ใช่ อตั ราการไหลซึ มที่แท้จริ ง เนื่ องจากเส้นทางการไหลซึ มไม่ผ่านเข้าสู่ ฝายวัดอัตราการไหล
ทั้งหมด และอาจพบว่าอัตราการไหลซึมไม่เพิ่มขึ้นแต่ความดันนํ้าเพิ่มสู งขึ้น หรื อตรวจพบพื้นที่ชุ่มนํ้า ดังนั้นจึงจําเป็ นต้องพิจารณาร่ วมกับเครื่ องมือชนิ ด
อื่นๆ และการตรวจสอบสภาพในสนามด้วย

อัตราการไหลซึม สมการปกติเสนบน

สูงกวาเกณฑ

สมการปกติเสนลาง
เกณฑปกติ

ต่ํากวาเกณฑ

ระดับน้ําในอางฯ

รูปที่ 10 การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของอัตราการไหลซึม

สําหรับพฤติกรรมความดันนํ้าที่ตรวจวัดได้จากพิโซมิเตอร์ น้ นั ในทางปฏิ บตั ิพิโซมิเตอร์ อาจไม่สามารถติดตั้งเป็ นคู่ได้ หรื อในระยะยาวพิโซมิเตอร์


หัวใดหัวหนึ่ งอาจจะชํารุ ด ย่อมทําให้ไม่สามารถคํานวณหาค่า hydraulic gradient ได้ จึงได้ปรับให้เกณฑ์ความปลอดภัยเขื่ อนจากความดันนํ้า ใช้วิธี
พิจารณาพฤติกรรมความสูงนํ้าจากพิโซมิเตอร์เพียงหัววัดเดียวเปรี ยบเทียบกับระดับนํ้าในอ่างฯในทํานองเดียวกันกับอัตราการไหลซึ ม ช่ วงค่าความดันนํ้า
หรื อระดับนํ้าที่เป็ นปกติจะได้จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ตรวจวัดได้ ซึ่ งแสดงด้วยความสัมพันธ์กบั ระดับนํ้าในอ่างฯ กับค่าระดับนํ้าที่ตรวจวัดได้จากพิโซ
มิเตอร์ดงั รู ปที่ 11 โดยทัว่ ไปความชันของความสัมพันธ์ระหว่างระดับนํ้าจากพิโซมิเตอร์ กบั ระดับนํ้าในอ่างฯ ควรลดลงจากด้านเหนื อนํ้าไปด้านท้ายนํ้า
ดังรู ปที่ 12โดยพิโซมิเตอร์ ที่ตรวจวัดระดับนํ้าด้านเหนื อนํ้าของการปิ ดกั้น เช่น แกนดินเหนี ยว หรื อม่านอัดฉี ดนํ้าปูน หรื อบริ เวณฐานรากของฐานยันเขามี
ความชันระหว่างระดับนํ้าที่ ตรวจวัดได้กบั ระดับนํ้าในอ่างฯควรมีค่าประมาณ 0.4 ถึ ง 0.8 ซึ่ งขึ้นอยู่กบั ความทึ บนํ้าของหิ นฐานรากด้านเหนื อนํ้า พิโซ
มิเตอร์ที่ตรวจวัดระดับนํ้าด้านท้ายนํ้าของการปิ ดกั้น มีความชันระหว่างระดับนํ้าที่ตรวจวัดได้กบั ระดับนํ้าในอ่างฯ ควรมีค่าประมาณ 0.2 ถึ ง 0.4 ซึ่ งขึ้นอยู่
กับความทึบนํ้าของม่านอัดฉี ดนํ้าปูน และพิโซมิเตอร์ ที่ตรวจวัดระดับนํ้าด้านท้ายนํ้า มีความชันระหว่างระดับนํ้าที่ตรวจวัดได้กบั ระดับนํ้าในอ่างฯควรมี
ค่าใกล้เคียงกับศูนย์ แต่หากระบบการควบคุมการไหลซึ มมีประสิ ทธิ ภาพไม่ดีความชันนี้จะไม่ใกล้เคียงกับศูนย์

ระดับน้ําที่ตรวจวัดได คาความชันปกติ จะขึ้นอยูกับตําแหนงที่ตรวจวัด และ


จากพิโซมิเตอร อิทธิพลของปจจัยอื่นๆ เชน น้ําใตดิน น้ําฝน

สมการปกติเสนบน
สูงกวาเกณฑ

เกณฑปกติ สมการปกติเสนลาง

ต่ํากวาเกณฑ

ระดับน้ําในอางฯ

รูปที่ 11 การตรวจสอบอิทธิ พลของระดับนํ้าในอ่างฯ ต่อระดับนํ้า


ที่ตรวจวัดได้จากพิโซมิเตอร์

1695
N.W.L

8
L.W.L 7
6
5
3 4
1 2
ระดับน้ําที่ ความชันนอยกวา 0.2
ระดับน้ําที่ ความชันตั้งแต 0.4 ถึง 0.8
ตรวจวัดได
ตรวจวัดได

ระดับน้ําที่ ความชันตั้งแต 0.2 ถึง 0.4 ระดับน้ําในอางฯ


ตรวจวัดได
ระดับน้ําในอางฯ

ระดับน้ําในอางฯ

รูปที่ 12 การตรวจสอบอิทธิ พลของระดับนํ้าในอ่างฯ ต่อระดับนํ้า


ที่ตรวจวัดด้านท้ายนํ้า

4. การจัดทําเกณฑ์ ความปลอดภัยเขือ่ น
เกณฑ์ความปลอดภัยที่กาํ หนดแบ่งเป็ น 3 ระดับได้แก่ ระดับปกติ ระดับเฝ้ าระวัง และระดับแจ้งเตือน โดยแต่ละระดับจะสัมพันธ์กบั ขั้นตอนของ
กระบวนการพิบตั ิจากการไหลซึ ม กล่าวคือ ระดับปกติแสดงว่ายังไม่พบหลักฐานที่แสดงให้เห็ นว่ามี initiation เกิ ดขึ้น ระดับเฝ้ าระวังแสดงว่าได้เกิ ด
initiation แต่การกัดเซาะอาจจะถูกควบคุมได้หรื อไม่ก็ได้ ระดับแจ้งเตือนแสดงว่าได้เกิ ด continuation หรื อการกัดเซาะไม่สามารถควบคุมได้ แต่เพราะ
ข้อจํากัดของพิโซมิเตอร์อาจไม่สามารถบ่งชี้ถึงinitiation ที่อยูใ่ นระดับอนุภาคได้ ดังนั้นเกณฑ์ความปลอดภัยที่ใช้ควรระบุเป็ นการเปลี่ ยนแปลงพฤติกรรม
ของเขื่อนที่ตอบสนอง หลังเกิด initiation ไประยะหนึ่ งแล้ว โดยที่ initiation สําหรับกลไกแบบconcentrated leak ซึ่ งมีcritical hydraulic gradient เป็ น
เงื่อนไข ในทางปฏิบตั ิไม่สามารถประเมิน hydraulic shear stress ที่รอยแตกได้หากไม่ทราบขนาดของรอยแตก แต่สามารถประมาณได้ว่าผลกระทบจาก
การเกิด initiation เช่น ความดันนํ้าภายในแกนดินเหนี ยวจะเพิม่ ขึ้นหลังจากที่การกัดเซาะเริ่ มเกิ ดขึ้น นอกจากนี้ เกณฑ์ความปลอดภัยเขื่อนที่สร้ างขึ้น ไม่
เพียงระบุความปลอดภัยด้วยเครื่ องมือวัดเท่านั้น แต่ยงั ได้พิจารณาผลการตรวจสอบสภาพในสนามร่ วมด้วย เนื่ องจากจํานวนเครื่ องมือตรวจวัดที่มีจาํ กัด
จึงจําเป็ นต้องยืนยันด้วยการตรวจสอบสภาพ
เนื่องจากพฤติกรรมความดันนํ้าจากพิโซมิเตอร์ในแต่ละตําแหน่ง พฤติกรรมอัตราการไหล และพฤติกรรมของตัวเขื่อนที่ได้จากการตรวจสอบสภาพ
เขื่อน ที่แตกต่างกัน ย่อมสามารถระบุถึงรู ปแบบการไหลซึ มที่เกิดขึ้นได้ หลักการนี้ ได้นาํ ไปใช้สร้ างระบบเสมือนผูเ้ ชี่ ยวชาญเพื่อบ่งชี้ เส้นทางการไหล
ซึมและรู ปแบบการไหลซึ มที่อาจจะเกิดขึ้นกับเขื่อนได้รูปที่ 13แสดงผังการวิเคราะห์ปัญหาการไหลซึ มของเขื่อนวัสดุถม ระบบจะตรวจสอบความดันนํ้า
ณ จุดต่างๆของตัวเขื่อนว่าเกิ ดการไหลซึ มเส้นทางใดและมีกลไกแบบใด โดยอาศัยตําแหน่ งของเครื่ องมือที่ตรวจพบความผิดปกติระบุเส้นทางของการ
ไหลซึ มที่เป็ นไปได้ เมื่ออัตราการไหลซึ มไม่สูงกว่าเกณฑ์แต่มีความดันนํ้าที่ ผิดปกติ จะถื อว่า เข้าสู่ ระดับเฝ้ าระวัง แต่หากมี อตั ราการไหลซึ มสู งกว่า
เกณฑ์ปกติจะถือว่า เข้าสู่ระดับแจ้งเตือน ซึ่งจําเป็ นต้องได้รับการยืนยันจากการตรวจสอบสภาพเขื่อนบริ เวณพื้นที่ทา้ ยนํ้า
รู ปแบบการไหลซึ มที่สามารถระบุได้มี5 รู ปแบบ ดังนี้
1. การไหลซึมผ่านตัวเขื่อน จาก concentrated leak โดยพิจารณาจากพิโซมิเตอร์ ตาํ แหน่ง 5, 7 และ 8 ที่มีศกั ย์น้ าํ สู งกว่าเกณฑ์ปกติ
2. การไหลซึมผ่านตัวเขื่อน จาก backward erosion โดยพิจารณาจากพิโซมิเตอร์ ตาํ แหน่ง 5 และ 8 ที่มีศกั ย์น้ าํ ตํ่ากว่าเกณฑ์ปกติ
3. การไหลซึมผ่านฐานรากเขื่อนที่มีการปิ ดกั้น จาก concentrated leak โดยพิจารณาจากพิโซมิเตอร์ ตาํ แหน่ง 1, 2 และ 3 ที่มีศกั ย์น้ าํ สู งกว่าเกณฑ์ปกติ
4. การไหลซึมผ่านฐานรากเขื่อน จาก backward erosionโดยพิจารณาจากพิโซมิเตอร์ ตาํ แหน่ง 4ที่มีศกั ย์น้ าํ จะทําให้ exit gradient สู งกว่าค่าวิกฤต
5. การไหลซึมผ่านตัวเขื่อนสู่ฐานรากเขื่อน จาก backward erosionโดยพิจารณาจากพิโซมิเตอร์ ตาํ แหน่ง 5ที่มีศกั ย์น้ าํ ตํ่ากว่าเกณฑ์ปกติ
นอกจากนี้ ยงั ได้พิจารณาการขาดเสถี ยรภาพของลาดเขื่ อนเนื่ องจากความดันนํ้าในตัวเขื่ อนเพิ่มขึ้นเนื่ องจากการอุ ดตันของระบบระบายนํ้า โดย
พิจารณาจากพิโซมิเตอร์ตาํ แหน่ง 6 ที่มีศกั ย์น้ าํ ตํ่ากว่าเกณฑ์ปกติ
การยกเลิกการแจ้งทั้งระดับเฝ้ าระวังและระดับแจ้งเตือนจะทําได้หากมีรายงานยืนยันการไม่พบความเสี ยหายจากการตรวจสอบสภาพเขื่อนหรื อมีการ
แก้ไขให้เขื่อนกลับมามีพฤติกรรมที่เป็ นปกติแล้ว

1696
เริ่ม

เปลี่ยน H4 เปลี่ยนแปลง ไมเปลี่ยน ไมต่ํากวา อัตราการไหล ต่ํา ต่ํากวา (ซึ่งอาจเกิดจากการอุดตันในระบบระบายน้ํา)


ตาม RWL? กวาเกณฑปกติ ?

ไมเปลี่ยน H4 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยน


ไมสูงกวา H6 สูงกวาเกณฑปกติ ? (ซึ่งอาจ สูงกวา
ตาม GWL?
ทําใหลาดเขื่อนขาดเสถียรภาพ)

สูงกวา ไมสูงกวา ไมเกิด Backward


i แนวดิ่ง สูงกวา ระดับเฝาระวัง
Erosion ในฐานราก
i วิกฤต ? ลาดเขื่อนขาดเสถียรภาพ
เขื่อน

สูงกวา อัตราการไหล สูง ไมสูงกวา คณะทํางานปรับแกตัวแปรที่


กวาเกณฑปกติ ? ใชหา i แนวดิ่ง หรือ ปรับ icr ตรวจสอบสภาพเขื่อน
อนุมัติโดย กคข.-ธ / ลาดเขื่อนดานทายน้ํา
ระดับแจงเตือน ปรับปรุงฐานรากเขื่อน
Backward Erosion
ในฐานรากเขื่อน
ไมพบ มีพื้นที่ชุมน้ําบนลาด พบ
เขื่อนดานทายน้ํา?
ไดรับ ระดับเฝาระวัง คณะทํางานปรับแก
อัตราการไหลไดรบั ผลกระทบ สมการปกติ อนุมัติโดย
Backward Erosion
จากปริมาณน้ําฝน ? กคข.-ธ
ในฐานรากเขื่อน
ลาดเขื่อนมีเสถียรภาพ
ไมพบ มีการเคลื่อนตัวของ พบ
ไมไดรับ ลาดเขื่อนดานทายน้ํา?

ตรวจสอบสภาพเขื่อน
พื้นที่ดานทายน้ํา ยืนยันระดับเฝาระวัง ยกระดับแจงเตือน
ลาดเขื่อนขาดเสถียรภาพ ลาดเขื่อนขาดเสถียรภาพ
ไมพบ
ปรับปรุงลาดเขื่อน
พื้นที่ดานทายน้ําชุมน้ํา หรือ
มีน้ําใสหรือน้ําโคลนไหลซึม

พบ
ยืนยัน
ระดับแจงเตือน
ปรับปรุงฐานรากเขื่อน
Backward Erosion
ในฐานรากเขื่อน ต่ํากวา H5 ต่ํากวาเกณฑ ไมต่ํากวา ต่ํากวา H8 หรือ H5 ต่ํากวา ไมต่ํากวา
ปกติ ? เกณฑปกติ ?

สูงกวา อัตราการไหล สูง ไมสูงกวา ไมเกิด Backward สูงกวา อัตราการไหล สูง ไมสูงกวา
กวาเกณฑปกติ ? กวาเกณฑปกติ ? ไมเกิด Backward
Erosion จากตัวเขื่อนสู
Erosion ในตัวเขื่อน
ฐานราก
ระดับแจงเตือน ระดับแจงเตือน
Backward Erosion คณะทํางานปรับแกสมการ Backward Erosion
จากตัวเขื่อนสูฐานราก ในตัวเขื่อน คณะทํางานปรับแกสมการ
ปกติ อนุมัติโดย กคข.-ธ / ปกติ อนุมัติโดย กคข.-ธ /
ปรับปรุงตัวเขื่อน ปรับปรุงตัวเขื่อน

ไดรับ ระดับเฝาระวัง ไดรับ ระดับเฝาระวัง


อัตราการไหลไดรบั ผลกระทบ อัตราการไหลไดรบั ผลกระทบ
Backward Erosion Backward Erosion
จากปริมาณน้ําฝน ? จากปริมาณน้ําฝน ?
จากตัวเขื่อนสูฐานราก ในตัวเขื่อน

ไมไดรับ ไมไดรับ

ตรวจสอบสภาพเขื่อน ตรวจสอบสภาพเขื่อน
พื้นที่ดานทายน้ํา พื้นที่ดานทายน้ํา

ไมพบ ไมพบ

พื้นที่ดานทายน้ําชุมน้ํา หรือ พื้นที่ดานทายน้ําชุมน้ํา หรือ


มีน้ําใสหรือน้ําโคลนไหลซึม มีน้ําใสหรือน้ําโคลนไหลซึม

พบ พบ

ยืนยัน ระดับแจงเตือน ปรับปรุงตัวเขื่อน ยืนยัน ระดับแจงเตือน


ปรับปรุงตัวเขื่อน
Backward Erosion จากตัวเขื่อนสูฐานราก Backward Erosion ในตัวเขื่อน

สูงกวา H1 หรือ H2 หรือ H3 ไมสูงกวา สูงกวา H5 หรือ H7 หรือ H8 ไมสูงกวา


สูงกวาเกณฑปกติ ? สูงกวาเกณฑปกติ ?

สูงกวา อัตราการไหล สูง ไมสูงกวา สูงกวา อัตราการไหล สูง ไมสูงกวา


กวาเกณฑปกติ ? กวาเกณฑปกติ ?
ไมเกิด Concentrated ไมเกิด Concentrated
Leak ในฐานรากเขื่อน Leak ในตัวเขื่อน
ระดับแจงเตือน ระดับแจงเตือน
Concentrated Leak Concentrated Leak
ในฐานรากเขื่อน คณะทํางานปรับแกสมการ ในตัวเขื่อน คณะทํางานปรับแกสมการ
ปกติ อนุมัติโดย กคข.-ธ / ปกติ อนุมัติโดย กคข.-ธ /
ปรับปรุงฐานรากเขื่อน ปรับปรุงตัวเขื่อน
ไดรับ ไดรับ
อัตราการไหลไดรบั ผลกระทบ ระดับเฝาระวัง อัตราการไหลไดรบั ผลกระทบ ระดับเฝาระวัง
จากปริมาณน้ําฝน ? Concentrated Leak จากปริมาณน้ําฝน ? Concentrated Leak
ในฐานรากเขื่อน ในตัวเขื่อน

ไมไดรับ ไมไดรับ

ตรวจสอบสภาพเขื่อน ตรวจสอบสภาพเขื่อน
พื้นที่ดานทายน้ํา พื้นที่ดานทายน้ํา

ไมพบ ไมพบ

พื้นที่ดานทายน้ําชุมน้ํา หรือ พื้นที่ดานทายน้ําชุมน้ํา หรือ


มีน้ําใสหรือน้ําโคลนไหลซึม มีน้ําใสหรือน้ําโคลนไหลซึม

พบ พบ

ยืนยัน ระดับแจงเตือน ยืนยัน ระดับแจงเตือน


ปรับปรุงฐานรากเขื่อน ปรับปรุงตัวเขื่อน
Concentrated Leak ในฐานรากเขื่อน Concentrated Leak ในตัวเขื่อน

รูปที่ 13 แผนภูมิเพื่อระบุความปลอดภัยเขื่อนและรู ปแบบการไหลซึม

1697
5. สรุปและวิจารณ์
เกณฑ์ความปลอดภัยเขื่ อนเพื่ อติ ดตามพฤติ กรรมการไหลซึ ม ได้ถู ก
จัดทําขึ้นบนพื้นฐานการตอบสนองของเขื่อนจากผลของกระบวนการกัด
เซาะภายใน ซึ่ งทําให้ผใู้ ช้สามารถระบุรูปแบบของความผิดปกติของการ
ตรวจวัดได้ และช่วยสนับสนุ นเจ้าหน้าที่ในการตรวจสอบสภาพเขื่อนเพื่อ
ยืนยันสถานะความปลอดภัยเขื่อนโดยสอดคล้องกับพฤติกรรมที่จะเกิ ดขึ้น
แต่เกณฑ์ความปลอดภัยเขื่อนนี้ สามารถระบุได้เฉพาะการกัดเซาะภายในที่
เริ่ มจากกลไกแบบconcentrated leak และแบบbackward erosion เท่านั้น
ด้วยข้อจํากัดทางวิชาการและเทคโนโลยีของเครื่ องวัดพฤติกรรมเขื่ อนใน
ปัจจุบนั
นอกจากนี้ดว้ ยเทคนิ คทางสถิติทาํ ให้สามารถระบุพฤติกรรมของความ
ดัน นํ้า และอัต ราการไหลจากปั จ จัย ของระดับ นํ้า ในอ่ า งฯ ที่ ถื อ ว่ า เป็ น
พฤติกรรมปกติได้เพื่อทําให้สามารถแยกแยะความแปรปรวนของข้อมูลอัน
เกิดขึ้นจากปัจจัยอื่นๆ
อย่างไรก็ตาม เกณฑ์ค วามปลอดภัยนี้ ยงั สิ่ งจําเป็ นต้องถู กสอบเที ยบ
ซึ่ งในขณะนี้ กฟผ. ได้เ ริ่ ม การพัฒนาระบบการตรวจวัด และระบบการ
ประเมินความปลอดภัย ดังนั้นเมื่อกฟผ. ได้ดาํ เนิ นการพัฒนาระบบข้างต้น
แล้ว เสร็ จ จึ ง จะสามารถนํา ผลการตรวจวัด มาสอบเที ย บเกณฑ์ ค วาม
ปลอดภัยนี้ได้

กิตติกรรมประกาศ
ผูเ้ ขียนขอพระขอบคุณ คณะผูเ้ ชี่ ยวชาญที่ได้ให้คาํ แนะนําในการสร้ าง
เกณฑ์ความปลอดภัยเขื่อนในครั้งนี้ อันประกอบด้วย รศ.ดร.วรากร ไม้เรี ยง
, รศ.ดร.นพดล เพียรเวช, รศ.ดร.สุ วฒั นา จิตตลดากร, ดร. ธนู หาญพัฒนา
พานิ ชย์ และรศ.ดร. สุ ทธิ ศกั ดิ์ ศรลัมพ์ และขอขอบคุณการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ต
แห่ งประเทศไทยที่อนุ ญาตนําผลการศึ กษาในงานวิเคราะห์ คัดเลื อก และ
จัดทําเกณฑ์ด้านความปลอดภัยเขื่ อ นจากเครื่ องมื อ วัด พฤติ ก รรมเขื่ อ น
ของ กฟผ. มาเผยแพร่ ในครั้งนี้

เอกสารอ้ างอิง
[1] International Commission on Large Dam. Bulletin 164 Internal
Erosion of Existing Dams, Levees and Dikes, and their
Foundations.2013, pp. 151.
[2] K.F.Busch, L.Luckner andK.Tiemer.Geohydraulik.
GebrüderBorntraeger, Berlin, Stuttgart, 1993, pp.497.
[3] International Commission on Large Dam. Bulletin 158Dam
Surveillance Guide. 2010, pp. 100.

1698

You might also like