You are on page 1of 44

ดนตรี พ้นื บ้าน

ของไทย
นาเสนอ
คุณครู อนุวฒั น์ บิสสุริ

จัดทาโดย
1. ด.ญ. ปิ ยภัทร ศรี ศรกาพล ป.5/8 เลขที่ 3
2. ด.ญ. ณัฐนันท์ สังข์สมบูรณ์ ป.5/8 เลขที่ 4
3. ด.ญ. ณิ ชชา วรวิชชวงษ์ ป.5/8 เลขที่ 5
4. ด.ญ. เอวา วรรธนัจฉริ ยา ป.5/8 เลขที่ 10
5. ด.ญ. พริ มา พิพฒั นพรรณวงศ์ ป.5/8 เลขที่ 19

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาดนตรี
ศ 15102
ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2561
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ศิลปะ
โรงเรี ยนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์
2
ดนตรี พ้นื บ้าน
ภาคเหนือ

3
1. ประวัตภิ ูมภิ าค
ภาคเหนือ เป็ นภูมิภาคที่อยูด่ า้ นบนสุ ดของไทย มีลกั ษณะภูมิประเทศอัน
ประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ทางด้านประวัติศาสตร์ของภาคเหนือมี
ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับอาณาจักรล้านนา

จังหวัดในภาคเหนือมีท้ งั หมด 17 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย


แม่ฮ่องสอน พะเยา ลาพูน ลาปาง แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ ตาก พิษณุโลก สุ โขทัย เพชรบูรณ์
พิจิตร กาแพงเพชร นครสวรรค์ และจังหวัดอุทยั ธานี

4
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคเหนือ
2.1 สะล้อ
• สะล้อเป็ นเครื่ องดนตรี เครื่ องสี พ้นื เมืองล้านนาเพียงชนิ ดเดียว ซึ่ งมีท้ งั 2 สายและ 3
สาย เป็ นตัวหลักมักนิยมใช้ข้ ึนนาเพลงในวง สะล้อ ซอ ซึ ง สะล้อมีขนาด 3 ขนาด
ได้แก่ เล็ก กลาง ใหญ่ ซึ่ งมีหน้าที่ในการเล่นในวงไม่เหมือนกัน ส่ วนมากมักนิยมผสม
กับซึ่ ง และขลุ่ยล้านนา มีเสี ยงที่เป็ นเอกลักษณ์ สามารถสื่ อเล่าถึงอารมณ์ที่ผเู ้ ล่นต้อง
สื่ อได้ หรื อการสี เลียนเสี ยงมนุษย์กส็ ามารถทาได้ สะล้อเป็ นเครื่ องดนตรี ที่
ละเอียดอ่อน เพราะพื้นที่วางสะล้อเมื่อเล่นก็มีผลต่อเสี ยงที่ออกมาทั้งหมด
• ไม่มีหลักฐานระบุแน่ชดั ว่า สะล้อมีตน้ กาเนิดมาจากที่ใด แต่มีการสันนิษฐานว่า
น่าจะมีตน้ กาเนิ ดเดียวกันกับซอของภาคกลาง เพราะคาว่า "สะล้อ" ถ้าเขียนเป็ นตัว
อักษรล้านนา สามารถเขียนได้หลายแบบและอาจจะเพื้ยน(ทรอ ทร้อ ตะล้อ สะล้อ)จน
มาเป็ นคาว่า "สะล้อ"ในปั จจุบนั และในสมัยก่อนการเล่นสะล้อไม่นิยมผสมวงกัน
เหมือนในปั จจุบนั หากแต่เล่นเดี่ยวไว้ยามว่าง หรื อเมื่อไปจีบเกี้ยวสาวตามบ้านต่างๆ
ตามวิถีของล้านนาสมัยก่อน
5
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคเหนือ
2.1 สะล้อ
• พัฒนาการของสะล้อตั้งแต่อดีต มีการประดิษฐ์ที่ไม่ปราณี ตเท่ากับในปัจจุบนั เพราะ
เครื่ องไม้เครื่ องมือยังไม่สะดวก ในสมัยก่อนจึงมีการขึ้นรู ปเพื่อให้สามารถผลิตเสี ยง
ได้เท่านั้น แต่ในปั จจุบนั เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาท ช่าง (ภาษาล้านนาเรี ยก "สล่า")
ผูผ้ ลิตสะล้อได้นาเทคโนโลยีมาช่วยในการผลิต มีการคานึงถึงองค์ประกอบเพื่อให้ได้
เสี ยงที่มีคุณภาพ กังวาล เช่น ชนิดของไม้ ขนาดของกะลา หรื อแม้แต่อายุของไม้ เป็ น
ต้น

6
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคเหนือ
2.2. ซอ
• ซอ เป็ นเครื่ องดนตรี ไทยชนิ ดหนึ่ งจาพวกเครื่ องสาย ทาให้เกิดเสี ยงโดยการใช้คนั ชัก
สี เข้ากับสายที่ขึงเอาไว้
• ส่ วนประกอบคือ คันทวน ลูกบิด กะโหลก หน้าซอ สาย รัดอก
• ประเภทของซอ
• ซอด้วง ซอสองสาย มีเสี ยงแหลม ก้องกังวาน คันทวนยาวประมาณ 72 ซม
• ซออู ้ ซอสองสาย ตัวกะโหลกทาด้วยกะลามะพร้าว โดยตัดปาดกะลาออกเสี ยด้านหนึ่ง และใช้
หนังลูกวัวขึงขึ้นหน้าซอ กว้างประมาณ 13 – 14 ซม
• ซอสามสาย มีขนาดใหญ่กว่าซอด้วงหรื อซออู ้ และมีลกั ษณะพิเศษ คือมีสามสาย มีคนั ชักอิสระ
กะโหลกซอมีขนาดใหญ่ นับเป็ นเครื่ องดนตรี ที่มีความสง่างามชิ้นหนึ่งในวงเครื่ องสาย ผูเ้ ล่น
จะอยูใ่ นตาแหน่งด้านหน้าของวง

7
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคเหนือ
2.3 ซึง
• ซึ ง เป็ นเครื่ องดนตรี ประเภทดีด มี 4 สาย แต่แบ่งออกเป็ น 2 เส้น เส้นละ 2 สาย มี
ลักษณะคล้าย กระจับปี่ แต่มีขนาดเล็กกว่า ความยาวทั้งคันทวนและกะโหลกรวมกัน
ประมาณ 81 ซม. กะโหลกมีรูปร่ างกลมวัดเส้นผ่าศูนย์กลางได้ประมาณ 21 ซม.
• ทั้งกะโหลกและคันทวนใช้ไม้เนื้อแข็งชิ้นเดียวคว้านตอนที่เป็ นกะโหลกให้เป็ นโพรง
ตัดแผ่นไม้ให้กลม แล้วเจาะรู ตรงกลางทาเป็ นฝาปิ ดด้านหน้า เพื่ออุม้ เสี ยงให้กงั วาน
คันทวนเป็ นเหลี่ยมแบนตอนหน้า เพื่อติดตะพานหรื อนมรับนิ้ว จานวน 9 อัน ตอน
ปลายคันทวนทาเป็ นรู ปโค้ง และขุดให้เป็ นร่ อง เจาะรู สอดลูกบิดข้างละ 2 อัน รวม
เป็ น 4 อันสอดเข้าไปในร่ อง สาหรับขึ้นสาย 4 สาย สายของซึ งใช้สายลวดขนาดเล็ก 2
สาย และ สายใหญ่ 2 สาย
• ซึ งเป็ นเครื่ องดีดที่ชาวไทยทางภาคเหนือนิยมนามาเล่นร่ วมกับปี่ ซอ หรื อ ปี่ จุ่ม และ
สะล้อ

8
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคเหนือ
2.3 ซึง
• แบ่งตามลักษณะได้ 3 ประเภท คือ ซึ งเล็ก ซึ่ งกลาง และซึ งหลวง (ซึ งที่มีขนาดใหญ่)
แบ่งตามประเภทได้ 2 ชนิด คือ ซึ งลูก 3 และซึ งลูก 4 (แตกต่างกันที่เสี ยง ลูก 3 เสี ยง
ซอลจะอยูด่ า้ นล่าง ส่ วนซึ งลูก 4 เสี ยงซอลจะอยูด่ า้ นบน)
• อธิ บายคาว่า สะล้อ ซอ ซึ ง ที่มกั จะพูดกันติดปาก ว่าเป็ นเครื่ องดนตรีของชาวล้านนา
แต่ที่จริ งแล้ว มีแค่ ซึ ง และสะล้อ เท่านั้นที่เป็ นเครื่ องดนตรี ของชาวล้านนา ส่ วนคาว่า
ซอในที่น้ ี หมายถึง การขับซอ ซึ่ งเป็ นการร้อง การบรรยาย พรรณณาเป็ นเรื่องราว
ประกอบกับวงปี่ จุ่ม

9
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคเหนือ
2.4 กลองสะบัดชัยโบราณ
• กลองสะบัดชัยโบราณเป็ นกลองที่ มีมานานแล้วนับหลายศตวรรษ ในสมัยก่อนใช้ ตี
ยามออก ศึกสงคราม เพื่อเป็ นสิ ริมงคล และเป็ น ขวัญกาลังใจให้แก่เหล่าทหารหาญใน
การต่อ สู ้ให้ได้ชยั ชนะ ทานองที่ใช้ในการตี กลองสะบัดชัยโบราณมี ๓ ทานอง คือ
ชัยเภรี , ชัย ดิถี และชนะมาร

10
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคเหนือ
2.5 กลองตึง่ โนง
• กลองตึ่งโนงเป็ นกลอง ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ตัวกลองจะยาว มากขนาด ๓-๔ เมตรก็มี
ใช้ตีเป็ น อาณัติสัญญาณประจาวัด และใช้ในกระบวนแห่กระบวนฟ้อน ต่าง ๆ
ประกอบกับตะหลดปด ปี่ แน ฉาบใหญ่ และฆ้องหุ่ย ใช้ตีดว้ ยไม้
2.6 ตะหลดปด
• ตะหลดปด หรื อมะหลดปด เป็ นกลองสองหน้า ขนาดยาวประมาณ ๑๐๐ เซนติเมตร
หน้ากลอง ขึงด้วยหนัง โยงเร่ งเสี ยงด้วยเชือกหนัง หน้าด้านกว้างขนาด ๓๐
เซนติเมตร ด้านแคบ ขนาด ๒๐ เซนติเมตร หุ่นกลองทา ด้วยไม้เนื้อแข็งหรื อ
เนื้ออ่อน ตีดว้ ยไม้หุม้ นวม มีข้ ีจ่า (ข้าวสุ กบดผสมขี้เถ้า) ถ่วงหน้า

11
3. วงดนตรีพืน้ บ้ านภาคเหนือ
3.1 วงสะล้อ-ซึง (วงสะล้อ ซอ ซึง)
• เป็ นวงที่มีเสี ยงจากเครื่ องสายเป็ นหลัก นิยมใช้เล่นกันตามท้องถิ่นภาคเหนือทัว่ ไป
จานวนเครื่ องดนตรี ที่ใช้ประสมวงไม่แน่นอน แต่จะมีสะล้อและซึ งเป็ นหลักเสมอ มี
เครื่ องดนตรี อื่นๆที่ เข้ามาประกอบ เช่น ปี่ ก้อยหรื อขลุ่ย กลองเต่งถิง้ ฉิ่ ง ฉาบ ใช้
บรรเลงเพลงพื้นบ้านที่ไม่มีการขับร้อง เช่น เพลงปราสาทไหว เพลงล่องแม่ปิง เป็ น
ต้น และสามารถใช้บรรเลงเพลงสมัยใหม่กไ็ ด้
• เครื่ องดนตรี ที่ใช้คือ ซึ งใหญ่ ซึ งกลาง ซึ งเล็ก สะล้อกลาง สะล้อเล็ก กลองเต่งถิ้ง ขลุ่ย
พื้นเมือง ฉิ่ ง ฉาบ

12
3. วงดนตรีพืน้ บ้ านภาคเหนือ
3.2 วงปี่ ชุ ม (ปี่ จุม)

• ปี่ ชุม 3 หมายถึง การใช้ปี่ 3 ขนาด เป่ าประสานเสี ยงกัน ได้แก่ ปี่ แม่ ปี่ กลางและปี่ ก้อย
• ปี่ ชุม 4 หมายถึง การใช้ปี่ 4 ขนาด เป่ าประสานเสี ยงกัน ได้แก่ ปี่ แม่ ปี่ กลาง ปี่ ก้อยและปี่ ตัด (ปี่
เล็ก)
• ปี่ ชุม 5 หมายถึง การใช้ปี่ 5 ขนาด เป่ าประสานเสี ยงกัน โดยเพิม่ ปี่ ขนาดเล็กสุ ดเข้ามาอีกหนึ่ง
เลา
• แต่โดยปกติไม่ค่อยนิยมกันเพราะใช้ปี่ชุม๓ หรื อชุม๔ ก็ได้เสี ยงประสานกันที่ไพเราะอยูแ่ ล้ว

13
3. วงดนตรีพืน้ บ้ านภาคเหนือ
3.3 วงแห่ กลองตึ่งโนง
กลองตึ่งโนง โดยปกติจะบรรเลงร่ วมกับกลองตะหลดปด ฉาบ และฆ้อง โดยตี
เป็ นเครื่ องประกอบจังหวะ ซึ่ งในบางโอกาสที่ตอ้ งการความอลังการ ก็มกั ใช้เครื่ องเป่ าที่
มีเสี ยงดังประกอบด้วยนัน่ คือ แน ซึ่ งมีสองเลา ได้แก่ แนน้อย และแนหลวง บางครั้ง การ
ประสมวงอาจจะมีการเพิ่มเครื่ องประกอบจังหวะ และชื่อเรี ยก เปลี่ยนไปตามความนิยม
ของท้องถิ่น

14
4. ศิลปิ นพืน้ บ้ าน
ภาคเหนือ

4.1 จรัล มโนเพ็ชร


จรัล มโนเพ็ชร (1 มกราคม พ.ศ. 2494 - 3 กันยายน พ.ศ. 2544) เป็ น
ศิลปิ นชาวไทย ผูเ้ ป็ นทั้งนักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลง และนักแสดง
ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็ นศิลปิ นผูย้ งิ่ ใหญ่แห่งยุคสมัย งานดนตรี ของ
จรัลมีเอกลักษณ์จากการสร้างสรรค์ภาษาถิ่นเหนือ คาเมือง ของเขาซึ่ง
เรี ยกว่า “โฟล์คซองคาเมือง” ที่ก่อเกิดขึ้นนับแต่ปี พ.ศ. 2520 และ
ได้รับความสนใจจนเป็ นที่ยอมรับ และกลายเป็ นแบบอย่างบน
แนวทางดนตรี ทอ้ งถิ่นร่ วมสมัยในปั จจุบนั
จรัลได้รับการยกย่องให้เป็ น “ราชาโฟล์คซองคาเมือง” จรัลแต่งเพลง
ไว้กว่าสองร้อยเพลงในช่วงเวลาราวยีส่ ิ บห้าปี ของชีวติ ศิลปิ นของเขา
เป็ นบทเพลงที่งดงามด้วยการใช้ภาษาเยีย่ งกวี จนทาให้เขาได้รับโล่
ประกาศเกียรติคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา สยามบรมราช
กุมารี เมื่อปี พ.ศ. 2537 ในฐานะ “บุคคลดีเด่นทางด้านการใช้ภาษา”

15
4. ศิลปิ นพืน้ บ้ าน
ภาคเหนือ

4.2 บุญศรี รัตนัง


บุญศรี รัตนัง เกิดเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2496 ที่บา้ นป่ าเหมือด
ตาบลป่ าไผ่ อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ บุญศรี มีนิสัยการดีด สี
ตีเป่ า มาตั้งแต่เล็ก ได้ฝึกการเล่นดนตรี พ้นื เมืองประเภทซึง-สะล้อ
ขลุ่ย จากลุงของตน คือ นายสิ งห์คา รัตนัง ตั้งแต่เยาว์วยั
บุญศรี รัตนัง สาเร็ จการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จาก
โรงเรี ยนบ้านป่ าเหมือด เมื่อปี พ.ศ. 2506 เริ่ มเรี ยนเป่ าปี่ กับพ่อสม
บุญเรื อง ช่างเป่ าปี่ มีชื่อในขณะนั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2519 ตั้งวงดนตรี
พื้นเมืองประยุกต์ชื่อวง “ ลูกทุ่ง ลานทอง ” และย้ายมาเล่นตลกใน
คณะนายประสิ ทธิ ศรี สมเพชร ในตลกคณะ “ จอกจมูกแดง ” ในปี
พ.ศ. 2522 ปี ต่อมาเข้าสู่ วงการซอโดยได้รับการสนับสนุนจากนาย
ประสิ ทธิ ศรี สมเพชร และเริ่ มฝึ กแต่งเพลง ใส่ ทานองเพลงแนน
พื้นบ้านภาคเหนือ

16
4. ศิลปิ นพืน้ บ้ าน
ภาคเหนือ

4.3 เจ้ าเครื อแก้ ว ณ เชียงใหม่


เจ้าเครื อแก้ว ณ เชียงใหม่เกิดเมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2456 ในสกุล ณ
เชียงใหม่ ในวัยเด็กได้ถวายตัวเป็ นข้าหลวงของพระราชชายา เจ้าดารา
รัศมี ทาให้ได้เรี ยนรู ้ฝึกฝน และสื บสานเพลงพื้นเมือง และการฟ้อนรา
พื้นเมืองของจังหวัดเชียงใหม่ที่กาลังจะสู ญหายไว้เป็ นจานวนมาก เป็ น
ผูเ้ ชี่ยวชาญเพลงพื้นเมืองภาคเหนือที่ยงั จดจาคาร้อง ทานอง ไว้อย่าง
ครบถ้วน เมื่อจัดตั้งวิทยาลัยนาฏศิลป์ เชียงใหม่ข้ ึนใน พ.ศ. 2514 ท่าน
ได้รับเชิญให้มาเป็ นผูช้ านาญการสอนขับร้องเพลงไทยและเพลงพื้นเมือง
ภาคเหนือ นับตั้งแต่น้ นั มา ท่านได้ทาหน้าที่ เป็ นครู ถ่ายทอดศิลปะ
พื้นเมืองภาคเหนือให้สืบทอดต่อไป
ได้รับการคัดเลือกให้เป็ นบุคคลกรผูม้ ีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม จังหวัด
เชียงใหม่ ประจาปี พ.ศ. 2533 เจ้าเครื อแก้ว ณ เชียงใหม่ ได้รับการยกย่อง
เชิดชูเกียรติเป็ นศิลปิ นแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์ พื้นเมือง
ล้านนา) ประจาปี พุทธศักราช 2541 ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ.
2546 สิ ริรวมอายุได้ 90 ปี

17
ดนตรี พ้นื บ้าน
ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ

18
1. ประวัตภิ ูมภิ าค
ภาคอีสาน ตั้งอยูบ่ นแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ าโขงกั้นประเทศลาว
ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน ซึ่ งเป็ นภาษาอีสานสาเนียงหนึ่ งทางฝั่งขวาแม่น้ า
โขง ส่ วนภาษาไทยนิยมใช้กนั ทัว่ ไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจังหวัดนครราชสี มาแต่
ไม่ถือเป็ นภาษาหลัก ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่สุดของ
ประเทศเช่น อาหาร ภาษา อักษร เช่น อักษรไทน้อย ดนตรี หมอลา ดนตรี กนั ตรึ ม ดนตรี
เจรี ยง และศิลปะการฟ้อนรา การเซิ้ ง ที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็ นต้น
ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือมี 19 จังหวัด ได้แก่ หนองคาย นครพนม สกลนคร
อุดรธานี หนองบัวลาภู เลย มุกดาหาร กาฬสิ นธุ์ ขอนแก่น อานาจเจริ ญ ยโสธร ร้อยเอ็ด
มหาสารคาม ชัยภูมิ นครราชสี มา บุรีรัมย์ สุ รินทร์ ศรี สะเกษ และอุบลราชธานี

19
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2.1 พิณ
• พิณพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ มีชื่อเรี ยกแตกต่างกัน เช่น ซุง หมากจับปี่ มาก
ต้องโต่งและหมากตับแต่ง มีสายตั้งแต่ 2 - 4 สาย ชนิดที่มี 4 สาย ก็คล้ายกับซึ งของ
ภาคเหนือ แต่ปลายกะโหลกพิณป้านกว่า
• เป็ นเครื่ องตี ทาด้วยไม้ร้อยต่อกันจานวน 12 ท่อนด้วยเชือกเป็ นผืน แต่ละท่อนมีขนาด
และความยาวลดหลัน่ กันตามลาดับ จากใหญ่ลงมาเล็ก เวลาเล่นใช้ดา้ นใหญ่
(ด้านบน) แขวนกับกิ่งไม้ หรื อไม้ขาตั้ง ด้านเล็ก (ด้านล่าง) ใช้เท้าผูเ้ ล่น หรื อทาที่เกี่ยว
ยึดไว้ มักใช้ผเู ้ ล่น 2 คน คนหนึ่งเล่นทานองเพลงเรี ยก "หมอเคาะ" อีกคนหนึ่งทา
หน้าที่เคาะประสานเสี ยงทาจังหวะเรี ยก "หมอเสิ ร์ฟ" โปงมีเสี ยง 5 เสี ยง คือ โด เร มี
ซอล ลา ไม่มีเสี ยง ฟาและที

20
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2.2 แคน
• เป็ นเครื่ องเป่ าทาด้วยไม้ซางขนาดต่าง ๆ นามาเรี ยงลาดับผูกติดกันเป็ น 2 แถว ๆ ละ 6
ลาบ้าง 7 ลาบ้าง หรื อ 8 ลาบ้าง สุ ดแท้แต่วา่ จะเป็ นแคนหก แคนเจ็ด หรื อแคนแปด
โดยเรี ยงลาใหญ่ไว้คู่หน้า และลาเล็ก ๆ เป็ นคู่ถดั ไปตามลาดับ และต้องเรี ยงให้กลาง
ลาตรงที่ใส่ ลิ้นอยูใ่ นระดับเดียวกัน แล้วเอาไม้จริ งมาถากเจาะรู สาหรับเป่ า (เรี ยกส่ วน
นี้วา่ "เต้า") เอาลาไม้ซางที่เรี ยงไว้สอดลงในเต้าให้พอดีกบั ตรงที่ใส่ ลิ้นไว้ แล้วเอาชัน
หรื อขี้ผ้ งึ พอกกันลมรั่ว เหนือเต้าขึ้นไปประมาณ 4 - 5 ซม. เจาะรู ดา้ นข้างของลาไม้
ซางตั้งแต่คู่ที่ 2 เป็ นต้นไป ลาละ 1 รู สาหรับนิ้วปิ ดเปิ ดเปลี่ยนเสี ยง ส่ วนคู่แรก เจาะรู
ด้านหน้าเหนือเต้าขึ้นไปประมาณ 2 - 3 ซม. สาหรับนิ้วหัวแม่มือปิ ดเปิ ด การเป่ าแคน
ต้องใช้ท้ งั เป่ าลมเข้า และดูดลมออก โดยเป่ าตรงหัวเต้าด้านที่เจาะรู ไว้ อาจกล่าวได้วา่
แคนเป็ นเครื่ องดนตรี สัญลักษณ์ของภาคอีสาน ประชาชนแถบนี้นิยมเป่ าเล่นสื บต่อกัน
มาช้านาน ทั้งเล่นเ ดี่ยวคลอการร้อง และเล่นเป็ นวงโดยผสมกับเครื่ องดนตรี อื่น เช่น
พิณ โปงลางกลอง ฯลฯ ประกอบการแสดงพื้นบ้านภาคอีสานต่าง ๆ
21
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2.3 โหวด
• โหวดเป็ นเครื่ องดนตรี ของชาวอีสาน เดิมโหวดเป็ นของเล่นของเด็กเลี้ยงควายชาว
ภาคอีสานทัว่ ๆนิยมนาไปแกว่งเล่นเหมือน “สนู“ ใช้เล่นในช่วงปลายฤดูฝนก่อนเก็บ
เกี่ยวข้าวนาปี ของเล่นชนิดหนึ่ งของชาวอีสาน ต่อมาโหวดได้ดดั แปลงมาเป็ นเครื่ อง
ดนตรี พ้นื เมืองอีสาน

22
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2.4 พิณไห
• พิณไหเป็ นเครื่ องดนตรี ประเภทเครื่ องดีด ที่นาภาชนะใส่ ปลาร้าของชาวอีสานที่
เรี ยกว่า ไหซอง ขนาดลดหลัน่ จานวน 3-4 ใบ มาทาเป็ นกล่องเสี ยง โดยการเส้นยางที่
นามาจากยางในรถจักรยานผูกและขึงผ่านบริ เวณปากไห ให้ได้ความตึงหย่อนตาม
เสี ยงที่ตอ้ งการ ซึ่ งต้องมีความสัมพันธ์กบั ขนาดเล็กใหญ่ของไหที่นามาทาด้วย และ
เทียบเสี ยงให้ประสานกันตรงกับลายแคนที่ใช้ เช่น ลายใหญ่ ลายสุ ดสะแนน เป็ นต้น
หรื ออาจจะคงที่เสี ยงดเสี ยงหนึ่ งไว้โดยไม่เปลี่ยนไปตามลายของการบรรเลงก็ได้
• เดิมทีพิณไหนั้นมีบทบาทหน้าที่ในการให้จงั หวะในเสี ยงหลักๆของลายที่
บรรเลง เช่นเดียวกับเบสของสากล แต่ภายหลังเมื่อมีการนากีตาร์ เบสเข้ามาใช้ พิณไห
จึงลดบทบาทหน้าที่ในด้านเสี ยงลงไป หากกลับเป็ นส่ วนสาคัญที่ทาให้เกิด “นางไห”
ออกมาฟ้อนราทาท่าบรรเลงดนตรี ดว้ ยลีลาที่อ่อนช้อย อีกกระฉับกระเฉงสนุกสนาน
ซึ่ งเป็ นสี สันของวงโปงลางกระทัง่ ปั จจุบนั นี้

23
3. วงดนตรีพืน้ บ้ านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
3.1 แคนวง
• คือ แคนที่นามาบรรเลงพร้อมๆกัน หลายๆเต้า โดยเป่ าเป็ นคณะ หรื อเป็ นวงร่ วมกัน มี
เครื่ องให้จงั หวะ เช่น ฉิ่ ง ฉาบ กรับ ฯลฯ เข้าร่ วนบรรเลงด้วย แคนวง วงหนึ่ง จะใช้
แคนตั้งแต่ 6 เต้าขึ้นไป จนถึง 12 เต้า คือ
• จานวนแคนต่างๆที่ประกอบกันเข้าเป็ นวงขนาดเล็ก กลาง และขนาดใหญ่ เป็ นจานวน
โดยอนุโลม ไม่ได้ถือตายตัวเคร่ งครัดมากนัก เช่น อาจจะเพิ่มจานวนแคนให้มากกว่า
นี้เพียงใดก็ถือว่าเป็ นแคนวงขนาดใหญ่ท้ งั นั้น โดยมีเครื่ องดนตรี อนื่ ๆ และเครื่ อง
ประกอบจังหวะร่ วมผสมเข้ากับวงด้วยเช่น ขลุ่ย หรื อ ปี่ ซอด้วง ซออู ้ กลอง หรื อโทน
รามะนา แคนวงมักบรรเลงเพลงไทย เพลงไทยสากล ทั้งเพลงไทยลูกกรุ ง เพลงไทย
ลูกทุ่ง นอกจากนี้ยงั ใช้บรรเลงประกอบการละเล่นพื้นเมืองต่างๆ

24
4. ศิลปิ นพืน้ บ้ านภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ

4.1 เปลื้อง ฉายรัศมี


เปลื้อง ฉายรัศมี เกิดเมื่อวันที่ 25 ต.ค. 2475 ที่บา้ นเลขที่ 7 บ้านตา ต.ม่วง
มา อ.เมืองกาฬสิ นธุ์ จ.กาฬสิ นธุ์
ศิลปิ นแห่งชาติปี พ.ศ. 2529 สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรี อีสานพื้นบ้าน-
โปงลาง) นักดนตรี พ้ืนบ้านอีสานที่มีความสามารถพิเศษสามารถเล่นและ
ถ่ายทอดการเล่น ดนตรี พ้ืนบ้านอีสานได้เกือบทุกชนิด ทั้ง พิณ แคน ซอ
โปงลางและอื่นๆ โดยเฉพาะ "โปงลาง" นั้น สามารถเล่นและถ่ายทอดการ
เล่นได้เป็ นพิเศษ และที่สาคัญที่สุดคือ เป็ นผูศ้ ึกษา ค้นคว้า ปรับปรุ งและ
พัฒนาโปงลางมาตลอดระยะเวลา 40 ปี จนทาให้ "เกราะลอ" ซึ่ งเป็ นเพียง
สิ่ งที่ใช้ตีไล่นก กา ตามไร่ ตามนา พัฒนามาเป็ น "โปงลาง" ที่มีสภาพเป็ น
เครื่ องดนตรี ที่มีเสี ยงไพเราะ กังวาน และให้ความรู ้สึกของความเป็ น
พื้นบ้านอีสานอย่างแท้จริ งเป็ นที่นิยมกันแพร่ หลายและยอมรับกันว่า
"โปงลาง" เป็ น เครื่ องดนตรี เอกลักษณ์ของภาคอีสานเคียงคู่กบั "แคน" ซึ่ ง
มีอยูก่ ่อนแล้ว

25
ดนตรี พ้นื บ้าน
ภาคกลาง

26
1. ประวัตภิ ูมภิ าค
ภาคกลาง เป็ นภูมิภาคตอนกลางของประเทศไทย มีพ้นื ที่ครอบคลุมที่ราบลุ่ม
แม่น้ าเจ้าพระยา ภาคกลางเป็ นภูมิภาคที่มีกรุ งเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย
ตั้งอยู่ และมีประชากรในภูมิภาคมากที่สุดในประเทศ

ภาคกลางมี 22 จังหวัด ได้แก่ พิษณุโลก สุ โขทัย เพชรบูรณ์ พิจิตร กาแพงเพชร


นครสวรรค์ ลพบุรี ชัยนาท อุทยั ธานี สิ งห์บุรี อ่างทอง สระบุรี พระนครศรี อยุธยา
สุ พรรณบุรี นครนายก ปทุมธานี นนทบุรี นครปฐม สมุทรปราการ สมุทรสาคร
สมุทรสงคราม และกรุ งเทพมหานคร

27
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคกลาง
2.1 ซอสามสาย
• เป็ นซอ ที่มีรูปร่ างงดงามที่สุด ซึ่ งมีใช้ใน วงดนตรี ไทยมาตั้งแต่สมัยกรุ งสุ โขทัย (พ.ศ.
1350) แล้ว ซอสามสายขึ้นเสี ยง ระหว่างสายเป็ นคู่สี่ใช้บรรเลงในพระราชพิธี อัน
เนื่องด้วยองค์พระมหากษัตริ ย ์ ภายหลังจึง บรรเลงประสมเป็ นวงมโหรี

28
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคกลาง
2.2 ซอด้ วง
• เป็ นเครื่ องสายชนิดหนึ่ ง บรรเลงโดยการใช้คนั ชักสี กล่องเสี ยง ทา ด้วยไม้เนื้อแข็ง ขึง
หน้าด้วยหนังงู มีช่อง เสี ยงอยูด่ า้ นตรงข้าม คันทวนทาด้วยไม้เนื้อ แข็ง ยาวประมาณ
๖๐ เซนติเมตร มีลูกบิดขึ้นสาย อยูต่ อนบน ซอด้วงใช้สายไหมฟั่นหรื อสาย เอ็น มี ๒
สาย ขนาดต่างกัน คันชักอยูร่ ะหว่าง สาย ยาวประมาณ ๕๐ เซนติเมตร ซอด้วงมีเสี ยง
แหลม ใช้ เป็ นเครื่ องดนตรี หลักในวงเครื่ องสาย

29
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคกลาง
2.3 จะเข้
• เป็ นเครื่ องสาย ที่ใช้บรรเลงด้วยการดีด โดยปกติมีขนาดความ สู งประมาณ ๒๐
เซนติเมตร และยาว ๑๔๐ เซนติเมตร ตัว จะเข้ทาด้วยไม้เนื้ออ่อน ขุดเป็ นโพรง มีสาย
๓ สาย สายที่ ๑-๒ ทาด้วยไหมฟั่น สาย ที่ ๓ ทาด้วยทองเหลือง วิธีการบรรเลงมือซ้าย
จะทาหน้าที่กดสายให้เกิดเสี ยงสู ง- ต่า ส่ วนมือขวาจะดีดที่สายด้วยวัตถุที่ ทาจากงา
สัตว์

30
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคกลาง
2.4 ขลุ่ย
• ขลุ่ย ของไทยเป็ นขลุ่ย ในตระกูลรี คอร์ ดเดอร์ คือ มีที่บงั คับแบ่งกระแส ลม ทาให้เกิด
เสี ยงในตัวไม่ใช่ขลุ่ยผิว ตระกูลฟลุตแบบจีน ขลุ่ยไทยมีหลายขนาด ได้แก่ ขลุ่ยอู ้ มี
เสี ยงต่าที่สุด ระดับกลาง คือ ขลุ่ย เพียงออ เสี ยงสู ง ได้แก่ ขลุ่ยหลีบ และยังที่มี เสี ยง
สู งกว่านี้คือ ขลุ่ยกรวดหรื อขลุ่ยหลีบกรวด อีกด้วย ขลุ่ยเป็ นเครื่องดนตรี ในวง
เครื่ องสายและ วงมโหรี

31
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคกลาง
2.5 ปี่
• เป็ นเครื่ องเป่ าที่มีลิ้น ทาด้วยใบตาล เป็ นเครื่ องกาเนิดเสี ยง เป็ นประเภทลิ้นคู่ (หรื อ ๔
ลิ้น) เช่นเดียวกับโอโบ ( Oboe) มีหลายชนิดคือ ปี่ นอก ปี่ ใน ปี่ กลาง ปี่ มอญ ปี่ ไทยที่
เด่นที่สุด คือ ปี่ ในตระกูลปี่ ใน ซึ่ งมีรูปิดเปิ ดบังคับลม เพียง ๖ รู แต่สามารถบรรเลง
ได้ถึง ๒๒ เสี ยง และ สามารถเป่ าเลียนเสี ยงคนพูดได้ชดั เจนอีกด้วย

32
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคกลาง
2.6 ระนาดเอก
• เป็ นระนาดเสี ยงแหลมสู ง ประกอบ ด้วยลูกระนาดที่ทาด้วยไม้ไผ่บงหรื อไม้ เนื้อแข็ง
เช่น ไม้ชิงชัน ๒๑-๒๒ ลูก ร้อยเข้า ด้วยกันเป็ นผืนระนาด และแขวนหัวท้ายทั้ง ๒ ไว้
บนกล่องเสี ยงที่เรี ยกว่า รางระนาด ซึ่ งมี รู ปร่ างคล้ายเรื อ ระนาดเอกทาหน้าที่นาวง
ดนตรี ดว้ ยเทคนิคการบรรเลงที่ประณี ตพิศดาร มักบรรเลง ๒ แบบ คือ ตีดว้ ยไม้แข็ง
เรี ยกว่า ปี่ พาทย์ไม้แข็ง และตีดว้ ยไม้นวม เรี ยกปี่ พาทย์ไม้นวม ระนาดเอกเรี ยงเสี ยงต่า
ไปหาสู งจาก ซ้ายไปขวา และเทียบเสี ยงโดยวิธีใช้ชนั โรงผสม ผงตะกัว่ ติดไว้ดา้ นล่าง
ทั้งหัวและท้ายของ ลูกระนาด

33
3. วงดนตรีพืน้ เมืองภาคกลาง
• วงดนตรี พ้นื บ้านภาคกลาง ประกอบไปด้วยวงปี่ พาทย์พ้นื บ้าน วงปี่ พาทย์นางหงส์
วงปี่ พาทย์มอญ วงเครื่ องสาย ส่ วนโอกาสที่ใช้ในการบรรเลงมีความแตกต่างกันไป
เช่น วงปี่ พาทย์มอญและวงปี่ พาทย์นางหงส์ นิยมใช้บรรเลงประโคมในงานศพ
วงเครื่ องสายนิยมใช้บรรเลงในงานมงคลต่างๆ เช่น งานแต่งงาน งานขึ้นบ้านใหม่
หรื องานรื่ นเริ งต่างๆ เป็ นต้น
• เครื่ องดนตรี ที่ใช้บรรเลงในวงดนตรี พ้นื บ้านภาคกลางที่สาคัญๆ ได้แก่ จะเข้ ขลุ่ย
ซออู ้ ซอด้วง ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ปี่ ฉิ่ ง ฉาบเล็ก กรับ โหม่ง เป็ นต้น
• วงปี่ พาทย์ เป็ นวงที่ประกอบไปด้วยเครื่ องดนตรี ประเภทตี เป่ า และเครื่ องประกอบ
จังหวะ ใช้บรรเลงในงานพระราชพิธีและพิธีต่าง ๆ แบ่งได้ 3 ขนาด คือ
• วงปี่ พาทย์ เป็ นวงที่ประกอบไปด้วยเครื่ องดนตรี ประเภทตี เป่ า และเครื่ องประกอบ
จังหวะ ใช้บรรเลงในงานพระราชพิธีและพิธีต่าง ๆ แบ่งได้ 3 ขนาด คือ

34
3. วงดนตรีพืน้ เมืองภาคกลาง
3.1 วงปี่ พาทย์เครื่ องห้ า แบ่งออกเป็ น 2 ชนิดได้แก่
• ปี พาทย์เครื่ องห้าอย่างหนัก จะใช้สาหรับการบรรเลงในการแสดงมหรสพ หรื องานในพิธีต่างๆ
ซึ่งจะประกอบไปด้วยเครื่ องดนตรี ต่างๆ ดังนี้คือ ฆ้องวงใหญ่ ปี่ ใน กลองทัด ตะโพน และฉิ่ ง
• ปี พาทย์เครื่ องห้าอย่างเบา ประกอบไปด้วยเครื่ องดนตรี ต่างๆ ดังนี้คือ กลองชาตรี ฆ้องคู่ ฉิ่ ง ปี่
และทับหรื อโทน
3.2 วงปี่ พาทย์ เครื่ องคู่ เหมือนวงปี่ พาทย์เครื่ องห้า เพียงแต่เพิม่ ระนาดทุม้ และฆ้องวงเล็ก
เข้าไป
3.3 วงปี่ พาทย์เครื่ องใหญ่ เหมือนวงปี่ พาทย์เครื่ องคู่ เพียงแต่เพิ่มระนาดเอกเหล็กและ
ระนาดทุม้ เหล็กเข้าไป
• นอกจากนี้วงปี่ พาทย์ยงั มีอีก 3 ประเภทใหญ่ คือ วงปี่ พาทย์นางหงส์ วงปี่ พาทย์มอญ
วงปี่ พาทย์ดึกดาบรรพ์

35
4. ศิลปิ นพืน้ บ้ านภาค
กลาง

4.1 ขวัญจิต ศรีประจันต์


มีชื่อจริ งว่า เกลียว เสร็ จกิจ (เกิด 3 สิ งหาคม พ.ศ. 2490) เป็ นศิลปิ นแห่งชาติ
สาขาศิลปะการแสดง (เพลงพื้นบ้าน-อีแซว) ปี 2539 จากการเป็ นแม่เพลง
พื้นบ้านภาคกลางที่มีชื่อเสี ยง เต็มไปด้วยความสามารถในการเล่นเพลงแบบหา
ตัวจับได้ยาก และเมื่อหันเข้าสู่วงการเพลงลูกทุ่ง ก็ได้รับความนิยมอย่างสูง มี
ผลงานเพลงดัง
ขวัญจิต ศรี ประจันต์ สนใจเพลงพื้นบ้านมาตั้งแต่อายุ 15 ปี และแม้เชื้อสายทาง
พ่อจะมีญาติเป็ นพ่อเพลงที่มีชื่อเสี ยงของสุพรรณบุรี แต่พอ่ ก็ไม่สนับสนุนให้
เป็ นแม่เพลงพื้นบ้าน ความสนใจเพลงพื้นบ้าน ทาให้ขวัญจิตติดตามดูการร้อง
เพลงอีแซวของแม่เพลงบัวผัน จันทร์ศรี (ศิลปิ นแห่งชาติ พ.ศ. 2533) เป็ น
ประจาและต่อมาได้มีโอกาสไปดูแลน้องสาวที่อยูก่ บั ครู ไสว จึงได้เรี ยนรู ้การ
เล่นเพลงอีแซวแบบครู พกั ลักจาจนท่องเนื้อเพลงได้หลากหลายทั้งลีลาเพลง
แนวผูช้ ายของครู ไสวและเพลงแนวผูห้ ญิงของครู บวั ผัน
พ.ศ. 2516 ขวัญจิต ยุติวงดนตรี ลูกทุ่งแล้วกลับไปฟื้ นฟูเพลงอีแซวที่ จ.
สุพรรณบุรี อุทิศชีวติ ในการอนุรักษ์ฟ้ื นฟู เผยแพร่ และถ่ายทอดเพลงอีแซว
ให้กบั ลูกศิษย์และผูส้ นใจมาโดยตลอดจนถึงปัจจุบนั

36
4. ศิลปิ นพืน้ บ้ านในภาค
กลาง

4.2 บัวผัน จันทร์ ศรี


(พ.ศ. 2463 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548) ศิลปิ นเพลงพื้นบ้าน เพลงอี
แซว ที่มีชื่อเสี ยงของตาบลวังน้ าซับ อาเภอศรี ประจันต์ จังหวัด
สุ พรรณบุรี
เริ่ มหัดเพลงมาตั้งแต่เด็ก ๆ จากการติดตามดูพี่ชายเล่นเพลงที่ต่าง ๆ
ต่อมาได้ฝึกหัดเพลงจากบิดามารดาและอา จน มีความสามารถในการ
ประชันเพลงกับพ่อเพลงรุ่ นใหญ่ ตั้งแต่อายุราว 15 ปี
บัวผัน จันทร์ศรี มีลูกศิษย์มากมาย เป็ นครู เพลงคนแรกของขวัญจิต
ศรี ประจันต์, ขวัญใจ ศรี ประจันต์, สุ จินต์ ศรี ประจันต์ และ บุญโชค
ชนะโชติ ไสว ประพันธ์ จึงได้รับการยกย่องให้เป็ นศิลปิ นแห่งชาติ
(สาขาเพลงพื้นบ้านภาคกลาง) ประจาปี พ.ศ. 2533

37
ดนตรี พ้นื บ้าน
ภาคใต้

38
1. ประวัตภิ ูมภิ าค
ภาคใต้ เป็ นภูมิภาคหนึ่งของไทย ตั้งอยูบ่ นคาบสมุทรมลายู ขนาบด้วยอ่าวไทย
ทางฝั่งตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝั่งตะวันตก

ภาคใต้เป็ นภูมิอากาศแบบมรสุ มเมืองร้อน และโดยที่ภูมิประเทศของภาคใต้มี


ลักษณะเป็ นคาบสมุทรยาวแหลม มีพ้นื น้ าขนาบอยูท่ ้ งั ทางด้านตะวันตก และทางด้าน
ตะวันออก จึงทาให้มีฝนตกตลอดปี และเป็ นภูมิภาคที่มีฝนตกมากที่สุด

ภาคใต้มี 14 จังหวัด ได้แก่ ชุมพร ระนอง สุ ราษฎร์ ธานี นครศรี ธรรมราช


กระบี่ พังงา ภูเก็ต พัทลุง ตรัง ปั ตตานี สงขลา สตูล นราธิ วาส และยะลา

39
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคใต้
2.1 ทับ
• เป็ นคู่ เสี ยงต่างกันเล็กน้อย ใช้คนตีเพียงคนเดียว เป็ นเครื่ องตีที่สาคัญที่สุด เพราะทา
หน้าที่ คุมจังหวะและเป็ นตัวนาในการเปลี่ยนจังหวะทานอง (แต่จะต้องเปลี่ยนตามผู ้
รา ไม่ใช่ผรู ้ า เปลี่ยน จังหวะลีลาตามดนตรี ผูท้ าหน้าที่ตีทบั จึงต้องนัง่ ให้มอง เห็นผูร้ า
ตลอดเวลา และต้องรู ้เชิง ของผูร้ า)

40
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคใต้
2.2 กลอง
• กลอง เป็ นกลองทัดขนาดเล็ก (โตกว่ากลองของหนังตะลุงเล็กน้อย) ๑ ใบทาหน้าที่
เสริ มเน้นจังหวะและล้อเสี ยงทับ

41
2. เครื่ องดนตรีพืน้ บ้ านภาคใต้
2.3 ปี่ เป็ นเครื่ องเป่ าเพียงชิ้นเดียวของวง นิยมใช้ปี่ใน หรื อ บางคณะอาจใช้ปี่นอก ใช้
เพียง ๑ เลา ปี่ มีวธิ ี เป่ าที่คล้ายคลึงกับขลุ่ย ปี่ มี ๗ รู แต่สามารถกาเนิดเสี ยงได้ ถึง ๒๑ เสี ยง
ซึ่ งคล้ายคลึงกับเสี ยงพูด มากที่สุด
2.4 โหม่ ง คือ ฆ้องคู่ เสี ยงต่างกันที่เสี ยงแหลม เรี ยกว่า “เสี ยงโหม้ง” ที่เสี ยงทุม้ เรี ยกว่า
“เสี ยงหมุ่ง” หรื อ บางครั้งอาจจะเรี ยกว่าลูกเอกและลูก ทุม้ ซึ่ งมีเสี ยงแตกต่างกันเป็ น คู่
แปดแต่ด้ งั เดิมแล้วจะใช้คู่หา้
2.5. ฉิ่ง หล่อด้วยโลหะหนารู ปฝาชีมีรูตรงกลางสาหรับร้อยเชือก สารับนึงมี ๒ อัน
เรี ยกว่า ๑ คู่เป็ นเครื่ องตีเสริ มแต่งและเน้นจังหวะ ซึ่ งการตีจะแตกต่างกับการตีฉิ่ง ในการ
กากับจังหวะของดนตรี ไทย
2.6 แตระ หรื อ แกระ คือ กรับ มี ทั้งกรับอันเดียวที่ใช้ตีกระทบกับรางโหม่ง หรื อกรับคู่
และมีที่ร้อยเป็ นพวงอย่างกรับพวง หรื อใช้เรี ยวไม้หรื อลวด เหล็กหลาย ๆ อันมัดเข้า
ด้วยกันตีให้ปลายกระทบกัน

42
3. วงดนตรีพืน้ บ้ านภาคใต้
• วงดนตรี พ้นื บ้านภาคใต้ ประกอบไปด้วยวงกาหลอ วงปี่ พาทย์ชาตรี วงรองเง็ง วง
โต๊ะครึ ม วงดนตรี โนห์รา วงดนตรี หนังตะลุง วงดนตรี ซีละ วงดนตรี มะโย่ง วง
ดนตรี ลิเกป่ า โอกาสที่ใช้บรรเลงนิยมบรรเลงในงานแตกต่างกันไป เช่น วงกา
หลอ ใช้บรรเลงในงานศพ วงดนตรี หนังตะลุง ใช้บรรเลงประกอบการแสดงหนัง
ตะลุงโนห์รา เป็ นต้น
• เครื่ องดนตรี ที่ใช้บรรเลงในวงดนตรี พ้นื บ้านภาคใต้ที่สาคัญๆ ได้แก่ ทับ รามะนา
กลอง โหม่ง ฆ้องคู่ กลองชาตรี กรื อโต๊ะ รื อบับ เป็ นต้น

43
4. ศิลปิ นพืน้ บ้ านภาคใต้

4.1 กั้น ทองหล่ อ


กั้น ทองหล่อ เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455
นายกั้น ทองหล่อ รักษาศิลปะในการแสดงหนังตะลุงแบบโบราณมาตลอด ไม่
ว่าจะเป็ นเครื่ องดนตรี รู ปหนังตะลุง และแนวการแสดง เรื่ องที่ใช้แสดงหนังกั้น
ประพันธ์ข้ ึนเองทั้งสิ้น ที่มีชื่อเสี ยงโด่งดังมากที่สุด คือเรื่ องยอดชายนายนาบุญ
การว่ากลอนก็เป็ นกลอนปฏิภาณ แต่ละเรื่ องที่แสดงจึงไม่มีกลอนซ้ า รวม
จานวนครั้งที่หนังกั้นแสดง ทั้งในประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย ประมาณ
6,000 ครั้ง
เมื่อพ.ศ. 2527 หนังกั้น ทองหล่อ ได้รับเชิญไปเป็ นวิทยากรหลักที่ให้ความรู ้
เรื่ องหนังตะลุงและประสบการณ์การเล่นหนังตะลุง ในการสัมมนาหนังตะลุง
14 จังหวัดภาคใต้ ที่วทิ ยาลัยครู สงขลา (ตอนนี้เป็ น มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา)
และเป็ นประธานที่ปรึ กษาชมรมหนังตะลุงจังหวัดสงขลา เมื่อพ.ศ. 2528
นาย กั้น ทองหล่อ(พ.ศ. 2455 - พ.ศ. 2531) ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็ น
ศิลปิ นแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (หนังตะลุง) เมื่อพ.ศ. 2529

44

You might also like