You are on page 1of 592

-ก-

-ข-

คํานําผูขยายความ

เนื่องจากผูขยายความตองสอนในรายวิชา Timber and Steel Design ตําราที่กําหนดใหผูเรียนใชเปนของ


ศาสตราจารย ดร. วินิต ชอวิเชียร ซึ่งเปนอาจารยของผูขยายความ และในสวนของแบบฝกหัดไดดัดแปลงจาก
หนังสือ STEEL DESIGN Fourth Edition ของ William T. Segui ที่นิยมใชในการเรียนทั้งระดับปริญญาตรีและ
ปริญญาโท แตตําราทัง้ สองเลมมีลักษณะที่รวบรัดไมไดแสดงวิธอี ยางละเอียดเนื่องดวยขอจํากัดของจํานวนหนา
และอีกเหตุผลหนึ่งที่ผูเรียนตองมีพื้นฐานกลศาสตรวิศวกรรม กําลังวัสดุ อยางดีเยีย่ มจึงจะพอเขาใจได แตผูเรียน
สวนมากยังติดขัดทั้งในเรื่องพื้นฐานและเรือ่ งของภาษาอังกฤษตามที่ผูสอนสังเกตเห็น ผูขยายความจึงพยายามเรียบ
เรียงใหมโดยอธิบายโดยละเอียดในทุกๆ ประเด็นที่มกี ารสอบถามทั้งระหวางการสอนและในการเสวนากับวิศวกร
ทานอื่นๆ
เอกสารชุดนี้ทาํ ขึ้นเพื่อประกอบการสอนเทานั้น ไมไดทําเพื่อการจําหนายใดๆ

ผศ.สมศักดิ์ คําปลิว
คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2 สิงหาคม 2552
กิตติกรรมประกาศ

เมื่อกล่าวถึงตําราวิศวกรรมโยธาและกล่าวถึงผู้เรี ยบเรี ยงตําราแล้ ว ก็คงจะไม่มีวิศวกรโยธาท่านใดไม่ร้ ู จัก ท่าน


ศาสตราจารย์กิตติคณ ้ ย้ งั รวมไปถึงผู้เรี ยบเรี ยงตําราร่ วม อาทิ เช่น ศาสตราจารย์กิตติคณ
ุ ดร.วินิต ช่อวิเชียร ทังนี ุ สนั่น
เจริญเผ่า, ศาสตราจารย์กิตติคณ
ุ วัฒนา ธรรมมงคล , รองศาสตราจารย์ สมนึก กุลประภา และ รองศาสตราจารย์ อํานวย
พานิชกุล ถือได้ วา่ เป็ นผู้แต่งและเรี ยบเรี ยงตําราด้ านวิศวกรรมโยธา ที่มีลกู ศิษย์มากมายทังลู
้ กศิษย์ทางตรง (นิสิตวิศวกรรม
โยธา จุฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลัย ) และทางอ้ อ ม (นิ สิ ต นัก ศึก ษาวิ ศ วกรรมโยธาจากสถาบัน ต่า งๆ) ซึ่ ง ถื อ ได้ ว่า เป็ น
บูรพาจารย์และวิศวกรด้ านวิศวกรรมโยธาที่มีชื่อเสียงเป็ นที่ร้ ู จกั และให้ ความเคารพกันอย่างกว้ างขวาง และ ทังนี
้ ้ ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ สมศักดิ์ คําปลิว ซึ่งเป็ นลูกศิษย์อีกหนึ่งท่าน ได้ นําตําราวิชา “การออกแบบโครงสร้ างเหล็ก (Structural
Steel Design) มาตรฐาน AISC วิธี ASD และ LRFD” มาทําการเรี ยบเรี ยงและขยายความใหม่นนั ้ เพื่อให้ ผ้ ทู ี่ศกึ ษาในวิชา
ดัง กล่ า วนัน้ ได้ ทํ า ความเข้ า ใจในเนื อ้ หาได้ ชัด เจนและง่ า ยขึ น้ และมี วัต ถุป ระสงค์ สํ า หรั บ การสอนเท่ า นัน้ มิ ไ ด้ ห วัง
ผลประโยชน์เพื่อการจําหน่ายใดๆ

ทังนี
้ ้ทางทีมงาน Tumcivil.com จึงได้ ทําการขออนุญาตผู้แต่งและเรี ยบเรี ยงต้ นฉบับ และผู้เรี ยบเรี ยงขยายความ
ใหม่ เพื่อเผยแพร่ ตําราดังกล่าวในรู ปแบบของเอกสารอีเล็กโทรนิกส์ หรื อ E-BOOK เพื่อเป็ นคุณูปการแก่ผ้ เู รี ยบเรี ยง
ุ ดร.วินิต ช่อวิเชียร และผู้เรี ยบเรี ยงขยายความ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมศักดิ์ คําปลิว
ต้ นฉบับ ท่านศาสตราจารย์กิตติคณ
และเพื่อการพัฒนาวิชาการทางด้ านวิศวกรรมโยธาอย่างบูรณาการและยัง่ ยืน ทีมงานจึงขอขอบพระคุณในความเมตตา
และเอื ้อเฟื อ้ ความรู้ที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาสําหรับการเผยแพร่นี ้

นายอธิพชั ร์ ศรเกตุ

1 พฤษภาคม 2563
คํานิยม
ปั จจุบนั ตําราหรื อหนังสือทางด้ านวิศวกรรมโครงสร้ างโดยเฉพาะเรื่ องของการออกแบบโครงสร้ างอาคารนัน้ มี
ออกมาจําหน่ายให้ เห็นกันอย่างหลากหลาย ทังตํ
้ าราภาษาต่างประเทศและตําราที่เป็ นภาษาไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งตํารา
ภาษาไทยที่เหล่าบรรดานิสติ นักศึกษาวิศวกรรมโยธา และวิศวกรโยธาส่วนใหญ่ต้องมีเก็บไว้ อา่ นและทบทวนก็ดี รวมไปถึง
การใช้ สําหรั บอ้ างอิงในการทํ างานก็ดี ซึ่งตัวตํ าราหรื อหนังสือต่างๆ ที่ผ้ ูแต่ง ได้ ทําการแต่งและเรี ยบเรี ยงเนื อ้ หาที่เป็ น
ุ ดร.วินิต ช่อวิเชียร ถ้ าพูดให้
ประโยชน์ไว้ มากที่สดุ นัน้ ก็คงจะหนีไม่พ้นอนุกรมตําราของทีมงาน ท่านศาสตราจารย์กิตติคณ
เป็ นภาษาที่ทนั สมัยขึน้ มาหน่อยก็ถือได้ ว่าเป็ นซีรี่ส์ตําราวิศวกรรมโยธาเลยที่เดียว ข้ าพเจ้ าเองก็เป็ นหนึ่งในผู้มีตําราชุด
้ สมัยที่ยงั นักศึกษาวิศวกรรมโยธาที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หนังสือเล่มแรกที่มีนนั ้
ดังกล่าวครบทุกเล่มเช่นกัน เริ่ มตังแต่
เห็นจะเป็ นวิชาแรกของภาควิชาคือ “คอนกรี ตเทคโนโลยี (Concrete Technology)” และเล่มที่สองคือ “กํ าลังวัสดุ
(Strength of Materials)” ในปี พ.ศ. 2541 และหลังจากนันมาก็
้ มีไว้ อ่านอีกหลายๆเล่ม ตามรายวิชาของแต่ละชันปี
้ ที่เรี ยน
ซึง่ ปั จจุบนั นันตั
้ วข้ าพเจ้ าเองก็ยงั เก็บชุดนี ้เอาไว้ สําหรับอ้ างอิงในการทํางาน

ข้ าพเจ้ าได้ รับเกียรติจากคุณอธิพชั ร์ ศรเกตุ ผู้ก่อตังและผู


้ ้ บริ หารเว็บไซต์ Tumcivil.com ซึง่ เป็ นที่ร้ ูจกั กันดีในแวดวง
วิช าการด้ า นวิ ศ วกรรมโยธา โดยมอบหมายให้ ข้ า พเจ้ า เขี ย นคํ า นิ ย มไว้ ภ ายในตํ า ราหรื อ หนัง สือ วิ ช า “การออกแบบ
โครงสร้ างเหล็ก (Structural Steel Design) มาตรฐาน AISC วิธี ASD และ LRFD” ซึง่ ทําการเรี ยบเรี ยงและขยายความ
ใหม่โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมศักดิ์ คําปลิว จากต้ นฉบับปี พิมพ์ครัง้ แรก พ.ศ.2539 โดย มีท่านศาสตราจารย์กิตติคุณ
ดร.วินิต ช่อวิเชี ยร เป็ นผู้เรี ยบเรี ยงตําราเล่มนี ้ และเป็ นอาจารย์ ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมศักดิ์ คําปลิว อยู่แล้ ว ซึ่ง
เอกสารชุดนี ้ทําขึ ้นเพื่อประกอบการสอนเท่านัน้ ไม่ได้ ทําเพื่อการจําหน่ายใดๆ

สําหรับตําราเล่มนี ้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมศักดิ์ คําปลิว ได้ ทําการเรี ยบเรี ยงใหม่โดยอธิบายอย่างละเอียดในทุกๆ


ขันตอนและทุ
้ กประเด็นของเนือ้ หา เพื่อให้ นิสิต นักศึกษาวิศวกรรมโยธา รวมไปถึงวิศวกรโยธาที่ทํางานด้ านโครงสร้ าง
เหล็กและผู้ที่สนใจสามารถทําความเข้ าใจกับเนื ้อหาได้ มากยิ่งขึ ้น และสามารถนําไปพัฒนาและต่อยอดในระดับที่สงู กว่า
ได้ และในเชิงการพัฒนาทางด้ านวิศวกรรมโครงสร้ างอย่างบูรณาการและยัง่ ยืนนัน้ ทางทีมงาน Tumcivil.com จึงเล็งเห็น
ความสําคัญในการที่จะสร้ างองค์ความรู้เพื่อก่อให้ เกิดประโยชน์และการพัฒนาวงการวิศวกรรมโยธา จึงได้ มีความเห็นพ้ อง
ต้ องกันที่จะทําการขออนุญาตผู้เรี ยบเรี ยงต้ นฉบับ และผู้เรี ยบเรี ยงขยายความใหม่ ในการเผยแพร่ตําราดังกล่าวในรูปแบบ
ของเอกสารอีเล็กโทรนิกส์ หรื อ E-BOOK ให้ แก่ผ้ ทู ี่สนใจศึกษาหาความรู้ ดังนัน้ หนังสือวิชา “การออกแบบโครงสร้ างเหล็ก
(Structural Steel Design) มาตรฐาน AISC วิธี ASD และ LRFD” ฉบับขยายความนี ้ จึงเป็ นประโยชน์อย่างมาก สําหรับ
งานวิศวกรรมโครงสร้ างเพื่อต่อยอดไปสูร่ ะดับสากล

นายฐิ ตพัฒน์ พรหมหลวงศรี


30 เมษายน 2563
3. ค–

สารบัญ

บทที่ 1 โครงสรางเหล็กและเหล็กโครงสราง 1-17


1.1 โครงสรางเหล็ก 1
1.2 เหล็กโครงสราง 3
1.3 เหล็กโครงสรางรูปพรรณ 7
1.4 การออกแบบโครงสรางเหล็ก 9
1.5 น้ําหนักบรรทุกในโครงอาคาร 13
แบบฝกหัดบทที่ 1 00
บทที่ 2 โครงสรางสวนรับแรงดึง 18-42
2.1 โครงสรางสวนรับแรงดึง 00
2.2 รูปตัดของโครงสรางสวนรับแรงดึง 00
2.3 ลักษณะการวิบัติของโครงสรางสวนรับแรงดึง 00
2.4 หนาตัดสุทธิ 00
2.5 หนาตัดสุทธิประสิทธิผล 00
2.6 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงดึง 00
2.7 วิธีออกแบบโครงสรางสวนรับแรงดึง 00
แบบฝกหัดบทที่ 2 00
บทที่ 3 โครงสรางสวนรับแรงอัด 43-75
3.1 โครงสรางสวนรับแรงอัด 00
3.2 รูปตัดของโครงสรางสวนรับแรงอัด 00
3.3 พฤติกรรมการรับน้ําหนักและลักษณะของการวิบัติ 00
3.4 กําลังรับน้ําหนักของเสาเดีย่ ว 00
3.5 กําลังรับน้ําหนักของเสาในโครงขอแข็ง 00
3.6 การปอนกันการโกงเดาะเฉพาะแหง 00
3.7 การออกแบบสวนโครงสรางรับแรงอัด 00
3.8 วิธีการออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด 00
แบบฝกหัดบทที่ 3 00
-ง-

บทที่ 4 คานเหล็กรูปพรรณ 76-131


4.1 คาน 00
4.2 โมเมนตดัด แรงเฉือน และการโกงตัว 00
4.3 พฤติกรรมการรับโมเมนตดัดของคานเหล็ก 00
4.4 ลักษณะการวิบัติของคาน 00
4.5 การออกแบบสวนโครงสรางรับแรงดัด – มาตรฐาน AISC-ASD 00
4.6 การออกแบบสวนโครงสรางรับแรงดัด – มาตรฐาน AISC-LRFD 00
4.7 ระยะแอนตัวหรือระยะโกงตัวที่ยอมให 00
4.8 ผลการกระทําของน้ําหนักแบบจุด 00
4.9 วิธีออกแบบคาน 00
4.10 แผนเหล็กรองรับแรงกดสําหรับคาน 00
4.11 กําลังรับแรงกดของคอนกรีต 00
4.12 แผนเหล็กรองรับแรงกดสําหรับเสา 00
4.13 รูเจาะในคาน 00
4.14 การเสริมคานเหล็กรูปพรรณและคานเหล็กประกอบ 00
แบบฝกหัดบทที่ 4 00
บทที่ 5 โครงสรางสวนรับแรงในแนวแกนและแรงดัดรวมกัน 132-169
5.1 โครงสรางสวนรับแรงในแนวแกนและแรงดัดรวมกัน 000
5.2 พฤติกรรมการรับน้ําหนักและลักษณะของการวิบัติ 000
5.3 การออกแบบสวนโครงสราง คาน-เสา 000
5.4 วิธีออกแบบสวนโครงสราง คาน-เสา 000
แบบฝกหัดบทที่ 5 000
บทที่ 6 การตอโครงสรางโดยใชตัวยึด 170-214
6.1 การตอโครงสรางโดยใชตวั ยึด 000
6.2 ประเภทของรอยตอยึด 000
6.3 การวิบัติของรอยตอยึด 000
6.4 การออกแบบรอยตอยึดแบบรับแรงกด 000
6.5 การออกแบบรอยตอยึดแบบมีแรงฝด 000
6.6 ระยะหางของรอยตอยึด 000
6.7 วิธีออกแบบรอยตอรับแรงรวมศูนย 000
6.8 วิธีออกแบบรอยตอรับแรงเยื้องศูนย 000
-จ-

6.9 การตอปลายคาน 000


แบบฝกหัดบทที่ 6 000
บทที่ 7 การตอโครงสรางโดยการเชื่อม 000
7.1 การตอโครงสรางโดยการเชือ่ ม 000
7.2 การวิบัติของรอยตอเชื่อมและเนื้อที่ประสิทธิผลของรอยเชื่อม 000
7.3 สัญลักษณมาตรฐานของการเชื่อม 000
7.4 การออกแบบรอยตอเชื่อม 000
7.5 หนวยแรงบนรอยตอเชื่อม 000
7.6 วิธีออกแบบรอยตอเชื่อมเพือ่ รับแรงรวมศูนย 000
7.7 วิธีออกแบบรอยตอเชื่อมเพือ่ รับแรงเยื้องศูนย 000
7.8 การตอปลายคาน 000
แบบฝกหัดบทที่ 7 000
บทที่ 8 คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 249-300
8.1 คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 000
8.2 ลักษณะการวิบัติของคานเหล็กประกอบขนาดใหญ 000
8.3 ขอพิจารณาสําหรับออกแบบ 000
8.4 การออกแบบคานเหล็กประกอบขนาดใหญ 000
8.5 การตอแผนเหล็กปกคานกับเหล็กฉากปกคาน 000
8.6 การตอเหล็กแผนตั้งกับเหล็กปกคาน 000
8.7 การตอเหล็กแผนตั้ง 000
แบบฝกหัดบทที่ 8 000
บทที่ 9 สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 301-315
9.1 จุดศูนยกลางแรงเฉือน 000
9.2 โมเมนตบิด 000
9.3 มุมบิด 000
9.4 การออกแบบสวนโครงสรางรับโมเมนตบิดรวมกับแรงกระทําอื่น 000
แบบฝกหัดบทที่ 9 000
-ฉ-

บทที่ 10 สวนโครงสรางเชิงประกอบ 316-362


10.1 เสาเหล็กเชิงประกอบ 000
10.2 การออกแบบเสาเหล็กเชิงประกอบ 000
10.3 คานเหล็กเชิงประกอบ 000
10.4 พฤติกรรมของคานเหล็กเชิงประกอบ 000
10.5 การออกแบบคานเหล็กเชิงประกอบแบบใชตัวยึดรับแรงเฉือน มาตรฐาน AISC-ASD 000
10.6 การออกแบบคานเหล็กเชิงประกอบแบบใชตัวยึดรับแรงเฉือน มาตรฐาน AISC-LRFD 000
10.7 การออกแบบคานเหล็กเชิงประกอบบางสวน 000
10.8 การออกแบบคานเหล็กรูปพรรณหุมดวยคอนกรีต 000
10.9 ระยะโกงตัว 000
10.10 การออกแบบคาน-เสาเชิงประกอบ 000
แบบฝกหัดบทที่ 10 000
ภาคผนวก ก สัญลักษณ 363-368
ภาคผนวก ข ตารางชวยการออกแบบ 369-393
บรรณานุกรม 394
บทที่ 1 โครงสรางเหล็กและเหล็กโครงสราง

1.1 โครงสรางเหล็ก

โครงสรางเหล็ก เปนโครงสรางที่ไดจากการนําทอนเหล็กรูปพรรณหรือเหล็กแผนซึ่งเปนเหล็กกลา
คารบอน ที่มีรูปตัดและขนาดตางๆ มาประกอบและยึดรวมกันโดยใชการย้ําหมุด (rivet) ขันดวยสลักเกลียว
(bolt and nut) หรือเชื่อมดวยประกายไฟฟา (weld) เพื่อใหรับน้ําหนักบรรทุกไดตามตองการ โครงสรางเหล็ก
ที่พบโดยทัว่ ไป ไดแก โครงอาคาร โครงสะพาน โครงหลังคา โครงเปลือกบาง โครงแขวนหรือขึง ถังเก็บ
วัสดุ เชน ถังทรงกระบอกสูงที่เรียกวาไซโล (silo) เปนตน ทั้งนี้ไมรวมโครงสรางที่ประกอบจากเหล็กแผน
บางกําลังสูงที่มี Fy = 5500 ksc หรือที่เรียกวาเกรด 550 วิธีการออกแบบตองเปนไปตามมาตรฐาน AISI ซึ่ง
ตางจากเหล็กรูปพรรณที่กลาวถึงในวิชานีจ้ ะออกแบบตามมาตรฐาน AISC
2 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แตเดิมในประเทศไทยใชโครงสรางเหล็กสําหรับอาคารชวงยาวเทานัน้ โดยทําเปนโครงถักหรือ Truss


เชน โครงหลังคาสําหรับอาคารหองประชุม โรงภาพยนตร หรือโครงสะพานชวงยาวสําหรับรถยนต รถไฟ มี
อยูบางที่นําเหล็กโครงสรางไปทําเปนโครงอาคาร แตมักเปนอาคารชัน้ เดียวเชน โรงงานอุตสาหกรรม แตใน
ปจจุบัน ไดมีการนําเหล็กโครงสรางไปใชในอาคารสูงมากขึ้น และมักจะเปนอาคารผสมระหวางเหล็ก
รูปพรรณกับคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยสวนของฐานรากจะเปนคอนกรีตเสริมเหล็ก เสากับคานเปนเหล็ก
รูปพรรณ สวนพื้นเปนคอนกรีตเสริมเหล็กแบบเทในทีห่ รือพื้นสําเร็จรูปคอนกรีตอัดแรง การกอสรางอาคาร
โครงเหล็กใชเวลานอยกวาคอนกรีตมากเพราะไมตองรอระยะเวลาบมเหมือนคอนกรีต ราคาคากอสราง
โดยรวมอาจจะแพงกวาคอนกรีตเสริมเหล็กลวนๆ บาง แตหากเทียบกับเวลา ดอกเบีย้ การคืนทุนในเชิงธุรกิจ
ก็มีความคุมคากวา นอกจากนี้โครงสรางเหล็กรูปพรรณก็มีขอดีทนี่ ้ําหนักเบาทําใหกอสรางไดสูง ความ
ตานทานแรงทางขางก็ดีกวาคอนกรีตเสริมเหล็ก สวนขอเสียคือหากมีอัคคีภัยเกิดขึ้นและอุณหภูมิตลอดเนื้อ
เหล็กขึ้นสูงถึง 375 องศาเซลเซียสเมื่อใด เหล็กจะสูญเสียคุณสมบัติในการรับแรงและวิบัติได ตัวอยางเชน
อาคารเวิลดเทรดที่นิวยอรกซึ่งถูกวินาศกรรมโดยกลุมกอการรายดวยการใชเครื่องบินโดยสารขนาดใหญพุง
ชนชวงกลางความสูง แรงระเบิดทําใหฉนวนกันไฟหลุดออกจากโครงสรางเหล็กและเมื่อเพลิงไหมไป
ประมาณ 30 นาที อาคารก็ถลมลงมา

1.2 เหล็กโครงสราง
เหล็กโครงสราง เปนเหล็กกลาที่มีสวนประกอบหลักเปนเหล็กกับคารบอน และมีธาตุอื่นผสมเพื่อเพิ่ม
คุณสมบัติเชน ฟอสฟอรัส กํามะถัน ซิลิกอน แมงกานีส ทองแดง นิกเกิล วานาเดียม โครเมียม โคลัมเบียม โม
ลิดินัม วุลแฟรม เปนตน เชนมีแมงกานีสผสมทําใหเหล็กที่ถูกกระแทกมากยิ่งแข็งใชในโรงโมหนิ ผสม
นิกเกิล โครเมียม เปนสเตนเลสสตีล เปนสนิมยาก ผสมวุลแฟรมทําใหมีความคมใชทํามีดกลึง เครื่องมือกัด
ตัด
โครงสรางเหล็กและเหล็กโครงสราง 3

คุณสมบัติทางวิศวกรรมที่สําคัญของเหล็กโครงสราง ไดแก หนวยแรงดึงที่จุดคราก หนวยแรงดึง


ประลัย ตลอดจนความเหนียวหรือการยืดหดตัวกอนเกิดการชํารุดเสียหาย ขึ้นกับปริมาณคารบอนและความ
หนาของเหล็ก เหล็กที่มีปริมาณคารบอนมากขึ้นและความหนานอย จะมีกําลังรับแรงดึงและความแข็งมาก
ขึ้น แตการยืดหดตัวจะลดลงหรือมีความเปราะมากขึ้น
การหาคุณสมบัติดานรับแรงดึงของเหล็กโครงสราง ไดจากการนําทอนเหล็กที่มีขนาดตามมาตรฐาน
กําหนด เชน ASTM ของสหรัฐอเมริกา JIS ของญี่ปุน มาทดสอบรับแรงดึงโดยอาศัยเครื่อง UTM (Universal
Testing Machine)
ถาชิ้นทดสอบมีเนื้อที่หนาตัดเทากับ A และความยาวเดิมเทากับ L เมื่อมีแรงดึงกระทําเทากับ P ทําให
P
เหล็กมีการยืดตัวเทากับ ΔL ดังนั้นหนวยแรงดึง (Tensile stress) ที่เกิดขึน้ เทากับ f = และหนวยการยืด
A
ΔL
ตัว (Tensile strain) ที่เกิดขึ้นเทากับ ε= นําคาหนวยแรงดึงและหนวยการยืดตัวตัง้ แตเริ่มดึงจนกระทัง่
L
ขาดมาเขียนกราฟความสัมพันธจะไดดังรูป 1.2
จากกราฟความสัมพันธในรูปที่ 1.2 พบวา ชวงแรงจากจุด 0 ไปยังจุด a กราฟเปนเสนตรง ซึ่งแสดงวา
หนวยแรงดึงแปรผันตามหนวยการยืดตัวตามกฎของฮุค เหล็กยังมีสภาพยืดหยุน หากปลดแรงออกไปเหล็ก
จะหดกลับไปที่ความยาวเดิม L กอนการดึง เมื่อเลยจุด a ออกไปเหล็กจะเริ่มครากโดยมีหนวยการยืดตัว
เพิ่มขึ้นแตหนวยแรงดึงคงเดิมสักระยะหนึง่ ถึงจุด c หนวยแรงบริเวณนี้เรียกกําลังคราก (Yield strength, Fy )
จากนั้นหนวยแรงดึงเพิ่มขึ้นพรอมกับหนวยการยืดตัวจนสูงที่สุดที่จุด d เรียกกําลังประลัย (Ultimate strength,
Fu ) เสนเหล็กจะเกิดคอคอด (neck) เนื้อที่หนาตัดนอยลง คาหนวยแรงจริงจะสูงขึ้นอีก แตในการคํานวณใช
เนื้อที่หนาตัดเดิมกอนการดึงเสนกราฟจึงโคงลงแลวขาดที่จุด e
ในชวงทีก่ ราฟเปนเสนตรงหรือชวง 0a นั้น คาความชันของเสนกราฟเรียกวา โมดูลัสยืดหยุน (modulus
of elasticity) หรือ โมดูลัสของยังก (Young’s modulus) โดยใชสัญลักษณเปน E สําหรับเหล็กกลาคารบอน
และเหล็กกลากําลังสูงจะมีคา E อยูระหวาง 2,000,000 ถึง 2,100,000 ksc โดยคาที่นิยมใชมากที่สุดคือ
2,040,000 ksc
ในชวง 0a ที่เปนชวงอิลาสติกนั้นการยืดตัวนอย สวนในชวง bc เปนชวงพลาสติก การยืดตัวจะมาก
ประมาณ 10 ถึง 12 เทาของชวงยืดหยุน แสดงถึงความเหนียววาสูงมาก (หากการยืดตัวในชวง bc นอยเหล็ก
จะเปราะ) ในชวงนีจ้ ะเกิดการแข็งตัวของการเรียงผลึกของเหล็กคารบอนใหมจึงเกิดการแข็งตัวมากขึ้นเรียก
การแข็งตัวนี้วา strain hardening
กอนดึง ความยาวระหวางจุดวัด L o และเมื่อเหล็กขาดแลว ถอดเหล็กมาตอกันแลววัดความยาว
Lf − Lo
ระหวางจุดวัดใหมได Lf เปอรเซ็นตการยืดตัว (elongation) ของเหล็กเทากับ × 100 คาที่ตอง
Lo
รายงานการทดสอบที่สําคัญสามคาคือ Fy , Fu และเปอรเซ็นตการยืดตัว ซึ่งมาตรฐานอุตสาหกรรม (ม.อ.ก.)
จะกําหนดทั้งสามคาไวในมาตรฐาน
4 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ในกรณีที่เหล็กมีกําลังครากสูงมากนั้น กราฟจะไมเห็นจุดครากที่ชัดเจน โดยเมื่อเลยชวงเสนตรงก็จะ


เปนเสนโคงขึ้นไปแลวขาดเลย มาตรฐาน ASTM จึงกําหนดวิธีหากําลังครากโดยใหหาตรงจุดทีม่ ีหนวยการ
ยืดตัวเทากับ 0.002 ลากเสนขนานกับชวงที่เปนเสนตรงไปตัดกับสวนโคง คาหนวยแรงที่ตําแหนงจุดตัดให
ถือวาเปนกําลังคราก (เรียกวิธีการลากขนานนี้วา 0.20% offset) และเรียกกําลังครากแบบนีว้ า หนวยแรงดึง
พิสูจน (proof stress) ที่ 0.20 %
มาตรฐาน ASTM แบงประเภทของเหล็กโครงสรางแบบรีดรอน (เปนเหล็กรูปพรรณ เหล็กแผน ทอน
เหล็กตัน และทอเหล็ก) ออกเปน 3 ประเภท คือ
1. เหล็กกลาคารบอน (Carbon steel) เปนเหล็กที่ใชสําหรับโครงสรางเหล็กทั่วไป ทํารอยตอโดยใช
ตัวยึดหรือการเชื่อม มีปริมาณคารบอนสูงสุดไมเกิน 1.70 % ไดแกเหล็กชนิด ASTM A36 ปริมาณคารบอน
0.25-0.29% ขึน้ กับความหนาของเหล็ก ASTM A53, ASTM A500, ASTM A501 และ ASTM A529 มีกําลัง
ครากประมาณ 2500-2900 ksc และการยืดตัวประมาณ 20%
2. เหล็กกลาประสมบาง-กําลังสูง (High Strength Low-Alloy Steel) เปนเหล็กกลาคารบอนที่ใช
คารบอนไมเกิน 0.2% ที่มีโลหะอื่นประสม เชน โครเมียม โคลัมเบียม โมลิบดินัม นิกเกิล วานาเดียม ซิลิกอน
และทองแดง รวมกันในปริมาณไมเกิน 5% เหล็กจะมีกําลังครากสูงกวาเหล็กกลาคารบอน กลาวคือ กําลัง
ครากประมาณ 2750-4500 ksc และหากผสมนิกเกิลและโครเมียมแลวจะทนทานตอการผุกรอน เหล็ก
ประเภทนี้ไดแก ASTM A242, ASTM A441, ASTM A572, ASTM A588, ASTM A606, ASTM A607 และ
ASTM A618 คาการยืดตัวประมาณ 15-19%
3. เหล็กกลาประสม-ชุบแข็ง (Heat-treated Constructional Alloy Steel) เปนเหล็กกลาประสมบาง
แลวมีการชุบแข็ง โดยเผาใหรอนแดงถึงอุณหภูมิที่กําหนดแลวทําใหเย็นลงทันที เหล็กจะแข็งแตเปราะ
จากนั้นนํามาอบใหรอนขึ้นไมมากนักแลวปลอยใหเย็นชาๆ เพื่อคลายหนวยแรงคงคางทําใหเหล็กเหนียวขึน้
กําลังครากสูงถึง 6200-6900 ksc ทนตอการผุกรอนถึง 4 เทาของ ASTM A36 เหล็กประเภทนี้ไดแก ASTM
A514 กําลังครากจะไมชัดเจนตองใชกําลังพิสูจน 0.20 % แทน
เหล็กโครงสรางที่นิยมใชมากที่สุดในปจจุบันนี้คือ ASTM A36 มีจุดครากประมาณ 2500 ksc และ
กําลังประลัยประมาณ 4050 ksc เนื่องจากเปนไปตามขอกําหนดของ AISC ดีมาก ขณะทีเ่ หล็กประเภทที่มี
กําลังครากสูงเมื่อคํานวณดานกําลังอาจจะไดหนาตัดเล็กแตเมื่อพิจารณาตามขอกําหนดของ AISC แลวอาจจะ
ตองใชหนาตัดโตเทากับ ASTM A36 ที่ราคาถูกกวา การใชเหล็กกําลังสูงจึงไมเหมาะสมในเรื่องของ
โครงสราง
สําหรับในประเทศไทย มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) กําหนดเหล็กโครงสรางไว 2 ชั้น
คุณภาพคือ Fe 24 และ Fe 30 โดย Fe 24 มีกําลังจุดคราก 2400 ksc กําลังตานทานแรงดึงประลัย 4100 ksc
และ Fe 30 มีกําลังจุดคราก 3000 ksc กําลังตานทานแรงดึงประลัย 5000 ksc มีการยืดตัวไมนอยกวา 23%
เครื่องหมายของ Fe 24 ใชสขี าว สวน Fe 30 ใชสีเขียว
โครงสรางเหล็กและเหล็กโครงสราง 5

ตารางที่ 1.1 ใหคากําลังจุดคราก กําลังรับแรงดึงประลัย และการยืดตัวของเหล็กโครงสรางประเภท


ตางๆ ของเหล็กรูปพรรณ ทอเหล็ก และเหล็กแผน (ความกวางเกินกวา 20 cm) สังเกตวาความหนามากขึน้
กําลังครากจะลดลง

ตารางที่ 1.1 คุณสมบัติทางกลของเหล็กโครงสราง


ประเภท กําลังจุดคราก กําลังดึงประลัย การยืดตัว ความหนา
และชนิดของเหล็ก ksc ksc % นิ้ว
เหล็กกลาคารบอน
ASTM A36 2500 4000-5000 20* ≤8
ASTM A529 2900 4150-5850 19* ≤ 0 .5
เหล็กกลาประสมบาง-กําลังสูง
ASTM A441 2900 4350 16* 1.5-4
3150 4600 19* 0.75-1.5
3450 4800 18* ≤ 0.75
ASTM A572 2900 4150 20* ≤6
3450 4500 18* ≤2
4150 5200 16* ≤ 1.25
4500 5500 15* ≤ 1.25
ASTM A242 (ทนการผุกรอน) 2900 4350 16* 1.5-4
3150 4600 19* 0.75-1.5
3450 4800 18* ≤ 0.75
ASTM A588 (ทนการผุกรอน) 2900 4350 19-21** 5-8
3150 4600 19-21** 4-5
3450 4800 19-21** ≤4
เหล็กกลาประสมชุบแข็ง
ASTM A514 (ทนการผุกรอนสูง) 6200 6900-8950 17** 2.5-6
6900 7600-8950 18** ≤ 2. 5
* ความยาวพิกัด 20 cm, ** ความยาวพิกัด 5 cm

1.3 เหล็กโครงสรางรูปพรรณ
เหล็กโครงสรางรูปพรรณ (Structural shaped steel) เปนเหล็กรูปตัดที่ผลิตขึ้นโดยมีขนาดและน้ําหนัก
ตามที่มาตรฐานกําหนด อาจไดจากการผลิตแบบรีดรอน (hot rolled) หรือแบบรีดเย็น (cold rolled) มีขนาด
ความยาวมาตรฐานทอนละ 6 เมตร (กรณีเหล็กสุมิโตโม หรือเหล็ก L.P.N. เลาเปงงวน อาจสั่งระบุความยาวที่
ตองการได)
6 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เหล็กรูปพรรณแบบรีดรอน ใชในการทําโครงสรางหลักเชน เสา คาน และโครงหลังคา เหล็กรูปพรรณ


ที่จําหนายในตลาดมีรูปตัดตางๆ กัน เชน เหล็กฉาก (angle, L) เหล็กรูปตัดแบบตัว S (มาจาก Standard คือ
ตามมาตรฐานอเมริกัน) เดิมเรียกตัว I (เพราะรูปตัดคลายตัว I) เหล็กรูปตัดแบบปกกวาง (wide flange, เดิมยอ
วา W หรือ WF) เหล็กรูปตัดรางน้ํา (Channel ยอวา C) เหล็กรูปตัดแบบตัว T ซึ่งไดจากการตัดครึ่งแผนตั้ง
ของรูปตัด I หรือ W ทอเหล็กกลม (circular pile) ทอเหลีย่ มจัตุรัส (square pipe) ทอเหลี่ยมผืนผา (rectangular
pipe) ทอนกลมตัน (circular bar) ทอนสี่เหลี่ยมจัตุรัสตัน (square bar) ดูรูปที่ 1.3 สําหรับรูปตัดตัว I หรือ S
และ W ที่ไมอยูในมาตรฐานอเมริกัน จะเรียกวารูปตัด M

เหล็กรูปพรรณแบบรีดเย็น หรือเรียกวา เหล็กไลทเกจ (light guage) จะบางและเบากวาเหล็กรีดรอน


ไดจากนําเหล็กแผนเปนมวนมาเขาเครื่องขึ้นรูปเปนรูปตัดตางๆ ดังรูปที่ 1.4 เมื่อเหล็กบาง การตอโดยการ
เชื่อมตองระวังใชลวดเชื่อมขนาดเล็กและตั้งไฟออน หากไมระวังเหล็กอาจจะทะลุได
ในการออกแบบ จะพิจารณาเลือกรูปตัดที่มโี มดูลัสหนาตัดอิลาสติก (elastic section modulus หรือ
เรียกยอวา section modulus S) หรือโมดูลสั หนาตัดพลาสติก (plastic section modulus หรือเรียกยอวา plastic
modulus, Z) ที่มีคามากเมื่อเทียบกับเนื้อที่หนาตัดหรือน้าํ หนัก นั่นคือ พยายามเลือกหนาตัดที่เบาที่สุดที่รับ
โครงสรางเหล็กและเหล็กโครงสราง 7

น้ําหนักไดตามตองการ คุณสมบัติของเหล็กรูปพรรณตางๆ เชน ขนาด น้ําหนัก เนื้อที่หนาตัด โมเมนตอิน


เนอรเชีย รัศมีไจเรชัน และโมดูลัสหนาตัด และโมดูลัสพลาสติก ที่ตองใชในการออกแบบ ไดใหไวในตาราง
ภาคผนวกทายเลม หรือหาจากตารางเหล็กเลมสีน้ําเงิน หรือตารางเหล็กของบริษัทผลิตเหล็กตางๆ

การระบุขนาดและชนิดของเหล็กรูปพรรณที่ใชในการคํานวณออกแบบ หรือที่จะใชเขียนแสดงใน
แบบกอสราง จะระบุขนาดและชนิดดวยชือ่ ยอ ซึ่งใชเปนมาตรฐานสากลทั่วไป เชน
W 350 × 49.6 หรือ WF 350 × 49.6 เหล็กรูปพรรณหนาตัดแบบปกกวาง มีความลึกโดยประมาณ
350 มิลลิเมตร และน้ําหนัก 49.6 กิโลกรัมตอความยาวหนึ่งเมตร
C125 × 13.4 เหล็กรูปพรรณรูปตัดเหล็กราง ความลึกโดยประมาณ 125 มิลลิเมตร น้ําหนัก 13.4
กิโลกรัมตอความยาวหนึ่งเมตร
L − 90 × 60 × 12 เหล็กรูปพรรณรูปตัดฉาก ความยาวขา 90 มิลลิเมตร และ 60 มิลลิเมตร ความหนา
12 มิลลิเมตร
WT 150 × 47 เหล็กรูปพรรณรูปตัด T ไดจากการตัดครึ่งแผนตั้งของ W 300 × 94 เรียกวา
Structural Tee

1.4 การออกแบบโครงสรางเหล็ก
การออกแบบโครงสรางเหล็ก เปนการคํานวณเพื่อเลือกขนาดหนาตัดเหล็กรูปพรรณที่มีอยูแลว หรือ
ประกอบขึ้นจากเหล็กแผนเรียกวา built-up section เพื่อใหสามารถตานทานแรงหรือน้ําหนักบรรทุกไดโดย
ปลอดภัย
การออกแบบโครงสรางเหล็กมีวิธีการเฉพาะของแตละสวนโครงสราง ขึ้นกับแรงหรือโมเมนตดัด
โมเมนตบิดทีก่ ระทําซึ่งหาแรงและโมเมนตไดจากการวิเคราะหโครงสราง สวนของโครงสรางเหล็กที่จะตอง
ออกแบบ ไดแก ชิ้นสวนรับแรงตามแนวแกนซึ่งเปนไดทั้งแรงดึงและแรงอัด พบมากในโครงขอหมุน สวน
ของโครงสรางที่รับโมเมนตดัดและแรงเฉือนเชนคาน สวนของโครงสรางที่รับทั้งแรงตามแนวแกนและ
โมเมนตดัดรวมกับแรงเฉือนเชนเสา และทีส่ ําคัญคือการออกแบบรอยตอของโครงสราง
8 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

มาตรฐานหรือขอบัญญัติ (Specification and regulation) ในการคํานวณออกแบบโครงสรางใดๆ


วิศวกรตองออกแบบสวนของโครงสรางใหสอดคลองกับมาตรฐานหรือขอบัญญัติ ซึ่งในสวนของโครงสราง
เหล็กไดแก มาตรฐาน AISC (American Institute of Steel Construction) สําหรับออกแบบโครงสรางเหล็กที่
เปนสวนของโครงอาคาร (building structures) มาตรฐาน AASHTO (American Association of State
Highway and Transportation Officials) และมาตรฐาน AREA (American Railway Engineering
Association) สําหรับออกแบบสวนโครงสรางที่ไมใชสวนของอาคารเชนสะพาน มาตรฐาน AISI สําหรับ
การออกแบบโครงสรางจากแผนเหล็กชุบสังกะสีขึ้นรูป โดยเนนที่โครงสรางขนาดเล็ก มาตรฐานขางตนเปน
ของอเมริกัน มาตรฐานอื่นเชน BS (British Standard) ของอังกฤษ มาตรฐาน SABS ของแอฟริกาใต
มาตรฐาน Eurocode ของสหภาพยุโรป สําหรับประเทศไทยใช มาตรฐาน ว.ส.ท.(วิศวกรรมสถานแหง
ประเทศไทย) ที่ดัดแปลงมาจาก AISC นอกจากนี้ยังตองออกแบบใหเปนไปตามพระราชบัญญัติควบคุม
อาคาร กฎกระทรวงมหาดไทย มาตรฐานของกรมโยธาธิการและผังเมือง (มยผ) ทั้งขอบัญญัติทองถิ่น ซึ่งตอง
ติดตอสอบถามจาก ราชการสวนทองถิ่นเชน กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา เทศบาล องคการบริหารสวน
ตําบล (อ.บ.ต.) ในการเรียนนั้นใหยึดถือตามมาตรฐาน ว.ส.ท.หรือ AISC แตในการออกแบบเพื่อขออนุญาต
กอสรางจริงตองใหเปนไปตามกฎหมายทีบ่ างสวนอาจจะแตกตางจากมาตรฐาน ว.ส.ท.ไปบาง
มาตรฐาน AISC
แตเดิมนั้น สถาบันการกอสรางอาคารดวยโครงสรางเหล็ก (AISC) กําหนดวิธีการออกแบบโครงสราง
เหล็กไว 2 วิธี คือ
ก) วิเคราะหและออกแบบโดยวิธีอิลาสติก (Allowable Stress Design : ASD) พิจารณาหนวยแรงที่
เกิดขึ้นจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน (working load) จะตองไมเกินกวาหนวยแรงที่ยอมใหซึ่งลดคาลงจากกําลัง
ครากแลว
ข) วิเคราะหและออกแบบโดยวิธีพลาสติก (Plastic Design) โดยเพิ่มน้ําหนักบรรทุกหรือแรงใหมาก
ขึ้นแลวพิจารณาหนวยแรงที่เกิดขึ้นไมเกินจุดคราก
ตอมาในป ค.ศ.1986 (พ.ศ.2529) สถาบันการกอสรางอาคารดวยเหล็กโครงสราง (AISC) ไดกําหนดวิธี
ออกแบบโครงสรางเหล็กเพิม่ ขึ้นอีก 1 วิธีคือ วิธี Load & Resistance Factor Design : LRFD โดยแยกเปน
มาตรฐานออกมาตางหากจากของเดิม วิธี LRFD จะพิจารณาสภาวะวิบตั ขิ องสวนโครงสราง โดยจะวิเคราะห
โครงสรางโดยวิธีอิลาสติกหรือวิธีพลาสติกจากน้ําหนักบรรทุกเพิ่มคาแลว (factored load) ซึ่งอาจจะเรียกวา
น้ําหนักประลัย (ultimate load) ผลการวิเคราะหจะไดแรงตามแนวแกน แรงเฉือน โมเมนตดัด โมเมนตบิด
ซึ่งเติมคําวา ประลัยตอทาย เปนแรงที่เกิดขึ้นจากน้ําหนักบรรทุกประลัย จากนั้น หากําลังที่ใชออกแบบ
(design strength) ซึ่งเกิดจาก กําลังตานทานระบุ (nominal strength) ซึ่งเปนกําลังตานทานทางทฤษฎีของหนา
ตัดที่เลือกมานัน้ คูณกําลังตานทานระบุดว ย ตัวคูณลดกําลัง (reduction factor : φ ) เปนกําลังที่ใชออกแบบ
ซึ่งตองมากกวากําลังประลัยที่เกิดขึ้นจากน้าํ หนักบรรทุกประลัย จึงจะถือวาปลอดภัย วิธี ASD ในโครงสราง
เหล็กเปรียบเสมือนวิธีหนวยแรงใชงาน (Working Stress Design : WSD) ในโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก
โครงสรางเหล็กและเหล็กโครงสราง 9

และวิธี LRFD ในโครงสรางเหล็กเปรียบเสมือนวิธีกําลังประลัย (Ultimate Strength Design : USD) หรือ


ตอมาเรียกวิธีกําลัง (Strength Design Method : SDM) ในโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก
การออกแบบโครงสรางเหล็กสําหรับสวนตางๆ ของโครงอาคาร ที่จะกลาวในเลมนี้ จะใชตาม
มาตรฐาน AISC-ASD และ AISC-LRFD ที่ประกาศใชในป ค.ศ.1989 และ ค.ศ.1994 ตามลําดับ เทานั้น หาก
การออกแบบอื่นเชนโครงสรางจากการพับแผนเหล็กชุบสังกะสีที่จะตองใชมาตรฐาน AISI ก็ขอใหศกึ ษา
มาตรฐานนั้นๆ กอนทําการออกแบบ
การออกแบบโดยวิธี AISC-ASD
การออกแบบโดยวิธี AISC-ASD คือ หนวยแรงใชงาน (working stress) f ที่เกิดขึน้ บนหนาตัดของ
โครงสรางที่เลือกใชเมื่อรับน้าํ หนักบรรทุกใชงาน ตองมีคาไมเกินกวาหนวยแรงใชงานที่ยอมให (allowable
stress) F
น้ําหนักบรรทุกใชงาน (working load) คือน้ําหนักหรือแรงกระทําตางๆ ที่คาดวาสวนของโครงสราง
นั้นๆ จะตองรับ ไดแก น้ําหนักบรรทุกคงที่ (dead load : D) น้ําหนักบรรทุกจร (live load : L) แรงลม (wind
load : W) แรงจากแผนดินไหว (earthquake load : E) ในการออกแบบจะตองพิจารณาจัดรวมน้ําหนักหรือ
แรงกระทําตางๆ เพื่อใหไดชิ้นสวนที่มีความแข็งแรงทนทานตอการกระทําของแรง เชน
น้ําหนักบรรทุกใชงาน =D (1.1)
หรือ = D+L (1.2)
หรือ = 0.75(D + L + W ) หรือ = 0.75(D + L + E ) (1.3)
นําน้ําหนักบรรทุกใชงานแตละละสมการกระทําบนโครงสราง ทําการวิเคราะหแลวออกแบบ นําผลการ
ออกแบบมาเปรียบเทียบกัน เลือกหนาตัดทีโ่ ตที่สุดจากสามกรณีและปรับใหเหมาะสมทางสถาปตยกรรม
สําหรับสมการ (1.3) อาจจะไมใชตวั คูณ 0.75 แตเพิ่มหนวยแรงใชงานอีก 1 ใน 3 (คูณดวย 1.33)
เนื่องจากเปนแรงกระทําชั่วครั้งชั่วคราว
หนวยแรงที่เกิดขึ้นจริง (actual stress) เปนคาที่ไดจากการหารแรงหรือโมเมนตดวยคุณสมบัติของรูป
ตัด (เชน เนื้อที่หนาตัดสําหรับแรงดึงแรงอัด แรงเฉือน โมดูลัสหนาตัดสําหรับโมเมนตดัด และโมดูลัสการ
เฉือนของหนาตัดสําหรับโมเมนตบิด)
หนวยแรงใชงานที่ยอมให (allowable stress) หรือเรียกสั้นๆ วา หนวยแรงที่ยอมให ไดจากการหาร
กําลังจุดครากหรือหนวยแรงสูงสุดของวัสดุดวยคาอัตราสวนความปลอดภัย (Factor of Safety) คาอัตราสวน
ความปลอดภัยจะขึน้ กับประเภทของโครงสราง
มาตรฐาน AISC-ASD กําหนดหนวยแรงที่ยอมใหเปนคารอยละของกําลังที่จุดคราก เชนหนวยแรงดึง
1
ที่ยอมให Ft = 0.6Fy สวนปลอดภัยคือ SF = = 1.67 หนวยแรงเฉือนที่ยอมให Fv = 0.4Fy สวน
0.6
1
ปลอดภัยคือ SF = = 2.5
0.4
10 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

การออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD
การออกแบบโดยวิธี LRFD นั้น คือ ในสภาวะที่สว นโครงสรางจะเกิดการวิบัติ น้ําหนักประลัยหรือ
น้ําหนักบรรทุกใชงานที่เพิ่มคาแลว (factored load) ที่กระทําตอสวนของโครงสรางที่พิจารณา หรือกําลังรับ
แรงที่ตองการ (required strength) ตองมีคาไมเกินกวากําลังตานทานสูงสุดของสวนโครงสรางนั้นเมื่อไดลด
คาลงแลว (design strength) หรืออาจจะเรียกในที่นวี้ า กําลังรับแรงประลัยของสวนโครงสราง หรืออาจจะ
กลาวโดยสรุปวา แรงประลัยที่เกิดในโครงสรางตองไมเกินกวากําลังที่รับไดจริงของโครงสรางนั้น
น้ําหนักประลัยหรือน้ําหนักบรรทุกใชงานที่เพิ่มคาแลว (factored load) ไดจากการคูณน้ําหนักหรือแรง
กระทําใชงานตางๆ (load : Q i ) ดวยตัวคูณเพิม่ น้ําหนัก (load factor : γ i ) ซึ่งขึ้นอยูกับประเภทของน้ําหนัก
บรรทุก น้ําหนักประลัยหรือน้ําหนักบรรทุกใชงานที่เพิม่ คาแลวนี้ เปนน้ําหนักที่สมมติขึ้นอยางสมเหตุสมผล
โดยใชทฤษฎีความนาจะเปนหรือทฤษฎีความนาเชื่อถือ ในสภาวะทีจ่ ะกระทําใหสวนของโครงสรางนั้นเกิด
การวิบัติหรือชํารุดเสียหายและไมสามารถใชงานไดอกี ตอไป การจัดน้ําหนักบรรทุกเพิ่มคาตามมาตรฐานทํา
ดังนี้
น้ําหนักประลัย = 1 .4 D (1.4)
หรือ = 1 .2 D + 1 .6 L (1.5)
หรือ = 1.2D + (0.5L or 0.8W ) * (1.6)
หรือ = 1 .2 D + 1 .3 W + 0 .5 L * (1.7)
หรือ = 1 .2 D ± 1 .0 E + 0 .5 L * (1.8)
หรือ = 0.9D ± (1.3W or 1.0E ) (1.9)
* ใหใชตัวคูณน้ําหนักสําหรับน้ําหนักบรรทุกจร (L) เทากับ 1.0 เมื่อเปนพืน้ ที่สําหรับที่จอดรถยนต หรือ ศูนยจดั แสดงสาธารณะที่คาดวาจะมี
ประชาชนจํานวนมากเขาชม หรือเมื่อน้ําหนักบรรทุกจรเกินกวา 500 กิโลกรัมตอตารางเมตร
ใหใชน้ําหนักบรรทุกจรแตละกรณีกระทําตอโครงสราง วิเคราะหและออกแบบแลวเลือกคามากที่สุด
มาใชงาน หากเปนการวิเคราะหออกแบบดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรเชน ETABS, SAP 2000, STAADPro,
Prokon, Robot, Midas, ฯลฯ จะเปนการสมมติหนาตัดของแตละชิ้นสวนขึ้นมากอน แลววิเคราะหตาม load
case ตางๆ ทําการตรวจสอบวาหนาตัดที่เลือกมานั้นรับแรงไดหรือไม หากไมไดอาจจะฟองดวยสีแดง ก็ตอง
ปรับแกขนาดหนาตัดใหม แลววิเคราะหออกแบบซ้ําจนไมพบหนาตัดที่รับแรงไมไดจึงจะนําไปใชงาน
กําลังที่ใชออกแบบหรือกําลังรับแรงประลัย ไดจากการคูณกําลังตานทานระบุที่คํานวณไดตามทฤษฎี
(nominal resistance : R n ) ดวยตัวคูณลดกําลัง (reduction factor หรือ resistance factor : φ ) ซึ่งมีคาตางๆ กัน
และตองมีคานอยกวา 1.00 ขึน้ กับประเภทของสวนโครงสราง
สรุป หลักเกณฑการออกแบบโครงสรางเหล็กโดยวิธี LRFD คือให
∑γ Q i i ≤ φR n
โครงสรางเหล็กและเหล็กโครงสราง 11

1.5 น้ําหนักบรรทุกในโครงอาคาร
การออกแบบโครงอาคาร ตองออกแบบใหสวนตางๆ ของโครงอาคารมีกําลังความแข็งแรงและความ
ทนทาน สามารถรับน้ําหนักบรรทุกตางๆ ไดอยางปลอดภัย ซึ่งจะไมทาํ ใหเกิดอันตรายตอชีวิตและทรัพยสิน
ผูออกแบบตองพิจารณาทั้งน้าํ หนักบรรทุกคงที่ (Dead load) ของชิ้นสวนโครงอาคาร และน้ําหนักบรรทุกจร
(Live load) ตลอดจนแรงกระแทก ที่ชิ้นสวนของโครงสรางนั้นคาดวาจะตองรับ หรือตานทานดวย ในแตละ
ภูมิภาคหรือแตละประเทศจะใหขอบัญญัตเิ กี่ยวกับน้ําหนักบรรทุกจรขั้นต่ําที่ตองพิจารณาใชสําหรับการ
ออกแบบสวนของโครงสราง
น้ําหนักบรรทุกคงที่ (Dead load) เปนน้าํ หนักของสวนโครงสรางเองที่ประกอบรวมเปนโครงอาคาร
ขึ้นกับขนาดและชนิดของวัสดุที่ใช เชน
คอนกรีตเสริมเหล็กธรรมดา 1600-2400 kg / m 3
เหล็ก 7850 kg / m 3
ไม 480 kg / m 3
อิฐ 1900 kg / m 3
วัสดุมุงหลังคา สังกะสี – กระเบื้องลอน 5-18 kg / m 2
วัสดุมุงหลังคา กระเบื้องคอนกรีต 54 kg / m 2
แปไม 5 kg / m 2
โครงหลังคาไม 10-20 kg / m 2
ฝาเพดานรวมเครา 14-26 kg / m 2
กําแพงอิฐมอญกอครึ่งแผน 180 kg / m 2
กําแพงอิฐมอญกอเต็มแผน 360 kg / m 2
กําแพงอิฐบล็อก 7 ซม 120 kg / m 2
กําแพงอิฐบล็อก 9 ซม 200 kg / m 2
กําแพงคอนกรีตบล็อก 120-240 kg / m 2
ฝาไม ไมอัด รวมเครา 12-30 kg / m 2
พื้นไมรวมตง 30 kg / m 2
สําหรับน้ําหนักบรรทุกคงที่ของโครงหลังคาเหล็ก ขึ้นอยูกับความชันและชวงความยาวของโครง ซึ่ง
Grinter เสนอวา
1 1
ถาโครงหลังคามีชวงความยาว 40 ฟุต (12.192 เมตร) และมีความชัน − ใหประมาณน้ําหนัก
3 4
บรรทุกคงที่ของโครงเหล็กเทากับ 2-3.5 ปอนด/ตารางฟุต (9.765-17.09 kg / m 2 ) (ถาทํารอยตองของโครงดวย
การเชื่อม น้ําหนักอาจลดลงบาง แตถาทํารอยตอของโครงเหล็กโดยหมุดย้ําหรือสลักเกลียวและมีแผนประกับ น้ําหนักของ
โครงเหล็กจะเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 15%)
12 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เมื่อโครงหลังคาที่ชวงยาวเกินกวา 40 ฟุต (12.192 เมตร) ใหเพิ่มน้ําหนักอีก 0.5-1 ปอนดตอตารางฟุต


(2.44-4.88 kg / m 2 ) ทุกๆ ความยาวที่เพิ่มขึ้น 10 ฟุต (3.048 เมตร) จนกระทัง่ ความยาวรวม 80 ฟุต (24.384
เมตร)
สําหรับหลังคาโครงแบน (Flat roof) ใหเพิม่ น้ําหนักของโครงอีก 0.5-1 ปอนดตอตารางฟุต (2.44-4.88
kg / m 2 ) แตสําหรับโครงชันมาก (Steep roof) ใหลดน้ําหนักของโครงลง 0.5-1 ปอนดตอตารางฟุต (2.44-
4.88 kg / m 2 )
ขณะเดียวกัน Grinter ไดเสนอสูตรคํานวณน้ําหนักของโครงหลังคาเหล็กดังนี้
w = 0.5 + 0.05L
w = น้ําหนักของโครงหลังคา, ปอนดตอตารางฟุต
1
L = ความยาวของโครงหลังคาที่มีความชัน หนวยเปนฟุต
4
หากจะแปลงเปนระบบเมตริกจะไดดังนี้
w = (0.5 + 0.05L × 0.3048) ×
0.4536
= 8 + 0.244L
0.3048 2
w = น้ําหนักของโครงหลังคา, kg / m 2
1
L = ความยาวของโครงหลังคาที่มีความชัน หนวยเปนเมตร
4
น้ําหนักบรรทุกจร (Live load) ประกอบดวยน้าํ หนักบรรทุกจรที่กระทําในแนวดิ่ง และน้ําหนักบรรทุก
จรที่กระทําทางดานขางของอาคาร
น้ําหนักบรรทุกจรที่กระทําในแนวดิ่ง ไดแก น้ําหนักของผูใชอาคาร น้ําหนักเครื่องเรือน เครื่องจักร
สิ่งของตางๆ ฯลฯ ขึ้นกับประเภทและการใชสอยของอาคารนั้น
น้ําหนักบรรทุกจรที่กระทําทางดานขางของอาคาร ไดแก แรงลม และ แรงจากแผนดินไหว
แรงลมที่กระทําตออาคาร ขึ้นอยูกับแรงดันแบบไดนามิกสของลมที่เกิดจาก ความเร็วลม ซึ่งมีทั้ง
แรงดัน (pressure) ดานเหนือลม และแรงดูด (suction) ดานใตลม ความเร็วลมจะแปรตามสภาพภูมิประเทศ
ความสูงเหนือพื้นดิน และอาคารขางเคียง ในการออกแบบจะสมมติใหแรงลมกระทําอยางสม่ําเสมอตอโครง
อาคารดานรับลม และแรงลมสามารถกระทําไดทุกทิศทาง คณะอนุกรรมการของ ASCE (American Society
of Civil Engineers) พบวา แรงลมแบบสถิตที่กระทําตั้งฉากกับอาคาร
p = 0.00256C s v 2
เมื่อ p = แรงลมสถิตที่กระทําตั้งฉากกับอาคาร , ปอนดตอตารางฟุต
v = ความเร็วลม, ไมล/ชั่วโมง
หรือ
p = 0.00473C s v 2
เมื่อ p = แรงลมสถิตที่กระทําตั้งฉากกับอาคาร , kg / m 2
v = ความเร็วลม, km/hr
โครงสรางเหล็กและเหล็กโครงสราง 13

และ C s = คาสัมประสิทธิ์ เรียกวา shape factor ขึ้นกับรูปทรง สัดสวนของอาคาร อาคารสูงรูปกลอง


สี่เหลี่ยม (box-type structure) ไมมีชองเปด คา C s = 0.8 ที่ดานเหนือลมที่เปนแรงดัน และมีคา 0.5 ที่ดานใต
ลมซึ่งเปนแรงดูด
ดังนั้นแรงลมที่หมดที่กระทํา = แรงดันดานเหนือลม + แรงดูดดานใตลม หรือ
p = 0.00473(0.8 + 0.5)v 2 , kg / m 2
ดังนั้นหากทราบความเร็วลมจะหาคาแรงดันลมที่กระทําตั้งฉากกับอาคารได
นอกจากนั้น คณะอนุกรรมการของ ASCE ไดใหวิธีการหาแรงลมกระทําตั้งฉาก (p n ) กับแนวหลังคา
โดยแบงการพิจารณาออกเปน แรงกระทําภายนอกอาคาร และแรงกระทําภายในอาคาร ดังนี้

แรงลมกระทําภายนอกอาคาร แรงลมที่กระทําตั้งฉากกับแนวหลังคา (p n ) มีทั้งแรงดันและแรงดูดทั้ง


ทางดานเหนือลมและทางดานใตลม ซึ่งขึน้ อยูกับมุมลาดเอียง (θ) ของโครงหลังคา คณะอนุกรรมการของ
ASCE เสนอคาแรงลมที่กระทําตั้งฉากตอโครงหลังคาที่เปนโครงจั่ว ดังแสดงในรูปที่ 1.5 ซึ่งถาไดคาเปน
บวกจะหมายถึงแรงดัน และในทํานองกลับกัน ถาไดคาเปนลบจะหมายถึงแรงดูดหรือแรงยกตัวที่กระทําออก
จากโครงหลังคา เชน เมื่อ θ = 20 o และแรงลมในแนวนอน ρ = 50 kg / m 2 จะไดแรงดูดดานเหนือลม
เทากับ 30 kg / m 2 และแรงดูดดานใตลมเทากับ 22.5 kg / m 2 เปนตน
แรงลมกระทําภายในอาคาร เมื่ออาคารมีชองเปดของหนาตางหรือประตูเทากับรอยละ n ของเนื้อที่ผนัง
ทั้งหมด ซึ่งคาของ n อยูระหวาง 0 ถึง 30% จะหาแรงลมที่กระทําตั้งฉากตอโครงหลังคาภายในไดจากสมการ
ตอไปนี้ ซึ่งถาไดคาเปนบวกจะหมายถึงแรงดันและถาไดคา เปนลบจะหมายถึงแรงดูดทีก่ ระทําออกจาก
หลังคา
แรงลมภายในที่ดานเหนือลม p n = (+ 0.225 + 0.0125n )p ≤ 0.6p
แรงลมภายในที่ดานใตลม p n = (− 0.225 − 0.0075n )p ≤ −0.45p
ถา n > 30 % ใหใชคาสูงสุดตามที่กําหนดขางตน
14 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

อยางไรก็ดี เมือ่ ตองการหาแรงลมที่กระทําตั้งฉากกับแนวหลังคา อาจใชสูตรสําเร็จตอไปนี้ ซึ่งพิจารณา


เฉพาะแรงดันดานเหนือลมเพียงอยางเดียว
2p sin θ
(1) pn = Duchemin Formula
1 + sin 2 θ
(2) p n = p sin θ1.84 cos θ−1 Hutton Formula

(3) pn = Ketchum or Straight-line Formula
45
เมื่อ θ= เปนมุมลาดเอียงของหลังคา หนวยเปนองศา
สูตรของ Duchemin ไดรบั ความนิยมและเชื่อถือมาก สวนอีกสองสูตรใหคาสอดคลองกับผลการ
ทดลองเมื่อมุม θ ไมเกิน 35 องศา
สําหรับการออกแบบในกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครไดออกขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร พ.ศ.
2522 โดยกําหนดน้ําหนักบรรทุกจร สําหรับออกแบบโครงอาคารประเภทตางๆ ซึ่งตองไมนอ ยกวาอัตรา
ตอไปนี้ เชน
- หลังคา 50 kg / m 2
- กันสาด หรือ หลังคาคอนกรีต 100 kg / m 2
- ที่พักอาศัย โรงเรียนอนุบาล หองน้ํา หองสวม 150 kg / m 2
- อาคารชุด หอพัก โรงแรม 200 kg / m 2
- สํานักงาน ธนาคาร 250 kg / m 2
- อาคารพาณิชย มหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียน 300 kg / m 2
- หองโถง บันได ทางเดินของอาคารชุด หอพัก โรงแรม โรงพยาบาล
สํานักงาน และธนาคาร 300 kg / m 2
- หางสรรพสินคา โรงมหรสพ หอประชุม ภัตตาคาร
ที่จอดหรือเก็บรถยนตนั่ง 400 kg / m 2
- หองโถง บันได ทางเดินของอาคารพาณิชย มหาวิทยาลัย
วิทยาลัย และโรงเรียน 400 kg / m 2
- คลังสินคา พิพิธภัณฑ อัฒจันทร โรงงานอุตสาหกรรม โรงพิมพ
หองเก็บเอกสารและพัสดุ 500 kg / m 2
- หองโถง บันได ทางเดินของหางสรรพสินคา โรงมหรสพ
หอประชุม ภัตตาคาร และหอสมุด 500 kg / m 2
หองเก็บหนังสือของหองสมุด 600 kg / m 2
ที่จอดหรือเก็บรถยนตบรรทุกเปลาและรถอื่น 800 kg / m 2
โครงสรางเหล็กและเหล็กโครงสราง 15

แรงลมสําหรับสวนของอาคาร
ที่สูงไมเกิน 10 เมตร จากพื้นดิน 50 kg / m 2
ที่สูงกวา 10 เมตร แตไมเกิน 20 เมตร จากพืน้ ดิน 80 kg / m 2
ที่สูงกวา 20 เมตร แตไมเกิน 40 เมตร จากพืน้ ดิน 120 kg / m 2
ที่สูงกวา 40 เมตร จากพื้นดิน 160 kg / m 2
การออกแบบในจังหวัดอื่นในประเทศไทยใหใชกฎกระทรวงมหาดไทยฉบับที่ 6 พ.ศ.2527 รวมทั้ง
ขอบัญญัติทองถิ่น เทศบาล มาตรฐานกรมโยธาธิการและผังเมือง เชนเรือ่ งการคํานวณแรงลมและ
แผนดินไหว ไดมีมาตรฐานและกฎกระทรวงฯ ออกมาบังคับใชโดยมีผลตั้งแต 1 ธันวาคม 2550
น้ําหนักบรรทุกกระแทก (Impact load) เปนน้ําหนักบรรทุกจรทีก่ ระแทกหรือกระทําตอสวนของ
โครงสรางอยางทันทีทันใด ในการพิจารณาออกแบบสวนของโครงสราง มาตรฐาน AISC ใหเพิ่มคาน้ําหนัก
บรรทุกจรนั้นอีกตามจํานวนเปอรเซ็นตที่กาํ หนด ดังตอไปนี้
สําหรับสวนทีร่ องรับลิฟตและหองเครื่องลิฟต 100%
สําหรับสวนทีร่ องรับเครื่องจักรกลชนิดเบา ≥ 20 %
สําหรับสวนทีร่ องรับเครื่องจักรกลชนิดหนัก ≥ 50 %
สําหรับสวนทีแ่ ขวนรับพืน้ หรือระเบียง 100 %
สําหรับคานและรอยตอที่รองรับเครนวิ่งทีใ่ ชยกของ 10-20 %
16 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แบบฝกหัดบทที่ 1
แบบฝกหัดบทนี้ดัดแปลงจากหนังสือของ William T. Segui
แบบฝกหัดเหลานี้ สําหรับแนวความคิดเรื่องหนวยแรงกับหนวยการยืดหดตัว วัสดุจึงอาจจะไมใช
เหล็กกลาเพียงอยางเดียว
[1] ในการทดสอบแรงดึงชิ้นโลหะตัวอยางหนาตัดวงกลม วัดเสนผานศูนยกลางได 13.97 mm จุดวัดความ
ยาวสําหรับใสตัววัดความยาวหางกัน 51.562 mm เรียกวาความยาวเกจ (gage length) ทําการดึงชิ้น
ตัวอยางจนขาด เมื่อแรงดึง 12,927.6 kg จากนั้นปลดชิน้ สวนนํามาตอเขาดวยกันตรงรอยขาด เสนผาน
ศูนยกลาง 10.922 mm และความยาวระหวางจุดวุดความยาววัดได 58.42 mm จงหา
(ก) หนวยแรงดึงประลัย (ultimate tensile stress) เปน ksc
(ข) รอยละของระยะยืด
(ค) รอยละการลดเนื้อที่หนาตัด
[2] ในการทดสองแรงดึงชิ้นโลหะตัวอยางหนาตัดวงกลม วัดเสนผานศูนยกลางได 12.7 mm ความยาวเกจ
(gage length ความยาวระหวางจุดวัด) 50.8 mm หลังจากที่แรงดึงกระทํา 6123.6 kg ระยะยืด 0.118364
mm ถาแรงดึงยังอยูในชวงอิลาสติกแลวจงหาโมดูลัสยืดหยุน
[3] ในการทดสอบแรงดึงชิ้นโลหะตัวอยางหนาตัดวงกลม วัดเสนผานศูนยกลางได 12.954 mm การยืดตัว
ของชิ้นโลหะวัดจาก strain gage ที่ยึดอยูกบั ชิ้นตัวอยาง คาที่วัดไดตามตาราง บ3.1
(ก) ใหทําตารางของหนวยแรงกับหนวยการยืดหดตัว
(ข) เขียนกราฟ stress-strain curve โดยไมใชการโยงระหวางจุดแตใหลากเสนตรงที่ใกลเคียง
กับขอมูลที่สุดแทน
(ค) หาโมดูลัสยืดหยุนจากความเอียงของเสนกราฟ
น้ําหนัก (kg) หนวยการยืดตัว × 10 6 (mm/mm)
0 0
113.4 37.1
226.8 70.3
453.6 129.1
680.4 230.1
907.2 259.4
1134 372.4
1360.8 457.7
1587.6 586.5
ตารางที่ บ3.1
โครงสรางเหล็กและเหล็กโครงสราง 17

[4] ในการทดสอบแรงดึงชิ้นโลหะตัวอยางหนาตัดวงกลม วัดเสนผานศูนยกลางได 12.7 mm และระยะ


เกจ 101.6 mm เขียนกราฟระหวางแรงดึง P กับระยะยืด ΔL และในชวงที่เปนเสนตรงนั้นวัดความ
P kg
เอียง = 24,858.7 จงหาโมดูลัสยืดหยุน
ΔL mm
[5] ตารางที่ บ5.1 เปนผลการทดสอบแรงดึงชิ้นสวนโลหะตัวอยางหนาตัดวงกลม เสนผานศูนยกลาง
9.525 mm ความยาวเกจ 50.8 mm
(ก) ใชขอมูลในตาราง บ5.1 สรางตารางหนวยแรง และหนวยการยืดตัว
(ข) เขียนกราฟของหนวยแรงกับหนวยการยืดตัวโดยใหเสนเรียบเหมาะสมกับขอมูล
(ค) คํานวณโมดูลัสยืดหยุนจากความเอียงของจุดเริ่มตนกราฟ
(ง) ประมาณคากําลังจุดคราก
แรงดึง (kg) ระยะยืด × 10 3 mm
0 0
249.48 8.890
498.96 17.780
771.12 22.860
997.92 34.290
1270.08 44.704
1496.88 83.820
1769.04 62.484
1995.84 72.644
2222.64 96.520
2254.392 134.620
2279.34 198.120
ตาราง บ5.1
[6] ผลการทดสอบแรงดึงชิ้นโลหะหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผาซึ่งมีเนื้อที่หนาตัด 1.2974 ตารางเซนติเมตร
ความยาวเกจ 50.8 mm และทดสอบโดยชิน้ ตัวอยางไมขาด แสดงในตาราง บ6.1
จงสรางตารางหนวยแรงและหนวยการยืดตัว
เขียนกราฟหนวยแรงกับหนวยการยืดตัวใหเสนกราฟราบเรียบ
จงหาโมดูลัสยืดหยุน จากความลาดเอียงของชวงเสนตรงของกราฟ
จงประมาณคาขีดจํากัดการแปรผันตรง (กอนจะคราก)
ใหใชวิธี 0.2% offset ในการหากําลังที่จุดคราก
18 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แรงดึง , kg ระยะยืด, × 10 3 mm
0 0
453.6 4.064
907.2 8.9408
1360.8 17.9324
1814.4 25.7048
2268 36.4236
2721.6 43.4848
3175.2 50.4444
3628.8 58.0644
4082.4 66.3448
4536 74.6252
4989.6 83.1596
5443.2 92.2528
5896.8 100.9904
6350.4 111.4044
6804 117.856
7257.6 126.6952
7711.2 137.9728
8164.8 148.8948
8618.4 161.5948
9072 185.5216
9525.6 205.0288
9979.2 229.7176
10432.8 287.274
10886.4 358.648
11340 509.1176
11793.6 739.2924
ตาราง บ6.1
โครงสรางสวนรับแรงดึง 19

บทที่ 2 โครงสรางสวนรับแรงดึง

2.1 โครงสรางสวนรับแรงดึง (Tension Member)


เปนโครงสรางที่มีแรงดึงกระทําที่ปลายทั้งสองขางผานศูนยถวงของรูปตัด พบทั่วไปในโครงหลังคา
สะพาน หอสูง ค้ํายัน ระบบเคเบิ้ล เหล็กยึดเรียว (tie rod) โครงสรางสวนรับแรงดึงไมคอยมีปญหาการโกง
เดาะ (buckling) อยางที่เกิดในโครงสรางรับแรงอัด การออกแบบจึงงาย ปญหามักจะเกิดที่รอยตอบริเวณ
ปลายชิ้นสวน
ให P = แรงดึงทั้งหมดกระทําตั้งฉากรูปตัด
A = เนื้อที่หนาตัดของรูปตัด
P
ft = = หนวยแรงดึงที่เกิดขึ้น
A
Ft = หนวยแรงดึงที่ยอมใหซึ่งตอง ≥ f t จึงจะปลอดภัย
การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงดึง ตองพิจารณารวมกับการการออกแบบรอยตอที่ปลายไปดวย
การตออาจจะเปนการเชื่อมหรือใชตัวยึด ซึ่งการใชตัวยึดจะทําใหตองเลือกใชขนาดเหล็กโตกวาการใชวิธี
เชื่อม

2.2 รูปตัดของโครงสรางสวนรับแรงดึง
การจะเลือกใชโครงสรางสวนรับแรงดึงวาเปนชนิดและขนาดใด มักจะขึ้นกับวิธีการตอปลายมากกวา
เหตุผลอื่น รูปที่ 2.1 แสดงหนาตัดทั่วไปของสวนโครงสรางรับแรงดึง แบบพื้นฐานทีส่ ุดคือ ทอนเหล็ก (bars
หรือ rods) ใชเปนตัวแกงแนงหรือตัวยึดโยง (bracing) ในโครงสรางขนาดยอม (light structures) การตอ
ปลายอาจใชวธิ ีขันเกลียวที่ปลายดวยนอต โครงสรางสวนรับแรงดึงอีกแบบคือ ทอนเหล็กแบน (plate หรือ
flat bar) นิยมใชในโครงสรางเสาไฟฟาแรงสูงหรือเสาสัญญาณไฟจราจร การตอปลายอาจจะเปนการเชื่อม
เคเบิ้ล (cable) เปนลวดกําลังสูงฟนเกลียว (strand) หรือ ลวดเหล็กกลุม (wire rope) ที่นิยมเรียงสะลิง ตอปลาย
โดยใชตวั เรง (turn buckle) หรือใชสมอยึด
โครงสรางสวนรับแรงดึงทีน่ ิยมใชกันทัว่ ไปคือ เหล็กฉาก (angle) อาจจะเปนเหล็กฉากเดีย่ ว (single
angle) หรือเหล็กฉากคู (double angle) นอกจากนี้เหล็กรูปตัด T ตัว C ตัว W หรือประกอบจากหนาตัดตางๆ
ดังกลาว ในโครงสรางสะพานสมันกอนชิน้ สวนรับแรงดึงอาจจะทําเปนเหล็กแบนตรงปลายขยายเปนวงกลม
มีรูทําใหมีสภาพเปนขอตอหมุนได (pin connected)
20 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

2.3 ลักษณะการวิบัติของโครงสรางสวนรับแรงดึง
โดยทั่วไป การวิบัติหรือชํารุดเสียหายของโครงสรางสวนที่รับแรงดึง เมื่อไมคืดการวิบัติที่ตัวยึดหรือที่
รอยเชื่อมตอ อาจเกิดขึน้ ไดใน 2 ลักษณะ ดังตอไปนี้คือ
1. จากการคราก (yielding) เนื่องจากแรงดึงที่กระทําบนหนาตัดทัง้ หมด (gross area : A g ) ของ
ชิ้นสวนมีคาสูงมากเกินกวากําลังจุดครากของเหล็ก ( Fy ) ทําใหชิ้นสวนยืดออกมากจนโครงสรางโดยรวมเสีย
รูปรางไป ปองกันโดยใชขนาดรูปตัดโตขึ้น หรือเปลี่ยนไปใชเหล็กที่มกี ําลังจุดครากสูงขึ้น ทั้งนี้เพือ่ ใหหนวย
แรงดึงที่เกิดขึน้ มีคาไมเกินกวาหนวยแรงทีก่ ําหนด
2. จากการฉีกขาด (fracture) เนื่องจากแรงดึงที่กระทําบนหนาตัดที่มีรูเจาะเพื่อทํารอยตอ หนาตัด
สุทธิ (net area : A n ) จะมีเนื้อที่หนาตัดนอยกวาหนาตัดทั้งหมด ดังนั้นหนวยแรงดึงตรงหนาตัดสุทธิจึงสูง
มากเกินกวาทีห่ นาตัดอืน่ ๆ และหากเกินกวา กําลังตานทานแรงดึง (minimum tensile strength : Fu ) ของ
เหล็ก ชิ้นสวนจะฉีกขาดจากกัน ปองกันไดโดยจัดระยะหางของรูเจาะ ระยะหางจากรูเจาะถึงปลายชิ้นสวนมี
คามากขึ้น เนือ้ ที่หนาตัดสุทธิจะมากขึ้น ลดหนวยแรงดึงที่เกิดขึน้ ลง หรืออาจจะใชเหล็กที่มีกําลังตานทาน
แรงดึงมากขึ้น
โครงสรางสวนรับแรงดึง 21

การวิบัติเนื่องจากการฉีกขาด อาจจะเกิดขึ้นที่รอยตอจากการกระทํารวมกันระหวางแรงดึงกับแรงเฉือน
เรียกวา Block shear ดังรูปที่ 2.2 บริเวณแรเงาจะมีรูปรางคลายกลอง (block) อันเปนที่มาของชื่อการวิบัติ
หนาตัดที่ตั้งฉากกับแรงแรงดึงจะเกิดหนวยแรงดึง สวนหนาตัดทีข่ นานแนวแรงดึงจะเกิดหนวยแรงเฉือน
โดยลักษณะการวิบัติจะเปนสองแบบคือ ชิ้นสวนถูกดึงจนฉีกขาดในขณะที่เกิดการครากในดานรับแรงเฉือน
และชิ้นสวนถูกเฉือนขาดในขณะที่เกิดการครากที่ดานรับแรงดึง

จากลักษณะการวิบัติดังกลาว ทําใหเกิดขอกําหนดสําหรับการออกแบบโครงสรางแรงดึง และการทํา


รอยตอของโครงสรางที่ตอดวยตัวยึดหรือโดยการเชื่อม

2.4 หนาตัดสุทธิ (Net Section)


คําวา เนื้อที่หนาตัดสุทธิ (Net cross-section area : A n ) หรือเรียกสั้นๆ วา หนาตัดสุทธิ หมายถึง เนื้อที่
หนาตัดของสวนโครงสรางที่อยูในแนวตัง้ ฉากกับแนวแรงกระทําเมื่อหักเนื้อทีห่ นาตัดสวนที่เปนรูเจาะ
ออกไปแลว
เมื่อขนาดของตัวยึดเล็กกวา 24 mm รูเจาะจะเผื่อใหโตกวาตัวยึดอีกประมาณ 2 mm แตถาขนาดตัวยึด
ตั้งแต 24 mm ขึ้นไป ขนาดของรูเจาะจะเผือ่ เอาไว 3 mm
ลักษณะเนื้อทีต่ รงรูเจาะตรงตําแหนงรอยขาดมองสวนทางกับแนวของแรงจะเห็นเปนสี่เหลี่ยมผืนผา
22 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ให wg = ความกวางทั้งหมดของเหล็ก, cm
t = ความหนาของเหล็ก, cm
d h = เสนผานศูนยกลางของรูเจาะ, cm
n = จํานวนรูเจาะที่อยูในแนวขาด
A g = w g t = เนื้อที่หนาตัดทั้งหมด, cm 2
A h = nd h t = เนื้อที่หนาตัดรูเจาะในแนวขาด, cm 2
A n = A g − A h = เนื้อที่หนาตัดสุทธิ, cm 2
w n = ความกวางสุทธิ, cm

A n = w g t − md h t (2.4.1)

เมื่อความหนา t ของแผนเหล็กคงที่ จะไดความกวางสุทธิ


w n = w g − nd h (2.4.2)

เมื่อรอยตอหนึง่ ๆ ตองใชตัวยึดมากกวาหนึ่งแถวในแนวที่ขนานกับแรงแรงดึง จะตองพยายามจัด


ระยะหางระหวางตัวยึดใหไดตามมาตรฐานกําหนด เพื่อใหไดเนื้อที่หนาตัดมากที่สดุ ทําใหโครงสรางนั้นรับ
แรงไดมากที่สดุ สําหรับการจะระยะหางระหวางตัวยึดนีใ้ หสังเกตไดจากรูปที่ 2.4 จะตองพยายามใหรูเจาะมี
ลักษณะแนวเยือ้ งกัน (zigzag) และใหระยะหางระหวางรูเจาะ s ซึ่งวัดขนานแนวแรง มีคามากพอ เพื่อลด
โอกาสการฉีกขาดแนว ABCD
ถาสมมติให
s = ระยะหางระหวางศูนยกลางรูเจาะทีว่ ัดขนานแนวแรง เรียกระยะนี้วา ระยะเกลียว (pitch)
g = ระยะหางระหวางรูเจาะวัดในแนวตั้งฉากกับแนวแรง เรียกระยะนี้วา เกจ (gage) ดังรูปที่ 2.4
โครงสรางสวนรับแรงดึง 23

ถาแผนเหล็กมีความหนาคงที่ ความกวางสุทธิ w n ในแนวเยื้องที่ผานรูเจาะ มีคาเทากับ ความกวาง


ทั้งหมดของแผนเหล็กลบดวย ขนาดเสนผานศูนยกลางทั้งหมดในแนวเยื้องทีพ่ ิจารณา แลวบวกดวยผลบวก
s2
ของ ทั้งหมดที่มีในแนวเยื้องนั้น
4g

ดังนั้นความกวางสุทธิ
s2
w n = wg − ∑dh + ∑ (2.4.3)
4g

ในการคํานวณออกแบบ ตองพิจารณาหาความกวางสุทธิหลายๆ แนว แลวนําคานอยที่สุดมาใช


คํานวณหากําลังรับแรงดึง

2.5 หนาตัดสุทธิประสิทธิผล (Effective Net Cross-sectional Area)


เมื่อทํารอยตอที่ปลายของโครงสรางรับแรงดึง โดยการใชตัวยึด หรือแมจะใชการเชื่อมก็ดี หากทําการ
ยึดตอหรือเชื่อมตอเพียงบางสวนของรูปตัด เชน ยึดตอรูปตัดฉากเดีย่ วที่ขาขางใดขางหนึ่งเพียงขาเดียวเทานั้น
ลักษณะเชนนีก้ ารรับและถายแรงจะไมแผกระจายอยางสม่ําเสมอ ขาของสวนที่ถูกยึดติดจะรับแรงกระทํา
มากกวาขาของดานที่ไมถูกยึด เปนผลใหรอยตอตองรับแรงเยื้องศูนยทเี่ รียกวา Shear Lag ทําใหกาํ ลังหรือ
ประสิทธิภาพของการรับแรงดึงลดลง
ดังนั้นเมื่อมีลักษณะ Shear Lag นั้น มาตรฐาน AISC กําหนดใหพิจารณาการรับและถายแรงดึงบนหนา
ตัดสุทธิประสิทธิผล (A e ) ซึ่งเปนเนื้อทีห่ นาตัดของสวนโครงสรางที่ถูกลดคาลงจากผลของการตอปลาย
โดยอาศัยตัวคูณลดคา (reduction factor : U) ดังนี้
24 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

1. เมื่อตอปลายโดยใชตวั ยึด หนาตัดสุทธิประสิทธิผล


A e = UA n (2.5.1)
2. เมื่อตอปลายโดยใชการเชื่อม หนาตัดสุทธิประสิทธิผล
A e = UA g (2.5.2)
มาตรฐาน AISC กําหนดคาของตัวคูณลดคาจากผลของการตอปลาย ดังนี้
x
U = 1− ≤ 0.9 (2.5.3)
L
เมื่อ x= ระยะจากระนาบรับแรงเฉือนถึงจุดศูนยถวงของรูปตัดทีน่ ํามาตอ
L = ความยาวของรอยตอในทิศที่ขนานกับแรงกระทํา
A g = เนื้อที่หนาตัดทั้งหมด
A n = เนื้อที่หนาตัดสุทธิ

อยางไรก็ดี มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD ไดใหคาตัวเลขของตัวคูณลดคา U แทนการใชสมการขางตน


ที่บางครั้งอาจจะหาไดยาก เงื่อนไขมีดังนี้
ก) สําหรับเหล็กรูปพรรณที่มีรปู ตัดตัว W M หรือ S หรือ T
ถาสงถายแรงดึงผานรอยเชือ่ มที่อยูตั้งฉากกับแนวแรงอยางเดียว :
A e = พื้นที่ที่เชื่อมตอ
ถาสงถายแรงดึงโดยสลักเกลียวหรือตัวยึด :
เมื่อใชสลักเกลียวทํารอยตอที่ปกชิ้นสวนในแนวของแรงกระทําอยางนอย 3 ตัวตอแถว และ
2
ชิ้นสวนมีอัตราสวนระหวางความกวางของปกตอความลึกเทากับหรือมากกวา
3
โครงสรางสวนรับแรงดึง 25

U = 0.90
เมื่อใชสลักเกลียวในแนวของแรงกระทําอยางนอย 3 ตัวตอแถว แตไมตรงตามเงื่อนไขขางตน
U = 0.85
เมื่อใชสลักเกลียวในแนวของแรงกระทําเทากับ 2 ตัวตอแถว
U = 0.75
ข) สําหรับเหล็กแผนหรือทอนเหล็ก ที่ทํารอยเชื่อมขนานกับแนวแรง
เมื่อความยาวของรอยเชื่อมทั้งหมดเกินกวา 2 เทาของระยะหางระหวางรอยเชื่อม
U = 1 .0
เมื่อความยาวรอยเชื่อมทั้งหมดอยูระหวาง 1.5 ถึง 2 เทาของระยะหางระหวางรอยเชื่อม
U = 0.87
เมื่อความยาวรอยเชื่อมทั้งหมดอยูระหวาง 1 ถึง 1.5 เทาของระยะหางระหวางรอยเชื่อม
U = 0.75
26 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

2.6 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงดึง – มาตรฐาน AISC


การออกแบบโครงสรางเหล็กสวนรับแรงดึง สามารถออกแบบตามมาตรฐาน AISC ซึ่งแบงออกเปน
สองวิธี คือ วิธี ASD (Allowable Stress Design) และวิธี LRFD (Load and Resistance Factor Design) แตละ
วิธีนั้น มาตรฐาน AISC ใหสตู รคํานวณโดยคํานึงถึงพฤติกรรมตางๆ ที่ไดกลาวไวขางตน

การออกแบบโดยวิธี AISC-ASD
1. สําหรับสวนโครงสรางสวนรับแรงดึงทั่วไป (ยกเวนทอนเหล็กกลมและเหล็กแผนเจาะรูทําขอ
ตอ) ใหพิจารณาใชคานอยของหนวยแรงทีย่ อมใหตอไปนี้
หนวยแรงดึงทีย่ อมใหบนเนือ้ ที่หนาตัดทั้งหมด (A g )
Ft = 0.6Fy
หนวยแรงดึงทีย่ อมใหบนหนาตัดสุทธิประสิทธิผล (A e )
Ft = 0.5Fu
2. สําหรับทอนเหล็กหรือเคเบิ้ลรับแรงดึง
หนวยแรงดึงทีย่ อมให
Ft = 0.33Fu
3. สําหรับขอตอที่หมุนไดในเหล็กแผน (pin-connected plate) หรือรูหมุดตาไก (pin hole) ให
พิจารณาใชคานอยของหนวยแรงดึงทีย่ อมใหตอไปนี้
หนวยแรงดึงทีย่ อมใหบนเนือ้ ที่หนาตัดทั้งหมด (A g )
Ft = 0.6Fy
หนวยแรงดึงทีย่ อมใหบนหนาตัดสุทธิ (An) ที่ผานรูเจาะ
Ft = 0.45Fy
โครงสรางสวนรับแรงดึง 27

ทั้งยังตองพิจารณาแรงกดระหวางหมุดกับรูเจาะที่ยอมให
Fp = 0.9Fy
4. สําหรับสวนโครงสรางที่รับแรงดึงรวมกับแรงเฉือน (block shear)
แรงดึงที่ยอมให Pt = 0.5Fu A nt + 0.3Fu A nv
เมื่อ Fy = กําลังจุดครากของเหล็ก (yield strength of steel)
Fu = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก (minimum tensile strength of steel)
A nt = เปนหนาตัดสุทธิที่รับแรงดึง
A nv = เปนหนาตัดสุทธิที่รับแรงเฉือน

การออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD
1. สําหรับสวนโครงสรางที่รับแรงดึงทั่วไป (ยกเวนทอนเหล็กและเหล็กแผนเจาะรูทําขอตอ) ให
พิจารณาใชคานอยของกําลังรับแรงดึงประลัย (φ t Pn ) ตามสภาวะของการวิบัตติ อไปนี้
เมื่อหนาตัดทั้งหมดเกิดการคราก :
กําลังรับแรงดึงประลัย
φ t Pn = 0.9Fy A g (โดย φ t = 0.9 )
เมื่อหนาตัดสุทธิประสิทธิผล (A e ) เกิดการฉีกขาด
กําลังรับแรงดึงประลัย
φ t Pn = 0.75Fu A e (โดย φ t = 0.75 )
2. สําหรับทอนเหล็กหรือเคเบิ้ลรับแรงดึง
กําลังรับแรงดึงประลัย
φ t Pn = 0.75(0.75Fu A b ) (โดย φ t = 0.75 )
3. สําหรับขอตอแบบหมุนไดในเหล็กแผน (pin-connected plate) หรือรูหมุดตาไก (pin hole) ให
พิจารณาใชคานอยของกําลังรับแรงดึงประลัย (φ t Pn ) ตามสภาวะการวิบตั ิตอไปนี้
เมื่อหนาตัดทั้งหมดเกิดการคราก
กําลังรับแรงดึงประลัย
φ t Pn = 0.9Fy A g (โดย φ t = 0.9 )
เมื่อหนาตัดสุทธิประสิทธิผลเกิดการฉีกขาด
กําลังรับแรงดึงประลัย
φ t Pn = 0.75Fu A e (โดย φ t = 0.75 )
เมื่อรับแรงกดประลัยตรงรูเจาะ
กําลังรับแรงกดประลัย
φPn = 0.75(1.8Fy A pb ) (โดย φ = 0.75 )
28 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เมื่อรับแรงฉีกขาด
กําลังรับแรงเฉือนประลัย
φ sf Pn = 0.75(0.6Fu A sf ) (โดย φ sf = 0.75 )
4. สําหรับสวนโครงสรางที่รับแรงดึงรวมกับแรงเฉือน (block shear)
ใหพิจารณาหากําลังรับแรงดึงประลัยจากขอกําหนด ตอไปนี้
เมื่อ Fu A nt ≥ 0.6Fu A nv ชิ้นสวนถูกดึงขาดและครากจากแรงเฉือน
กําลังรับแรงดึงประลัย
φ t Pn = 0.75(0.6Fy A gv + Fu A nt ) (โดย φ t = 0.75 )
เมื่อ 0.6Fu A nv > Fu A nt ชิ้นสวนถูกเฉือนขาดและครากจากการดึง
กําลังรับแรงดึงประลัย
φ t Pn = 0.75(0.6Fu A nv + Fy A gt ) (โดย φ t = 0.75 )
เมื่อ A b = เนื้อที่หนาตัดทั้งหมดของทอนเหล็กหรือเคเบิ้ลรับแรงดึง
A pb = เนื้อที่ฉายรับแรงกด
A sf = เนื้อที่รับแรงเฉือน
A gv = หนาตัดทั้งหมดที่รับแรงเฉือน

อัตราสวนความชะลูด (slenderness ratio)


ชิ้นสวนรับแรงดึงซึ่งเมื่อรับแรงดึงนั้นจะขึงตึงไมคอยหยอนหรือแกวาง แตถาเรียวชะลูดมากก็จะเกิด
การหยอนหรือตกทองชาง (sag) เกิดการสั่นไหวตัว (vibration) หรือการโกงทางขาง (lateral deflection)
เนื่องจากแรงลม ดังนั้นมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD จึงกําหนดอัตราสวนความชะลูดสําหรับโครงสรางสวน
ที่รับแรงดึง ดังนี้
KL
SR = ≤ 300 (ยกเวนทอนเหล็กกลม)
r
KL
เมื่อ SR = = อัตราสวนความชะลูด
r
K = 1.0 = ตัวประกอบความยาวประสิทธิผล
L= ชวงความยาวของสวนโครงสรางรับแรงดึง, cm
I
r= = รัศมีไจเรชันที่นอยที่สุดของสวนโครงสรางรับแรงดึง, cm
A
A= เนื้อที่หนาตัดของสวนโครงสรางรับแรงดึง , cm 2
สําหรับทอนเหล็กกลมใหใชเสนผานศูนยกลางอยางนอย 15 mm
โครงสรางสวนรับแรงดึง 29

2.7 วิธีออกแบบโครงสรางสวนรับแรงดึง
การออกแบบโดยวิธี AISC-ASD
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูลซึ่งตองเปดตารางหรือกําหนดคาขึ้นมากอน
T = แรงดึงจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน หาไดทน ั ที, kg
Fy = กําลังจุดครากของเหล็ก ตามชนิดของเหล็ก, ksc
Fu = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ตามชนิดของเหล็ก , ksc
U = ตัวคูณลดคา ตองประมาณตามเงื่อนไขทีอ ่ าจจะเปน
หาหนวยแรงดึงที่ยอมใหตามมาตรฐานกําหนด (ดูหวั ขอ 2.6)
ขั้นตอนที่ 2 ประมาณเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด (A g )
ตามขอกําหนดขอแรก เนื้อที่หนาตัดทั้งหมด
เนื้อที่หนาตัดที่ตองการ
T
Ag =
0.6Fy
ตามขอกําหนดขอที่สอง เนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผลที่ตองการ
เนื้อที่หนาตัดประสิทธิผลที่ตองการ
T
Ae =
0.5Fu
แตเนื้อทีห่ นาตัดสุทธิประสิทธิผล A e = UA n ดังนั้น
เนื้อที่หนาตัดสุทธิ
T
An =
0.5Fu U
ดังนั้น เนื้อที่หนาตัดทั้งหมดที่ตองการ
T
Ag = + เนื้อที่รูเจาะโดยประมาณ
0.5Fu U
เลือกเนื้อที่หนาตัดทั้งหมดทีต่ องการ A g จากคามากของทั้งสองคานั้น
ขั้นตอนที่ 3 เลือกขนาดรูปตัดใหเหมาะสมกับลักษณะงาน และแบบการตอปลายของโครงสรางวาเปนการ
เชื่อมหรือใชตวั ยึด
ขั้นตอนที่ 4 หาหนวยแรงดึงที่เกิดขึ้นจริงตามมาตรฐานกําหนดแตละกรณี
ตรวจสอบหนวยแรงดึงที่เกิดขึ้นกับหนวยแรงดึงที่ยอมให หากคาที่เกิดขึ้นมากกวาคาที่ยอมให
แสดงวาหนาตัดที่เลือกมานั้นเล็กเกินไป ใหเลือกหนาตัดโตขึ้น เชนกวางขึ้นหรือหนาขึ้น หากคาที่เกิดขึ้น
นอยกวาคาที่ยอมใหแสดงวาหนาตัดโตเพียงพอในการรับแรงดึงแลว
30 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบอัตราสวนความชะลูด ตองไมเกิน 300 ยกเวนทอนเหล็กกลมที่ตองไมเล็กกวา 15 mm


หากเกิน 300 แสดงวาชิน้ สวนที่เลือกมานั้นชะลูดเกินไปใหเลือกหนาตัดโตขึ้นโดยให rmin มากขึ้นความ
ชะลูดจะนอยลง

การออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูลซึ่งตองเปดตารางหรือกําหนดคาขึ้นมากอน
Pu = แรงดึงที่เกิดขึน
้ จากน้ําหนักบรรทุกใชงานเพิ่มคา
Fy = กําลังจุดครากของเหล็ก ตามชนิดของเหล็ก, ksc
Fu = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ตามชนิดของเหล็ก , ksc
U = ตัวคูณลดคา ตองประมาณตามเงื่อนไขทีอ ่ าจจะเปน
ขั้นตอนที่ 2 ประมาณเนื้อที่ที่หนาตัดที่ตอ งการตามมาตรฐานกําหนด
ตามขอกําหนดขอแรก
เนื้อที่หนาตัดทั้งหมดที่ตองการ
Pu
Ag =
0.9Fy
ตามขอกําหนดขอที่สอง
เนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผลที่ตองการ
Pu
Ae =
0.75Fu
แตเนื่องจากเนือ้ ที่หนาตัดประสิทธิผลที่ตองการ A e เทียบกับเนื้อที่หนาตัดสุทธิ A n
A e = UA n
ดังนั้นเนื้อที่หนาตัดสุทธิที่ตองการ
Pu
An =
0.75Fu U
ดังนั้นเนื้อที่หนาตัดทั้งหมดที่ตองการตามขอกําหนดขอที่สองคือ
Pu
Ag = + เนื้อที่รูเจาะ (โดยประมาณ)
0.75Fu U
เลือกคามากระหวางขอกําหนดขอหนึ่งกับขอสอง เปนเนื้อที่หนาตัดทั้งหมดที่ตองการ
Ag
ขั้นตอนที่ 3 เลือกขนาดรูปตัดจากคามากของ A g ที่ประมาณไวในขัน้ ตอนที่ 2 ใหเหมาะสมกับงานและ
ลักษณะการยึดปลาย วาเปนการเชื่อมหรือใชตัวยึด
โครงสรางสวนรับแรงดึง 31

ขั้นตอนที่ 4 หากําลังรับแรงดึงประลัยของรูปตัดตามขอกําหนดในมาตรฐาน ถากําลังดึงประลัยทีร่ ับไดนอย


กวากําลังประลัยที่เกิดขึ้นยอมแสดงวาหนาตัดที่เลือกมานัน้ เล็กเกินไป ใหเลือกใหมโตกวาเดิมแลวตรวจสอบ
ใหมจนคาที่รับไดมากกวาหรือเทากับแรงดึงประลัยที่เกิดขึ้นจึงจะปลอดภัย
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบอัตราสวนความชะลูด ตองไมเกิน 300 ยกเวนทอนเหล็กกลมที่ตองไมเล็กกวา 15 mm
หากเกิน 300 แสดงวาชิน้ สวนที่เลือกมานั้นชะลูดเกินไปใหเลือกหนาตัดโตขึ้นโดยให rmin มากขึ้นความ
ชะลูดจะนอยลง

ตัวอยางการวิเคราะหออกแบบ
ตัวอยางที่ 2.1 จงหาเนื้อทีห่ นาตัดสุทธิประสิทธิผล (effective net area : A e ) เมื่อทํารอยตอระหวาง
เหล็กฉากชิ้นเดียว กับแผนประกับดวยสลักเกลียว ดังรูป สมมติใชเหล็กชนิด ASTM A36 (มี
Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc )

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูลซึ่งตองเปดตารางหรือกําหนดคาขึ้นมากอน
Pu = แรงดึงที่เกิดขึน
้ จากน้ําหนักบรรทุกใชงานเพิ่มคา กรณีนไี้ มตองใช
Fy = 2500 ksc = กําลังจุดครากของเหล็ก ตามชนิดของเหล็ก, ksc
Fu = 4050 ksc = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ตามชนิดของเหล็ก , ksc
U = ตัวคูณลดคา ตองประมาณตามเงื่อนไขทีอ ่ าจจะเปน
32 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด (A g )
จากตารางเหล็กฉาก L − 150 × 150 × 12 mm เนื้อทีห่ นาตัด 34.77 ตร.ซม. เมื่อเหล็กขาดจะ
ผานรูเจาะที่ใกลแรงที่สุดสองรู ขนาดสลักเกลียว 16 มม. จะตองเผื่อรูเจาะอีก 2 มม. ดังนั้นเนื้อทีห่ นาตัดสุทธิ
คือ
A n = A g − nt (d b + 0.2 )
A n = 34.77 − 2 × 1.2 × (1.6 + 0.2 ) = 30.45 cm 2
เนื่องจากการทํารอยตอนี้มกี ารยึดเพียงขาเดียว ตัวคูณลดคา U = 0.85 ดังนั้นเนื้อทีห่ นาตัดสุทธิ
ประสิทธิผล
A e = UA n = 0.85 × 30.45 = 25.8825 cm 2

ตัวอยางที่ 2.2 หากตอเหล็กฉากคูแบบขาไมเทากันโดยการเชื่อมขาดานยาวติดกับแผนเหล็กประกับ


(gusset plate) ดังรูป ใหหาตัวคูณลดคา (reduction factor) U

วิธีทํา
x
จากสมการ (2.5.3) U = 1− ≤ 0.9
L
เมื่อ x = 2.22 cm = ระยะจากระนาบรับแรงเฉือนถึงจุดศูนยถวงของรูปตัด
L = 18.5 cm = ความยาวของรอยตอหรือคือรอยเชื่อมที่ขนานกับแรงกระทํา
2.22
แทนคา U = 1− = 0.88 < 0.9 OK
18.5
โครงสรางสวนรับแรงดึง 33

ตัวอยางที่ 2.3 เหล็กฉากเดี่ยวขนาด L − 75 × 75 × 9 mm มีเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด A g = 12.69 cm 2


ทํารอยตอกับแผนเหล็กประกับดวยสลักเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 16 mm ทั้งสองขา
สมมติเหล็กชนิด ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc จงหากําลังรับแรงดึงของ
เหล็กฉากนี้ (สมมติวาไมเกิดการวิบัติที่ตวั สลักเกลียว หรือการวิบัติแบบ block shear)

วิธีทํา
จะตองมีการหาเนื้อที่หนาตัดสุทธิ A n เนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล A e ตัวคูณลดคา U ใหไดจึงจะ
หากําลังรับแรงดึง และโจทยขอนี้เปนลักษณะการวิเคราะหไมใชการออกแบบ จึงมีลําดับขั้นตอนการทํางาน
แตกตางจากการออกแบบ
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
A g = 12.69 cm 2 = เนื้อที่หนาตัดทั้งหมดของเหล็กรับแรงดึง
d b = 16 mm = 1.6 cm = เสนผานศูนยกลางของตัวยึดซึ่งในที่นี้คือสลักเกลียว
d h = d b + 2 = 16 + 2 = 18 mm = 1.8 cm = เสนผานศูนยกลางของรูเจาะ
Fy = 2500 ksc = กําลังจุดครากของเหล็ก ASTM A36
Fu = 4050 ksc = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ASTM A36
ขั้นตอนที่ 2 หาเนื้อที่หนาตัดสุทธิ A n เนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล A e ตัวคูณลดคา U
ตัดขานอนจากมุมในของเหล็กฉาก ความยาว 75 mm จะหายไปเทากับความหนา t = 9 mm ดังนั้น
ความยาวที่เหลือคือ 75 – 9 = 66 mm นํามาตอดานลางของขาตั้งใหกลายเปนเหล็กแผนตามรูปทางขวา
ทิศทางของแรงที่กระทําตอจุดตอชี้ไปทางขวาและอยูในแนวนอน
w g = 75 + 66 = 141 mm = 14.1 cm = ความกวางทั้งหมดของแผนเหล็ก
t = 9 mm = 0.9 cm = ความหนาของแผนเหล็ก
34 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

การขาดจากแรงดึงจะตองผานรูเจาะ B ซึ่งอยูใกลแรงดึงที่กระทํามากที่สุดเสมอ และอาจจะขาดผาน


รูเจาะในแนวถัดไปคือรูเจาะ D สวนรูเจาะในแนวถัดไปจะไมมกี ารขาดจากแรงดึง
g = 45 + 45 − 9 = 81 mm = 8.1 cm = มิติของแนวขาดเอียง BD วัดตั้งฉากกับแรง
s = 40 mm = 4 cm = มิติของแนวขาดเอียง BD วัดขนานกับแรง
ถาการขาดตามแนว ABC ผานรูเจาะเพียงรูเดียว n = 1 ไมมีแนวเอียง
⎛ s2 ⎞
A n = t ⎜⎜ w g − nd h + ∑ ⎟⎟
⎝ 4g ⎠
A n = 0.9(14.1 − 1 × 1.8 + 0) = 11.07 cm 2
ถาการขาดตามแนว ABDE ผานรูเจาะสองรู n = 2 มีแนวเอียง BD ซึ่ง g = 8.1 cm, s = 4 cm
⎛ s2 ⎞
A n = t ⎜⎜ w g − nd h + ∑ ⎟⎟
⎝ 4g ⎠
⎛ 42 ⎞
A n = 0.9⎜⎜14.1 − 2 × 1.8 + ⎟⎟ = 9.8944 cm 2
⎝ 4 × 8.1 ⎠
เลือกคานอยเปนเนื้อที่หนาตัดสุทธิ A n = 9.8944 cm 2
เมื่อใชสลักเกลียวอยางนอย 3 ตัวตอแถว และความกวางของปก 75 mm เทากับความลึก 75 mm ดังนั้น
ตัวคูณลดคา U = 0.9
เนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล
A e = UA n = 0.9 × 9.8944 = 8.905 cm 2
ขั้นตอนที่ 3 หากําลังรับแรงดึง
ตามวิธี AISC-ASD
P = 0.6Fy A g = 0.6 × 2500 × 12.69 = 19,035 kg
P = 0.5Fu A e = 0.5 × 4050 × 8.905 = 18,032.625 kg
เลือกจากคานอย และตัวเลขซายสุดที่ไมใช 0 เปนเลข 1 ใหใชนยั สําคัญ 4 หลัก ดังนัน้
กําลังรับแรงดึงใชงาน P = 18,030 kg
ตามวิธี AISC-LRFD
เมื่อหนาตัดทัง้ หมดเกิดการคราก φ t = 0.9
φ t Pn = 0.9Fy A g = 0.9 × 2500 × 12.69 = 28,552.5 kg
เมื่อหนาตัดสุทธิประสิทธิผลเกิดการฉีกขาด φ t = 0.75
φ t Pn = 0.75Fu A e = 0.75 × 4050 × 8.905 = 27,048.9375 kg
ในกรณีนี้ไมพจิ ารณาแรงกดประลัยตรงรูเจาะ เพราะจํานวนสลักเกลียวมีมาก ไมพจิ ารณารับแรงฉีก
ขาด รวมทั้ง block shear เนื่องจากจํานวนสลักเกลียวมีมาก ระยะหางจากปลายมากพอ
เลือกคําตอบจากคานอย ตัวเลขซายสุดที่ไมใช 0 เปนเลข 2 ไมใชเลข 1 ใชนัยสําคัญ 3 ตําแหนง คือ
กําลังรับแรงดึงประลัย φ t Pn = 27,000 kg
โครงสรางสวนรับแรงดึง 35

ตัวอยางที่ 2.4 จงหากําลังรับแรงดึงของหนาตัด S ที่ทําดวยเหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc,


Fu = 4050 ksc เมื่อทํารอยตอดวยสลักเกลียวดังรูป (สมมติวาไมเกิดการวิบัติที่ตัวสลักเกลียว
หรือการวิบัตแิ บบ block shear)

วิธีทํา
จะตองมีการหาเนื้อที่หนาตัดสุทธิ A n เนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล A e ตัวคูณลดคา U ใหไดจึงจะ
หากําลังรับแรงดึง และโจทยขอนี้เปนลักษณะการวิเคราะหไมใชการออกแบบ จึงมีลําดับขั้นตอนการทํางาน
แตกตางจากการออกแบบ
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
A g = 91.73 cm 2 = เนื้อที่หนาตัดทั้งหมดของเหล็กรับแรงดึง จากตารางเหล็กรูปตัว I ภาคผนวก
d b = 16 mm = 1.6 cm = เสนผานศูนยกลางของตัวยึดซึ่งในที่นี้คือสลักเกลียว
d h = d b + 2 = 16 + 2 = 18 mm = 1.8 cm = เสนผานศูนยกลางของรูเจาะ
Fy = 2500 ksc = กําลังจุดครากของเหล็ก ASTM A36
Fu = 4050 ksc = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ASTM A36
t w = 1.0 cm = ความหนาของแผนตั้งหรือแผนเอว จากตารางเหล็กรูปตัว I ภาคผนวก
t f = 1.8 cm = ความหนาของปก จากตารางเหล็กรูปตัว I ภาคผนวก
ขั้นตอนที่ 2 หาเนื้อที่หนาตัดสุทธิ A n เนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล A e ตัวคูณลดคา U
ถาขาดตามแนว ad รูเจาะ 4 รูบริเวณปก นั่นคือ n = 4 และไมมีแนวเอียง
A n = A g − nt f d h = 91.73 − 4 × 1.8 × 1.8 = 78.77 cm 2
36 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ถาขาดตามแนว abcd จะมีแนวเอียงสองแนว n i = 2 รูเจาะผานปก n f = 4 รู และรูเจาะผานแผนตัง้


nw = 2 รู ตัดปกตามแนวขอบของแผนตั้ง ระยะเอียงที่วด
ั มิติตั้งฉากกับแนวแรงคือ
g1 t w 8 1 .0
g = g2 + − =7+ − = 10.5 cm
2 2 2 2
และเสนมิติของแนวเอียงทีว่ ดั ขนานกับแนวแรงคือ
s = 5 cm
t ws2
An = Ag − nf t f dh − n w t wdh + ∑
4g
nit ws2
An = Ag − nf t f dh − n w t wdh +
4g
2 × 1.0 × 5 2
A n = 91.73 − 4 × 1.8 × 1.8 − 2 × 1.0 × 1.8 +
4 × 10.5
A n = 76.36047619 ⇒ 76.36 cm 2
nit ws2 nit ws2
สังเกตพจน ของแนวเอียงซึ่งผานทั้งแผนตั้งและปก แตพจน ใชเพิ่มคาของ An
4g 4g
ดังนั้นจึงพิจารณาใชทางคานอย ความหนาของแผนตั้ง t w = 1.0 cm นอยกวาความหนาของปก
t f = 1.8 cm คา A n จะนอยกวาคาจริงเล็กนอย แตก็ปลอดภัย
เลือกคาที่นอยที่สุด นั่นคือเนือ้ ที่หนาตัดสุทธิ A n = 76.36 cm 2
เมื่อทั้งปกและแผนตั้งถูกยึดดวยตัวยึดทั้งหมด U = 1.0 หรือ
เนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล A e = A n = 76.36 cm 2
ขั้นตอนที่ 3 หากําลังรับแรงดึง
ตามวิธี AISC-ASD
P = 0.6Fy A g = 0.6 × 2500 × 91.73 = 137,595 kg
P = 0.5Fu A e = 0.5 × 4050 × 76.36 = 154,629 kg
เลือกจากคานอย และตัวเลขซายสุดที่ไมใช 0 เปนเลข 1 ใหใชนัยสําคัญ 4 หลัก และจากหลักที่ 4 ไป
ทางขวาเปนเลข 9 ซึ่งมากกวาหรือเทากับ 5 จึงปดขึ้น 1 ไปรวมกับ 5 เปน 6 หลักที่ 5 ไปเปน 0 หมด ดังนั้น
กําลังรับแรงดึงใชงาน P = 137,600 kg
ตามวิธี AISC-LRFD
เมื่อหนาตัดทัง้ หมดเกิดการคราก φ t = 0.9
φt Pn = 0.9Fy A g = 0.9 × 2500 × 91.73 = 206,392.5 kg
เมื่อหนาตัดสุทธิประสิทธิผลเกิดการฉีกขาด φ t = 0.75
φ t Pn = 0.75Fu A e = 0.75 × 4050 × 76.36 = 231,943.5 kg
เลือกจากคานอย ตัวเลขซายสุดที่ไมใช 0 คือ 2 ไมใช 1 นัยสําคัญ 3 หลักๆ ที่สามเปนเลข 6 หลักที่ 4
เปนเลข 3 นอยกวา 5 ตัดทิ้ง ดังนั้น
โครงสรางสวนรับแรงดึง 37

กําลังรับแรงดึงประลัย φ t Pn = 206,000 kg

ตัวอยางที่ 2.5 จงหากําลังรับแรงดึงของเหล็กฉากที่แสดงเมื่อการชํารุดของรอยตอเปนแบบ block shear


ใชเหล็กชนิด ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc

วิธีทํา
กําลังรับแรงดึง เมื่อรอยตอชํารุดแบบ block shear ตามแนว abc ดังแสดง
ตามวิธี AISC-ASD
A nv = เนื้อที่หนาตัดรับแรงเฉือนในแนว ab ซึ่งยาว 2.5 + 5 + 5 = 12.5 cm มีรูเจาะสองรูครึ่งหรือ 2.5
รู ขนาดรูเจาะ d h = d b + 2 = 16 + 2 = 18 mm = 1.8 cm ความหนาของเหล็กฉาก 10 mm = 1.0 cm ดังนั้น
A nv = 1.0 × (12.5 − 2.5 × 1.8) = 8 cm 2
A nt = เนื้อที่หนาตัดรับแรงดึงในแนว bc ความยาว 4 cm มีสวนของรูเจาะครึง่ รูหรือ 0.5 รู ขนาดรูเจาะ
d h = d b + 2 = 16 + 2 = 18 mm = 1.8 cm ความหนาของเหล็กฉาก 10 mm = 1.0 cm ดังนั้น
A nt = 1.0 × (4.0 − 0.5 × 1.8) = 3.1 cm 2
กําลังรับแรงดึงใชงาน Tbs = 0.3Fu A nv + 0.5Fu A nt
Tbs = 0.3 × 4050 × 8 + 0.5 × 4050 × 3.1 = 15,997.5 kg
เนื่องจากตัวเลขซายสุดที่ไมใช 0 คือ 1 นัยสําคัญ 4 หลักตกเลข 9 หลัง ถัดไปเปนเลข 7≥5 จึงปดขึ้น
เปน 1 ไปรวมกับ 9 เปน 10 ดังนั้นคําตอบคือ
Tbs = 16,000 kg
ตามวิธี AISC-LRFD
A gv = 12.5 × 1.0 = 12.5 cm 2 = เนื้อที่หนาตัดสวนรับแรงเฉือนชวง ab ไมหักรูเจาะออก
A gt = 4.0 × 1.0 = 4.0 cm 2 = เนื้อที่หนาตัดสวนรับแรงดึงชวง bc ไมหกั รูเจาะออก
38 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

A nv = เนื้อที่หนาตัดรับแรงเฉือนในแนว ab ซึ่งยาว 2.5 + 5 + 5 = 12.5 cm มีรูเจาะสองรูครึ่งหรือ 2.5


รู ขนาดรูเจาะ d h = d b + 2 = 16 + 2 = 18 mm = 1.8 cm ความหนาของเหล็กฉาก 10 mm = 1.0 cm ดังนั้น
A nv = 1.0 × (12.5 − 2.5 × 1.8) = 8 cm 2
A nt = เนื้อที่หนาตัดรับแรงดึงในแนว bc ความยาว 4 cm มีสวนของรูเจาะครึง่ รูหรือ 0.5 รู ขนาดรูเจาะ
d h = d b + 2 = 16 + 2 = 18 mm = 1.8 cm ความหนาของเหล็กฉาก 10 mm = 1.0 cm ดังนั้น
A nt = 1.0 × (4.0 − 0.5 × 1.8) = 3.1 cm 2
เตรียมคาเอาไวตรวจสอบระหวางแรงเฉือนกับแรงดึงวากรณีใดขาดและอีกตัวเปนการคราก
Fu A nt = 4050 × 3.1 = 12,555 kg
0.6Fu A nv = 0.6 × 4050 × 8 = 19,440 kg
พบวา 0.6Fu A nv > Fu A nt ชิ้นสวนถูกเฉือนขาดและครากจากการดึง
กําลังรับแรงดึงประลัย φt Pn = 0.75(0.6Fu A nv + Fy A gt )
φ t Pn = 0.75 × (0.6 × 4050 × 8 + 2500 × 4 ) = 22,080 kg
เนื่องจากตัวเลขซายสุดที่ไมใช 0 คือ 2 นัยสําคัญ 3 หลักตกเลข 0 หลักที่ 4 เปน 8 ≥ 5 จึงปดขึ้น 1 ไป
รวมกับ 0 เปน 1 ดังนั้น กําลังรับแรงดึงประลัย คือ
φ t Pn = 22,100 kg

ถาไมเกิดการวิบัติแบบ block shear จะหากําลังรับแรงดึงของเหล็กฉากไดดังนี้


ตามวิธี AISC-ASD
A g = 17.0 cm 2 = เนื้อที่หนาตัดเหล็กฉาก L − 90 × 90 × 10 mm จากตารางเหล็กในภาคผนวก
t = 10 mm = 1.0 cm = ความหนาของเหล็กฉาก
หากเกิดการขาด รอยขาดจะผานรูเจาะที่อยูใกลแรงดึงที่สุดซึ่งมี n = 1 รู
d h = d b + 2 = 16 + 2 = 18 mm = 1.8 cm = ขนาดรูเจาะเผื่อจากขนาดสลักเกลียว 2 mm
การยึดเหล็กฉากเพียงขาเดียวมีสลักเกลียวแถวเดียว มี 3 ตัวตอแถว ตามรูปที่ 2.6(ก) คา U = 0.85
เนื้อที่หนาตัดสุทธิ
A n = A g − ntd h = 17.0 − 1 × 1.0 × 1.8 = 15.2 cm 2
เนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล
A e = UA n = 0.85 × 15.2 = 12.92 cm 2
กําลังรับแรงดึง
P = 0.6Fy A g = 0.6 × 2500 × 17.0 = 25,500 kg
P = 0.5Fu A e = 0.5 × 4050 × 12.92 = 26,163 kg
เลือกคานอย คือ 25,500 kg เลขซายสุดเปน 2 ไมใช 1 จึงนัยสําคัญ 3 หลักนับไปตกเลข 5 หลัง ถัดไปเปน 0
หมด ดังนั้น
กําลังรับแรงดึงใชงาน P = 25,500 kg
โครงสรางสวนรับแรงดึง 39

ตามวิธี AISC-LRFD
A g = 17.0 cm 2 = เนื้อที่หนาตัดเหล็กฉาก L − 90 × 90 × 10 mm จากตารางเหล็กในภาคผนวก
t = 10 mm = 1.0 cm = ความหนาของเหล็กฉาก
หากเกิดการขาด รอยขาดจะผานรูเจาะที่อยูใกลแรงดึงที่สุดซึ่งมี n = 1 รู
d h = d b + 2 = 16 + 2 = 18 mm = 1.8 cm = ขนาดรูเจาะเผื่อจากขนาดสลักเกลียว 2 mm
การยึดเหล็กฉากเพียงขาเดียวมีสลักเกลียวแถวเดียว มี 3 ตัวตอแถว ตามรูปที่ 2.6(ก) คา U = 0.85
เนื้อที่หนาตัดสุทธิ
A n = A g − ntd h = 17.0 − 1 × 1.0 × 1.8 = 15.2 cm 2
เนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล
A e = UA n = 0.85 × 15.2 = 12.92 cm 2
กําลังรับแรงดึงประลัย
φ t Pn = 0.9Fy A g = 0.9 × 2500 × 17.0 = 38,250 kg
φ t Pn = 0.75Fu A e = 0.75 × 4050 × 12.92 = 39,244.5 kg
เลือกคานอยคือ φt Pn = 38,250 kg แตเลขซายสุดที่ไมใช 0 คือเลข 3 ไมใช 1 จึงมีนัยสําคัญ 3 หลัก หลักที่ 4
คือ 5 ปดขึ้น 1 แลวใส 0 แทน ดังนั้น
φt Pn = 38,300 kg

ตัวอยางที่ 2.6 ใหออกแบบชิน้ สวนรับแรงดึงที่มีขนาดรูปตัดแบนแบบสี่เหลี่ยมผืนผาที่มีความยาว 1.5


เมตร โดยตองรับน้ําหนักบรรทุกใชงานคงที่ 8000 กิโลกรัม น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 24,000
กิโลกรัม ใชเหล็กชนิด ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc , Fu = 4050 ksc สมมติวาทํารอยตอ
โดยใชสลักเกลียวขนาด 20 มิลลิเมตร อยางนอย 3 ตัวตอ 1 แถว สมมติวาไมเกิดการวิบัติที่ตวั
สลักเกลียว หรือการวิบัติแบบ block shear
วิธีทํา
วิธี AISC-ASD
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
T = DL + LL = 8,000 + 24,000 = 32,000 kg = แรงดึงจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน
Fy = 2500 ksc = กําลังจุดครากของเหล็ก ASTM A36
Fu = 4050 ksc = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ASTM A36
d b = 20 mm = 2.0 cm = เสนผานศูนยกลางของสลักเกลียว
d h = d b + 2 = 20 + 2 = 22 mm = 2.2 cm = เสนผานศูนยกลางรูเจาะ
U = 1 = เมื่อเปนแผนเหล็กแบนหรือทอนกลม ตัวคูณลดคาเทากับ 1
40 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด
จากขอกําหนดขอแรก
T 32 ,000
Ag = = = 21 .333 cm 2
0 .6 Fy 0 .6 × 2500
จากขอกําหนดขอที่สอง
T 32,000
An = = = 15.802 cm 2
0.5Fu U 0.5 × 4050 × 1.0
เมื่อจัดสลักเกลียวแถวเดียว
A g = A n + td h = 15.802 + 2.2t
ขั้นตอนที่ 3 เลือกแผนเหล็กขนาดกวาง 120 mm หนา 20 mm มี
A g = 12.0 × 2.0 = 24.0 cm 2 > 21.333 cm 2
A g = 15.802 + 2.2 × 2.0 = 20.202 cm 2 < 24.0 cm 2
แสดงวาแผนเหล็กขนาดกวาง 120 mm หนา 20 mm รับแรงดึงที่กระทําได
วิธี AISC-LRFD
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
Pu = 1.2DL + 1.6LL = 1.2 × 8,000 + 1.6 × 24,000 = 48,000 kg = แรงดึงจากน้ําหนักบรรทุก
LL 24,000
เพิ่มคา ตัวคูณที่ใช 1.2 กับ 1.6 เพราะ = =3<8
DL 8,000
Fy = 2500 ksc = กําลังจุดครากของเหล็ก ASTM A36
Fu = 4050 ksc = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ASTM A36
d b = 20 mm = 2.0 cm = เสนผานศูนยกลางของสลักเกลียว
d h = d b + 2 = 20 + 2 = 22 mm = 2.2 cm = เสนผานศูนยกลางรูเจาะ
U = 1 = เมื่อเปนแผนเหล็กแบนหรือทอนกลม ตัวคูณลดคาเทากับ 1
ขั้นตอนที่ 2 ประมาณเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด
ตามขอกําหนดขอแรก
Pu 48,000
Ag = = = 21.333 cm 2
0.9Fy 0.9 × 2500
ตามขอกําหนดขอที่สอง
Pu 48,000
An = = = 15.802 cm 2
0.75Fu U 0.75 × 4050 × 1
แตทํารอยตอดวยสลักเกลียวแถวเดียวไมนอ ยกวา 3 ตัวตอแถว ขนาดสลักเกลียว 20 mm ขนาดเสนผาน
ศูนยกลางรูเจาะ 22 mm = 2.2 cm ดังนั้นตองการเนื้อที่หนาตัดทั้งหมดไมนอยกวา
A g = 15.802 + 2.2t
โครงสรางสวนรับแรงดึง 41

ขั้นตอนที่ 3 เลือกแผนเหล็กขนาดกวาง 120 mm หนา 20 mm มี


A g = 12.0 × 2.0 = 24.0 cm 2 > 21.333 cm 2
A g = 15.802 + 2.2 × 2.0 = 20.202 cm 2 < 24.0 cm 2
แสดงวาแผนเหล็กขนาดกวาง 120 mm หนา 20 mm รับแรงดึงที่กระทําได
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบความชะลูด SR = KL ≤ 300
r
L = 1.50 m = 150 cm = ความยาวของชิ้นสวนรับแรงดึง
bt 3 12.0 × 2.03
I= = = 8 cm 4 = โมเมนตอินเนอรเชียของหนาตัดที่นอยทีส
่ ุด
12 12
A = bt = 12.0 × 2.0 = 24 cm 2 = เนื้อที่หนาตัดของชิ้นสวนรับแรงดึง
I 8
r= = = 0.57735 cm = รัศมีไจเรชันของหนาตัด
A 24
K = 1 .0 = สัมประสิทธิ์ความยาวประสิทธิผล โครงสรางสวนแรงดึงเทากับ 1.0
KL 1.0 × 150
SR = = = 259.8 < 300 OK
r 0.57735
ดังนั้น ใชเหล็กแผนขนาด 20 × 120 mm2 เปนโครงสรางสวนรับแรงดึงกรณีนี้ได

ตัวอยางที่ 2.7 จงออกแบบชิน้ สวนรับแรงดึงรูปตัดฉากเดี่ยว ยาว 3.00 เมตร ทําดวยเหล็กชนิด ASTM


A36 ซึ่งมี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc ยึดกับแผนเหล็กประกับ ดังรูป ดวยสลักเกลียว
ขนาด 22 mm อยางนอย 3 ตัว เพื่อรับน้ําหนักบรรทุกคงที่ 5,000 kg และน้ําหนักบรรทุกจร
10,000 kg สมมติวาไมมีการวิบัติที่ตัวสลักเกลียวหรือการวิบัติแบบ block shear
42 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
T = DL + LL = 5,000 + 10,000 = 15,000 kg = แรงดึงจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน
Fy = 2500 ksc = กําลังจุดครากของเหล็ก ASTM A36
Fu = 4050 ksc = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ASTM A36
d b = 22 mm = 2.2 cm = เสนผานศูนยกลางของสลักเกลียว
d h = d b + 2 = 22 + 2 = 24 mm = 2.4 cm = เสนผานศูนยกลางรูเจาะ
U = 0.85 = เมื่อเปนเหล็กฉากยึดขาเดียวแตมีอยางนอย 3 ตัวตอแถว
ขั้นตอนที่ 2 ประมาณเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด
จากขอกําหนดขอแรก
T 15,000
Ag = = = 10 cm 2
0.6Fy 0.6 × 2500
จากขอกําหนดขอที่สอง
T 15,000
An = = = 8.7146 cm 2
0.5Fu U 0.5 × 4050 × 0.85
เมื่อจัดสลักเกลียวแถวเดียว
A g = A n + td h = 8.7146 + 2.4t
ขั้นตอนที่ 3 เลือกรูปตัด L − 75 × 75 × 9 mm จากตารางเหล็กในภาคผนวก
A g = 12.69 cm > 10 cm
2 2

A g = 8.7146 + 2.4 × 0.9 = 10.8746 cm 2 < 12.69 cm 2


แสดงวารูปตัด L − 75 × 75 × 9 mm รับแรงดึงที่กระทําได
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบอัตราสวนความชะลูดตองไมเกิน 300
จากตารางเหล็กฉากชนิดขาเทากัน ภาคผนวกพบวา รูปตัด L − 75 × 75 × 9 mm มีรัศมีไจเรชันนอย
ที่สุดเทากับ 1.45 cm
KL 1 × 300
SR = = = 206.9 < 300 OK
r 1.45
โครงสรางสวนรับแรงดึง 43

วิธี AISC-LRFD
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
Pu = 1.2DL + 1.6LL = 1.2 × 5,000 + 1.6 × 10,000 = 22,000 kg = แรงดึงจากน้ําหนักบรรทุก
LL 10,000
เพิ่มคา ตัวคูณที่ใช 1.2 กับ 1.6 เพราะ = =2<8
DL 5,000
Fy = 2500 ksc = กําลังจุดครากของเหล็ก ASTM A36
Fu = 4050 ksc = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ASTM A36
d b = 22 mm = 2.2 cm = เสนผานศูนยกลางของสลักเกลียว
d h = d b + 2 = 22 + 2 = 24 mm = 2.4 cm = เสนผานศูนยกลางรูเจาะ
U = 0.85 = เมื่อเปนเหล็กฉากยึดขาเดียวแตมีอยางนอย 3 ตัวตอแถว
ขั้นตอนที่ 2 ประมาณเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด
ตามขอกําหนดขอแรก
Pu 22,000
Ag = = = 9.778 cm 2
0.9Fy 0.9 × 2500
ตามขอกําหนดขอที่สอง
Pu 22,000
An = = = 8.521 cm 2
0.75Fu U 0.75 × 4050 × 0.85
แตทํารอยตอดวยสลักเกลียวแถวเดียวไมนอ ยกวา 3 ตัวตอแถว ขนาดสลักเกลียว 22 mm ขนาดเสนผาน
ศูนยกลางรูเจาะ 24 mm = 2.4 cm ดังนั้นตองการเนื้อที่หนาตัดทั้งหมดไมนอยกวา
A g = 8.521 + 2.4t
ขั้นตอนที่ 3 เลือกรูปตัด L − 75 × 75 × 9 mm จากตารางเหล็กในภาคผนวก
A g = 12.69 cm > 9.778 cm
2 2

A g = 8.7146 + 2.4 × 0.9 = 10.8746 cm 2 < 12.69 cm 2


แสดงวารูปตัด L − 75 × 75 × 9 mm รับแรงดึงที่กระทําได
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบอัตราสวนความชะลูดตองไมเกิน 300
จากตารางเหล็กฉากชนิดขาเทากัน ภาคผนวกพบวา รูปตัด L − 75 × 75 × 9 mm มีรัศมีไจเรชันนอย
ที่สุดเทากับ 1.45 cm
KL 1 × 300
SR = = = 206.9 < 300 OK
r 1.45
44 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ตัวอยางที่ 2.8 จงออกแบบชิน้ สวนรับแรงดึงรูปตัดฉากคูช นิดขาไมเทากันทําดวยเหล็กชนิด ASTM A36


มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc โดยเชื่อมขาดานยาวติดกับแผนเหล็กประกับ เพื่อรับ
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 16 ตัน และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 44 ตัน สมมติวาไมเกิดการวิบัติ
ที่รอยเชื่อม

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
T = DL + LL = 16,000 + 44,000 = 60,000 kg = แรงดึงจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน
Fy = 2500 ksc = กําลังจุดครากของเหล็ก ASTM A36
Fu = 4050 ksc = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ASTM A36
ขั้นตอนที่ 2 ประมาณเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด
จากขอกําหนดขอแรก
T 60,000
Ag = = = 40 cm 2
0.6Fy 0.6 × 2500
ลองเลือกใช 2Ls − 125 × 90 × 10 mm จากตารางเหล็กฉากขาไมเทากันในภาคผนวก
A g = 2 × 20.50 = 41 cm 2 > 40 cm 2
ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบกําลังรับแรง
จัดชิ้นสวนโดยใหขายาวแนบกับแผนประกับ รอยเชื่อมที่ขนานกับแนวแรงยาวถึง 18.5 cm ขณะที่
ระยะหางระหวางรอยเชื่อม 2.5 cm แตระยะหางจากรอยเชื่อมถึงศูนยถวง x = 2.22 cm ขณะทีค่ วามยาว
รอยเชื่อมขนานแนวแรง L = 18.5 cm
x
U =1− ≤ 0.9
L
2.22
U =1− = 0.88 < 0.9 OK
18.5
โครงสรางสวนรับแรงดึง 45

กําลังรับแรงดึงบนหนาตัดสุทธิประสิทธิผล
T = 0.5Fu UA n
เมื่อ A n = A g = 40.1 cm 2 = เนื้อที่หนาตัดสุทธิ ไมมีการเจาะรูใชเต็มที่
T = 0.5 × 4050 × 0.88 × 41 = 73,062 kg
กําลังรับแรงดึงบนแผนประกับเมื่อตองรับแรงดึงรวมกับแรงเฉือน (block shear) แผนประกับขาดเปน
สี่เหลี่ยมโดยสวนรับแรงดึงทีป่ ลายเหล็กฉากยาว 12.5 cm และแรงเฉือนที่ขอบบนและลางยาวขอบละ 18.5
cm แผนเหล็กประกับหนา 19 mm = 1.9 cm ดังนั้น
A nt = 12.5 × 1.9 = 23.75 cm 2
A nv = 2 × 18.5 × 1.9 = 70.3 cm 2
Tbs = 0.3Fu A nv + 0.5Fy A nv
Tbs = 0.3 × 4050 × 70.3 + 0.5 × 2500 × 23.75 = 115,102 kg
ดังนั้นหากจะเกิดการชํารุดจะเกิดจากการขาดที่เหล็กฉาก ไมเกิดการชํารุดที่เหล็กประกับ
เลือกใช 2Ls − 125 × 90 × 10 mm
ออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
Pu = 1.2DL + 1.6LL = 1.2 × 16,000 + 1.6 × 44,000 = 89,600 kg = แรงดึงจากน้ําหนักบรรทุก
LL 44,000
เพิ่มคา ตัวคูณที่ใช 1.2 กับ 1.6 เพราะ = = 2.75 < 8
DL 16,000
Fy = 2500 ksc = กําลังจุดครากของเหล็ก ASTM A36
Fu = 4050 ksc = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ASTM A36
ขั้นตอนที่ 2 ประมาณเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด
ตามขอกําหนดขอแรก
Pu 89,600
Ag = = = 39.822 cm 2
0.9Fy 0.9 × 2500
ลองเลือกใช 2Ls − 125 × 90 × 10 mm จากตารางเหล็กฉากขาไมเทากันในภาคผนวก
A g = 2 × 20.50 = 41 cm 2 > 39.822 cm 2
ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบกําลังรับแรง
จัดชิ้นสวนโดยใหขายาวแนบกับแผนประกับ รอยเชื่อมที่ขนานกับแนวแรงยาวถึง 18.5 cm ขณะที่
ระยะหางระหวางรอยเชื่อม 2.5 cm แตระยะหางจากรอยเชื่อมถึงศูนยถวง x = 2.22 cm ขณะทีค่ วามยาว
รอยเชื่อมขนานแนวแรง L = 18.5 cm
x
U =1− ≤ 0.9
L
2.22
U =1− = 0.88 < 0.9 OK
18.5
46 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

กําลังรับแรงดึงบนหนาตัดสุทธิประสิทธิผล
Pu = 0.75Fu UA n
เมื่อ A n = A g = 40.1 cm 2 = เนื้อที่หนาตัดสุทธิ ไมมีการเจาะรูใชเต็มที่
Pu = 0.75 × 4050 × 0.88 × 41 = 109,593 kg > 89,600 kg
กําลังรับแรงดึงบนแผนประกับเมื่อตองรับแรงดึงรวมกับแรงเฉือน (block shear) แผนประกับขาดเปน
สี่เหลี่ยมโดยสวนรับแรงดึงทีป่ ลายเหล็กฉากยาว 12.5 cm และแรงเฉือนที่ขอบบนและลางยาวขอบละ 18.5
cm แผนเหล็กประกับหนา 19 mm = 1.9 cm ดังนั้น
A gt = A nt = 12.5 × 1.9 = 23.75 cm 2
A gv = A nv = 2 × 18.5 × 1.9 = 70.3 cm 2
เตรียมคาเพื่อตรวจสอบวาดึงขาดแลวครากจากแรงเฉือนหรือเฉือนขาดแลวครากจากแรงดึง
0.6Fu A nv = 0.6 × 4050 × 70.3 = 170,829 kg
Fu A nt = 4050 × 23.75 = 96,187.5 kg
0.6Fu A nv > Fu A nt
แสดงวาเหล็กประกับถูกเฉือนขาดและครากจากแรงดึง
φ t Pbs = 0.75(0.6Fu A nv + Fy A gt )
φ t Pbs = 0.75 × (0.6 × 4050 × 70.3 + 2500 × 23.75)
φ t Pbs = 172,653 kg > Pu = 109,593 kg
ดังนั้นหากจะเกิดการชํารุดจะเกิดจากการขาดที่เหล็กฉาก ไมเกิดการชํารุดที่เหล็กประกับ
เลือกใช 2Ls − 125 × 90 × 10 mm

ตัวอยางที่ 2.9 จงหาขนาดของทอนเหล็กกลมเพื่อใชยดึ สวนโครงสรางมิใหเซ ซึ่งตองรับแรงดึงใชงาน


เนื่องจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ 1 ตัน และน้าํ หนักบรรทุกจร 3 ตัน ใชเหล็กชนิด ASTM A36 ซึ่งมี
Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc
วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
T = DL + LL = 1,000 + 3,000 = 4,000 kg = แรงดึงจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน
Fy = 2500 ksc = กําลังจุดครากของเหล็ก ASTM A36
Fu = 4050 ksc = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ASTM A36
สําหรับทอนเหล็กหรือเคเบิล้ รับแรงดึง หนวยแรงดึงทีย่ อมให
Ft = 0.33Fu
โครงสรางสวนรับแรงดึง 47

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด
T T 4000
Ab = = = = 2.993 cm 2
Ft 0.33Fu 0.33 × 4050
เหล็กทอนกลมตันมีเนื้อที่หนาตัด
πd 2b
= 2.993
4
2.993 × 4
db = = 1.952 cm = 19.52 mm
π
หากเผื่อทําเกลียวขนาดเกลียว 1 นิ้ว = 1 × 25.4 = 0.79375 mm ⇒ 0.8 mm
32 32
ดังนั้น d b = 19.52 + 0.8 + 0.8 = 21.12 ⇒ 22 mm
เลือกใชทอนเหล็กเสนผานศูนยกลาง 22 mm
ออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
Pu = 1.2DL + 1.6LL = 1.2 × 1,000 + 1.6 × 3,000 = 6,000 kg = แรงดึงจากน้าํ หนักบรรทุกเพิ่มคา
LL 3,000
ตัวคูณทีใ่ ช 1.2 กับ 1.6 เพราะ = =3<8
DL 1,000
Fy = 2500 ksc = กําลังจุดครากของเหล็ก ASTM A36
Fu = 4050 ksc = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ASTM A36
ขั้นตอนที่ 2 ประมาณเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด
Pu 6,000
Ab = = = 2.634 cm 2
φ t (0.75Fu ) 0.75(0.75 × 4050 )
เหล็กทอนกลมตันมีเนื้อที่หนาตัด
πd 2b
= 2.634
4
2.634 × 4
db = = 1.83 cm = 18.3 mm
π
หากเผื่อทําเกลียวขนาดเกลียว 1 นิ้ว = 1 × 25.4 = 0.79375 mm ⇒ 0.8 mm
32 32
ดังนั้น d b = 18.3 + 0.8 + 0.8 = 19.9 ⇒ 20 mm
เลือกใชทอนเหล็กเสนผานศูนยกลาง 20 mm
สังเกตวาวิธี LRFD จะไดเหล็กเล็กกวาวิธี ASD
48 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ตัวอยางที่ 2.10 จงออกแบบสวนโครงสรางรับแรงดึง ยาว 10.00 เมตร ที่ประกอบขึ้นจากเหล็กรางและตอ


ยึดดวยแผนยึดแบบขวาง (tie plate) ที่ปกคานดวยสลักเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 22 mm
เพื่อใหรับแรงดึงใชงาน 160 ตัน สมมติใชเหล็กชนิด ASTM A36 ซึ่งมี Fy = 2500 ksc,
Fu = 4050 ksc

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
T = DL + LL = 160,000 kg = แรงดึงจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน
Fy = 2500 ksc = กําลังจุดครากของเหล็ก ASTM A36
Fu = 4050 ksc = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ASTM A36
d b = 22 mm = 2.2 cm = เสนผานศูนยกลางของสลักเกลียว
d h = d b + 2 = 22 + 2 = 24 mm = 2.4 cm = เสนผานศูนยกลางรูเจาะ
U = 0.85 = เมื่อเปนการยึดเฉพาะสวนปกและไมเขาเงือ่ นไขที่จะทําให U = 0.9
ขั้นตอนที่ 2 ประมาณเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด
จากขอกําหนดขอแรก
T 160,000
Ag = = = 106.67 cm 2
0.6Fy 0.6 × 2500
ตามขอกําหนดขอที่สอง
T 160,000
An = = = 92.96 cm 2
0.5Fu U 0.5 × 4050 × 0.85
โครงสรางสวนรับแรงดึง 49

แตทํารอยตอดวยสลักเกลียวแถวเดียวไมนอ ยกวา 3 ตัวตอแถว ขนาดสลักเกลียว 22 mm ขนาดเสนผาน


ศูนยกลางรูเจาะ 24 mm = 2.4 cm รอยขาดจะผานรูเจาะ 4 รู ให t เปนความหนาของสวนปกของเหล็กราง
ดังนั้นตองการเนื้อที่หนาตัดทั้งหมดไมนอยกวา
A g = 92.96 + 4 × 2.4t = 92.96 + 22.56t
ขั้นตอนที่ 3 เลือกรูปตัด [−300 × 90 × 10 mm จากตารางเหล็กในภาคผนวก
เนื้อที่หนาตัด 55.74 cm 2 สวนปกหนา 15.5 mm สวน web หนา 10 mm
A g = 92.96 + 9.6 × 1.55 = 107.84 cm 2
A g = 55.74 × 2 = 111.48 cm 2 > 107.84 cm 2 > 106.67 cm 2
โดยจัดวางใหแผน web หางกัน 30 cm ดังรูป
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบอัตราสวนความชะลูด
โมเมนตอินเนอรเชียรอบแกน x จะไดจากเหล็กราง 2 ทอน แตละทอนมี I x = 7410 cm 4
I x = 2 × 7410 = 14,820 cm 4
โมเมนตอินเนอรเชียรอบแกน y ไดจากเหล็กรางสองทอน แตละทอนมี I y = 360 cm 4 เนื้อที่หนาตัด
A = 55.74 cm 2 ตําแหนงเซนทรอยดหางจากผิว web เทากับ 2.34 cm เมื่อยายไปแกนใหมระยะหางคือ
30
d= − 2.34 = 15 − 2.34 = 12.66 cm
2
I y = ∑ I y + ∑ Ad 2 = 2 × 360 + 2 × 55.74 × 12.662 = 18,587.52 cm 4
พบวา I x < I y การโกงเดาะ (buckling) จะเกิดรอบแกน x หารัศมีไจเรชันรอบแกน x
Ix 14,820
rx = = = 11.53 cm
A 2 × 55.74
KL 1 × 1000
SR = = = 86.73 < 300 OK
r 11.53
ขั้นตอนที่ 5 ออกแบบแผนยึดขวาง
ใหรูเจาะอยูห างจากขอบของเหล็กแผนตั้ง 4.5 cm ดังรูป
ดังนั้นระยะหางระหวางแนวของรูเจาะ L = 30 − 2 × 4.5 = 21 cm
L 21
ความหนาของแผนยึดขวางอยางนอย t ≥ = = 0.42 cm = 4.2 mm ใช t = 6 mm
50 50
2 2
ความกวางของแผนยึดขวางอยางนอย b ≥ L = × 21 = 14 cm
3 3
แตตองใชสลักเกลียวอยางนอย 3 ตัวตอแถว โดยสมมติใหระยะหางระหวางศูนยกลางของรูเจาะ 6.5 cm และ
ระยะขอบ 3.5 cm ดังนั้นความกวางของแผนยึดขวางจะได
b = 3.5 + 6.5 + 6.5 + 3.5 = 20 cm
ความยาวจริงของแผนยึดขวางตองรวมระยะขอบไวดว ย
L1 = L + 2e = 21 + 2 × 3.5 = 28 cm ⇒ 30 cm
นั่นคือ ใชแผนยึดขวาง PL − 300 × 200 × 6 mm
50 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขั้นตอนที่ 6 หาระยะหางระหวางแผนยึดขวาง
KL
พิจารณาจากความชะลูด SR = ≤ 300 ของเหล็กรางแตละทอนที่อยูระหวางแผนยึดขวาง แต
r
เหล็กรางที่เลือกมี ry = 2.54 cm นอยที่สุด การโกงเดาะเกิดรอบแกน y ดังนั้น
300r 300 × 2.54
L≤ = = 762 cm = 7.62 m
K 1
ดังนั้นใชแผนยึดขวางที่ปลายทั้งสองขางและที่กึ่งกลางความยาว หรือระยะ L = 5.00 เมตร

หมายเหตุ มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD กําหนดขนาดและสัดสวนของแผนยึดขวางไวดังนี้


- ความกวางของแผนยึดขวาง (ตามแนวยาวของสวนโครงสราง) ตองไมนอยกวาสองในสามของระยะหางในแนว
ขวางระหวางตัวยึดหรือแนวที่จะเชื่อม
- ความหนาของแผนยึดขวางตองไมนอยกวางหนึ่งในหาสิบของระยะหางในแนวขวางระหวางตัวยึดหรือแนวที่
จะเชื่อม
- ระยะหางตามแนวยาวระหวางตัวยึด หรือรอยเชื่อมแบบเวนระยะ ตองไมเกิน 15 cm
- ระยะหางของแผนยึดขวาง ตองไมทําใหอัตราสวนความชะลูดของแตละสวนโครงสรางเกินกวา 300

ตัวอยางที่ 2.11 จากโครงหลังคาที่แสดง สมมติใหระยะหางระหวางโครง (bay) เทากับ 6.00 เมตร และใช


ตัวยึดแป (sag rod) ที่กึ่งกลางของชวงความยาวแป เพื่อกันไมใหแปโกงทางขาง จงหาขนาดของ
ตัวยึดแปที่ตองการ สมมติใชเหล็กกลมเรียบ SR-24 ที่มี Fy = 2400 ksc, Fu = 3900 ksc

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
Fy = 2500 ksc = กําลังจุดครากของเหล็ก ASTM A36
Fu = 4050 ksc = กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ASTM A36
โครงสรางสวนรับแรงดึง 51

หาน้ําหนักที่ตวั ยึดแปตองรับ
แปเปนเหล็กรูปตัด S รูปราง I เปดตารางภาคผนวกทายเลมจะมีน้ําหนัก 24.6 kg/m ในระยะ 6.00 เมตร
ที่โครงหลังคาหางกันแลวมีเหล็กยึดแปอยูก ลาง แบงพื้นที่แลวเหล็กยึดแปจะรับอยูครึ่งหนึ่ง น้ําหนักทั้งหมด
ในแนวเอียงตามลาดหลังคาที่ถายใหเหล็กยึดแปจะไปรวมที่ยอดจัว่ นับดูซีกเดียวมีแป 7 ตัว ดังนัน้
6.00
น้ําหนักจากแป 7 ตัว  7  24.6   516.6 kg
2
24.00 6.00
น้ําหนักในแนวดิ่งของเครื่องมุง  15    540 kg
2 2
24.00 6.00
น้ําหนักในแนวดิ่งของน้ําหนักจร  50    1800 kg
2 2
รวมน้ําหนักทัง้ หมดในแนวดิ่ง  516.6  540  1800  2856.6 kg
1
น้ําหนักทั้งหมดที่ตัวยึดแปตองรับ  2856.6 sin   2856.6   903.34 kg
10
ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดตัวยึดแป
T T 903.34
Ab     0.702 cm 2
Ft 0.33Fu 0.33  3900
เหล็กทอนกลมตันมีเนื้อที่หนาตัด
d 2b
 0.702
4
0.702  4
db   0.945 cm  9.45 mm

หากเผื่อทําเกลียวขนาดเกลียว 1 นิ้ว  1  25.4  0.79375 mm  0.8 mm
32 32
ดังนั้น d b  9.45  0.8  0.8  11.05  12 mm
มาตรฐานกําหนดใหใชเหล็กกลมรับแรงดึงไมเล็กกวา 15 mm ดังนั้นใชเหล็กยึดแป RB 15 mm
ขั้นตอนที่ 3 หาขนาดของเหล็กยึดแปที่สนั หลังคา ซึ่งจะวางตัวในแนวนอน
แรงดึงที่เหล็กยึดแปที่สันหลังคาตองรับไว T  903.34  903.34  10
 952.2 kg
cos  3
T T 952.2
Ab     0.74 cm 2
Ft 0.33Fu 0.33  3900
เหล็กทอนกลมตันมีเนื้อที่หนาตัด
d 2b
 0.74
4
0.74  4
db   0.97 cm  9.7 mm

หากเผื่อทําเกลียวขนาดเกลียว 1 นิ้ว  1  25.4  0.79375 mm  0.8 mm
32 32
ดังนั้น d b  9.7  0.8  0.8  11.3  12 mm
52 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

มาตรฐานกําหนดใหใชเหล็กกลมรับแรงดึงไมเล็กกวา 15 mm ดังนั้นใชเหล็กยึดแปที่สนั หลังคา RB 15 mm

ตัวอยางที่ 2.12 จงออกแบบทอนรับแรงดึงที่ทําปลายแบบรูหมุดตาไก (eyebar) เพื่อใหรับแรงดึงที่เกิด


จากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 30 ตัน และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 90 ตัน สมมติใชเหล็กชนิด
ASTM A514 ซึ่งมี Fy  7000 ksc, Fu  8050 ksc

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
Fy  7000 ksc  กําลังจุดครากของเหล็ก ASTM A514
Fu  8050 ksc  กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก ASTM A514
T  30,000  90,000  120,000 kg  แรงดึงใชงานที่กระทํา
ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบสวนทอนรับแรงดึง
T 120,000
เนื้อที่หนาตัดที่ตองการ Ag    28.57 cm 2
0.6Fy 0.6  7,000
สมมติความหนาของทอนรับแรงดึง t  25 mm  2.5 cm
Ag 28.57
ดังนั้นความกวางที่ตองการ w   11.43 cm  12 cm  120 mm
t 2 .5
w 120 T
ตรวจสอบอัตราสวน   4.8  8 แสดงวาใชสมการ A g  ได
t 25 0.6Fy
ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบสวนหัวที่ทําเปนรูหมุด
7 7
สมมติขนาดเสนผานศูนยกลางของหมุดยึด d p  120 mm  w   120  105 mm
8 8
แต d  d p  1 mm
ดังนั้นใชขนาดเสนผานศูนยกลางของรูหมุด d  120.5 mm  5t  5  25  125 mm
โครงสรางสวนรับแรงดึง 53

เมื่อเกิดการขาดตามแนวเสนผานศูนยกลางของหมุด เนือ้ ที่รับแรงคือ 2bt หนวยแรงที่ยอมใหคือ 0.45Fy


ดังนั้น
T
 0.45Fy
2bt
T 120,000
b   7.619 cm  76.19 mm
0.45Fy 2 t  0.45  7000  2  2.5
เลือกขนาดเสนผานศูนยกลางของสวนหัว D  300 mm
D  d 300  120.5
b   89.75 mm  76.19 mm
2 2
ตรวจสอบ
2b  2  89.75  179.5 mm
1.33w  1.33  120  159.6 mm
1.50 w  1.50  120  180 mm
1.33w  2b  1.50w OK
ใชรัศมีความโคงดานนอก r = D = 300 mm
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบหนวยแรงแบกทานหรือหนวยแรงกดระหวางหมุดกับตาไก
T 120,000
fb    4000 ksc  0.9Fy  0.9  7000  6300 ksc OK
dt 12.0  2.5

หมายเหตุ มาตรฐาน AISC กําหนดขนาดและสัดสวนของ Eyebar ไวดังนี้


- มีความหนาสม่ําเสมอ t  13 mm และความกวาง w  8t
- ความกวางสุทธิของสวนหัว (2b) ไมนอยกวา 1.33w แตไมเกินกวา 1.50w
7
- ขนาดเสนผานศูนยกลางของสลักหรือหมุดยึด d p  w โดยที่ d  d p  1 mm
8
- เมื่อ d เปนขนาดเสนผานศูนยกลางของรูหมุด ซึ่งตองไมเกินกวา 5t เมื่อใชเหล็กที่มี Fy เกินกวา 4900 ksc
- รัศมีความโคงของสวนที่ตอระหวางทอนกับสวนหัว r  ขนาดเสนผานศูนยกลางของสวนหัว D
54 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แบบฝกหัดบทที่ 2
โครงสรางสวนรับแรงดึง
[1] แผนเหล็กรับแรงดึงหนา 9 mm กวาง 180 mm ยึดกับแผนเหล็กประกับดวยสลักเกลียวขนาด 25 mm
ดังรูป P3.2-1 ใชเหล็กชนิด ASTM A36 ซึ่งมี Fy  2500 ksc, Fu  4050 ksc สมมติวา เนื้อที่หนา
ตัดสุทธิประสิทธิผล A e เทากับเนื้อที่หนาตัดสุทธิ A n จงคํานวณหา
(ก) กําลังในการออกแบบตาม AISC-LRFD
(ข) กําลังรับแรงดึงที่ยอมใหตาม AISC-ASD

[2] แผนเหล็กหนา 9 mm กวาง 150 mm เชื่อมติดกับแผนประกับดังรูป P3.2-2 เหล็กมีกําลังคราก


Fy  3500 ksc และกําลังประลัย Fu  4570 ksc สมมติวาเนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล A e เทากับเนือ

ที่หนาตัดสุทธิ A n จงคํานวณหา

(ก) กําลังในการออกแบบตาม AISC-LRFD


(ข) กําลังรับแรงดึงที่ยอมใหตาม AISC-ASD
แบบฝกหัดโครงสรางสวนรับแรงดึง 55

[3] เหล็กรางขนาด [200  24.6 ยึดติดกับแผนประกับดวยสลักเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 22 mm


ดังรูป P3.2-3 เหล็กทีใ่ ชเปน ASTM A572 Grade 50 มี Fy  3500 ksc, Fu  4570 ksc ถา
โครงสรางนี้รับเฉพาะน้ําหนักบรรทุกคงที่กับน้ําหนักบรรทุกจรเทานั้น จงหากําลังรับน้ําหนักบรรทุก
ใชงานถาอัตราสวนน้ําหนักบรรทุกจรตอน้ําหนักบรรทุกคงที่เทากับ 3 สมมติให A e  0.85A n (ตัว
คูณลดคา U = 0.85)
(ก) ใชวิธี AISC-LRFD
(ข) ใชวิธี AISC-ASD

[4] แผนเหล็กรับแรงดึงหนา 12 mm กวาง 200 mm ยึดกับแผนประกับเหล็กดวยสลักเกลียวขนาดเสนผาน


ศูนยกลาง 25 mm ดังรูป P3.2-4 แผนเหล็กเปนชนิด ASTM A242 มี Fy  2900 ksc, Fu  4350 ksc
สมมติวา A e  A n จงคํานวณหา
(ก) กําลังในการออกแบบตาม AISC-LRFD
(ข) กําลังรับแรงดึงที่ยอมใหตาม AISC-ASD
56 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[5] โครงสรางสวนรับแรงดึงในรูป P3.2-5 ตองรับแรงดึงใชงานคงที่ 11,340 kg และแรงดึงใชงานจร


20,412 kg ชิ้นสวนนีม้ กี ําลังรับแรงดึงไดเพียงพอหรือไม เหล็กเปนชนิด ASTM A588 มี
Fy  3450 ksc, Fu  4800 ksc สลักเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 28 mm สมมติวา A e  A n
(ก) ใชวิธี AISC-LRFD
(ข) ใชวิธี AISC-ASD

[6] เหล็กฉากคูสําหรับรับแรงดึงขนาดเหล็กฉาก 2L  100  75  7 mm LLBB ชนิดเหล็ก ASTM A36


มี Fy  2500 ksc, Fu  4050 ksc น้ําหนักบรรทุกคงที่ 5440 kg น้ําหนักบรรทุกจร 16,330 kg ถา
ยึดกับแผนเหล็กประกับดวยสลักเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 19 mm แถวเดียวโดยรูเจาะบนขายาว
โครงสรางนี้รับแรงดึงไดอยางปลอดภัยหรือไม สมมติ A e  0.85A n
(ก) ใชวิธี AISC-LRFD
(ข) ใชวิธี AISC-ASD
โครงสรางสวนรับแรงดึง 57

[7] จงหาเนื้อทีห่ นาตัดสุทธิประสิทธิผล A e ของแตละกรณีในรูป P3.3-1


58 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[8] เหล็กฉากเดี่ยวรับแรงดึง ยึดกับแผนเหล็กประกับดังรูปที่ P3.3-2 กําลังจุดคราก Fy  3500 ksc และ


กําลังรับแรงดึงประลัย Fu  4900 ksc สลักเกลียวขนาด 22 mm
(ก) จงหากําลังรับแรงดึงระบุ Pn โดยพิจารณาเนื้อที่หนาตัดประสิทธิผล ใหหาคา U ตามสมการ
2.5.3
(ข) ทําแบบขอ (ก) แตคา U หาตามรูปที่ 2.6

[9] เหล็กฉากรับแรงดึงขนาด L  100  75  7 mm เชื่อมติดกับแผนประกับดังรูป P3.3-3 เหล็กชนิด


ASTM A36 มี Fy  2500 ksc, Fu  4050 ksc จงหากําลังรับแรงดึงระบุบนเนือ้ ที่หนาตัด
ประสิทธิผล ใชสมการที่ 2.5.3 ในการหา U
โครงสรางสวนรับแรงดึง 59

[10] เหล็กฉากขนาด L  130  130  12 mm เหล็กชนิด ASTM A242 มี Fy  3150 ksc,


Fu  4600 ksc ยึดกับแผนเหล็กประกับดวยสลักเกลียวขนาด 19 mm จํานวน 6 ตัว ดังรูป P3.3-4 ถา
ชิ้นสวนนี้รับเฉพาะน้ําหนักคงที่และน้ําหนักจรเทานัน้ จงหาน้ําหนักบรรทุกใชงานสูงสุด ใหอัตราสวน
น้ําหนักบรรทุกจรตอน้ําหนักบรรทุกคงที่เทากับ 2.0 ใหใชคา U ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD
(ก) ใชวิธี AISC-LRFD
(ข) ใชวิธี AISC-ASD

[11] เหล็กฉาก L  150  100  15 mm เปนเหล็ก ASTM A36 ซึ่งมี Fy  2500 ksc, Fu  4050 ksc
ยึดกับแผนเหล็กประกับดวยสลักเกลียวเสนผานศูนยกลาง 25 mm ดังรูป P3.3-5 โดยรับแรงดึงนี้
น้ําหนักคงที่ 22,680 kg น้าํ หนักบรรทุกจร 45,360 kg และแรงดึงจากแรงลม 20,412 kg ใชสมการ
2.5.3 ในการหาคา U ใหตรวจสอบวาหนาตัดนี้รับแรงดึงไดหรือไม
(ก) ใชวิธี AISC-LRFD
(ข) ใชวิธี AISC-ASD
60 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[12] แผนเหล็กรับแรงดึงหนา 6 mm กวาง 125 mm ยึดกับแผนประกับดวยรอยเชื่อมตามขอบทั้งสองขางแต


ละขางรอยเชื่อมยาว 175 mm แผนเหล็กทําจากเหล็ก ASTM A36 มี Fy  2500 ksc,
Fu  4050 ksc
(ก) กําลังในการออกแบบตาม AISC-LRFD
(ข) กําลังรับแรงดึงที่ยอมใหตาม AISC-ASD
[13] เหล็กรูปตัด W  300  36.7 เนื้อที่หนาตัด A g  46.78 cm 2 ความลึก d = 300 mm ความกวางปก
b f  150 mm ความหนาแผนตั้ง t w  6.5 mm ความหนาปก t f  9 mm I x  7210 cm 4 ,
I y  508 cm 4 ชนิดเหล็ก ASTM A992 มี Fy  3500 ksc, Fu  4570 ksc คา U ตามรูปที่ 2.6
(ก) กําลังในการออกแบบตาม AISC-LRFD
(ข) กําลังรับแรงดึงที่ยอมใหตาม AISC-ASD

[14] เหล็กรูปตัด WT  150  18.35 เนื้อที่หนาตัด A g  23.39 cm 2 ความลึก d = 150 mm ความกวาง


ปก bf  150 mm ความหนาแผนตั้ง t w  6.5 mm ความหนาปก t f  9 mm ดังรูป P3.3-8 มีจดุ
คราก Fy  3500 ksc กําลังดึงประลัย Fu  4900 ksc จงตรวจสอบวารับแรงตอไปนี้ไดหรือไม
D  34,020 kg, L r  18,144 kg, S  22,680 kg, W  31,752 kg
(ก) ใชวิธี AISC-LRFD
(ข) ใชวิธี AISC-ASD
โครงสรางสวนรับแรงดึง 61

[15] โครงสรางสวนรับแรงดึงในรูปที่ P3.4-1 เปนแผนเหล็กหนา 12 mm กวาง 250 mm เหล็กชนิด ASTM


A36 ที่มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc จุดตอยึดดวยสลักเกลียวขนาด 19 mm ใหหากําลังรับแรง
ดึงระบุเมื่อใชเนื้อที่หนาตัดสุทธิ

[16] โครงสรางรับแรงดึงทําจากแผนเหล็กสองแผนแตละแผนหนา 12 mm กวาง 250 mm ประกบกับแผน


เหล็กประกับ ดังรูป P3.4-2 ชนิดเหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc ยึดดวยสลัก
เกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 19 mm จงหากําลังรับแรงดึงระบุ และใชเนื้อที่หนาตัดสุทธิ
62 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[17] หนาตัดรับแรงดึงแสดงในรูป P3.4-3 เปนแผนเหล็กหนา 9 mm กวาง 200 mm สลักเกลียวขนาด 12


mm เหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc จงหา
(ก) กําลังในการออกแบบตาม AISC-LRFD
(ข) กําลังรับแรงดึงที่ยอมใหตาม AISC-ASD

[18] เหล็กราง [−250 × 34.6 เปนโครงสรางสวนรับแรงดึงยึดจุดตอดวยสลักเกลียวขนาด 28 mm ดังรูป


P3.4-4 มี Fy = 3500 ksc, Fu = 4900 ksc ชิ้นสวนรับน้ําหนักบรรทุกคงที่ 16,330 kg น้ําหนัก
บรรทุกจร 49,896 kg จงตรวจสอบวาหนาตัดนี้รับแรงดึงไดหรือไม
(ก) ใชวิธี AISC-LRFD
(ข) ใชวิธี AISC-ASD
โครงสรางสวนรับแรงดึง 63

[19] ในรูปเปนการเอาเหล็กฉากมาซอนใหคลายเหล็กราง ขนาดเหล็ก 2 − L − 150 ×100 × 9 mm ใชรับ


แรงดึง โดยยึดกับกับแผนประกับเหล็กดวยสลักเกลียวขนาด 19 mm ดานที่ซอนกันเปนดาน 150 mm
ดังรูป P3.4-5 เหล็ก ASTM A572 Grade 50 มี Fy = 3500 ksc, Fu = 4570 ksc จงหา
(ก) กําลังในการออกแบบตาม AISC-LRFD
(ข) กําลังรับแรงดึงที่ยอมใหตาม AISC-ASD

[20] เหล็กฉาก L − 100 × 100 × 10 mm ยึดตอโดยใชสลักเกลียวขนาด 19 mm ดังรูปที่ P3.4-6 โดยยึดทั้ง


สองขา ใชเหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc จงหา
(ก) กําลังในการออกแบบตาม AISC-LRFD
(ข) กําลังรับแรงดึงที่ยอมใหตาม AISC-ASD
64 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[21] จงหากําลังรับแรงแบบ block shear ในรูป P3.5-1 เหล็ก ASTM A572 Grade 50 มี Fy = 3500 ksc,
Fu = 4570 ksc สลักเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 22 mm

[22] จงหากําลังรับแรงแบบ block shear ในรูป P3.5-2 สลักเกลียวขนาด 25 mm เหล็ก ASTM A36
Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc
โครงสรางสวนรับแรงดึง 65

[23] จุดตอในรูป P3.5-3 สลักเกลียวขนาด 19 mm ชิน้ สวนทุกชิน้ ทําจากเหล็ก ASTM A36 มี


Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc ใหพิจารณาทัง้ แผนเหล็กและแผนประกับ จงคํานวณหา
(ก) กําลังออกแบบแบบ block shear ของจุดตอ
(ข) กําลังที่ยอมใหแบบ block shear ของจุดตอ

[24] ถาจุดตอรูป P3.5-4 ใชเหล็ก ASTM A572 Grade 50 มี Fy = 3500 ksc, Fu = 4570 ksc ใชรับแรง
ดึง สวนแผนประกับเหล็กใชเหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc สลักเกลียวใช
ขนาด 19 mm
(ก) หากําลังรับน้ําหนักบรรทุกเพิ่มคาตามวิธี AISC LRFD ใหคํานึงถึงขีดจํากัดตางๆ ทั้งหมด
(ข) หากําลังรับน้ําหนักบรรทุกทีย่ อมใหตามวิธี AISC ASD ใหคํานึงถึงขีดจํากัดตางๆ ทั้งหมด
66 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[25] ใหเลือกเหล็กฉากเดี่ยว ชนิดเหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc เพื่อรับน้ําหนัก
บรรทุกคงที่ 12,700 kg และน้ําหนักบรรทุกจร 38,100 kg ชิ้นสวนยาว 5.40 เมตร จุดยึดใชสลักเกลียว
ขนาด 25 mm แถวเดียว ดังรูป P3.6-1 โดยใชสลักเกลียว 4 ตัวขึ้นไป
(ก) ออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD
(ข) ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD

[26] จงออกแบบโครงสรางสวนรับแรงดึง เหล็กชนิด ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc


เหล็กรูปตัดเหล็กราง ใหรับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 45,360 kg และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน
22,680 kg ความยาวชิน้ สวน 6.00 เมตร จุดยึดใชสลักเกลียวขนาด 25 mm ที่แผนตั้ง ความยาวของสวน
จุดตอ 150 mm
(ก) ออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD
(ข) ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD
[27] จงออกแบบโครงสรางรับแรงดึงเปนเหล็กฉากคูใหรับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 13,600 kg และ
น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 40,800 kg จุดยึดเปนสลักเกลียวขนาด 22 mm จํานวนสองแถว ระยะตางๆ
ใหใชตามมาตรฐานรูป 3.24 แตละแถวใชสลักเกลียวมากกวา 3 ตัว ความยาวของโครงสราง 7.50 เมตร
แผนประกับเหล็กหนา 9 mm เหล็ก ASTM A572 Grade 50 มี Fy = 3500 ksc, Fu = 4570 ksc
(ก) ออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD
(ข) ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD
โครงสรางสวนรับแรงดึง 67

ระยะเกจของเหล็กฉาก (mm)
ขา 200 180 150 130 100 90 75 65 50 45 40 35 30 25
g 114 100 90 75 65 50 45 35 30 25 22 22 19 16
g1 75 65 60 50
g2 75 75 65 45

[28] ใหเลือกหนาตัดเหล็กรางเพื่อรับแรงดึงตอไปนี้ น้ําหนักบรรทุกคงที่ 24,500 kg น้ําหนักบรรทุกจร


36,300 kg แรงลม 34,000 kg จุดตอเปนรอยเชื่อมตามยาวประมาณคาตัวคูณลดคา (shear lag factor) U
= 0.85 (ในงานจริง เมื่อออกแบบไดหนาตัดเหล็กมาแลวจึงจะใชสมการ 2.5.3 ในการคํานวณหา U
แลวตรวจสอบซ้ําอีก) ความยาวชิน้ สวน 5.30 เมตร ให Fy = 3500 ksc, Fu = 4570 ksc
(ก) ออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD
(ข) ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD
[29] ใหออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD เลือกหนาตัดเหล็กรางเพื่อรับแรงดึงเพิ่มคา 81,500 kg ความยาว 4.50
เมตร สลักเกลียวขนาด 22 mm จัดสองแถวดังรูป P3.6-5 ประมาณคาตัวคูณลดคา U = 0.85 (ในงาน
จริง เมื่อออกแบบไดหนาตัดเหล็กมาแลวจึงจะใชสมการ 2.5.3 ในการคํานวณหา U แลวตรวจสอบซ้ํา
อีก) ชนิดเหล็ก ASTM A 36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc
68 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[30] ใหใชวิธี AISC-LRFD ออกแบบและเลือกหนาตัด W ความลึก 250 mm ใหรับแรงดึงจาก น้ําหนัก


บรรทุกคงที่ 79,500 kg และน้ําหนักบรรทุกจร 79,500 kg จุดตอยึดที่ปก ๆ ละสองแถว ดวยสลักเกลียว
ขนาด 32 mm ดังรูป P3.6-6 แตละแถวใชสลักเกลียวอยางนอย 2 ตัวขึน้ ไป ความยาวของชิ้นสวน 9.00
เมตร เหล็กชนิด ASTM A242 มี Fy = 3150 ksc, Fu = 4600 ksc

[31] ใหออกแบบทอนเหล็กกลมทําเกลียว (เชน เหล็กยึดแป :sag rod) ใหรับแรงดึงน้ําหนักบรรทุกคงที่ใช


งาน 20,500 kg เหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc
(ก) ออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD
(ข) ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD
[32] เหล็กรูปตัด W − 350 × 49.6 ยึดดวยทอนเหล็กกลม AB กับ CD ดังรูป P3.7-2 น้ําหนักบรรทุกจรใช
งาน 9000 kg ใหใชวิธี AISC-LRFD ออกแบบทอนเหล็กกลมทําเกลียวทั้งสอง ซึ่งเปนเหล็กชนิด
ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc สําหรับกรณีน้ําหนักบรรทุกดังนี้
(ก) เมื่อน้ําหนัก 9000 kg ตรึงอยูในตําแหนงทีแ่ สดงนี้เทานั้น
(ข) เมื่อน้ําหนัก 9000 kg สามารถเลื่อนไปอยูตาํ แหนงใดก็ไดระหวาง A กับ D
โครงสรางสวนรับแรงดึง 69

[33] เหล็กรูปตัด W − 350 × 49.6 ยึดดวยทอนเหล็กกลม AB กับ CD ดังรูป P3.7-2 น้ําหนักบรรทุกจรใช


งาน 9000 kg ใหใชวิธี AISC-ASD ออกแบบทอนเหล็กกลมทําเกลียวทั้งสอง ซึ่งเปนเหล็กชนิด ASTM
A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc สําหรับกรณีน้ําหนักบรรทุกดังนี้
(ก) เมื่อน้ําหนัก 9000 kg ตรึงอยูในตําแหนงทีแ่ สดงนี้เทานั้น
(ข) เมื่อน้ําหนัก 9000 kg สามารถเลื่อนไปอยูตาํ แหนงใดก็ไดระหวาง A กับ D

[34] ในรูป P3.7-4 ชิ้นสวน AC และ BD เปนทอนรับแรงดึงโดยยึดกับโครงสรางดวยปลายยึดหมุน ใชรับ


แรงลมขนาด 4500 kg ชิ้นสวนทั้งสองไมสามารถรับแรงอัด ดังนัน้ หากพิจารณาตามรูปแลว ชิ้นสวน AC จะ
ทําหนาที่รับแรงดึง สวนชิ้นสวน BD ไมรบั แรงใดๆ เลย ใหใชวิธี AISC-LRFD ออกแบบทอนรับแรงดึงทํา
เกลียวทั้งสองทอนนี้ ใชเหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc
70 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[35] จงออกแบบทอนรับแรงดึงทอนเหล็กกลมทําเกลียว AB ที่แสดงในรูป P3.7-5 ชนิดเหล็ก ASTM A36


มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc น้ําหนักบรรทุกที่แสดงเปนน้ําหนักบรรทุกใชงาน ไมคิดน้ําหนัก
ของทอน CB
(ก) ออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD
(ข) ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD

[36] ทอที่แสดงรองรับดวยสลักเกลียวตัว U ทุกๆ ระยะ 3.00 เมตร ขนาดของทอเสนผานศูนยกลางภายใน


250 mm หนา 6 mm หนัก 37 kg/m บรรจุเต็มดวยน้ํา สลักเกลียวทําจากเหล็ก ASTM A36 มี
Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc จงออกแบบสลักเกลียว
(ก) ออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD
(ข) ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD
โครงสรางสวนรับแรงดึง 71

[37] รูปที่ P3.8-1 เปนโครงหลังคาตอโดยวิธีเชื่อม ทอนบนเปนตัว T เหล็กชนิด ASTM A36 มี


Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc จุดตอทุกจุดมีรอยเชื่อมทั้งขนานแรงและตังฉากแรง ความยาวจุด
ตอ 280 mm ระยะหางระหวางโครงหลังคา (ระยะ bay) 3.75 m จงออกแบบทอนบนตัว T ใหรับ
น้ําหนักบรรทุกดังนี้
หิมะ 100 kg / m 2 บนพื้นระนาบ
วัสดุมุง 60 kg / m 2
แป W − 100 × 9.3
น้ําหนักโครงหลังคาประมาณ 450 kg
(ก) ออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD
(ข) ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD

[38] จงออกแบบทอนเอียงในโครงหลังคาซึ่งเปนโครงสรางสวนรับแรงดึง ในรูป P3.8-2 น้ําหนักบรรทุกที่


แสดงเปนน้าํ หนักบรรทุกเพิม่ คาแลว การออกออกแบบจึงตองใชวิธี AISC-LRFD สมมติวาจุดตอเปน
สลักเกลียวแถวเดียวขนาด 19 mm อยางนอย 4 ตัว ใชเหล็ก ASTM A572 Grade 50 มี
Fy = 3500 ksc, Fu = 4570 ksc

[39] ใหคํานวณหาน้ําหนักบรรทุกเพิ่มคาลงจุดตอแตละจุดของโครงหลังคาในขอ [38] จากเงื่อนไขตอไปนี้


ระยะหางระหวางโครงหลังคา (ระยะ bay) 4.50 เมตร
น้ําหนักวัสดุมงุ 60 kg / m 2
แป W − 100 × 9.3 วางเฉพาะที่จุดตอ
หิมะ 90 kg / m 2 บนพืน้ ราบ
น้ําหนักโครงหลังคาโดยประมาณ 2250 kg
72 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[40] ใหออกแบบชิน้ สวนรับแรงดึงในโครงหลังคาตามรูป P3.8-4 ทุกชิ้นสวนใหเปนเหล็กฉากคู แผน


ประกับหนา 9 mm ตอโดยการเชื่อม ใหตัวคูณลดคา U = 0.85 ระยะหางของโครงหลังคา (bay) 7.60
เมตร ใชเหล็กชนิด ASTM A572 Grade 50 มี Fy = 3500 ksc, Fu = 4570 ksc โดยมีน้ําหนัก
บรรทุกตางๆ ดังนี้
วัสดุมุงแผนเหล็กเคลือบรีดลอน 20 kg / m 2 บนพืน้ ผิวเอียงหลังคา
วัสดุกันรอนและเสียง 60 kg / m 2 บนพื้นผิวเอียงหลังคา
แปประมาณ 30 kg / m 2 บนพื้นผิวเอียงหลังคา
หิมะ 90 kg / m 2 บนพืน้ ราบ
โครงหลังคาประมาณ 25 kg / m 2 บนพื้นราบ
(ก) ออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD
(ข) ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD

[41] จากโจทยขอ [40] ใหออกแบบเหล็กยึดแปซึ่งเปนเหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc,


Fu = 4050 ksc โดยเมื่อติดตัง้ วัสดุมุงกับสวนประกอบในการกันรอนและเสียงเขาไปจะทําหนาทีย่ ัน
แปไวแลว ดังนั้นเหล็กยึดแปจึงยึดเฉพาะน้ําหนักของแปเอง
(ก) ออกแบบโดยวิธี AISC-LRFD
(ข) ออกแบบโดยวิธี AISC-ASD
73 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

บทที่ 3 โครงสรางสวนรับแรงอัด
3.1 โครงสรางสวนรับแรงอัด (Compression Members)
โครงสรางสวนรับแรงอัดมีตัวอยางที่เห็นชัดเจนที่สุดคือ เสา (column) จันทันเอก (top chord หรือ
rafter) ของโครงหลังคา โครงสะพาน ค้ํายัน รวมทัง้ ปกคานรับแรงอัดในหนาตัดเหล็กรูปพรรณหรือคาน
ประกอบ
แรงดึงจะพยายามทําใหชิ้นสวนเหยียดตรงขณะทีแ่ รงอัดจะพยายามทําใหวัตถุโกงเดาะ
ในชิ้นสวนรับแรงดึง รูเจาะทําใหโครงสรางมีเนื้อที่ในการรับแรงลดลง แตในชิ้นสวนรับแรงอัด ตัวยึด
เชนหมุดย้ํา สลักเกลียวจะเขาไปทําใหเนื้อเต็ม ดังนั้นจึงใชเนื้อที่เต็ม A g ในการคํานวณชิ้นสวนรับแรงอัด
สมมติใหแรงอัด P กระทําบนเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด A g ซึ่งตั้งฉากกับแรงอัด P หนวยแรงอัดที่เกิดขึ้น
f a แผกระจายสม่ําเสมอบนเนือ ้ ที่หนาตัด ดังนั้น
P
fa =
Ag
ถาให Fa เปนหนวยแรงอัดทีห่ นาตัดนั้นรับได และให P เปนแรงอัดสูงสุดที่หนาตัดนั้นรับได จะมี
ความสัมพันธวา
P = Fa A g
นั่นคือ ในการออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด อาจจะตรวจสอบวา f a ≤ Fa หรือ P ≤ Fa A g หรือ
คาที่เกิดขึ้นตองไมเกินกวาคาที่ยอมให
ในขณะที่เสากําลังรับน้ําหนักตามแนวแกน P อยูนั้น เสาอาจจะโกงจากแนวเดิมไประยะ Δ ทําใหเกิด
โมเมนตขนาด PΔ ทําใหความสามารถในการรับแรงอัดลดลง เรียกลักษณะเชนนีว้ า PΔ effect ในการ
ออกแบบอาคารที่มีแรงดานขางกระทําเชนแรงลม แผนดินไหว จะตองระวัง PΔ effect ใหตรวจสอบดวย
โดยเฉพาะอยางยิ่งในเสา

3.2 รูปตัดของโครงสรางรับแรงอัด
รูปตัดโครงสรางเหล็กที่ใชรบั แรงอัด ควรพยายามใหสติฟเนสรอบแกนหลักแกนรองใกลเคียงกัน
เพราะขณะที่รบั แรงอัดนั้นการโกงเดาะจะเกิดรอบแกนทีม่ ีสติฟเนสนอยกวาเสมอ หรือกําลังการรับแรงอัด
ของโครงสรางจะแปรผกผันกับความยาวหรือแปรผกผันกับอัตราสวนความชะลูด ซึ่งคืออัตราสวนความยาว
ประสิทธิผลตอรัศมีไจเรชันของรูปตัด
เหล็กฉากเดี่ยว (single angle) ใชในโครงขอหมุน เหมาะกับโครงเล็กรับแรงนอยๆ เนื่องจากมีการเยื้อง
ศูนยมาก การโกงเดาะเกิดงายมาก
เหล็กฉากคู (double angle) จะดีกวาเหล็กฉากเดีย่ ว เนื่องจากการเยื้องศูนยจะชดเชยจากการประกบกัน
74 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เหล็กรูปตัดรูปตัวที มักจะใชเปนทอนบนของโครงขอหมุนที่ใชรับแรงอัด
เหล็กราง (Channel) เหมาะกับโครงหลังคาโดยทําเปนทอนบนและลางของโครงหลังคา แลวใชทอ
เปนทอนตั้งทอนเอียง
รูปตัดปกกวาง (Wide flange) และรูปตัดคานเอช (H-beam) ใชทําเสา และโครงสรางสะพาน เนื่องจาก
รัศมีไจเรชันของทั้งสองแกนใกลเคียงกัน
ทอกลมกลวง (pipe) ใชทําโครงขอหมุน หรือเสารับน้ําหนักนอยถึงปานกลาง
ทอเหลี่ยม (square and rectangular tube) ใชทําโครงขอหมุน มักตอโดยวิธีเชื่อมมากกวาจะใชสลัก
เกลียว
ในโครงสรางขนาดใหญเชนสะพาน หรือโครงหลังคาชวงยาวมาก จะใชเหล็กรูปพรรณมาประกอบกัน
ขึ้น หรืออาจจะเปนโครงขอหมุนซอนโครงขอหมุน การเขียนแสดงสัญลักษณของรูปตัด เสนประ หมายถึง
ชิ้นสวนแผนยึด (lacing) ที่ยดึ เปนชวงๆ แตถาเปนเสนทึบจะเปนแผนเหล็กยึดตลอดความยาว

3.3 พฤติกรรมการรับน้ําหนักและลักษณะการวิบัติ
เมื่อเสารับน้ําหนักจะเกิดหนวยแรงอัด และหากความยาวมากพอจะเกิดการโกงตัว หนวยแรงอัดบางจุด
จะมากกวาจุดอื่นๆ หากหนวยแรงอัดสูงสุดนี้ยังไมมากกวาหนวยแรงทีจ่ ุดยืดหยุน (คาเกือบเทาจุดคราก) ถา
เอาแรงออกไปเสาจะเหยียดกลับสภาพเดิม แตถารับน้ําหนักมากขึ้นจนเทากับหนวยแรงวิกฤต (critical stress)
หรือถาพิจารณาอยางละเอียด หนวยแรงทีส่ ูงสุดเทากับหนวยแรงที่จดุ คราก เสาจะเริ่มเสียเสถียรภาพและเริ่ม
75 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

การวิบัติแบบโกงเดาะเนื่องจากการดัด (flexural buckling)


กําลังรับน้ําหนักสูงสุดของเสาขึ้นกับ ความยาว รัศมีไจเรชัน (ทีน่ อยที่สุด) ลักษณะการยึดปลายเสา
ความสัมพันธ KL/r หรือความยาวประสิทธิผล KL ตอรัศมีไจเรชัน r เรียกวาความชะลูด หากความชะลูดมาก
เสารับน้ําหนักไดนอย และหากความชะลูดนอยเสารับน้ําหนักไดมาก
เสาสั้น (short column) มีความชะลูดนอย หนวยแรงในเสาจะกระจายสม่ําเสมอและมากขึ้นเรื่อยๆ
จนถึงจุดครากก็จะเริ่มวิบัติโดยการยู หรือในกรณีที่สวนผสมของคารบอนเหมาะสมจะเกิดการแข็งตัวเพิ่ม แต
ทั่วไปนัน้ จะถือวาเสาวิบัติเมือ่ หนวยแรงเทากับหนวยแรงจุดคราก
เสายาวปานกลาง (intermediate column) มีการวิบัติแบบโกงเดาะชวงอินอิลาสติก (inelastic buckling)
คือบางสวนของหนาตัดที่รมิ เกิดหนวยแรงเทากับหนวยแรงจุดครากแลวลามเขาไปดานใน แตฝงตรงกันขาม
อาจจะยังไมถงึ จุดคราก
เสายาว (long column) การวิบัติเปนการโกงเดาะชวงอิลาสติก (elastic buckling) โดยหนวยแรงอัด
วิกฤตที่เกิดขึ้นตลอดหนาตัดไมเกินกวาคาพิกัดยืดหยุน
ปจจัยที่ทําใหเสามีกําลังรับแรงอัดนอยลง เชนการโกงของเสากอนการใชงาน การยึดปลายเสา หนวย
แรงอัดคงคางจากการเย็นตัวไมสม่ําเสมอจากการรีดรอน อัตราสวนความกวางตอความหนาของชิ้นสวน
รวมทั้งตําแหนงที่แรงอัดกระทําจริงไมตรงศูนยถวงของหนาตัด

3.4 กําลังรับน้ําหนักของเสาเดี่ยว
น้ําหนักวิกฤตของเสายาวหรือน้ําหนักแบบออยเลอร (Euler critical load)
เมื่อป ค.ศ.1757 เลียวนารดออยเลอร (Leonhard Euler) เสนอวิธีพิจารณากําลังรับน้ําหนักของเสา โดย
สมมติวา เสามีแนวตรงและรับน้ําหนักตามแนวแกน (axially loaded column) เสามีเนื้อที่หนาตัดสม่ําเสมอ
เนื้อเดียวกันตลอดความยาว ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน (pin)
76 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

กําหนดให
E = โมดูลัสยืดหยุน ของวัสดุที่ใชทําเสา, ksc
L = ความยาวของเสา, cm
I = โมเมนตอนิ เนอรเชียของหนาตัดรอบแกนรับแรงดัด, cm4
A = เนื้อที่หนาตัดของเสา , cm2
Pe = น้ําหนักวิกฤตที่ทําใหเสาเกิดการโกงเดาะเนื่องจากแรงดัด, kg
ตั้งแกน x โยงจากปลายลางขึ้นไปหาปลายบนของเสา ตั้งแกน y ไปทางขวาตามทิศทางการโกงตัวของ
เสา พิจารณารอยตัดที่ตําแหนง x ใดๆ จากปลายลาง ระยะที่เสาโกงจากตําแหนงดั้งเดิมกอนการโกงคือระยะ
y ดังนั้นโมเมนตที่รอยตัดดังกลาวคือ M = Pe y จากความรูในวิชากําลังวัสดุ (Strength of materials หรือ
Mechanics of materials) ไดความสัมพันธโดยประมาณระหวางความโคงกับโมเมนตดัด เมื่อระบบแกนสวน
ทางกับระบบแกนปกติในรูปวา
d2y M Py
2
=− =− e (3.4.1)
dx EI EI
2
d y Pe y
หรือ + =0 (3.4.2)
dx 2 EI
P
สมมติให k2 = e
EI
2
d y
แทนคาได + k2y = 0 (3.4.3)
dx 2
สมการ 3.4.3 เปนสมการดิฟเฟอเรนเชียลอันดับสอง รูปทรงการโกงตัวของเสาจะเปนครึ่งรอบของ
กราฟ sine การแกสมการหาคําตอบ y = f (x ) จึงเปนเรื่องในวิชา Differential Equation ที่ปจจุบันอาจจะ
เรียกวา Calculus III ในขั้นแรกสมมติคําตอบของสมการ 3.4.3 ดังกลาวคือ
y = e mx
dy de mx dmx
= = e mx = me mx
dx dx dx
2 mx
d y de dmx
2
=m = memx = m 2 e mx
dx dx dx
แทนคาลงในสมการ 3.4.3
m 2 e mx + k 2 e mx = 0
(m 2
)
+ k 2 e mx = 0
แต e mx ≠ 0 ดังนั้น
m2 + k 2 = 0
m 2 = −k 2 = (− 1)k 2
m = ± − 1k = ±ik
โดยที่ i = −1 เปนคาจินตภาพ
77 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

คําตอบสมการดิฟเฟอเรนเชียล จะตองมีคาคงที่บวกหรือคูณอยูเสมอ และหากเปนไปไดหลายกรณีจะ


นําแตละกรณีมาบวกกันแลวพิจารณาตามเงื่อนไขแวดลอม ดังนั้นคําตอบของสมการ 3.4.3 จึงเปน
y = C1eikx + C 2 e −ikx
มีความสัมพันธทางคณิตศาสตรที่สําคัญอยางหนึ่งวา
eikx = cos kx + i sin kx และ e −ikx = cos kx − i sin kx
เมื่อแทนในคําตอบจะไดวา
y = C1 (cos kx + i sin kx ) + C 2 (cos kx − i sin kx )
y = (C1 + C 2 ) cos kx + (iC1 − iC 2 )sin kx
จัดรูปใหมได y = A cos kx + B sin kx (3.4.4)
คาของ A และ B เปนคาคงที่ซึ่งหาไดจากเงือ่ นไขจากรูปดังนี้
เมื่อ x = 0 ที่ปลายลาง คา y = 0 แทนคา
y = A cos 0 + B sin 0 = A × 1 + B × 0
0=A+0
นั่นคือ A = 0 เปนเงื่อนไขแรก ดังนั้นสมการคําตอบคือ
y = B sin kx (3.4.5)
เมื่อ x = L ที่ปลายบน การโกงยังคงเปน 0 หรือ y = 0 แทนคา
0 = B sin kL
คาที่เปนไปไดคือ B = 0 หรือ sin kL = 0 โดยพิจารณาดังนี้
เมื่อ B = 0 แสดงวาขณะเสารับน้ําหนัก เสาไมโกงเลย ซึง่ เปนไปไมได เหลือกรณีเดียวคือ
sin kL = 0
กรณีที่คา sine จะเปน 0 เมื่อมุมอยูในแกนราบหรือ 0, 180, 360, …. องศา หรือหากมุมเปนเรเดียนก็จะเปน
0, π,2π,3π,..., nπ นั่นคือ
kL = nπ เมื่อ n = 0,1,2,3,...

แตขณะที่ n = 0 คือปลายลางที่พิจารณาไปแลว จึงใช n = 1,2,3,... แทนคา k 2 = Pe


EI
Pe
L = nπ
EI
Pe nπ
=
EI L
Pe n 2 π 2
= 2
EI L
n π EI
2 2
น้ําหนักวิกฤต Pe = (3.4.6)
L2
nπx
คาการโกงของเสา y = A sin (3.4.7)
L
จะเห็นวาเมื่อ n = 1 น้ําหนักวิกฤตที่นอยที่สุดที่ทาํ ใหเกิดการโกงเดาะคือ
78 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

π 2 EI
น้ําหนักวิกฤตนอยสุด Pe = (3.4.8)
L2
เรียกสมการนีว้ าสมการออยเลอร (Euler equation) และน้าํ หนักวิกฤตจากสมการนี้เรียกวา น้ําหนักออย
เลอร (Euler load)
เนื่องจาก I = Ar 2 เมื่อ I เปนโมเมนตอินเนอรเชียรอบแกนการดัด A เปนเนื้อที่หนาตัดของเสา และ r
เปนรัศมีไจเรชันรอบแกนการดัด แทนคาในสมการ 3.4.8
π 2 EAr 2
Pe =
L2
Pe π2 E
=
A ⎛ L ⎞2
⎜ ⎟
⎝r⎠
Pe
เทอม เรียกหนวยแรงอัดวิกฤต ขณะที่ L เรียกอัตราสวนความชะลูด (slenderness ratio) ของเสา
A r
พิจารณาจากสมการ 3.4.8 คา E เปนสมบัติของวัสดุ สวน I เปนสมบัติของหนาตัด ดังนั้นหากเสายาว
เทากัน น้ําหนักวิกฤตของเสาขึ้นกับความแข็งแรงของวัสดุ EI และถาเปนวัสดุเดียวกัน (E เทากัน) น้ําหนัก
วิกฤตของเสาขึ้นกับโมเมนตอินเนอรเชีย I ของหนาตัดเสา
ในงานจริงหนาตัดจะมี I x > I y หาก L x = L y จะทําใหเกิดการวิบัติรอบแกน y ดังนั้นจึงมักจะลด
ความยาวของ L y ใหสั้นลงโดยใสคานค้ํายันเปนระยะ ทําใหการโกงเดาะอยูทางแกน x ดังที่ออกแบบไว
จากการทดลองพบวา สมการออยเลอรใหน้ําหนักวิกฤตกับเสาที่ยาวมากหรือความชะลูดมากนัน่ เอง
และเปนการโกงเดาะในชวงอิลาสติกทั้งสิ้น โดยหนวยแรงอัดวิกฤตที่เกิดขึ้นบนหนาตัดเสาไมเกินกวาหนวย
แรงพิกัดยืดหยุนของวัตถุ
ถา Fp เปนหนวยแรงที่พิกัดยืดหยุน แทนคาไดวา
Pe π2 E
Fp = =
A ⎛ L ⎞2
⎜ ⎟
⎝r⎠
L π2 E
=
r Fp
L π2 E L π2 E
ดังนั้นถา ≥ เสาจะโกงเดาะในชวงอิลาสติกตามสมการของออยเลอร แตถา < เสาจะ
r Fp r Fp
โกงเดาะในชวงอินอิลาสติก
น้ําหนักวิกฤตของเสายาวปานกลาง
L π2 E
เสาที่มีความยาวปานกลาง หรือ < จึงเกิดการโกงเดาะในชวงอินอิลาสติก ดังนัน้
r Fp
ความสัมพันธระหวางหนวยแรงอัดกับการโกงตัวของวัสดุชวงนีไ้ มเปนเสนตรง ดวยเหตุที่โมดูลยั ยืดหยุน
ในชวงนี้มีคาลดลงตามขนาดของหนวยแรงอัดที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นคา E จึงแปรเปลี่ยนไปเรื่อยๆ การวิเคราะหจึง
79 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

อาจจะใชทฤษฎีโมดูลัสสัมผัส (Tangent Modulus Theory) หรือ ทฤษฎีโมดูลัสลด (Reduced Modulus


Theory) ซึ่งเสนอโดย Freidrich Engesser ในป ค.ศ. 1889 และป ค.ศ.1895 ตามลําดับ
ทฤษฎีโมดูลัสสัมผัส อาศัยสมมติติฐานวา เสาจะยังไมโกงตัวจนกวาจะรับน้ําหนักถึงน้ําหนักวิกฤต
และขณะที่เสาเกิดการโกงเดาะนั้น หนวยแรงอัดวิกฤตในเสาเปนไปตามคาโมดูลัสสัมผัส E T

คาโมดูลัสสัมผัส E T เปนคาความชันของเสนสัมผัสที่จุดตางๆ บนเสนความสัมพันธระหวางหนวย


แรงอัดกับอัตราการหดตัว ดังรูปที่ 3.3 มีคาเทากับหนวยแรงอัดที่จุดพิกัดยืดหยุน แลวลดคาลงเรื่อยๆ จนเปน
0 เมื่อถึงจุดคราก
Engesser ไดหากําลังรับแรงอัดของเสาดวยสมการของออยเลอร แตใชคาโมดูลัสสัมผัสแทนโมดูลัส
ยืดหยุนดังนี้
π2 E T I
กําลังรับน้ําหนักวิกฤต Pcr = (3.4.9)
L2
ทฤษฎีโมดูลัสลด มีสมมติฐานวา ขณะที่เสาเกิดการโกงเดาะนั้นจะมีทั้งสวนที่เพิ่มขึ้นดานเวาและ
ลดลงทางดานนูน หนวยแรงอัดวิกฤตที่เพิม่ ขึ้นใหเพิ่มตามคาของโมดูลัสสัมผัส E T สวนหนวยแรงอัดวิกฤต
ที่ลดลงใหลดตามคาโมดูลัสยืดหยุน E ดังนั้นถาให E R แทนคาโมดูลสั ลด (reduced modulus) ซึ่งเปน
ฟงกชันของ E กับ E T จะไดวา
π2 E R I
กําลังรับน้ําหนักวิกฤต Pcr = (3.4.10)
L2
สําหรับรูปตัด I และ WF ที่ไมคิดแผนตั้ง (web) ให
2E ⋅ E T
ER =
E + ET
สําหรับรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา
4E ⋅ E T
ER =
( E + ET )
2
80 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เนื่องจากโมดูลัสลด E R ขึ้นกับโมดูลัสยืดหยุน E กับโมดูลัสสัมผัส E T บางครั้งจึงเรียกทฤษฎีนี้วา


ทฤษฎีโมดูลัสคู (Double Modulus Theory)
การใชงานทฤษฎีทั้งสองยากพอสมควร เนื่องจากคาของ E T เปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ การทดลองตอง
ใชวิธี ลองผิดลองถูก (trial and error)
เมื่อป ค.ศ.1947 F.R.Shanley ไดทดลองและสรุปวา ทฤษฎีโมดูลัสสัมผัสใหคาคาดหมายของกําลังรับ
น้ําหนักของเสาที่เกิดการโกงเดาะในชวงอินอิลาสติกไดถูกตองมากกวาทฤษฎีโมดูลัสลด แมวาคาที่ไดจะต่ํา
ไปกวาคาจริงบางก็ตาม
ผลการยึดปลายเสาที่มีตอกําลังรับน้ําหนักของเสา
กําลังรับน้ําหนักของเสายาวจากกรณีที่ยดึ ปลายเสาตางๆ กัน สามารถหาไดตามวิธกี ารของออยเลอร

(ก) ปลายเสาเปนแบบยึดหมุนไมมีการเซ ระยะการโกงของครึ่งกราฟ sine คือความยาว L น้ําหนัก


วิกฤตของเสาหาไดจาก
π 2 EI
Pe =
L2
(ข) ปลายเสาเปนแบบยึดแนนทั้งสองปลายไมมีการเซ ระยะการโกงของครึ่งกราฟ sine คือความยาว
L
ครึ่งหนึ่งของความยาว L ของเสา แทน L ดวย ดังนี้
2
81 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

π 2 EI π 2 EI
Pe = 2
=4
⎛L⎞ L2
⎜ ⎟
⎝2⎠
นั่นคือ เสาทีม่ ีการยึดแนนทั้งสองปลายไมมีการเซ จะรับน้ําหนักวิกฤตได 4 เทาของเสาที่ปลายทั้งสองขาง
เปนแบบยึดหมุนไมเซ
(ค) เมื่อปลายเสาขางหนึ่งเปนแบบยึดแนนและปลายเสาอีกขางเปนแบบยึดหมุนและไมเซดวย ความ
L
ยาวของครึ่งกราฟ sine จะเปน ≈ 0.7 L ดังนั้น
2
π 2 EI π 2 EI
Pe = 2
= 2
⎛ L ⎞ L2
⎜ ⎟
⎝ 2⎠
นั่นคือ เสาที่ปลายขางหนึ่งยึดแนนอีกปลายยึดหมุนไมเซ จะรับน้ําหนักได 2 เทาของเสาที่มีปลายยึดหมุนทั้ง
สองขางและไมเซ
(ง) เมื่อปลายขางหนึ่งเปนแบบยึดแนน และอีกปลายอิสระ เชน เสาธง ความยาวของครึ่งกราฟจะเปน
2L ดังนั้นกําลังรับน้ําหนักวิกฤตของเสาคือ
π 2 EI 1 π 2 EI
Pe = =
(2L )2 4 L2
ดังนั้นเสาที่ปลายหนึ่งยึดแนนอีกปลายอิสระ จะรับน้ําหนักได 1 ใน 4 ของเสาที่ยึดหมุนทั้งสองปลายไมเซ
ดังนั้นสมการของออยเลอร จึงเปนสมการในการหากําลังรับน้ําหนักวกฤตของเสายาว เมื่อมีลกั ษณะ
การยึดปลายตางๆ กัน โดยเขียนเปนสมการทั่วไปวา
สําหรับการโกงเดาะในชวงอิลาสติก (เสายาวมาก)
π 2 EI π 2 EA
Pe = = (3.4.11)
(KL )2 ⎛ KL ⎞ 2
⎜ ⎟
⎝ r ⎠
สําหรับการโกงเดาะในชวงอินอิลาสติก (เสายาวปานกลาง)
π2 E T I π2 E T A
Pe = = (3.4.12)
(KL )2 ⎛ KL ⎞ 2
⎜ ⎟
⎝ r ⎠
โดยที่ KL = ความยาวประสิทธิผล (effective length) ตามสภาพของการยึดปลาย
K = ตัวประกอบความยาวประสิทธิผล (effective length factor)
เสนโคงแสดงความสามารถในการรับน้ําหนักของเสา (Column Strength Curve)
จากกําลังของเสาในการรับแรงอัดที่ชวงความยาวตางๆ กัน สามารถนํามาเขียนกราฟแสดง
ความสัมพันธระหวางหนวยแรงอัดวิกฤต Fcr = Pe กับอัตราสวนความชะลูด SR = KL ดังรูปที่ 3.5
A r
82 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

สวนโคง BC แสดงหนวยแรงอัดวิกฤตเมื่อเสาโกงเดาะในชวงอิลาสติกที่คลายกราฟไฮเพอโบลา
KL π2 E
เปนไปตามสมการของออยเลอรเมื่อความชะลูด SR = ≥ สวนโคง AB แสดงหนวยแรงอัด
r Fp
วิกฤตเมื่อเสาโกงเดาะในชวงอินอิลาสติก รูปรางคลายกับโคงพาราโบลาคว่ํา เปนไปตามสมการของ
KL π2 E
Engesser เมื่ออัตราสวนความชะลูด SR = < สังเกตวาทฤษฎีโมดูลัสลดใหคา พิกัดบน (upper
r Fp
limit) และทฤษโมดูลัสสัมผัสใหคาพิกัดลาง
ในป ค.ศ.1952 Bleich ไดเสนอสมการอยางงายทีใ่ ชคํานวณหาคาหนวยแรงอัดวิกฤตเมื่อเสาโกงเดาะ
ในชวงอินอิลาสติก โดยใหชว ง AB เปนโคงพาราโบลาคว่ําซึ่งเปนสมการที่ใชจนถึงปจจุบันนี้คือ
Pe Fy − Fp ⎛ KL ⎞ 2
Fcr = = Fy − 2 ⎜ ⎟ (3.4.12)
A ⎛ KL ⎞ ⎝ r ⎠
⎜ ⎟
⎝ r ⎠p
F
ถาใหหนวยแรงที่พิกัดยืดหยุน Fp = y ดังนั้นอัตราสวนความชะลูด
2
KL π2 E 2π 2 E
SR = = = = Cc
r Fp Fy
KL 2π 2 E
เมื่อเสามีความชะลูด SR = ≥ Cc = เสาจะโกงเดาะในชวงอิลาสติก โดยหนวยแรงอัด
r Fy
Pe π2E 23
วิกฤตมีคาเทากับ Fcr = = ถาใหสวนปลอดภัยประมาณ ดังนั้นหนวยแรงอัดที่ยอมให
A ⎛ KL ⎞ 2 12
⎜ ⎟
⎝ r ⎠
ในชวงนี้คือ
83 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

12 π 2 E
Fa =
23 ⎛ KL ⎞ 2
⎜ ⎟
⎝ r ⎠
Fy
ถาให λ c = KL จะไดหนวยแรงอัดทีย่ อมใหคือ
rπ E
Fy
Fa =
λ2c
KL 2π 2 E
เมื่อเสามีอัตราสวนความชะลูด SR = < Cc = เสาจะโกงเดาะในชวงอินอิลาสติก โดย
r Fy
หนวยแรงอัดวิกฤตมีคาเทากับ
Fy
Fy − 2
P
Fcr = e = Fy − 2 ⎛⎜ KL ⎞⎟
A Cc ⎝ r ⎠
2

1 ⎛ KL ⎞ ⎡ 1 ⎛ KL ⎞ ⎤
2 2

Fcr = Fy − Fy ⎜⎜ ⎟ = ⎢1 − ⎜ ⎟ ⎥ Fy
2 ⎝ rCc ⎟⎠ ⎢ 2 ⎜⎝ rCc ⎟⎠ ⎥
⎣ ⎦
หากใหสวนปลอดภัยเปน
3
5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞
FS = + ⎜⎜ ⎟− ⎜ ⎟
3 8 ⎝ rCc ⎟⎠ 8 ⎜⎝ rCc ⎟⎠
ซึ่งจากการกระจายอนุกรม แลวหนวยแรงอัดที่ยอมใหในชวงการโกงเดาะแบบอินอิลาสติก คือ
⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
Fa =
⎡ 5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ rCc ⎠ 8 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦

3.5 กําลังรับน้ําหนักของเสาในโครงเฟรม
84 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เสาในโครงเฟรมเปนเสาในสถานการณจริงที่ใชในอาคาร การโกงเดาะที่เกิดขึ้นหากเปนโครงเฟรมที่มี
การยึดโยงแข็งแรง (braced frame) จะไมมีการเซทางขาง ลักษณะเชนนี้การโกงเดาะจะเปนแบบสมมาตร
(symmetrical buckling) แตถาการยึดโยงไมพอมีการเซเกิดขึ้น การโกงเดาะจะเปนแบบไมสมมาตร
(antisymmetrical buckling) ดังรูปที่ 3.6
การวิเคราะหหากําลังรับน้ําหนักของเสาในโครงเฟรมทําไดหลายวิธี เชน Modified slope deflection
ปจจุบันนิยมใช Finite element method ซึ่งตองใชคอมพิวเตอรคํานวณ สําหรับวิธีแรกที่กลาวถึงจะรวมผล
ของแรงตามแนวแกนเขาไปดวย พบวา กําลังรับน้ําหนักวิกฤตในชวงอิลาสติกคือ
π 2 EI
Pcr =
(KL)2
ซึ่งดูเหมือนสมการออยเลอรไมผิดเพี้ยน แตมีความแตกตางที่คาตัวประกอบความยาวประสิทธิผล K ไมใชหา
จากลักษณะการยึดปลายดังเสาเดี่ยวๆ ที่กลาวมาแลว คา K จะขึ้นกับอัตราสวนสติฟเนสแฟกเตอรของเสา
(หอย c) ตอสติฟเนสแฟกเตอรของคาน (หอย g) โดยแทนดวยสัญลักษณ G กลาวคือ
E cIc
∑ Lc
G=
Eg Ig
∑ Lg

รูปที่ 3.7 แสดงความสัมพันธระหวางคา K กับคา G ซึ่งแสดงอยูสองแบบคือ ปลายลางของเสาเปน


แบบยึดหมุน กับปลายลางของเสาเปนแบบยึดแนน วัสดุของเสากับคานชนิดเดียวกันจึงไมปรากฏคา E ใน
การหาคา G มีการระบุคา K ในกรณีที่ G = ∞ แตในการใชงานจริงจะหาคา K โดยหาคา G ของปลายเสาทั้ง
สองปลายแลวใช Alignment chart หาคา K ซึ่งแมนยํากวามาก
85 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

π 2 EI
ในเสาที่มีการเซ กําลังรับน้ําหนักของเสาตองไมเกินกวา ที่คา K = 1
L2

3.6 การปองกันการโกงเดาะเฉพาะแหง
เมื่อพิจารณาอยางละเอียดพบวา อัตราสวนระหวางความกวางตอความหนา (width-thickness ratio)
ของสวนหนาตัดเสา มีผลตอการรับน้ําหนักของเสา กลาวคือ หากสวนใดสวนหนึ่งของหนาตัดบางเกินไป
สวนนั้นจะเกิดการโกงเดาะกอนที่หนาตัดทั้งหมดจะโกงเดาะ (overall buckling) เมื่อสวนที่บางเกินไปโกง
เดาะแลวก็จะพาใหทั้งหมดวิบัติตามไปดวย ลักษณะการโกงเดาะของสวนบางนี้เรียกวา การโกงเดาะเฉพาะ
แหง (local buckling)
86 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

การพิจารณาหาอัตราสวนสูงสุดระหวางความกวางตอความหนาของชิน้ สวน เพือ่ ปองกันไมใหเกิด


การโกงเดาะเฉพาะแหง ทั้งในชวงอิลาสติกและอินอิลาสติก ทําโดยทฤษฎีของแผนบาง (Theory of plates)
คือ แผนเหล็กบางยาว a กวาง b หนา t แรงกระทําบนดานกวาง b แนวแรงขนานขอบยาว a สภาพการยึดขอบ
ตางๆ กัน สามารถหาหนวยแรงวิกฤตในชวงอิลาสติกไดดงั นี้
π2E b π2 kE
Fcr = k หรือ = (3.6.1)
( )
⎛b⎞
12 1 − μ ⎜ ⎟
2
2
t (
12 1 − μ 2 ) Fcr
⎝t⎠
a
เมื่อ k = คาคงที่ ขึ้นกับลักษณะการรับแรง อัตราสวน และการยึดขอบดังรูปที่ 3.8
b
E = โมดูลัสยืดหยุน ของวัสดุ
μ = อัตราสวนปวซอง (มีคา 0.3 สําหรับเหล็กทั่วไป)
ในกรณีของหนวยแรงอัดวิกฤตในชวงอินอิลาสติก ใหแทนคา E ในสมการ 3.6.1 ดวยโมดูลัสสัมผัส
ET
b
เมื่อกําหนดคาหนวยแรงอัดวิกฤตที่ตองการ Fcr ก็จะหาอัตราสวนความกวางตอความหนา สูงสุด
t
ของสวนนั้นเพื่อปองกันการโกงเดาะเฉพาะแหงได เชนให Fcr = Fy หนวยแรงวิกฤตเทากับหนวยแรงที่จุด
คราก
b π2 kE
≤ (3.6.2)
t 12 1 − μ 2( ) Fy
แตจากผลกระทบของหนวยแรงคงคางและการโคงงอเริ่มแรกของแผนเหล็กจากการผลิต จึงตองปรับ
b
คา เปน
t
b π2 kE kE
≤ 0.70 = 0.67 (เมื่อ μ = 0.3 ) (3.6.3)
t (
12 1 − μ 2 ) Fy Fy
ดังนั้น ถาขอบดานขางขางหนึ่งที่ขนานกับแนวแรงเปนขอบอิสระไมยดึ กับชิ้นสวนอืน่ และอีกขอบยึด
กับชิ้นสวนอืน่ เรียกวา unstiffened element
b E
เมื่อ k = 0.425 (จากรูปที่ 3.8) จะได ≤ 0.45 เปนกรณีของเหล็กฉากเดีย่ ว
t Fy
b E
เมื่อ k = 1.277 (จากรูปที่ 3.8) จะได ≤ 0.75 เปนกรณีของแผนตั้งของเหล็กตัว T
t Fy
b E
เมื่อ k = 0.70 (คาระหวาง 0.425 กับ 1.277 (จากรูปที่ 3.8) จะได ≤ 0.56 ที่เปนกรณีสมมติของ
t Fy
ปกคานของหนาตัดปกกวาง (wide flange) หรือตัว H
ในทํานองเดียวกัน สามารถพิจารณากรณีที่ขอบคานดานขางที่สองขางที่ขนานกับแนวแรงถูกยึด
เรียกวา stiffened element เชนแผนตั้งของของหนาตัดปกกวางหรือตัว H
87 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD ใหขอกําหนดในการจําแนกประเภทของรูปตัดของสวนโครงสรางรับ


แรงอัดเปน แบบคอมแพค (compact) แบบไมคอมแพค (noncompact) และ แบบชะลูด (slender) เพื่อปองกัน
การโกงเดาะเฉพาะแหงของสวนโครงสราง โดยพิจารณาจากอัตราสวนความกวางตอความหนาของแตละ
ชิ้นสวนของหนาตัด
รูปตัดที่เปนแบบคอมแพค ตองมีปกคานเชื่อมติดกับแผนตั้งตลอดความยาวที่ติดกัน อัตราสวนความ
กวางตอความหนาของแตละชิ้นสวนตองไมเกินกวาอัตราสวนที่กําหนดสําหรับหนาตัดแบบคอมแพค
รูปตัดที่เปนแบบไมคอมแพค ตองมีปกคานเชื่อมติดกับแผนตั้งตลอดความยาวที่ตดิ กัน อัตราสวน
ความกวางตอความหนาของชิ้นสวนใดชิ้นสวนหนึ่งหรือทุกชิ้นสวน เกินกวาอัตราสวนที่กําหนดสําหรับหนา
ตัดแบบคอมแพค แตไมเกินกวาอัตราสวนที่กําหนดสําหรับหนาตัดแบบไมคอมแพค
รูปตัดแบบชะลูด ตองมีปกคานเชื่อมติดกับแผนตั้งตลอดความยาวที่ตดิ กัน อัตราสวนความกวางตอ
ความหนาของชิ้นสวนใดชิ้นสวนหนึ่งหรือทุกชิ้นสวน เกินกวาอัตราสวนที่กําหนดสําหรับหนาตัดแบบไม
คอมแพค
ตารางที่ 10 ในภาคผนวก ใหคาอัตราสวนความกวางตอความหนาของชิ้นสวนทีร่ ับแรงอัดเพื่อจํากัด
ประเภทของรูปตัด ตามขอกําหนดในมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD

3.7 การออกแบบสวนโครงสรางรับแรงอัดตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD


การออกแบบเสาเหล็กรับน้ําหนักตามแนวแกน มาตรฐาน AISC กําหนดไวสองวิธีคือ วิธี ASD
(Allowable Stress Design) และ วิธี LRFD (Load and Resistance Factor Design) แตละวิธีมาตรฐานใหสูตร
คํานวณออกแบบและตรวจสอบคาตางๆ โดยพิจารณาถึงพฤติกรรมของเสา หนวยแรงคงคาง การโกงงอของ
เสากอนการรับน้ําหนัก การยึดปลายเสาทีม่ ีผลตอความยาวประสิทธิผล KL อัตราสวนความชะลูด KL/r และ
คุณภาพของเหล็กโดยดูจากคาโมดูลัสยืดหยุน E หนวยแรงจุดคราก Fy ที่สําคัญเสาหรือโครงสรางหลักที่รับ
แรงอัดตองมีอตั ราสวนความชะลูดไมเกิน 200
ในรูปตัดของโครงสรางที่มีอัตราสวนความกวางตอความหนาของชิ้นสวนหนาตัด ไมเกินกวาคาที่
กําหนดสําหรับหนาตัดแบบไมคอมแพค ดังรูปที่ 3.9 ใหพิจารณาดังนี้
ก) เมื่อขอบดานขางขางหนึ่งที่ขนานกับแนวแรงไมถูกยึด (unstiffened element)
โดยทั่วไปใหใช
b E
≤ 0.56
t Fy
เหล็กฉากเดี่ยวหรือเหล็กฉากคูที่มีแผนแทรก
b E
≤ 0.45
t Fy
88 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เหล็กแผนตั้งของหนาตัดตัว T ใหใช
b E
≤ 0.75
t Fy
ข) เมื่อขอบดานขางทั้งสองขางที่ขนานกับแนวแรงถูกยึด (stiffened element)
โดยทั่วไปใหใช
b E
≤ 1.49
t Fy
ทอเหล็กรูปตัดสี่เหลี่ยม
b E
≤ 1.40
t Fy
89 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

หนาตัดเหล็กรูปพรรณที่ผลิตขายนั้นไดทําใหเปนไปตามขอกําหนดของมาตรแลว ยกเวนทีจ่ ะประกอบ


ขึ้นจากเหล็กแผน
เสาที่มีรูปตัดแบบชะลูด การออกแบบตามมาตรฐาน AISC จะยังไมกลาวไวในที่นี้ อาจจะหาอานจาก
หนังสือของ William T. Segui บทที่ 4

การออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
หนวยแรงอัดที่ยอมใหบนเนื้อที่หนาตัดทัง้ หมด ขึ้นกับการโกงเดาะของเสาทั้งในชวงอิลาสติกและ
อินอิลาสติก โดยใชอัตราสวนความชะลูด Cc เปนตัวแบงชวงระหวางอินอิลาสติกกับอิลาสติด
กําหนดให
Fy = กําลังที่จุดครากของเหล็ก, ksc
E = โมดูลัสยืดหยุน  ของเหล็กโครงสราง = 2,040,000 ksc
2
A g = เนื้อที่หนาตัดทั้งหมดของโครงสรางรับแรงอัด, cm
Fa = หนวยแรงอัดที่ยอมให
2π 2 E F
Cc = = ความชะลูดขณะหนวยแรงพิกัดยืดหยุนเปน y
Fy 2
K= ตัวประกอบความยาวประสิทธิผลจากลักษณะการยึดปลาย หรือจาก Alignment chart
L= ความยาวของเสาหรือทอนรับแรงอัด , cm
I
r= = รัศมีไจเรชันรอบแกนการโกงเดาะ, cm
A
KL
= อัตราสวนความชะลูดของเสา ≤ 200
r
KL
เมื่อ ≤ C c เปนชวงอินอิลาสติก สมการแบบโคงพาราโบลาคว่ํา หนวยแรงอัดทีย่ อมใหคือ
r
⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
Fa = (3.7.1)
⎡ 5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ rCc ⎠ 8 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
KL
เมื่อ > C c เปนชวงอิลาสติก สมการออยเลอรคลายไฮเพอโบลา หนวยแรงอัดที่ยอมใหคือ
r
12 π 2 E
Fa = (3.7.2)
23 ⎛ KL ⎞ 2
⎜ ⎟
⎝ r ⎠
น้ําหนักบรรทุกที่ยอมใหของเสาหรือทอนรับแรงอัดคือ Pa = Fa A g ≥ P ตองมากกวาหรือเทากับน้ําหนัก
บรรทุกที่กระทําจริง จึงจะถือวาปลอดภัย
ตารางที่ 11 ในภาคผนวกเปนคาของ Fa ของเหล็ก ASTM A36 ที่มี Fy = 2500 ksc
90 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

การออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
กําลังรับแรงอัดประลัย φc Pn หาไดจากสมการ
φc Pn = φc Fcr A g ≥ Pu
เมื่อ Pn = กําลังตานทานแรงอัดประลัยทางทฤษฎี (nominal compressive strength) , kg
φc = 0.85 = ตัวคูณลดกําลังสําหรับแรงอัด (compressive reduction factor)
2
A g = เนื้อที่หนาตัดทั้งหมดของเสาหรือทอนรับแรงอัด , cm
Pu = 1.2PD + 1.6PL = น้ําหนักบรรทุกประลัยที่กระทําตอเสาหรือทอนรับแรงอัด, kg
PD = น้ําหนักบรรทุกจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน, kg
PL = น้ําหนักบรรทุกจากน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน , kg
KL Fy
λc = = พารามิเตอรความชะลูด
rπ E
Fcr = หนวยแรงอัดวิกฤต, ksc
91 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

โดยที่
เมื่อ λ c ≤ 1.5 Fcr = 0.658λc Fy = e −0.419λc Fy (3.7.3)
2 2

0.877π 2 E 0.877
เมื่อ λ c > 1.5 Fcr = = Fy (3.7.4)
⎛ KL ⎞
2
λ2c
⎜ ⎟
⎝ r ⎠
ตารางที่ 12 ในภาคผนวกใหคาหนวยแรงอัดประลัย φc Fcr สําหรับการออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
สําหรับเหล็ก ASTM A36 ที่มี Fy = 2500 ksc

ตัวคูณประกอบความยาวประสิทธิผล (Effective length factor : K)


มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD ใหขอกําหนดทั่วไปในการออกแบบโครงสรางรับแรงอัดดังนี้
อาจจะใชตัวคูณประกอบความยาวประสิทธิผล K ตามลักษณะการยึดปลายดังรูปที่ 3.12 หรือใช
Alignment chart ดังรูปที่ 3.13

รูปที่ 3.12 แสดงคาตัวคูณประกอบความยาวประสิทธิผล K ทั้งคาตามทฤษฎี และคาที่ใชจริงในการ


ออกแบบเมื่อพิจารณาเสมือนวาเปนเสาเดียวโดดๆ ทั้งที่มีการเซและไมมีการเซ คาทางทฤษฎีจะนอยกวาที่ใช
จริง เนื่องจากไมสามารถยึดปลายเสาใหเปนดังทฤษฎีเต็มที่
92 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD แนะนําใหใชคา K = 1 สําหรับเสาในโครงเฟรมที่ไมมีการเซทางขาง เวน


แตจะวิเคราะหไดวาคา K < 1 และกําหนดใหตองวิเคราะหหาคาของ K สําหรับเสาในโครงเฟรมที่มีการเซ
ทางขางแตคา K ตองไมนอยกวา 1

รูปที่ 3.13 เปน Alignment chart เพื่อใชหาคาตัวคูณประกอบความยาวประสิทธิผล K ของเสาในโครง


เฟรมทั้งที่มีการเซและไมมีการเซ โดยตองหาคา G ที่ปลายทั้งสองขาง แลวนําไปกําหนดใน Alignment chart
ก็จะหาคา K ได โดยลากเสนตรงระหวางคา G ทั้งสองปลายตัดคา K ที่เสนกลาง
เมื่อปลายเสาเปนแบบยึดหมุน ใหใช G = 10
เมื่อปลายเสาเปนแบบยึดแนน ใหใช G = 1
ในกรณีที่ทราบการยึดปลายคานดานไกลที่แนนอน (เมื่อพิจารณาจุดตอใด ปลายคานที่อยูจุดตอนั้น
E g Ig
ู คาสติฟเนสแฟกเตอรของคาน ∑
เปนปลายดานใกล สวนปลายที่เหลือเปนปลายดานไกล) ใหคณ
Lg
ดวยตัวคูณตอไปนี้
เมื่อโครงสรางไมมีการเซ
ปลายคานดานไกลเปนแบบยึดหมุน คูณดวย 1.5
ปลายคานดานไกลเปนแบบยึดแนน คูณดวย 2.0
93 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

เมื่อโครงสรางมีการเซ
ปลายคานดานไกลเปนแบบยึดหมุน คูณดวย 0.5
ปลายคานดานไกลเปนแบบยึดแนน คูณดวย 0.67
94 การออกแบบโครงสรางเหล็ก
95 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

ตัวคูณลดคาสติฟเนสแฟกเตอร (Stiffness Reduction Factor : SRF)


มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD ใหขอสังเกตวา Alignment chart นี้พัฒนาจากสมมติฐานตามทฤษฎีอิลา
สติกเพียงอยางเดียว ดังนัน้ เมื่อจะนําไปใชกับเสาที่เกิดการโกงเดาะในชวงอินอิลาสติกซึ่งเปนกรณีที่
P
ตามวิธี AISC/ASD เปนชวงอินอิลาสติกเมื่อ f a = > 0.26Fy
Ag
Pu
ตามวิธี AISC/LRFD เปนชวงอินอิลาสติกเมื่อ > 0.39Fy
Ag
มาตรฐาน AISC ใหปรับแกตัวคูณลดคาสติฟเนสแฟกเตอร (Stiffness Reduction Factor : SRF)
เสียกอนจะนําไปหาคา G ทําใหคา G ที่ปลายเสาลดคาลงบาง โดยที่
ใหอัตราสวนสติฟเนสของเสาตอสติฟเนสแฟกเตอรของคาน
E c Ic Ic
∑ Lc
∑L
G' =
E g Ig
=
Ig
c
เมื่อวัสดุคานและเสาเหมือนกัน
∑ Lg
∑L
g

ดังนั้น G = G ' (SRF )


โดยที่ I c = โมเมนตอินเนอรเชียของเสารอบแกนดัด, cm4
4
I g = โมเมนตอินเนอรเชียของคานรอบแกนดัด , cm
L c = ความยาวของเสา, cm
L g = ความยาวของคาน, cm
เมื่อเสาโกงเดาะในชวงอิลาสติก
SRF = 1.0
เมื่อออกแบบโดยวิธี AISC/ASD และเสาโกงเดาะในชวงอินอิลาสติก
Fa ,inelastic
SRF =
Fa ,elastic
เมื่อออกแบบโดยวิธี AISC/LEFD และเสาโกงเดาะในชวงอินอิลาสติก
Fcr ,inelastic
SRF =
Fcr ,elastic
ตารางที่ 13 และ 14 ในภาคผนวก ใหคาตัวคูณลดคาสติฟเนสแฟกเตอร SRF สําหรับการออกแบบทอน
รับแรงอัดโดยวิธี AISC/ASD และ AISC/LRFD ตามลําดับ สําหรับเหล็ก ASTM A36 ที่มี Fy = 2500 ksc
96 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

3.8 วิธีออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด
การออกแบบตามวิธี AISC/ASD
1. สมมติคาหนวยแรงอัดทีย่ อมให Fa ไมควรจะเกินกวา 0.5Fy
P
2. หาเนื้อที่หนาตัดโดยประมาณจาก A =
Fa
3. เลือกรูปตัดโดยใหมี A g ≥ A หารัศมีไจเรชันจากตารางเหล็ก โดยพิจารณาความยาว L และคา
K ดวย
4. หาคา Cc แลวหาคา Fa ตามสมการ 3.7.1 หรือ 3.7.2
5. ถาคา Fa ในขอ 4 มากกวา Fa ในขอ 1 ประมาณไมเกิน 3-5 % แสดงวาหนาตัดที่เลือกเหมาะสม
และประหยัด ถามากกวาเกิน 5 % แสดงวาเลือกหนาตัดโตเกินไป ควรเลือกใหมและทําจากขอ 3
มาใหม (จะใชเลยก็ไดแตไมประหยัด) หากนอยกวาแสดงวาเลือกหนาตัดเล็กเกินไป ใหเลือก
ใหมและทําจากขอ 3 มาใหม
6. ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง หากไมผานก็เลือกหนาตัดใหม ทําจากขอ 3 มาใหม

การออกแบบตามวิธี AISC/LRFD
1. สมมติคาหนวยแรงวิกฤต Fcr = 0.8Fy
Pu Pu
2. หาเนื้อที่หนาตัดโดยประมาณ A = =
φc Fcr 0.85Fcr
3. เลือกรูปตัดโดยใหมี A g ≥ A หารัศมีไจเรชันจากตารางเหล็ก โดยพิจารณาความยาว L และคา
K ดวย
4. หาคา λ c แลวหาคาของ Fcr ตามสมการ 3.7.3 และ 3.7.4
5. หากําลังรับแรงอัดประลัย φc Pn = φc Fcr A g ถามากกวา Pu ไมมากนักแสดงวาหนาตัดที่เหลือก
เหมาะสม แตถามากกวาเยอะแสดงวาหนาตัดที่เลือกโตเกินไป อาจจะเลือกใหมใหเล็กลง แตถา
นอยกวาแสดงวาหนาตัดที่เลือกนั้นเล็กเกินไป ใหเลือกใหมโตกวาเดิม ตรวจสอบจากขอ 3 มา
ใหม
6. ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง หากไมผานก็เลือกหนาตัดใหม ทําจากขอ 3 มาใหม
97 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

ตัวอยางที่ 3.1 จงหากําลังรับน้ําหนักของเสาขนาด W350 × 136 โดยวิธี AISC/ASD และวิธี


AISC/LRFD ความยาวเสา 6.00 เมตร ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน ใชเหล็กชนิด ASTM A36 มี
Fy = 2500 ksc และ E = 2,040,000 ksc
วิธีทํา เปนโจทยเชิงวิเคราะห คือใหขอมูลมาแลววิเคราะหหากําลังของเสา
จากตารางที่ 1 ภาคผนวก หนาตัด W350 × 136 มีความลึก d = 350 mm ความกวางปก bf = 350 mm
ความหนาแผนตั้ง tw = 12 mm ความหนาปก tf = 19 mm รัศมีความโคง fillet = 20 mm เนื้อทีห่ นาตัด Ag =
173.9 cm2 น้ําหนัก w = 136 kg/m โมเมนตอินเนอรเชีย Ix = 40,300 cm4 และ Iy = 13,600 cm4 รัศมีไจเรชัน
rx = 15.2 cm และ ry = 8.84 cm โมดูลัสหนาตัดอิลาสติก Sx = 2300 cm3 และ Sy = 776 cm3 โมดูลัสหนาตัด
พลาสติก Zx = 2493.18 cm3
ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง ดูรูปที่ 3.9
สวนปกคาน b = bf =
350
= 175 mm
2 2
b 175 E 2,040,000
= = 9.21 < 0.56 = 0.56 = 15.997
t f 19 Fy 2500
สวนแผนตั้ง h = d − 2t f − 2r = 350 − 2 × 19 − 2 × 20 = 272 mm
h 272 E 2,040,000
= = 22.67 < 1.49 = 1.49 = 42.56
tw 12 Fy 2500
แสดงวาไมเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงกอนที่ทั้งหนาตัดจะวิบัติ
โจทยกําหนดปลายทั้งสองแบบยึดหมุน ดังนั้นใชตวั ประกอบความยาวประสิทธิผล K = 1.0 รัศมีไจเร
ชันรอบแกน y นอยกวารอบแกน x ดังนั้นเสาจะโกงเดาะรอบแกน y ของหนาตัด รัศมีไจเรชันในการคํานวณ
ความชะลูดใช r = ry = 8.84 cm
วิเคราะหตามวิธี AISC/ASD
KL 1.0 × 600
ความชะลูดจริง = = 67.873
r 8.84
2π 2 E 2π 2 × 2,040,000 KL
ความชะลูดกําหนดชนิดการโกงเดาะ Cc = = = 126.914 >
Fy 2500 r
KL 67.873
อัตราสวนความชะลูด = = 0.53479709
rCc 126.914
⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
หนวยแรงอัดที่ยอมให Fa =
⎡ 5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ rCc ⎠ 8 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
98 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

⎡ 1 2⎤
⎢⎣1 − 2 × 0.53479709 ⎥⎦ × 2500 2142.490091
Fa = = = 1159.295855 ksc
⎡5 3 1 3⎤ 1.84809605
⎢⎣ 3 + 8 × 0.53479709 − 8 × 0.53479709 ⎥⎦
กําลังรับแรงอัดใชงาน P = Fa A g
P = 1159.295855 × 173.9 = 201,601.5493 kg ⇒ 202,000 kg
วิเคราะหตามวิธี AISC/LRFD
KL Fy 1.0 × 600 2500
พารามิเตอรความชะลูด λc = = = 0.756317297 < 1.5
rπ E 8.84π 2,040,000
หนวยแรงอัดวิกฤต
Fcr = 0.658λc Fy = 0.6580.756317297 × 2500
2 2

Fcr = 0.6580.572015855 × 2500


Fcr = 0.787086256 × 2500 = 1967.715641 ksc
กําลังรับแรงอัดประลัย
φc Pn = φc Fcr A g = 0.85 × 1967.715641× 173.9
φc Pn = 290,857.8875 kg ⇒ 291,000 kg
ตัวอยางที่ 3.2 จงคํานวณหากําลังรับน้ําหนักของเสาขนาด W350 × 136 เมื่อมีชวงความยาว
ประสิทธิผลทางแกนหลัก K x L x = 12 เมตร และทางแกนรอง K y L y = 6 เมตร โดยใชมาตรฐาน
AISC/ASD/LRFD ใชเหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc และ E = 2,040,000 ksc
วิธีทํา เปนโจทยเชิงวิเคราะห คือใหขอมูลมาแลววิเคราะหหากําลังของเสา
จากตารางที่ 1 ภาคผนวก หนาตัด W350 × 136 มีความลึก d = 350 mm ความกวางปก bf = 350 mm
ความหนาแผนตั้ง tw = 12 mm ความหนาปก tf = 19 mm รัศมีความโคง fillet = 20 mm เนื้อทีห่ นาตัด Ag =
173.9 cm2 น้ําหนัก w = 136 kg/m โมเมนตอินเนอรเชีย Ix = 40,300 cm4 และ Iy = 13,600 cm4 รัศมีไจเรชัน
rx = 15.2 cm และ ry = 8.84 cm โมดูลัสหนาตัดอิลาสติก Sx = 2300 cm3 และ Sy = 776 cm3 โมดูลัสหนาตัด
พลาสติก Zx = 2493.18 cm3
ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง ดูรูปที่ 3.9
สวนปกคาน b = bf 350
= = 175 mm
2 2
b 175 E 2,040,000
= = 9.21 < 0.56 = 0.56 = 15.997
t f 19 Fy 2500
สวนแผนตั้ง h = d − 2t f − 2r = 350 − 2 × 19 − 2 × 20 = 272 mm
h 272 E 2,040,000
= = 22.67 < 1.49 = 1.49 = 42.56
tw 12 Fy 2500
แสดงวาไมเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงกอนที่ทั้งหนาตัดจะวิบัติ
99 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

วิเคราะหตามวิธี AISC/ASD
2π 2 E 2π 2 × 2,040,000 KL
ความชะลูดกําหนดชนิดการโกงเดาะ Cc = = = 126.914 >
Fy 2500 r
K x L x 1200
ความชะลูดทางแกนหลัก = = 78.94736842 < C c = 126.9141221
rx 15.2
K y L y 600
ความชะลูดทางแกนรอง = = 67.87330317 < C c = 126.9141221
ry 8.84
ทางแกนหลักมีความชะลูดมากกวาทางแกนรอง ดังนัน้ การโกงเดาะจะเกิดรอบแกนหลัก
KL 78.94736842
อัตราสวนความชะลูด = = 0.622053457
rCc 126.9141221
⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
หนวยแรงอัดที่ยอมให Fa =
⎡ 5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ rCc ⎠ 8 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
⎡ 1 2⎤
⎢⎣1 − 2 × 0.622053457 ⎥⎦ × 2500 2016.31187
Fa = =
⎡5 3 1 3⎤ 1.869848726
⎢⎣ 3 + 8 × 0.622053457 − 8 × 0.622053457 ⎥⎦
Fa = 1078.328874 ksc
กําลังรับแรงอัดที่ยอมให
P = Fa A g = 1078.328874 × 173.9 = 187,521.3911 kg ⇒ 188,000 kg
วิเคราะหตามวิธี AISC/LRFD
K x L x 1200
ความชะลูดทางแกนหลัก = = 78.94736842
rx 15.2
K y L y 600
ความชะลูดทางแกนรอง = = 67.87330317
ry 8.84
ทางแกนหลักมีความชะลูดมากกวาทางแกนรอง ดังนัน้ การโกงเดาะจะเกิดรอบแกนหลัก
KL Fy 1200 2500
พารามิเตอรความชะลูด λc = = = 0.879716435 < 1.5
rπ E 15.2π 2,040,000
หนวยแรงอัดวิกฤต
Fcr = 0.658λc Fy = 0.6580.879716435 × 2500
2 2

Fcr = 0.6580.773901007 × 2500


Fcr = 0.72331061 × 2500 = 1808.276526 ksc
กําลังรับแรงอัดประลัย
φc Pn = φc Fcr A g
φc Pn = 0.85 × 1808.276526 × 173.9 = 267,290.3947 kg ⇒ 267,000 kg
100 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ตัวอยางที่ 3.3 จงหาชวงความยาวประสิทธิผลของเสาแตละตนในโครงเฟรมที่แสดง ซึ่งยอมใหเซทาง


ขางได

วิธีทํา เปดตารางที่ 1 ในภาคผนวก และสรุปขอมูลของหนาตัดเสาและคานดังนี้


หนาตัด W300 × 94 มี d = 300 mm, bf = 300 mm,tw = 10 mm, tf = 15 mm, r = 18 mm, Ag = 119.8
cm , w = 94 kg/m, Ix = 20,400 cm4, Iy = 6,750 cm4, rx = 13.1 cm, ry = 7.51 cm, Sx = 1360 cm3, Sy = 450
2

cm3, Zx = 1464.75 cm3


ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง ดูรูปที่ 3.9
สวนปกคาน b = bf =
300
= 150 mm
2 2
b 150 E 2,040,000
= = 10 < 0.56 = 0.56 = 15.997
tf 15 Fy 2500
สวนแผนตั้ง h = d − 2t f − 2r = 300 − 2 × 15 − 2 × 18 = 234 mm
h 234 E 2,040,000
= = 23.4 < 1.49 = 1.49 = 42.56
tw 10 Fy 2500
แสดงวาไมเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงกอนที่ทั้งหนาตัดจะวิบัติ
หนาตัด W 400 × 66 มี d = 400 mm, bf = 200 mm, tw = 8 mm, tf = 13 mm, r =16 mm,Ag = 84.12
cm2, w = 66 kg/m, Ix = 23,700 cm4, Iy = 1,740 cm4, rx = 16.8 cm, ry = 4.54 cm, Sx = 1190 cm3, Sy = 174
cm3, Zx = 1285.95 cm3
101 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง ดูรูปที่ 3.9


สวนปกคาน b = bf =
200
= 100 mm
2 2
b 100 E 2,040,000
= = 7.69 < 0.56 = 0.56 = 15.997
tf 13 Fy 2500
สวนแผนตั้ง h = d − 2t f − 2r = 400 − 2 × 13 − 2 × 16 = 342 mm
h 342 E 2,040,000
= = 42.75 > 1.49 = 1.49 = 42.56
tw 8 Fy 2500
แสดงวาเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงที่แผนตั้งกอนที่ทั้งหนาตัดจะวิบัติ
หนาตัด W500 × 89.7 มี d = 500 mm, bf = 200 mm, tw = 10 mm, tf = 16 mm, r = 20 mm, Ag =
114.2 cm2, w = 89.7 kg/m, Ix = 47,800 cm4, Iy = 2,140 cm4, rx = 20.5 cm, ry = 4.33 cm, Sx = 1910 cm3, Sy =
214 cm3, Zx = 2096.36 cm3
ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง ดูรูปที่ 3.9
สวนปกคาน b = bf =
200
= 100 mm
2 2
b 100 E 2,040,000
= = 6.25 < 0.56 = 0.56 = 15.997
tf 16 Fy 2500
สวนแผนตั้ง h = d − 2t f − 2r = 500 − 2 × 16 − 2 × 20 = 428 mm
h 428 E 2,040,000
= = 42.8 > 1.49 = 1.49 = 42.56
t w 10 Fy 2500
แสดงวาเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงที่แผนตั้งกอนที่ทั้งหนาตัดจะวิบัติ
Ig I x 47,800
คาน B1 มี = = = 79.667
Lg L 600
Ig I x 23,700
คาน B2 มี = = = 39.5
Lg L 600
I c 20,400
เสา C1 และ C4 มี = = 51
Lc 400
I c 20,400
เสา C2 และ C3 มี = = 58.286
Lc 350
Ic
∑L
หาคา G A สําหรับปลายบน และ GB สําหรับปลายลาง โดย G = c
Ig
∑L
g

เสา C1 ปลายบนมีเสา C1 กับ C2 ตออยู คาน B1 ปลายลางยึดแนน


51 + 58.286
ปลายบน GA = = 1.372
79.667
ปลายลาง G B = 1 .0
102 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เสา C2 ปลายบนมีเสา C2 คาน B2 ปลายลางมีเสา C1 กับ C2 คาน B1


58.286
ปลายบน GA = = 1.476
39.5
51 + 58.286
ปลายลาง GB = = 1.372
79.667
เสา C3 ปลายบนมีเสา C3 คาน B2 ปลายลางมีเสา C3 กับ C4 คาน B1
58.286
ปลายบน GA = = 1.476
39.5
51 + 58.286
ปลายลาง GB = = 1.372
79.667
เสา C4 ปลายบนมีเสา C3 กับ C4 คาน B1 ปลายลางแบบยึดหมุน
51 + 58.286
ปลายบน GA = = 1.372
79.667
ปลายลาง G B = 10
ใช Alignment chart รูป 3.13 ที่ขยายแลวแบบเซได (Sidesway uninhibited) จะไดตัวประกอบความยาว
ประสิทธิผลรอบแกน x ดังนี้
เสา C1 มี Kx = 1.38, เสา C2 และ C3 มี Kx = 1.44, เสา C4 มี Kx = 1.98

ตัวอยางที่ 3.4 จงออกแบบเสาเหล็กรูปพรรณที่มีหนาตัดแบบปกกวาง (W-shape) ยาว 5.00 เมตร ใหรับ


น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 41.5 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 125 ตัน ตามมาตรฐาน AISC ใชเหล็ก
ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, E = 2,040,000 ksc เมื่อ
(ก) ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน
(ข) ปลายทั้งสองดานเปนแบบยึดแนน
วิธีทํา
ออกแบบวิธี AISC/ASD
หาน้ําหนักบรรทุกใชงาน P = PD + PL = 41.5 + 125 = 166.5 ตัน
(ก) เมื่อปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน ตัวประกอบความยาวประสิทธิผล K = 1.0
สมมติหนวยแรงอัดที่ยอมให Fa = 0.5Fy = 0.5 × 2500 = 1250 ksc
P 166.5 × 1000
ประมาณเนื้อที่หนาตัดที่ตองการ A g = = = 133.2 cm 2
Fa 1250
เลือกรูปตัดจากตารางที่ 1 ภาคผนวก ชื่อ W344 × 115 มี d = 344 mm, bf = 348 mm, tw = 10 mm, tf =
16 mm, r = 20 mm, Ag = 146 cm2, w = 115 kg/m, Ix = 33,300 cm4, Iy = 11,200 cm4, rx = 15.1 cm, ry = 8.78
cm, Sx = 1940 cm3, Sy = 646 cm3, Zx = 2069.66 cm3
ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง ดูรูปที่ 3.9
สวนปกคาน b = bf =
348
= 174 mm
2 2
103 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

b 174 E 2,040,000
= = 10.875 < 0.56 = 0.56 = 15.997
t f 16 Fy 2500
สวนแผนตั้ง h = d − 2t f − 2r = 344 − 2 × 16 − 2 × 20 = 272 mm
h 272 E 2,040,000
= = 27.2 < 1.49 = 1.49 = 42.56
tw 10 Fy 2500
แสดงวาไมเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงกอนที่ทั้งหนาตัดจะวิบัติ
ความชะลูดแบงชนิดการโกงเดาะ
2π 2 E 2π 2 × 2,040,000
Cc = = = 126.9141221
Fy 2500
ความชะลูดของเสา โดยใชรศั มีไจเรชันคานอยคือ ry = 8.78 cm
KL 1.0 × 500
= = 56.9476082 < C c = 126.9141221
r 8.78
อัตราสวนความชะลูด
KL 56.9476082
= = 0.448709783
rCc 126.9141221
หนวยแรงอัดที่ยอมให
⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
Fa =
⎡ 5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ rCc ⎠ 8 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
⎡ 1 2⎤
⎢⎣1 − 2 × 0.448709783 ⎥⎦ × 2500 2248.324413
Fa = =
⎡5 3 1 3⎤ 1.823639906
⎢⎣ 3 + 8 × 0.448709783 − 8 × 0.448709783 ⎥⎦
Fa = 1232.877393 ksc
กําลังรับแรงอัดของเสาที่ออกแบบ
P = Fa A g = 1232.877393 × 146
P = 180,000.0994 kg ⇒ 180 tonne > 166.5 tonne OK
(ข) เมื่อปลายเสาทั้งสองปลายเปนแบบยึดแนน ตัวประกอบความยาวประสิทธิผล K = 0.65
สมมติหนวยแรงอัดที่ยอมให Fa = 0.5Fy = 0.5 × 2500 = 1250 ksc
P 166.5 × 1000
ประมาณเนื้อที่หนาตัดที่ตองการ A g = = = 133.2 cm 2
Fa 1250
เลือกรูปตัดจากตารางที่ 1 ภาคผนวก ชื่อ W390 × 107 มี d = 390 mm, bf = 300 mm, tw = 10 mm, tf =
16 mm, r = 22 mm, Ag = 136 cm2, w = 107 kg/m, Ix = 38,700 cm4, Iy = 7,210 cm4, rx = 16.9 cm, ry = 7.28
cm, Sx = 1980 cm3, Sy = 481 cm3, Zx = 2115.61 cm3
104 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง ดูรูปที่ 3.9


สวนปกคาน b = bf =
300
= 150 mm
2 2
b 150 E 2,040,000
= = 9.375 < 0.56 = 0.56 = 15.997
tf 16 Fy 2500
สวนแผนตั้ง h = d − 2t f − 2r = 390 − 2 × 16 − 2 × 22 = 314 mm
h 314 E 2,040,000
= = 31.4 < 1.49 = 1.49 = 42.56
t w 10 Fy 2500
แสดงวาไมเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงกอนที่ทั้งหนาตัดจะวิบัติ
ความชะลูดแบงชนิดการโกงเดาะ
2π 2 E 2π 2 × 2,040,000
Cc = = = 126.9141221
Fy 2500
ความชะลูดของเสา โดยใชรศั มีไจเรชันคานอยคือ ry = 7.28 cm
KL 0.65 × 500
= = 44.64285714 < Cc = 126.9141221
r 7.28
อัตราสวนความชะลูด
KL 44.64285714
= = 0.351756419
rCc 126.9141221
หนวยแรงอัดที่ยอมให
⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
Fa =
⎡ 5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ rCc ⎠ 8 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
⎡ 1 2⎤
⎢⎣1 − 2 × 0.351756419 ⎥⎦ × 2500 2345.334277
Fa = =
⎡5 3 1 3⎤ 1.793134858
⎢⎣ 3 + 8 × 0.351756419 − 8 × 0.351756419 ⎥⎦
Fa = 1307.951974 ksc
กําลังรับแรงอัดของเสาที่ออกแบบ
P = Fa A g = 1307.951974 × 136
P = 177,881.4685 kg ⇒ 178 tonne > 166.5 tonne OK
ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
หาน้ําหนักบรรทุกเพิ่มคา (Factored load)
Pu = 1.2PD + 1.6PL = 1.2 × 41.5 + 1.6 × 125 = 249.8 tonne
105 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

(ก) เมื่อปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน ตัวประกอบความยาวประสิทธิผล K = 1.0


สมมติหนวยแรงอัดวิกฤต Fcr = 0.8Fy = 0.8 × 2500 = 2000 ksc
เนื้อที่หนาตัดที่ตองการโดยประมาณ
Pu 249.8 × 1000
Ag = = = 146.94 cm 2
φc Fcr 0.85 × 2000
เลือกรูปตัดจากตารางที่ 1 ภาคผนวก ชื่อ W344 × 115 มี d = 344 mm, bf = 348 mm, tw = 10 mm, tf =
16 mm, r = 20 mm, Ag = 146 cm2, w = 115 kg/m, Ix = 33,300 cm4, Iy = 11,200 cm4, rx = 15.1 cm, ry = 8.78
cm, Sx = 1940 cm3, Sy = 646 cm3, Zx = 2069.66 cm3
ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง ดูรูปที่ 3.9
สวนปกคาน b = bf =
348
= 174 mm
2 2
b 174 E 2,040,000
= = 10.875 < 0.56 = 0.56 = 15.997
tf 16 Fy 2500
สวนแผนตั้ง h = d − 2t f − 2r = 344 − 2 × 16 − 2 × 20 = 272 mm
h 272 E 2,040,000
= = 27.2 < 1.49 = 1.49 = 42.56
tw 10 Fy 2500
แสดงวาไมเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงกอนที่ทั้งหนาตัดจะวิบัติ
Fy 1.0 × 500
พารามิเตอรความชะลูด λ c = KL =
2500
= 0.634571461 < 1.5
rπ E 8.78π 2,040,000
หนวยแรงวิกฤตจริง
Fcr = 0.658λc Fy = 0.6580.634571461 × 2500
2 2

Fcr = 0.6580.402680939 × 2500


Fcr = 0.844895568 × 2500 = 2112.238921 ksc
กําลังรับน้ําหนักประลัยของเสาที่ออกแบบ
φc Pn = φc Fcr A g = 0.85 × 2112.238921 × 146 = 262,128.8501 kg
φc Pn = 262 tonne > 249.8 tonne OK
(ข) เมื่อปลายเสาทั้งสองปลายเปนแบบยึดแนน ตัวประกอบความยาวประสิทธิผล K = 0.65
สมมติหนวยแรงอัดวิกฤต Fcr = 0.8Fy = 0.8 × 2500 = 2000 ksc
เนื้อที่หนาตัดที่ตองการโดยประมาณ
Pu 249.8 × 1000
Ag = = = 146.94 cm 2
φc Fcr 0.85 × 2000
เลือกรูปตัดจากตารางที่ 1 ภาคผนวก ชื่อ W390 × 107 มี d = 390 mm, bf = 300 mm, tw = 10 mm, tf =
16 mm, r = 22 mm, Ag = 136 cm2, w = 107 kg/m, Ix = 38,700 cm4, Iy = 7,210 cm4, rx = 16.9 cm, ry = 7.28
cm, Sx = 1980 cm3, Sy = 481 cm3, Zx = 2115.61 cm3
106 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง ดูรูปที่ 3.9


สวนปกคาน b = bf =
300
= 150 mm
2 2
b 150 E 2,040,000
= = 9.375 < 0.56 = 0.56 = 15.997
tf 16 Fy 2500
สวนแผนตั้ง h = d − 2t f − 2r = 390 − 2 × 16 − 2 × 22 = 314 mm
h 314 E 2,040,000
= = 31.4 < 1.49 = 1.49 = 42.56
t w 10 Fy 2500
แสดงวาไมเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงกอนที่ทั้งหนาตัดจะวิบัติ
Fy 0.65 × 500
พารามิเตอรความชะลูด λ c = KL =
2500
= 0.497458698 < 1.5
rπ E 7.28π 2,040,000
หนวยแรงวิกฤตจริง
Fcr = 0.658λc Fy = 0.6580.497458698 × 2500
2 2

Fcr = 0.6580.247465157 × 2500


Fcr = 0.901606932 × 2500 = 2254.01733 ksc
กําลังรับน้ําหนักประลัยของเสาที่ออกแบบ
φc Pn = φc Fcr A g = 0.85 × 2254.01733 × 136 = 260,564.4034 kg
φc Pn = 261 tonne > 249.8 tonne OK
ตัวอยางที่ 3.5 จงออกแบบเสารูปตัดแบบปกกวาง เมื่อมีชวงความยาวประสิทธิผลทางแกนหลัก
K x L x = 12 เมตร และทางแกนรอง K y L y = 6 เมตร ใหรับแรงอัดจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน
41.5 ตัน และจากน้ําหนักจรใชงาน 125 ตัน โดยใชมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD ชนิดเหล็ก ASTM
A36 มี Fy = 2500 ksc, E = 2,040,000 ksc

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
น้ําหนักบรรทุกลงเสา P = PD + PL = 41.5 + 125 = 166.5 tonne
107 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

สมมติหนวยแรงอัดที่ยอมให Fa = 0.5Fy = 0.5 × 2500 = 1250 ksc


P 166.5 × 1000
เนื้อที่หนาตัดที่ตองการโดยประมาณ A g = = = 133.2 cm 2
Fa 1250
เปดตารางที่ 1 ภาคผนวกเลือกหนาตัดที่มเี นื้อที่หนาตัดใกลเคียง คือ W390 × 107 มี d = 390 mm, bf
= 300 mm, tw = 10 mm, tf = 16 mm, r = 22 mm, Ag = 136 cm2, w = 107 kg/m, Ix = 38,700 cm4, Iy = 7,210
cm4, rx = 16.9 cm, ry = 7.28 cm, Sx = 1980 cm3, Sy = 481 cm3, Zx = 2115.61 cm3
ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง ดูรูปที่ 3.9
สวนปกคาน b = bf =
300
= 150 mm
2 2
b 150 E 2,040,000
= = 9.375 < 0.56 = 0.56 = 15.997
tf 16 Fy 2500
สวนแผนตั้ง h = d − 2t f − 2r = 390 − 2 × 16 − 2 × 22 = 314 mm
h 314 E 2,040,000
= = 31.4 < 1.49 = 1.49 = 42.56
t w 10 Fy 2500
แสดงวาไมเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงกอนที่ทั้งหนาตัดจะวิบัติ
ความชะลูดแบงชนิดการโกงเดาะ
2π 2 E 2π 2 × 2,040,000
Cc = = = 126.9141221
Fy 2500
K x L x 1200
ความชะลูดรอบแกนหลัก = = 71.00591716 < Cc
rx 16.9
K y L y 600
ความชะลูดรอบแกนรอง = = 82.41758242 < Cc
ry 7.28
K yLy K x Lx
พบวา > แสดงวาเกิดการโกงเดาะทางดานแกนรอง
ry rx
K yLy 82.41758242
อัตราสวนความชะลูด = = 0.649396466
ry Cc 126.9141221
หนวยแรงอัดที่ยอมให
⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
Fa =
⎡ 5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ rCc ⎠ 8 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
⎡ 1 2⎤
⎢⎣1 − 2 × 0.649396466 ⎥⎦ × 2500 1972.855287
Fa = =
⎡5 3 1 3⎤ 1.87595775
⎢⎣ 3 + 8 × 0.649396466 − 8 × 0.649396466 ⎥⎦
Fa = 1051.652302 ksc
108 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

กําลังรับแรงอัดของเสาที่ออกแบบ
P = Fa A g = 1051.652302 × 136
P = 143,024.7131 kg ⇒ 143 tonne < 166.5 tonne No good
ประมาณหนาตัดใหม A g = P = 166.5 × 1000 = 158.3 cm 2
Fa 1051.652302
เปดตารางที่ 1 ภาคผนวกเลือกหนาตัดที่มเี นื้อที่หนาตัดใกลเคียง คือ W 488 × 128 มี d = 488 mm, bf
= 300 mm, tw = 11 mm, tf = 18 mm, r = 26 mm, Ag = 163.5 cm2, w = 128 kg/m, Ix = 71,000 cm4, Iy = 8,110
cm4, rx = 20.8 cm, ry = 7.04 cm, Sx = 2910 cm3, Sy = 541 cm3, Zx = 3099.84 cm3
ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง ดูรูปที่ 3.9
สวนปกคาน b = bf =
300
= 150 mm
2 2
b 150 E 2,040,000
= = 8.33 < 0.56 = 0.56 = 15.997
tf 18 Fy 2500
สวนแผนตั้ง h = d − 2t f − 2r = 488 − 2 × 18 − 2 × 26 = 400 mm
h 400 E 2,040,000
= = 36.36 < 1.49 = 1.49 = 42.56
tw 11 Fy 2500
แสดงวาไมเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงที่แผนตั้งกอนที่ทงั้ หนาตัดจะวิบัติ
ความชะลูดแบงชนิดการโกงเดาะ
2π 2 E 2π 2 × 2,040,000
Cc = = = 126.9141221
Fy 2500
K x L x 1200
ความชะลูดรอบแกนหลัก = = 57.69230769 < Cc
rx 20.8
K y L y 600
ความชะลูดรอบแกนรอง = = 85.22727273 < C c
ry 7.04
K yLy K x Lx
พบวา > แสดงวาเกิดการโกงเดาะทางดานแกนรอง
ry rx
K yLy 85.22727273
อัตราสวนความชะลูด = = 0.671534982
ry Cc 126.9141221
หนวยแรงอัดที่ยอมให
⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
Fa =
⎡ 5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ rCc ⎠ 8 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
109 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

⎡ 1 2⎤
⎢⎣1 − 2 × 0.671534982 ⎥⎦ × 2500 1936.30096
Fa = =
⎡5 3 1 3⎤ 1.880637922
⎢⎣ 3 + 8 × 0.671534982 − 8 × 0.671534982 ⎥⎦
Fa = 1029.597955 ksc
กําลังรับแรงอัดของเสาที่ออกแบบ
P = Fa A g = 1029.597955 × 163.5
P = 168,339.2657 kg ⇒ 168 tonne > 166.5 tonne OK
ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
น้ําหนักบรรทุกเพิ่มคา
Pu = 1.2PD + 1.6PL = 1.2 × 41.5 + 1.6 × 125 = 249.8 tonne
ประมาณหนวยแรงอัดวิกฤต Fcr = 0.8Fy = 0.8 × 2500 = 2000 ksc
ประมาณเนื้อที่หนาตัดที่ตองการ
Pu 249.8 × 1000
Ag = = = 146.94 cm 2
φc Fcr 0.85 × 2000
เปดตารางที่ 1 ภาคผนวกเลือกหนาตัดที่มเี นื้อที่หนาตัดใกลเคียง คือ W 440 × 124 มี d = 440 mm, bf
= 300 mm, tw = 11 mm, tf = 18 mm, r = 24 mm, Ag = 157.4 cm2, w = 124 kg/m, Ix = 56,100 cm4, Iy = 8,110
cm4, rx = 18.9 cm, ry = 7.18 cm, Sx = 2550 cm3, Sy = 541 cm3, Zx = 2727.64 cm3
ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง ดูรูปที่ 3.9
สวนปกคาน b = bf =
300
= 150 mm
2 2
b 150 E 2,040,000
= = 8.33 < 0.56 = 0.56 = 15.997
tf 18 Fy 2500
สวนแผนตั้ง h = d − 2t f − 2r = 440 − 2 × 18 − 2 × 24 = 356 mm
h 356 E 2,040,000
= = 32.36 < 1.49 = 1.49 = 42.56
tw 11 Fy 2500
แสดงวาไมเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงกอนที่ทั้งหนาตัดจะวิบัติ
K x L x 1200
ความชะลูดรอบแกนหลัก = = 63.49206349
rx 18.9
K y L y 600
ความชะลูดรอบแกนรอง = = 83.56545961
ry 7.18
K yLy K x Lx
พบวา > แสดงวาเกิดการโกงเดาะทางดานแกนรอง
ry rx
KL Fy 600 2500
พารามิเตอรความชะลูด λc = = = 0.931176171 < 1.5
rπ E 7.18π 2,040,000
110 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

หนวยแรงอัดวิกฤต
Fcr = 0.658λc Fy
2

Fcr = 0.6580.931176171 × 2500


2

Fcr = 0.6580.867089062 × 2500


Fcr = 0.695641784 × 2500
Fcr = 1739.104461 ksc
กําลังรับแรงอัดวิกฤต
φc Pn = φc Fcr A g = 0.85 × 1739.104461× 157.4
φc Pn = 232,674.47859 kg = 233 tonne < Pu = 249.8 tonne No good
ประมาณเนื้อที่หนาตัดใหม
Pu 249.8 × 1000
Ag = = = 168.98 cm 2
φc Fcr 0.85 × 1739.104461
เปดตารางที่ 1 ภาคผนวกเลือกหนาตัดที่มเี นื้อที่หนาตัดใกลเคียง คือ W350 × 136 มี d = 350 mm, bf
= 350 mm, tw = 12 mm, tf = 19 mm, r = 20 mm, Ag = 173.9 cm2, w = 136 kg/m, Ix = 40,300 cm4, Iy =
13,600 cm4, rx = 15.2 cm, ry = 8.84 cm, Sx = 2300 cm3, Sy = 776 cm3, Zx = 2493.18 cm3
ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง ดูรูปที่ 3.9
สวนปกคาน b = bf =
350
= 175 mm
2 2
b 175 E 2,040,000
= = 9.21 < 0.56 = 0.56 = 15.997
t f 19 Fy 2500
สวนแผนตั้ง h = d − 2t f − 2r = 350 − 2 × 19 − 2 × 20 = 272 mm
h 272 E 2,040,000
= = 22.67 < 1.49 = 1.49 = 42.56
tw 12 Fy 2500
แสดงวาไมเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงกอนที่ทั้งหนาตัดจะวิบัติ
K x L x 1200
ความชะลูดรอบแกนหลัก = = 78.94736842
rx 15.2
K y L y 600
ความชะลูดรอบแกนรอง = = 67.87330317
ry 8.84
K yLy K x Lx
พบวา < แสดงวาเกิดการโกงเดาะทางดานแกนหลัก
ry rx
KL Fy 1200 2500
พารามิเตอรความชะลูด λc = = = 0.879716435 < 1.5
rπ E 15.2π 2,040,000
111 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

หนวยแรงอัดวิกฤต
Fcr = 0.658λc Fy
2

Fcr = 0.6580.879716435 × 2500


2

Fcr = 0.6580.773901007 × 2500


Fcr = 0.72331061× 2500
Fcr = 1808.276526 ksc
กําลังรับแรงอัดวิกฤต
φc Pn = φc Fcr A g = 0.85 × 1808.276526 × 173.9
φc Pn = 267,290.3947 kg = 267 tonne > Pu = 249.8 tonne OK
หมายเหตุ ตัวค้ํายันทางขางของเสาตองสามารถรับแรงอัดไดไมนอยกวา 0.02 เทาของแรงอัดในเสา ดังนั้นการเลือกหนา
ตัดสําหรับค้ํายันทางขางของเสาตองออกแบบเหมือนกับเปนเสาตนหนึ่งที่ K = 1.0 แตแรงอัดในค้ํายันเทากับ 0.02
ของแรงอัดในเสาที่ไปค้ํายันนั้น

ตัวอยางที่ 3.6 จงออกแบบเสาในโครงเฟรมที่ยอมใหเซได (unbraced frame) ตามวิธี AISC/ASD/LRFD


เพื่อใหรับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 65 ตัน และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 65 ตัน ใชเหล็ก ASTM
A36 มี Fy = 2500 ksc, E = 2,040,000 ksc และสมมติเสามีค้ํายันทางขางเปนระยะๆ ในระนาบ
ที่ตั้งฉากกับโครงเฟรมทําใหไมมีการโกงเดาะรอบแกนรอง

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
แรงอัดที่เสาตองรับ P = PD + PL = 65 + 65 = 130 tonne
สมมติหนวยแรงอัดที่ยอมให Fa = 0.45Fy = 0.45 × 2500 = 1125 ksc
112 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

P 130 × 1000
เนื้อที่หนาตัดที่ตองการโดยประมาณ A g = = = 115.56 cm 2
Fa 1125
จากตารางที่ 1 ภาคผนวก เลือก W300 × 94 มี มี d = 300 mm, bf = 300 mm, tw = 10 mm, tf = 15 mm,
r = 18 mm, Ag = 119.8 cm2, w = 94.0 kg/m, Ix = 20,400 cm4, Iy = 6,750 cm4, rx = 13.1 cm, ry = 7.51 cm, Sx
= 1360 cm3, Sy = 450 cm3, Zx = 1464.75 cm3
ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง ดูรูปที่ 3.9
สวนปกคาน b = bf =
300
= 150 mm
2 2
b 150 E 2,040,000
= = 10 < 0.56 = 0.56 = 15.997
tf 15 Fy 2500
สวนแผนตั้ง h = d − 2t f − 2r = 300 − 2 × 15 − 2 × 18 = 234 mm
h 234 E 2,040,000
= = 23.4 < 1.49 = 1.49 = 42.56
tw 10 Fy 2500
แสดงวาไมเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงกอนที่ทั้งหนาตัดจะวิบัติ
หา Effective length factor Kx
P 130 × 1000
หนวยแรงอัดที่เกิดจริง f a = = = 1085.141903 ksc
Ag 119.8
ขีดจํากัดสูงสุดของคาหนวยแรงอัดชวงอิลาสติกพิจารณาจากสมการ
⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
Fa =
⎡ 5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ rCc ⎠ 8 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
KL
โดยสมมติให =1
rCc
1
1−
Fa ,elastic max = 2
F = 0.260869565Fy ≈ 0.26 × 2500 = 650 ksc
5 3 1 y
+ −
3 8 8
จะเห็นวา (f a = 1085.141903 ksc) > (0.26Fy = 650 ksc) แสดงวาหนวยแรงที่เกิดขึน้ อยูในชวง
อินอิลาสติก จึงตองตัวประกอบลดคาความชะลูด SRF คือหาคา KL ที่ทําให f a = Fa
2π 2 E 2π 2 × 2,040,000
Cc = = = 126.9141221
Fy 2500

สมมติให R = KL ดังนั้น
r
113 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
Fa =
⎡ 5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ rCc ⎠ 8 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
⎡ 1⎛ R ⎞ ⎤
2

⎢ 1 − ⎜ ⎟ ⎥ × 2500
⎢⎣ 2 ⎝ 126.9141221 ⎠ ⎥⎦
1085.141903 =
⎡5 3 ⎛ R ⎞ 1⎛ R ⎞ ⎤
3

⎢ + ⎜ ⎟ − ⎜ ⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ 126.9141221 ⎠ 8 ⎝ 126.9141221 ⎠ ⎥⎦
⎞ ⎡ ⎞ ⎤
3 2
5 3⎛ R ⎞ 1⎛ R ⎛ R 2500
+ ⎜ ⎟− ⎜ ⎟ = ⎢1 − 0.5⎜ ⎟ ⎥
3 8 ⎝ 126.9141221 ⎠ 8 ⎝ 126.9141221 ⎠ ⎢⎣ ⎝ 126.9141221 ⎠ ⎦⎥ 1085.141903
5 3⎛ R ⎞ 1⎛ R ⎞
3
⎡ ⎛ R ⎞ ⎤
2

+ ⎜ ⎟ − ⎜ ⎟ = 2. 303846154 ⎢ 1 − 0.5⎜ ⎟ ⎥
3 8 ⎝ 126.9141221 ⎠ 8 ⎝ 126.9141221 ⎠ ⎢⎣ ⎝ 126.9141221 ⎠ ⎥⎦
คูณตลอดดวย 24
9R 3R 3 27.64615385R 2
40 + − = 55 . 2923077 −
126.9141221 126.91412213 126.91412212
3R 3 27.64615385R 2
f (R ) =
9R
3
− 2
− + 15.2923077 = 0
126.9141221 126.9141221 126.9141221
แกสมการโดยวิธี Trial and error โดยใหทางซายเปนฟงกชัน f(R) สมมติคา R แทนลงไป หาก คา f(R)
เปลี่ยนเครื่องหมาย แสดงวา คําตอบอยูในชวงดังกลาว หากใช Excel ชวยจะเร็วขึ้นมาก
R f® R f® R f®
10 14.413 75 0.938203 78 0.014946
15 13.84736 76 0.633211 78.01 0.011827
20 13.19921 77 0.325456 78.02 0.008708
25 12.46964 78 0.014946 78.03 0.005588
30 11.65976 79 -0.29831 78.04 0.002468
35 10.77066 80 -0.6143 78.05 -0.00065
40 9.80345 78.06 -0.00377
45 8.759223 R f® 78.07 -0.00689
50 7.639083 78 0.014946 78.08 -0.01001
55 6.444129 78.1 -0.01626 78.09 -0.01313
60 5.175464 78.2 -0.04749 78.1 -0.01626
65 3.834188 78.3 -0.07874
70 2.4214 78.4 -0.11003
75 0.938203 78.5 -0.14134
80 -0.6143 78.6 -0.17268
85 -2.23502 78.7 -0.20405
90 -3.92284 78.8 -0.23544
95 -5.67667 78.9 -0.26686
100 -7.49541 79 -0.29831

คา R = KL = 78.05 จะไดคาใกลเคียง ใชในการหาหนวยแรงที่สภาวะอิลาสติก


r
114 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

12 π2 E 12 π2 × 2,040,000
Fa , elastic = = × = 1724.39799 ksc
23 ⎛ KL ⎞ 2 23 78.052
⎜ ⎟
⎝ r ⎠
F fa 1085.141903
SRF = a ,inelastic = = = 0.629287385 ⇒ 0.629
Fa , elastic Fa , elastic 1724.39799
Ic 20400
Lc
ปลายบน G elastic( top ) =
Ig
= 500 = 1.02
24000
Lg 600
G inelastic ( top ) = (SRF)G elastic( top ) = 0.629 × 1.02 = 0.64158
สวนปลายลางเปนขอหมุน ดังนั้น
G inelastic ( bottom ) = G elastic( bottom ) = 10
ใช Alignment chart สําหรับ Sidesway uninhibited โดยโยงระหวาง G A = 0.64 กับ G B = 10 จะไดคา
K x = 1 .8
คํานวณหา Fa และกําลังรับแรงอัดใชงาน
KL 1.8 × 500
ความชะลูด = = 68.70229008 < Cc = 126.9141221
r 13.1
อัตราสวนความชะลูด KL = 68.70229008 = 0.541328962
rCc 126.9141221
⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
Fa =
⎡ 5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ rCc ⎠ 8 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
⎡ 1 2⎤
⎢⎣1 − 2 × 0.541328962 ⎥⎦ × 2500
Fa =
⎡5 3 1 3⎤
⎢⎣ 3 + 8 × 0.541328962 − 8 × 0.541328962 ⎥⎦
2133.703693
Fa = = 1153.455383 ksc
1.849836348
กําลังรับแรงอัดใชงาน
P = Fa A g = 1153.455383 × 119.8 = 138,183.9549 kg ⇒ 138 tonne
P = 138 tonne > 130 tonne OK

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
น้ําหนักบรรทุกเพิ่มคา Pu = 1.2PD + 1.6PL = 1.2 × 65 + 1.6 × 65 = 182 tonne
ประมาณหนวยแรงอัดวิกฤต Fcr = 0.7Fy = 0.7 × 2500 = 1750 ksc
115 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

Pu 182 × 1000
ประมาณเนื้อที่หนาตัด Ag = = = 122.35 cm 2
φc Fcr 0.85 × 1750
จากตารางที่ 1 ภาคผนวก เลือก W300 × 94 มี มี d = 300 mm, bf = 300 mm, tw = 10 mm, tf = 15 mm,
r = 18 mm, Ag = 119.8 cm2, w = 94.0 kg/m, Ix = 20,400 cm4, Iy = 6,750 cm4, rx = 13.1 cm, ry = 7.51 cm, Sx
= 1360 cm3, Sy = 450 cm3, Zx = 1464.75 cm3
ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะแหง ดูรูปที่ 3.9
สวนปกคาน b = bf 300
= = 150 mm
2 2
b 150 E 2,040,000
= = 10 < 0.56 = 0.56 = 15.997
tf 15 Fy 2500
สวนแผนตั้ง h = d − 2t f − 2r = 300 − 2 × 15 − 2 × 18 = 234 mm
h 234 E 2,040,000
= = 23.4 < 1.49 = 1.49 = 42.56
tw 10 Fy 2500
แสดงวาไมเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงกอนที่ทั้งหนาตัดจะวิบัติ
หาตัวประกอบความยาวประสิทธิผล Kx
วิธีแรก
Pu 182 × 1000
หนวยแรงอัดวิกฤตจริง f cr = = = 1787.292546 ksc
φc A g 0.85 × 119.8

สมมติ λ c = KL = 1.5 ใชสมการ 3.7.4 หาหนวยแรงอัดวิฤตในสถานะอิลาสติก


r
0.877 0.877 0.877
Fcr = Fy = Fy = × 2500 = 974.44 ksc
⎛ KL ⎞
2
λc
2
1.52
⎜ ⎟
⎝ r ⎠
พบวา f cr = 1787 ksc > Fcr = 974 ksc แสดงวาหนวยแรงของเสาอยูในชวงอินอิลาสติก ตองใชคา K ของ
ชวงอินอิลาสติกที่ตองมีการหา SRF มาคูณคา G ชวงอิลาสติกกอนนําไปใช Alignment chart เพื่อหาคา K
ตอไป
วิธีที่สอง
ปลายลางเสาเปนแบบยึดหมุน ปลายบนเปนขอแข็ง หากคานไมโกงงอเลย รูปรางการโกงของเสาเมื่อ
เซจะเปนครึ่งหนึ่งของเสาทีไ่ มเซและทั้งสองปลายยึดหมุน หรือความยาวจะเปน 2.0 เทาหรือ Kx = 2.0 เปน
คาสูงสุด
Fy 2.0 × 500
เนื่องจาก λ c = K x L =
2500
= 0.85 < 1.50
rx π E 13.1π 2,040,000
แสดงวาหนวยแรงของเสาอยูใ นชวงอินอิลาสติก ตองใชคา K ของชวงอินอิลาสติกที่ตองมีการหา SRF มาคูณ
คา G ชวงอิลาสติกกอนนําไปใช Alignment chart เพื่อหาคา K ตอไป
116 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

จากสมการ 3.7.3 หนวยแรงในชวงอินอิลาสติกคือ


Pu
= 0.658λ c Fy
2
Fcr ,inelastic =
φc A g
แทนคา 1787.292546 = 0.658λ c × 2500
2

1787.292546
0.658λ c =
2
= 0.714917018
2500
ln 0.658λ c = ln 0.714917018
2

λ2c ln 0.658 = ln 0.714917018


λ2c (− 0.418550347 ) = −0.335588801
− 0.335588801
λ2c = = 0.80178837
− 0.418550347
ดังนั้นจากสมการ 3.7.4 หนวยแรงในชวงอิลาสติกคือ
0.877 0.877
Fcr , elastic = Fy = × 2500 = 2734.512101 ksc
λc
2
0.80178837
Fcr ,inelastic 1787.292546
ดังนั้น SRF = = = 0.653605645
Fcr , elastic 2734.512101
ดังนั้นอัตราสวนสติฟเนสเสาตอคานที่ปลายบนของเสาคือ
Ic
∑L
G inelastic, top = SRF × G elastic, top = SRF × c
Ig
∑L
g

20400
G inelastic, top = 0.653605645 × 500 = 0.666677758 ⇒ 0.67
24000
600
ปลายลางของเสาเปนแบบยึดหมุน ดังนั้น
G inelastic, bottom = G elastic, bottom = 10
ใช Alignment chart ชุด Sidesway uninhibited ให G A = 0.67 และ G B = 10 ตัดแกนคา K ไดคา
K = 1 .8
คํานวณหาคา Fcr และกําลังรับแรงอัดประลัย
Fy 1.8 × 500
พารามิเตอรความชะลูดจริง λ c = K x L x =
2500
= 0.765554761
rx π E 13.1π 2,040,000
หนวยแรงอัดวิกฤตจริง Fcr = 0.658λ c Fy
2

Fcr = 0.6580.765554761 × 2500 = 0.6580.586074092 × 2500


2

Fcr = 0.782468576 × 2500 = 1956.171442 ksc


117 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

กําลังรับแรงอัดประลัย
φc Fcr A g = 0.85 × 1956.171442 × 119.8
φc Fcr A g = 199,196.9379 kg ⇒ 199 tonne > 182 tonne

ตัวอยางที่ 3.7 จงใชวิธี AISC/ASD ออกแบบเสาประกอบ (built-up column) ที่ไดจากการใชเหล็กราง


(channel) ความยาวเสา 6.00 เมตร ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน รับน้ําหนักใชงาน 135 ตัน ใช
เหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, E = 2,040,000 ksc เสามีค้ํายันไมใหโกงรอบแกน x ของตัว
เหล็กราง แลวใหออกแบบแผนยึดเดี่ยวแบบเฉียง และแผนยึดขวางที่ปลายเสา ดวย
วิธีทํา สมมติหนวยแรงอัดที่ยอมให Fa = 0.5Fy = 0.5 × 2500 = 1250 ksc
P 135 × 1000
เนื้อที่หนาตัดที่ตองการ Ag = = = 108 cm 2
Fa 1250
A
ใชเหล็กรางสองตัว เนื้อที่ตวั ละ A = g = 108 = 54 cm 2
2 2
เปดตารางที่ 6 เลือกเหล็กราง [−300 × 90 × 10 mm มี A = 300 mm, B = 90 mm , t1 = 10 mm, t2 =
15.5 mm ,r1 = 19 mm, r2 = 9.5 mm, Area = 55.74 cm2, w = 43.8 kg/m ,Cx = 0, Cy = 2.34 cm, Ix = 7410 cm4,
Iy = 360 cm4, rx = 11.5 cm, ry = 2.54 cm, Sx = 494 cm3, Sy = 54.1 cm3
จัดวางใหแผนหันหนาเขาหากัน ขอบหลังหางกัน 30 cm เพื่อใหหนาตัดดูเหมือนสี่เหลี่ยมจัตุรัส ดังรูป

ดังนั้น A g = 2 × 55.74 = 111.48 cm 2


เนื่องจากเสามีค้ํายันไมใหโกงรอบแกน x ของเหล็กราง โกงไดเฉพาะรอบแกน y ของเหล็กราง ดังนั้น
ตองหาโมเมนตอินเนอรเชียรอบแกน y ใหมซึ่งอยูกึ่งกลางตามทฤษฎีแกขนาน กลาวคือ
I y = ∑ I y + ∑ Ad 2
118 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เมื่อ I y = 360 cm 4 = โมเมนตอินเนอรเชียของเหล็กรางแตละตัวรอบแกน y ผานเซนทรอยดหนาตัด


A = 55.74 cm 2 = เนื้อที่หนาตัดของเหล็กรางแตละตัว
30
d= − C y = 15 − 2.34 = 12.66 cm = ระยะหางระหวางแกนใหมกบ ั แกนผานเซนทรอยด
2
ดังนั้น I y = (2 × 360 ) + 2 × (55.74 × 12.66 2 ) = 18,587.52389 cm 4
จาก I = Ar 2 ดังนั้นรัศมีไจเรชันของหนาตัดรอบแกนใหมคือ
Iy 18,587.52389
ry = = = 12.91255813 cm
Ag 2 × 55.74
ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน K y = 1.0 ความยาวเสา L y = 6.00 m = 600 cm
K yLy 1.0 × 600
อัตราสวนความชะลูด = = 46.46639293
ry 12.91255813
2π 2 E 2π2 × 2,040,000 K L
พิกัดความชะลูด Cc = = = 126.9141221 > y y
Fy 2500 ry
KL 46.46639293
= = 0.366124684
rCc 126.9141221
ดังนั้น หนวยแรงอัดที่ยอมใหคือ
⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
Fa =
⎡ 5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ rCc ⎠ 8 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦

Fa =
[ ]
1 − 0.5 × 0.3661246842 × 2500
⎡5 3 1 3⎤
⎢⎣ 3 + 8 × 0.366124684 − 8 × 0.366124684 ⎥⎦
2332.440894
Fa = = 1297.365501 ksc
1.797828671
เสารับน้ําหนักได
P = Fa A g = 1297.365501 × (2 × 55.74)
P = 144,630.306 kg = 144.6 tonne > 135 tonne OK
ดังนั้นใชเสารูปตัด 2 − [−300 × 90 × 10 mm จัดระยะหางดังรูป
ออกแบบแผนยึดเดี่ยวแบบเฉียง (single lacing)
9
ทําการแผนยึดเฉียงดวยสลักเกลียวที่เจาะตรงกึ่งกลางความกวางของปกหรือระยะ = 4.5 cm ดังนั้น
2
ระยะหางระหวางรูเจาะคือ 30 − 4.5 − 4.5 = 21 cm เมื่อใหแผนยึดเฉียงเอียงทํามุม 60 องศากับแกนเสา
ความยาวของแผนยึดเฉียงระหวางสลักเกลียวคือ
21
L= = 24.24871131 cm ≈ 24.25 cm
cos 30o
119 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

มาตรฐาน AISC กําหนดใหแผนยึดเฉียงตองรับแรงเฉือนไดอยางนอย 0.02 เทาของแรงอัดตาม


แนวแกนเสา แตแผนยึดเฉียงมีสองดานของเสา ดังนั้นแรงเฉือนที่แผนยึดเฉียงตองรับคือ
135 × 1000
V = 0.02 × = 1350 kg
2
แรงเฉือนนี้อาจจะทําใหเกิดแรงในแผนยึดเฉียงทั้งแรงดึงและแรงอัด แตเหล็กแผนจะรับแรงอัดไดนอยกวา
แรงดึง และแนวของแผนยึดเฉียงจะเอียงทํามุม 30 องศา กับแนวแรงเฉือน ดังนั้นแรงอัดในแผนยึดเฉียงคือ
V 1350
P= o
= = 1558.845727 kg
cos 30 cos 30o

L
มาตรฐาน AISC กําหนดความชะลูดของแผนยึดไมเกิน 140 หรือ ≤ 140 สมมติแผนยึดเฉียงนี้กวาง
r
b หนา t หารัศมีไจเรชันไดดงั นี้
bt 3
I=
12
A = bt
I bt 3 t2 t
r= = = = = 0.288675134 t
A 12bt 4×3 2 3
24.24871131
ดังนั้น ≤ 140
0.288675134t
24.24871131
t≥ = 0.6 cm = 6 mm
0.288675134 × 140
แผนยึดเฉียงรับแรงอัดปลายยึดดวยสลักเกลียวใหถือวาเปนแบบยึดหมุน นั่นคือคา K = 1.0
KL 1.0 × 24.24871131
อัตราสวนความชะลูด = = 140
r 0.288675134 × 0.6
2π 2 E 2π2 × 2,040,000 KL
พิกัดความชะลูด Cc = = = 126.9141221 < = 140
Fy 2500 r
120 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

12 π2 E 12 π2 × 2,040,000
หนวยแรงอัดที่ยอมใหคือ Fa = = = 535.9536729 ksc
23 ⎛ KL ⎞ 2 23 140 2
⎜ ⎟
⎝ r ⎠
เนื้อที่หนาตัดที่ตองการ A g = bt = P = 1558.845727 = 2.908545656 cm 2
Fa 535.9536729

แตความหนา t = 6 mm = 0.6 cm ดังนั้น b = 2.908545656 = 4.847576093 cm


0.6
สมมติใชเหล็กยึดเกลียว d b = 22 mm = 2.2 cm ระยะหางขอบอยางนอย
1.5d b = 1.5 × 2.2 = 3.3 cm สองขางรวมกับขนาดของสลักเกลียวดวย คือ 3.3 + 3.3 + 2.2 = 8.8 cm เผื่อ
ระยะเกลียวอีก 1.5 mm เปน 8.95 cm ใชกวาง 9 cm = 90 cm
ความยาวของแผนยึดเฉียง = 24.25 + 2.2 + 3.3 + 2.2 + 3.3 = 33.05 cm ≈ 330 mm
2 2
ใชแผนยึดเฉียงขนาด 6 × 90 × 330 mm
ออกแบบแผนยึดปลายแบบขวาง (End tie plate) เปนแผนยึดในแนวตัง้ ฉากแกนเสาที่ปลายทั้งสองขาง
1
มาตรฐาน AISC กําหนดความหนาอยางนอย ของระยะหางระหวางศูนยกลางสลักเกลียว
50
ดังนั้นความหนาอยางนอย t ≥ 21 = 0.42 cm ใช t = 6 mm = 0.6 cm
50
ความกวางของแผนยึดขวางไมนอยกวาระยะหางระหวางสลักเกลียว = 21 cm = 210 mm ใช 250 mm
ความยาวใชเต็มถึงขอบเสา = 300 mm
ดังนั้นใชแผนยึดขวางขนาด 6 × 250 × 300 mm
121 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

แบบฝกหัดบทที่ 3 โครงสรางสวนรับแรงอัด
เกี่ยวกับขอกําหนดของ AISC หรือ ว.ส.ท.
[1][4.3-1 Segui] ใหตรวจสอบความชะลูดตามสมการ 3.7.3 และ 3.7.4 จากนัน้ หากําลังรับแรงอัดระบุตาม
แกนของเสา เมื่อให Fy = 3500 ksc, E = 2,040,000 ksc
(ก) L = 3.00 m
(ข) L = 9.00 m

[2][4.3-2 Segui] จงหากําลังรับแรงอัดระบุตามแกนของชิ้นสวน เมื่อใชสมการ 3.7.3 หรือ 3.7.4 ใหทอขนาด


10 นิ้ว ASTM A53 เกรด B มี Fy = 2460 ksc, E = 2,040,000 ksc

[3][4.3-3 Segui] จงหากําลังรับแรงอัดระบุของชิ้นสวน ใชสมการ 3.7.3 หรือ 3.7.4 เหล็กหนาตัด


HP 250 × 72.4 ASTM A53 เกรด B มี Fy = 2460 ksc, E = 2,040,000 ksc
122 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[4][4.3-4 Segui] จงหากําลังใชงาน φc Pcr ของชิ้นสวนรับแรงอัดในรูป โดยใชสมการ 3.7.3 หรือ 3.7.4 ทั้งวิธี
AISC/ASD และ AISC/LRFD หนาตัดเหล็ก HSS250 × 125 × 29.6 เหล็ก ASTM A500 เกรด B มี
Fy = 3230 ksc, E = 2,040,000 ksc

[5][4.3-5 Segui] จงหากําลังรับแรงอัด โดยใชสมการ 3.7.3 หรือ 3.7.4 โดยวิธี AISC/LRFD และหากําลังอัด
ที่ยอมใหตามวิธี AISC/ASD กําหนดให Fy = 3500 ksc, E = 2,040,000 ksc หนาตัด
W 350 × 137 เหล็ก ASTM A992

[6][4.3-6 Segui] ชิ้นสวนรับแรงอัดหนาตัด W 450 × 124 ชนิดเหล็ก ASTM A992 ความยาวชิน้ สวน 3.60
เมตร ใชสมการ 3.7.3 หรือ 3.7.4 หากําลังรับแรงอัดทั้ง AISC/LRFD และ AISC/ASD กําหนดให
Fy = 3500 ksc , E = 2,040,000 ksc
[7][4.3-7 Segui] เสา HSS250 × 125 × 29.6 รับแรงอัดโดยปลายขางหนึ่งยึดหมุนและปลายอีกขางตรึง
แนนไมหมุนแตเลื่อนได ความยาวเสา 3.60 เมตร ชนิดเหล็ก ASTM A500 เกรด B มี
Fy = 3230 ksc, E = 2,040,000 ksc (เสาแบบชะลูดตองใช SRF)
[8][4.3-8 Segui] หนาตัดเหล็กรูปพรรณ W500 × 200 × 59.6 ทําเปนเสา ปลายขางหนึ่งตรึงแนน ปลายอีก
ขางอิสระ ความยาว 3.00 เมตร ให Fy = 3500 ksc, E = 2,040,000 ksc (เสาแบบชะลูดตองใช
SRF)
123 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

[9][4.3-9 Segui] เสา HSS200 × 100 × 21.3 เหล็ก ASTM A500 เกรด B มี Fy = 3200 ksc,
E = 2,040,000 ksc จงหากําลังรับแรงอัดใชงานสูงสุดที่รับได ถาน้ําหนักบรรทุกจรเปนสองเทาของ
น้ําหนักบรรทุกคงที่ ใชสมการ 3.7.3 หรือ 3.7.4
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[10][4.3-10 Segui] จงตรวจสอบวาเสาขนาดหนาตัดดังรูปสามารถรับน้ําหนักบรรทุกนี้ไดหรือไม กําหนดให


Fy = 3500 ksc, E = 2,040,000 ksc โดยให
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
124 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แบบฝกหัดการออกแบบทอนรับแรงอัด
[11][4.6-1 Segui] เสาที่ปรากฏในรูปใชเหล็ก ASTM A992 มี Fy = 3500 ksc, E = 2,040,000 ksc ให
ออกแบบเสาโดยวิธีลองผิดลองถูก (trial and error)
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
โดยใหเลือกหนาตัด W350 ในครั้งแรก แลวเลือกหนาตัด W400 ในครั้งหลัง

[12][4.6-2 Segui] เสายาว 6.00 เมตร ปลายลางยึดหมุน ปลายบนไมหมุนแตเลื่อนได น้ําหนักบรรทุกคงที่ใช


งาน 50 ตัน และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 50 ตัน ชนิดเหล็ก ASTM A992 มี Fy = 3500 ksc,
E = 2,040,000 ksc
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
ครั้งแรกใหเลือกหนาตัด W300 ครั้งหลังใหเลือกหนาตัด W450
[13][4.6-3 Segui] ใหเลือกหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผา (หามเลือกหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัส) ของ HSS มีสมบัติวัสดุ
เปน Fy = 3230 ksc, E = 2,040,000 ksc ออกแบบเสาโดยวิธี
(ก) AISC/LRFD
(ข) AISC/ASD
125 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

[14][4.6-4 Segui] ใหเลือกทอ ASTM A58 Grade B มี Fy = 2460 ksc, E = 2,040,000 ksc ใหบอกดวย
วาหนาตัดที่เลือกมานั้นเปนแบบ มาตรฐาน (standard), แข็งแรงพิเศษ (extra-strong) หรือ แข็งแรง
พิเศษสองชั้น (double-extra strong) ทั้งนี้ใชใชวิธี
(ก) AISC/LRFD
(ข) AISC/ASD

[15][4.6-5 Segui] จากขอ [13][4.6-3 Segui] ใหเลือกหนาตัดเปน HP (H-pile หนาตัดทีห่ นาพิเศษใชทํา


เสาเข็มเหล็ก) โดยให Fy = 3500 ksc, E = 2,040,000 ksc
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
126 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[16][4.6-6 Segui] ใหออกแบบเปนหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผา (หามเลือกหนาตัดจัตุรสั ) ของ HSS ตามขอมูลขอ


[14][4.6-4 Segui] โดยที่ Fy = 3230 ksc, E = 2,040,000 ksc ใหบอกดวยวาหนาตัดทีเ่ ลือกมานั้น
เปนแบบ มาตรฐาน (standard), แข็งแรงพิเศษ (extra-strong) หรือ แข็งแรงพิเศษสองชั้น (double-extra
strong) ทั้งนี้ใชใชวิธี

[17][4.6-7 Segui] จากรูป จงออกแบบเสาดวยวิธี AISC/LRFD ให E = 2,040,000 ksc


(ก) เลือก W300 เหล็ก ASTM A992, Fy = 3500 ksc,
(ข) เลือกทอเหล็ก Fy = 2500 ksc,
(ค) เลือก HSS จัตุรัส Fy = 3230 ksc,
(ง) เลือก HSS สี่เหลี่ยมผืนผา Fy = 3230 ksc,
127 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

[18][4.6-8 Segui] จากรูป จงออกแบบเสาดวยวิธี AISC/ASD ให E = 2,040,000 ksc


(ก) เลือก W300 เหล็ก ASTM A992, Fy = 3500 ksc,
(ข) เลือกทอเหล็ก Fy = 2500 ksc,
(ค) เลือก HSS จัตุรัส Fy = 3230 ksc,
(ง) เลือก HSS สี่เหลี่ยมผืนผา Fy = 3230 ksc,

[19][4.6-9 Segui] จากรูป ใหใชเหล็ก ASTM A992, Fy = 3500 ksc, E = 2,040,000 ksc ใหออกแบบ
โดยเลือกหนาตัด W600 ดวย
(ก) วิธี AISC/LRFD
(ข) วิธี AISC/ASD
128 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แบบฝกหัดเกี่ยวกับเรื่องความยาวประสิทธิผล (Effective length)


[20][4.7-1 Segui] หนาตัด W 400 × 66.0 มี Fy = 4200 ksc, E = 2,040,000 ksc เปนทอนรับแรงอัด
ความยาว 4.00 เมตร จงหากําลังรับแรงอัดระบุ Pn เมื่อ K x = 2.1, K y = 1.0
[21][4.7-2 Segui] เหล็ก HSS − 250 × 150 × 9 mm มี Fy = 3230 ksc, E = 2,040,000 ksc เปนเสา
ยาว 4.50 เมตร ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน มีการยึดดานแกนออนที่ระยะ 1.80 เมตร จากปลาย
บน จงหา
(ก) กําลังออกแบบ φc Pn ตามวิธี AISC/LRFD
(ข) หนวยแรงที่ยอมให Fa ตามวิธี AISC/ASD

[22][4.7-3 Segui] หนาตัด W 300 × 94 เหล็ก ASTM A572 เกรด 60 มีกําลังคราก Fy = 4200 ksc, และ
E = 2,040,000 ksc เปนทอนรับแรงอัดยาว 8.50 เมตร ยึดหมุนทั้งสองปลาย มีคานยึดทางแกนออน
ที่ระยะ 3.60 เมตรจากปลายบน ชิ้นสวนนีร้ ับแรงอัดไดหรือไม เมื่อน้ําหนักคงทีใ่ ชงาน 80 ตัน และ
น้ําหนักจรใชงาน 145 ตัน ทัง้ นี้ใหออกแบบตาม
(ก) วิธี AISC/LRFD
(ข) วิธี AISC/ASD
[23][4.7-4 Segui] ใหใชเหล็กชนิด ASTM A992 มี Fy = 3500 ksc, E = 2,040,000 ksc เลือกหนาตัด
W350 เปนเสายาว 6.70 เมตร ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน มีการยึดทางแกนออนที่ระยะ 3.00
เมตร จากปลายบน น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 65 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 160 ตัน
(ก) ออกแบบตามวิธี AISC/LRFD
(ข) ออกแบบตามวิธี AISC/ASD
129 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

[24][4.7-5 Segui] ใหใชเหล็กชนิด ASTM A992 มี Fy = 3500 ksc, E = 2,040,000 ksc ใหออกแบบ
โดยเลือกหนาตัด W โดย
(ก) ออกแบบตามวิธี AISC/LRFD
(ข) ออกแบบตามวิธี AISC/ASD

[25][4.7-6] ใหเลือกทอสี่เหลี่ยมผืนผา (ไมใชจัตุรัส) HSS สําหรับทําชิ้นสวนรับแรงอัดยาว 4.50 เมตร รับ


แรงอัดคงที่ใชงาน 16 ตัน และแรงอัดจรใชงาน 36 ตัน ปลายทั้งสองเปนแบบยึดหมุน และมีการยึด
ทางแกนออนที่กึ่งกลาง ใชเหล็ก ASTM A500 เกรด B มี Fy = 3230 ksc, E = 2,040,000 ksc
(ก) ออกแบบตามวิธี AISC/LRFD
(ข) ออกแบบตามวิธี AISC/ASD
130 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[26][4.7-7 Segui] ใหเลือกทอสี่เหลี่ยมผืนผา (ไมใชจัตุรัส) HSS ที่ดีที่สุด (ประหยัดที่สุด) ทําเปนเสารับ


น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 15 ตัน และน้าํ หนักบรรทุกจรใชงาน 37 ตัน ความยาวเสา 8.25 เมตร ยึด
หมุนทั้งสองปลาย มีการยึดทางแกนออนที่ระยะ 3.60 เมตร จากปลายบน ให Fy = 3230 ksc,
E = 2,040,000 ksc
(ก) ออกแบบตามวิธี AISC/LRFD
(ข) ออกแบบตามวิธี AISC/ASD

[27][4.7-8 Segui] โครงเฟรมตามรูปเปนแบบเซได โมเมนตดัดเกิดรอบแกน x ของหนาตัด คานทุกตัวเปน


W 450 × 76 และเสาทุกตนเปน W 250 × 66.5
(ก) จงหาตัวประกอบความยาวประสิทธิผล K x ของเสา AB ไมตองคิดผลของตัวประกอบลด
คาสติฟเนส
(ข) จงหาตัวประกอบความยาวประสิทธิผล K x ของเสา BC ไมตองคิดผลของตัวประกอบลด
คาสติฟเนส
(ค) ถา Fy = 3500 ksc, E = 2,040,000 ksc จะตองจะตองคิดผลของตัวประกอบลดคา
สติฟเนสสําหรับเสาทั้งสองตนหรือไม
131 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

[28][4.7-9 Segui] โครงเฟรมในรูปเซได การดัดเกิดรอบแกน x ของหนาตัดชิน้ สวนทุกชิ้น น้ําหนักบรรทุก


คงที่ใชงานที่เสา AB รับไว 92.5 ตัน และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 185 ตัน เปนแรงตามแนวแกน จง
หาคา K x ของ AB หากจําเปนใชใชตัวประกอบลดคาสติฟเนส กําหนดกําลังคราก Fy = 3500 ksc,
โมดูลัสยืดหยุน E = 2,040,000 ksc
(ก) ตามวิธี AISC/LRFD
(ข) ตามวิธี AISC/ASD

[29][4.7-10 Segui] โครงขอแข็งในรูปเปนแบบเซได โมเมนตดัดเกิดรอบแกนแข็งหรือแกนหลักของหนาตัด


จุดรองรับในรูปทําให K y = 1.0 คานเปนหนาตัด W 450 × 76 และเสาเปนหนาตัด W300 × 94 ให
เหล็ก ASTM A992 มี Fy = 3500 ksc, E = 2,040,000 ksc แรงอัดจรใชงานตามแกน 68 ตัน
(ก) จงหากําลังรับแรงอัดตามแกนระบุ Pn ของเสา AB ใชตัวประกอบลดคาสติฟเนสได
(ข) จงหากําลังรับแรงอัดตามแกนทีย่ อมใหของเสา AB ใชตัวประกอบลดคาสติฟเนสได
132 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[30][4.7-11] โครงที่แสดงเซได คาความสัมพันธของโมเมนตอินเนอรเชียรอบแกนหลักของโครงสรางดัง


แสดงเพื่อใชประมาณคาขั้นตนในการออกแบบ ใหใช alignment chart หาคา K x ของชิ้นสวน AB,
BC, DE และ EF

[31][4.7-12 Segui] โครงเฟรมในรูปเซได เสาทุกตนขนาด W350 × 137 คานทุกตัวขนาด W 400 × 172


เหล็ก ASTM A992 มี Fy = 3500 ksc, E = 2,040,000 ksc การดัดจะเกิดรอบแกน x ของหนาตัด
ให K y = 1.0
(ก) ใช alignment chart หา K x ของ GF ใชตัวประกอบลดคาสติฟเนสได น้ําหนักบรรทุกคงที่
ใชงาน 36 ตัน และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 72 ตัน
(ข) คํานวณกําลังรับแรงอัดระบุของ GF
133 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

[32][4.7-13 Segui] โครงเฟรมในรูปเปนแบบเซได เสาเปนทอจัตุรัสขนาด HSS − 150 × 150 × 15 mm


คานเปนหนาตัด W300 × 36.7 เหล็กสําหรับเสาชนิด ASTM A500 เกรด B มี Fy = 3230 ksc,
E = 2,040,000 ksc เหล็กสําหรับคานมี Fy = 3500 ksc, E = 2,040,000 ksc การดัดเกิดรอบ
แกน x ของหนาตัด ให K y = 1.0
(ก) ใช alignment chart หา K x ของเสา AB ใชตัวประกอบลดคาสติฟเนสได น้ําหนักบรรทุก
คงที่ใชงาน 7.7 ตัน และน้าํ หนักบรรทุกจรใชงาน 22.7 ตัน
(ข) คํานวณกําลังรับแรงอัดระบุของเสา AB

[33][4.7-14 Segui] โครงขอแข็งในรูปเซได ทุกจุดในแนวตั้งฉากจะมีคานยึดแบบยึดหมุน (ไมมีโมเมนต)


คานหลังคา W350 × 49.6 คานพื้น W 400 × 66 ชิ้น BC เปน W 250 × 72.4 ใชเหล็ก ASTM
A992 มี Fy = 3500 ksc, E = 2,040,000 ksc เสา AB ใหเปนรูปตัด W สมมติควบคุมแรงกระทํา
จน AB ไมมีโมเมนต น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 11.3 ตัน และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 34 ตัน จง
ออกแบบชิ้นสวน AB โดย
(ก) วิธี AISC/LRFD
(ข) วิธี AISC/ASD
134 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แบบฝกหัดเกี่ยวกับการบิด การโกงเดาะจากการดัดรวมการบิด
(Torsional and Flexural-Torsional Buckling)
[34][4.8-1 Segui] ใหคํานวณหากําลังอัดระบุ Pn ของหนาตัด WT − 250 × 125 mm × 14.8 kg / m ความ
ยาวประสิทธิผล 5.50 เมตร เหล็กชนิด ASTM A992 มี Fy = 3500 ksc, Fu = 4500 ksc
[35][4.8-2 Segui] ใหใชเหล็ก ASTM A572 Grade 50 มี Fy = 3500 ksc, Fu = 4500 ksc จงหากําลังรับ
แรงอัดระบุ Pn ของเสาในรูป ปลายทั้งสองตรึงแนนทุกทิศทาง (x, y และ z )

[36][4.8-3 Segui] ใหเลือกหนาตัด WT สําหรับทอนรับแรงอัด น้ําหนักบรรทุกที่แสดงเปนน้ําหนักบรรทุก


ใชงานรวม โดยอัตราสวนน้ําหนักบรรทุกจรตอน้ําหนักบรรทุกคงที่เทากับ 2.5:1 ใช Fy = 3500 ksc,
Fu = 4500 ksc, E = 2,040,000 ksc
(ก) ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
(ข) ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
135 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

[37][4.8-4 Segui] ใหเลือกเหล็กราง (channel) สําหรับทอรับแรงอัดที่แสดง ใชเหล็กชนิด ASTM A36 ซึ่งมี


Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc, E = 2,040,000 ksc ปลายทั้งสองขางตรึงแนนทุกทิศทาง ( x, y
และ z )
(ก) ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
(ข) ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
136 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แบบฝกหัดเกี่ยวกับเสาหนาตัดประกอบ (Composite Section Column)


[38][4.9-1 Segui] ใหหาคาของ ry ของเหล็กฉากคู 2L − 125 × 90 × 13 mm LLBB โดยมีแผนประกับ
แทรกกลางหนา 9 mm
[39][4.9-2 Segui] ใหหาคาของ y 2 , rx และ ry ที่เกิดจาก WT − 300 × 150 mm × 18.4 kg / m ครอบดวย
[−250 × 90 × 9 × 13 mm × 34.8 kg / m ทางแผนตั้ง
[40][4.9-3 Segui] เสาประกอบจากเหล็กฉาก L − 150 × 150 × 15 mm สี่ทอน มีแผนเหล็กยึดเปนชวงๆ ให
เหล็กฉากทรวงตัวอยูไดโดยไมมีผลตอคุณสมบัติของหนาตัด จงหา rx และ ry

[41][4.9-4 Segui] ทอนรับแรงอัดหนาตัดไมสมมาตร ปกบนขนาด 300 mm หนา 12 mm ปกลางกวาง 175


mm หนา 12 mm และแผนตั้งสูง 400 mm หนา 9 mm (หนาตัดสมมาตรรอบแกนตั้ง) จงหารัศมีไจเร
ชันรอบแกนหลักแตละแกน
[42][4.9-5 Segui] เสาของอาคารประกอบจากแผน ASTM A588 มี Fy = 3150 ksc, Fu = 4600 ksc,
E = 2,040,000 ksc จงคํานวณหากําลังรับแรงอัดระบุที่พิจารณาเฉพาะการดัด (ไมคดิ ผลการบิด)
สมมติวาการเชื่อมตอดีมากจนหนาตัดทํางานเต็มประสิทธิภาพ
137 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

[43][4.9-6 Segui] จงหากําลังรับแรงอัดระบุโดยพิจารณาเฉพาะการดัด (ไมคิดผลการบิด) การเชื่อมตอดีมาก


จนหนาตัดเต็มประสิทธิภาพ ใชเหล็ก ASTM A242 มี Fy = 3150 ksc, Fu = 4600 ksc, และ
E = 2,040,000 ksc

[44][4.9-7 Segui] เชื่อมแผนเหล็กขนาดกวาง 250 mm หนา 15 mm เขากับ W 250 × 72.4 ใหเปนหนาตัด


ประกอบดังรูป สมมติการเชื่อมดีมากจนหนาตัดมีกําลังเต็มประสิทธิภาพ กําหนด Fy = 3500 ksc,
E = 2,040,000 ksc และ K x L = K y L = 7.60 m จงหา
(ก) คํานวณกําลังรับแรงอัดระบุ Pn โดยพิจารณาเฉพาะผลการโกงเดาะจากการดัด (ไมคดิ ผล
การโกงเดาะจากการบิด)
(ข) ใหหาวากําลังรับแรงอัดระบุ Pn เพิ่มขึ้นรอยละเทาใดจากหนาตัด W 250 × 72.4 ที่ไมได
เสริมแผนเหล็กประกบขางดังรูป
138 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[45][4.9-8 Segui] รูปตัด T ทําจากการตัด HP350 × 156 ที่กึ่งกลางแผนตั้งดังรูป จงหากําลังรับแรงอัดระบุ


Pn โดยพิจารณาผลการโกงเดาะจากการดัดโดยไมพจิ ารณาผลการโกงเดาะจากการบิด ใหคิดผลของ
สวนโคง (fillet R = 20 mm) ตรงรอยตอระหวางแผนตั้งกับปกเขาไปดวย เหล็กชนิด ASTM A572 มี
Fy = 3450 ksc, Fu = 4500 ksc, E = 2,040,000 ksc ความยาวประสิทธิผล 3.00 เมตรทั้งสอง
แกน

[46][4.9-9 Segui] เสาประกอบจากเหล็กฉาก L − 130 × 130 × 15 mm สี่ทอนดังรูป โดยยึดดวยแผนเหล็ก


เพื่อตรึงใหอยูใ นตําแหนง แตแผนเหล็กไมไดชวยเพิ่มเนื้อที่หนาตัดใหเหล็กฉากจึงแสดงเปนเสนประ
ในรูปตัด ความยาวประสิทธิผล 9.00 เมตร ทั้งสองแกน ใชเหล็ก ASTM A572 Grade 50 มี
Fy = 3500 ksc, Fu = 4500 ksc, E = 2,040,000 ksc ใหพิจารณาผลการโกงเดาะจากการดัด ไม
พิจารณาผลการโกงเดาะจากการบิด จงคํานวณ
(ก) กําลังรับแรงอัดออกแบบ ตามวิธี AISC/LRFD
(ข) กําลังรับแรงอัดที่ยอมให ตามวิธี AISC/ASD
139 การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงอัด

[47][4.9-10 Segui] ใหคํานวณกําลังรับแรงอัดทั้งวิธี AISC/LRFD และ AISC/ASD ของเหล็กฉากคูขนาด


2L − 150 × 100 × 15 mm ขายาวประกบกันคั่นดวยแผนประกับหนา 9 mm ให Fy = 3500 ksc,
E = 2,040,000 ksc ความยาวประสิทธิผล KL = 5.40 m ทั้งสองแกน ยึดปลายดวยสลักเกลียว 2 ขัน
แนนระดับกลาง ใหเปรียบเทียบกําลังเมื่อพิจารณาการโกงเดาะจากการดัดอยางเดียว กับ เมื่อพิจารณา
การโกงเดาะจากการดัดรวมกับการบิด

[48][4.9-11 Segui] จากเงือ่ นไขตามรูป จงหาหนาตัดเหล็กฉากคู (มีแผนเหล็กหนา 9 mm คั่นกลาง) เหล็ก


ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc, E = 2,040,000 ksc ใหกําหนดจํานวนจุดตอชวง
กลางระหวางปลายทั้งสองขาง
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[49][4.9-12 Segui] ใหใชวธิ ี AISC/LRFD ออกแบบโดยใชเหล็กฉากคูเปนทอนบนของโครงขอหมุนที่แสดง


ในรูป กําหนด K x = K y = 1.0 แผนประกับหนา 9 mm เหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc,
Fu = 4050 ksc, E = 2,040,000 ksc
140 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[50] เสาโรงงานยาว 9.00 เมตร ปลายบนยึดกับโครงหลังคาซึ่งมีสภาพเหมือนเปนจุดยึดหมุน สวนปลายลาง


ยึดกับตอมอ ค.ส.ล. จึงถือวาเปนปลายแบบตรึงแนน คา K x = K y = 0.8 ที่ระดับความสูง 6.00 เมตร
มีคานยึดทางแกน y ของหนาตัด น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 4 ตัน และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 9 ตัน
ใชเหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc, E = 2,040,000 ksc จงออกแบบเสาโดย
ใชหนาตัด W
141 คานเหล็กรูปพรรณ

บทที่ 4 คานเหล็กรูปพรรณ
4.1 คาน (Beams หรือ Girders)
คานเปนโครงสรางที่รับน้ําหนักบรรทุกหรือแรงในแนวทีไ่ มขนานแกนคานจึงทําใหเกิดการโกงตัว
แรงหลักที่กระทําตอคานคือ โมเมนตดัดหรือแรงดัด แรงเฉือน โครงสรางที่มีชื่อแตกตางออกไปแตทําหนาที่
ในการรับโมเมนตดัดและแรงเฉือนเชน ตง (joist) รับน้ําหนักจากพืน้ คานเอก (main beam) เปนคานที่รับ
น้ําหนักจากตง หรือเปนคานสะพาน คานขอบ (spandrel beam) เปนคานริมนอกของอาคารรับน้ําหนักจาก
พื้นและผนัง คานแมบันได (stringer) แป รับน้ําหนักจากวัสดุมุงเชนกระเบื้องมาถายลงบน จันทัน และจันทัน
ถายลง อกไกและอเส หรือถายลงเสา จากอกไกถายน้ําหนักผาน ดั้ง ซึ่งเปนเสาชนิดหนึ่งลงที่ ขื่อ ขื่อถาย
น้ําหนักลงเสา

รูปที่ 4.1 คานตางๆ ที่ใชในชือ่ ที่แตกตางกัน

คานเหล็กรูปพรรณหรือคานเหล็กรูป เปนคานเหล็กทีผ่ ลิตขึ้นจากโรงงาน สวนใหญจะสมมาตรทั้ง


สองแกน เชนรูปตัดตัว W หรือ I รูปตัดที่ความสมมาตรเพียงแกนเดียวเชน รูปตัดตัว T หรือเหล็กราง [ หรือ
C นอกจากนีย้ ังอาจจะนําเหล็กรูปพรรณตางๆ รวมทั้งเหล็กแผนมาประกอบกันขึน้ ยึดติดกันดวยตัวยึดหรือ
การเชื่อม
การออกแบบคานที่จะกลาวในบทนี้ จํากัดเฉพาะคานที่รบั โมเมนตดัดทางเดียว ซึ่งเปนพื้นฐานที่งา ยสุด
สําหรับคาน น้ําหนักบรรทุกหรือแรงกระทําตองผานศูนยกลางแรงเฉือน (shear center) จึงจะไมเกิดโมเมนต
บิดบนหนาตัดคาน สวนคานที่รับโมเมนตดัดสองทาง (รอบแกน x และแกน y) รับโมเมนตบิด (รอบแกน z)
หรือมีแรงกระทําในแนวแกนทั้งแรงดึงและแรงอัด จะกลาวถึงในบทตอๆ ไป
142 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

4.2 โมเมนตดัด แรงเฉือน และการโกงตัว


ในการออกแบบคานเหล็กนัน้ ไมวาจะใชวธิ ี AISC/LRFD หรือ AISC/ASD ในขั้นแรกตองหาโมเมนต
ดัดและแรงเฉือนจากน้ําหนักบรรทุก (ที่รวมน้ําหนักตัวเองซึ่งเดาเอา) ออกมากอน วิธีการหาโมเมนตดัดและ
แรงเฉือนนั้น ใชทฤษฎีอิลาสติก เชน การกระจายโมเมนต (moment distribution method) สมการสมดุล
สวนมากผลการวิเคราะหขนั้ แรกจะไดโมเมนตที่ปลายชิน้ สวน จากนั้นจึงนําไปหาแรงเฉือน และเขียน
แผนภาพแรงเฉือน (SFD : Shear Force Diagram) แผนภาพโมเมนตดดั (BMD : Bending Moment Diagram)
นําคาโมเมนตดดั และแรงเฉือนไปใชออกแบบคานตอไป
คานที่มีชวงความยาวไมมากนัก นิยมเลือกใชหนาตัดเหล็กรูปพรรณ W หรือ S ที่มีผลิตขายอยูแลว การ
ออกแบบจะพิจารณาหนาตัดที่สามารถรับโมเมนตดัดสูงสุดไดกอน จากนั้นจึงตรวจสอบวาหนาตัดที่เลือกมา
นั้นสามารถรับแรงเฉือนสูงสุดไดหรือไม หากรับได ตองตรวจสอบการโกงงอสูงสุดไมเกินคามาตรฐาน หาก
โกงงอมากเกินไป จะมีรอยแตกราวของผนัง ประตูหนาตางเปดปดไมได ดังนั้นการออกแบบคานตอง
ตรวจสอบสามอยางคือ การรับโมเมนตดัด การรับแรงเฉือน และการโกงตัว
โมเมนตดัด (M) ที่กระทําตรงหนาตัดใดๆ ของคาน อาจจะหาโดยรวมผลทั้งหมด หรือ แยกหาจาก
น้ําหนักบรรทุกแตละตัว คาโมเมนตดัดสูงสุดที่หาได (M max ) อาจจะเขียนในรูปสมการดังนี้

M max = Cdm WL

เมื่อ W = น้ําหนักทั้งหมดที่กระทําบนชวงคาน หรือที่กําหนดตามตารางที่ 4.1


L = ชวงความยาวของคานระหวางฐานรองรับที่ปลายทั้งสอง
Cdm = คาสัมประสิทธ ขึ้นกับลักษณะของน้ําหนักที่กระทําและลักษณะการยึดปลายคาน ดังตารางที่
4.1
Mc M
สําหรับหนวยแรงดัดสูงสุด f b ในชวงอิลาสติกหาไดจาก f b = = มีคาสูงสุดที่หลังคานและ
I S
ทองคาน คา c เปนระยะจากแกนสะเทินถึงหลังคานหรือถึงทองคาน I เปนโมเมนตอินเนอรเชียของหนาตัด
คานรอบแกนสะเทิน และ S = I เปนโมดูลัสหนาตัด รอบแกนที่รับโมเมนตดัด
c
แรงเฉือน (V) เปนแรงกระทําในแนวตั้งฉากแกนคานเนื่องจากน้ําหนักบรรทุก
VQ
หนวยแรงเฉือนในแนวนอน fv ที่เกิดจากแรงเฉือนในแนวดิ่ง หาไดจาก fv = คาสูงสุดที่แกน
It
สะเทินของหนาตัดคาน โดยที่ Q เปนโมเมนตของเนื้อที่นอกรอยตอที่พิจารณาหนวยแรงเฉือนรอบแกน
สะเทิน และ t เปนความกวางของรอยตอตรงจุดที่จะหาหนวยแรงเฉือน
ในคานที่มีปก คานเชนหนาตัด W หรือ C แรงเฉือนในปกคานจะนอย จึงถือวาบริเวณแผนตั้งเปนผูรับ
V
แรงเฉือนทั้งหมดไป โดยพิจารณาจากคาเฉลี่ย fv = เมื่อ V เปนแรงเฉือนในแนวดิ่ง d เปนความลึกของ
dt w
หนาตัดคาน และ t w เปนความหนาของแผนตั้ง (web)
143 คานเหล็กรูปพรรณ

การโกงตัวในแนวดิ่ง Δ วิเคราะหจากทฤษฎีอิลาสติก โดยไมตองเพิ่มคาน้ําหนักกระทํา ซึ่งแมวาการ


โกงตัวของคานจะเกิดจากผลของโมเมนตดัด แรงเฉือน โมเมนตบิด แตสวนใหญถงึ ประมาณ 98% จะเกิด
จากโมเมนตดดั ดังนั้นการพิจารณาการโกงตัวสูงสุด Δ max จึงพิจารณาเฉพาะผลของโมเมนตดัดอยางเดียว
คือ
144 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

WL3
Δ max = Cd
EI

เมื่อ W = น้ําหนักบรรทุกทั้งหมดหรือที่แสดงไวในตารางที่ 4.1


L = ชวงความยาวของคานระหวางจุดรองรับที่ปลายทั้งสอง
E = โมดูลัสยืดหยุน ของเหล็ก
I = โมเมนตอนิ เนอรเชียของหนาตัดคานรอบแกนสะเทินที่รับโมเมนตดัด
Cd = คาสัมประสิทธิ์ ขึ้นกับลักษณะของน้ําหนักกระทําและลักษณะของการยึดปลายคาน ดังตารางที่
4.1
4.3 พฤติกรรมการรับโมเมนตดัดของคาน
- พฤติกรรมการรับโมเมนตดัดของคานเหล็กที่จะพิจารณาตอไปนี้ อาศัยสมมติฐานวา
- คานมีความสมมาตรทั้งสองแกน
- คานมีรูปตัดแบบคอมแพค (compact section) ตามที่จะกลาวในหัวขอ 4.5.1 หรือ 4.6.1
- มีการค้ํายันทางขาง (lateral support) ที่ปกรับแรงอัดอยางพอเพียง
- ไมมีการบิดและโกงตัวทางขาง
- ความสัมพันธระหวางหนวยแรงดึงและหนวยแรงอัดกับหนวยการยืดหดตัวของเหล็กโครงสรางเปน
แบบอิลาสติก และพลาสติกโดยสมบูรณ
- หนวยแรงสูงสุดเทากับคาหนวยแรงที่จดุ คราก ของเหล็ก ดังรูปที่ 4.2

พฤติกรรมการรับโมเมนตดัดของคานเหล็กรอบแกนหลัก มี 2 ชวง คือ ชวงอิลาสติก และชวงพลาสติก


ตามความสัมพันธระหวางหนวยแรงและหนวยการยืดหดตัว ดังนี้
พฤติกรรมในชวงอิลาสติก
เมื่อคานเริ่มรับน้ําหนักบรรทุกไมมากนัก ความสัมพันธระหวางหนวยแรง (stress) กับหนวยการยืดหด
ตัว (strain) แปรเปนเสนตรง คาหนวยแรงดัดที่ตําแหนงใดๆ บนหนาตัดคานจะหาไดจาก
145 คานเหล็กรูปพรรณ

My
fb =
I
เมื่อ fb = หนวยแรงดัดที่ตําแหนงใดๆ บนหนาตัดคาน
M = โมเมนตดัดในคานที่ตําแหนงหนาตัดนั้น
I = โมเมนตอนิ เนอรเชียของหนาตัดคานรอบแกนสะเทิน
y = ระยะจากแกนสะเทินถึงจุดที่ตองการหาหนวยแรงดัด
คา y สูงสุดอยูที่ผิวบนสุดและผิวลางสุดของคาน แทนดวย c t หรือ c b ตามลําดับ ซึ่งสงผลให f b สูงสุด
เนื่องจากหนวยแรง f b แปรตามระยะจากแกนสะเทิน กลาวคือเปน 0 ทีแ่ กนสะเทินและมากที่สุดตรง
ผิวบนและผิวลางของคาน ผิวใดระหวางผิวบนและผิวลางที่อยูหางจากแกนสะเทินมากกวายอมมีหนวยแรง
มากกวาดวย และจะมีคาถึงขีดจํากัดสูงสุดกอน
หากแทน c t หรือ c b ดวย c ให Sx = I x จะไดวา M x = f bSx
c
I
เมื่อ Sx = x = โมดูลัสอิลาสติกของหนาตัด
c
เนื่องจากสมมติฐานในการรับแรงดัดของคานนี้มีวา คานมีความสมมาตรทั้งสองแกน นั่นคือ
d
ct = cb = =c
2
เมื่อน้ําหนักบรรทุกบนคานมีคามากขึ้น หนวยแรงดัดและหนวยการยืดหดตัวของคานก็จะยิ่งมากขึ้น
จนกระทั้งหนวยแรงดัดที่ผิวบนและผิวลางของคานมีคาถึงจุดคราก คาโมเมนตดัดขณะที่ผิวบนและผิวลาง
เริ่มครากเรียกวา yield moment M y มีคาเทากับ Sx Fy เปนคาโมเมนตสูงสุดของชวงอิลาสติกที่หนาตัดนัน้
จะรับได แตในการผลิตเหล็กรูปพรรณ การทําใหเย็นลงที่อาจจะไมสม่ําเสมอจะทําใหเกิดหนวยแรงคงคาง
(residual stress) Fr ดังนั้นโมเมนตดัดที่ทําใหคานเหล็กเริ่มครากคือ

M y = Sx (Fy − Fr )

พฤติกรรมในชวงพลาสติก
เมื่อคานเหล็กเกิดการครากทีผ่ ิวบนและผิวลางแลว ยังคงใหคานรับน้ําหนักบรรทุกเพิ่มขึ้นอีกการคราก
ของเหล็กจะกินลึกเขาหาแกนสะเทินโดยหนวยการยืดหดตัวเพิ่มขึ้นแตหนวยแรงจะไมเกินจุดคราก Fy เมื่อ
โมเมนตดัดเพิม่ ขึ้นอีก การครากจะกินลึกจนครากตลอดทั้งหนาตัด (full plastification) โมเมนตดดั นี้จะเปน
คาสูงสุดที่หนาตัดคานเหล็กจะรับไดกอนที่จะวิบัติเปนขอหมุนพลาสติก (plastic hinge เกิดบริเวณที่มี
โมเมนตดัดสูงสุด) เรียกโมเมนตนี้วา โมเมนตดัดพลาสติก (plastic moment : M p ) มีคา

M p = Z x Fy

เมื่อ Zx = โมดูลัสพลาสติกของหนาตัด (plastic section modulus)


146 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ตัวประกอบรูปตัด (shape factor) เปนอัตราสวนระหวางโมเมนตดัดพลาสติก M p ตอโมเมนตดัดทีจ่ ดุ


เริ่มคราก M y โดยที่
รูปตัดสี่เหลี่ยมตัน shape factor = 1.50
เหล็กรูปพรรณมาตรฐาน shape factor = 1.10 – 1.20
ขอสังเกตมีวา หนวยแรงคงคาง ไมมีผลตอโมเมนตดัดพลาสติก
ในกรณีที่คานไมมีการค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดอยางพอเพียงแลว หนาตัดคานจะรับโมเมนตได
ไมถึงคา M p เพราะอาจจะเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหง (local buckling) ปกคานรับแรงอัดจะโคงพลิ้วเปนลูก
คลื่น หรืออาจจะเกิดการบิดและโกงทางขาง การหากําลังรับโมเมนตดัดทั้งในชวงอิลาสติกและในชวง
พลาสติกของคานลักษณะนีไ้ ดวา
โมเมนตดัดวิกฤตในชวงอิลาสติก
2
π ⎛ πE ⎞
M cr = C b EI y GJ + ⎜⎜ ⎟⎟ I y C w
Lb ⎝ b⎠
L
โมเมนตดัดวิกฤตในชวงอินอิลาสติก
2
π ⎛ πE ⎞
M cr = C b E T I y G T J + ⎜⎜ T ⎟⎟ I y C w
Lb ⎝ Lb ⎠
คาตัวแปรตางๆ จะกลาวโดยละเอียดในหัวขอที่ 4.6.3
คาโมเมนตดัดวิกฤตที่ได จะนําไปพิจารณาหาขอกําหนดเกี่ยวกับระยะค้าํ ยันทางขาง ดังที่กําหนดไวใน
มาตรฐาน AISC/LRFD/ASD
147 คานเหล็กรูปพรรณ

4.4 ลักษณะการวิบัติของคาน
คานทําหนาทีร่ ับโมเมนตดัด โดยในหนาตัดสวนหนึ่งจะรับแรงดึงและอีกสวนรับแรงอัด การวิบตั ิจึง
เกิดจากแรงดึงและแรงอัด หากโมเมนตดดั ที่กระทําเปนโมเมนตบวกคานโกงแบบกระทะหงาย ผิวบนเปน
แรงอัดและผิวลางเปนแรงดึง สวนแรงดึงจะวิบัตจิ ากการครากของเหล็ก แตสวนแรงอัดจะวิบัติจากการคราก
ของเหล็ก หรือการโกงเดาะเฉพาะแหง หรือเกิดการบิดและโกงตัวทางขาง
การวิบัติของลักษณะการโกงเดาะเฉพาะแหง (local buckling) มักจะเกิดที่ปกคานดานรับแรงอัด
(เรียกวา Flange Local Buckling : FLB) หรืออาจะเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงที่แผนตั้ง (เรียกวา Web Local
Buckling : WLB) โดยเกิดขึ้นกอนที่คานจะรับโมเมนตดัดสูงสุดเทากับโมเมนตดดั พลาสติก M p การโกง
เดาะเฉพาะแหงขึ้นกับอัตราสวนระหวางความกวางตอความหนาของแตละชิ้นสวน ดังที่กลาวไวแลวในบทที่
3 เรื่องโครงสรางรับแรงอัด หากหนาตัดคานเปนแบบคอมแพค อัตราสวนระหวางความกวางตอความหนาจะ
มีคานอย และมีค้ํายันทาวขาวของปกรับแรงอัดอยางพอเพียงแลว คานจะรับโมเมนตดัดสูงสุดถึงคา M p
การวิบัติของลักษณะการบิดและโกงตัวทางขาง (Lateral Torsional Buckling : LTB) เกิดขึ้นเมื่อคาน
ไมมีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดหรือมีแตไมพอเพียง ปกคานดานรับแรงอัดจะมีสภาพเหมือนเสาแบนๆ
จึงโกงเดาะออกทางขาง ขณะเดียวกันปกคานดานรับแรงดึงจะเหยียดตรง ตัวคานจึงบิดตัวออกทางขางทําให
ความสามารถในการรับโมเมนตดัดลดลง
การบิดและการโกงตัวทางขางเกิดขึ้นไดทงั้ ในชวงอิลาสติกและในชวงอินอิลาสติก โดยขึน้ กับ
ระยะหางของค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด หากระยะหางของค้ํายันทางขางมากเกินไป คานจะเกิดการบิด
และโกงตัวทางขางในชวงอิลาสติก หนวยแรงดัดสูงสุดที่เกิดขึ้นจะนอยกวาขีดพิกดั ยืดหยุน แตถา ค้ํายันทาง
ขางมีระยะหางนอยลง การบิดและโกงตัวทางขางจะเกิดขึ้นในชวงอินอิลาสติก
จากในเรื่องเสา หากทําค้ํายันในระนาบที่เกิดการโกงเดาะจะทําใหเสารับน้ําหนักไดมากขึ้น ในคานก็
เชนเดียวกัน หากทําค้ํายันในปกรับแรงอัดก็จะทําใหคานรับโมเมนตไดมากขึ้น
การค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดอาจจะทําตลอดความยาวคาน เชนหลอพื้นอมปกคาน (ทํางานยาก)
หรือใสสลักรับแรงเฉือน (stud) ที่ปกคานแลวหลอพื้นยึดกับตัวสลัก หรือทําค้ํายันเปนระยะๆ ตลอดความยาว
คาน เชนเชื่อมเหล็กแผนแลวมีเหล็กไขว หรือใชคานยึดระหวางคาน ปองกันการพลิกทางขาง
148 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

4.5 การออกแบบโครงสรางรับแรงดัด – มาตรฐาน AISC/ASD


4.5.1 การจําแนกประเภทของรูปตัดคาน
มาตรฐาน AISC/ASD จําแนกประเภทของหนาตัดคานเปน 3 ประเภท คือ
หนาตัดแบบคอมแพค (compact section)
หนาตัดแบบไมคอมแพค (noncompact section)
หนาตัดแบบชะลูด (slender section)
149 คานเหล็กรูปพรรณ

การแบงประเภทหนาตัดจะพิจารณาจากอัตราสวนความกวางตอความหนาของแตละชิ้นสวน ตารางที่
4.2 ใชสําหรับเหล็กรูปพรรณรูปตัด I และ W สวนรูปตัดอื่นใหดูจากตารางที่ 10 ในภาคผนวก
ตารางที่ 4.2 อัตราสวนความกวางตอความหนาสําหรับเหล็กรูปพรรณตัว I และตัว W
ชิ้นสวน อัตราสวน คอมแพค ไมคอมแพค
ปกคาน bf E E
0.38 0.56
2t f Fy Fy
แผนตั้ง d E E
3.76 4.46
tw Fy Fb

เมื่อ bf = ความกวางของปกคาน
tf = ความหนาของปกคาน
d = ความลึกของหนาตัดคาน
t w = ความหนาของแผนตั้ง
E = 2,040,000 ksc = โมดูลัสยืดหยุนของเหล็ก
Fy = กําลังครากของเหล็ก
Fb = 0.6Fy
หนาตัดเปนแบบคอมแพค เมื่อปกคานเชื่อมตอเนื่องกับแผนตั้งตลอดความยาว โดยทีม่ ีอัตราสวน

bf E d E
≤ 0.38 และ ≤ 3.76
2t f Fy tw Fy

หนาตัดเปนแบบไมคอมแพค เมื่ออัตราสวน

E b E E d E
0.38 < f ≤ 0.56 และ 3.76 < ≤ 4.46
Fy 2 t f Fy Fy t w 0.6Fy

หนาตัดเปนแบบชะลูด เมื่ออัตราสวน

bf E d E
> 0.56 และ > 4.46
2t f Fy tw 0.6Fy

4.5.2 ระยะค้ํายันทางขาง
ระยะค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด L คือความยาวระหวางปลายคาน หรือมีการเพิ่มค้ํายันเขาไปอีก
ระยะ L ก็จะสั้นลง มาตรฐาน AISC/ASD กําหนดใหนําคา L ไปเปรียบเทียบกับระยะ L c โดยที่ตอ งเลือก
จากคานอยของสองคาตอไปนี้
150 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

E
L c ≤ 0.444b f
Fy
0.69E 0.69EA f
Lc ≤ =
⎛ Fy ⎞ dFy
⎜⎜ d ⎟⎟
⎝ Af ⎠

นั่นคือ เมื่อ L ≤ Lc แสดงวาระยะค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด พอเพียง


เมื่อ L > L c แสดงวาระยะค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด ไมพอเพียง

4.5.3 หนวยแรงดัดที่ยอมให
มาตรฐาน AISC/ASD กําหนดคาหนวยแรงดัดที่ยอมใหของเหล็กรูปตัด I,W หรือตัว C ที่ผลิตแบบรีด
รอน โดยดูจากระยะค้ํายันพอเพียงหรือไม
(ก) เมื่อระยะค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดพอเพียง L ≤ L c
(1) สําหรับรูปตัดแบบคอมแพค ที่มีความสมมาตรทางแกนรองและรับน้ําหนักในระนาบของแกน
รอง
หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนหลัก Fb = 0.66Fy (4.5.1)
หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนรอง Fb = 0.75Fy (4.5.2)
(2) สําหรับรูปตัดไมอัดแนน
⎡ ⎛b ⎞ Fy ⎤
หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนหลัก Fb = Fy ⎢0.79 − 0.34⎜⎜ f ⎟⎟ ⎥ (4.5.3)
⎢⎣ ⎝ 2t f ⎠ E ⎥⎦
⎡ ⎛b ⎞ E⎤
หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนรอง Fb = Fy ⎢1.075 − 0.85⎜⎜ f ⎟⎟ ⎥ (4.5.4)
⎢⎣ ⎝ 2t f ⎠ Fy ⎥⎦
(3) สําหรับรูปตัดชะลูด
หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนหลักและรอบแกนรอง Fb = 0.60Fy (4.5.5)
151 คานเหล็กรูปพรรณ

(ข) เมื่อระยะค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดไมพอเพียง L > L c


L
หนวยแรงดัดที่ยอมใหของรูปตัดแบบคอมแพคหรือไมคอมแพคขึ้นอยูก ับอัตราสวน ดังนี้
rT
L EC b
(1) เมื่อ ≤ 3.517
rT Fy

หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนหลัก

Fb = 0.60Fy (4.5.6)

L EC b
(2) เมื่อ > 3.517 ใหพจิ ารณาใชคามากที่สุดของหนวยแรงดัดที่ยอมใหจากสามกรณี
rT Fy
ตอไปนี้
EC b L EC b
(2.1) เมื่อ 3.517 ≤ ≤ 17.586
Fy rT Fy
หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนหลัก
⎡2 Fy ⎛L⎞
2

Fb = ⎢ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy ≤ 0.60Fy (4.5.7)
⎢⎣ 3 52.759EC b ⎝ rT ⎠ ⎥⎦
L EC b
(2.2) เมื่อ > 17.586
rT Fy
หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนหลัก
5.862EC b
Fb = 2
≤ 0.60Fy (4.5.8)
⎛L⎞
⎜⎜ ⎟⎟
⎝ rT ⎠
(2.3) เมื่อเหล็กปกคานที่รับแรงอัดเปนแผนตันรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ซึ่งมีเนื้อที่หนาตัดไมนอย
กวาเนื้อที่หนาตัดของเหล็กปกคานที่รับแรงดึง หรือกรณีของเหล็กรูปรางน้ํา (ไมขึ้นกับ
L
คาของ )
rT
หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนหลัก
0.414EC b 0.414EC b A f
Fb = = ≤ 0.60Fy (4.5.9)
⎛ Ld ⎞ Ld
⎜⎜ ⎟⎟
⎝ Af ⎠
เมื่อ L = ชวงความยาวที่ไมมีค้ํายันทางขางที่ปกคานรับแรงอัด, cm
d = ความลึกของคาน , cm
152 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

rT = รัศมีไจเรชันรอบแกนในระนาบของเหล็กแผนตั้ง (web) ของหนาตัดที่ประกอบดวยเหล็กปก


คานรับแรงอัด และหนึ่งในสามของเนือ้ ที่เหล็กแผนตั้งสวนที่รับแรงอัด (มีคาประมาณ
0.26b f ), cm
A f = b f t f = เนื้อที่หนาตัดของปกคานรับแรงอัด, cm 2
C b = คาสัมประสิทธิ์ ขึ้นกับโมเมนต M1 และ M 2
2
⎛M ⎞ ⎛M ⎞
C b = 1.75 + 1.05⎜⎜ 1 ⎟⎟ + 0.3⎜⎜ 1 ⎟⎟ ≤ 2.3 (4.5.10)
⎝ M2 ⎠ ⎝ M2 ⎠
M1
M1 , M 2 = โมเมนตดัดรอบแกนหลักตรงตําแหนงทีท่ ําค้ํายัน โดยให M1 ≤ M 2 ดังนั้น ≤ 1.0
M2
M1
เสมอ หากทิศทางของ M1 และ M2 ไปทางเดียวกันจะเกิดการดัดสองทาง คา เปนบวก
M2
M1
แตถาทิศทางของ M1 และ M2 สวนทางกันจะเกิดการดัดทางเดียว คา เปนลบ เรา
M2
สามารถใช C b = 1.0 เพราะทําใหตองใชหนาตัดโตกวาที่ตองการจริง
C b = 1.0 สําหรับคานยื่น หรือเมื่อโมเมนตดัดภายในระหวางจุดทีท ่ ําค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดมี
คามากกวาโมเมนตดัดทีจ่ ุดทําค้ํายัน เชน คานชวงเดียวมีค้ํายันที่ปลายคานซึ่งโมเมนตเปน 0 แต
กลางชวงมีโมเมนตสูงสุด
153 คานเหล็กรูปพรรณ

4.5.4 หนวยแรงเฉือนที่ยอมให FV

แรงเฉือนมากที่สุดที่ยอมใหสําหรับเหล็กรูปพรรณ คือ
V = dt w Fv

h 5E
เมื่อ ≤ หนวยแรงเฉือนที่ยอมให
tw Fy
Fv = 0.4Fy (4.5.11)
h 5E
เมื่อ > หนวยแรงเฉือนที่ยอมให
tw Fy
Fy C v
Fv = ≤ 0.4Fy (4.5.12)
2.89
เมื่อ d = ความลึกทั้งหมดของคาน, cm
t f = ความหนาของปกคานรับแรงอัดและปกคานรับแรงดึง, cm
t w = ความหนาของแผนตั้ง, cm
r = รัศมีของสวนพอก (fillet), cm
h = d − 2 t f − 2r = ขนาดลึกของแผนตั้งที่ผลิตแบบรีดรอน, cm
h = d − 2 t f = ขนาดลึกของแผนตั้งที่ทําจากนําแผนเหล็กมาเชื่อมประกอบกันขึ้น, cm
1.55k v E
Cv = 2
เมื่อ C v ≤ 0.8
⎛ h ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ Fy
⎝ tw ⎠
1.12 k v E
Cv = เมื่อ C v > 0.8
⎛ h ⎞ Fy
⎜⎜ ⎟⎟
⎝ tw ⎠
154 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

2
5.34 ⎛h⎞ a
k v = 4.00 + = 4.00 + 5.34⎜ ⎟ เมื่อ ≤ 1.0
⎝a⎠
2
⎛a⎞ h
⎜ ⎟
⎝h⎠
2
4.00 ⎛h⎞ a
k v = 5.34 + = 5.34 + 4.00⎜ ⎟ เมื่อ > 1.0
⎝a⎠
2
⎛a⎞ h
⎜ ⎟
⎝h⎠
a = ระยะหางระหวางเหล็กเสริมขางคาน, cm

4.6 การออกแบบสวนโครงสรางรับแรงดัด มาตรฐาน AISC/LRFD


4.6.1 การจําแนกประเภทของรูปตัด
มาตรฐาน AISC/LRFD จําแนกประเภทของรูปตัดเปน 3 ประเภท คือ
- หนาตัดแบบคอมแพค (compact section)
- หนาตัดแบบไมคอมแพค (noncompact section)
- หนาตัดแบบชะลูด (slender section)
โดยใชอัตราสวนความกวางตอความหนาแทนดวยสัญลักษณ λ เปนตัวกําหนด ดังตารางที่ 4.3 (เหล็กรูปตัด
อื่นใหหาจากตารางที่ 10 ภาคผนวก) ให λ p เปนพิกัดสูงสุดของหนาตัดแบบคอมแพค และ λ r เปนพิกัด
สูงสุดของหนาตัดแบบไมคอมแพค โดยเปรียบเทียบดังนี้
หนาตัดเปนแบบคอมแพค ปกคานเชื่อมตอกับแผนตั้งตลอดความยาว และ
λ ≤ λp

หนาตัดเปนแบบไมคอมแพค เมื่อ
λp < λ ≤ λr

หนาตัดเปนแบบชะลูด เมื่อ
λ > λr

ตารางที่ 4.3 พารามิเตอรของความกวางตอความหนาสําหรับเหล็กรูปพรรณตัว I และตัว H


ชิ้นสวน อัตราสวน λ คอมแพค λ p ไมคอมแพค λ r
ปกคาน bf E E
0.38 0.83
2t f Fy Fy − Fr
แผนตั้ง h E E
3.76 5.70
tw Fy Fy
155 คานเหล็กรูปพรรณ

เมื่อ ความกวางของปกคาน, cm
bf =
t f = ความหนาของปกคาน, cm
d = ความลึกของคาน, cm
r = รัศมีความโคงของรอยพอก (fillet), cm
h = d − 2 t f − 2r = ระยะชวงวางระหวางรอยพอก, cm
E = 2,040,000 ksc = โมดูลัสยืดหยุน  ของเหล็กรูปพรรณ
Fy = กําลังครากของเหล็กรูปพรรณ, ksc
Fr = หนวยแรงคงคางในปกคาน = 700 ksc สําหรับเหล็กรูปพรรณ เทากับ 1150 ksc สําหรับคาน
ประกอบ

4.6.2 ระยะค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด
มาตรฐาน AISC/LRFD ใหพิจารณาระยะที่ทําค้ํายันทางขาง L b ซึ่งจะทําใหเกิดการวิบตั ิลักษณะตางๆ
กัน ดังนี้
ถา L b ≤ L p การวิบัติของคานเกิดจากการครากตลอดหนาตัด
ถา L b > L r การวิบัติของคานเกิดจากการบิดและโกงทางขางในชวงอิลาสติก
ถา L p < L b ≤ L r การวิบัติของคานเกิดจากการบิดและการโกงทางขางในชวงอินอิลาสติก
ระยะ L p และ L r มีวิธีหายุงยากพอควร ซึ่งจะกลาวตอไป
4.6.3 กําลังตานทานโมเมนตดัดประลัย M n
มาตรฐาน AISC/LRFD ใหพจิ ารณาออกแบบโครงสรางรับโมเมนตดัด โดยให
M u ≤ φb M n (4.6.1)
เมื่อ Mu = โมเมนตดัดที่เกิดขึ้นจากน้ําหนักบรรทุกเพิ่มคา, kg.cm
φ b = 0.90 = ตัวคูณลดกําลังสําหรับโมเมนตดัด
M n = กําลังระบุในการรับโมเมนตดัด หรือ กําลังตานทานโมเมนตดัดประลัย, kg.cm
(ก) กําลังตานทานโมเมนตดัดประลัยของรูปตัดแบบคอมแพค
กําลังตานทานโมเมนตดัดประลัยของหนาตัดแบบคอมแพค ขึ้นกับระยะค้ํายันทางขางของปกรับ
แรงอัด L b ดังนี้
(1) ถาระยะค้ํายันทางขาง L b ≤ L p
กรณีรับโมเมนตดัดรอบแกนหลัก
M nx = M p = Z x Fy ≤ 1.5M y (4.6.2)
156 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

Zx
ทั้งนี้คา M y = Sx Fy คา ≤ 1.5 ปองกันไมใหโกงตัวมากเกินไปเมื่อรับน้ําหนัก
Sx
บรรทุกใชงาน
กรณีรับโมเมนตดัดรอบแกนรอง กําลังตานทานโมเมนตดัดประลัย M ny จะไมขนึ้ กับ
ระยะค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด L b กลาวคือ
M ny = M py = Z y Fy (4.6.3)
(2) ถาระยะค้ํายันทางขาง Lp < Lb ≤ Lr การวิบัติจะเปนการบิดและโกงทางขาง LTB
ในชวงอินอิลาสติก
⎡ ⎛ L − L p ⎞⎤
M nx = C b ⎢M p − (M p − M r )⎜ b ⎟ ≤ Mp (4.6.4)
⎜ L − L ⎟⎥
⎣⎢ ⎝ r p ⎠⎦⎥
12.5M max
เมื่อ Cb = = คาสัมประสิทธิ์
2.5M max + 3M A + 4M B + 3M C
M max = เปนคาสัมบูรณ (absolute คิดแตคาตัวเลข ถือเปนคาบวกไมวาคาจริงจะบวกหรือลบ) ของ
โมเมนตดัดทีม่ ากที่สุดในชวงที่ไมมีค้ํายัน
1
MA = เปนคาสัมบูรณของโมเมนตดัดตรงจุด ในชวงที่ไมมีคา้ํ ยัน
4
1
MB = เปนคาสัมบูรณของโมเมนตดัดตรงจุด ในชวงที่ไมมีคา้ํ ยัน
2
3
MC = เปนคาสัมบูรณของโมเมนตดัดตรงจุด ในชวงที่ไมมีคา้ํ ยัน
4
หรือในทุกกรณีอาจจะเลือกใช C b = 1.0 แตจะตองใชหนาตัดที่ใหญขึ้น
C b = 1.0 สําหรับคานยื่น หรือเมื่อโมเมนตดัดในระหวางค้ํายันมีคามากกวาหรือเทากับคามากของ
โมเมนตดัดทีจ่ ดุ มีค้ํายัน
M p = Z x Fy = โมเมนตดัดพลาสติกหรือโมเมนตดัดสูงสุดเมื่อตลอดหนาตัดเกิดการคราก
M r = (Fy − Fr )Sx = โมเมนตเริ่มครากที่หักผลของหนวยแรงคงคางออกไป สําหรับคาน I,W,H
มาตรฐาน AISC/LRFD ป ค.ศ.1986 ใชคา
2
⎛M ⎞ ⎛M ⎞
C b = 1.75 + 1.05⎜⎜ 1 ⎟⎟ + 0.3⎜⎜ 1 ⎟⎟ ≤ 2.3
⎝ M2 ⎠ ⎝ M2 ⎠
M
โดยที่ M1 ≤ M 2 อัตราสวน 1 เปนบวกเมื่อโกงสองทางหรือทิศทาง M1 กับ M2 ไปทางเดียวกัน และ
M2
จะเปนลบหาทิศทางสวนกันและโกงทางเดียว สังเกตวา C b ในวิธี AISC/ASD จะเหมือนกับคาหลังนี้
157 คานเหล็กรูปพรรณ

การหาระยะ L p และ L r
คานรูปตัด I หรือคานที่ใชเหล็กซึ่งมีจุดครากตางกัน (hybrid section) และคานรูปตัด C หรือเหล็กราง
E
L p = 1.76ry
Fy
ทอนเหล็กรูปตัดสี่เหลี่ยมตัน คานรูปตัดคลายกลอง (box beam)
0.13ry E
Lp = JA
Fy Z x
เมื่อ A = เนื้อที่หนาตัดคาน
Z x = โมดูลัสพลาสติกของหนาตัดรอบแกนหลัก
2b f t 3f + dt 3w
J= = คาคงที่ของการบิด (torsional constant)
3
คานที่มีรูปตัดแบบตัว I หรือคานที่มีความสมมาตรแกนเดียวหรือทั้งสองแกนโดยมีเนื้อที่หนาตัดของ
ปกคานรับแรงอัดมากกวาหรือเทากับเนื้อทีห่ นาตัดของปกคานรับแรงดึง และสําหรับคานรูปตัว C
1 + 1 + X 2 (Fy − Fr )
ry X1
Lr =
2

(F
y − Fr )
กรณีนใี้ หใช M r = (Fy − Fr )Sx ในสมการ 4.6.4
คานที่เปนทอนเหล็กสี่เหลีย่ มตัน
2ry E JA
Lr =
Mr
กรณีนใี้ หใช M r = Sx Fy
คานที่มีรูปตัดคลายกลองที่มีความสมมาตรและรับน้ําหนักในระนาบทีส่ มมาตร
2ry E JA
Lr =
Mr
กรณีนใี้ หใช M r = (Fy − Fr )Sx
π EGJA
เมื่อ X1 =
Sx 2
2
C ⎛S ⎞
X2 = 4 w ⎜ x ⎟
I y ⎝ GJ ⎠
Sx = โมดูลัสอิลาสติกของหนาตัดรอบแกนหลัก
E = 2,040,000 ksc = โมดูลัสยืดหยุนของเหล็ก
G = โมดูลัสการเฉือนของเหล็ก (shear modulus)
E 2,040,000
G= = = 784,615 ksc
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3)
J = คาคงที่ของการบิด (torsional constant) ดูตารางที่ 21 ภาคผนวก
Fy = กําลังจัดครากของเหล็ก
158 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

Iy = โมเมนตอินเนอรเชียรอบแกน y
Iy
ry = = รัศมีไจเรชันรอบแกน y
A
Cw = คาคงที่ของการบิดเบี้ยว (warping constant) ดูตารางที่ 21 ภาคผนวก
Fr = หนวยแรงอัดคงคาง (residual stress)
Fr = 700 ksc สําหรับเหล็กรูปพรรณรีดรอน
Fr = 1150 ksc สําหรับเหล็กรูปตัดที่ประกอบขึ้นจากการเชื่อมแผนเหล็ก

(3) ถาระยะค้ํายัน L b > L r การวิบัติเปนแบบการบิดและโกงทางขาง LTB ในชวงอิลาสติก


M nx = M cr ≤ M p (4.6.5)

สําหรับคานรูปตัดแบบตัว I หรือคานที่มีความสมมาตรแกนเดียวหรือทั้งสองแกน โดยมีเนื้อทีห่ นาตัด


ปกคานรับแรงอัดมากกวาหรือเทากับเนื้อทีห่ นาตัดปกคานรับแรงดึง หรือคานที่ใชเหล็กที่มีจุดครากตางกัน
(hybrid section) และสําหรับคานรูปตัดตัว C
2
π ⎛ πE ⎞
M cr = C b EI y GJ + ⎜⎜ ⎟⎟ I y C w
Lb ⎝ L b ⎠
C bSx X1 2 X12 X 2
M cr = 1+
⎛ Lb ⎞ ⎛ Lb ⎞
2
⎜ ⎟ 2⎜ ⎟
⎜r ⎟ ⎜r ⎟
⎝ y ⎠ ⎝ y ⎠

สําหรับคานรูปตัดสี่เหลี่ยมตัน หรือคานรูปตัดคลายกลอง
2C b E JA
M cr =
⎛ Lb ⎞
⎜ ⎟
⎜r ⎟
⎝ y ⎠
159 คานเหล็กรูปพรรณ

(ข) กําลังตานทานโมเมนตดัดประลัยของรูปตัดแบบไมคอมแพค
กําลังตานทานโมเมนตดัดประลัยรอบแกนหลักของรูปตัดแบบไมคอมแพค เปนคาที่นอยที่สุดของ
กําลังตานทานโมเมนตดัดประลัยที่ไดจากการพิจารณาลักษณะของการวิบัติตางๆ 3 กรณีคือ
ก) การบิดและการโกงทางขาง (Lateral Torsional Buckling : LTB)
ข) การโกงเฉพาะแหงของปกคาน (Flange Local Buckling : FLB)
ค) การโกงเฉพาะแหงของแผนตั้ง (Web Local Buckling : WLB)
160 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

(1) เมื่อ λ ≤ λ p กําลังตานทานโมเมนตดัดประลัย


Mn = Mp
(2) เมื่อ λ p < λ ≤ λ r
สําหรับการวิบตั ิเนื่องจากการบิดและโกงทางขาง (LTB) ในชวงอินอิลาสติก กําลังตานทาน
โมเมนตดัดประลัยคือ
⎡ ⎛ λ − λ p ⎞⎤
M n = C b ⎢M p − (M p − M r )⎜ ⎟ ≤ Mp (4.6.6)
⎜ λ − λ ⎟⎥
⎢⎣ ⎝ r p ⎠⎥⎦
สําหรับการวิบตั ิเนื่องจากการโกงเฉพาะแหงของปกคาน (FLB) หรือแผนตั้ง (WLB) ในชวง
อินอิลาสติก กําลังตานทานโมเมนตดัดประลัยคือ
⎡ ⎛ λ − λ p ⎞⎤
M n = ⎢M p − (M p − M r )⎜ ⎟ (4.6.7)
⎜ λ − λ ⎟⎥
⎢⎣ ⎝ r p ⎠⎥⎦
ถาระยะค้ํายัน L b > L r ใหหากําลังตานทานโมเมนตดัดประลัยจากสมการ 4.6.5 เนื่องจากการวิบัติอยู
ในชวงอิลาสติก
ตารางที่ 4.4 ใหคาของ M p , M r , λ, λ p และ λ r สําหรับการวิบัติของคานรูปตัดแบบไมคอมแพคใน
แตลักษณะ สังเกตวาสัญลักษณของ λ, λ p และ λ r มีความหมายตางกัน

รูปที่ 4.11 แสดงตัวอยางการหากําลังตานทานแรงดัดประลัยของรูปตัดแบบไมคอมแพค ซึ่งสามารถหา


คาไดจากตารางที่ 4.4 แลวนําคาที่ไดในแตละกรณีมาประมาณหาคาของ M n สําหรับตัวพารามิเตอรที่
ตองการ λ ทีต่ องการ คานอยที่สุดของ M n เปนกําลังตานทานโมเมนตดัดประลัยของรูปตัดแบบไม
คอมแพค
161 คานเหล็กรูปพรรณ
162 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

4.6.4 กําลังรับแรงเฉือนประลัย
ในหนาตัดคานจะใหเหล็กแผนตั้งเปนผูรับแรงเฉือนประลัย ถาไมมีเหล็กเสริมขางคานและอัตราสวน
h
< 260 กําลังรับแรงเฉือนประลัยของเหล็กแผนตัง้ คือ
tw
Vu ≤ φ v Vn
เมื่อ Vu = แรงเฉือนประลัยที่เกิดจากน้าํ หนักบรรทุกเพิ่มคา
φ v = 0.90 = ตัวคูณลดกําลังสําหรับแรงเฉือน
Vn = กําลังตานทานแรงเฉือนระบุ หรือ กําลังตานทานแรงเฉือนประลัย ของหนาตัด
h 5E
ถา ≤ 1.10 เหล็กแผนตั้งไมสูญเสียเสถียรภาพ กําลังตานทานแรงเฉือนประลัย
tw Fy
Vn = 0.6Fy A w (4.6.8)
5E h 5E
ถา 1.10 < ≤ 1.37 เหล็กแผนตั้งจะโกงเดาะในชวงอินอิลาสติก กําลังตานทานแรง
Fy t w Fy
เฉือนประลัย
5E
1.10
Fy
Vn = 0.6Fy A w (4.6.9)
⎛ h ⎞
⎜⎜ ⎟⎟
⎝ tw ⎠
5E h
ถา 1.37 < < 260 เหล็กแผนตั้งจะโกงเดาะในชวงอิลาสติก กําลังตานทานแรงเฉือนประลัย
Fy t w
คือ
4.55E
Vn = A w 2
(4.6.10)
⎛ h ⎞
⎜⎜ ⎟⎟
⎝ tw ⎠
เมื่อ A w = dt w = เนื้อที่หนาตัดของเหล็กแผนตั้ง
d = ความลึกทั้งหมดของคาน
t w = ความหนาของเหล็กแผนตั้ง
h = d − 2 t f − 2r = ความสูงของแผนตั้งระหวางรอยพอกในคานรูปพรรณรีดรอน
h = d − 2 t f = ความสูงของแผนตั้งหากประกอบหนาตัดจากการเชื่อมแผนเหล็ก
Fy = กําลังจุดครากของเหล็กแผนตั้ง
E = 2,040,000 ksc = โมดูลัสยืดหยุนของเหล็ก
h
ในกรณีที่ > 260 ใหเสริมเหล็กขางคานที่เหล็กแผนตั้ง (web stiffener) โดยใหเปนตัวเดียวกับที่ค้ํายันปก
tw
รับแรงอัดดวย
163 คานเหล็กรูปพรรณ

4.7 ระยะโกงตัวที่ยอมให ตามมาตรฐาน AISC/LRFD/ASD


มาตรฐาน AISC/LRFD/ASD กําหนดระยะโกงตัวมากที่สุดที่ยอมใหภายใตการบรรทุกของน้ําหนัก
คงที่ใชงานและน้ําหนักจรใชงาน ดังนี้
สําหรับงานกอสรางตางๆ ที่มีการฉาบผิว (plastered construction)
L
Δ≤
360
สําหรับงานพืน้ ที่ไมฉาบผิว (unplastered floor construction)
L
Δ≤
240
สําหรับงานหลังคาที่ไมฉาบผิว (unplastered roof construction)
L
Δ≤
180
เมื่อ Δ=ระยะโกงตัวสูงสุดของคาน
L = เปนชวงความยาวคาน
มาตรฐาน AISC ยังใหขอสังเกตวา อาจไมตองคํานวณการโกงตัวของคาน ถาใชอัตราสวนระหวาง
ความลึกของคานตอชวงความยาวคาน ไมนอยกวาคาตอไปนี้
สําหรับคานที่รองรับพื้น
d Fy

L 0.027E
สําหรับคานที่รองรับหลังคา
d Fy

L 0.035E
164 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

4.8 ผลการกระทําของน้ําหนักแบบจุด (Concentrated Loads on Beams)


การกระทําของน้ําหนักแบบจุดบนคาน เชนที่ฐานรองรับแรงปฏิกิริยา ระหวางชวงรับน้ําหนักจากตง
คานฝาก และเสาตั้งบนคานเชนดั้งในโครงหลังคาตั้งบนขื่อ ดังแสดงในรูปที่ 4.13

สมมติใหแรงหรือน้ําหนักกระทํากระจายออกไปสูเหล็กแผนตั้ง น้ําหนักระหวางชวงคานสามารถ
กระจายออกสองดาน แตบริเวณจุดรองรับจะกระจายไปไดดานเดียว
พิจารณาใหเหล็กแผนตั้งเริ่มรับที่ระยะ k = b f + r เทากับความหนาของปกรวมกับระยะพอก ตรงนี้
ความหนาของเหล็กแผนตั้งจะสม่ําเสมอ แนวเอียงจะเปนอัตราสวน 1 ตอ 2.5 ดังนั้นความยาวสวนที่เลยจาก
ขอบของแผนรองรับเทากับ 2.5k ถา N เปนความยาวของแผนรองรับ ความยาวของเนื้อที่รองรับแรงกดคือ
N+5k ที่บริเวณกลางชวงคาน และเทากับ N+2.5k บริเวณปลายคาน ไดเนื้อที่รองรับแรงกด (N + 5k )t w และ
(N + 2.5k )t w ตามลําดับ
หากแรงกดมีคา มากพอ เหล็กแผนตั้งจะเกิดการโกงและวิบัติที่ตําแหนงนั้นๆ ได ลักษณะการวิบตั ขิ อง
เหล็กแผนตั้งอาจจะเกิดการคราก (yielding) หรือเกิดการยู (cripping) เมื่อแผนตั้งมีความชะลูดมาก หรือเซ
ออกทางขาง (sidesway buckling) เมื่อไมทําค้ํายันตรงตําแหนงที่รับน้ําหนักที่ปกคานดานรับแรงอัดและ
ดานรับแรงดึง การปองกันมิใหเกิดการวิบัติในเหล็กแผนตั้งในลักษณะดังกลาว โดยการเพิ่มความหนาเหล็ก
แผนตั้งใหมากขึ้น หรือเสริมเหล็กแผนตั้งดวยเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด (bearing stiffener) โดยใหมี
เนื้อที่รับแรงกดตรงปกคานมากพอ (อธิบายในบทที่ 8)
165 คานเหล็กรูปพรรณ

มาตรฐาน AISC มีขอกําหนดเพื่อปองกันไมใหเกิดการวิบัตใิ นเหล็กแผนตั้งตามลักษณะดังกลาว


ขางตน กลาวคือ
มาตรฐาน AISC/ASD
(1) กรณีที่เหล็กแผนตัง้ จะเกิดการคราก หนวยแรงใชงานที่กระทําจะตองไมเกินกวาหนวยแรงทีย่ อม
ให เมื่อ
(ก) น้ําหนักแบบจุดกระทําในชวงคาน (หางจากปลายคานไมนอยกวาความลึกคาน)
R
≤ 0.66Fy (4.8.1)
(N + 5k )t w
(ข) น้ําหนักแบบจุดกระทําใกลกับหรือที่ปลายคาน
R
≤ 0.66Fy (4.8.2)
(N + 2.5k )t w
หรือ
R = 0.66Fy (N + 2.5k )t w = 0.66Fy t w N + 1.65kFy t w = R 2 N + R 1
R − R1
N=
R2
R 1 = 1.65kFy t w
R 2 = 0.66Fy t w
สําหรับใชในการออกแบบระยะ N เมื่อทราบคาของ R แลว
เมื่อ k = b f + r = ระยะจากผิวนอกของปกคานถึงรอบพอกที่เหล็กแผนตั้ง
N = ความยาวของที่รับแรงกด ตองไมนอยกวา k
(2) กรณีที่เหล็กแผนตัง้ จะเกิดการยู น้าํ หนักหรือแรงกระทําใชงานตองไมเกินกวาคาตอไปนี้
มิฉะนั้นตองใชเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด
d
(ก) น้ําหนักแบบจุดกระทําหางจากปลายคานไมนอยกวา
2
⎡ ⎛ N ⎞⎛ t ⎞
1.5
⎤ EFy t f
R = 0.40 t ⎢1 + 3⎜ ⎟⎜⎜ w
2
w ⎟⎟ ⎥ (4.8.3)
⎢⎣ ⎝ d ⎠⎝ t f ⎠ ⎥⎦ t w

(ข) น้ําหนักแบบจุดกระทําหางจากปลายคานนอยกวา d
2
⎡ ⎛ N ⎞⎛ t ⎞ ⎤ EFy t f
1.5

R = 0.20 t 2w ⎢1 + 3⎜ ⎟⎜⎜ w ⎟⎟ ⎥ (4.8.4)


⎢⎣ ⎝ d ⎠⎝ t f ⎠ ⎥⎦ t w
เมื่อ d= ความลึกทั้งหมดของคาน
t f = ความหนาของปกคาน
t w = ความหนาของแผนตั้ง
166 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

(3) กรณีที่เหล็กแผนตัง้ จะเกิดการเซ น้ําหนักหรือแรงกระทําใชงานตองไมเกินกวาคาตอไปนี้


d cbf
(ก) เมื่อทําค้ํายันที่ปกคานดานที่รับน้ําหนัก โดยที่ ≤ 2.3
t wl
0.234Et 3w ⎡ ⎤
3
⎛d b ⎞
R= ⎢1 + 0.4⎜⎜ c f ⎟⎟ ⎥ (4.8.5)
h ⎢⎣ ⎝ t wl ⎠ ⎥⎦
dc bf
(ข) เมื่อไมทําค้ํายันที่ปกคานดานที่รับน้ําหนัก และมี ≤ 1.7
t wl
0.234Et 3w ⎡ ⎛ d c b f ⎤
3

R= ⎢0.4⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ (4.8.6)
h ⎢⎣ ⎝ t w l ⎠ ⎥⎦
เมื่อ l= ชวงระยะที่ไมมีการทําค้ํายันที่ปกคานดานใดๆ เมื่อตองรับน้ําหนักแบบจุด
b f = ความกวางของปกคาน
t w = ความหนาของเหล็กแผนตั้ง
d c = d − 2k = ความลึกของเหล็กแผนตั้งเมือ ่ หักความหนาของปกและรอยพอกแลว

มาตรฐาน AISC/LRFD
(1) กรณีที่เหล็กแผนตัง้ จะเกิดการคราก กําลังรับแรงของเหล็กแผนตั้งตรงรอยพอกเทากับ φR n
เมื่อตัวคูณลดกําลัง φ = 1.0 และกําลังตานทานแรงกด R n หาไดจาก
(ก) น้ําหนักแบบจุดกระทําในชวงคาน หางจากปลายคานไมนอยกวาความลึกของคาน
R n = (N + 5k )t w Fy (4.8.7)
(ข) น้ําหนักแบบจุดกระทําใกลกับหรือที่ปลายคาน
R n = (N + 2.5k )t w Fy (4.8.8)
(2) กรณีที่เหล็กแผนตัง้ จะเกิดการยู น้ําหนักหรือแรงกระทําตองไมเกินกวา φR n เมื่อ กําลัง
φ = 0.75 และกําลังตานทานแรงกด R n หาไดจาก
d
(ก) น้ําหนักแบบจุดกระทําหางจากปลายคานไมนอยกวา
2
⎡ ⎛ N ⎞⎛ t ⎤ EFy t f ⎞
1.5

R n = 0.80 t ⎢1 + 3⎜ ⎟⎜⎜ w
2
w ⎥ ⎟⎟ (4.8.9)
⎢⎣ ⎝ d ⎠⎝ t f ⎥⎦ t w ⎠

(ข) น้ําหนักแบบจุดกระทําหางจากปลายคานนอยกวาระยะ d
2
⎡ ⎛ N ⎞⎛ t ⎞ ⎤ EFy t f
1.5

R n = 0.40 t 2w ⎢1 + 3⎜ ⎟⎜⎜ w ⎟⎟ ⎥ (4.8.10)


⎢⎣ ⎝ d ⎠⎝ t f ⎠ ⎥⎦ t w
ในกรณีที่เสริมเหล็กขางคานยาวอยางนอยครึ่งหนึ่งของความลึกเหล็กแผนตั้ง ไมตองตรวจสอบการ
วิบัติจากการยูข องเหล็กแผนตั้ง
167 คานเหล็กรูปพรรณ

(3) กรณีที่เหล็กแผนตัง้ จะเกิดการเซ น้ําหนักหรือแรงที่กระทําตองไมเกินกวาคาตอไปนี้


d cbf
(ก) เมื่อทําค้ํายันที่ปกคานดานรับน้ําหนัก โดยมี ≤ 2.3
t wl
0.40Et 3w ⎡ ⎛ d cbf ⎞ ⎤
3

Rn = ⎢1 + 0.4⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ (4.8.11)
h ⎢⎣ ⎝ t w l ⎠ ⎥⎦

(ข) เมื่อไมทําค้ํายันที่ปกคานดานรับน้ําหนัก และมี d c bf ≤ 1.7


t wl
0.40Et 3w ⎡ ⎛ d c b f ⎤
3

Rn = ⎢0.4⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ (4.8.12)
h ⎢⎣ ⎝ t w l ⎠ ⎥⎦
หมายเหตุ
dc bf
1) ไมตองตรวจสอบทั้งสองกรณีขางตน เมื่อ มีคาเกินกวา 2.3 หรือ 1.7 แลวแตกรณี หรือในกรณีที่รับ
t wl
น้ําหนักแบบแผ
2) ตรงตําแหนงที่รับน้ําหนักแบบจุด แตหนวยแรงดัดในเหล็กแผนตั้งที่เกิดขึ้นจากการเพิ่มคาน้ําหนักบรรทุกใช
งานแลวไมเกินกวากําลังที่จุดคราก ใหใชคา 0.80E แทนคาของ 0.40E ที่ปรากฏในสองสมการขางตน

4.9 วิธีออกแบบคาน
การออกแบบคานเหล็ก จะใชวิธีประมาณหนาตัดขึน้ มาแลวตรวจสอบวารับโมเมนตดัดไดหรือไม เมื่อ
ผานการรับโมเมนตดัดแลวจึงตรวจสอบการรับแรงเฉือน การโกงตัว การครากหรือยูของแผนตั้งที่จุดรองรับ
หรือที่จุดรับน้าํ หนักแบบจุด
การออกแบบคานเหล็กรูปพรรณ กระทําตามลําดับดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือกรูปตัดคาน คํานวณหาน้ําหนักบรรทุกใชงาน เมื่อใชวิธี AISC/ASD หรือน้ําหนักบรรทุก
เพิ่มคา เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
ขั้นตอนที่ 2 คํานวณหาโมเมนตดัดและแรงเฉือนที่มากที่สุดที่คานตองรับ
ขั้นตอนที่ 3 หาระยะที่ทําค้าํ ยันทางขางของปกรับแรงอัด
ขั้นตอนที่ 4 คํานวณหาหนวยแรงดัดทีย่ อมให (หากใชวิธี AISC/ASD) หรือกําลังรับโมเมนตดัดประลัย
(หากใชวิธี AISC/LRFD) ขึ้นกับประเภทของรูปตัด และระยะค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด
ขั้นตอนที่ 5 คํานวณหาโมดูลัสอิลาสติกของหนาตัด Sx ถาใชวิธี AISC/ASD หรือโมดูลัสพลาสติกของหนา
ตัด Z x ถาใชวิธี AISC/LRFD แลวเปรียบเทียบกับรูปตัดที่เลือกมาในขัน้ ตอนที่ 1 หากไม
เหมาะสมเชนที่ตองการเกิดมากกวาที่เลือกมาแสดงวาหนาตัดที่เลือกมานั้นเล็กเกินไปใหเลือกที่
โตขึ้น แตถาทีต่ องการนอยกวาที่เลือกไวมากก็อาจจะสิ้นเปลืองเกินไปใหเลือกใหมใกลเคียงแต
มากกวาที่ตองการเล็กนอยแลวยอนไปขัน้ ตอนที่ 1 มาใหม
168 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบการรับแรงเฉือน การโกงตัว การครากและการยูของเหล็กแผนตั้งที่จุดรองรับหรือที่


จุดรับน้ําหนักเปนจุด

ตัวอยางที่ 4.1 จงตรวจสอบกําลังรับโมเมนตดัดของเหล็กรูปตัด W300 × 36.7


(ก) เมื่อทําค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดตลอดความยาว
(ข) เมื่อระยะค้ํายันทางขางที่ปกรับแรงอัดเทากับ 3 เมตร
(ค) เมื่อระยะค้ํายันทางขางเทากับ 6 เมตร และใหคา C b = 1.75
กําหนดใหใชเหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, E = 2,040,000 ksc
วิธีทํา เปดตารางที่ 1 ภาคผนวก ข. ตารางชวยการออกแบบ หาคุณสมบัติตางๆ ของ W300 × 36.7
W300 × 36.7, d = 300 mm, b f = 150 mm, t w = 6.5 mm, t f = 9 mm, r = 13 mm,
A = 46.78 cm 2 , w = 36.7 kg / m, I x = 7210 cm 4 , I y = 508 cm 4 , rx = 12.4 cm,
ry = 3.29 cm, Sx = 481 cm3 , Sy = 67.7 cm3 , Z x = 522.08 cm3
ตรวจสอบตามวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 ตรวจสอบประเภทของหนาตัด
bf 150
ปกคาน = = 8.333
2t f 2 × 9
E 2,040,000
0.38 = 0.38 = 10.855
Fy 2500
E 2,040,000
0.56 = 0.56 = 15.997
Fy 2500
bf E
พบวา < 0.38 อาจจะเปนหนาตัดแบบคอมแพค
2t f Fy
d 300
แผนตั้ง = = 46.154
t w 6.5
E 2,040,000
3.76 = 3.76 = 107.407
Fy 2500
E 2,040,000
4.46 = 4.46 = 164.477
0.6Fy 0.6 × 2500
d E
พบวา < 3.76 หนาตัดที่กําหนดเปนแบบคอมแพคแนนอน
tw Fy
ขั้นตอนที่ 2 หากําลังรับโมเมนตดัด กรณีทหี่ นาตัดเปนแบบคอมแพค
(ก) เมื่อคานมีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดตลอดความความยาว นั้นคือค่ํายันตองพอเพียง
หนวยแรงดัดที่ยอมใหเมื่อค้ํายันพอเพียงของหนาตัดประเภทคอมแพคคิแ
Fb = 0.66Fy = 0.66 × 2500 = 1650 ksc
169 คานเหล็กรูปพรรณ

กําลังรับโมเมนตดัด M = FbSx = 1650 × 481 = 793,650 kg.cm = 7936.5 kg.m


(ข) เมื่อระยะค้ํายันทางขาง L = 3.00 m = 300 cm
หาระยะค้ํายัน L c จากคานอยของ
E 2,040,000
L c = 0.444b f = 0.444 × 15.0 × = 190.2476533 cm
Fy 2500
0.69EA f 0.69 × 2,040,000 × (15.0 × 0.9)
Lc = = = 253.368 cm
dFy 30.0 × 2500
ดังนั้น L c = 190.2476533 cm = 1.902476533 m
พบวา (L = 300 cm) > (Lc = 190.2476533 cm) คาหนวยแรงดัดทีย่ อมใหจะขึ้นกับคาของ
L
rT
Iy Iy
เมื่อพบวา rT = =
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
2⎜ b f t f + (d − 2t f )t w ⎟
1 1
2⎜ A f + A w ⎟
⎝ 6 ⎠ ⎝ 6 ⎠
508
rT =
⎛ ⎞
2 × ⎜15.0 × 0.9 + (30.0 − 2 × 0.9) × 0.65 ⎟
1
⎝ 6 ⎠
rT = 3.916988223 cm
L 300
= = 76.58945673
rT 3.916988223
EC b 2,040,000 × 1.0
แตเนื่องจาก 3.517 = 3.517 × = 53.57118629
Fy 2500
EC b 2,040,000 × 1.0
17.586 = 17.586 × = 119.7922201
Fy 2500
ใช C b = 1.0 ซึ่งเปนคาที่ทําใหหนาตัดมีประสิทธิภาพในการรับแรงต่ําสุด
EC b L EC b
พบวา 3.517 < < 17.586
Fy rT Fy
ดังนั้นหนวยแรงดัดที่ยอมใหคือ
⎡2 Fy ⎛L⎞ ⎤
2

Fb = ⎢ − ⎜ ⎟
⎜ ⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 3 52.76EC b ⎝ rT ⎠ ⎥⎦
⎡2 2⎤
× (76.58945673) ⎥ × 2500
2500
Fb = ⎢ −
⎣ 3 52.76 × 2,040,000 × 1.0 ⎦
Fb = 1326.036552 ksc
0.414EC b A f 0.414 × 2,040,000 × 1.0 × (15.0 × 0.9)
และจาก Fb = =
Ld 300 × 30.0
Fb = 1266.84 ksc
170 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ดังนั้นหนวยแรงดัดที่ยอมให Fb = 1326.036552 ksc


กําลังรับโมเมนตดัด
M = FbSx = 1326.036552 × 481 = 637,823.5814 kg.cm = 6378.235814 kg.m
(ค) เมื่อระยะค้ํายันทางขางเทากับ 6.00 เมตร และ C b = 1.75
L 600
= = 153.1789135
rT 3.916988223
EC b 2,040,000 × 1.75
3.517 = 3.517 × = 70.86801817
Fy 2500
EC b 2,040,000 × 1.75
17.586 = 17.586 × = 158.4702117
Fy 2500
EC b L EC b
พบวา 3.517 < < 17.586 ดังนั้นหาคาหนวยแรงดัดที่ยอมใหจาก
Fy rT Fy
⎡2 Fy ⎛L⎞ ⎤
2

Fb = ⎢ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 3 52.76EC b ⎝ rT ⎠ ⎥⎦
⎡2 2500 ⎤
Fb = ⎢ − × 153.17891352 ⎥ × 2500
⎣ 3 52.76 × 2,040,000 × 1.75 ⎦
Fb = 888.0835466 ksc
0.414EC b A f 0.414 × 2,040,000 × 1.75 × (15.0 × 0.9)
และ Fb = =
Ld 600 × 30.0
Fb = 1108.485 ksc
ดังนั้นหนวยแรงดัดที่ยอมใหคือ Fb = 1108.485 ksc
กําลังรับโมเมนตดัด M = FbSx = 1108.485 × 481 = 533,181.285 kg.m = 5331.81285 kg.m
ตรวจสอบตามวิธี AISC/LRFD
ขั้นตอนที่ 1 ตรวจสอบชนิดของหนาตัด
bf 15.0
ปกคาน λ= = = 8.333333333
2 t f 2 × 0.9
E 2,040,000
λ p = 0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
E 2,040,000
λ r = 0.83 = 0.83 = 27.94196366
Fy − Fr 2500 − 700
พบวา λ < λp หนาตัดอาจจะเปนแบบคอมแพค
h d − 2t f − 2r 30.0 − 2 × 0.9 − 2 × 1.3
แผนตั้ง = = = 26.94736842
tw tw 0.65
E 2,040,000
3.76 = 3.76 = 107.4070836
Fy 2500
171 คานเหล็กรูปพรรณ

E 2,040,000
5.70 = 5.70 = 162.8245682
Fy 2500
h E
พบวา < 3.76 แสดงวาหนาตัดนี้เปนประเภทคอมแพค
tw Fy
ขั้นตอนที่ 2 หากําลังรับโมเมนตดัดประลัย
(ก) เมื่อค้ํายันทางขางตลอดความยาว
M n = M p = Fy Z x = 2500 × 522.08 = 1,305,200 kg.cm = 13,052 kg.m
M n ≤ 1.5M y = 1.5FySx = 1.5 × 2500 × 481 = 1,803,750 kg.cm = 18,037.5 kg.m
ดังนั้นกําลังตานทานโมเมนตดัดประลัย M n = 13,052 kg.m
กําลังรับโมเมนตดัดประลัย
φ b M n = 0.9 × 13,052 = 11,746.8 kg.m
(ข) เมื่อระยะค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด L b = 3.00 m = 300 cm
ขอมูลของคานที่ตองใชคือ
I y = 508 cm 4 , ry = 3.29 cm, Sx = 481 cm3 , b f = 15 cm, t f = 0.9 cm
d = 30 cm, t w = 0.65 cm, r = 1.3 cm, A = 46.76 cm 2 , E = 2,040,000 ksc
rx = 12.4 cm, ry = 3.29 cm
E 2,040,000
G= = = 784,615.3846 ksc
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3)
1
( 1
) ( )
J = 2b f t 3f + dt 3w = × 2 × 15 × 0.93 + 30 × 0.653 = 10.03625 cm 4
3 3
508 × 30 2
2
I d
Cw = y = = 114,300 cm 6
4 4
π EGJA π 2,040,000 × 784,615.3846 × 10.03625 × 46.76
X1 = =
Sx 2 481 2
X1 = 126,577.4315 ksc
2
4 × 114,300 ⎛
2
4C w ⎛ S x ⎞ 481 ⎞
X2 = ⎜ ⎟ = ×⎜ ⎟
I y ⎝ GJ ⎠ 508 ⎝ 784,615.3846 × 10.03625 ⎠
X 2 = 0.000003357 (ksc )
−2

E 2,040,000
L p = 1.76ry = 1.76 × 3.29 = 165.4069087 cm
Fy 2500

1 + 1 + X 2 (Fy − Fr )
ry X1
Lr =
2

Fy − Fr
3.29 × 126,577.4315
Lr = 1 + 1 + 0.000003357(2500 − 700)
2

2500 − 700
L r = 487.8394313 cm
แสดงวา L p < L b < L r เพราะ L b = 3.00 m = 300 cm
172 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

⎡ ⎛ L − L p ⎞⎤
M n = C b ⎢M p − (M p − M r )⎜ b ⎟
⎜ L − L ⎟⎥
⎢⎣ ⎝ r p ⎠⎥ ⎦
เนื่องจาก M p = Fy Z x = 2500 × 522.08 = 1,305,200 kg.cm = 13,052 kg.m
M r = (Fy − Fr )Sx = (2500 − 700) × 481 = 865,800 kg.cm = 8,658 kg.m
C b = 1.0, L b = 3.00 m, L p = 1.654069087 m, L r = 4.878394313 m
แทนคาได
⎡ 3.00 − 1.654069087 ⎤
M n = 1.0 × ⎢13,052 − (13,052 − 8,658) ×
⎣ 4.878394313 − 1.654069087 ⎥⎦
M n = 11,217.81144 kg.m
ดังนั้น กําลังรับโมเมนตดัดประลัย
φ b M n = 0.9 × 11,217.81144 = 10,096.0303 kg.m = 10,096 kg.m
(ค) เมื่อระยะค้ํายันทางขาง L b = 6.00 m, C b = 1.75
ขอมูลของคานที่ตองใชคือ
I y = 508 cm 4 , ry = 3.29 cm, Sx = 481 cm3 , b f = 15 cm, t f = 0.9 cm
d = 30 cm, t w = 0.65 cm, r = 1.3 cm, A = 46.76 cm 2 , E = 2,040,000 ksc
rx = 12.4 cm, ry = 3.29 cm
E 2,040,000
G= = = 784,615.3846 ksc
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3)
1
( 1
) ( )
J = 2b f t 3f + dt 3w = × 2 × 15 × 0.93 + 30 × 0.653 = 10.03625 cm 4
3 3
508 × 30 2
2
I d
Cw = y = = 114,300 cm 6
4 4
π EGJA π 2,040,000 × 784,615.3846 × 10.03625 × 46.76
X1 = =
Sx 2 481 2
X1 = 126,577.4315 ksc
2
4 × 114,300 ⎛
2
4C w ⎛ S x ⎞ 481 ⎞
X2 = ⎜ ⎟ = ×⎜ ⎟
I y ⎝ GJ ⎠ 508 ⎝ 784,615.3846 × 10.03625 ⎠
X 2 = 0.000003357 (ksc )
−2

E 2,040,000
L p = 1.76ry = 1.76 × 3.29 = 165.4069087 cm
Fy 2500

1 + 1 + X 2 (Fy − Fr )
ry X1
Lr =
2

Fy − Fr
3.29 × 126,577.4315
Lr = 1 + 1 + 0.000003357(2500 − 700)
2

2500 − 700
L r = 487.8394313 cm
แสดงวา L b = 6.00 m > L r = 4.878394313 m
173 คานเหล็กรูปพรรณ

⎡ ⎛ πE ⎞
2 ⎤
π
M n = M cr = C b ⎢ EI y GJ + ⎜⎜ ⎟⎟ I y C w ⎥ ≤ M p
⎢ Lb ⎝ b⎠
L ⎥
⎣ ⎦
แทนคา
⎡ π ⎛ π × 2,040,000 ⎞
2 ⎤
M n = 1.75⎢ 2,040,000 × 508 × 784,615.3846 × 10.03625 + ⎜ ⎟ × 508 × 114,300 ⎥
⎢ 600 ⎝ 600 ⎠ ⎥
⎣ ⎦
M n = 1,114,171.527 kg.cm = 11,141.71527 kg.m < M p = 13,052 kg.m
ดังนั้น φb M n = 0.90 × 11,141.71527 = 10,027.54375 kg.m = 10,027 kg.m

ตัวอยางที่ 4.2 คานชวงเดียวยาว 12 เมตร มีการค้ํายันที่จุดรองรับตรงปลายทั้งสองขาง รับน้ําหนักบรรทุก


คงที่ใชงาน 800 kg/m (รวมน้ําหนักคานไวดว ยแลว) และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 1275 kg/m ถา
เลือกใชหนาตัด W350 × 136 ทําดวยเหล็กกลาประสมกําลังสูง ASTM A542 มี Fy = 3500 ksc,
E = 2,040,000 ksc คานจะรับโมเมนตดัดประลัยตามวิธี AISC/LRFD ไดหรือไม
วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักบรรทุกเพิ่มคา แลวหาโมเมนตดดั ประลัยที่เกิดขึ้น
น้ําหนักบรรทุกเพิ่มคา
w u = 1.2D + 1.6L = 1.2 × 800 + 1.6 × 1275 = 3000 kg / m
โมเมนตดัดประลัยที่เกิดขึ้น
w u L2 3000 × 12 2
Mu = = = 54,000 kg.m = 5,400,000 kg.cm
8 8
ขั้นตอนที่ 2 ตรวจสอบชนิดของหนาตัดที่เลือก W350 × 136 จากตารางที่ 1 ภาคผนวก
W350 × 136, d = 350 mm, b f = 350 mm, t f = 19 mm, t w = 12 mm, r = 20 mm,
A = 173.6 cm 2 , w = 136 kg / m, I x = 40,300 cm 4 , I y = 13,600 cm 4 , rx = 15.2 cm,
ry = 8.84 cm, Sx = 2300 cm3 , Sy = 776 cm3 , Z x = 2493.18 cm3
bf 350
λ= = = 9.210526316
2 t f 2 × 19
E 2,040,000
λ p = 0.38 = 0.38 = 9.174125104
Fy 3500
E 2,040,000
λ r = 0.83 = 0.83 = 22.40341173
Fy − Fr 3500 − 700
พบวา λ p < λ < λ r แสดงวาหนาตัดเปนประเภทไมคอมแพค
174 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขั้นตอนที่ 3 หากําลังรับโมเมนตดัดประลัย โดยใชคานอยระหวางการวิบัติแบบ FLB และแบบ LTB


(ก) สําหรับการวิบตั ิแบบการโกงเดาะทางขางของปกรับแรงอัด FLB คํานวณจาก
⎛ λ − λp ⎞
M n = M p − (M p − M r )⎜ ⎟
⎜λ −λ ⎟
⎝ r p ⎠

เมื่อ M p = Z x Fy = 2493.18 × 3500 = 8,726,130 kg.cm = 87,261.3 kg.m


1.5M y = 1.5FySx = 1.5 × 3500 × 2300 = 12,075,000 kg.cm = 120,750 kg.m
ใช M p = 87,261.3 kg.m
M r = (Fy − Fr )Sx = (3500 − 700) × 2300 = 6,440,000 kg.cm = 64,400 kg.m
⎡ 9.210526316 − 9.174125104 ⎤
M n = 87,261.3 − (87,261.3 − 64,400)⎢
⎣ 22.40341173 − 9.174125104 ⎥⎦
M n = 87,198.3957 kg.m
(ข) สําหรับการวิบตั ิแบบการบิดและโกงเดาะทางขาง LTB
ตองตรวจดูวาระยะค้ํายันทางขางอยูในชวงใด ดังนั้นหาคาตางๆ ที่จําเปนกอน
W350 × 136, d = 350 mm, b f = 350 mm, t f = 19 mm, t w = 12 mm, r = 20 mm,
A = 173.6 cm 2 , w = 136 kg / m, I x = 40,300 cm 4 , I y = 13,600 cm 4 , rx = 15.2 cm,
ry = 8.84 cm, Sx = 2300 cm3 , Sy = 776 cm3 , Z x = 2493.18 cm3

J=
1
3
( )
1
( )
2b f t 3f + dt 3w = 2 × 35 × 1.93 + 35 × 1.23 = 180.2033333 cm 4
3
13,600 × 352
2
I yd
Cw = = = 4,165,000 cm 6
4 4
E = 2,040,000 ksc
E 2,040,000
G= = = 784,615.3846 ksc
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3)
π EGJA π 2,040,000 × 784,615.3846 × 180.2033333 × 173.6
X1 = =
Sx 2 2300 2
X1 = 216,125.894 ksc
2
4 × 4,165,000 ⎛
2
4C w ⎛ Sx ⎞ 2300 ⎞
X2 = ⎜ ⎟ = ×⎜ ⎟
I y ⎝ GJ ⎠ 13,600 ⎝ 784,615.3846 × 180.2033333 ⎠
X 2 = 0.000000324
E 2,040,000
จะได L p = 1.76ry = 1.76 × 8.84 = 375.6176527 cm
Fy 3500

1 + 1 + X 2 (Fy − Fr )
ry X1
Lr =
2

Fy − Fr
8.84 × 216,125.894
Lr = 1 + 1 + 0.000000324 × (3500 − 700)
2

3500 − 700
L r = 1,158.27773 cm
ค้ํายันที่ปลายทั้งสองขางเทานั้น L b = 12 m = 1200 cm > L r
175 คานเหล็กรูปพรรณ

ดังนั้นคํานวณคา M n จากสมการ
⎡ ⎛ πE ⎞
2 ⎤
π
M n = M cr = C b ⎢ EI y GJ + ⎜⎜ ⎟⎟ I y C w ⎥ ≤ M p
⎢ Lb ⎝ Lb ⎠ ⎥
⎣ ⎦
โดยที่ C b = 1.0
M p = Z x Fy = 87,261.3 kg.m
EI y GJ = 2,040,000 × 13,600 × 784,615.3846 × 180.2033333
EI y GJ = 3.922732696 × 1018
2
⎛ πE ⎞ ⎛ π × 2,040,000 ⎞
2

⎜⎜ ⎟⎟ I y C w = ⎜ ⎟ × 13,600 × 4,165,000
⎝ Lb ⎠ ⎝ 1200 ⎠
2
⎛ πE ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ I y C w = 1.615665689 × 1018
⎝ Lb ⎠
⎡ π ⎤
M n = 1 .0 ⎢ 3.922732696 × 1018 + 1.615665689 × 1018 ⎥
⎣1200 ⎦
M n = 6,161,134.967 kg.cm = 61,611.34967 kg.m < M p = 87,261.3 kg.m
กําลังรับโมเมนตดัดประลัยของคาน
φ b M n = 0.9 × 61,611.34967 = 55,450.2147 = 55,450 kg.m > M u = 54,000 kg.m
คานที่เลือกรับโมเมนตไดโดยปลอดภัย

สมมติโจทยใหตรวจสอบดวยวิธี AISC/ASD

ขั้นตอนที่ 1 หาโมเมนตดดั ที่กระทําบนคาน


น้ําหนักบรรทุกรวม w = DL + LL = 800 + 1275 = 2075 kg / m
wL2 2075 × 12 2
โมเมนตดัดสูงสุด M= = = 37,350 kg.m
8 8
ขั้นตอนที่ 2 ตรวจสอบชนิดหนาตัด
W350 × 136, d = 350 mm, b f = 350 mm, t f = 19 mm, t w = 12 mm, r = 20 mm,
A = 173.6 cm 2 , w = 136 kg / m, I x = 40,300 cm 4 , I y = 13,600 cm 4 , rx = 15.2 cm,
ry = 8.84 cm, Sx = 2300 cm3 , Sy = 776 cm3 , Z x = 2493.18 cm3
bf 350
= = 9.210526316
2t f 2 × 19
E 2,040,000
0.38 = 0.38 = 9.174125104
Fy 3500
E 2,040,000
0.56 = 0.56 = 13.51976331
Fy 3500
176 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

d 350
= = 29.16666667
t w 12
E 2,040,000
3.76 = 3.76 = 90.77555366
Fy 3500
E E 2,040,000
4.46 = 4.46 = 4.46 = 139.0081601
Fb 0.6Fy 0.6 × 3500
E b E d E
พบวา 0.38 < f < 0.56 แต < 3.76 เขาเกณฑเพียงเฉพาะสวนปกอยางเดียว ยังคง
Fy 2 t f Fy tw Fy
เปนหนาตัดแบบไมคอมแพค
ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบระยะค้ํายันทางขาง
ระยะค้ํายันทางขางจริงมีที่ปลายเทานั้น L = 12.00 m = 1200 cm
ระยะค้ํายันทีใ่ ชตรวจสอบเลือกจากคานอยของสองคาตอไปนี้
E 2,040,000
L c ≤ 0.444b f = 0.444 × 35.0 = 375.1734319 cm
Fy 3500
0.69EA f 0.69 × 2,040,000 × (35.0 × 1.9)
Lc ≤ = = 764.1257143 cm
dFy 35.0 × 3500
ดังนั้น ระยะค้ํายันที่ใชในการตรวจสอบคือ L c = 375.1734319 cm
ตรวจสอบพบวา (L = 1200 cm) < (L c = 375.1734319 cm) แสดงวาค้ํายันทางขางของปกรับ
แรงอัดไมพอเพียง
ขั้นตอนที่ 4 หาหนวยแรงอัดที่ยอมให กรณีที่ค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดไมพอเพียง
C b = 1.0 เนื่องจากโมเมนตดัดทีก
่ ลางชวงมากกวาที่ปลายทั้งสองขางซึ่งมีค้ํายันทางขางอยู
Iy
2 Iy 3I y
rT = = =
1 ⎡ ⎤ 6b f t f + (d − 2t f )t w
2⎢b f t f + (d − 2t f )t w ⎥
1
Af + Aw
6 ⎣ 6 ⎦
3 × 13,600
rT = = 9.668693829 cm
6 × 35 × 1.9 + (35 − 2 × 1.9 ) × 1.2
L 1200
= = 124.111904
rT 9.668693829
EC b 2,040,000 × 1.0
3.517 = 3.517 × = 45.27591602
Fy 3500
EC b 2,040,000 × 1.0
17.586 = 17.586 × = 101.2429045
Fy 3500
177 คานเหล็กรูปพรรณ

L EC b
ตรวจสอบพบวา > 17.586 ดังนั้นหาหนวยแรงดัดที่ยอมใหจาก
rT Fy
5.862EC b
Fb = 2
≤ 0.60Fy
⎛L⎞
⎜⎜ ⎟⎟
⎝ rT ⎠
5.862 × 2,040,000 × 1.0
Fb = = 776.334891 ksc
124.111904 2
0.60Fy = 0.60 × 3500 = 2100 ksc
และเนื่องจากปกคานเปนสี่เหลี่ยมผืนผา ตรวจสอบตามสมการ 4.5.9
0.414EC b A f
Fb = ≤ 0.60Fy
Ld
0.414 × 2,040,000 × 1.0 × (35 × 1.9)
Fb = = 1337.22 ksc < 0.60Fy
1200 × 35
ดังนั้นเลือกคามากเปน Fb = 1337.22 ksc
โมเมนตดัดทีค่ านรับได
M = FbSx = 1337.22 × 2300 = 3,075,606 kg.cm = 30,756.06 kg.m
(M = 30,756.06 kg.m ) < 37,350 kg.m
หนาตัดนี้รับน้าํ หนักบรรทุกที่กําหนดไมได
สังเกตวา เมื่อตรวจสอบดวยวิธี AISC/LRFD หนาตัดรับน้ําหนักได แตพอตรวจสอบดวยวิธี AISC/ASD หนา
ตัดนี้กลับรับน้าํ หนักไมได ดูเหมือนวาวิธี AISC/LRFD จะประหยัดกวาวิธี AISC/ASD ซึ่งอาจจะไมจริงไป
ทุกกรณี

ตัวอยางที่ 4.3 จงออกแบบคานชวงเดียว ยาว 7.50 เมตร ตามมาตรฐาน AISC ใหรบั น้ําหนักบรรทุกคงที่ใช
งาน 800 kg/m (ไมรวมน้ําหนักคาน) และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 3000 kg/m มีการค้ํายันทางขางที่
ปกรับแรงอัดตลอดความยาวคาน กําหนดใหการโกงของคานเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน ไม
L
เกิน ใชเหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc, E = 2,040,000 ksc
360
วิธีทํา
L
หากพิจารณาเงื่อนไขการโกงตัวเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกจรใชงานไมเกิน ก็จะจํากัดจํานวน
360
ขนาดหนาตัดคานที่จะเลือกไปไดมาก และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 3000 kg/m เปนน้ําหนักแผ การโกงตัว
สูงสุดในคานชวงเดียวทีก่ ึ่งกลางชวงคือ
5 wL4
Δ=
384 EI
โดยที่ E มีหนวยเปน kg2 คา I มีหนวยเปน cm 4 คา L และ Δ จึงมีหนวยเปน cm ดังนั้น w ตองมีหนวย
cm
เปน kg/cm ในขณะที่กาํ หนดใหนนั้ เปน kg/m ดังนั้น
178 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

kg 1m kg
w = 3000 × = 30
m 100 cm cm
5 wL4 5 30 × 750 4 L 750
Δ= = × ≤ =
384 EI 384 2,040,000I 360 360
5 30 × 750 4 360
I≥ × × = 29,081.4568 cm 4
384 2,040,000 750
เมื่อเปดตารางที่ 1 ภาคผนวก ข เหล็ก W ตองใชขนาดตั้งแต W 450 × 76 ขึ้นไป ดังนั้นควรจะประมาณ
น้ําหนักคานตัง้ แต 76 kg/m ขึ้นไป ในทีน่ จี้ ะประมาณที่ 100 kg/m

ออกแบบตามวิธี AISC/ASD

ขั้นตอนที่ 1 สมมติน้ําหนักของคาน 100 kg/m


น้ําหนักบรรทุกแผรวมบนคาน
w = 100 + 800 + 3000 = 3900 kg / m
โมเมนตดัดสูงสุดที่กลางคาน
wL2 3900 × 7.50 2
M= = = 27,421.875 kg.m
8 8
M = 2,742,187.5 kg.cm
ขั้นตอนที่ 2 ประมาณขนาดคาน เนื่องจากปกรับแรงอัดมีการค้ํายันทางขางตลอดความยาว (เชนหลอพื้นอม
ปกคาน) สมมติวาจะใหหนาตัดเปนแบบคอมแพค หนวยแรงดัดที่ยอมใหสําหรับหนาตัดแบบ
คอมแพคที่มีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดอยางพอเพียงคือ Fb = 0.66Fy
ดังนั้น โมเมนตดัดที่รับได M x = FbSx = 0.66FySx
Mx ≥ M
0.66 × 2500Sx ≥ 2,742,187.5
2,742,187.5
Sx ≥ = 1661.931818 ⇒ 1662 cm3
0.66 × 2500
เมื่อดูในตารางที่ 1 ภาคผนวก ข หนาตัดทีเ่ บาที่สุดโดยทีย่ ังคงมี I > 29,081 cm 4 , Sx > 1662 cm3 คือหนา
ตัด W500 × 89.7 เลือกหนาตัดนี้มาตรวจสอบ
W500 × 89.7, d = 500 mm, b f = 200 mm, t w = 10 mm, t f = 16 mm, r = 20 mm, A = 114.2 cm 2 ,
w = 89.7 kg / m, I x = 47,800 cm 4 , I y = 2,140 cm 4 , rx = 20.5 cm, ry = 4.33 cm, Sx = 1910 cm3 ,
Sy = 214 cm3 , Z x = 2096.36 cm3
bf 200
= = 6.25
2 t f 2 × 16
E 2,040,000
0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
179 คานเหล็กรูปพรรณ

E 2,040,000
0.56 = 0.56 = 15.99679968
Fy 2500
bf E
< 0.38
2t f Fy
d 500
= = 50
t w 10
E 2,040,000
3.76 = 3.76 = 107.4070836
Fy 2500
E E 2,040,000
4.46 = 4.46 = 4.46 = 164.4766731
Fb 0.6Fy 0.6 × 2500
d E
< 3.76
tw Fy
แสดงวาหนาตัด W500 × 89.7 เปนหนาตัดชนิดคอมแพคดังที่สมมติไว น้ําหนักยังนอยกวาที่สมมติดวย จึง
ไมจําเปนตองตรวจสอบหนวยแรงดัดอีก คาโมเมนตอินเนอรเชียของหนาตัดก็มากกวาที่ตองการจากการโกง
ตัว
ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบการรับแรงเฉือน
น้ําหนักบรรทุกรวมจริง w = 89.7 + 800 + 3000 = 3889.7 kg / m
แรงเฉือนสูงสุดที่จุดรองรับ V = wL = 3889.7 × 7.5 = 14,586.375 kg
2 2
ระยะระหวางรอยพอก h = d − 2 t f − 2r = 500 − 2 × 16 − 2 × 20 = 428 mm = 42.8 cm
h 428
= = 42.8
t w 10
5E 5 × 2,040,000
= = 63.87487769
Fy 2500
h 5E
<
tw Fy
ดังนั้น หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหคือ
Fv = 0.4Fy = 0.4 × 2500 = 1000 ksc
แรงเฉือนที่หนาตัดรับไดคอื
dt w Fv = 50.0 × 1.0 × 1000 = 50,000 kg > V = 14,586.375 kg
หนาตัดรับแรงเฉือนไดโดยปลอดภัย
180 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD

ขั้นตอนที่ 1 สมมติน้ําหนักคาน 100 kg/m


น้ําหนักบรรทุกเพิ่มคา w u = 1.2DL + 1.6LL = 1.2(100 + 800) + 1.6 × 3000 = 5880 kg.m
โมเมนตดัดประลัยที่เกิดขึ้นสูงสุดตรงกลางชวงคาน
w u L2 5880 × 7.50 2
Mu = = = 41,343.75 kg.m = 4,134,375 kg.cm
8 8
ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของหนาตัด หากตองการใหหนาตัดเปนแบบคอมแพค มีค้ํายันทางขางของปกรับ
แรงอัดพอเพียง (เพราะค้ํายันตลอดความยาว) นัน่ คือ
φ b M n = φ b M p = φ b Fy Z x ≥ M u
0.9 × 2500Z x ≥ 4,134,375
4,134,375
Zx ≥ = 1837.5 cm3
0.9 × 2500
เปดตารางที่ 1 ภาคผนวก ข ดูที่ชอง Zx หาคาที่มากกวาหรือเทากับ 1837.5 พบวาหนาตัด W500 × 89.7
เปนหนาตัดที่เบาที่สุดแลว
W500 × 89.7, d = 500 mm, b f = 200 mm, t w = 10 mm, t f = 16 mm, r = 20 mm, A = 114.2 cm 2 ,
w = 89.7 kg / m, I x = 47,800 cm 4 , I y = 2,140 cm 4 , rx = 20.5 cm, ry = 4.33 cm, Sx = 1910 cm3 ,
Sy = 214 cm3 , Z x = 2096.36 cm3
w u = 1.2(89.7 + 800 ) + 1.6 × 3000 = 5867.64 kg / m
w u L2 5867.64 × 7.50 2
Mu = = = 41,256.84375 kg.m = 4,125,684.375 kg.cm
8 8
w L 5867.64 × 7.50
Vu = u = = 22,003.65 kg
2 2
ตรวจสอบชนิดหนาตัด
ปกคาน
bf 200
λ= = = 6.25
2 t f 2 × 16
E 2,040,000
λ p = 0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
E 2,040,000
λ r = 0.83 = 0.83 = 23.70954238
Fy 2500
λ < λp
181 คานเหล็กรูปพรรณ

แผนตั้ง
h d − 2 t f − 2r 500 − 2 × 16 − 2 × 20 428
λ= = = = = 42.8
tw tw 10 10
E 2,040,000
λ p = 3.76 = 3.76 = 107.4070836
Fy 2500
E 2,040,000
λ r = 5.70 = 5.70 = 162.8245682
Fy 2500
λ < λp
ดังนั้นหนาตัดนี้เปนแบบคอมแพคที่มีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดอยางพอเพียง กําลังตานทาน
โมเมนตดัดประลัยคือ
M n = M p = Fy Z x = 2500 × 2096.36 = 5,240,900 kg.cm = 52,409 kg.m
φ b M n = 0.9 × 52,409 = 47,168.1 kg.m > M u = 41,256.84375 kg.m
ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบกําลังรับแรงเฉือน
w u L 5867.64 × 7.50
แรงเฉือนประลัยสูงสุด Vu = = = 22,003.65 kg
2 2
h d − 2t f − 2r 50.0 − 2 × 1.6 − 2 × 2.0
= = = 42.8
tw tw 1.0
5E 5 × 2,040,000
1.10 = 1.10 = 70.26236546
Fy 2500
5E 5 × 2,040,000
1.37 = 1.37 = 87.50858244
Fy 2500
h 5E
เนื่องจาก < 1.10 ดังนั้นกําลังรับแรงเฉือนระบุคือ
tw Fy
Vn = 0.6Fy A w = 0.6Fy dt w = 0.6 × 2500 × 50.0 × 1.0 = 75,000 kg
กําลังรับแรงเฉือนประลัย
φ v Vn = 0.9 × 75,000 = 67,500 kg > Vu = 22,003.65 kg
182 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ตัวอยางที่ 4.4 จงออกแบบคานชวงเดียวยาว 3.00 เมตร ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD ใหรับน้ําหนักแผ


จากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 275 kg/m (รวมน้ําหนักคานไวแลว) และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 275
kg/m มีน้ําหนักจากตงซึ่งวางชวง 1.00 เมตร ดังรูป เปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 2750 kg และ
น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 2750 kg ถามีค้ํายันทางขางที่ปกรับแรงอัดเฉพาะตรงปลายคานหรือทีจ่ ุด
L
รองรับ กําหนดใหการโกงของคานเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกใชงานไมเกิน ใชเหล็ก ASTM A36
300
มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc, E = 2,040,000 ksc

วิธีทํา
ตรวจสอบการโกงตัวเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน โดยอาศัยตาราง 4.1
5
กรณีที่ 1 น้ําหนักบรรทุกแผ มี Cd = , W = wL = 550 × 3 = 1650 kg, L = 300 cm
384
WL3 5 1650 × 3003 284.3520221
Δ1 = C d = × =
EI 384 2,040,000I I
กรณีที่ 3 น้ําหนักบรรทุกเทากัน 2 จุดแบงคานเปน 3 ชวงยอยเทากัน มี Cd = 23 , W = 5500 kg และ
648
L = 300 cm
WL3 23 5500 × 3003 2583.74183
Δ 3 = Cd = × =
EI 648 2,040,000I I
ดังนั้นระยะโกงรวม
284.3520221 + 2583.74183 2868.093852
Δ = Δ1 + Δ 3 = =
I I
แตโจทยกําหนดวา
L
Δ≤
300
2868.093852 300

I 300
I ≥ 2868.093852 cm 4
จากตารางที่ 1 ภาคผนวก ข หนาตัดทีเ่ บาทีส่ ุดและมีคา I x = 4,050 cm 4 > 2868 cm 4 คือ W 250 × 29.6
183 คานเหล็กรูปพรรณ

ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD

ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักรวมและโมเมนตดัด
น้ําหนักแผนทีก่ ระทํา w = DL + LL = 275 + 275 = 550 kg / m
1
ตารางที่ 4.1 มี W = wL = 550 × 3.00 = 1650 kg, C dm =
8
1
M1 = C dm WL = × 1650 × 3.00 = 618.75 kg.m
8
น้ําหนักเปนจุดที่กระทําแตละจุด W = 2750 + 2750 = 5500 kg
ตารางที่ 4.1 มี W = 5500 kg, Cdm = 1
3
1
M 3 = C dm WL = × 5500 × 3.00 = 5500 kg.m
3
โมเมนตดัดสูงสุดที่กระทํา
M = M1 + M 3 = 618.75 + 5500 = 6118.75 kg.m = 611,875 kg.cm
ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดหนาตัดที่ตองการในการรับโมเมนตดัด
สมมติหนวยแรงดัดที่ยอมให Fb = 0.6Fy = 0.6 × 2500 = 1500 ksc
M 611,875
โมดูลัสหนาตัดที่ตองการ Sx ≥ = = 407.9166667 cm3 ⇒ 408 cm3
Fb 1500
จากตารางที่ 1 ภาคผนวก ข หนาตัดที่มี I x ≥ 2868 cm 4 , Sx ≥ 408 cm3 คือ W 200 × 49.9 และ
W 300 × 36.7 ในการเลือกควรจะเลือกหนาตัดที่เบากวาเพื่อความประหยัด จึงเลือก W 300 × 36.7
W300 × 36.7, d = 300 mm, b f = 150 mm, t w = 6.5 mm, t f = 9 mm, r = 13 mm, A = 46.78 cm 2 ,
w = 36.7 kg / m, I x = 7210 cm 4 , I y = 508 cm 4 , rx = 12.4 cm, ry = 3.29 cm, Sx = 481 cm3 ,
Sy = 67.7 cm3 , Z x = 522.08 cm3
ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบชนิดของหนาตัดและหากําลังในการรับโมเมนตดัด
ปกคาน
bf 150
= = 8.333333333
2t f 2 × 9
E 2,040,000
0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
E 2,040,000
0.56 = 0.56 = 15.99679968
Fy 2500
bf E
< 0.38
2t f Fy
184 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แผนตั้ง
d 300
= = 46.15384615
t w 6.5
E 2,040,000
3.76 = 3.76 = 107.4070836
Fy 2500
E E 2,040,000
4.46 = 4.46 = 4.46 = 164.4766731
Fb 0.6Fy 0.6 × 2500
d E
< 3.76
tw Fy
แสดงวาหนาตัด เปนหนาตัดแบบคอมแพค
ตรวจสอบระยะค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด ซึ่งคานที่ออกแบบนี้มคี ้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดที่ปลาย
ทั้งสองขาง ระยะหางของค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด
L = 3.00 m = 300 cm
E 2,040,000
L c ≤ 0.444b f = 0.444 × 15.0 = 190.2476533 cm
Fy 2500
0.69EA f 0.69 × 2,040,000 × (15.0 × 0.9)
Lc ≤ = = 253.368 cm
dFy 30.0 × 2500
L c = 190.2476533 cm
L > Lc
L
คานนี้เปนกรณีที่ค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดไมพอเพียง การหาคา Fb จะพิจารณาจาก
rT
rT = รัศมีไจเรชันรอบแกนในระนาบของเหล็กแผนตั้งของหนาตัดที่ประกอบดวยปกรับแรงอัก
กับ 1 ใน 6 ของหนาตัดแผนตั้ง
Iy / 2 3I y 3I y
rT = = =
Af + A w / 6 6A f + A w 6b f t f + (d − 2t f )t w
3 × 508
rT = = 3.916988223 cm
6 × 15.0 × 0.9 + (30.0 − 2 × 0.9) × 0.65
L 300
= = 76.58945673
rT 3.916988223
EC b 2,040,000 × 1.0
3.517 = 3.517 × = 53.57118629
Fy 2500
EC b 2,040,000 × 1.0
17.586 = 17.586 × = 119.7922201
Fy 2500
EC b L EC b
3.517 < < 17.586
Fy rT Fy
185 คานเหล็กรูปพรรณ

คา C b = 1.0 เนื่องจากเปนคานชวงเดียว มีค้ํายันทางขางที่ปกรับแรงอัดที่ปลายซึ่งโมเมนตดัดเปน 0 แตกลาง


L
ชวงมีโมเมนตดัดมากกวา และจากผลการพิจารณาคา จะตองหาคามากระหวาง
rT
⎡2 Fy ⎛L⎞ ⎤
2

Fb = ⎢ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy ≤ 0.6Fy
⎢⎣ 3 52.759EC b ⎝ rT ⎠ ⎥⎦
0.414EC b A f
Fb = ≤ 0.6Fy
Ld
ดังนั้น 0.6Fy = 0.6 × 2500 = 1500 ksc
⎡2 2500 ⎤
Fb = ⎢ − × 76.589456732 ⎥ × 2500
⎣ 3 52.759 × 2,040,000 × 1.0 ⎦
Fb = 1326.030095 ksc
0.414 × 2,040,000 × 1.0 × (15.0 × 0.9)
Fb =
300 × 30.0
Fb = 1266.84 ksc
เลือกคามากระหวาง 1326.030095 ksc กับ 1266.84 ksc
Fb = 1326.030095 ksc
โมเมนตดัดทีห่ นาตัดรับได
M = FbSx = 1326.030095 × 481 = 637,820.4757 kg.cm
M = 6,378.2 kg.m > 6,118.75 kg.m
หนาตัดทีเ่ ลือกมานี้สามารถรับโมเมนตดัดไดโดยปลอดภัย
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบการรับแรงเฉือน
แรงเฉือนที่กระทําสูงสุดที่จดุ รองรับ
wL 550 × 3.00
V= +W= + 5500 = 6325 kg
2 2
h d − 2 t f − 2r 300 − 2 × 9 − 2 × 13 256
= = = = 39.38461538
tw tw 6.5 6.5
5E 5 × 2,040,000
= = 63.87487769
Fy 2500
h 5E
<
tw Fy
นั่นคือหนวยแรงเฉือนที่ยอมให
Fv = 0.4Fy = 0.4 × 2500 = 1000 ksc
V = dt w Fv = 30.0 × 0.65 × 1000 = 19,500 kg > 6325 kg
หนาตัดนี้รับแรงเฉือนไดอยางปลอดภัย
186 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบเหล็กแผนตั้งเมื่อรับน้ําหนักแบบจุด
ถาใชแผนรองที่จุดรองรับและที่รับน้ําหนักแบบจุดยาว N = 150 mm = 15 cm ที่จุดรองรับมีแรง
กระทํา 6325 kg ขณะที่ตรงจุดแรงกระทําเปนจุดมีแรงกระทํา 5500 kg ขณะที่เนื้อที่เหล็กในการรับแรงตรง
จุดรองรับนอยกวาที่กระทําเปนจุด การวิบัติจะเกิดที่จดุ รองรับกอนที่รับแรงเปนจุด พิจารณาที่จุดรองรับ
เทานั้น
(ก) เพื่อไมใหเกิดการครากที่เหล็กแผนตั้ง
R
≤ 0.66Fy
(2.5k + N )t w
6325
≤ 0.66 × 2500
(2.5(0.9 + 1.3) + 15) × 0.65
6325
≤ 1650
13.325
474.6716698 ≤ 1650
แสดงวาไมเกิดการครากที่เหล็กแผนตั้งตรงจุดรองรับ
(ข) เพื่อไมใหเกิดการยูที่เหล็กแผนตัง้
⎡ ⎛ N ⎞⎛ t w ⎞ ⎤ EFy t f
1.5

R = 0.2 t ⎢1 + 3⎜ ⎟⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
2
w
⎢⎣ ⎝ d ⎠⎝ t f ⎠ ⎥⎦ tw

⎡ 15 ⎛ 0.65 ⎞ ⎤ 2,040,000 × 2500 × 0.9


1.5

R = 0.2 × 0.65 ⎢1 + 3 × × ⎜
2
⎟ ⎥
⎣⎢ 30 ⎝ 0.9 ⎠ ⎦⎥ 0.65
R = 13,638.16778 kg > 6325 kg
แสดงวาไมเกิดการยูที่เหล็กแผนตั้ง
(ค) เพื่อไมใหเหล็กแผนตัง้ เซออกทางขาง
d c b f (d − 2t f − 2r )b f (30.0 − 2 × 0.9 − 2 × 1.3) × 15.0
= = = 1.969230769 > 1.7
t wl t wl 0.65 × 300
d cbf
< 2.3
t wl
แตที่ปลายคานมีการเสริมค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดอยูแลวตามทีก่ ําหนดไว จึงไมมีการเซออกทางขาง
ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบการโกงตัว ไดตรวจสอบไวแลว คา I x = 7210 cm 4 > 2868 cm 4

ออกแบบตามวิธี AISC/LRFD

ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักและโมเมนตดดั ทีก่ ระทํา


น้ําหนักบรรทุกเพิ่มคา น้ําหนักแผกระจาย
w u = 1.2DL + 1.6LL = 1.2 × 275 + 1.6 × 275 = 770 kg / m
187 คานเหล็กรูปพรรณ

น้ําหนักบรรทุกเพิ่มคา น้ําหนักกระทําเปนจุด
Wu = 1.2DL + 1.6LL = 1.2 × 2750 + 1.6 × 2750 = 7700 kg
โมเมนตดัดจากน้ําหนักบรรทุกเพิ่มคา
w u L2 WL 770 × 3.00 2 7700 × 3.00
Mu = + = + = 8566.25 kg.m
8 3 8 3
M u = 856,625 kg.cm
ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของหนาตัด
ประมาณหนวยแรงดัดประลัยที่ยอมให 0.8Fy = 0.8 × 2500 = 2000 ksc
โมดูลัสพลาสติกของหนาตัด
Mu 856,625
Zx ≈ = = 428.3125 cm3
0.8Fy 2000
เปดตารางที่ 1 ภาคผนวก ข เลือกหนาตัดที่มี I x ≥ 2868 cm 4 , Z x ≥ 428.3 cm3 คือ W 200 × 49.9 และ
W300 × 36.7 ในการเลือกควรจะเลือกหนาตัดที่เบากวาเพื่อความประหยัด จึงเลือก W300 × 36.7
W300 × 36.7, d = 300 mm, b f = 150 mm, t w = 6.5 mm, t f = 9 mm, r = 13 mm, A = 46.78 cm 2 ,
w = 36.7 kg / m, I x = 7210 cm 4 , I y = 508 cm 4 , rx = 12.4 cm, ry = 3.29 cm, Sx = 481 cm3 ,
Sy = 67.7 cm3 , Z x = 522.08 cm3
ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบกําลังรับโมเมนตดัด
แผนปกคาน
bf 150
= = 8.333333333
2t f 2 × 9
E 2,040,000
0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
E 2,040,000
0.83 = 0.83 = 27.94196366
Fy − Fr 2500 − 700
bf E
< 0.38
2t f Fy
แผนตั้ง
h d − 2 t f − 2r 300 − 2 × 9 − 2 × 13 256
= = = = 39.38461538
tw tw 6.5 6.5
E 2,040,000
3.76 = 3.76 = 107.4070836
Fy 2500
E 2,040,000
5.70 = 5.70 = 162.8245682
Fy 2500
h E
< 3.76
tw Fy
188 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

หนาตัดเปนแบบคอมแพค
E 2,040,000
G= = = 784,615.3846 ksc
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3)
1
( 1
) ( )
J = 2b f t 3f + dt 3w = × 2 × 15.0 × 0.93 + 30.0 × 0.653 = 10.03625 cm 4
3 3
508 × 30.0 2
2
I d
Cw = y = = 114,300 cm 6
4 4
π EGJA π 2,040,000 × 784,615.3846 × 10.03625 × 46.76
X1 = =
Sx 2 481 2
X1 = 126,577.4315 ksc
2
4 × 114,300 ⎛
2
4C w ⎛ S x ⎞ 481 ⎞
X2 = ⎜ ⎟ = ×⎜ ⎟
I y ⎝ GJ ⎠ 508 ⎝ 784,615.3846 × 10.03625 ⎠
X 2 = 0.000003357 (ksc )
−2

E 2,040,000
L p = 1.76ry = 1.76 × 3.29 = 165.4069087 cm
Fy 2500

1 + 1 + X 2 (Fy − Fr )
ry X1
Lr =
2

Fy − Fr
3.29 × 126,577.4315
Lr = 1 + 1 + 0.000003357(2500 − 700)
2

2500 − 700
L r = 487.8394313 cm
ระยะระหวางค้ํายันของปกรับแรงอัด L b = 3.00 m = 300 cm นั่นคือ
Lp < Lb < Lr
ดังนั้นกําลังตานทานโมเมนตดัดประลัยระบุหาไดจากสมการ
⎡ ⎛ L − L p ⎞⎤
M n = C b ⎢M p − (M p − M r ) ⎜ b ⎟ ≤ Mp
⎜ L − L ⎟⎥
⎣⎢ ⎝ r p ⎠⎦⎥
เมื่อ
M p = Z x Fy = 522.08 × 2500 = 1,305,200 kg.cm
M r = (Fy − Fr )Sx = (2500 − 700 ) × 481 = 865,800 kg.cm
C b = 1.0 เนื่องจากโมเมนตในชวงกลางมากกวาโมเมนตที่ปลายซึ่งเปนค้ํายันทางขาง
แทนคา
⎡ ⎛ 300 − 165.4069087 ⎞⎤
M n = 1.0⎢1,305,200 − (1,305,200 − 865,800 ) ⎜ ⎟⎥
⎣ ⎝ 487.8394313 − 165.4069087 ⎠⎦
M n = 1,121,781.144 kg.cm = 11,217.81144 kg.m < M p = 13,052 kg.m
กําลังรับโมเมนตดัดประลัย
φ b M n = 0.9 × 11,217.81144 = 10,096.0303 kg.m > M u = 8566.25 kg.m
189 คานเหล็กรูปพรรณ

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบกําลังรับแรงเฉือน
แรงเฉือนประลัยที่กระทํา Vu = w u L + Wu = 770 × 3.00 + 7700 = 8855 kg
2 2
h d − 2t f − 2r 300 − 2 × 9 − 2 × 13 256
= = = = 39.38461538
tw tw 6.5 6.5
5E 5 × 2,040,000
1.10 = 1.10 = 70.26236546
Fy 2500
5E 5 × 2,040,000
1.37 = 1.37 = 87.50858244
Fy 2500
h 5E
< 1.10
tw Fy
Vn = 0.6Fy A w = 0.6Fy dt w = 0.6 × 2500 × 30.0 × 0.65 = 29,250 kg
φ v Vn = 0.9 × 29,250 = 26,325 kg > 8855 kg
หนาตัดรับแรงเฉือนไดอยางปลอดภัย
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบเหล็กแผนตั้งในการรับน้ําหนักแบบจุด
สมมติใชแผนรองที่จุดรองรับและที่รับน้ําหนักเปนจุด ยาว N = 10 cm ที่จุดรองรับมีแรง 8855 kg สวน
ที่น้ําหนักเปนจุดมีแรง 7700 kg เนื้อที่รับแรงที่จุดรองรับนอยกวา จึงพิจารณาที่จดุ รองรับเทานั้น
(ก) เพื่อไมใหเหล็กแผนตัง้ เกิดการคราก
สมการที่ 4.8.8 R n = (N + 2.5k )t w Fy คา φ = 1.0
φR n = 1.0(N + 2.5k )t w Fy = 1.0(10 + 2.5(0.9 + 1.3)) × 0.65 × 2500
φR n = 25,187.5 kg > 8855 kg
(ข) เพื่อไมใหเหล็กแผนตัง้ เกิดการยู
⎡ ⎛ N ⎞⎛ t w ⎞ ⎤ EFy t f
1.5

สมการที่ 4.8.10 R n = 0.40t ⎢1 + 3⎜ ⎟⎜⎜ ⎟⎟ ⎥


2
w คา φ = 0.75
⎢⎣ ⎝ d ⎠⎝ t f ⎠ ⎥⎦ tw
⎡ ⎛ 10 ⎞⎛ 0.65 ⎞ ⎤ 2,040,000 × 2500 × 0.9
1.5

φR n = 0.75 × 0.40 × 0.65 × ⎢1 + 3⎜ ⎟⎜


2
⎟ ⎥
⎣⎢ ⎝ 30 ⎠⎝ 0.9 ⎠ ⎦⎥ 0.65
φR n = 17,188.56036 kg > 8855 kg
(ค) เพื่อไมใหเหล็กแผนตัง้ เซออกทางขาง
d c b f (30 − 2 × 0.9 − 2 × 1.3) × 15
= = 1.969230769 > 1.7
t wl 0.65 × 300
ไมตองตรวจสอบตามสมการ 4.8.12
ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบการโกงตัวของคานจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน
ไดตรวจสอบในตอนแรกกอนการออกแบบทั้งสองวิธีแลว
ใชคานขนาด W300 × 36.7 ในการรับน้ําหนัก
190 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ตัวอยางที่ 4.5 จงออกแบบคานตอเนื่องสองชวง ความยาวแตละชวง 8.00 เมตร ตามมาตรฐาน AISC/ASD/


LRFD ใหรับน้ําหนักแผเนือ่ งจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 1500 kg/m (รวมน้ําหนักคานแลว) และ
น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 1000 kg/m สมมติใหมีการค้ํายันทางขางของปกคานรับแรงอัดตลอดความ
ยาวคานโดยการหลอพื้น ค.ส.ล. อมปกคานบน และมีเหล็กเสริมขางคานบริเวณจุดรองรับกลางที่ปก
L
ลางรับแรงอัด ใหการโกงตัวสูงสุดจากน้าํ หนักบรรทุกใชงานไมเกิน ใชเหล็ก ASTM A36 มี
290
Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc, E = 2,040,000 ksc

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักและโมเมนตดดั ทีก่ ระทํา ในที่นจี้ ะใชวิธี slope-deflection กําหนดใหจดุ รองรับเปน
ชื่อ A,B, C เรียงจากซายไปขวา
w = DL + LL = 1500 + 1000 = 2500 kg / m
wL2 2500 × 82 40,000
FEM AB = − =− =− kg.m
12 12 3
wL2 2500 × 82 40,000
FEM BA = + =+ =+ kg.m
12 12 3
wL2 2500 × 82 40,000
FEM BC = − =− =− kg.m
12 12 3
wL2 2500 × 82 40,000
FEM CB = + =+ =+ kg.m
12 12 3
191 คานเหล็กรูปพรรณ

เขียนสมการ slope-deflection
M NF =
2EI
(2θ N + θF − 3φ NF ) + FEM NF
L
M AB =
2EI
(2θA + θB − 3 × 0) − 40,000 = EIθA + EIθB − 40,000
8 3 2 4 3
M BA =
2EI
(2θB + θA − 3 × 0) + 40,000 = EIθA + EIθB + 40,000
8 3 4 2 3
M BC =
2EI
(2θB + θC − 3 × 0) − 40,000 = EIθB + EIθC − 40,000
8 3 2 4 3
M CB =
2EI
(2θC + θB − 3 × 0) + 40,000 = EIθB + EIθC + 40,000
8 3 4 2 3
พิจารณาเงื่อนไขที่จุดตอ
จุด A เงื่อนไข M AB = 0
EIθ A EIθ B 40,000
+ − =0
2 4 3
6EIθA + 3EIθB − 160,000 = 0
6EIθ A + 3EIθ B = 160,000 (1)
จุด B เงื่อนไข M BA + M BC = 0
EIθ A EIθ B 40,000 EIθB EIθC 40,000
+ + + + − =0
4 2 3 2 4 3
EIθ A EIθ B EIθ B EIθC
+ + + =0
4 2 2 4
EIθ A EIθC
+ EIθ B + =0
4 4
EIθ A + 4EIθ B + EIθC = 0 (2)
จุด C เงื่อนไข M CB = 0
EIθ B EIθC 40,000
+ + =0
4 2 3
3EIθ B + 6EIθC + 160,000 = 0
3EIθ B + 6EIθC = −160,000 (3)
สรุปสมการทั้งสามสมการ
6EIθA + 3EIθ B + 0EIθC = 160,000 (1)
1EIθ A + 4EIθ B + 1EIθC = 0 (2)
0EIθ A + 3EIθ B + 6EIθC = −160,000 (3)
192 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แกสมการโดยใช determinant
160,000 3 0
0 4 1 (160,000)(4)(6) + (3)(1)(− 160,000) + (0)(0)(3)
− 160,000 3 6 − (− 160,000 )(4 )(0 ) − (0)(3)(6) − (160,000 )(3)(1)
EIθA = =
6 3 0 (6)(4)(6) + (3)(1)(0) + (0)(1)(3)
1 4 1 − (0 )(4 )(0 ) − (1)(3)(6 ) − (6 )(3)(1)
0 3 6
3,840,000 − 480,000 + 0 − 0 − 0 − 480,000 2,880,000 80,000
EIθA = = =
144 + 0 + 0 − 0 − 18 − 18 108 3
6 160,000 0
1 0 1 (6 )(0 )(6 ) + (160,000 )(1)(0 ) + (0 )(1)(− 160,000 )
0 − 160,000 6 − (0 )(0 )(0 ) − (1)(160,000 )(6 ) − (− 160,000 )(1)(6 )
EIθ B = =
6 3 0 (6)(4)(6) + (3)(1)(0) + (0)(1)(3)
1 4 1 − (0 )(4 )(0 ) − (1)(3)(6 ) − (6 )(3)(1)
0 3 6
0 + 0 + 0 − 0 − 960,000 + 960,000 0
EIθ B = = =0
144 + 0 + 0 − 0 − 18 − 18 108
6 3 160,000
1 4 0 (6)(4)(− 160,000) + (3)(0)(0) + (160,000)(1)(3)
0 3 − 160,000 − (0 )(4 )(160,000 ) − (6 )(3)(0 ) − (1)(3)(− 160,000 )
EIθC = =
6 3 0 (6)(4)(6) + (3)(1)(0) + (0)(1)(3)
1 4 1 − (0 )(4 )(0 ) − (1)(3)(6 ) − (6 )(3)(1)
0 3 6
− 3,840,000 + 0 + 480,000 − 0 − 0 + 480,000 2,880,000 80,000
EIθC = =− =−
144 + 0 + 0 − 0 − 18 − 18 108 3
แทนคากลับ
EIθ A EIθ B 40,000 80,000 40,000
M AB = + − = +0− =0
2 4 3 3× 2 3
EIθ A EIθ B 40,000 80,000 0 40,000 60,000
M BA = + + = + + = = 20,000 kg.m
4 2 2 3× 4 2 3 3
EIθ B EIθC 40,000 0 80,000 40,000 60,000
M BC = + − = − − =− = −20,000 kg.m
2 4 3 2 3× 4 3 3
EIθ B EIθC 40,000 0 80,000 40,000
M CB = + + = − + =0
4 2 3 4 2×3 3
wL M BA 2500 × 8 20,000
VA = − = − = 7500 kg
2 2 2 8
wL M BA 2500 × 8 20,000
VBA = − − =− − = −12,500 kg
2 L 2 8
wL M BC 2500 × 8 − 20,000
VBC = + = + = 12,500 kg
2 L 2 8
193 คานเหล็กรูปพรรณ

wL M BC 2500 × 8 − 20,000
VCB = − + =− + = −7500 kg
2 L 2 8
+ V2 7500 2
M max =0+ = = 11,250 kg.m
2w 2 × 2500
เขียนกราฟแรงเฉือนและโมเมนตดัด ไดดังรูป
ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของหนาตัด
ในการออกแบบคานตอเนื่อง มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD ใหออกแบบสวนของโครงสรางที่รับ
โมเมนตลบสูงสุดลดคาลง 10% และที่รับโมเมนตบวกสูงสุดที่เพิ่มคา 10% ของคาเฉลี่ยของโมเมนตลบ
พิจารณาโมเมนตลบที่ลดคาลง 10% (เหลือ 90 % หรือ 0.9)
M = 0.9 × 20,000 = 18,000 kg.m
พิจารณาโมเมนตบวกทีเ่ พิ่มคาอีก 10% ของคาเฉลี่ยโมเมนตลบ
0 + 20,000
M = 11,250 + 0.10 × = 12,250 kg.m
2
นั่นคือ โมเมนตที่ใชในการออกแบบเปนคาที่มากกวา
M = 18,000 kg.m
เนื่องจากมีการค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดตลอดความยาวของคาน จึงพอเพียง และหากจะ
ออกแบบหนาตัดใหเปนแบบคอมแพคซึ่งหนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนหลักคือ Fb = 0.66Fy ดังนั้น
โมดูลัสหนาตัดรอบแกนหลักอยางนอยตองเปน
M 18,000 × 100
Sx ≥ = = 1090.91 cm3
Fb 0.66 × 2500
เปดตารางที่ 1 ภาคผนวก ข เลือกหนาตัด W 400 × 66 มีสมบัติหนาตัดดังนี้
W 400 × 66, d = 400 mm, b f = 200 mm, t w = 8 mm, t f = 13 mm, r = 16 mm, A = 84.128
cm 2 , w = 66.0 kg / m, I x = 23,708 cm 4 , I y = 1,736.4 cm 4 , rx = 16.787 cm, ry = 4.5431 cm,
Sx = 1185.4 cm 3 , Sx = 173.64 cm3 , Z x = 1326.4 cm3 , Z y = 267.66 cm3
ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบชนิดของหนาตัดและกําลังรับโมเมนตดัด
ปกคาน
bf 200
= = 7.692307692
2t f 2 × 13
E 2,040,000
0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2,500
E 2,040,000
0.56 = 0.56 = 15.99679968
Fy 2,500
bf E
< 0.38
2t f Fy
194 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แผนตั้ง
d 400
= = 50
tw 8
E 2,040,000
3.76 = 3.76 = 107.4070836
Fy 2,500
E 2,040,000
4.46 = 4.46 = 164.4766731
Fb 0.6 × 2,500
d E
< 3.76
tw Fy
หนาตัด W 400 × 66 เปนหนาตัดชนิดคอมแพคดังทีค่ าดการณเอาไวแลว ค้ํายันตลอดความยาวของปกรับ
แรงอัดจึงพอเพียง ดังนั้นกําลังรับโมเมนตดัดคือ
M = 0.66FySx = 0.66 × 2500 × 1185.4 = 1,955,910 kg.cm
M = 19,559.1 kg.m > 18,000 kg.m
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบกําลังรับแรงเฉือน
แรงเฉือนที่เกิดขึ้นสูงสุด V = 11,250 kg
h d − 2t f − 2r 400 − 2 × 13 − 2 × 16
= = = 42.75
tw tw 8
5E 5 × 2,040,000
= = 63.87487769
Fy 2,500
h 5E
<
tw Fy
ดังนั้นกําลังรับแรงเฉือนของหนาตัดคือ
V = 0.4Fy A w = 0.4Fy dt w = 0.4 × 2,500 × 40 × 0.8 = 32,000 kg > 11,250 kg
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการโกงตัว
คานชวงยาว L รับน้ําหนักบรรทุกแผ w ปลายขางหนึ่งมีโมเมนตลบ M จะเกิดการโกงตัวสูงสุด
5 wL4 ML2
Δ= −
384 EI 16EI
เมื่อ L = 8.00 m = 800 cm
w = 2.5 T / m = 2,500 kg / 100 cm = 25 kg / cm
M = 20,000 kg.m = 2,000,000 kg.cm
E = 2,040,000 kg / cm 2
I = 23,708 cm 4
ดังนั้น
5 25 × 800 4 2,000,000 × 800 2
Δ= × −
384 2,040,000 × 23,708 16 × 2,040,000 × 23,708
195 คานเหล็กรูปพรรณ

Δ = 2.756853262 − 1.64111957 = 1.102741305 cm


L 800
= = 2.75862069 cm
290 290
L
Δ<
290
ดังนั้นใชคานเหล็ก W 400 × 66

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักและโมเมนตดดั ทีก่ ระทํา
น้ําหนักแผเพิม่ คา w u = 1.2D + 1.6L = 1.2 × 1500 + 1.6 × 1000 = 3,400 kg.m
หาโมเมนตดดั ที่ปลายคานตรงจุดรองรับตัวกลางโดยวิธกี ระจายโมเมนต
3 I 3 I 3I
K AB = = × =
4 L 4 8 32
3 I 3 I 3I
K BC = = × =
4 L 4 8 32
K AB
DFAB = = 1.0
0 + K AB
K AB
DFBA = = 0.5
K AB + K BC
K BC
DFBC = = 0.5
K AB + K BC
K BC
DFCB = = 1.0
K BC + 0
wL2 3400 × 8.00 2 54,400
FEM AB =− =− =− kg.m = FEM BC
12 12 3
wL2 3400 × 8.00 2 54,400
FEM BA =+ =+ =+ kg.m = FEM CB
12 12 3
ทําการกระจายโมเมนต
ที่ปลาย A ใสโมเมนต M = + 54,400 ใหสมดุล แลว Carry over ไปที่ปลาย B ได + 54,400 = + 27,200
3 2×3 3
ที่ปลาย C ใสโมเมนต M = − 54,400 ใหสมดุลแลว Carry over ไปที่ปลาย B ได − 54,400 = − 27,200
3 2×3 3
ที่ปลาย B มีโมเมนตรวม + 54,400 − 54,400 + 27,200 − 27,200 = 0 สมดุลพอดี หยุดการกระจาย
3 3 3 3
โมเมนต รวมผลไดดังนี้
M AB = M CB = 0
54,400 27,200
M BA = + + = 27,200 kg.m ตามเข็มนาฬิกา
3 3
54,400 27,200
M BC = − − = 27,200 kg.m ทวนเข็มนาฬิกา
3 3
196 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

MB ทําใหคานโกงแบบกระทะคว่ําจึงเปนโมเมนตลบ
wL M B 3400 × 8.00 27,200
VAB = − = − = 10,200 kg
2 L 2 8.00
wL M B 3400 × 8.00 27,200
VBA = − − =− − = −17,000 kg
2 L 2 8.00
wL M B 3400 × 8.00 27,200
VBC = + = + = 17,000 kg
2 L 2 8.00
wL M B 3400 × 8.00 27,200
VCB = − + =− + = −10,200 kg
2 L 2 8.00
V2 10,200 2
M u+ = 0 + AB = 0 + = 15,300 kg.m
2w 2 × 3400
ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของหนาตัด
การออกแบบคานตอเนื่อง มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD อนุญาตใหออกแบบคานรับโมเมนตลบที่ลด
คาลง 10% หรือโมเมนตบวกที่เพิ่ม 10% ของคาเฉลี่ยของโมเมนตลบ
โมเมนตลบ M u = 0.90 × 27,200 = 24,480 kg.m = 2,448,000 kg.cm
0 + 27,200
โมเมนตบวก M u = 15,300 + 0.10 × = 16,660 kg.m = 1,666,000 kg.cm
2
เลือกคามากมาใชออกแบบคือ M u = 24,480 kg.m = 2,448,000 kg.cm
เนื่องจากมีค้ํายันปกรับแรงอัดตลอดความยาว ค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดจึงพอเพียงแนนอน
สมมติใหหนาตัดที่จะใชเปนแบบคอมแพค
M u ≤ φb M n = φ b Fy Z x
Mu 2,448,000
Zx ≥ = = 1,088 cm3
φ b Fy 0.9 × 2500
เปดตารางที่ 1 ภาคผนวก ข เลือกหนาตัดทีม่ ี Z x > 1,088 cm3 พบ W 400 × 66.0 มี
W 400 × 66.0, d = 400 mm, b f = 200 mm, t w = 8 mm, t f = 13 mm, r = 16 mm,
A = 84.128 cm 2 , I x = 23,708 cm 4 , I y = 1,736.4 cm 4 , Sx = 1,185.4 cm3 , Sy = 173.64 cm3 ,
rx = 16.787 cm, ry = 4.5431 cm, Z x = 1,326.4 cm3 , Z y = 267.66 cm3 , J = 42.2 cm 4 ,
Z t = 21.2 cm3 , C w = 643,000 cm 6
(คาที่แสดงไดจากการหาสมบัติหนาตัดดวยโปรแกรม PROKON)
ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบชนิดหนาตัด และกําลังรับโมเมนตดัด ดูตารางที่ 4.3
ปกคาน
bf 200
λ= = = 7.692307692
2 t f 2 × 13
E 2,040,000
λ p = 0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
197 คานเหล็กรูปพรรณ

E 2,040,000
λ r = 0.83 = 0.83 = 27.94196366
Fy − Fr 2500 − 700
λ < λp ⇒ compact section
แผนตั้ง
h d − 2t f − 2r 400 − 2 × 13 − 2 × 16
λ= = = = 42.75
tw tw 8
E 2,040,000
λ p = 3.76 = 3.76 = 107.4070836
Fy 2500
E 2,040,000
λ r = 5.70 = 5.70 = 162.8245682
Fy 2500
compact section
λ < λp ⇒
หนาตัดเปนชนิดคอมแพคดังที่สมมติเอาไว
φ b M n = φ b Fy Z x = 0.9 × 2500 × 1,326.4 = 2,984,400 kg.cm
φ b M n = 29,844 kg.m > M u = 24,480 kg.m
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบการรับแรงเฉือนประลัย
แรงเฉือนประลัยสูงสุด Vu = 17,000 kg
ตองตรวจสอบให Vu ≤ φ v Vn = 0.9Vn
h d − 2t f − 2r 400 − 2 × 13 − 2 × 16
= = = 42.75
tw tw 8
5E 5 × 2,040,000
1.10 = 1.10 = 70.26236546
Fy 2500
5E 5 × 2,040,000
1.37 = 1.37 = 87.50858244
Fy 2500

ถา h
≤ 1.10
5E
แลว Vn = 0.6Fy A w = 0.6Fy (dt w )
tw Fy
5E
1.10
5E h 5E Fy
ถา 1.10 < ≤ 1.37 แลว Vn = 0.6Fy A w
Fy t w Fy ⎛h ⎞
⎜⎜ ⎟⎟
⎝ tw ⎠
5E h 4.55E
ถา 1.37 < ≤ 260 แลว Vn = A w 2
Fy t w ⎛ h ⎞
⎜⎜ ⎟⎟
⎝ tw ⎠
h
ถา > 260 แลว Vn = 0
tw
198 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

h 5E
กรณีนี้คือ ≤ 1.10 ดังนั้น
tw Fy
Vn = 0.6Fy A w = 0.6Fy (dt w ) = 0.6 × 2500 × (40.0 × 0.8)
Vn = 48,000 kg
φ v Vn = 0.9 × 48,000 = 43,200 kg >> Vu = 17,000 kg OK
5 wL4
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการโกงตัวจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน น้ําหนักบรรทุกแผทําใหคานโกงลง
384 EI
ML2
สวนโมเมนตลบที่ปลายขางหนึ่งทําใหคานโกงขึ้น
16EI
โดยที่ w = 2500 kg / m = 25 kg / cm
L = 8.00 m = 800 cm
M = 20,000 kg.m = 2,000,000 kg.cm
E = 2,040,000 kg / cm 2
I = 23,708 cm 4
แทนคา
5 wL4 ML2
Δ= −
384 EI 16EI
5 25 × 800 4 2,000,000 × 800 2
Δ= × −
384 2,040,000 × 23,708 16 × 2,040,000 × 23,708
Δ = 2.756853262 − 1.654111957
Δ = 1.102741305 cm
L 800
= = 2.75862069 cm
290 290
L
Δ< OK
290
ดังนั้นใชคานหนาตัด W 400 × 66.0 สามารถรับน้ําหนักไดอยางปลอดภัย

ตัวอยางที่ 4.6 จงออกแบบคานตอเนื่องในตัวอยางที่ 4.5 ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD โดยมีค้ํายันทาง


ขางของปกรับแรงอัดทุกๆ ระยะ 4.00 เมตร
วิธีทํา
ออกแบบตามวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักกระทํา และโมเมนตดัดกระทําที่จุดตางๆ
น้ําหนักแผกระทํา w = D + L = 1500 + 1000 = 2500 kg / m
คานตอเนื่องสองชวงที่มีชวงยาวเทากันคือ L = 8.00 m ที่จุดรองรับริมมีโมเมนตเปน 0 แตที่จดุ รองรับกลาง
wL2
จะมีโมเมนตลบ โดยมีขนาด M= เหมือนกับโมเมนตบวกสูงสุดในคานชวงเดียว
8
199 คานเหล็กรูปพรรณ

wL2 2500 × 8.00 2


MB = − =− = −20,000 kg.m
8 8
wL M B 2500 × 8.00 − 20,000
VA = + = + = 7,500 kg
2 L 2 8.00
VBL = VA − wL = 7,500 − 2500 × 8.00 = −12,500 kg
MA = 0
+ VA2 7,500 2
M max = = = 11,250 kg.m
2 w 2 × 2500
ที่จุดกึ่งกลางชวงมีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด หาแรงเฉือนและโมเมนตดัด
Vmid = VA − wx = 7,500 − 2500 × 4.00 = −2500 kg
+
M mid = M max −
2
Vmid
= 11,250 −
(− 2500) = 10,000 kg.m
2

2w 2 × 250

ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของหนาตัด
เนื่องจากมีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดหางกัน 4 เมตร ซึ่งนาจะไมพอเพียง หนวยแรงดัดสูงสุดกรณี
ที่ค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดไมพอเพียงสูงสุดที่ 0.6Fy = 0.6 × 2500 = 1500 ksc
M 20,000 × 100
ดังนั้นโมดูลัสหนาตัดอยางนอย Sx ≥ = = 1333 cm3
Fb 1500
เปดตารางที่ 1 ภาคผนวก ข เลือกหนาตัดทีม่ ี Sx > 1333 cm3 ขึ้นไป คือตั้งแต W 300 × 94.0 ลองเลือกมา
สองขนาดคือ
W300 × 94.0, d = 300 mm, b f = 300 mm, t w = 10 mm, t f = 15 mm, r = 18 mm,
A = 119.79 cm 2 , w = 94.0 kg / m, I x = 20,412 cm 4 , I y = 6,754.9 cm 4 , rx = 13.054 cm,
ry = 7.5091 cm, Sx = 1,360.8 cm3 , S y = 450.32 cm3 , Z x = 1,501.3 cm3 , Z y = 684.27 cm3 ,
J = 88.303 cm 4 , Z t = 38.938 cm3 , C w = 1,353,800 cm 6
W 450 × 76.0, d = 450 mm, b f = 200 mm, t w = 9 mm, t f = 14 mm, r = 18 mm,
A = 96.774 cm 2 , w = 76.0 kg / m, I x = 33,456 cm 4 , I y = 1,871.6 cm 4 , rx = 18.593 cm,
ry = 4.3977 cm, Sx = 1,486.9 cm3 , Sy = 187.16 cm3 , Z x = 1,679.3 cm3 , Z y = 290.93 cm3 ,
J = 56.702 cm 4 , Z t = 25.319 cm3 , C w = 878,040 cm 6
200 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบชนิดของหนาตัด และกําลังรับโมเมนตดัด


ตรวจสอบ W300 × 94.0
ปกคาน
bf 300
= = 10
2t f 2 × 15
E 2,040,000
0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
E 2,040,000
0.56 = 0.56 = 15.99679968
Fy 2500
bf E
< 0.38
2t f Fy
แผนตั้ง
d 300
= = 30
t w 10
E 2,040,000
3.76 = 3.76 = 107.4070836
Fy 2500
E 2,040,000
4.46 = 4.46 = 164.4766731
Fb 0.6 × 2500
d E
< 3.76
tw Fy
แสดงวาหนาตัดเปนชนิดคอมแพค
ระยะค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด L = 4.00 m = 400 cm ระยะที่ใชตรวจสอบระยะค้ํายันทาง
ขางของปกรับแรงอัดเลือกจากคานอยของ
E 2,040,000
L c = 0.444b f = 0.444 × 30.0 × = 380.4953067 cm
Fy 2500
0.69EA f 0.69 × 2,040,000 × (30.0 × 1.5)
Lc = = = 844.56 cm
dFy 30.0 × 2500
ดังนั้นระยะค้ํายันทางขางจะพอเพียงเมื่อไมเกิน L c = 380.4953067 cm
แต L = 400 cm > L c แสดงวาค้าํ ยันทางขางของปกรับแรงอัดไมพอเพียง
L
เมื่อค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดไมพอเพียงจะตองหาคา โดยที่
rT
Iy Iy
rT = =
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
2⎜ b f t f + (d − 2t f )t w ⎟
1 1
2⎜ A f + A w ⎟
⎝ 6 ⎠ ⎝ 6 ⎠
201 คานเหล็กรูปพรรณ

6754.9
rT = = 8.260224763 cm > 0.26b f
⎛ ⎞
2⎜ 30.0 × 1.5 + × (30.0 − 2 × 1.5) × 1.0 ⎟
1
⎝ 6 ⎠
L 400
= = 48.42483243
rT 8.260224763
การพิจารณาหาหนวยแรงดัดที่ยอมใหจะตองแบงการพิจารณาเปนสองชวง ชวงแรกจากปลายซายถึง
กลางคานที่มีการยึดปกรับแรงอัด กับกลางคานถึงฐานรองรับกลาง เนื่องจากสัมประสิทธิ์ C b ตางกัน
ชวงที่ 1 คา C b = 1.0 เนื่องจากโมเมนตสูงสุดอยูระหวางปลายสองขางของชวง
EC b 2,040,000 × 1.0
3.517 = 3.517 × = 53.57118629
Fy 2500
EC b 2,040,000 × 1.0
17.586 = 17.586 × = 119.7922201
Fy 2500
L EC b
< 3.517
rT Fy
หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนหลัก Fb = 0.60Fy = 0.60 × 2500 = 1500 ksc
กําลังรับโมเมนตดัด
M = FbSx = 1500 × 1360.8 = 2,041,200 kg.cm = 20,412 kg.m > 11,250 kg.m
2
⎛M ⎞ ⎛M ⎞
ชวงที่ 2 คา C b = 1.75 + 1.05⎜⎜ 1 ⎟⎟ + 0.3⎜⎜ 1 ⎟⎟ ≤ 2.3
⎝ M2 ⎠ ⎝ M2 ⎠
ที่กลางคานเปนโมเมนตบวก M1 = 10,000 kg.m ตามเข็มนาฬิกา ที่จดุ รองรับกลางมี M 2 = 20,000 kg.m
M1 10,000 1
ตามเข็มนาฬิกา จึงเกิดการดัดสองทาง อัตราสวน = = จึงเปนบวก
M 2 20,000 2
2
1 ⎛1⎞
C b = 1.75 + 1.05 × + 0.3 × ⎜ ⎟ = 2.35 > 2.3
2 ⎝2⎠
C b = 2.3
EC b 2,040,000 × 2.3
3.517 = 3.517 × = 81.2447266
Fy 2500
EC b 2,040,000 × 2.3
17.586 = 17.586 × = 181.6738969
Fy 2500
L EC b
< 3.517
rT Fy
หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนหลัก Fb = 0.60Fy = 0.60 × 2500 = 1500 ksc
กําลังรับโมเมนตดัด
M = FbSx = 1500 × 1360.8 = 2,041,200 kg.cm = 20,412 kg.m > 20,000 kg.m
202 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักและโมเมนตดดั กระทํา
น้ําหนักแผที่กระทําเพิ่มคา w u = 1.2D + 1.6L = 1.2 × 1500 + 1.6 × 1000 = 3400 kg / m
คานตอเนื่องสองชวง ความยาวชวงเทากัน ที่จุดรองรับซายและขวาโมเมนตเปน 0 แตที่จุดรองรับ
w u L2 3400 × 8.00 2
ตัวกลางโมเมนตในคานเปนลบ มีขนาด = = 27,200 kg.m
8 8
w L M 3400 × 8.00 − 27,200
VA = u + B = + = 10,200 kg
2 L 2 8.00
VB = VA − w u L = 10,200 − 3400 × 8.00 = −17,000 kg
L 8.00
Vmid = VA − w u = 10,200 − 3400 × = −3400 kg
2 2
V2 10,200 2
M +max =0+ A = = 15,300 kg.m
2w u 2 × 3400

M mid = M +max −
2
Vmid
= 15,300 −
(− 3400) = 13,600 kg.m
2

2w u 2 × 3400
ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดหนาตัด
เนื่องจากมีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดทุกระยะ 4.00 เมตร สมมติวาหนาตัดเปนแบบคอมแพคและ
ค้ํายันพอเพียง
M n = M p = Z x Fy ≤ 1.5M y
M u ≤ φ b M n = 0.9 Z x Fy
Mu 27,200 × 100
Zx ≥ = = 1208.888889 cm3
0.9Fy 0.9 × 2500
เลือกหนาตัดทีม่ ี Z x > 1209 cm3 ขึ้นไป คือขนาด W 400 × 66.0 มีสมบัติดังนี้
W 400 × 66.0, d = 400 mm, b f = 200 mm, t w = 8 mm, t f = 13 mm, r = 16 mm,
A = 84.128 cm 2 , w = 66.0 kg / m, I x = 23,708 cm 4 , I y = 1,736.4 cm 4 , rx = 16.787 cm,
ry = 4.5431 cm, Sx = 1,185.4 cm3 , S y = 292.08 cm3 , Z x = 1,326.4 cm3 , Z y = 267.66 cm3 ,
J = 42.203 cm 4 , Z t = 21.212 cm3 , C w = 643,230 cm 6
ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบชนิดหนาตัด และกําลังรับโมเมนตดัด
ปกคาน
bf 200
λ= = = 7.692307692
2 t f 2 × 13
E 2,040,000
λ p = 0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
E 2,040,000
λ r = 0.83 = 0.83 = 27.94196366
Fy − Fr 2500 − 700
λ < λp
203 คานเหล็กรูปพรรณ

แผนตั้ง
h d − 2 t f − 2r 400 − 2 × 13 − 2 × 16
λ= = = = 42.75
tw tw 8
E 2,040,000
λ p = 3.76 = 3.76 = 107.4070836
Fy 2500
E 2,040,000
λ r = 5.70 = 5.70 = 162.8245682
Fy 2500
λ < λp
หนาตัด W 400 × 66.0 เปนชนิดคอมแพค
หาระยะ L p , L r
E 2,040,000
L p = 1.76ry = 1.76 × 4.5431 × = 228.4073334 cm
Fy 2500

1 + 1 + X 2 (Fy − Fr )
ry X1
Lr =
(Fy − Fr )
E 2,040,000
G= = = 784,615.3846
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3)
π EGJA π 2,040,000 × 784,615.3846 × 42.203 × 84.128
X1 = =
Sx 2 1,185.4 2
X1 = 141,271.771
2 2
C ⎛ Sx ⎞ 643,230 ⎛ 1,185.4 ⎞
X2 = 4 w ⎜ ⎟ = 4× ×⎜ ⎟
Iy ⎝ GJ ⎠ 1,736.4 ⎝ 784,615.3846 × 42.203 ⎠
X 2 = 1.89891736 × 10 −6
Fy − Fr = 2500 − 700 = 1800
4.5431 × 141,271.771
Lr = 1 + 1 + 1.89891736 × 10 −6 × 1800
1800
L r = 504.4701763 cm
L b = 4.00 m = 400 cm
Lp < Lb < Lr
หากําลังตานทานโมเมนตดดั ดังนี้
ชวงที่ 1 C b = 1.0 เนื่องจากโมเมนตสูงสุดอยูระหวางปลายของชวง
⎡ ⎛ L − L p ⎞⎤
M n = C b ⎢M p − (M p − M r )⎜ b ⎟ ≤ Mp
⎜ L − L ⎟⎥
⎢⎣ ⎝ r p ⎠⎥⎦
204 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เมื่อ C b = 1.0
M p = Z x Fy = 1326.4 × 2500 = 3,316,000 kg.cm = 33,160 kg.m
M r = (Fy − Fr )Sx = (2500 − 700) × 1185.4 = 2,133,720 kg.cm = 21,337.2 kg.m
L b − L p = 400 − 228.4073334 = 171.5926666
L r − L p = 504.4701763 − 228.4073334 = 276.0628429
แทนคาได
⎡ 171.5926666 ⎤
M n = 1.0 × ⎢33,160 − (33,160 − 21,337.2) ×
⎣ 276.0628429 ⎥⎦
M n = 25,811.28998 kg.m < M p = 33,160 kg.m
φ b M n = 0.9 × 25,811.28998 = 23,230.16099 kg.m > 15,300 kg.m
ชวงที่ 2 มี M1 = 13,600 kg.m ตามเข็มนาฬิกา และ M 2 = 27,200 kg.m ตามเข็มนาฬิกา โกงสอง
M1 13,600 1
ทาง ดังนั้นอัตราสวน = = เปนบวก
M 2 27,200 2
2
⎛M ⎞ ⎛M ⎞
C b = 1.75 + 1.05⎜⎜ 1 ⎟⎟ + 0.3⎜⎜ 1 ⎟⎟ ≤ 2.3
⎝ M2 ⎠ ⎝ M2 ⎠
2
1 ⎛1⎞
C b = 1.75 + 1.05 × + 0.3 × ⎜ ⎟ = 2.35 > 2.3
2 ⎝2⎠
C b = 2.3
⎡ ⎛ L − L p ⎞⎤
M n = C b ⎢M p − (M p − M r )⎜ b ⎟ ≤ Mp
⎜ L − L ⎟⎥
⎢⎣ ⎝ r p ⎠⎥⎦
⎡ 171.5926666 ⎤
M n = 2.3 × ⎢33,160 − (33,160 − 21,337.2 ) ×
⎣ 276.0628429 ⎥⎦
M n = 59,365.96696 kg.m > M p = 33,160 kg.m
M n = 33,160 kg.m
φ b M n = 0.9 × 33,160 = 29,844 kg.m > M u = 27,200 kg.m
ดังนั้นใชคานเหล็กขนาด W 400 × 66.0
การออกแบบคานทั้งสองวิธีนี้ แสดงใหดูเฉพาะเรื่องการรับโมเมนตดัด ที่สมบูรณจริงๆ ตองตรวจสอบ
การรับแรงเฉือน การโกงตัว วิธีการเหมือนกับตัวอยางที่แลวจึงไมแสดงซ้ํา
205 คานเหล็กรูปพรรณ

4.10 แผนเหล็กรองรับแรงกดสําหรับคาน (Beam Bearing Plate)


เปนแผนเหล็กสําหรับกระจายน้ําหนักตรงบริเวณฐานรองรับหรือบริเวณน้ําหนักกระทําเปนจุด ทําให
เหล็กแผนตั้งไมเกิดการครากหรือการยู

ดูรูปที่ 4.14 แผนเหล็กรองหนา t กวาง B ในแนวขนานกับความกวางปกคาน และยาว N ตามแนวยาว


ของคาน การออกแบบตองการหาความหนา t โดยสมมติใหแรงดันขึ้นจากที่รองรับกระจายสม่ําเสมอตลอด
แผนเหล็ก คาโมเมนตดัดสูงสุดบนแผนเหล็กเหมือนกับคานยื่นยาวเทากับ n วัดจากขอบแผนรองถึงหนาตัด
วิกฤตโดยที่
B
t= −k
2

การออกแบบตามมาตรฐาน AISC/ASD
ให P = แรงดันขึ้นจากฐานรองรับ, kg
B = ความกวางของแผนรอง, cm
N = ความยาวของแผนรอง, cm
P
fp = = หนวยแรงดันขึ้น, ksc
BN
ตัดแผนรองกวาง 1 หนวย (1 cm) ดังนั้นโมเมนตดัดทีก่ ระทําตรงหนาตัดวิกฤต คือ
2
n fpn
M = fpn ⋅ = หนวย kg.cm
2 2
M
แตเนื่องจาก S= หนาตัดแถบที่พิจารณากวาง 1 cm หนา t
Fb
bh 3 1 × t 3 t 3
I= = =
12 12 12
t
c=
2
206 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

t3
I t3 2 t2
S = = 12 = × =
c t 12 t 6
2
หนวยแรงดัดรอบแกนรองทีย่ อมให Fb = 0.75Fy แทนคาได
fpn 2
t2
2 fpn 2
= =
6 0.75Fy 1.5Fy
fp P
t 2 = 4n 2 = 4n 2
Fy BNFy
ดังนั้น ความหนาของแผนเหล็กรองคานที่ตองการคือ
fp P
t = 2n = 2n (4.10.1)
Fy BNFy

การออกแบบตามมาตรฐาน AISC/LRFD
ให R u = เปนแรงดันขึ้นของที่รองรับจากน้ําหนักเพิ่มคา, kg
B = ความกวางของแผนรอง, cm
N = ความยาวของแผนรอง, cm
Ru
f pu = = หนวยแรงดันขึ้น, ksc
BN
ตัดแผนรองกวาง 1 หนวย (1 cm) ดังนั้นโมเมนตดัดทีก่ ระทําตรงหนาตัดวิกฤต คือ
n R un2
M u = f pu n × =
2 2BN
กําลังรับแรงดัดประลัยของแผนเหล็กหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผากวาง 1 cm หนา t cm คือ
⎛ 1 × t 2 ⎞ 0.9Fy t
2

φ b M n = 0.9Fy Z x = 0.9Fy ⎜⎜ ⎟⎟ =
⎝ 4 ⎠ 4
0.9Fy t 2 R u n 2
ดังนั้น =
4 2BN
4 R n2 2 R u n 2 2.222R u n 2
t2 = × u = ⋅ =
0.9Fy 2BN 0.9 BNFy BNFy
2.222R u n 2
t= (4.10.2)
BNFy
207 คานเหล็กรูปพรรณ

4.11 กําลังรับแรงแบกทานของคอนกรีต (Concrete Bearing Strength)


ในหัวขอที่แลวเปนการออกแบบแผนเหล็กรับแรงกดจากคาน หากแผนเหล็กดังกลาวไปวางอยูบน
คอนกรีตเชนหูชาง คอนกรีตตองรับแรงกดหรือแรงแบกทานนีด้ วย หนวยแรงแบกทานที่เกิดขึน้ บนคอนกรีต
ก็จะเทากับหนวยแรงกดใตแผนรองคาน มาตรฐาน AISC กําหนดกําลังรับแรงแบกทานในกรณีนวี้ า
มาตรฐาน AISC/ASD
ให A1 = เนื้อที่ของแผนเหล็กรับแรงกด, cm2
2
A 2 = เนื้อที่ของคอนกรีตที่มีศูนยกลางรวมกับ A1 โดยคิดถึงขอบที่ใกลกวา, cm
เมื่อแผนเหล็กคลุมเต็มเนื้อที่ของคอนกรีต หรือ A1 = A 2
หนวยแรงแบกทานของคอนกรีตที่ยอมให Fp = 0.35f c' (4.11.1)
เมื่อแผนเหล็กคลุมไมเต็มเนือ้ ที่ของคอนกรีต หรือ A1 < A 2
A2
หนวยแรงแบกทานของคอนกรีตที่ยอมให Fp = 0.35f c' ≤ 0.7f c' (4.11.2)
A1
เมื่อ f c' = กําลังตานทานแรงอัดประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานที่อายุ 28 วัน , ksc
มาตรฐาน AISC/LRFD
ให A1 = เนื้อที่ของแผนเหล็กรับแรงกด, cm2
2
A 2 = เนื้อที่ของคอนกรีตที่มีศูนยกลางรวมกับ A1 โดยคิดถึงขอบที่ใกลกวา, cm
f c' = กําลังตานทานแรงอัดประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานที่อายุ 28 วัน , ksc
φc = 0.60 = ตัวคูณลดกําลังสําหรับแรงแบกทาน
Pp = กําลังรับแรงแบกทานระบุของคอนกรีต, kg
φc Pp = กําลังรับแรงแบกทานประลัยของคอนกรีต, kg
เมื่อแผนเหล็กคลุมเต็มเนื้อที่ของคอนกรีต หรือ A1 = A 2
กําลังรับแรงแบกทานระบุของคอนกรีต Pp = 0.85f c' A1 (4.11.3)
เมื่อแผนเหล็กคลุมไมเต็มเนือ้ ที่ของคอนกรีต หรือ A1 < A 2
A2
กําลังรับแรงแบกทานระบุของคอนกรีต Pp = 0.85f c' A1 ≤ 1.7f c' A1 (4.11.3)
A1
208 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

4.12 แผนเหล็กรองรับแรงกดสําหรับเสา (Column Base Plate)

แผนเหล็กรองรับแรงกดสําหรับเสา จะกระจายน้ําหนักลงฐานรองรับเชนตอมอคอนกรีต ขนาด


กวางยาวหนาของแผนเหล็กตองเหมาะสม โดยหนวยแรงแบกทานลงฐานรองรับตองไมเกินกวาคาที่กําหนด
ตัวแผนเหล็กเองตองรับโมเมนตดัดจากแรงกดนั้นไดดว ย
ให B = ความกวางของแผนเหล็กรับแรงกด, cm
N = ความยาวของแผนเหล็กรับแรงกด, cm
t = ความหนาของแผนเหล็กที่ตองการหา, cm
P หรือ Pu = แรงกดอัดจากเสาที่กดลงบนแผนเหล็ก, kg
P Pu
หรือ = หนวยแรงกดจากแผนเหล็กกระทําตอฐานรองรับและที่ฐานรองรับตอบโต
BN BN
มีคาสม่ําเสมอตลอดแผนเหล็ก, ksc
เมื่อแรงกดอัดมีคามาก
คาโมเมนตดัดสูงสุดที่แผนเหล็กจะตองรับหาจากคานเหล็กกวาง 1 cm ยาวเทากับ m และ n โดยที่
N − 0.95d B − 0.8b f
m= และ n= ดังรูปที่ 4.15
2 2
เมื่อแรงกดอัดมีคานอย
พิจารณาคาโมเมนตดัดทีแ่ ผนเหล็กนัน้ ตองรับ โดยถือวา แผนเหล็กเสมือนคานยื่นทีย่ าวเทากับ λn ซึ่ง
λ
มีคา λn = db f ดังรูปที่ 4.16
4
209 คานเหล็กรูปพรรณ

2 x
เมื่อ λ= ≤1
1+ 1− x
4db f ⎛⎜ P ⎞⎟
มาตรฐาน AISC/ASD ให x =
(d + b f )2 ⎜⎝ A1Fp ⎟⎠
4db f ⎛⎜ Pu ⎞⎟
มาตรฐาน AISC/LRFD ให x =
(d + bf )2 ⎜⎝ φc Pp ⎟⎠
ระยะแขนโมเมนตที่มากที่สดุ จะนํามาใชคาํ นวณหาคาของความหนาแผนเหล็ก
การออกแบบตามมาตรฐาน AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 เนื้อที่ของเหล็กแผนที่ตองการ A1 = BN เปนคามากทีส่ ุดจากสามคาตอไปนี้
2
1 ⎛ P ⎞
A1 = ⎜ ⎟
A 2 ⎜⎝ 0.35f c' ⎟⎠
P
A1 =
0.7f c'
A1 = db f
ขั้นตอนที่ 2 ความหนาของแผนเหล็ก t ที่ตองการ หาไดจากคามากของ m หรือ n หรือ λ n ดังนี้
P
t = 2m
BNFy
P
t = 2n
BNFy
P
t = 2λ n
BNFy
การออกแบบตามมาตรฐาน AISC/LRFD
ขั้นตอนที่ 1 เนื้อที่ของเหล็กแผนที่ตองการ A1 = BN เปนคามากทีส่ ุดจากสามคาตอไปนี้
2
1 ⎛ Pu ⎞
A1 = ⎜⎜ ⎟
' ⎟
A 2 ⎝ 0.6 × 0.85f c ⎠
Pu
A1 =
0.6 × 1.7f c'
A1 = db f
ขั้นตอนที่ 2 ความหนาของแผนเหล็ก t ที่ตองการ หาไดจากคามากของ m หรือ n หรือ λ n ดังนี้
2Pu
t=m
0.9BNFy
2Pu
t=n
0.9BNFy
2Pu
t = λn
0.9BNFy
210 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เมื่อ P= น้ําหนักกระทําใชงาน , kg
Pu = น้ําหนักกระทําเพิ่มคา, kg
d = ความลึกของหนาตัดเสา , cm
b f = ความกวางของปกหนาตัดเสา , cm
0.95d − 0.80b f
Δ=
2
N = Δ + A1 = ความยาวของแผนเหล็ก เพือ
่ ใหรับแรงกดแตละทิศทางเทาๆ กัน, cm
A1
B= = ความกวางของแผนเหล็กรับแรงกดที่ปลายเสา , cm
N
N − 0.95d
m= = ระยะยื่นปลาย, cm
2
B − 0.8b f
n= = ระยะยื่นปลาย, cm
2
4db f P
x= สําหรับการออกแบบตามมาตรฐาน AISC/ASD
(d + b f ) A1Fp
2

4db f Pu
x= สําหรับการออกแบบตามมาตรฐาน AISC/LRFD
(d + b f ) φc Pp
2

2 x
λ= ≤1
1+ 1− x
λ
λn = db f
4

ตัวอยางที่ 4.7 จงออกแบบแผนเหล็กรองใตคานเพื่อกระจายแรงปฏิกิริยาที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใช


งาน 25 ตัน และจากน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 12.5 ตัน จากคานขนาด W500 × 89.7 สูหัวเสา
คอนกรีตเสริมเหล็ก สมมติใชเหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc โมดูลัสยืดหยุน
E = 2,040,000 ksc และหนวยแรงอัดประลัยของคอนกรีต f c' = 250 ksc
วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
แรงปฏิกิริยาของที่รองรับ R = D + L = 25 + 12.5 = 37.5 tonne = 37,500 kg
คาน
W500 × 89.7, d = 500 mm, b f = 200 mm, t w = 10 mm, t f = 16 mm, r = 20 mm, A = 114.25 cm 2 ,
w = 89.7 kg / m, I x = 47,854 cm 4 , I y = 2,140.8 cm 4 , rc = 20.466 cm, ry = 4.3288 cm,
Sx = 1,914.2 cm3 , Sy = 214.08 cm3 , Z x = 2,175.5 cm3 , Z y = 334.97 cm3 , J = 85.867 cm 4 ,
Z t = 35.462 cm3 , C w = 1,236,400 cm 6
211 คานเหล็กรูปพรรณ

ขั้นตอนที่ 1 หาขนาดความยาวของที่รองรับ N
1.1 เพื่อปองกันการครากของเหล็กแผนตัง้ ของคาน (web yielding)
R
≤ 0.66Fy
t w (2.5k + N )
R
N= − 2.5k
0.66Fy t w

− 2.5(t f + r )
R
N=
0.66Fy t w

− 2.5 × (1.6 + 2.0) = 13.72727273 cm


37,500
N=
0.66 × 2500 × 1.0
1.2 เพื่อปองกันการยูของเหล็กแผนตัง้ (web cripping)
⎡ ⎛ N ⎞⎛ t w ⎞ ⎤
1.5
t
R = 0.2 t ⎢1 + 3⎜ ⎟⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ EFy f
2
w
⎢⎣ ⎝ d ⎠⎝ t f ⎠ ⎥⎦ tw

⎡ N ⎛ 1.0 ⎞ ⎤
1.5
1.6
37,500 = 0.2 × 1.0 × ⎢1 + 3 ×
2
× ⎜ ⎟ ⎥ × 2,040,000 × 2500 ×
⎣⎢ 50.0 ⎝ 1.6 ⎠ ⎦⎥ 1.0
⎡ 3N ⎤
37,500 = 0.2 ⎢1 + 8,160,000,000
⎣ 101.1928851⎥⎦
3N 37,500
= − 1 = 1.075659888
101.1928851 0.2 8,160,000,000
1.075659888 × 101.1928851
N= = 36.28304249 cm
3
ดังนั้นเลือกใชความยาวของแผนรอง N = 40 cm
ขั้นตอนที่ 2 หาความกวางของแผนเหล็กรองใตคาน B
สมมติวาแผนเหล็กคลุมเต็มหัวเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
R = Fp BN = 0.35f c' BN
37,500 = 0.35 × 250B × 40
37,500
B= = 10.71428571 cm
0.35 × 250 × 40
ดังนั้นเลือกใชความกวางของแผนเหล็กรองใตคาน B = 25 cm
หนวยแรงแบกทานของที่รองรับที่เกิดขึ้น
R 37,500
fp = = = 37.5 ksc
BN 25 × 40
ขั้นตอนที่ 3 หาความหนาของแผนเหล็ก t
B B 25
ระยะ n= − k = − tf − r = − 1.6 − 2.0 = 8.9 cm
2 2 2
212 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

fp 37.5
ดังนั้น t ≥ 2n = 2 × 8.9 = 2.180045871 cm = 21.8 mm
Fy 2500
ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
แรงปฏิกิริยาประลัย R u = 1.2D + 1.6L = 1.2 × 25 + 1.6 × 12.5 = 50 tonne = 50,000 kg
ขั้นตอนที่ 1 หาความยาวของแผนรองรับ N
1.1 เพื่อปองกันการครากของเหล็กแผนตัง้ (web yielding)
φR n = φ(2.5k + N )Fy t w ≥ R u

− 2.5(t f + r )
Ru Ru
N= − 2.5k =
φFy t w φFy t w

− 2.5(1.6 + 2.0 ) = 11 cm
50,000
N=
1.0 × 2500 × 1.0
1.2 เพื่อปองกันการยูของเหล็กแผนตัง้ (web cripping)
⎡ ⎛ N ⎞⎛ t w ⎞ ⎤
1.5
⎛t ⎞
φR n = 0.4φt ⎢1 + 3⎜ ⎟⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ EFy ⎜⎜ f
2
w
⎟⎟ ≥ R u
⎢⎣ ⎝ d ⎠⎝ t f ⎠ ⎥⎦ ⎝ tw ⎠
⎡ N ⎛ 1.0 ⎞ ⎤
1.5
1.6
0.4 × 0.75 × 1.0 × ⎢1 + 3 ×
2
×⎜ ⎟ ⎥ 2,040,000 × 2500 × ≥ 50,000
⎣⎢ 50.0 ⎝ 1.6 ⎠ ⎦⎥ 1.0
⎡ N ⎤
0.3 8,160,000,000 ⎢1 + 3 ≥ 50,000
⎣ 101.1928851⎥⎦
3N 50,000
≥ − 1 = 0.845031011
101.1928851 0.3 8,160,000,000
101.1928851
N = 0.845031011 × = 28.50370869 cm
3
ดังนั้น เลือกใชความยาวของแผนเหล็กรองคาน N = 30 cm
ขั้นตอนที่ 2 หาความกวางของแผนเหล็กรองใตคาน B
สมมติวาแผนเหล็กคลุมเต็มพื้นที่ของหัวเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
φc 0.85f c' A1 ≥ R u
0.6 × 0.85 × 250 × (30B) ≥ 50,000
50,000
B= = 13.07189542 cm
0.6 × 0.85 × 250 × 30
เลือกใชความกวางของแผนเหล็กรองใตคาน B = 25 cm
ขั้นตอนที่ 3 หาความหนาของแผนเหล็ก t
ระยะ n = B − k = B − t f − r = 25 − 1.6 − 2.0 = 8.9 cm
2 2 2
2.222R u n 2.222 × 50,000 × 8.9 2
2
t≥ = = 2.166438675 cm = 21.66 mm
BNFy 25 × 30 × 2500
ใชแผนเหล็กรองใตคานขนาด 300 × 250 × 22 mm
213 คานเหล็กรูปพรรณ

ตัวอยางที่ 4.8 จงออกแบบแผนเหล็กรองใตเสาขนาดสี่เหลี่ยจัตุรัส ที่ทําดวยเหล็กชนิด ASTM A36 เพื่อ


กระจายแรงอัดที่เกิดจากน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 35 ตัน และจากน้าํ หนักบรรทุกจรใชงาน 70 ตัน
จากเสาขนาด W300 × 94 ลงสูตอมอคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 90 × 90 cm 2 กําหนดใหคอนกรีตมี
หนวยแรงอัดประลัย f c' = 200 ksc เหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc,
โมดูลัสยืดหยุน E =2,040,000 ksc
วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 น้ําหนักที่ถายจากเสาสูตอมอ
P = 35 + 70 = 105 Tonne = 105,000 kg
ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของแผนเหล็กรองใตเสา โดยพิจารณาจากเนือ้ ที่แผนเหล็กที่ตองการ A1 ที่ตองการ
โดยเลือกคามากจากสามคา ดังนี้
2
1 ⎛ P ⎞
2

⎜⎜ ⎟ =
1 ⎛ 105,000 ⎞
A1 = ' ⎟
×⎜ ⎟ = 277.78 cm
2

A 2 ⎝ 0.35f c ⎠ 90 × 90 ⎝ 0.35 × 200 ⎠


P 105,000
A1 = = = 750 cm 2
0.7f c 0.7 × 200
'

A1 = db f = 30 × 30 = 900 cm 2
ดังนั้น A1 = 900 cm 2
0.95d − 0.80b f
แตเนื่องจาก N = Δ + A1 = + A1
2
0.95 × 30.0 − 0.80 × 30.0
N= + 900 = 32.25 cm
2
ดังนั้นใช N = 35 cm = 350 mm
เนื่องจากตองใชแผนเหล็กสี่เหลี่ยมจัตุรัส ดังนั้น B = 35 cm = 350 mm
ขั้นตอนที่ 3 หาความหนาของแผนเหล็ก โดยพิจารณาจากคามากของ m, n และ λ n ดังนี้
N − 0.95d 35 − 0.95 × 30.0
m= = = 3.25 cm = 32.5 mm
2 2
B − 0.8b f 35 − 0.8 × 30.0
n= = = 5.5 cm = 55 mm
2 2
⎡ 4db f ⎤ ⎡ P ⎤ ⎡ 4 × 30.0 × 30.0 ⎤ ⎡ 105,000 ⎤
x=⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ×
2 ⎥ ⎢ ⎥
⎣ (d + b f )2 ⎦ ⎣⎢ A1Fp ⎦⎥ ⎣ (30.0 + 30.0 ) ⎦ ⎣ (35 × 35) × (0.7 × 200 ) ⎦
x = 0.612244898
2 x 2 0.612244898
λ= = = 0.96439375
1 + 1 − x 1 + 1 − 0.612244898
λ 0.96439375
λn = db f = 30.0 × 30.0 = 7.232953126
4 4
ดังนั้น λ n = 7.232953126
214 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ดังนั้นความหนาที่ตองการคือ
P 105,000
t = 2λ n = 2 × 7.232953126 ×
BNFy 35 × 35 × 2500
t = 2.678565354 cm = 26.78565354 mm ⇒ 28 mm
ดังนั้นใชแผนเหล็กรองใตเสาขนาด 350 × 350 × 28 mm

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักบรรทุกประลัย
Pu = 1.2D + 1.6L = 1.2 × 35 + 1.6 × 70 = 154 T = 154,000 kg
ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของแผนเหล็กรองใตเสา โดยพิจารณาจากคามากในสามคาตอไปนี้
2
⎛ ⎞
2
1 Pu 1 ⎡ 154,000 ⎤
A1 = × ⎜⎜ ⎟ =
' ⎟
×⎢ ⎥ = 281.4207261 cm 2
A2 ⎝ 0 . 6 × 0 . 85f c ⎠ 90 × 90 ⎣ 0 . 6 × 0 . 85 × 200 ⎦
Pu 154,000
A1 = = = 754.9019608 cm 2
0.6 × 1.7f c 0.6 × 1.7 × 200
'

A1 = db f = 30.0 × 30.0 = 900 cm 2


ดังนั้น A1 = 900 cm 2
0.95d − 0.80b f
แต N = Δ + A1 = + A1
2
0.95 × 30.0 − 0.80 × 30.0
N= + 900 = 32.25 cm
2
ใช N = 35 cm แตเนื่องจากแผนเหล็กเปนจัตุรัส ดังนั้น B = 35 cm
ขั้นตอนที่ 3 หาความหนาของแผนเหล็ก พิจารณาจากคามากของ m, n และ λ n ดังนี้
N − 0.95d 35 − 0.95 × 30
m= = = 3.25 cm = 32.5 mm
2 2
B − 0.8b f 35 − 0.8 × 30.0
n= = = 5.50 cm = 55 mm
2 2
⎡ 4db f ⎤ ⎡ Pu ⎤ ⎡ 4 × 30.0 × 30.0 ⎤ ⎡ 154,000 ⎤
x=⎢ 2⎥ ⎢ ⎥=⎢ 2 ⎥ ⎢ ⎥
⎣ (d + b f ) ⎦ ⎢⎣ φc Pp ⎥⎦ ⎣ (30.0 + 30.0) ⎦ ⎣ 0.6 × (1.7 × 200 × 35 × 35) ⎦
x = 0.616246498
2 x 2 0.616246498
λ= = = 0.969464845
1 + 1 − x 1 + 1 − 0.616246498
λ 0.969464845
λn = db f = 30.0 × 30.0 = 7.270986338 cm
4 4
คามากคือ λ n = 7.270986338 cm
215 คานเหล็กรูปพรรณ

ดังนั้นความหนาที่ตองการคือ
2Pu 2 × 154,000
t = λn = 7.270986338
0.9BNFy 0.9 × 35 × 35 × 2500
t = 2.430576997 cm = 24.3 mm ⇒ 25 mm
ดังนั้น ใชแผนเหล็กรองใตเสาขนาด 350 × 350 × 25 mm

4.13 รูเจาะในคาน
การเจาะรูในคาน หากรูเจาะในเหล็กแผนตั้งอยูในบริเวณที่มแี รงเฉือนนอย หรือรูเจาะในปกคาน
บริเวณที่มีโมเมนตดัดนอย จะไมมีผลในการรับน้ําหนักของคาน
มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD กําหนดวา ถา
0.5Fu A fn ≥ 0.6Fy A fg
ไมตองพิจารณาผลกระทบของรูเจาะสําหรับสลักเกลียวที่แผนเหล็กปกคาน แตถา 0.5Fu A fn < 0.6Fy A fg
ตองหาคุณสมบัติในการรับแรงดัดของรูปตัดใหม โดยใชเนื้อที่หนาตัดประสิทธิผลของปกคานดานรับแรงดึง
เปน
5Fu A fn
A fe =
6Fy
เมื่อ A fg = เนื้อที่หนาตัดทั้งหมดของปกคาน, cm2
A fn = เนื้อที่หนาตัดสุทธิของปกคาน, cm2
ตัวอยางที่ 4.9 จงคํานวณหาโมดูลัสหนาตัดแบบอีลาสติก (Sx) ของคาน เมื่อทําการเจาะรูที่ปกคาน ดังรูป
216 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

วิธีทํา
W 450 × 76, d = 450 mm, b f = 200 mm, t w = 9 mm, t f = 14 mm ขนาดสลักเกลียว 25 mm
ตองเผื่อรูเจาะอีก 3 mm จํานวนรูเจาะ 2 รู Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc
A fg = b f t f = 20.0 × 1.4 = 28 cm 2
A fn = A fg − ∑ d n t f = 28 − 2 × (2.5 + 0.3) × 1.4 = 20.16 cm 2
0.5Fu A fn = 0.5 × 4050 × 20.16 = 40,824 kg
0.6Fy A fg = 0.6 × 2500 × 28 = 42,000 kg
0.5Fu A fn < 0.6Fy A fg
ดังนั้นตองพิจารณาผลของรูเจาะในการรับโมเมนตดัด
เนื้อที่หนาตัดสุทธิของปกคานที่ยอมให
5Fu A fn 5 × 4050 × 20.16
A fn = = = 27.216 cm 2
6Fy 6 × 2500
ดังนั้นทีห่ นาตัดปกคานลดลง
A fg − A fn = 28 − 27.216 = 0.784 cm 2
โมดูลัสหนาตัดจึงลดลงไปดวย
หาตําแหนงของแกนสะเทินใหมโดยวัดจากผิวบน
ปกคานบนกวาง 20 cm หนา 1.4 cm มีเซนทรอยดหางขอบบน 1.4 = 0.7 cm
2
ปกคานลางเจาะรูยุบรวมกันไดความกวาง 20 − 2 × (2.5 + 0.3) = 14.4 cm หนา 1.4 cm มีเซนทรอยด
หางจากขอบบนเปนระยะ 45 − 1.4 = 44.3 cm
2
แผนตั้งกวาง 0.9 cm ลึก 45 − 1.4 − 1.4 = 42.2 cm หางจากขอบบน 1.4 + 42.2 = 22.5 cm
2

y=
∑ Ay = 20 ×1.4 × 0.7 + 14.4 ×1.4 × 44.3 + 0.9 × 42.2 × 22.5
∑A 20 × 1.4 + 14.4 × 1.4 + 0.9 × 42.2
1767.238
y= = 20.51588112 cm
86.14
หาโมเมนตอินเนอรเชียรอบแกนสะเทิน ใชหลักการโมเมนตอินเนอรเชียของสี่เหลี่ยมผืนผารอบขอบบนหรือ
ลางคือ
bh 3
I=
3
ปกบนมีความกวาง b = 20 cm เนื้อที่เต็มมี h = y = 20.51588112 cm เนื้อที่เจาะออกมี h = y − 1.7 =
20.51588112 − 1.4 = 19.11588112 cm
20 × 20.515881123 20 × 19.115881123
I= − = 10999.30939 cm 4
3 3
217 คานเหล็กรูปพรรณ

ปกลางมีความกวาง b = 14.4 cm เนื้อที่เต็มมี h = 45 − y = 45 − 20.51588112 = 24.48411888 cm


เนื้อที่เจาะออกมี h = 24.48411888 − 1.4 = 23.08411888 cm ดังนั้น
14.4 × 24.484118883 14.4 × 23.084118883
I= − = 11407.4885 cm
3 3
แผนตั้งกวาง b = 0.9 cm สวนที่อยูเหนือแกนสะเทินมี h = y − 1.4 = 19.11588112 cm และสวนทีอ่ ยูใต
แกนสะเทินมี h = 45 − y − 1.4 = 23.08411888 cm ดังนั้น
0.9 × 19.115881123 0.9 × 23.084118883
I= + = 5785.875519 cm 4
3 3
รวมผลทั้งหมดได
I = 10,999.30939 + 11,407.4885 + 5,785.875519 = 28,192.67341 cm 4
โมดูลัสหนาตัดที่ผิวบน
I I 28,192.67341
SxT = = = = 1374.187793 cm3
c t y 20.51588112
โมดูลัสหนาตัดที่ผิวลาง
I I 28,192.67341
SxB = = = = 1,151.467756 cm3
c b 45 − y 24.48411888

4.14 การเสริมคานเหล็กรูปและคานเหล็กประกอบ (Built-up Beams)


การเพิ่มกําลังรับโมเมนตดัดของคานรูปพรรณปกกวางสามารถทําไดโดยการเสริมแผนเหล็กประกบ
(cover plate) ที่ปกคานดานบนและปกคานดานลาง หรือเฉพาะที่ปกคานดานบนของ W หรือ I เพียงอยาง
เดียว รูปที่ 4.17 แสดงหนาตัดของคานทีไ่ ดจากการเสริมแผนเหล็กประกบ ซึ่งเรียกวา Cover-plated Beams
การเสริมแผนเหล็กประกบอาจจะเสริมบริเวณที่มีโมเมนตมากๆ เชน ปกบนบริเวณกลางคาน หรือปกลาง
บริเวณที่รองรับในคานตอเนือ่ ง แผนเหล็กประกบที่ใชตวั ยึดไมควรใชเกิน 4 แผน และเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด
ของแผนเหล็กประกบตองไมเกิน 0.7 เทาของเนื้อที่หนาตัดทั้งหมดของปกทีเ่ สริมแผนเหล็กประกบนั้น
สําหรับแผนเหล็กประกบทีใ่ ชยึดดวยการเชื่อมใหใชเพียงแผนเดียว
218 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

การหาเนื้อที่หนาตัดของแผนเหล็กเสริมปกคาน
ถาจะตองเสริมเหล็กปกคานบนและปกคานลางของคานรูปตัด W และ I ดังรูปที่ 4.18 โดยที่หนาตัด
คานยังคงมีความสมมาตรทั้งสองแกน ถาใชเนื้อที่หนาตัดของแผนเหล็กประกบแผนบนหรือแผนลางแผนละ
A และรูปตัดคานมีหนาตัดแบบคอมแพค และคานกอนเสริมแผนเหล็กประกบมี I x เปนโมเมนตอินเนอรเชีย
Sx เปนโมดูลัสอีลาสติกของหนาตัด และ Z x เปนโมดูลัสพลาสติกของหนาตัด และ d เปนระยะหาง
ระหวางศูนยถว งของแผนเหล็กเสริมปกคาน

โดยวิธี AISC/ASD
2
⎛d⎞ Ad 2
I req = I x + 2A⎜ ⎟ = I x +
⎝2⎠ 2
Sreq = Sx + Ad
โดยวิธี AISC/LRFD
Z req = Z x + Ad
เปนสมการใชหาเนื้อที่หนาตัดโดยประมาณของแผนเหล็กเสริมปกคาน
นอกจากการเสริมเหล็กปกคานดังกลาวแลว อาจจะนําแผนเหล็กมาประกอบกันใหมีรูปตัดแบบ W
หรือรูปกลอง ยึดแผนเหล็กเขาดวยกันโดยตัวยึดหรือการเชื่อม เรียกวา คานเหล็กประกอบ (Built-up Beams)
แตมีขีดจํากัดคือ
h E
วิธี AISC/ASD ≤ 5.76
tw Fy
h E
วิธี AISC/LRFD ≤ 5.70
tw Fy
h E h E
หากในวิธี AISC/ASD นั้นมี > 5.76 หรือวิธี AISC/LRFD มี > 5.70 เรียกคานนั้นวา คาน
tw Fy tw Fy
เหล็กประกอบขนาดใหญ (Plate Girders) ซึ่งจะกลาวโดยละเอียดในบทที่ 8
219 คานเหล็กรูปพรรณ

ตัวอยางที่ 4.10 จงออกแบบคานประกอบชวงเดียวยาว 20 เมตร รูปตัดแบบตัว W มีความลึกทั้งหมดเทากับ


150 ซม รับน้ําหนักบรรทุกใชงาน 4.5 ตัน/เมตร (ไมรวมน้ําหนักคาน) ถามีค้ํายันทางขางที่ปก รับ
แรงอัดอยางพอเพียง ใชเหล็กชนิด ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc, E = 2,040,000
ksc
วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 หาโมเมนตดดั และแรงเฉือน
เดาวาปกคานกวาง 300 mm หนา 25 mm แผนตั้งสูง 150-2.5-2.5 = 145 cm หนา 1.5 cm เนื้อที่หนาตัด
คานเปนตารางเมตรคือ
A = 2 × 0.300 × 0.025 + 1.45 × 0.015 = 0.03675 m 2
เหล็กมีความหนาแนนหรือหนวยน้ําหนัก 7850 kg/m3 ดังนั้นหนาตัดคานที่เดาขึ้นมานีจ้ ะหนัก
w G = 7850 × 0.03675 = 288.4875 kg / m ⇒ 300 kg / m
ดังนั้นประมาณน้ําหนักคานที่ประกอบขึ้นมานี้ 300 kg/m
น้ําหนักบรรทุกรวม w = 300 + 4500 = 4800 kg / m
4800 × 20.00 2
2
โมเมนตดัดมากที่สุดกลางชวง M = wL = = 240,000 kg.m = 24,000,000 kg.cm
8 8
wL 4800 × 20.00
แรงเฉือนมากที่สุดที่ปลายคาน V= = = 48,000 kg
2 2
ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของเหล็กแผนตั้ง
เนื่องจากสมมติวาหนาตัดเปนแบบคอมแพคและค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดอยางพอเพียง
h E 2,040,000
≤ 5.76 = 5.76 = 164.538511
tw Fy 2500
h
tw ≥
164.538511
สมมติปกคานหนา t f = 2.5 cm = 25 mm ดังนั้น
h = d − 2 t f = 150 − 2 × 2.5 = 145 cm
h 145
ดังนั้น tw = = = 0.881252657 cm = 8.81252657 mm
164.538511 164.538511
สมมติเลือกความหนา t w = 12 mm = 1.2 cm
เนื่องจากการตอแผนเหล็กเขาดวยกันอาจจะไมดี 100 % ดังนั้นสวนของแผนตั้งจึงถือวาสูงเพียง 145 cm ดัน
นั้น
A w = ht w = 145 × 1.2 = 174 cm 2
h 145
= = 120.8333333 < 164.538511
t w 1.2
220 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขั้นตอนที่ 3 หาขนาดของปกคาน
ถาคานประกอบเปนแบบคอมแพค ค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดพอเพียง
M 24,000,000
Sx = = = 14,545.45455 cm3
0.66Fy 0.66 × 2500
หนาตัดที่ประกอบขึ้นมานี้
b f = ความกวางปกคาน ยังไมทราบคา
t f = 2.5 cm = ความหนาปกคาน
h t f 145 2.5
+ = + = 73.75 cm = ระยะเซนทรอยดของปกคานจากแกนสะเทินที่กลางหนาตัด
2 2 2 2
⎡ b t3 ⎛h t ⎞ ⎤
2
⎡ b × 2.53 ⎤
I f = 2⎢ f f + b f t f ⎜ + f ⎟ ⎥ = 2 × ⎢ f + b f × 2.5 × 73.752 ⎥
⎢⎣ 12 ⎝ 2 2 ⎠ ⎥⎦ ⎣ 12 ⎦
I f = 27,197.91667 b f = โมเมนตอินเนอรเชียของสวนปกคาน
h = 145 cm = ความสูงของแผนตั้ง
t w = 1.2 cm = ความหนาของแผนตั้ง
t w h 3 1.2 × 1453
Iw = = = 304,862.5 cm 4 = โมเมนตอินเนอรเชียของแผนตั้ง
12 12
I = I f + I w = 27,197.91667 b f + 304,862.5 cm 4 = โมเมนตอินเนอรเชียรวมทัง้ หนาตัด
h 145
ct = cb =+ tf = + 2.5 = 75 cm = ระยะจากแกนสะเทินถึงผิวบนและผิวลาง
2 2
I 27,197.91667 b f + 304,862.5
Sx = = cm3 = โมดูลัสอีลาสติกของหนาตัด
c 75
ดังนั้น
27,197.91667 b f + 304,862.5
= 14,545.45455
75
27,197.91667 b f = 14,545.45455 × 75 − 304,862.5 = 786,046.5913
b f = 28.90098535 cm ⇒ 30 cm
ดังนั้น b f = 30 cm, t f = 2.5 cm, A f = 30 × 2.5 = 75 cm 2
ตรวจสอบการโกงเดาะเฉพาะที่
bf 30
= =6
2t f 2 × 2.5
E 2,040,000
0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
bf E
< 0.38 OK
2t f Fy
221 คานเหล็กรูปพรรณ

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบการรับแรงเฉือน
h 145
= = 120.8333333
t w 1.2
5E 5 × 2,040,000
= = 63.87487769
Fy 2500
h 5E
>
tw Fy
Fy C v
ดังนั้น Fv = ≤ 0.4Fy
2.89
เมื่อ a = L = 20.00 m = 2000 cm = ระยะหางระหวางเหล็กเสริมขางคาน
a 2000
= = 13.79310345 > 1.0
h 145
2 2
4.00 ⎛h⎞ ⎛ 145 ⎞
k v = 5.34 + = 5.34 + 4⎜ ⎟ = 5.34 + 4 × ⎜ ⎟ = 5.361025
⎝a⎠ ⎝ 2000 ⎠
2
⎛a⎞
⎜ ⎟
⎝h⎠
1.55k v E 1.55 × 5.361025 × 2,040,000
Cv = 2
= 2
= 0.46440424 < 0.8 OK
⎛ h ⎞ ⎛ 145 ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ Fy ⎜ ⎟ × 2500
⎝ w⎠
t ⎝ 1 . 2 ⎠
Fy C v2500 × 0.46440424
Fv = = = 401.7337724 ksc
2.89 2.89
0.4Fy = 0.4 × 2500 = 1000 ksc > Fv OK
V = Fv A w = Fv ht w = 401.7337724 × 145 × 1.2 = 69,901.6764 kg > 48,000 kg OK
ดังนั้นใชเหล็กแผนตั้งขนาด 1450 × 1.2 mm และเหล็กปกคานขนาด 300 × 25 mm เชื่อมติดกัน
เนื้อที่หนาตัดคาน A = 2 × 0.30 × 0.025 + 1.45 × 0.012 = 0.0324 m 2
น้ําหนักคาน w = 7850 × 0.0324 = 254.34 kg / m
222 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แบบฝกหัดบทที่ 4 คานเหล็กรูปพรรณ
[1][Segui 5.2-1] หนาตัดคานประกอบขึ้นจากแผนเหล็กขนาด PL − 190 × 12 สองแผนทําเปนสวนปก และ
PL − 430 × 9 เปนสวนของแผนตั้ง กําลังครากของเหล็ก 3500 ksc
(ก) ใหคํานวณโมดูลัสหนาตัดพลาสติก Z และโมเมนตดัดพลาสติก MP รอบแกนหลัก
(ข) ใหคํานวณโมดูลัสอิลาสติก S และโมเมนตดัดคราก My รอบแกนหลัก

[2][Segui 5.2-2] หนาตัดคานมีปกบนเปนแผนเหล็กขนาด PL − 300 × 12 ปกลางเปนแผนเหล็กขนาด


PL − 175 × 12 และแผนตั้งเปนแผนเหล็กขนาด PL − 400 × 9
(ก) จงหาระยะ y จากผิวบนของปกบนลงมาถึงแกนสะเทินพลาสติกของหนาตัด
(ข) ถาแผนเหล็กเปนชนิด ASTM A572 Grade 50 จงหาโมเมนตดัดพลาสติก MP ของหนาตัด
(ค) จงหาโมดูลัสพลาสติกรอบแกนรอง

กําลังรับแรงดัดของหนาตัดคอมแพค

[3][Segui 5.5-1] คานที่แสดงในรูปเปน W − 250 × 72.4 มีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดตลอดความยาว


น้ําหนัก P เปนน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน ถากําลังครากของเหล็ก Fy = 3500 ksc จงหาคาสูงสุดของ P
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[4][Segui 5.5-2] คานที่กําหนดใหมีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดตลอดความยาว น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน


เปนสองเทาของน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน จงหาคาสูงสุดของน้ําหนักบรรทุกใชงานในหนวย kg/m
เหล็กชนิด ASTM A992
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดการออกแบบคานเหล็ก 223

[5][Segui 5.5-3] คานชวงเดียวรับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงานแผสม่ําเสมอขนาด 1,500 kg/m (รวมน้ําหนัก


คานแลว) น้าํ หนักบรรทุกจรใชงาน 3,000 kg/m และน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงานแบบจุดขนาด 18,000
kg ความยาวคาน 12.00 เมตร น้ําหนักแบบจุดหางจากปลายซายระยะ 4.50 เมตร คานมีค้ํายันทางขาง
ของปกรับแรงอัดตลอดความยาว เหล็กชนิด ASTM A572 Grade 50 คานขนาด W800 × 210 รับ
น้ําหนักดังกลาวไดหรือไม เมื่อ
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[6][Segui 5.5-4] คานในรูป P5.5-4 มีค้ํายันทางขางทั้งปกบนและปกลางตลอดความยาว น้ําหนักบรรทุกใช


งานแผสม่ําเสมอเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 50% และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 50% โดยน้ําหนัก
บรรทุกคงที่นั้นรวมเอาน้ําหนักคานไวแลว ชนิดเหล็ก ASTM A992 หนาตัดคานขนาด
W − 300 × 36.7 รับน้ําหนักไดหรือไม เมื่อ
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
224 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[7][Segui 5.5-5] คานในรูป P5.5-5 เปนคานสองชวง มีสลักหมุนที่กลางชวงซายทําใหกลายเปนคานดีเทอรมิ


เนต โดยมีค้ํายันของปกตลอดความยาว น้ําหนักจุดเปนน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน คานชนิด ASTM
A992 หนาตัด W − 450 × 76 รับน้ําหนักบรรทุกนี้ไดหรือไม เมื่อ
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[8][Segui 5.5-6] คานหนาตัด W − 300 × 36.7 ชวงเดียวยาว 3.00 เมตร ไมมีค้ํายันทางขางของปกรับ


แรงอัด ใหใช C b = 1.0
(ก) จงคํานวณระยะ Lp และ Lr
(ข) จงคํานวณหาโมเมนตดัดประลัย φb M n
Mn
(ค) จงคํานวณหาโมเมนตดัดทีย่ อมให
Ωb
[9][Segui 5.5-7] คานหนาตัด W − 450 × 76 ชวงความยาวที่ไมมีค้ํายันทางขางของปกที่รับแรงอัด 3.00
เมตร ให Fy = 3,500 ksc และ Cb = 1.0 ใหคาํ นวณหาโมเมนตดัดประลัยระบุ Mn
[10][Segui 5.5-8] คานหนาตัด W − 450 × 76 ชวงความยาวที่ไมมีค้ํายันทางขางของปกที่รับแรงอัด 2.70
เมตร ให Fy = 4,500 ksc และ Cb = 1.0 ใหคาํ นวณหาโมเมนตดัดประลัยระบุ Mn
[11][Segui 5.5-9] คานในรูปที่ P5.5-9 หนาตัด W − 900 × 243 มีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดที่ปลาย A
และปลาย B น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 136,000 kg กระทําที่กึ่งกลางคาน ใหใชน้ําหนักบรรทุกใชงาน
(ก) คํานวณ Cb โดยไมตองคิดน้าํ หนักคานเอง
(ข) คํานวณ Cb โดยคิดน้ําหนักของตัวคานเองเขาไปดวย
แบบฝกหัดการออกแบบคานเหล็ก 225

[12][Segui 5.5-10] คานในรูปที่ P5.5-9 หนาตัด W − 900 × 243 มีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดที่ปลาย


A, จุดกึ่งกลาง C และปลาย B น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 136,000 kg กระทําที่จดุ กึ่งกลาง C จงหา Cb
ของชวง AC (เหมือนชวง CB) ไมตองคิดน้ําหนักของคานเขาไปดวย
(ก) ใหคิดน้าํ หนักบรรทุกใชงานโดยไมเพิ่มคา
(ข) ใหคิดน้าํ หนักบรรทุกเพิ่มคา

[13][Segui 5.5-11] คานในรูปที่ P5.5-11 มีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดที่จุด a, b, c และ d ใหหาคาของ Cb


ในชวง b-c
(ก) ใหคิดน้าํ หนักบรรทุกใชงานโดยไมเพิ่มคา
(ข) ใหคิดน้าํ หนักบรรทุกเพิ่มคา

[14][Segui 5.5-12] คานหนาตัด W − 500 × 89.6 ชนิดเหล็ก ASTM A992 เปนคานชวงเดียวยาว 15.00
เมตร น้ําหนักบรรทุกจรใชงานแบบแผสม่ําเสมอกระทําเต็มชวงคาน ใหค้ํายันทางขางของปกรับ
แรงอัดทุกๆ ระยะ 3.00 เมตร จงหาน้ําหนักบรรทุกจรใชงานสูงสุดที่รับไดในหนวย kg/m
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
[15][Segui 5.5-13] คานที่แสดงในรูปที่ P5.5-13 มีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดเฉพาะที่ปลายทั้งสองขาง
น้ําหนักบรรทุก 13,500 kg เปนน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน ใช Fy = 3,500 ksc และใหตรวจสอบวาหนาตัดคาน
W − 350 × 49.6 จะรับน้ําหนักนี้ไดหรือไม
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
226 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[16][Segui 5.5-14] คานที่แสดงในรูปที่ P5.5-13 มีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดเฉพาะที่ปลายทั้งสองขาง


น้ําหนักบรรทุก 13,500 kg เปนน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน ใช Fy = 3,500 ksc และใหตรวจสอบวาหนา
ตัดคาน MC − 380 × 67.3 จะรับน้ําหนักนี้ไดหรือไม (ใหแรงกระทําผาน shear center ของหนาตัด
คานจึงไมมีการบิด)
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD

[17][Segui 5.5-15] ใหหาวาคาน W − 600 × 106 ชนิดเหล็ก ASTM A992 สามารถรับน้ําหนักตามที่แสดง


ในรูปที่ P5.5-15 หรือไม น้าํ หนักบรรทุกแผยังไมรวมน้าํ หนักคานเขาไปดวย ค้ํายันทางขางของปกรับ
แรงอัดมีที่ A, B และ C
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดการออกแบบคานเหล็ก 227

[18][Segui 5.5-16] คานที่แสดงในรูปที่ P5.5-16 มีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดที่ A, B, C, และ D หนาตัด


คาน W − 350 × 94 มี Fy = 3,500 ksc
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD

กําลังรับแรงดัดของหนาตัดคานแบบไมคอมแพค

[19][Segui 5.6-1] คานชวงเดียวหนาตัด W − 300 × 36.7 ความยาว 15.00 เมตร ค้ํายันทางขางของปกรับ


แรงอัดตลอดความยาว กําลังคราก Fy = 3,500 ksc น้ําหนักบรรทุกใชงานแบบแผสม่ําเสมอ อัตราสวน
น้ําหนักบรรทุกจรตอน้ําหนักบรรทุกคงที่เทากับ 3 จงหากําลังรับแรงดัดสูงสุด และน้ําหนักบรรทุกใช
งานทั้งหมดทีร่ ับไดในหนวย kg/m
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
[20][Segui 5.6-2] คานชวงเดียวหนาตัด W − 350 × 49.6 เหล็ก ASTM A992 ค้ํายันทางขางของปกรับ
แรงอัดทุกระยะ 3.00 เมตร ให Cb = 1.0 จงหากําลังรับโมเมนตดัดระบุ Mn
[21][Segui 5.6-3] คานเหล็กประกอบ สวนปกบนและลาง PL − 460 × 19 และแผนตั้ง PL − 1320 × 19
ชนิดเหล็ก ASTM A572 Grade 50 จงหาโมเมนตดดั ระบุ Mn จากการพิจารณาการโกงเดาะเฉพาะที่
ของปก
[22][Segui 5.6-4] คานเหล็กประกอบ สวนปกบนและลาง PL − 400 × 19 และแผนตั้ง PL − 1000 ×12
ชนิดเหล็ก ASTM A572 Grade 50 ค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดตลอดความยาว จงหาโมเมนตดัด
ระบุ Mn
228 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

กําลังรับแรงเฉือนของคาน

[23][Segui 5.8-1] จงหากําลังรับแรงเฉือนระบุ Vn ของหนาตัด W − 250 × 29.6 ชนิดเหล็ก ASTM A572


Grade 65
[24][Segui 5.8-2] จงหากําลังรับแรงเฉือนระบุ Vn ของหนาตัด W − 300 × 36.7 ชนิดเหล็ก ASTM A242
[25][Segui 5.8-3] คานที่แสดงในรูปที่ P5.8-3 หนาตัด W − 400 × 66 ชนิดเหล็ก ASTM A992 ค้ํายันทาง
ขางของปกคานรับแรงอัด น้ําหนักบรรทุกแบบจุดเปนน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน หนาตัดนี้รับน้ําหนัก
ไดหรือไม
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD

[26][Segui 5.8-4] คานยื่นในรูปที่ P5.8-4 หนาตัด W − 400 × 66 ชนิดเหล็ก ASTM A992 ไมมคี ้ํายันของ
ปกรับแรงอัดยกเวนที่จุดยึดแนน ใหความยาวชวงไมมคี ้ํายันเทากับความยาวคาน จงหาวาคานรับ
น้ําหนักแผสม่ําเสมอซึ่งเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงานรวมน้ําหนักคานเอาไวแลว สวนน้ําหนักเปนจุด
เปนน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดออกแบบคานเหล็ก 229

การออกแบบคานเหล็ก

[27][Segui 5.10-1] ใหใชเหล็กชนิด ASTM A992 เลือกหนาตัด W ตามเงื่อนไขตอไปนี้


(1) เปนคานชวงเดียวยาว 9.00 เมตร
(2) ค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดที่ปลายทั้งสองขางเทานั้น
(3) น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน = 1,100 kg/m
(4) น้ําหนักบรรทุกจรใชงานเปนน้ําหนักจุดขนาด 15,000 kg กระทําที่กึ่งกลางคาน
(5) ไมตองตรวจสอบระยะโกง
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
[28][Segui 5.10-2] จงออกแบบคานรับน้าํ หนักตามรูปที่ P5.10-2 รูปตัด W ชนิด ASTM A992 ที่ประหยัด
ที่สุด (เบาทีส่ ุด) น้ําหนักของคานยังไมไดรวมเขาไปในน้ําหนักบรรทุกใชงานทีแ่ สดงนั้น ไมตอง
ตรวจสอบการโกงตัว สมมติค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดตลอดความยาวคาน
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD

[29][Segui 5.10-3] จงออกแบบคานรับน้าํ หนักตามรูปที่ P5.10-2 รูปตัด W ชนิด ASTM A992 ที่ประหยัด
ที่สุด (เบาทีส่ ุด) น้ําหนักของคานยังไมไดรวมเขาไปในน้ําหนักบรรทุกใชงานทีแ่ สดงนั้น ไมตอง
ตรวจสอบการโกงตัว สมมติค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดมีเฉพาะที่ปลายและที่น้ําหนักเปนจุด
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
230 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[30][Segui 5.10-4] คานในรูปที่ P5.10-4 มีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดเฉพาะที่ปลายคานทั้งสองขาง


น้ําหนักบรรทุกแผเปน SDL (Superimposed dead load = น้ําหนักบรรทุกคงที่เพิ่มเติม ในทีน่ ี้เปน
น้ําหนักบรรทุกใชงาน) น้ําหนักเปนจุดเปนน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน ใหใชเหล็กชนิด ASTM A992
L
เลือกหนาตัด W ที่เหมาะสม การโกงตัวจากน้ําหนักบรรทุกจรใชงานตองไมเกิน
360
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมือ่ ใชวิธี AISC/ASD

[31][Segui 5.10-5] คานในรูปมีค้ํายันทางขางของปกที่ปลายและระยะ 13 คือตําแหนง 1, 2, 3 และ 4 น้ําหนัก


เปนจุดคือน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน ให Fy = 3,500 ksc เลือกหนาตัด W ที่เหมาะสม ไมตองตรวจสอบ
การโกงตัว
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดการออกแบบคานเหล็ก 231

[32][Segui 5.10-6] คานในรูป P5.10-6 มีค้ํายันทางขางของปกเฉพาะที่ปลายคานเทานั้น น้ําหนักจุดเปน


น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน ใชเหล็กชนิด ASTM A992 ใหเลือกหนาตัดคานที่เหมาะสม ใช Cb = 1.0 ไม
ตองตรวจสอบการโกงตัว
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD

[33][Segui 5.10-7] คานในรูปที่ P5.10-7 เปนสวนหนึ่งของระบบหลังคา สมมติวาการค้ํายันบางสวนจน


เสมือนวามีค้ํายันทางขางของปกที่ปลายคานทั้งสองและที่กึ่งกลางชวง น้ําหนักบรรทุกคงที่ 250 kg/m
ไมรวมน้ําหนักคาน น้าํ หนักบรรทุกจร 150 kg/m น้ําหนักหิมะ 420 kg/m สําหรับแรงลม 270 kg/m
ยกขึ้น ใชเหล็กชนิด ASTM A992 จงเลือกหนาตัดที่เหมาะสม การโกงตัวจากน้ําหนักบรรทุกหมดไม
L
เกิน
180
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมือ่ ใชวิธี AISC/ASD
232 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ระบบพื้นและโครงหลังคา

[34][Segui 5.11-1] ใหกําลังคราก Fy = 3,500 ksc จงออกแบบตง AB แผนพื้นคอนกรีตทําหนาที่ค้ํายันทาง


L
ขางของปกคานรับแรงอัดตลอดความยาว ระยะโกงตัวสูงสุดจากน้ําหนักบรรทุกจรไมเกิน
180
น้ําหนักบรรทุกจรใชงานจากแผนพืน้ คอนกรีตหนา 0.125 เมตร ผนังกั้นหองใหถือวาแผกระจายเฉลีย่
ที่ 100 kg/m2 และฝาเพดานแขวนอยูขางใตเฉลี่ย 50 kg/m2 น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 300 kg/m2
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD

[35][Segui 5.11-2] ใหเลือกหนาตัด W ที่เหมาะสมกับคานตามเงื่อนไขตอไปนี้


(1) ระยะหางของคานที่ชิดกัน 1.70 เมตร
(2) ความยาวชวงคาน 9.00 เมตร
(3) แผนพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กหนา 0.11 เมตร
(4) น้ําหนักผนังกัน้ หองและวัสดุแตงผิวพื้น 100 kg/m2
(5) ฝาเพดานใตพนื้ 25 kg/m2
(6) น้ําหนักบรรทุกจร 730 kg/m2
(7) Fy = 3500 ksc
L
(8) ระยะโกงตัวจากน้ําหนักบรรทุกจรไมเกิน
360
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมือ่ ใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดการออกแบบคานเหล็ก 233

[36][Segui 5.11-3] ใหเลือกหนาตัด W ที่เหมาะสมกับคานตามเงื่อนไขตอไปนี้


(1) ระยะหางของคานที่ชิดกัน 3.50 เมตร
(2) ความยาวชวงคาน 7.50 เมตร
(3) น้ําหนักพื้นและวัสดุแตงผิวพื้น 200 kg/m2
(4) น้ําหนักผนังกัน้ หอง 100 kg/m2
(5) ฝาเพดานใตพนื้ 25 kg/m2
(6) น้ําหนักบรรทุกจร 780 kg/m2
(7) Fy = 3500 ksc
L
(8) ระยะโกงตัวจากน้ําหนักบรรทุกจรไมเกิน
360
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมือ่ ใชวิธี AISC/ASD

[37][Segui 5.11-4] ใหเลือกหนาตัด W ที่เหมาะสมกับคานตามเงื่อนไขตอไปนี้


(1) ระยะหางของคานที่ชิดกัน 3.00 เมตร
(2) ความยาวชวงคาน 6.00 เมตร
(3) น้ําหนักพื้นและวัสดุแตงผิวพื้น 250 kg/m2
(4) น้ําหนักผนังกัน้ หอง 100 kg/m2
(5) น้ําหนักบรรทุกคงที่อื่นๆ 50 kg/m2
(6) น้ําหนักบรรทุกจร 400 kg/m2
(7) Fy = 3500 ksc
L
(8) ระยะโกงตัวจากน้ําหนักบรรทุกจรไมเกิน
360
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมือ่ ใชวิธี AISC/ASD

[38][Segui 5.11-5] ใหเลือกหนาตัด W ชนิดเหล็ก ASTM A992 สําหรับคาน AB ในรูปที่ P5.11-5 แผนพื้น
คอนกรีตเสริมเหล็กหนา 0.125 เมตร น้ําหนักบรรทุกจร 400 kg/m2 น้ําหนักผนังกําแพง 100 kg/m2
L
การโกงตัวจากน้ําหนักทั้งหมดไมเกิน
240
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมือ่ ใชวิธี AISC/ASD
234 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[39][Segui 5.11-6] ใหออกแบบคานหลักในรูป P5.11-5 คานรองรับตงเพียงขางเดียว น้ําหนักของคาน หลัก


ประมาณ 52 kg/m แรงปฏิกริ ิยาจากตงเปนน้ําหนักแบบจุดกระทําบนคานหลัก
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
[40][Segui 5.11-7] ใหออกแบบคานหลักในรูป P5.11-5 คานรองรับตงเพียงขางเดียว น้ําหนักของคาน หลัก
ประมาณ 52 kg/m แรงปฏิกริ ิยาจากตงใหเฉลี่ยเปนน้ําหนักบรรทุกแผกระทําบนคานหลัก
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD

รูเจาะในคาน

[41][Segui 5.12-1] คานหนาตัด W − 400 × 66 ชนิดเหล็ก ASTM A992 มีรูเจาะปกละ 2 รูป สําหรับสลัก
เกลียวขนาด 22 mm
(ก) ใหค้ํายันทางขางตลอดความยาว ใหตรวจสอบวาผลของรูเจาะมีผลตอกําลังรับโมเมนตดัด
อยางไร
(ข) กําลังรับโมเมนตดัดลดลงกีเ่ ปอรเซ็นตจากหนาตัดเต็ม
[42][Segui 5.12-3] คานหนาตัด W − 500 × 89.6 ชนิดเหล็ก ASTM A992 มีรูเจาะปกละ 2 รูป สําหรับสลัก
เกลียวขนาด 19 mm
(ก) ใหค้ํายันทางขางตลอดความยาว ใหตรวจสอบวาผลของรูเจาะมีผลตอกําลังรับโมเมนตดัด
อยางไร
(ข) กําลังรับโมเมนตดัดลดลงกีเ่ ปอรเซ็นตจากหนาตัดเต็ม
แบบฝกหัดการออกแบบคานเหล็ก 235

[43][Segui 5.12-3] คานหนาตัด W − 450 × 76 ชนิดเหล็ก ASTM A992 มีรูเจาะปกละ 2 รูป สําหรับสลัก
เกลียวขนาด 19 mm
(ก) ใหค้ํายันทางขางตลอดความยาว ใหตรวจสอบวาผลของรูเจาะมีผลตอกําลังรับโมเมนตดัด
อยางไร
(ข) กําลังรับโมเมนตดัดลดลงกีเ่ ปอรเซ็นตจากหนาตัดเต็ม

ชองเปดในแผนตัง้ ของคาน

[44][Segui 5.13-1] พื้นระบบตงที่มีชองเปดในแผนตั้ง ระยะหางระหวางตง 0.90 เมตร ชวงยาว 6.00 เมตร


น้ําหนักบรรทุกจร 400 kg/m2 แผนพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กหลอในทีห่ นา 0.10 เมตร ทําหนาที่เปนค้ํา
ยันทางขางของปกตงตลอดความยาว น้ําหนักบรรทุกคงที่อื่นๆ 25 kg/m2 ใหเลือกใชตงรูปแบบ K ใน
รูปที่ 5.35 ในหนาถัดไป
[45][Segui 5.13-2] จากรูปที่ 5.35 ในหนาถัดไป ใหออกแบบตงที่มีชอ งเปดในแผนตั้งสําหรับระบบพื้นที่มี
ระยะหางระหวางตง 1.20 เมตร ชวงยาวของตง 6.50 เมตร น้ําหนักบรรทุกจร 300 kg/m2 น้ําหนักผนัง
กั้นหอง 100 kg/m2 น้ําหนักพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กหนัก 150 kg/m2 น้ําหนักเพดานรวมทั้งระบบไฟ
แสดงสวางหนัก 25 kg/m2 แผนพื้นเปนค้ํายันปกตง ระบบมีปญหาเรื่องการโกงตัวหรือไม เพราะเหตุ
ใด

แผนรองใตคาน และแผนรองใตเสา

[46][Segui 5.14-1] คาน W − 350 × 49.6 รับแรงปฏิกิริยาจากน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 38,500 kg กระทําที่


ปกบน สมมติแรงดังกลาวกระทําที่ระยะครึ่งหนึ่งของความลึกจาก ใหออกแบบแผนรองใตคาน คานมี
Fy = 3500 ksc และแผนเหล็กมี Fy = 2500 ksc
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
[47][Segui 5.14-2] ใหออกแบบแผนเหล็กรองใตคานชนิด ASTM A36 รับแรงปฏิกิริยาของคานจากน้ําหนัก
บรรทุกคงที่ 12,700 kg และจากน้ําหนักบรรทุกจร 25,400 kg แผนรองใตคานวางบนแทนคอนกรีต
เสริมเหล็กที่ใหญกวาแผนเหล็ก 2.5 cm โดยรอบ คานหนาตัด W − 800 × 210 มี Fy = 3500 ksc กําลัง
คอนกรีต f c' = 210 ksc
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
236 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[48][Segui 5.14-3] ออกแบบแผนเหล็กรองใตเสาขนาด W − 300 × 94 รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน


29,500 kg และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 88,500 kg ตอมอคอนกรีตขนาด 400 mm × 400 mm ชนิด
แผนเหล็ก ASTM A36 สวนคอนกรีตมีกําลัง f c' = 250 ksc
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดการออกแบบคานเหล็ก 237

[49][Segui 5.14-4] จงออกแบบแผนเหล็กรองใตเสา W − 250 × 72.4 รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 9,000


kg และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 22,680 kg ตอมอขนาด 300 mm × 300 mm แผนเหล็กชนิด ASTM
A36 และกําลังคอนกรีต f c' = 210 ksc
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD

คานรับโมเมนตดัดสองแกน

[50][Segui 5.15-1] คาน W − 450 × 76 ในรูปที่ P5.15-1 โดยมีแรงกระทําที่กึ่งกลางชวงทําใหเกิดโมเมนต


ดัดรอบแกนหลักและแกนรองของหนาตัด แรงทีก่ ระทําเปนน้ําหนักบรรทุกใชงานโดยแบงเปน
น้ําหนักบรรทุกคงที่และน้ําหนักบรรทุกจรอยางละครึ่ง ใหตรวจสอบวาเปนไปตามมาตรฐานของ
ว.ส.ท. หรือ AISC หรือไม ทั้งนี้การยึดปกมีเฉพาะที่ปลายคานเทานัน้ เหล็กชนิด ASTM A572 Grade
50
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD

[51][Segui 5.15-2] น้ําหนักจุด 10,800 kg ในรูปที่ P5.15-2 เปนน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน เหล็กชนิด ASTM


A992 การยึดปกทางขางมีที่ปลายทั้งสองขางเทานั้น จงตรวจสอบวาคานนี้เปนไปตามมาตรฐาน
ว.ส.ท. หรือ AISC หรือไม
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
238 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[52][Segui 5.15-3] คานในรูปที่ P5.15-3 เปนคาน W − 500 × 89.6 เหล็กชนิด ASTM A992 การยึดทางขาง
ปกคานมีที่ปลายคานเทานัน้ จงตรวจสอบวาคานนี้เปนไปตามมาตรฐาน ว.ส.ท. หรือ AISC หรือไม
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD

[53][Segui 5.15-4] คานในรูปที่ P5.15-4 เหล็กชนิด ASTM A992 การยึดทางขางปกคานมีทปี่ ลายคาน


เทานั้น น้ําหนักบรรทุกใชงาน 6,800 kg เปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ 30% และน้ําหนักบรรทุกจร 70% จง
ตรวจสอบวาคานนี้เปนไปตามมาตรฐาน ว.ส.ท. หรือ AISC หรือไม
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดการออกแบบคานเหล็ก 239

[54][Segui 5.15-5] คานในรูปที่ P5.15-4 เหล็กชนิด ASTM A992 การยึดทางขางปกคานมีทปี่ ลายคาน


เทานั้น ไมตองคิดน้ําหนักคาน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 1,800 kg/m จงตรวจสอบวาคานนี้เปนไปตาม
มาตรฐาน ว.ส.ท. หรือ AISC หรือไม
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD

[55][Segui 5.15-6] โครงขอหมุนในรูป P5.15-6 เปนโครงหลังคาที่รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ 100 kg/m2 และ


น้ําหนักบรรทุกจากหิมะ 100 kg/m2 ระยะหางระหวางโครงหลังคา 3.00 เมตร หากไมคิดแรงลม การ
ยึดปกคานอยูท ี่ปลายแปขนาด W − 150 × 14 ชนิดเหล็ก ASTM A992 ไมมีเหล็กยึดแป
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
240 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[56][Sequi 5.15-7] โครงหลังคาในรูป P5-15-7 ระยะหาง 6.00 เมตร แปวางที่จดุ ตอและกึ่งกลางระหวางจุด


ตอ เหล็กยึดแปอยูกึ่งกลางชวงของแป วัสดุมุงหนัก 75 kg/m2 และน้ําหนักหิมะ 100 kg/m2 ใชเหล็ก
ASTM A992 ใหเลือกหนาตัด W สําหรับทําแป
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD

[57][Sequi 5.15-8] โครงหลังคาในรูป P5-15-7 ระยะหาง 6.00 เมตร แปวางที่จดุ ตอและกึ่งกลางระหวางจุด


ตอ เหล็กยึดแปอยูที่สองตําแหนงทีแ่ บงชวงของแปเปนสามชวงเทากัน วัสดุมุงหนัก 75 kg/m2 และ
น้ําหนักหิมะ 100 kg/m2 ใชเหล็ก ASTM A992 ใหเลือกหนาตัด W สําหรับทําแป
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
I Section Properties
H,mm B,mm t1,mm t2,mm r1,mm r2,mm A,cm2 w,kg/m Ix,cm4 Iy,cm4 rx,cm ry,cm Sx,cm3 Sy,cm3 Zx,cm3 Zy,cm3 J,cm4 Zt,cm3 Cw,cm6
100 75 5 8 7 3.5 16.418 12.9 280.48 46.343 4.1333 1.6801 56.097 12.358 64.619 20.604 3.9 2.89 896
125 75 5.5 9.5 9 4.5 20.44 16.1 536.67 56.516 5.1241 1.6628 85.868 15.071 99.234 25.077 6.4567 4.2001 1742
150 75 5.5 9.5 9 4.5 21.815 17.1 817.41 56.551 6.1213 1.6101 108.99 15.08 125.64 25.266 6.5971 4.3051 2611.8
150 125 8.5 14 13 6.5 46.121 36.2 1761.1 377.78 6.1794 2.862 234.82 60.445 272.57 100.28 34.292 14.761 15733
180 100 6 10 10 5 30.045 23.6 1667 134.49 7.4488 2.1158 185.23 26.898 211.14 45.52 10.7 6.22 9080
200 100 7 10 10 5 33.045 26.0 2168.7 135.4 8.1011 2.0242 216.87 27.08 249.9 46.487 12 6.85 11400
200 150 9 16 15 7.5 64.119 50.4 4453.7 736.66 8.3342 3.3895 445.37 98.222 510.75 163.42 60.689 22.597 57023
250 125 7.5 12.5 12 6 48.765 38.3 5169.7 329.06 10.296 2.5977 413.58 52.65 471.69 89.315 26.3 12.4 43700
250 125 10 19 21 10.5 70.66 55.5 7297.7 530.89 10.163 2.741 583.82 84.942 678.5 142.07 87.426 28.856 65169
300 150 8 13 12 6 61.56 48.3 9466 571.86 12.4 3.0479 631.07 76.248 716.29 130.69 36.662 15.511 111240
300 150 10 18.5 19 9.5 77.694 65.5 12327 856.27 12.596 3.3198 821.81 114.17 930.98 189.35 87.123 29.832 160190
300 150 11.5 22 23 11.5 97.791 76.8 14651 1061.1 12.24 3.294 976.72 141.48 1131.1 235.86 159.31 44.906 189490
350 150 9 15 13 6.5 74.551 58.5 15207 685.51 14.282 3.0324 869 91.401 993.77 155.57 54.615 20.913 183270
350 150 12 24 25 12.5 111.02 87.2 22388 1169.7 14.201 3.2459 1279.6 155.96 1483.6 260.73 205.05 54.294 291430
400 150 10 18 17 8.5 91.684 72.0 24046 848.84 16.195 3.0427 1202.3 113.18 1382.9 191.74 91.622 31.394 294690
400 150 12.5 25 27 13.5 121.99 95.8 31646 1222 16.106 3.165 1582.3 162.93 1839.4 274.79 237.73 61.128 406660
450 175 11 20 19 9.5 116.7 91.7 39179 1482.9 18.323 3.5646 1741.3 169.47 1995.4 286.89 145.88 45.274 653190
450 175 13 26 27 13.5 145.98 115 48759 1994.4 18.276 3.6962 2167.1 227.93 2500.7 382.67 307.57 76.524 847590
600 190 13 25 25 12.5 169.28 133 98273 2422.1 24.095 3.7827 3275.8 254.96 3783 433.43 307.57 76.524 847590
600 190 16 35 38 19 224.22 176 129810 3504.3 24.061 3.9534 4326.9 368.87 5035 624.2 808.3 155.2 2647400
Wide Flange Properties

d,mm bf,mm tw,mm tf,mm r,mm A,cm2 w,kg/m Ix,cm4 Iy,cm4 rx,cm ry,cm Sx,cm3 Sy,cm3 Zx,cm3 Zy,cm3 J,cm4 Zt,cm3 Cw,cm6
588 300 12 20 28 192.52 151 118,130 9,020 24.771 6.8448 4,018.1 601.33 4,489.9 928.03 240 75.1 7,180,000
400 400 13 21 22 218.71 172 66,627 22,413 17.454 10.123 3,331.4 1,120.6 3,672.8 1,699.9 305.18 100.43 7,968,200
488 300 11 18 26 163.55 128 70,965 8113.9 20.83 7.0435 2,908.4 540.93 3,228.2 830.27 170.71 59.357 7,968,200
600 200 11 17 22 134.43 106 77,647 2,278.2 24.033 4.1166 2,588.2 227.82 2,979.2 361.47 112.94 42.541 1,907,800
440 300 11 18 24 157.41 124 56,078 8,111.4 18.875 7.1785 2,549 540.76 2,825.3 827.62 162.76 59.607 3,560,400
350 350 12 19 20 173.89 136 40,299 13,586 15.223 8.8391 2,302.8 778.33 2,545.4 1,178.6 199.88 70.605 3,682,100
390 300 10 16 22 135.97 107 38,680 7,207.8 16.866 7.2807 1,983.6 480.52 2,188.3 733.09 113.22 44.655 2,486,900
500 200 10 16 20 114.25 89.7 47,854 2,140.8 20.466 4.3288 1,914.2 214.08 2,175.5 334.97 85.867 35.462 1,236,400
344 348 10 16 20 146.01 115 33,299 11,245 15.102 8.7757 1,936 646.24 2,121.9 979.9 121.05 48.315 2,989,800
450 200 9 14 18 96.774 76.0 33,456 1,871.6 18.593 4.3977 1,486.9 187.16 1,679.3 290.93 56.702 25.319 878,040
300 300 10 15 18 119.79 94.0 20,412 6,754.9 13.054 7.5091 1,360.8 450.32 1,501.3 684.27 88.303 38.938 1,353,800
340 250 9 14 20 101.53 79.7 21,680 3,651 14.613 5.9967 1,275.3 292.08 1,412.3 446.92 66.018 29.585 956,870
400 200 8 13 16 84.128 66.0 23,708 1,736.4 16.787 4.5431 1,185.4 173.64 1,326.4 267.66 42.203 21.212 643,230
250 250 9 14 16 92.188 72.4 10,834 3,648.8 10.841 6.2913 866.7 291.91 960.6 443.78 58.937 27.617 501,600
350 175 7 11 14 63.15 49.6 13,561 984.35 14.654 3.9481 774.91 112.5 868.04 173.58 22.994 13.379 279,660
294 200 8 12 18 72.394 56.8 11,340 1,603.3 12.516 4.706 771.46 160.33 859.19 246.56 35.498 18.092 313,540
244 175 7 11 16 56.248 44.1 6,122.4 984.5 10.433 4.1836 501.83 112.51 558.49 172.72 23.039 13.169 131,120
300 150 6.5 9 13 46.787 36.7 7,210.5 507.54 12.414 3.2936 480.7 67.672 542.2 105.13 12.33 8.6139 106,080
200 200 8 12 13 63.537 49.9 4,716.1 1,601.5 8.6154 5.0206 471.61 160.15 525.55 243.82 29.867 16.256 139,220
175 175 7.5 11 12 51.217 40.2 2,884.2 983.67 7.5042 4.3825 329.62 112.42 368.76 171.39 20.516 12.518 64,999
250 125 6 9 12 37.662 29.6 4,052.4 293.85 10.373 2.7933 324.2 47.016 365.93 73.107 9.6672 6.9455 42,023
394 150 6 9 13 39.017 30.6 2,690.2 507.16 8.3035 3.6053 277.34 67.622 308.62 103.7 10.814 7.47 42,605
150 150 7 10 11 40.143 31.5 1,641.5 562.29 6.3946 3.7459 218.87 75.105 246.1 114.71 13.513 8.8696 27,071
200 100 5.5 8 11 27.163 21.3 1,844.6 133.92 8.2407 2.2204 184.46 26.783 209.5 41.936 5.7469 4.405 12,084
175 90 5 8 9 23.049 18.1 1,214.2 97.528 7.2582 2.057 138.77 21.673 157.25 33.709 4.5052 3.598 6,679
148 100 6 9 11 26.843 21.1 1,021.4 150.59 6.1684 2.3685 138.02 30.118 156.98 46.74 7.3646 5.2662 7,072.7
125 125 6.5 9 10 30.317 23.8 847.47 293.5 5.2871 3.1114 135.59 46.961 153.53 71.916 8.4445 6.1524 9,625.3
150 75 5 7 8 17.852 14.0 666.23 49.475 6.109 1.6647 88.831 13.193 101.85 20.774 2.8143 2.6394 2,470.6
100 100 6 8 10 21.902 17.2 382.71 133.75 4.1801 2.4712 76.542 26.75 87.613 41.208 5.1664 4.1409 2,727.3
125 60 6 8 9 16.839 13.2 413.06 29.192 4.9528 1.3167 66.09 9.73 77.648 15.731 3.7542 3.0134 953.75
100 50 5 7 8 11.852 9.30 187.53 14.787 3.9778 1.117 37.506 5.9149 44.069 9.5244 2.0313 1.888 303.16
241 โครงสรางสวนรับแรงในแนวแกนและแรงดัดรวมกัน

บทที่ 5 โครงสรางสวนรับแรงในแนวแกน
และแรงดัดรวมกัน
5.1 โครงสรางสวนรับแรงในแนวแกน และแรงดัดรวมกัน
สวนตางๆ ของโครงสรางจะรับทั้งแรงตามแนวแกน แรงเฉือน และโมเมนตดดั เพียงแตบางครั้งคา
โมเมนตดัดมีคา นอยหากเทียบกับแรงตามแนวแกนเชนในโครงขอหมุน ก็ออกแบบโดยพิจารณาจากผลของ
แรงตามแนวแกนเพียงอยางเดียว แตในบางกรณีแรงตามแนวแกนกลับมีคานอยเชนในคานภายในโครงเฟรม
ที่ยึดปลายแบบหมุนได ก็ออกแบบตามผลจากโมเมนตดัดและแรงเฉือน แตเสาในโครงเฟรมที่รับแรงทางขาง
เชนแรงลม แผนดินไหว จะตองรับทั้งแรงในแนวแกนขนาดใหญและรับโมเมนตจากผลของแรงทางขางเขา
รวมดวย การออกแบบจึงตองพิจารณาผลรวมกันจึงจะปลอดภัย อยางไรก็ตาม มาตรฐาน ว.ส.ท.ก็กําหนด
ความชะลูดเอาไวซึ่งเปนการกําหนดคาทางดานโมเมนตดัดเผื่อเอาไว
ชิ้นสวนโครงสรางที่รับทั้งแรงตามแนวแกนและโมเมนตดัด เรียกวา สวนโครงสรางคาน-เสา (Beam-
column) คาหนวยแรงที่เกิดขึ้นในหนาตัดจะเปนผลจากแรงตามแนวแกนและผลจากโมเมนตดัด
P Mc
f= ±
A I
ในกรณีที่โมเมนตดัดสองแกน เชนแปวางตัวตามความเอียงของจันทัน หนวยแรงที่เกิดขึ้นในจุดตางๆ
หาไดจาก
P Mx y Myx
f= ± ±
A Ix Iy
คาของหนวยแรงที่กลาวมานัน้ ยังเปนคาโดยประมาณ เนือ่ งจากยังไมไดพิจารณาผล P − Δ คือ ขณะที่
ชิ้นสวนกําลังรับแรงในแนวแกนอยูนั้น ผลของโมเมนตดัดจะทําใหชนิ้ สวนโกงตัว แรงตามแนวแกนจึงเกิด
โมเมนตเพิ่มเติมจากการโกงตัว ดังนั้นสมการในการวิเคราะหออกแบบจริงๆ นั้นจะมีตัวประกอบเพิ่มเติมเขา
มาอีกมาก

5.2 พฤติกรรมการรับน้ําหนักและลักษณะของการวิบัติ

โครงสรางที่รับทั้งแรงตามแนวแกนและโมเมนตดัดรวมกัน ลักษณะการวิบัติมีไดสองลักษณะคือ หาก


แรงตามแนวแกนซึ่งเปนแรงอัดมีคามากโมเมนตดัดมีคา นอย การวิบัตเิ ปนแบบเสาคือการโกงเดาะ แตในทาง
ตรงกันขามแรงอัดตามแนวแกนมีคานอยโมเมนตดัดมีคามาก การวิบตั ิเปนแบบคาน แตในกรณีทั่วๆ ไป
แรงอัดตามแนวแกนและโมเมนตดัดมีคามากทั้งสองอยาง การวิเคราะหออกแบบจะยุงยากมากขึ้น
242 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

โมเมนตดัดสูงสุดที่กระทําบนชิ้นสวนโครงสรางประเภท คาน-เสา ทั้งที่มีและไมมีการเซ วิเคราะห


วิธีอิลาสติก โดยไมไดพิจารณาผลของแรงตามแนวแกน เรียกวา Primary moment หรือ First-order moment
โดยอาจจะเปนโมเมนตที่ปลาย หรือจากแรงกระทําทางขวาง (แรงหรือแรงยอยที่ตั้งฉากกับแกนของชิ้นสวน)
M O = โมเมนตสูงสุดเมื่อพิจารณาแบบคานไมคิดผลของแรงตามแนวแกน
M lt = M O = คาโมเมนตสูงสุดแบบคานเมื่อยอมใหเซได ดูรูปที่ 5.1
M nt = M O = คาโมเมนตสูงสุดแบบคานเมื่อไมมีการเซ ดูรูปที่ 5.1
δ O = การโกงตัวสูงสุดทางขางในระนาบรับโมเมนตดัดของชิน ้ สวนที่ไมมกี ารเซ
Δ O = การโกงตัวสูงสุดทางขางในระนาบรับโมเมนตดัดของชิน ้ สวนที่มีการเซ
P = แรงกดอัดตามแนวแกน
เมื่อแรง P กระทํา ผลของการโกงทางขาง δO , Δ O จะทําใหเกิดโมเมนตที่ชิ้นสวนตองรับเพิม่ ขึ้น ชิ้นสวนก็
จะโกงตัวเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันชิ้นสวนก็จะสรางโมเมนตตานทานมากขึ้นเรื่อยๆ จนโมเมนตที่กระทําเทากับ
โมเมนตตานทาน เรียกวา ภาวะสมดุล การโกงตัวจะหยุด ดังนั้น
δ max = การโกงตัวสูงสุดทางขางในระนาบรับโมเมนตดัดของชิน ้ สวนที่ไมมกี ารเซ ในภาวะสมดุล
Δ max = การโกงตัวสูงสุดทางขางในระนาบรับโมเมนตดัดของชิน ้ สวนที่มีการเซ ในภาวะสมดุล
คาโมเมนตดัดสูงสุดที่เพิ่มขึ้นจากภาวะอิลาสติก เรียกวา Secondary moment หรือ Second-order moment คือ
Pδ max = โมเมนตดัดสูงสุดที่เพิ่มขึ้นจากการโกงทางขางของชิ้นสวนที่ไมมีการเซ
PΔ max = โมเมนตดัดสูงสุดที่เพิ่มขึ้นจากการโกงทางขางของชิ้นสวนที่เซได
รวมผลของโมเมนตดัดตอนแรกที่ยังไมคิดผลของแรงตามแกนกับโมเมนตดัดสูงสุดที่เพิ่มขึ้นจากผลของแรง
ตามแกน เปนโมเมนตดัดสูงสุดในชิ้นสวน ดังนี้
M max = M nt + Pδ max = B1M nt = โมเมนตดัดสูงสุดของชิ้นสวนที่ไมมีการเซ
M max = M lt + PΔ max = B2 M lt = โมเมนตดัดสูงสุดของชิ้นสวนที่มีการเซ
พฤติกรรมการรับน้ําหนักและลักษณะการวิบัติ 243

การพิจารณาทีก่ ลาวมานั้น ตองใชวิธีการทางคณิตศาสตรในแตละกรณีของการยึดปลาย เชนยอมใหมี


การเซหรือไม รวมทั้งการกระทําแบบตางๆ ของแรงทางขวาง ที่เปนไปได สวนหลังนี้เรียกวา Second-order
analysis
สมมติวาตองการหาโมเมนตดัดสูงสุดที่เกิดขึ้นในชิ้นสวนโครงสรางที่ไมมีการเซ โดยมีแรงอัดตาม
แนวแกน P กับแรงทางขวาง Q กระทําตั้งฉากที่กึ่งกลางชิ้นสวน ดังรูปที่ 5.2

วิเคราะหขั้นแรกไมคิดผลของแรงตามแนวแกน เปนคานชวงเดียวรับน้ําหนักแบบจุด Q ที่กงึ่ กลางคาน


โมเมนตสูงสุดที่กึ่งกลางคานคือ
QL
M O = M nt =
4
คานชวงเดียวรับน้ําหนักเปนจุดที่กึ่งกลางจะเกิดการโกงตัวสูงสุดที่กึ่งกลางคาน โดยที่
QL3
δO =
48EI
วิเคราะหขั้นทีส่ อง โดยรวมผลของแรงตามแนวแกนเขาไปดวย ตั้งแกน x และ y ตามรูป (สังเกตแกน y ชี้ลง)
จากสมการของความสัมพันธระหวางโมเมนตกับความโคง
d2y M
2
=−
dx EI
ที่ระยะ x ใดๆ (มีระยะ y เกิดขึ้นดวย)
Qx
M= + Py
2
แทนคาได
d2y 1 ⎛ Qx ⎞
=− ⎜ + Py ⎟
dx 2
EI ⎝ 2 ⎠
d 2 y Py Qx
2
+ =−
dx EI 2EI
แกสมการ differential โดยเงือ่ นไขที่ปลายทั้งสองขาง y=0 เมื่อ x = 0 และ x = L การโกงตัวสูงสุด
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
3⎜ ⎟ ⎜ ⎟
QL ⎜ 1 ⎟=δ ⎜ 1 ⎟
δ max = y max =
48EI ⎜ 1 − P ⎟ ⎜ ⎟
O
P
⎜ P ⎟ ⎜1− P ⎟
⎝ e ⎠ ⎝ e ⎠
244 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

π 2 EI
เมื่อ Pe = = น้ําหนักออยเลอร (จากบทที่ 3)
L2
โมเมนตดัดสูงสุดคือ
⎡ ⎤
QL 3⎢ 1 ⎥
M max = M nt + Pδ max = M nt + P ⎢ ⎥
48EI ⎢1 − P ⎥
⎢⎣ Pe ⎥⎦
⎡ ⎤
2 ⎢
QL PL 1 ⎥
M max = M nt + ⎢ ⎥
4 12EI ⎢1 − P ⎥
⎢⎣ Pe ⎥⎦
⎡ ⎤
2 ⎢
PL 1 ⎥
M max = M nt + M nt ⎢ ⎥
12EI ⎢1 − P ⎥
⎢⎣ Pe ⎥⎦
⎡ ⎤ ⎡ ⎤
⎢ PL2 1 ⎥ ⎢ 1 ⎥ ⎡ P PL2 ⎤
M max = M nt ⎢1 + ⎥ = M nt ⎢ ⎥ ⎢1 − + ⎥
⎢ 12EI 1 − P ⎥ ⎢1 − P ⎥ ⎣ Pe 12EI ⎦
⎢⎣ Pe ⎥⎦ ⎢⎣ Pe ⎥⎦
⎡ ⎤
⎢ C ⎥
M max = M nt ⎢ m ⎥ (5.2.1)
⎢1 − P ⎥
⎢⎣ Pe ⎥⎦
Cm
โดยที่ P
= ตัวประกอบสวนขยายโมเมนต (Amplification Factor หรือ Moment magnification factor)
1−
Pe
โดยที่
PL2 P ⎛ P L2 ⎞P ⎛ π 2 EIL2 ⎞ P ⎛ π2 ⎞ P
Cm = 1 + − = 1 + ⎜⎜ e − 1⎟⎟ = 1 + ⎜⎜ 2
− 1 ⎟
⎟P = 1 + ⎜⎜ − 1⎟⎟
12EI Pe ⎝ 12EI ⎠ Pe ⎝ 12EIL ⎠ e ⎝ 12 ⎠ Pe
P
C m = 1 − 0.177532966
Pe
ในกรณีทั่วไปนั้น
⎛ π 2 δ O EI ⎞ P
โดยที่ ϕ = π δO EI2 − 1
2
P
C m = 1 + ⎜⎜ 2
− 1⎟⎟ = 1 + ϕ (5.2.2)
⎝ MOL ⎠ Pe Pe MOL
จะเห็นไดวาวิธีวิเคราะหขางตนยุงยากมาก ไมเหมาะสมกับการออกแบบ มาตรฐาน AISC ไดมี
ขอกําหนดที่รวมผลจากโมเมนตดัดสวนเพิ่มเขาไปดวย ใชไดทั้งกรณีที่แรงตามแนวแกนเปนแรงอัดหรือแรง
ดึง แตวิธี AISC/ASD กับ AISC/LRFD จะไมเหมือนกัน
การออกแบบสวนโครงสรางคาน-เสา มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD 245

5.3 การออกแบบสวนโครงสรางคาน-เสา มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD


การออกแบบคาน-เสา ตามมาตรฐาน AISC/ASD
มาตรฐาน AISC/ASD กําหนดใหผลรวมอัตราสวนของหนวยแรงตามแกนทีเ่ กิดขึ้นตอหนวยแรงที่
ยอมใหกับอัตราสวนของหนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นตอหนวยแรงดัดที่ยอมใหตองไมเกิน 1.0 กลาวคือ
ให P = แรงตามแนวแกนซึ่งอาจจะเปนไดทั้งแรงดึงและแรงอัดในที่นี้จะเนนที่แรงอัด, kg
2
A = เนื้อที่หนาตัดของชิ้นสวน, cm
P
fa = = หนวยแรงอัดตามแกนทีเ่ กิดขึ้น, ksc
A
Fa =หนวยแรงอัดที่ยอมให, ksc (จากบทที่ 3)
M = โมเมนตดัดหรือแรงดัดที่กระทําตอชิ้นสวน, kg.cm
4
I = โมเมนตอินเนอรเชียของหนาตัดรอบแกนสะเทิน, cm
c = ระยะจากแกนสะเทินของหนาตัดไปยังผิวบนสุดหรือลางสุด, cm
I 3
S= = โมดูลัสหนาตัด, cm
c
Mc M
fb = = = หนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นที่ผวิ บนสุดหรือผิวลางสุด, ksc
I S
Fb = หนวยแรงดัดที่ยอมให , ksc (จากบทที่ 4)
ความสัมพันธพื้นฐานทีย่ ังไมไดพิจารณาผลของ P − Δ effect คือ
fa fb
+ ≤ 1.0
Fa Fb
ขอนาสังเกตคืออักขระตัวตามหรือตัวเล็ก f จะหมายถึงหนวยแรงที่ “เกิดขึ้น” จากการกระทําของแรง
หรือโมเมนต สวนอักขระตัวนําหรือตัวใหญ F จะหมายถึงหนวยแรงที่ “ยอมให” ตามมาตรฐานกําหนด
สภาพความเปนจริงของชิ้นสวนที่มีแรงอัดตามแกนจะเกิดการโกงเดาะจากแนวแกนตรงไประยะ Δ
แรงอัด P ตามแนวแกนจะทําใหมีโมเมนต PΔ ขึ้นทําใหชิ้นสวนตองรับหนวยแรงเพิ่มมากขึ้นจึงเรียก P − Δ
effect ดังนั้นสมการที่ใชในการออกแบบชิน้ สวนที่รับแรงอัดตามแนวแกนและแรงดัดรวมกันจึงเปน
fa
เมื่อ > 0.15
Fa
fa C mx f bx C my f by
+ + ≤ 1.0 (5.3.1)
Fa ⎛ fa ⎞ ⎛ f ⎞
⎜⎜1 − ' ⎟⎟Fbx ⎜1 − a ⎟Fby
⎝ Fex ⎠ ⎜ F' ⎟
⎝ ey ⎠

fa f f
และ + bx + by ≤ 1.0 (5.3.2)
0.6Fy Fbx Fby
246 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

fa
เมื่อ ≤ 0.15
Fa
f a f bx f by
+ + ≤ 1.0 (5.3.3)
Fa Fbx Fby
ในกรณีแรก ตองใหเปนไปทั้งตามสมการ (5.3.1) และ (5.3.2) แตกรณีหลังใหเปนไปตามสมการ
(5.3.3)
ขอมูลเพิ่มเติมดังนี้
M x = โมเมนตดัดรอบแกน x ของหนาตัด, kg.cm
M y = โมเมนตดัดรอบแกน y ของหนาตัด, kg.cm
c x = ระยะจากแกนสะเทิน y ของหนาตัดไปยังผิวซายสุดหรือผิวขวาสุดของหนาตัด,cm
c y = ระยะจากแกนสะเทิน x ของหนาตัดไปยังผิวบนสุดหรือลางสุดของหนาตัด, cm
4
I x = โมเมนตอินเนอรเชียของหนาตัดรอบแกนสะเทิน x, cm
4
I y = โมเมนตอินเนอรเชียของหนาตัดรอบแกนสะเทิน y, cm
Mxcy
f bx = = หนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นจากโมเมนตดัดรอบแกน x , ksc
Ix
M ycx
f by = = หนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นจากโมเมนตดัดรอบแกน y, ksc
Iy
Fbx = หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกน x, ksc (ดูบทที่ 4)
Fby = หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกน y, ksc (ดูบทที่ 4)
Fy = กําลังครากของเหล็ก, ksc
E = 2,000,000 − 2,100,000 ksc = โมดูลัสยืดหยุนของเหล็ก ปกติใช E = 2,040,000 ksc
K x = ตัวคูณประกอบความยาวประสิทธิผลในระนาบรับ M x (จากบทที่ 3)
K y = ตัวคูณประกอบความยาวประสิทธิผลในระนาบรับ M y (จากบทที่ 3)
L x = ชวงความยาวระหวางค้ํายันของการดัดรอบแกน x, cm
L y = ชวงความยาวระหวางค้ํายันของการดัดรอบแกน y, cm
Ix
rx = = รัศมีไจเรชันของหนาตัดรอบแกน x, cm
A
I
ry = y = รัศมีไจเรชันของหนาตัดรอบแกน y, cm
A
12π 2 E
Fex' = 2
= หนวยแรงออยเลอรหารดวยสวนปลอดภัยจากการดัดรอบแกน x, ksc
⎛ K xLx ⎞
23⎜⎜ ⎟⎟
⎝ x ⎠
r
การออกแบบสวนโครงสรางคาน-เสา ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD 247

12π 2 E
Fey' = 2
= หนวยแรงออยเลอรหารดวยสวนปลอดภัยจากการดัดรอบแกน y, ksc
⎛K L ⎞
23⎜ y y ⎟
⎜ r ⎟
⎝ y ⎠
C mx = คาสัมประสิทธิ์ (modification factor) ขึ้นกับลักษณะการกระทําของโมเมนตดดั น้ําหนัก
บรรทุก และการเซของสวนของโครงสรางที่พิจารณา การดัดรอบแกน x (ตารางที่ 5.1)
C my = คาสัมประสิทธิ์ (modification factor) ขึ้นกับลักษณะการกระทําของโมเมนตดด ั น้ําหนัก
บรรทุก และการเซของสวนของโครงสรางที่พิจารณา การดัดรอบแกน y (ตารางที่ 5.1)

การพิจารณาคาของ C mx และ C my
(ก) สําหรับเสาในโครงเฟรมที่มีการเซ
C mx = 0.85 และ/หรือ C my = 0.85
(ข) สําหรับเสาในโครงเฟรมที่ไมมีการเซ และไมมีแรงกระทําทางขวางอยูระหวางปลายชวง
⎛M ⎞
C mx = 0.6 − 0.4⎜⎜ 1x ⎟⎟
⎝ M 2x ⎠
⎛M ⎞
C my = 0.6 − 0.4⎜ 1y ⎟
⎜M ⎟
⎝ 2y ⎠
โดยมีเงื่อนไขวาขนาดของ M1x ≤ M 2 x , M1y ≤ M 2 y
M1 x M1 y
อัตราสวน , จะเปนบวกเมื่อ M 1x , M 2 x หรือ M1 y , M 2 y มีทิศทางไปทางเดียวกัน
M 2x M 2y
การดัดจะเปนรูปตัว S หรือโกงสองทาง (double curvature) และจะเปนลบถาทิศทางสวนกัน
การดัดจะเปนตัว C หรือโกงทางเดียว (single curvature)
(ค) สําหรับเสาในโครงเฟรมที่ไมมีการเซ และมีแรงกระทําทางขวางอยูระหวางปลายชวง
เมื่อปลายตรึงไวไมใหหมุน (restrained end)
C mx = 0.85 และ/หรือ C my = 0.85
เมื่อปลายหมุนได (unrestrained end)
C mx = 1.0 และ/หรือ C my = 1.0
ในตารางที่ 5.2 เปน Cmx , Cmy อยางละเอียด โดยที่
fa
C mx = 1 + ϕ x
Fex'
fa
C my = 1 + ϕ y
Fey'
π 2 δ 0 x EI x π 2 δ 0 y EI y
โดยที่ ϕx = −1 และ ϕ y = −1
M 0 x L2x M 0 y L2y
δ0 x = คาการโกงตัวมากที่สุดรอบแกน x ของหนาตัดเนื่องจากแรงทางขวาง
248 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

δ0 y = คาการโกงตัวมากที่สุดรอบแกน y ของหนาตัดเนื่องจากแรงทางขวาง
M 0 x = โมเมนตดัดรอบแกน x ที่มากที่สุดเนื่องจากแรงทางขวางกระทําระหวางชวง วิเคราะหโดย
วิธีอิลาสติก
M 0 y = โมเมนตดัดรอบแกน y ที่มากที่สุดเนื่องจากแรงทางขวางกระทําระหวางชวง วิเคราะหโดย
วิธีอิลาสติก
การออกแบบสวนโครงสรางคาน-เสา ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD 249

สําหรับหนวยแรงดัดทีย่ อมใหคือ Fbx , Fby ขึ้นกับประเภทของรูปตัดวาเปนคอมแพคหรือไมคอมแพค


ตองตรวจสอบตามวิธีออกแบบคานในบทที่ 4
สําหรับเหล็กแผนตั้งที่ตองรับแรงอัด ขอพิจารณาของมาตรฐาน AISC/ASD เปนดังนี้
เหล็กแผนตั้งเปนแบบคอมแพคเมื่อ
fa
กรณีที่ ≤ 0.16
Fy
d E ⎛⎜ 3.74f a ⎞

≤ 3.76 1−
tw Fy ⎜⎝ Fy ⎟

fa
กรณีที่ > 0.16
Fy
d E
≤ 1.49
tw Fy
เหล็กแผนตั้งเปนแบบไมคอมแพคเมื่อ
h d − 2 t f − 2r E
= ≥ 5.70
tw tw Fy
สําหรับสวนของโครงสรางที่รับทั้งแรงดึงตามแนวแกนและโมเมนตดดั รวมกัน ใหออกแบบตาม
สมการ
f a f bx f by
+ + ≤ 1.0 (5.3.4)
Fa Fbx Fby
P
เมื่อ fa = = หนวยแรงดึงที่เกิดขึ้น , ksc
A
Fa = หนวยแรงดึงที่ยอมให , ksc (จากบทที่ 2)
Mxcy
f bx = = หนวยแรงดึงที่เกิดขึ้นจากการดัดรอบแกน x, ksc
Ix
M ycx
f by = = หนวยแรงดึงที่เกิดขึ้นจากการดัดรอบแกน y, ksc
Iy
Fbx =หนวยแรงดัดที่ยอมใหจากการดัดรอบแกน x, ksc
Fby = หนวยแรงดัดที่ยอมใหจากการดัดรอบแกน y, ksc
สวนของโครงสรางที่ไมมีแรงตามแนวแกน มีเฉพาะโมเมนตดัด ใหใชสมการที่ (5.3.3) หรือ (5.3.4)
โดยให f a = 0
250 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

การออกแบบคาน-เสา ตามมาตรฐาน AISC/LRFD


มาตรฐาน AISC/LRFD ใหสมการในการออกแบบโครงสรางที่รับแรงตามแนวแกนรวมกับการดัดวา
γQ
∑ γQ ≤ φR หรือ ∑ φR ≤ 1.0
เมื่อ γQ = แรงกระทําที่ไดจากน้าํ หนักบรรทุกใชงานที่เพิ่มคาแลว
φR = กําลังที่ใชออกแบบ หรือกําลังตานทานระบุที่ลดคาลงดวยตัวคูณลดกําลัง
ดังนั้นถาให
Pu = แรงในแนวแกนที่เกิดจากน้าํ หนักบรรทุกใชงานที่เพิ่มคาแลว, kg
M u = โมเมนตดัดที่เกิดขึ้นจากน้ําหนักบรรทุกใชงานที่เพิ่มคาแลว, kg.cm
φc Pn = กําลังตานทานตอแรงในแนวแกนที่ลดคาแลว, kg
φ b M n = กําลังตานทานตอโมเมนตดัดที่ลดคาแลว, kg.cm
φc = 0.85 = ตัวคูณลดกําลังสําหรับแรงตามแนวแกน
φ b = 0.9 = ตัวคูณลดกําลังสําหรับโมเมนตดัด
ดังนั้นสมการ Interaction คือ
Pu Mu
+ ≤ 1.0
φc Pn φ b M n
ซึ่งเปนสมการที่ยังไมรวมผลของ P−Δ effect ที่เกิดการโกงตัวทางขางของชิ้นสวน หากรวมผลดวยแลวจะ
เปนสมการดังนี้
Pu
เมื่อ ≥ 0.2
φc Pn
Pu 8 ⎛ M ux M uy ⎞
+ ⎜ + ⎟ ≤ 1.0 (5.3.5)
φc Pn 9 ⎜⎝ φ b M nx φ b M ny ⎟⎠
Pu
เมื่อ < 0.2
φc Pn
Pu ⎛ M ux M uy ⎞
+⎜ + ⎟ ≤ 1.0 (5.3.6)
2φc Pn ⎜⎝ φ b M nx φ b M ny ⎟⎠
เมื่อ
Pu = แรงอัดประลัยในแนวแกนที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุกใชงานที่เพิ่มคาแลว, kg
M ux = โมเมนตดัดประลัยรอบแกน x ที่เกิดขึน ้ โดยรวมโมเมนตดัดสวนเพิ่มแลว, kg.cm
M uy = โมเมนตดัดรอบแกน y ที่เกิดขึ้นโดยรวมโมเมนตดัดสวนเพิ่มแลว, kg.cm
φc Pn = กําลังตานทานแรงอัดประลัยในแนวแกนที่ลดคาแลว, kg
φ b M nx = กําลังตานทานตอโมเมนตดัดประลัยรอบแกน x ที่ลดคาแลว, kg.cm
φ b M ny = กําลังตานทานตอโมเมนตดัดประลัยรอบแกน y ที่ลดคาแลว, kg.cm
การออกแบบสวนโครงสรางคาน-เสา ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD 251

φc = 0.85 = ตัวคูณลดกําลังสําหรับแรงตามแนวแกน
φ b = 0.9 = ตัวคูณลดกําลังสําหรับโมเมนตดัด

กําลังตานทานโมเมนตดัดประลัย (Design Flexural Strength : Mnx และ Mny)


จากบทที่ 4 การออกแบบคานนั้นมีการตรวจสอบประเภทของหนาตัดวาเปนแบบคอมแพคหรือไม
คอมแพค จากนั้นจึงนํามาหากําลังตานทานโมเมนตดัดประลัยของรูปตัด Mnx หรือ Mny
สําหรับเหล็กแผนตั้งที่ตองรับแรงอัด ขอพิจารณาของมาตรฐาน AISC/LRFD มีดังนี้
h d − 2 t f − 2r
เมื่อให λ = =
tw tw
เหล็กแผนตั้งเปนแบบคอมแพคเมื่อ λ ≤ λ p
เหล็กแผนตั้งเปนแบบไมคอมแพคเมื่อ λ p < λ ≤ λ r
เหล็กแผนตั้งเปนแบบชะลูดเมื่อ λ > λ r
โดยคาของ λ p และ λ r หาไดดังนี้
Pu
เมื่อ ≤ 0.125
φ b Py
E ⎛⎜ 2.75Pu ⎞

λ p = 3.76 1−
Fy ⎜⎝ φb Py ⎟

Pu
เมื่อ > 0.125
φ b Py
E ⎛⎜ P ⎞ E
λ p = 1.12 2.33 − u ⎟ ≤ 1.49

Fy ⎝ ⎟
φ b Py ⎠ Fy
Pu
สําหรับคาใดๆ ของ
φ b Py
E ⎛⎜ 0.74Pu ⎞

λ r = 5.70 1−
Fy ⎜⎝ φ b Py ⎟

โดยที่
Pu = แรงอัดประลัยในแนวแกนที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุกใชงานที่เพิ่มคาแลว, kg
A g = เนื้อที่หนาตัดของชิ้นสวน , cm2
E = 2,040,000 ksc = โมดูลัสยืดหยุนของเหล็ก
Fy = กําลังครากของเหล็ก , ksc
Py = A g Fy = กําลังรับแรงอัดของเสาสั้นเมื่อเหล็กคราก, kg
φ b = 0.9 = ตัวคูณลดกําลังสําหรับโมเมนตดัด
252 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

โมเมนตดัดประลัยที่กระทํา (Required Flexural Strength : Mu)


คาโมเมนตดัดประลัย Mu ที่เกิดขึ้นจากน้ําหนักบรรทุกใชงานเพิ่มคา โดยในขัน้ แรกใหวิเคราะห
โครงสรางโดยไมคิดผลการโกงตัวจากแรงตามแนวแกน (first-order elastic analysis) จากนัน้ จึงรวมผลกับ
โมเมนตที่เพิ่มเติมจากการโกงตัวเนื่องจากแรงตามแนวแกน (second order effect)
ในการวิเคราะหวิธีอิลาสติกหรือการวิเคราะหครั้งแรก (first-order elastic analysis) นั้น จะไดคา
โมเมนตออกมาสองคา ประกอบดวยโมเมนตดัด Mnt กับโมเมนตดัด Mlt โดยที่

Mnt = โมเมนตดัดที่ไดจากการวิเคราะหเมื่อโครงสรางไมมีการเซ
Mlt = โมเมนตดัดที่ไดจากการวิเคราะหเมื่อโครงสรางมีการเซโดยเอาแรงขณะหา Mnt ออกไปกอน

โครงสรางจริงที่ไมมีการเซเพราะมีการยึดโยง (braced frame) คาของโมเมนตดัด Mlt = 0 แตโครงสราง


จริงที่เซได (unbraced frame) คาโมเมนตดดั Mlt เกิดจากแรงทางขาง เชน แรงลม แผนดินไหว มีขอสังเกตใน
การวิเคราะหโครงสรางวา หากตัวโครงสรางและแรงกระทําตางสมมาตรทั้งคู คา Mlt = 0 แตถาอยางใดอยาง
หนึ่งไมสมมาตรแลว คา Mlt จะไมเปน 0

จากรูปที่ 5.3 แสดงถึงลําดับขั้นตอนในการหาคาโมเมนตดัดประลัยทีก่ ระทํา Mu กลาวคือ


(ก) ปลดแรงทางขาง V1, V2, V3 ออกไป ใสแรงยันที่จุดตอของแตละชั้นที่จะมีการเซ R1, R2, R3 ทํา
การวิเคราะหโครงสราง จะไดโมเมนตดดั Mnt ในชิ้นสวนของโครงสราง และแรงยัน R1, R2, R3
(ข) กลับทิศทางของ R1, R2, R3 จึงมีทิศทางเหมือน V1, V2, V3 นําไปรวมกันไปกระทําตอโครงสราง
โดยปลดแรง P1, P2, P3 ที่เคยกระทําใน (ก) ออกไป วิเคราะหโครงสรางได Mlt ในชิ้นสวน
การออกแบบสวนโครงสรางคาน-เสา ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD 253

การรวมผลของโมเมนตดัด Mnt กับ Mlt เขาดวยกันเพื่อเปนการเพิม่ ผลของแรงตามแนวแกนนัน้ จะ


อาศัยตัวประกอบ B1 กับ B2 ตามมาตรฐาน AISC/LRFD ดังนี้
M u = B1M nt + B2 M lt (5.3.7)
โดยที่
Mnt = โมเมนตดัดประลัยในชิ้นสวนโครงเฟรมที่ไมเซ (no translation)
Mlt = โมเมนตดัดประลัยในชิ้นสวนโครงเฟรมที่เซ (lateral translation)
B1 = ตัวประกอบขยายคาโมเมนตดัด (Amplification Factor) ในโครงเฟรมที่ไมยอมใหเซ
Cm
B1 = ≥1
Pu
1−
Pe1
π 2 EI
Pe1 = โดย K ≤ 1.0 ในระนาบที่รับโมเมนตดัด
(KL)2
Cm = คาสัมประสิทธิ์ สําหรับสวนของโครงสรางที่ไมเซ โดยพิจารณาดังนี้
(ก) สวนของโครงสรางที่ไมมีแรงกระทางขวางระหวางชวง
M1
C m = 0.6 − 0.4
M2
M1
M1, M2 เปนโมเมนตที่ปลายชิ้นสวน M1 ≤ M 2 อัตราสวน เปนบวกเมื่อทิศทางของ
M2
M1, M2 หมุนทางเดียวกัน (โกงสองทาง) และเปนลบเมือ่ หมุนสวนทางกัน (โกงทางเดียว)
(ข) สวนของโครงสรางที่มีแรงทางขวางระหวางชวง
เมื่อปลายถูกยึดไมใหหมุน (restrained end), Cm = 0.85
เมื่อปลายหมุนได (unrestrained end), Cm = 1.0
หรืออาจจะเลือกใชคาโดยละเอียด ตามตารางที่ 5.3
Pu
Cm = 1 + ϕ
Pe
B2 = ตัวประกอบขยายคาโมเมนตดัด ในโครงเฟรมที่มีการเซ
1
B2 =
⎛ Δ ⎞
1 − ∑ Pu ⎜ oh ⎟
⎜ ∑ HL ⎟
⎝ ⎠
1
หรือ B2 =
1−
∑ Pu
∑ Pe 2
∑ P = ผลรวมของแรงอัดประลัยทีก่ ระทําในเสาทุกตนของชั้นที่พิจารณา
u

ระยะเซทางขางของชั้นที่พิจารณา
Δ oh =

∑ H = ผลรวมของแรงประลัยในแนวนอนที่ทําใหเกิดการเซระยะ Δ oh
254 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

L = ความสูงของชั้นที่พิจารณา
∑ Pe 2 = ผลรวมของกําลังรับแรงอัดประลัยของเสาทุกตนในชั้นนั้น โดยที่
π 2 EI
Pe 2 =
(KL)2
โดยใชคาจริงของ K และ L ในระนาบที่รับโมเมนตดัด
ในกรณีของเสาในโครงเฟรมที่มีการเซ โดยรับโมเมนตสองทิศทาง ตองหา B1x, B1y และ B2x, B2y แลว
นํามาหา Mux, Muy

สวนของโครงสรางที่รับแรงดึงประลัยตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดดั ประลัยนัน้ สมการที่มาตรฐาน


AISC/LRFD ใหใชคือ
Pu Pu 8 ⎛ M ux M uy ⎞
เมื่อ ≥ 0.2 + ⎜ + ⎟ ≤ 1.0 (5.3.8)
φ t Pn φ t Pn 9 ⎜⎝ φ b M nx φ b M ny ⎟⎠
Pu Pu ⎛ M ux M uy ⎞
เมื่อ < 0.2 +⎜ + ⎟ ≤ 1.0 (5.3.9)
φ t Pn 2φ t Pn ⎜⎝ φ b M nx φ b M ny ⎟⎠
โดยที่
Pu = แรงดึงประลัยที่กระทํา
M ux , M uy = โมเมนตดัดประลัยที่กระทํารอบแกน x และรอบแกน y ตามลําดับ
φ t Pn = กําลังรับแรงดึงประลัย
φ b M nx , φ b M ny = กําลังรับโมเมนตดัดประลัยรอบแกน x และรอบแกน y ตามลําดับ
φ t = φ b = 0.9 = ตัวคูณลดกําลัง
วิธีออกแบบสวนโครงสรางคาน-เสา ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD 255

ในกรณีที่สวนโครงสรางรับเฉพาะโมเมนตดัด M ux และ M uy โดยไมมแี รงตามแนวแกน Pu = 0


กระทํา ใหออกแบบโดยใชสมการ (5.3.6) หรือสมการ (5.3.9)

5.4 วิธีออกแบบสวนโครงสรางคาน-เสา ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD


5.4.1 ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
การออกแบบโครงสรางระบบคาน-เสา ไมมีวิธีการโดยตรงที่จะทําใหทราบหนาตัดเหล็กที่เหมาะสม
ไดทันที ตองอาศัยการลองผิดลองถูก (trial and error) กลาวคือตองลองสมมติหนาตัดขึ้นมา แลวตรวจสอบ
วารับแรงและโมเมนตไดหรือไม หากรับไดก็ใชได แตถา รับไมไดก็ตองสมมติหนาตัดใหมใหโตขึน้ วนเวียน
จนกวาจะใชได ซึ่งเสียเวลามาก แตถาแปลงโมเมนตดดั ใหเปนแรงอัดตามแนวแกนก็จะชวยใหออกแบบได
เร็วขึ้น พิจารณาดังตอไปนี้
จากสมการที่ 5.3.1
fa C mx f bx C my f by
+ + ≤ 1.0
Fa ⎛ fa ⎞ ⎛ f ⎞
⎜⎜1 − ' ⎟⎟Fbx ⎜1 − a' ⎟Fby
⎝ Fex ⎠ ⎜ F ⎟
⎝ ey ⎠

ถามีโมเมนตดดั รอบแกน x ของหนาตัดเพียงอยางเดียว ไมมีโมเมนตดดั รอบแกน y


fa C mx f bx
+ ≤ 1.0
Fa ⎛ fa ⎞
⎜⎜1 − ' ⎟⎟Fbx
⎝ Fex ⎠
P
แตเนื่องจาก fa = และ f b = M x ดังนั้น
A Sx
P M x C mx
+ = 1 .0
AFa ⎛ P ⎞
Sx Fbx ⎜⎜1 − ' ⎟

⎝ AF ex ⎠

คูณตลอดดวย AFa
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎛ M x A ⎞⎛ Fa ⎞⎜ C mx ⎟ = AF
P + ⎜⎜ ⎟⎟⎜⎜ ⎟⎟
⎝ Sx ⎠⎝ Fbx ⎠⎜ 1 − P ⎟ a

⎜ AF' ⎟
⎝ ex ⎠
แตเนื่องจาก
12π 2 E 5.14936E
F =
'
ex 2
= 2
⎛K L ⎞ ⎛ K x Lx ⎞
23⎜⎜ x x ⎟⎟ ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ rx ⎠ ⎝ rx ⎠
256 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

และ
5.14936E
A× 2
⎛ K x Lx ⎞
⎜⎜ ⎟
1 1 AFex '
⎝ rx ⎟⎠
= = =
1−
P AFex' − P AFex' − P A × 5.14936E − P
2
AFex' AFex' ⎛ K x Lx ⎞
⎜⎜ ⎟⎟
⎝ rx ⎠
1 5.14936AE 5.14936EArx2
= =
5.14936EArx2 − P(K x L x )
2 2
P ⎛ K x Lx ⎞
1−
AFex 5.14936AE − P⎜⎜ r ⎟⎟
'
⎝ x ⎠
A
สมมติให Bx = และ a x = 5.14936EArx2 แรงอัดตามแนวแกนเทียบเทา Peq = AFa
Sx
⎡ ⎛F ⎞⎛ ax ⎞⎤
Peq = P + ⎢B x M x C mx ⎜⎜ a ⎟⎟⎜⎜ ⎟
2 ⎟⎥
(5.4.1)
⎣⎢ ⎝ Fbx ⎠⎝ a x − P(K x L x ) ⎠⎦⎥
ในทํานองเดียวกัน สามารถแปลงสมการทั้งสามตามขอกําหนดของ AISC/ASD โดยพิจารณาโมเมนต
ดัดรอบแกน x และแกน y ดังนี้
⎡ ⎛F ⎞⎛ ax ⎞⎤ ⎡ ⎛ Fa ⎞⎛ ay ⎞⎤
P + Px' + Py' = P + ⎢B x M x C mx ⎜⎜ a ⎟⎟⎜ ⎟ + ⎢ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎥
2 ⎟⎥ ⎟⎜ a − P(K L )2 ⎟⎥
⎜ B M C
⎠⎝ a x − P(K x L x ) ⎠⎥⎦ ⎢⎣
y y my ⎜
⎢⎣ ⎝ Fbx ⎝ Fby ⎠⎝ y y y ⎠⎦
(5.4.2)
⎛ F ⎞ ⎡ ⎛ F ⎞⎤ ⎡ ⎛ F ⎞⎤
P + Px' + Py' = P⎜ a ⎟ + ⎢B x M x ⎜⎜ a ⎟⎟⎥ + ⎢B y M y ⎜ a ⎟⎥
⎜ 0.6F ⎟ ⎜F ⎟
(5.4.3)
⎝ y ⎠ ⎣ ⎝ Fbx ⎠⎦ ⎢⎣ ⎝ by ⎠⎥⎦
⎡ ⎛ F ⎞⎤ ⎡ ⎛ F ⎞⎤
P + Px' + Py' = P + ⎢B x M x ⎜⎜ a ⎟⎟⎥ + ⎢B y M y ⎜ a ⎟⎥
⎜F ⎟
(5.4.4)
⎣ ⎝ Fbx ⎠⎦ ⎢⎣ ⎝ by ⎠⎥⎦
เมื่อ
A A
Bx = , B y = := ตัวประกอบการดัดรอบแกน x และ y ตามลําดับ
Sx Sy
a x = 5.14936EArx2 , a y = 5.14936EAry2 := ตัวประกอบขยายโมเมนตดัดรอบแกน x และแกน y
ตามลําดับ
M x , M y := โมเมนตดัดทีก่ ระทํารอบแกน x และแกน y
เนื่องจากวิธีขางตนยังยากมากอยู L.B. Burgett เสนอสมการการออกแบบที่งายขึ้นดังนี้
Peff = Peq = P0 + M x m + M y mU (5.4.5)
เมื่อ P0 = แรงอัดตามแนวแกนทีก่ ระทํา
m = ตัวประกอบตามตารางที่ 5.4
M x , M y = โมเมนตดัดทีก
่ ระทํา
วิธีการออกแบบคาน-เสา 257

U = 3 เมื่อเริ่มตนออกแบบ
ตารางที่ 5.4 คาตัวประกอบโดยประมาณของ m สําหรับเหล็ก Fy = 2500 ksc
KL , m 3 4 5 6 7 และมากกวา
ทุกรูปตัด 7.9 7.5 7.2 6.9 6.2

5.4.2 ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD


การออกแบบสวนโครงสรางเสา-คาน ตองใชวิธีลองผิดลองถูก (trial and error) ดังนั้นหากแปลง
โมเมนตดัดประลัยเปนแรงตามแนวแกนเทียบเทาดังสมการ
Pueq = Pu + M ux m + M uy mU (5.4.6)
8φc Pn
เมื่อ m= และ U = M nx โดยหาคาไดตามตารางที่ 5.5
9φ b M nx M ny

แต Yura ไดเสนอสมการตอไปนี้ เพือ่ ประมาณรูปตัดที่ตองการ และนําไปใชออกแบบตามวิธี


AISC/ASD ไดดวย
แรงอัดตามแนวแกนเทียบเทา
⎛2⎞ ⎛ 7.5 ⎞
Peq = P + M x ⎜ ⎟ + M y ⎜ ⎟ (5.4.7)
⎝d⎠ ⎝ b ⎠
เมื่อโมเมนตดดั มีคามาก คาโมเมนตดัดเทียบเทาคือ
d
M x ,eq = M x + P (5.4.8)
2
เมื่อ Peq = แรงอัดตามแนวแกนเทียบเทา
M x ,eq = โมเมนตดัดเทียบเทารอบแกน x
P = แรงอัดตามแนวแกนทีก ่ ระทําจริง
258 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

Mx = โมเมนตดัดรอบแกน x ที่กระทําจริง
M y = โมเมนตดัดรอบแกน y ที่กระทําจริง
b = ความกวางของรูปตัด
d = ความลึกของรูปตัด

ตัวอยางที่ 5.1 สวนของโครงสรางในเฟรมที่ไมเซ (braced frame) ตองรับแรงอัดและโมเมนตดัดที่กระทํา


รอบแกนหลักอันเนื่องมาจากน้ําหนักใชงานตางๆ โดยทําใหสวนโครงสรางโกงตัวทางเดียว ดังรูป ถา
ชิ้นสวนดังกลาวมีขนาดหนาตัด W300 × 94 และเปนเหล็กชนิด ASTM A36 ให Fy = 2500 ksc, E
= 2,040,000 ksc สามารถรับแรงดังกลาวไดหรือไม ให K x = K y = 1.0

วิธีทํา
ตรวจสอบโดยวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 หาแรงที่กระทํา
P = 28 + 66.5 = 94.5 ตัน
M = 1500 + 3562.5 = 5062.5 kg.m ที่ปลายบน
M = 1800 + 4275 = 6075 kg.m ที่ปลายลาง
2
W300 × 94, d = 300 mm, bf = 300 mm, tw = 10 mm, tf = 15 mm, r = 18 mm, A = 119.8 cm , w = 94
kg/m, Ix = 20,400 cm4, Iy = 6,750 cm4, rx = 13.1 cm, ry = 7.51 cm, Sx = 1,360 cm3, Sy = 450 cm4, Zx =
1,464.75 cm3
ขั้นตอนที่ 2 หาหนวยแรงอัดที่เกิดขึน้ จริง fa และหนวยแรงอัดที่ยอมให Fa
P 94,500
หนวยแรงอัดที่เกิดขึ้นจริง fa = = = 788.8146912 ksc
A 119.8
K x L x 1.0 × 420
ความชะลูดของทางแกน x คือ = = 32.0610687
rx 13.1
K y L y 1.0 × 420
ความชะลูดของทางแกน y คือ = = 55.92543276
ry 7.51
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 259

ดังนั้นการโกงเดาะเกิดรอบแกน y เนื่องจากความชะลูดมากกวา
2π 2 E 2 × 2,040,000
อัตราสวนแบงประเภทเสา Cc = =π = 126.9141221
Fy 2,500
K yLy K yLy 55.92543276
อัตราสวน < Cc ดังนั้น = = 0.440655711
ry ry Cc 126.9141221
⎡ 1 ⎛ K L ⎞2 ⎤
⎢1 − ⎜ y y ⎟ ⎥ Fy
⎢ 2 ⎜⎝ ry C c ⎟⎠ ⎥
Fa = ⎣ ⎦
3
5 3 ⎛⎜ K y L y ⎞⎟ 1 ⎛⎜ K y L y ⎞⎟
+ −
3 8 ⎜⎝ ry C c ⎟⎠ 8 ⎜⎝ ry C c ⎟⎠
⎡ 1 2⎤
⎢⎣1 − 2 × 0.440655711 ⎥⎦ × 2500
Fa =
5 3 1
+ × 0.440655711 − × 0.4406557113
3 8 8
2257.27818
Fa =
1.821216883
Fa = 1239.43403 ksc
f a 788.8146912
ดังนั้น = = 0.636431364 > 0.15
Fa 1239.43403
ขั้นตอนที่ 3 หาหนวยแรงดัดที่เกิดขึน้ จริง fbx และหนวยแรงดัดทีย่ อมให Fbx
หนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นจริง
M x 6,075 × 100
f bx = = = 446.6911765 ksc
Sx 1,360
หาหนวยแรงดัดที่ยอมให Fbx
ระยะค้ํายันทางขาง L = 420 cm
ระยะค้ํายันตามขอกําหนด
E 2,040,000
0.444b f = 0.444 × 30.0 = 380.5 cm < L = 420 cm
Fy 2,500
M1
M1 = 5062.5 t.m และ M 2 = 6075 t.m ทิศทางสวนกันโกงทางเดียว อัตราสวน เปนลบ
M2
2
⎛M ⎞
2
M ⎛ 5062.5 ⎞ ⎛ 5062.5 ⎞
C b = 1.75 + 1.05 1 + 0.3⎜⎜ 1 ⎟⎟ = 1.75 + 1.05⎜ − ⎟ + 0.3⎜ − ⎟
M2 ⎝ M2 ⎠ ⎝ 6075 ⎠ ⎝ 6075 ⎠
C b = 1.083333333
3.517 EC b 3.517 × 2,040,000 × 1.083333333
= = 55.75865852
Fy 2500
L L 420
= = = 53.84615385 < 55.75865852
rT 0.26b f 0.26 × 30.0
260 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ดังนั้นหนวยแรงดัดที่ยอมให
Fbx = 0.6Fy = 0.6 × 2500 = 1500 ksc
ขั้นตอนที่ 4 หา Amplification Factor
M1 ⎛ 5062.5 ⎞
C m = 0 .6 − 0 .4
= 0.6 − 0.4⎜ − ⎟ = 0.933333333
M2 ⎝ 7065 ⎠
KL
ในระนาบที่รับแรงดัดจริงคือ K x L x = 1.0 × 420 = 32.0610687
rb rx 13.1
12 π 2 E 12 π 2 × 2,040,000
Fex ' = 2
= × = 10,219.44553 ksc
23 ⎛ K L ⎞ 23 32.0610687 2
⎜⎜ x x ⎟⎟
⎝ rx ⎠
ดังนั้น
Cm 0.933333333
= = 1.011400968
fa 788.8146912
1− ' 1−
Fex 10,219.44553
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบดวยสมการ Interaction
fa C m f bx 446.6911765
+ = 0.636431364 + 1.011400968 ×
Fa 1 − f a Fbx 1500
'
Fex
fa C m f bx
+ = 0.938 < 1.0
Fa 1 − f a Fbx
Fex'
fa f 788.8146912 446.6911765
+ bx = + = 0.824 < 1.0
0.6Fy Fbx 0.6 × 2500 1500
แสดงวารูปตัด W300 × 94 สามารถรับแรงและโมเมนตดัดดังกลาวได

วิเคราะหโดยวิธี AISC/LRFD
ขั้นตอนที่ 1 หาแรงกระทําที่เพิ่มคา
แรงตามแกน
Pu = 1.2D + 1.6L = 1.2 × 28 + 1.6 × 66.5 = 140 ตัน
โมเมนตดัดทีป่ ลายบน
M u = 1.2M D + 1.6M L = 1.2 × 1500 + 1.6 × 3562.5 = 7,500 kg.m
โมเมนตดัดทีป่ ลายลาง
M u = 1.2M D + 1.6M L = 1.2 × 1800 + 1.6 × 4275 = 9,000 kg.m
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 261

W300 × 94, d = 300 mm, bf = 300 mm, tw = 10 mm, tf = 15 mm, r = 18 mm, A = 119.8 cm2, w = 94
kg/m, Ix = 20,400 cm4, Iy = 6,750 cm4, rx = 13.1 cm, ry = 7.51 cm, Sx = 1,360 cm3, Sy = 450 cm4, Zx =
1,464.75 cm3
Pu
ขั้นตอนที่ 2 หากําลังรับแรงอัดประลัย φc Pn และอัตราสวน
φc Pn
K x L x 1.0 × 420
เนื่องจาก = = 32.0610687
rx 13.1
K y L y 1.0 × 420 K L
และ = = 55.92543276 > x x วิบัติรอบแกน y ดังนั้น
ry 7.51 rx
K yLy Fy 1.0 × 420 2500
λc = = = 0.623181283
ry π E 7.51π 2,040,000
Fcr = 0.658λc Fy = 0.6580.623181283 × 2500 = 2124.942299 ksc
2 2

φc Fcr = 0.85 × 2124.942299 = 1806.200954 ksc


กําลังรับแรงอัดประลัย
φc Pn = A(φc Fcr ) = 119.8 × 1806.200954 = 216,382.8743 kg
Pu 140,000
ดังนั้น = = 0.647001295 > 0.2
φc Pn 216,382.8743
จึงตองตรวจสอบโดยใชสมการ
Pu 8 ⎛ M ux M uy ⎞
+ ⎜ + ⎟ ≤ 1.0
φc Pn 9 ⎜⎝ φ b M nx φ b M ny ⎟⎠
ขั้นตอนที่ 3 หาโมเมนตดดั ประลัยที่กระทําเมื่อคิดผลของแรงตามแนวแกน เปน second-order moment
⎛M ⎞
C m = 0.6 − 0.4⎜⎜ 1 ⎟⎟
⎝ M2 ⎠
เมื่อ M1 = 7500 t.m เปนโมเมนตที่ปลายคานอย
M 2 = 9000 t.m เปนโมเมนตที่ปลายคามาก
M1
M1 กับ M 2 ทิศทางสวนกันการโกงทางเดียว คา เปนลบ
M2
แทนคา
⎛ 7500 ⎞
C m = 0.6 − 0.4⎜ − ⎟ = 0.933333333
⎝ 9000 ⎠
คา KL
ในระนาบที่รับโมเมนตดัด คือ K x L x = 1.0 × 420 = 32.0610687
rb rx 13.1
π 2 EA π 2 × 2,040,000 × 119.8
ดังนั้น Pe1 = 2
= = 2,346,555.019 kg
⎛ KL ⎞ 32.0610687 2
⎜ ⎟
⎝ r ⎠
262 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

คา Moment magnification factor


Cm 0.933333333
B1 =
Pu
=
140,000
= 0.99255083 < 1.0 ใช B1 = 1.0
1− 1−
Pe1 2,346,555.019
นั่นคือ
kg.m
M ux = B1M nt + B2 M lt = 1.0 × 9000 + 0 = 9000
ขั้นตอนที่ 4 หากําลังรับโมเมนตดัดประลัย (design moment strength : φb M n ของรูปตัดที่ใช
ตรวจสอบวาหนาตัดเปนแบบคอมแพคหรือไม
สวนปก (flange)
E 2,040,000
λ p = 0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
bf 30.0
= = 10 < λ p
2 t f 2 × 1 .5
สวนแผนตั้ง (web)
h d − 2t f − 2r 30.0 − 2 × 1.5 − 2 × 1.8
= = = 23.4
tw tw 1.0
เนื่องจาก
Pu Pu 140,000
= = = 0.519384158 > 0.125
φ b Py φ b (AFy ) 0.9(119.8 × 2500 )
ดังนั้น
E ⎛⎜ P ⎞
λ p = 1.12

2.33 − u ⎟ = 1.12

2,040,000
(2.33 − 0.519384158)
Fy ⎝ φ b Py ⎠ 2500
h
λ p = 57.92811782 > = 23.4
tw
แสดงวารูปตัดนี้เปนแบบคอมแพค
ตรวจสอบระยะค้ํายันทางขางเพื่อหากําลังรับโมเมนตดัดประลัย
4 3
I y = 6750 cm , ry = 7.51 cm, Sx = 1360 cm

J=
1
3
( ) ( 1
)
2b f t 3f + dt 3w = 2 × 30.0 × 1.53 + 30.0 × 1.03 = 77.5 cm
3
4

6750 × 30.0 2
2
I d 6
Cw = y = = 1,518,750 cm
4 4
A = 119.8 cm2, E = 2,040,000 ksc, ν = 0.3 = Poisson’s ratio ไดโมดูลัสการเฉือน
E 2,040,000
G= = = 784,615.3846 ksc
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3)
π EGJA π 2,040,000 × 784,615.3846 × 77.5 × 119.8
x1 = =
Sx 2 1360 2
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 263

x1 = 199,121.7591 kg/cm2
2
4 × 1,518,750 ⎛
2
4C w ⎛ Sx ⎞ 1360 ⎞
x2 = ⎜ ⎟ = ⎜ ⎟
Iy ⎝ GJ ⎠ 6750 ⎝ 784,615.3846 × 77.5 ⎠
x 2 = 0.45019771× 10 −6 (kg/cm2)-2
E 2,040,000
L p = 1.76ry = 1.76 × 7.51 == 377.5701776 cm
Fy 2500

1 + 1 + x 2 (Fy − Fr )
ry x1
Lr =
2

Fy − Fr
7.51× 199,121.7591
Lr = 1 + 1 + 0.45019771 × 10 −6 × (2500 − 700)
2500 − 700
L r = 830.7802282 1 + 1 + 0.000810355
L r = 830.7802282 1 + 1.000405096
L r = 830.7802282 × 1.414356778
L r = 1175.019647 cm
ขณะที่ L b = 420 cm
นั่นคือ Lp < Lb < Lr
ดังนั้น
⎡ L − Lp ⎤
M n = C b ⎢M p − (M p − M r ) b ⎥
⎢⎣ L r − L p ⎥⎦
2
⎛M ⎞ ⎛M ⎞
เมื่อ C b = 1.75 + 1.05⎜⎜ 1 ⎟⎟ + 0.3⎜⎜ 1 ⎟⎟
⎝ M2 ⎠ ⎝ M2 ⎠
2
⎛ 7500 ⎞ ⎛ 7500 ⎞
C b = 1.75 + 1.05⎜ − ⎟ + 0.3⎜ − ⎟ = 1.083333333
⎝ 9000 ⎠ ⎝ 9000 ⎠
M p = Fy Z x = 2500 × 1464.75 = 3,661,875 kg.cm
M r = (Fy − Fr )Sx = (2500 − 700) × 1360 = 2,448,000 kg.cm
ดังนั้น
Lb − Lp 420 − 377.5701776
= = 0.05320691
Lr − Lp 1175.019647 − 377.5701776
Lb − Lp
(M − Mr ) = (3,661,875 − 2,448,000) × 0.05320691
Lr − Lp
p

Lb − Lp
(M − Mr ) = 64,586.53826
Lr − Lp
p

M n = 1.083333333[3,661,875 − 64,586.53826]
M n = 3,897,062.499 kg.cm > M p = 3,661,875 kg.cm
ตองใช M n = M p = 3,661,875 kg.cm = 36,618.75 kg.m
264 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

φ b M n = φ b M p = 0.9 × 36,618.75 = 32,956.875 kg.m


ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบดวยสมการ interaction
Pu 8 ⎛ M ux M uy ⎞
+ ⎜ + ⎟ ≤ 1.0
φc Pn 9 ⎜⎝ φ b M nx φ b M ny ⎟⎠
8 ⎛ 9000 ⎞
0.647001295 + ⎜ + 0 ⎟ ≤ 1.0
9 ⎝ 32,956.875 ⎠
0.889742756 ≤ 1.0
แสดงวารูปตัด W − 300 × 94 สามารถรับน้ําหนักบรรทุกดังกลาวไดอยางปลอดภัย

ตัวอยางที่ 5.2 เสาในโครงเฟรมที่เซได (unbraced frame) มีรูปตัด W − 350 × 136 โดยจัดใหแกน y ของ
หนาตัดอยูในระนาบของเฟรม เสารับน้ําหนักใชงานตางๆ ดังรูป แรง 5 ตันเปนแรงลมกระทําใน
แนวนอนทีห่ ัวเสา ใหคานมีโมเมนตอินเนอรเชียเปนสองเทาของเสา เสามีค้ํายันที่ปลายบนและปลาย
ลางปองกันการเคลื่อนที่ของแกน y และมีค้ํายันที่กึ่งกลางเสาเพื่อไมใหเกิดการโกงเดาะรอบแกน y ให
ใชเหล็กชนิด ASTM A36 จงตรวจสอบวาเสารับแรงกระทําไดหรือไม

วิธีทํา
วิเคราะหโครงสราง โดยแรง PDL = 5, PLL = 15 กระทําผานเสาโดยตรง ยังไมตองพิจารณา
โครงเฟรม ABCD รับน้ําหนักบรรทุกแผจร 1.4 ตัน/เมตร ใชวิธี slope-deflection
โมเมนตที่ปลายยึดแนน
FEM AB = FEM BA = FEM CD = FEM DC = 0
1.4 × 15.00 2
FEM BC = − = −26.25
12
1.4 × 15.00 2
FEM CB =+ = 26.25
12
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 265

เขียนสมการ slope-deflection
M NF =
2EI
(2θ N + θF − 3φ NF ) + FEM NF
L
M AB =
2EI
(2θA + θB − 0) + 0 = 2 EIθA + 1 EIθB
6 3 3
M BA =
2EI
(2θB + θA − 0) + 0 = 1 EIθA + 2 EIθB
6 3 3
2E(2I )
M BC = (2θB + θC − 0) − 26.25 = 8 EIθB + 4 EIθC − 26.25
15 15 15
2E(2I )
M CB = (2θC + θB − 0) + 26.25 = 4 EIθB + 8 EIθC + 26.25
15 15 15
M CD =
2EI
(2θC + θD − 0) + 0 = 2 EIθC + 1 EIθD
6 3 3
M DC =
2EI
(2θD + θC − 0) + 0 = 1 EIθC + 2 EIθD
6 3 3
พิจารณาสมดุลโมเมนตที่จุด A
M AB = 0
2 1
EIθ A + EIθ B = 0
3 3
2EIθ A + EIθ B = 0 (1)
พิจารณาสมดุลโมเมนตที่จุด B
M BA + M BC = 0
1 2 8 4
EIθ A + EIθ B + EIθ B + EIθC − 26.25 = 0
3 3 15 15
5EIθ A + 10EIθ B + 8EIθ B + 4EIθC − 393.75 = 0
5EIθ A + 18EIθ B + 4EIθC = 393.75 (2)
พิจารณาสมดุลโมเมนตที่จุด C
M CB + M CD = 0
4 8 2 1
EIθ B + EIθC + 26.25 + EIθC + EIθ D = 0
15 15 3 3
4EIθ B + 8EIθC + 393.75 + 10EIθC + 5EIθ D = 0
4EIθ B + 18EIθC + 5EIθ D = −393.75 (3)
พิจารณาสมดุลโมเมนตที่จุด D
M DC = 0
1 2
EIθC + EIθD = 0
3 3
EIθC + 2EIθ D = 0 (4)
266 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เรียงลําดับสมการ แลวแกสมการโดยการกําจัดแบบเกาส-จอรแดน คือกําจัดใตแนวทแยง


2EIθA + 1EIθB + 0EIθC + 0EIθD = 0 (1)
5EIθ A + 18EIθB + 4EIθC + 0EIθ D = 393.75 (2)
0EIθA + 4EIθ B + 18EIθC + 5EIθ D = −393.75 (3)
0EIθ A + 0EIθ B + 1EIθC + 2EIθ D = 0 (4)
จัดเปนรูปเมตริกซเพื่อใหดูงา ยขึ้น
⎡2 1 0 0⎤ ⎡EIθ A ⎤ ⎡ 0 ⎤ (1)
⎢5 18 4 0⎥ ⎢ EIθ ⎥ ⎢ 393.75 ⎥ (2)
⎢ ⎥⎢ B⎥
=⎢ ⎥
⎢0 4 18 5⎥ ⎢ EIθC ⎥ ⎢− 393.75⎥ (3)
⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎣0 0 1 2⎦ ⎣EIθ D ⎦ ⎣ 0 ⎦ (4)
(1) ⇒ (1)
(1) × 5 − (2) × 2 ⇒ (2)
⎡2 1 0 0⎤ ⎡EIθ A ⎤ ⎡ 0 ⎤ (1)
⎢0 − 31 − 8
⎢ 0⎥⎥ ⎢⎢ EIθB ⎥⎥ ⎢⎢ − 787.5 ⎥⎥ (2)
=
⎢0 4 18 5⎥ ⎢ EIθC ⎥ ⎢− 393.75⎥ (3)
⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎣0 0 1 2⎦ ⎣EIθ D ⎦ ⎣ 0 ⎦ (4)
(2) ⇒ (2)
(2) × 4 − (3) × (− 31) ⇒ (3)
⎡2 1 0 0 ⎤ ⎡EIθ A ⎤ ⎡ 0 ⎤ (1)
⎢0 − 31 − 8 ⎥ ⎢ ⎥ ⎢
0 ⎥ ⎢ EIθ B ⎥ ⎢ − 787.5 ⎥⎥ (2)
⎢ =
⎢0 0 526 155⎥ ⎢ EIθC ⎥ ⎢− 15,356.25⎥ (3)
⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎣0 0 1 2 ⎦ ⎣EIθ D ⎦ ⎣ 0 ⎦ (4)
(3) ⇒ (3)
(3)×1 − (4)× 526 ⇒ (4)
⎡2 1 0 0 ⎤ ⎡EIθ A ⎤ ⎡ 0 ⎤ (1)
⎢0 − 31 − 8 ⎥ ⎢ ⎥ ⎢
0 ⎥ ⎢ EIθ B ⎥ ⎢ − 787.5 ⎥⎥ (2)
⎢ =
⎢0 0 526 155 ⎥ ⎢ EIθC ⎥ ⎢− 15,356.25⎥ (3)
⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎣0 0 0 − 897 ⎦ ⎣EIθ D ⎦ ⎣− 15,356.25⎦ (4)
จากสมการที่ (4)
− 897 EIθ D = −15,356.25
− 15,356.25
EIθD = = 17.11956522
− 897
จากสมการที่ (3)
526EIθC + 155EIθ D = −15,356.25
526EIθC + 155 × 17.11956522 = −15,356.25
− 15,356.25 − 155 × 17.11956522
EIθC = = −34.23913043
526
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 267

จากสมการที่ (2)
− 31EIθ B − 8EIθC = −787.5
− 31EIθ B − 8(− 34.23913043) = −787.5
− 787.5 + 8(− 34.23913043)
EIθB = = 34.23913043 = −EIθC
− 31
จากสมการที่ (1)
2EIθ A + EIθ B = 0
2EIθ A + 34.23913043 = 0
− 34.23913043
EIθA = = −17.11956522 = −EIθ D
2
ดังนั้นโมเมนตที่ปลายตางๆ คือ
EIθ A + EIθ B = (− 17.11956522) + (34.23913043) = 0
2 1 2 1
M AB =
3 3 3 3
M BA = EIθA + EIθ B = (− 17.11956522) + (34.23913043)
1 2 1 2
3 3 3 3
M BA = 17.11956522
8 4
M BC = EIθ B + EIθC − 26.25
15 15
M BC = (34.23913043) + (− 34.23913043) − 26.25
8 4
15 15
M BC = −17.11956522
4 8
M CB = EIθ B + EIθC + 26.25
15 15
M CB = (34.23913043) + (− 34.23913043) + 26.25
4 8
15 15
M CB = 17.11956522

M CD = EIθC + EIθ D = (− 34.23913043) + (17.11956522)


2 1 2 1
3 3 3 3
M CD = −17.11956522

M DC = EIθC + EIθ D = (− 34.23913043) + (17.11956522) = 0


1 2 1 2
3 3 3 3
17.11956522
HA = = 2.85326087 →
6
− 17.11956522
HD = = −2.85326087 ←
6
1.4 × 15.00
VA = VD = = 10.5
2
ผลการวิเคราะหดังรูป (ข)
เนื่องจากน้ําหนักบรรทุกคงที่มีคาครึ่งหนึ่งของน้ําหนักบรรทุกจร ผลการวิเคราะหจงึ เปนครึ่งหนึ่งดวย
268 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

รูป (ค) เปนการวิเคราะหเมือ่ มีเฉพาะแรง 5 ตันกระทําทีจ่ ุด B และดวยความสมมาตร แรงในแนวนอนที่ A


และ D จะเทากับครึ่งหนึ่งของ 5 คือ 2.5 ตันไปทางซาย
ให D เปนจุดหมุน
VA × 15.00 = 5 × 6.00
5 × 6.00
VA = = 2 ตัน ↓
15.00
สมดุลของแรงในแนวดิ่ง
VD = VA = 2 ตัน ↑

ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 หาแรงและโมเมนตดัดทีเ่ สาตองรับ
จากรูป (ก) เสา CD จะรับแรงอัดมากที่สุด คือ PDL = 5 ตัน, PLL = 15 ตัน, จากน้ําหนักจรแผ 10.5 ตัน
จากน้ําหนักบรรทุกคงที่แผครึ่งหนึ่งของน้ําหนักจรแผ 5.25 ตัน และจากแรงลมอีก 2 ตัน (แรงลมทําให AB
เปนแรงดึง แรงอัดจึงนอยกวาใน CD)
P = 5 + 15 + 10.5 + 5.25 + 2 = 37.75 ตัน
โมเมนตดัดจากน้ําหนักบรรทุกจรแผ 17.11956522 ตัน.เมตร และจากน้ําหนักบรรทุกคงที่แผเปน
ครึ่งหนึ่งของน้ําหนักจรแผ 8.55978261 ตัน.เมตร และผลจากแรงลมอีก 15 ตัน.เมตร ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา
เหมือนกันหมด
M = 17.11956522 + 8.55978261 + 15 = 40.67934783 ตัน.เมตร
รูปตัด W350 × 136 มี d = 350 mm, bf = 350 mm, tw = 12 mm, tf = 19 mm, r = 20 mm, A = 173.9
cm , w = 136 kg/m, Ix = 40,300 cm4, Iy = 13,600 cm4, rx = 15.2 cm, ry = 8.84 cm, Sx = 2300 cm3, Sy = 776
2

cm3, Zx = 2493.18 cm3


ขั้นตอนที่ 2 หาหนวยแรงอัดที่เกิดขึน้ จริง fa และหนวยแรงอัดที่ยอมให Fa
หนวยแรงอัดที่เกิดขึ้นจริง
P 37.75 × 1000
fa = = = 217.0787809 ksc
A 173.9
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 269

หาหนวยแรงอัดที่ยอมให Fa
สําหรับการดัดรอบแกน y, Ky = 1.0
สําหรับการดัดรอบแกน x ตองหาตัวประกอบความยาวประสิทธิผล Kx ซึ่งตองพิจารณาจาก
Alignment chart ปลายบนของเสาจุด C มีอัตราสวนสติฟเนสของเสาตอสติฟเนสของคาน
E c Ic

Lc
EI
1 15
GA = = 6 = × = 1.25
E b I b E(2I ) 6 2
∑L 15
b

ปลายลางของเสาจุด D เปน hinge ซึ่งใชคา GB = 10 ใช Alignment chart ที่ยอมใหเซ จะได Kx = 1.93

ความชะลูดทางแกน y มีค้ํายันที่กึ่งกลางเสาทําใหความยาว Ly = 3.00 m = 300 cm


K yLy 1.0 × 300
= = 33.94
ry 8.84
ความชะลูดทางแกน x
K x L x 1.93 × 600 K L
= = 76.18421053 > y y
rx 15.2 ry
ดังนั้นการโกงเดาะเกิดขึ้นรอบแกน x
2π 2 E 2E 2 × 2,040,000 K L
Cc = =π =π = 126.9141221 > x x
Fy Fy 2500 rx
K x L x 76.18421053
= = 0.600281586
rx Cc 126.9141221
270 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

⎡ 1⎛K L ⎞
2

⎢1 − ⎜⎜ x x ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rx Cc ⎠ ⎥⎦
Fa =
⎡ 5 3 ⎛ K L ⎞ 1 ⎛ K L ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜⎜ x x ⎟⎟ − ⎜⎜ x x ⎟⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ rx C c ⎠ 8 ⎝ rx C c ⎠ ⎥⎦
⎡ 1 2⎤
⎢⎣1 − 2 × 0.600281586 ⎥⎦ × 2500
Fa =
⎡5 3 1 ⎤
+
⎢⎣ 3 8 × 0.600281586 − × 0.6002815863 ⎥
8 ⎦
Fa = 1099.125811 ksc
ดังนั้น
f a 217.0787809
= = 0.197501304 > 0.15
Fa 1099.125811
ขั้นตอนที่ 3 หาหนวยแรงดัดที่เกิดขึน้ จริง fbx และหนวยแรงดัดทีย่ อมให Fbx
หนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นจริง
M x 40.67934783 × 1000 × 100
f bx = = = 1768.667297 ksc
Sx 2300
ตรวจสอบประเภทรูปตัดของ W350 × 136
bf 350
ปกคาน λ= = = 9.210526316
2 t f 2 × 19
E 2,040,000
λ p = 0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
E 2,040,000
λ r = 0.83
(Fy − Fr ) = 0.83 (2500 − 700)
= 27.94196366

λ < λp
สําหรับปกคาน หนาตัดนี้นา จะเปนแบบคอมแพค แตตองตรวจสอบกับกรณีแผนตั้ง
h d − 2t f − 2r 350 − 2 × 19 − 2 × 20
แผนตั้ง λ= = = = 22.66666667
tw tw 12
E 2,040,000
λ p = 3.76 = 3.76 = 107.4070836
Fy 2500
E 2,040,000
λ r = 5.70 = 5.70 = 162.8245682
Fy 2500
λ < λp
สําหรับแผนตัง้ หนาตัดนี้เปนแบบคอมแพค รวมกับกรณีของปกคาน จึงเปนแบบคอมแพคแนนอนแลว
หนวยแรงดัดที่ยอมให
Fbx = 0.66Fy = 0.66 × 2500 = 1650 ksc
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 271

ขั้นตอนที่ 4 หา Amplification factor


จากตาราง 5.1 กรณี (ก) โมเมนตดัดมากทีส่ ุดกระทําที่ปลาย และมีการเคลื่อนที่ที่ปลาย (สําหรับเสาใน
โครงเฟรมที่มีการเซ) ใหใช Cm = 0.85
คา KL/rb ในระนาบที่รับโมเมนตดัดคือ
KL K x L x 1.93 × 600
= = = 76.18421053
rb rx 15.2
คา Fex'
12π 2 E 12π 2 × 2,040,000
F =
'
= = 1809.894999 ksc
23 × 76.184210532
ex 2
⎛ KL ⎞
23⎜⎜ ⎟⎟
⎝ rb ⎠
ดังนั้นคา Amplification factor คือ
Cm 0.85
fa
=
217.0787809
= 0.966 < 1.0 จึงใช 1.0
1− ' 1−
Fex 1809.894999
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบดวยสมการ Interaction
เนื่องจากมีการพิจารณาผลจากแรงลมเขามารวมดวย จึงตองเพิ่มคาหนวยแรงที่ยอมใหขึ้นอีก 33% หรือ
4
ดังนั้น
3
4
Fa = × 1099.125811 = 1465.501081 ksc
3
4
Fbx = × 1650 = 2200 ksc
3
Interaction equation เมื่อมีการดัดรอบแกน x เทานั้น
fa C m f bx
+ ≤ 1.0
Fa 1 − f a Fbx
Fex'
217.0787809 1768.667297
+ 1.0 × ≤ 1.0
1465.501081 2200
0.952065658 ≤ 1.0
แสดงวาเสาเหลูกรูปตัด W350 × 136 สามารถรับแรงกระทําดังกลาวได

การตรวจสอบโดยวิธี AISC/LRFD
ขั้นตอนที่ 1 หาคาแรงและโมเมนตเพิ่มคาโดยพิจารณากรณีตางๆ ดังนี้
(ก) พิจารณาเมื่อเพิ่มคาน้ําหนักบรรทุกคงที่เปน 1.4 เทาหรือ 1.4(D) ทั้งแรงตามแนวแกนและ
โมเมนตดัด
w D L 0.7 × 15.00
แรงอัดจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ 5 ตัน และจากน้ําหนักแผอีก = = 5.25 ตัน
2 2
Pu = 1.4(5 + 5.25) = 14.35 ตัน
272 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

โมเมนตดัดจากน้ําหนักบรรทุกคงที่เปนครึง่ หนึ่งของน้ําหนักบรรทุกจร
1 1
MD = M L = × 17.11956522 = 8.55978261 ตัน.เมตร
2 2
M u = 1.4 × 8.55978261 = 11.98369565 ตัน.เมตร
(ข) พิจารณารวมผลของ 1.2D + 1.6L
w D L 0.7 × 15.00
แรงอัดจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ 5 ตัน และจากน้ําหนักแผอีก = = 5.25 ตัน
2 2
รวมเปน PD = 5 + 5.25 = 10.25 ตัน
w L L 1.4 × 15.00
แรงอัดจากน้ําหนักบรรทุกจร 15 ตัน และจากน้ําหนักแผอีก = = 10.5 ตัน
2 2
รวมเปน PL = 15 + 10.5 = 25.5 ตัน
ดังนั้น
Pu = 1.2PD + 1.6PL = 1.2 × 10.25 + 1.6 × 25.5 = 53.1 ตัน
โมเมนตดัดจากน้ําหนักบรรทุกจร M L = 17.11956522 ตัน.เมตร และจากน้ําหนักบรรทุกคงที่
1 1
MD = M L = × 17.11956522 = 8.55978261 ตัน.เมตร
2 2
ดังนั้น
M nt = 1.2M D + 1.6M L = 1.2 × 8.55978261 + 1.6 × 17.11956522
M nt = 37.66304348 ตัน.เมตร
M lt = 0
(ค) พิจารณารวมผลของ 1.2D + 0.8W จากน้ําหนักบรรทุกคงที่ D และแรงลม W
w D L 0.7 × 15.00
แรงอัดจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ 5 ตัน และจากน้ําหนักแผอีก = = 5.25 ตัน
2 2
รวมเปน PD = 5 + 5.25 = 10.25 ตัน
แรงอัดจากแรงลม PW = 2 ตัน
Pu = 1.2 × 10.25 + 0.8 × 2 = 13.9 ตัน
โมเมนตดัดจากน้ําหนักบรรทุกคงที่เปนครึง่ หนึ่งของน้ําหนักบรรทุกจร
1 1
MD = M L = × 17.11956522 = 8.55978261 ตัน.เมตร
2 2
โมเมนตดัดจากแรงลม ซึ่งทําใหเซได
M W = 15 ตัน.เมตร
ดังนั้น
M nt = 1.2M D = 1.2 × 8.55978261 = 10.27173913 ตัน.เมตร
M lt = 0.8M W = 0.8 × 15 = 12 ตัน.เมตร
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 273

(ง) พิจารณารวมผลของ 1.2D + 0.5L + 1.3W รายละเอียดของ D,L,W ดูจากกรณี (ก),(ข) และ (ค)
จะไดดังนี้
Pu = 1.2PD + 0.5PL + 1.3PW
Pu = 1.2 × 10.25 + 0.5 × 25.5 + 1.3 × 2
Pu = 27.65 ตัน
M nt = 1.2M D + 0.5M L
M nt = 1.2 × 8.55978261 + 0.5 × 17.11956522
M nt = 18.83153674 ตัน.เมตร
M lt = 1.3M W = 1.3 × 15 = 19.5 ตัน.เมตร
เปรียบเทียบทุกกรณี แรงในแนวแกนกรณี (ข) มากที่สุด โดยเปนกรณีไมเซ สวนโมเมนตดัดกรณี (ง)
มากที่สุดโดยเปนกรณีที่มกี ารเซทางขาง จึงตองตรวจสอบทั้งสองกรณี (ไมใชเอาแรงตามแนวแกนจากกรณี
(ข) และโมเมนตดัดจากกรณี (ง))
รูปตัด W350 × 136 มี d = 350 mm, bf = 350 mm, tw = 12 mm, tf = 19 mm, r = 20 mm, A = 173.9
cm2, w = 136 kg/m, Ix = 40,300 cm4, Iy = 13,600 cm4, rx = 15.2 cm, ry = 8.84 cm, Sx = 2300 cm3, Sy = 776
cm3, Zx = 2493.18 cm3
ขั้นตอนที่ 2 หากําลังรับโมเมนตดัดประลัยของรูปตัด
หาระยะค้ํายันทางขาง โจทยระบุวามีการค้าํ ยันทางขางรอบแกน y ที่กงึ่ กลางเสา ดังนั้น
6.00
Lb = = 3.00 m = 300 cm
2
หนาตัดเปนรูปตัว I (หรือคานเหล็กที่มกี ําลังจุดครากตางกัน และคานรูปตัดตัว C)
E 2,040,000
L p = 1.76ry = 1.76 × 8.84 = 444.4368003 cm
Fy 2500

1 + 1 + X 2 (Fy − Fr )
ry X1
Lr =
2

(Fy − Fr )
ผลการวิเคราะหรูปตัดดวย Prokon จะไดขอ มูลโดยละเอียดดังนี้
รูปตัด W350 × 136 มี d = 350 mm, bf = 350 mm, tw = 12 mm, tf = 19 mm, r = 20 mm, A = 173.89
cm2, Ix = 40,299 cm4, Iy = 13,586 cm4, Sx = 2,302.8 cm3, Sy = 776.33 cm3, Zx = 2,545.4 cm3, Zy = 1,178.6
cm3,rx = 15.223 cm, ry = 8.8391 cm J = 199.88 cm4, Zt = 70.605 cm3, Cw = 3,682,100 cm6
E = 2,040,000
E 2,040,000
G= = = 784,615.3846
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3)
Fy = 2500 ksc
Fr = 700 ksc สําหรับเหล็กรูปพรรณ แตถาขึ้นรูปดวยการเชื่อมใช 1150 ksc
274 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

π EGJA π 2,040,000 × 784,615.3846 × 199.88 × 173.89


X1 = =
Sx 2 2302.8 2
X1 = 227,532.8578
2 2
C ⎛ Sx ⎞ 3,682,100 ⎛ 2302.8 ⎞
X2 = 4 w ⎜ ⎟ = 4× ×⎜ ⎟
Iy ⎝ GJ ⎠ 13,586 ⎝ 784,615.3846 × 199.88 ⎠
X 2 = 0.252778809 × 10 −6

1 + 1 + X 2 (Fy − Fr )
rX
ดังนั้น Lr = y 1
2

(Fy − Fr )
8.8391 × 227,532.8578
Lr = 1 + 1 + 0.252778809 × 10 −6 × (2500 − 700)
2

(2500 − 700)
L r = 1712.355121 cm
ตรวจสอบพบวา L b ≤ L p ดังนั้น
φ b M nx = φ b M p = φ b Z x Fy ≤ φ b1.5Sx Fy
kg.cm = 57,271.5 kg.m
φ b Z x Fy = 0.9 × 2545.4 × 2500 = 5,727,150
φ b1.5Sx Fy = 0.9 × 1.5 × 2302.8 × 2500 = 7,771,950 kg.cm = 77,719.5 kg.m
ดังนั้นกําลังรับโมเมนตดัดประลัยของรูปตัดคือ
φ b M nx = 57,271.5 kg.m
ขั้นตอนที่ 3 หากําลังรับแรงอัดประลัยของรูปตัด
สําหรับการดัดรอบแกน y, Ky = 1.0
สําหรับการดัดรอบแกน x ตองหาตัวประกอบความยาวประสิทธิผล Kx ซึ่งตองพิจารณาจาก
Alignment chart ปลายบนของเสาจุด C มีอัตราสวนสติฟเนสของเสาตอสติฟเนสของคาน
E c Ic

Lc
EI
1 15
GA = = 6 = × = 1.25
E I E(2I )
∑ Lb b 15 6 2
b

ปลายลางของเสาจุด D เปน hinge ซึ่งใชคา GB = 10 ใช Alignment chart ที่ยอมใหเซ จะได Kx = 1.93
ความชะลูดทางแกน y มีค้ํายันที่กึ่งกลางเสาทําใหความยาว Ly = 3.00 m = 300 cm
K yLy 1.0 × 300
= = 33.94010702
ry 8.8391
ความชะลูดทางแกน x
K x L x 1.93 × 600 K L
= = 76.06910596 > y y
rx 15.223 ry
ดังนั้นการโกงเดาะเกิดขึ้นรอบแกน x
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 275

K xLx Fy 76.06910596 2,500


λc = = = 0.847643741 ≤ 1.5
rx π E π 2,040,000
λ2c
Fcr = 0.658 Fy = 0.6580.847643741 × 2500 = 1850.697034
2

φc Pn = φc Fcr A g = 0.85 × 1850.697034 × 173.89 = 273,545.0512 kg


ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบกรณี (ข) ซึ่งไมมีการเคลื่อนตัวทางขาง
หา Modification factor B1
เสาในโครงเฟรมที่ไมมีการเซ
⎛M ⎞ ⎛ 0 ⎞
C m = 0.6 − 0.4⎜⎜ 1 ⎟⎟ = 0.6 − 0.4 × ⎜ ⎟ = 0 .6
⎝ M2 ⎠ ⎝ 37.66304348 ⎠
การดัดรอบแกน x ตองหาตัวประกอบความยาวประสิทธิผล Kx ซึ่งตองพิจารณาจาก Alignment chart
ปลายบนของเสาจุด C มีอัตราสวนสติฟเนสของเสาตอสติฟเนสของคาน
E c Ic

Lc
EI
1 15
GA = = 6 = × = 1.25
E I E(2I )
∑ Lb b 15 6 2
b

ปลายลางของเสาจุด D เปน hinge ซึ่งใชคา GB = 10 ใช Alignment chart ที่ไมยอมใหเซ จะได Kx =


0.87
π 2 EA π 2 × 2,040,000 × 173.89
Pe1 = = = 2,977,583.91 kg
⎛ 0.87 × 600 ⎞
2 2
⎛ K x Lx ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ ⎜ ⎟
⎝ rx ⎠ ⎝ 15.223 ⎠
276 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

Cm 0.6
B1 =
Pu
=
53.1× 1000
= 0.61 < 1.0 ใช B1 = 1.0
1− 1−
Pe1 2,977,583.91
หา modification factor B2
ดังนั้นโมเมนตขยายคา (amplified moment)
M ux = B1M nt + B2 M lt = 1.0 × 37.66304348 × 1000 = 37,663.04348 kg.m
เนื่องจาก
Pu 53.1× 1000
= = 0.194117933 < 0.2
φc Pn 273,545.0512
ดังนั้นตองพิจารณาจาก
Pu M ux
+ ≤ 1.0
2φc Pn φ b M nx
53.1 × 1000 37,663.04348
+ ≤ 1.0
2 × 273,545.0512 57,271.5
0.754681754 < 1.0
กรณี (ข) หนาตัดรับแรงได
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบกรณี (ง) ซึ่งมีการเคลื่อนตัวทางขาง
Pu = 27.65 ตัน
M nt = 18.83153674 ตัน.เมตร
M lt = 19.5 ตัน.เมตร
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 277

หาคา modification factor : B1


เสาในโครงเฟรมที่ไมมีการเซ
⎛M ⎞ ⎛ 0 ⎞
C m = 0.6 − 0.4⎜⎜ 1 ⎟⎟ = 0.6 − 0.4 × ⎜ ⎟ = 0 .6
⎝ M2 ⎠ ⎝ 37.66304348 ⎠
การดัดรอบแกน x ตองหาตัวประกอบความยาวประสิทธิผล Kx ซึ่งตองพิจารณาจาก Alignment chart
ปลายบนของเสาจุด C มีอัตราสวนสติฟเนสของเสาตอสติฟเนสของคาน
E c Ic
Lc
∑ EI
1 15
GA = = 6 = × = 1.25
E I E(2I )
∑ Lb b 15 6 2
b

ปลายลางของเสาจุด D เปน hinge ซึ่งใชคา GB = 10 ใช Alignment chart ที่ไมยอมใหเซ จะได Kx =


0.87
π 2 EA π 2 × 2,040,000 × 173.89
Pe1 = = = 2,977,583.91 kg
⎛ 0.87 × 600 ⎞
2 2
⎛ K x Lx ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ ⎜ ⎟
⎝ rx ⎠ ⎝ 15.223 ⎠

Cm 0.6
B1 =
Pu
=
53.1× 1000
= 0.61 < 1.0 ใช B1 = 1.0
1− 1−
Pe1 2,977,583.91
278 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

หาคา modification factor : B2


สําหรับการดัดรอบแกน x ตองหาตัวประกอบความยาวประสิทธิผล Kx ซึ่งตองพิจารณาจาก
Alignment chart ปลายบนของเสาจุด C มีอัตราสวนสติฟเนสของเสาตอสติฟเนสของคาน
E c Ic

Lc
EI
1 15
GA = = 6 = × = 1.25
E I E(2I )
∑ Lb b 15 6 2
b

ปลายลางของเสาจุด D เปน hinge ซึ่งใชคา GB = 10 ใช Alignment chart ที่ยอมใหเซ จะได Kx = 1.93

π 2 EA π 2 × 2,040,000 × 173.89
Pe 2 = = = 605,045.3064 kg
⎛ KL ⎞ ⎛ 1.93 × 600 ⎞
2
⎜⎜ ⎟⎟ ⎜ ⎟
⎝ rb ⎠ ⎝ 15.223 ⎠
1 1
B2 = = = 1.047887469
1−
∑P u 1−
2 × 27.65 × 1000
∑P e2
2 × 605,045.3064

ดังนั้นโมเมนตขยายคา (amplified moment)


M ux = B1M nt + B 2 M lt
M ux = 1.0 × 18.83153674 × 1000 + 1.047887469 × 19.5 × 1000
M ux = 39,265.34239 kg.m
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 279

เนื่องจาก
Pu 27.65 × 1000
= = 0.101080242 < 0.2
φc Pn 273,545.0512
ดังนั้นตองพิจารณาจาก
Pu M ux
+ ≤ 1 .0
2φc Pn φ b M nx
27.65 × 1000 39,265.34239
+ ≤ 1 .0
2 × 273,545.0512 57,271.5
0.736140155 < 1.0
กรณี (ง) หนาตัดรับแรงได
เสาหนาตัด W350 × 136 รับน้ําหนักที่กําหนดได

ตัวอยางที่ 5.3 จงออกแบบสวนของโครงสรางยาว 4.50 เมตร ในโครงเฟรมที่ไมมีการเซ ปลายลางเปนแบบ


ยึดหมุน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงานตามแนวแกน 14 ตัน และน้ําหนักบรรทุกจรตามแนวแกนใช
งาน 33.25 ตัน ที่ปลายบนรับโมเมนตดัดประลัยรอบแกนหลักจากน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 2 ตัน.
เมตร และจากน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 4.75 ตัน.เมตร และโมเมนตดดั ประลัยรอบแกนรองเนื่องจาก
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 0.8 ตัน.เมตร และจากน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 1.9 ตันเมตร โดยไมมแี รง
กระทําตั้งฉากกับแนวแกนระหวางปลายทัง้ สอง ให Kx = Ky = 1.0 ใชเหล็ก ASTM A36

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 หาแรงและโมเมนตที่กระทํา
P = PD + PL = 14 + 33.25 = 47.25 ตัน
M x = M xD + M xL = 2 + 4.75 = 6.75 ตัน.เมตร
280 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

M y = M yD + M yL = 0.8 + 1.9 = 2.7 ตัน.เมตร


ขั้นตอนที่ 2 หาน้ําหนักตามแนวแกนที่เทียบเทาตามขอเสนอของ Yura แลวเลือกรูปตัด
2 7.5
Peq = P + Mx + My
d bf
2 7.5
Peq = 47.25 + × 6.75 + × 2.7
d bf
สมมติใชเสาหนาตัด W − 300 × 94 มี d = b f = 30 cm = 0.30 m
2 7.5
Peq = 47.25 + × 6.75 + × 2.7 = 159.75 ตัน
0.30 0.30
ลองเลือก W − 300 × 94 มี d = 300 mm, bf = 300 mm, tw = 10 mm, tf = 15 mm, r = 18 mm A =
119.78 cm2, w = 94 kg/m, Ix = 20,412 cm4, Iy = 6,754.9 cm4, rx = 13.054 cm, ry = 7.5091 cm, Sx = 1,360.8
cm3, Sy = 450.32 cm3,Zx = 1,501.3 cm3, Zy = 684.27 cm3,J = 88.303 cm4, Zt = 38.938 cm3, Cw = 1,353,800
cm6
ตรวจสอบแบบของหนาตัด
bf 300
ปกคาน = = 10
2t f 2 × 15
E 2,040,000
0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
E 2,040,000
0.56 = 0.56 = 15.99679968
Fy 2500
bf E
< 0.38 หนาตัดเปนแบบ compact
2t f Fy
d 300
แผนตั้ง = = 30
tw 10
E 2,040,000
3.76 = 3.76 = 107.4070836
Fy 2500
E 2,040,000
4.46 = 4.46 = 127.4030832
Fy 2500
d E
< 3.76 หนาตัดเปนแบบ compact
tw Fy
ขั้นตอนที่ 3 หาหนวยแรงอัดที่เกิดขึน้ fa และหนวยแรงอัดที่ยอมให Fa
หนวยแรงอัดที่เกิดขึ้น
P 47.25 × 1000
fa = = = 394.4732009 ksc
A 119.78
หาหนวยแรงอัดที่ยอมให
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 281

K x L x 1.0 × 450
= = 34.47219242
rx 13.054
K yLy 1.0 × 450 K L
= = 59.92728822 > x x
ry 7.5091 rx
เกิดการโกงเดาะรอบแกน y
2π 2 E 2 × 2,040,000 K L
Cc = =π = 126.9141221 > y y
Fy 2500 ry
K yLy 59.92728822
= = 0.472187706
ry C c 126.9141221
⎡ 1 ⎛ K L ⎞2 ⎤
⎢1 − ⎜ y y ⎟ ⎥ Fy
⎢ 2 ⎜⎝ ry C c ⎟⎠ ⎥
Fa = ⎣ ⎦
⎡ 5 3 ⎛ K L ⎞ 1 ⎛ K L ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜ y y ⎟− ⎜ y y ⎟ ⎥
⎢ 3 8 ⎜⎝ ry C c ⎟⎠ 8 ⎜⎝ ry C c ⎟⎠ ⎥
⎣ ⎦
⎡ 1 2⎤
⎢⎣1 − 2 × 0.472187706 ⎥⎦ × 2500
Fa =
⎡5 3 1 3⎤
⎢⎣ 3 + 8 × 0.472187706 − 8 × 0.472187706 ⎥⎦

Fa = 1213.441623 ksc
f a 394.4732009
= = 0.325086261 > 0.15
Fa 1213.441623
สังเกตวา P = Fa A = 1213.441623 × 119.78 = 145,346.0376 kg < Peq = 159,750 kg คา Peq เปน
คาประมาณสําหรับคาดเดาขนาดหนาตัดเทานั้น
ขั้นตอนที่ 4 หาหนวยแรงดัดที่เกิดขึน้ fbx, fby และหนวยแรงดัดทีย่ อมให Fbx, Fby
หนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นจริง
M x 6.75 × 1000 × 100
f bx = = = 496.031746 ksc
Sx 1360.8
M 2.70 × 1000 × 100
f by = y = = 599.5736365 ksc
Sy 450.32
หาหนวยแรงดัดที่ยอมให Fbx
ระยะค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด L = 4.50 m = 450 cm
ระยะค้ํายันทางขางที่ใชเปรียบเทียบเลือกจากคานอยของ
E 2,040,000
L c = 0.444b f = 0.444 × 30.0 = 380.4953067 cm
Fy 2500
Af 30.0 × 1.5
L c = 0.69E = 0.69 × 2,040,000 × = 844.56 cm
dFy 30.0 × 2500
282 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ดังนั้นระยะค้ํายันทางขางที่ใชเปรียบเทียบ คือ L c = 380.4953067 cm


ตรวจสอบพบวา (L = 450 cm) > (Lc = 380.495 cm) แสดงวาค้ํายันทางขางไมพอเพียง ดังนัน้ หนวย
L
แรงดัดจึงขึน้ กับอัตราสวน โดยที่
rT
2
⎛M ⎞
2
M ⎛ 0 ⎞ ⎛ 0 ⎞
C b = 1.75 + 1.05 1 + 0.3⎜⎜ 1 ⎟⎟ = 1.75 + 1.05⎜ ⎟ + 0.3⎜ ⎟ = 1.75
M2 ⎝ M2 ⎠ ⎝ 6,750 ⎠ ⎝ 6,750 ⎠
EC b 2,040,000 × 1.75
3.517 = 3.517 × = 70.86801817
Fy 2500
L L 450
= = = 57.69230769
rT 0.26b f 0.26 × 30.0
L EC b
เปนกรณีที่ < 3.517 ไดหนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนหลักคือ
rT Fy
Fbx = 0.60Fy = 0.60 × 2500 = 1500 ksc
หนวยแรงอัดที่ยอมใหรอบแกนรอง
Fby = 0.75Fy = 0.75 × 2500 = 1875 ksc
ขั้นตอนที่ 5 หา Amplification factor
⎛M ⎞ ⎛ 0 ⎞
C mx = 0.6 − 0.4⎜⎜ 1x ⎟⎟ = 0.6 − 0.4⎜ ⎟ = 0.6
⎝ M 2x ⎠ ⎝ 6,750 ⎠
⎛ M1y ⎞
C my = 0.6 − 0.4⎜ ⎟ = 0.6 − 0.4⎛⎜ 0 ⎞⎟ = 0.6
⎜M ⎟ ⎝ 2,700 ⎠
⎝ 2y ⎠
12π 2 E 12π 2 × 2,040,000
Fex' = = = 8839.862545 ksc
⎛ 1.0 × 450 ⎞
2 2
⎛ K x Lx ⎞
23⎜⎜ ⎟⎟ 23 × ⎜ ⎟
⎝ rbx ⎠ ⎝ 13 .054 ⎠
12π 2 E 12π 2 × 2,040,000
F =
'
ey = = 2925.055233 ksc
⎛ 1.0 × 450 ⎞
2 2
⎛K L ⎞
23⎜ y y ⎟ 23 × ⎜ ⎟
⎜ r ⎟ ⎝ 7.5091 ⎠
⎝ by ⎠
ดังนั้น คา Amplification factor คือ
C mx 0.6
= = 0.628 < 1.0 ใช 1.0
fa 394.4732009
1− ' 1−
Fex 8839.862545
C my 0 .6
= = 0.694 < 1.0 ใช 1.0
fa 394.4732009
1− 1−
Fey ' 2925.055233
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 283

ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบการรับแรงอัดและโมเมนตดัดรวมกันดวยสมการ Interaction


fa C f C my f by
+ mx bx + ≤ 1 .0
Fa 1 − f a Fbx 1 − f a Fby
Fex' Fey'
496.031746 599.5736365
0.325086261 + 1.0 × + 1.0 × ≤ 1.0
1500 1875
0.975546697 ≤ 1.0
ตรวจสอบอีกสมการ
fa f f
+ bx + by ≤ 1.0
0.6Fy Fbx Fby
394.4732009 496.031746 599.5736365
+ + ≤ 1.0
0.6 × 2500 1500 1875
0.91344257 ≤ 1.0
เปนจริงทั้งสองสมการ ดังนัน้ เลือกรูปตัด W300 × 94 รับน้ําหนักทีก่ าํ หนดได

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD

ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักบรรทุกเพิ่มคา
Pu = 1.2PD + 1.6PL = 1.2 × 14 + 1.6 × 33.25 = 70 ตัน
M ux = 1.2M Dx + 1.6M Lx = 1.2 × 2 + 1.6 × 4.75 = 10 ตัน.เมตร
M uy = 1.2M Dy + 1.6M Ly = 1.2 × 0.8 + 1.6 × 1.9 = 4 ตัน.เมตร
ขั้นตอนที่ 2 หาน้ําหนักเทียบเทาตามแนวแกน
2 7 .5 2 7 .5
Pu ,eq = Pu + M ux + M uy = 70 × 1000 + 10 × 1000 × + 4 × 1000 ×
d bf d bf
20,000 30,000
Pu ,eq = 70,000 + +
d bf
ลองเลือก W − 300 × 94 มี d = 300 mm, bf = 300 mm, tw = 10 mm, tf = 15 mm, r = 18 mm A =
119.78 cm2, w = 94 kg/m, Ix = 20,412 cm4, Iy = 6,754.9 cm4, rx = 13.054 cm, ry = 7.5091 cm, Sx = 1,360.8
cm3, Sy = 450.32 cm3,Zx = 1,501.3 cm3, Zy = 684.27 cm3,J = 88.303 cm4, Zt = 38.938 cm3, Cw = 1,353,800
cm6
K x L x 1.0 × 450
= = 34.47219243
rx 13.054
K yLy 1.0 × 450 K L
= = 59.92728822 > x x
ry 7.5091 rx
การโกงเดาะเกิดรอบแกน y ดังนั้น
K yLy Fy 59.92728822 2500
λc = = = 0.667774258 < 1.5
ry π E π 2,040,000
284 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

Fcr = 0.658λc Fy = 0.6580.667774258 × 2500 = 0.6580.44592246 × 2500


2 2

Fcr = 2074.353899 ksc


φc Pn = φc Fcr A g = 0.85 × 2074.353899 × 119.78 = 211,196.1935 kg
20,000 30,000 20,000 30,000
Pu ,eq = 70,000 + + = 70,000 + +
d bf 0.300 0.300
Pu ,eq = 236,666.6667 kg มากกวา φc Pn แตเปนคาประมาณ ดังนั้นยังคงลองใชรูปตัด
W300 × 94

ขั้นตอนที่ 3 หาโมเมนตดดั ประลัยที่ขยายคา (amplified moment) และรวมผลของ PΔ เอาไวแลว


คาโมเมนตดัดประลัยรอบแกน x
M ux = B1x M nt + B2 x M lt
⎛M ⎞ ⎛ 0 ⎞
C mx = 0.6 − 0.4⎜⎜ 1x ⎟⎟ = 0.6 − 0.4 × ⎜ ⎟ = 0 .6
⎝ 2x ⎠
M ⎝ 10, 000 ⎠
π EA
2
π × 2,040,000 × 119.78
2
Pe1x = = = 2,029,440.91 kg
⎛ 1.0 × 450 ⎞
2 2
⎛ K xLx ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ ⎜ ⎟
⎝ rx ⎠ ⎝ 13.054 ⎠
C mx 0.6
B1x =
Pu
=
70,000
= 0.621 < 1.0 ใช B1x = 1.0
1− 1−
Pe1x 2,029,440.91
ในที่นี้
M nt = 10,000 kg.m และ M lt = 0
ดังนั้น
M ux = B1x M nt + B2 x M lt = 1.0 × 10,000 + B2 x × 0 = 10,000 kg.m
คาโมเมนตดัดประลัยรอบแกน y
M uy = B1y M nt + B2 y M lt
⎛M ⎞ ⎛ 0 ⎞
C my = 0.6 − 0.4⎜ 1y ⎟ = 0.6 − 0.4 × ⎜ ⎟ = 0.6
⎜M ⎟ ⎝ 4,000 ⎠
⎝ 2 y ⎠
π EA
2
π × 2,040,000 × 119.78
2
Pe1y = = = 671,529.3053 kg
⎛ 1.0 × 450 ⎞
2 2
⎛ K yLy ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎜ r ⎟ ⎝ 7.5091 ⎠
⎝ y ⎠
C my 0 .6
B1y = = = 0.67 < 1.0 ใช B1y = 1.0
Pu 70,000
1− 1−
Pe1y 671,529.3053
ในที่นี้ M nt = 4000 kg.m และ M lt = 0
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 285

ดังนั้น
M uy = B1y M nt + B 2 y M lt = 1.0 × 4000 + B 2 y × 0 = 4000 kg.m
ขั้นตอนที่ 4 หากําลังรับโมเมนตดัดประลัย
กําลังรับโมเมนตดัดประลัยรอบแกน x
ตรวจสอบวาหนาตัดเปนแบบคอมแพคหรือไม
สวนปก (flange)
E 2,040,000
λ p = 0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
bf 30.0
= = 10 < λ p
2 t f 2 × 1.5
สวนแผนตั้ง (web)
h d − 2t f − 2r 30.0 − 2 × 1.5 − 2 × 1.8
= = = 23.4
tw tw 1.0
เนื่องจาก
Pu Pu 70,000
= = = 0.25973544 > 0.125
φ b Py φ b (AFy ) 0.9(119.78 × 2500 )
ดังนั้น
E ⎛⎜ P ⎞
λ p = 1.12 2.33 − u ⎟ = 1.12
2,040,000
(2.33 − 0.25973544)
Fy ⎜⎝ φ b Py ⎟⎠ 2500
h
λ p = 66.2352149 > = 23.4
tw
แสดงวารูปตัดนี้เปนแบบคอมแพค
ตรวจสอบระยะค้ํายันทางขางเพื่อหากําลังรับโมเมนตดัดประลัย
4 3
I y = 6754.9 cm , ry = 7.5091 cm, Sx = 1360.8 cm

J=
1
3
( ) (1
)
2b f t 3f + dt 3w = 2 × 30.0 × 1.53 + 30.0 × 1.03 = 77.5 cm
3
4

6754.9 × 30.0 2
2
I d 6
Cw = y = = 1,519,852.5 cm
4 4
2
A = 119.78 cm , E = 2,040,000 ksc, ν = 0.3 = Poisson’s ratio ไดโมดูลัสการเฉือน
E 2,040,000
G= = = 784,615.3846 ksc
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3)
π EGJA π 2,040,000 × 784,615.3846 × 77.5 × 119.78
x1 = =
Sx 2 1360.8 2
x 1 = 198,988.0854 kg/cm2
2
4 × 1,519,852.5 ⎛
2
4C w ⎛ Sx ⎞ 1360.8 ⎞
x2 = ⎜ ⎟ = ⎜ ⎟
Iy ⎝ GJ ⎠ 6754.9 ⎝ 784,615.3846 × 77.5 ⎠
286 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

x 2 = 0.45072751 × 10 −6 (kg/cm2)-2
E 2,040,000
L p = 1.76ry = 1.76 × 7.5091 == 377.5249295 cm
Fy 2500

1 + 1 + x 2 (Fy − Fr )
ry x1
Lr =
2

Fy − Fr
7.5091 × 198,988.0854
Lr = 1 + 1 + 0.45072751 × 10 −6 × (2500 − 700 )
2500 − 700
L r = 830.1230178 1 + 1 + 0.000811309
L r = 830.1230178 1 + 1.000405573
L r = 830.1230178 × 1.414356947
L r = 1174.090257 cm
ขณะที่ L b = 450 cm
นั่นคือ Lp < Lb < Lr
ดังนั้น
⎡ L − Lp ⎤
M n = C b ⎢M p − (M p − M r ) b ⎥
⎢⎣ L r − L p ⎥⎦
2
⎛M ⎞ ⎛M ⎞
เมื่อ C b = 1.75 + 1.05⎜⎜ 1 ⎟⎟ + 0.3⎜⎜ 1 ⎟⎟
⎝ M2 ⎠ ⎝ M2 ⎠
2
⎛ 0 ⎞ ⎛ 0 ⎞
C b = 1.75 + 1.05⎜ ⎟ + 0.3⎜ ⎟ = 1.75
⎝ 10,000 ⎠ ⎝ 10,000 ⎠
M p = Fy Z x = 2500 × 1501.3 = 3,753,250 kg.cm
M r = (Fy − Fr )Sx = (2500 − 700) × 1360.8 = 2,449,440 kg.cm
ดังนั้น
Lb − Lp 450 − 377.5249295
= = 0.090984465
Lr − Lp 1174.090257 − 377.5249295
Lb − Lp
(M − Mr ) = (3,753,250 − 2,449,440 ) × 0.090984465
Lr − Lp
p

Lb − Lp
(M − Mr ) = 118,626.4559
Lr − Lp
p

M n = 1.75[3,753,250 − 118,626.4559]
M n = 6,360,591.202 kg.cm > M p = 3,753,250 kg.cm
ตองใช M n = M p = 3,753,250 kg.cm = 37,532.5 kg.m
φ b M n = 0.9 × 37,532.5 = 33,779.25 kg.m
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 287

กําลังรับโมเมนตดัดประลัยรอบแกน y
Zy 684.27
เนื่องจาก = = 1.519519453 > 1.50 แสดงวา M p > 1.5M y
Sy 450.32
ดังนั้น
φ b M ny = φ b (1.5M y ) = 0.9(1.5FyS y ) = 0.9 × 1.5 × 2500 × 450.32 = 1,519,830 kg.cm
kg.m
φ b M ny = 15,198.3
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับแรงอัดและโมเมนตดัดรวมกันดวยสมการ Interaction
Pu 70,000
เนื่องจาก = = 0.331445367 ≥ 0.2 ดังนั้นใชสมการ 5.3.5
φc Pn 211,196.1935
Pu 8 ⎛ M ux M uy ⎞
+ ⎜ + ⎟ ≤ 1.0
φc Pn 9 ⎜⎝ φ b M nx φM ny ⎟⎠
8 ⎛ 10,000 4,000 ⎞
0.331445367 + ⎜ + ⎟ ≤ 1.0
9 ⎝ 33,779.25 15,198.3 ⎠
0.828536086 ≤ 1.0
ดังนั้น เลือกใชรูปตัด W300 × 94 รับน้ําหนักทีก่ ําหนดได

ตัวอยางที่ 5.4 จงออกแบบเสาในโครงเฟรมที่ยอมใหเซไดดังแสดง รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 720 kg/m


น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 1530 kg/m แรงลมใชงานกระทําในแนวนอน 2700 kg ใชเหล็กชนิด ASTM
Δ 0h
A36 ถายอมใหดัชนีการเซทางขาง drift index = เนื่องจากการกระทําของแรงลมใชงานเทากับ
L
1
สมมติวาโมเมนตดัดกระทํารอบแกนหลักของหนาตัดเสา เสามีค้ํายันทางขางที่ปลายบนและ
300
ปลายลางเทานัน้ สมมติใหคานมีโมเมนตอนิ เนอรเชียเปนสองเทาของเสา
วิธีทํา
ทําการวิเคราะหโครงสรางแบบอินดีเทอรมิเนท ในทีน่ ี้ใชวิธี Slope-deflection ซึ่งไดคาละเอียดมาก
กรณีรับน้ําหนักบรรทุกคงที่ w DL = 0.72 ตัน/เมตร
FEM AB = FEM BA = FEM CD = FEM DC = 0
0.72 × 12 2
FEM BC = − = −8.64
12
0.72 × 12 2
FEM CB =+ = +8.64
12
เขียนสมการ slope-defection
M NF =
2EI
(2θ N + θF − 3φ NF ) + FEM NF
L
M AB =
2EI
(2θA + θB − 0) + 0 = 4 EIθA + 2 EIθB
4.5 4.5 4.5
288 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

M BA =
2EI
(2θB + θA − 0) + 0 = 2 EIθA + 4 EIθB
4.5 4.5 4.5
2E(2I )
M BC = (2θB + θC − 0) − 8.64 = 2 EIθB + 1 EIθC − 8.64
12 3 3
2E(2I )
M CB = (2θC + θB − 0) + 8.64 = EIθB + EIθC + 8.64
1 2
12 3 3
M CD =
2EI
(2θC + θD − 0) + 0 = EIθC + EIθD
4 2
4.5 4.5 4.5
M DC =
2EI
(2θD + θC − 0) + 0 = 2 EIθC + 4 EIθD
4.5 4.5 4.5
พิจารณาสมดุลของจุดตอ A
M AB = 0
4 2
EIθ A + EIθ B = 0
4 .5 4 .5
2EIθ A + EIθ B + 0EIθC + 0EIθ D = 0 ...................................(1)
พิจารณาสมดุลของจุดตอ B
M BA + M BC = 0
2 4 2 1
EIθ A + EIθ B + EIθ B + EIθC − 8.64 = 0
4.5 4.5 3 3
4EIθ A + 8EIθ B + 6EIθ B + 3EIθC = 77.76
4EIθ A + 14EIθ B + 3EIθC + 0EIθ D = 77.76 .........................(2)
พิจารณาสมดุลของจุดตอ C
M CB + M CD = 0
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 289

1 2 4 2
EIθ B + EIθC + 8.64 + EIθC + EIθ D = 0
3 3 4 .5 4 .5
3EIθ B + 6EIθC + 77.76 + 8EIθC + 4EIθ D = 0
0EIθ A + 3EIθ B + 14EIθC + 4EIθ D = −77.76 …………………….(3)
พิจารณาสมดุลที่จุดตอ D
M DC = 0
2 4
EIθC + EIθ D = 0
4 .5 4 .5
0EIθ A + 0EIθ B + EIθC + 2EIθ D = 0 .................................(4)
รวมสมการจัดในรูปเมตริกซ แลวแกสมการดวย Gauss-Jordan Elimination Method
2EIθ A + EIθ B + 0EIθC + 0EIθ D = 0 .............................................(1)
4EIθ A + 14EIθ B + 3EIθC + 0EIθ D = 77.76 ....................................(2)
0EIθ A + 3EIθ B + 14EIθC + 4EIθ D = −77.76 …………………….(3)
0EIθ A + 0EIθ B + EIθC + 2EIθ D = 0 ...............................................(4)
⎡2 1 0 0⎤ ⎡EIθ A ⎤ ⎡ 0 ⎤ (1)
⎢4 14 3 0⎥ ⎢ EIθ ⎥ ⎢ 77.76 ⎥ (2)
⎢ ⎥⎢ B⎥
=⎢ ⎥
⎢0 3 14 4⎥ ⎢ EIθC ⎥ ⎢− 77.76⎥ (3)
⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎣0 0 1 2⎦ ⎣EIθ D ⎦ ⎣ 0 ⎦ (4)
(1) ⇒ (1)
(1) × 2 − (2) ⇒ (2)
⎡2 1 0 0⎤ ⎡EIθ A ⎤ ⎡ 0 ⎤ (1)
⎢0 − 12 − 3 0⎥ ⎢ EIθ ⎥ ⎢− 77.76⎥ (2)
⎢ ⎥⎢ B⎥
=⎢ ⎥
⎢0 3 14 4⎥ ⎢ EIθC ⎥ ⎢− 77.76⎥ (3)
⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎣0 0 1 2⎦ ⎣EIθ D ⎦ ⎣ 0 ⎦ (4)
(2) ⇒ (2)
(2) + 4 × (3) ⇒ (3)
⎡2 1 0 0 ⎤ ⎡EIθ A ⎤ ⎡ 0 ⎤ (1)
⎢0 − 12 − 3 0 ⎥ ⎢ EIθ ⎥ ⎢− 77.76⎥ (2)
⎢ ⎥⎢ B⎥
=⎢ ⎥
⎢0 0 53 16⎥ ⎢ EIθC ⎥ ⎢ − 388.8⎥ (3)
⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎣0 0 1 2 ⎦ ⎣EIθ D ⎦ ⎣ 0 ⎦ (4)
(3) ⇒ (3)
(3) − 53 × (4) ⇒ (4)
⎡2 1 0 0 ⎤ ⎡EIθ A ⎤ ⎡ 0 ⎤ (1)
⎢0 − 12 − 3 ⎥ ⎢ ⎥ ⎢
0 ⎥ ⎢ EIθ B ⎥ ⎢− 77.76⎥ ⎥ (2)
⎢ =
⎢0 0 53 16 ⎥ ⎢ EIθC ⎥ ⎢ − 388.8⎥ (3)
⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎣0 0 0 − 90⎦ ⎣EIθ D ⎦ ⎣ − 388.8⎦ (4)
290 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

จากสมการที่ (4)
− 90EIθ D = −388.8
− 388.8
EIθ D = = 4.32
− 90
จากสมการที่ (3)
53EIθC + 16EIθ D = −388.8
53EIθC + 16 × 4.32 = −388.8
53EIθC = −388.8 − 16 × 4.32 = −457.92
− 457.92
EIθC = = −8.64
53
จากสมการที่ (2)
− 12EIθ B − 3EIθC = −77.76
− 12EIθ B − 3(− 8.64 ) = −77.76
− 12EIθ B = −77.76 − 3 × 8.64 = −103.68
− 103.68
EIθ B = = 8.64
− 12
จากสมการที่ (1)
2EIθ A + EIθ B = 0
EIθ B 8.64
EIθ A = − =− = −4.32
2 2
แทนคาหาโมเมนตที่ปลายชิน้ สวน
M AB =
4
EIθ A +
2
EIθ B =
4
(− 4.32) + 2 (8.64) = 0
4.5 4.5 4.5 4.5
M BA =
2
EIθ A +
4
EIθ B =
2
(− 4.32) + 4 (8.64) = 5.76 t.m
4.5 4.5 4.5 4.5
= EIθ B + EIθC − 8.64 = (8.64 ) + (− 8.64 ) − 8.64 = −5.76 t.m
2 1 2 1
M BC
3 3 3 3
= EIθ B + EIθC + 8.64 = (8.64) + (− 8.64) + 8.64 = 5.76 t.m
1 2 1 2
M CB
3 3 3 3
M CD =
4
EIθC +
2
EIθ D =
4
(− 8.64) + 2 (4.32) = −5.76 t.m
4.5 4.5 4.5 4.5
M DC =
2
EIθC +
4
EIθ D =
2
(− 8.64) + 4 (4.32) = 0
4.5 4.5 4.5 4.5
วิเคราะหหาแรงตามแนวแกน
w D L 0.72 × 12
PDA = = = 4.32 ตัน
2 2
กรณีรับน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน w LL = 1.53 ตัน/เมตร
FEM AB = FEM BA = FEM CD = FEM DC = 0
1.53 × 12 2
FEM BC = − = −18.36
12
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 291

1.53 × 12 2
FEM CB = + = +18.36
12
เขียนสมการ slope-defection
M NF =
2EI
(2θ N + θF − 3φ NF ) + FEM NF
L
M AB =
2EI
(2θA + θB − 0) + 0 = 4 EIθA + 2 EIθB
4.5 4.5 4.5
M BA =
2EI
(2θB + θA − 0) + 0 = 2 EIθA + 4 EIθB
4.5 4.5 4.5
2E(2I )
M BC = (2θB + θC − 0) − 18.36 = 2 EIθB + 1 EIθC − 18.36
12 3 3
2E(2I )
M CB = (2θC + θB − 0) + 18.36 = EIθB + EIθC + 18.36
1 2
12 3 3
M CD =
2EI
(2θC + θD − 0) + 0 = EIθC + EIθD
4 2
4.5 4.5 4.5
M DC =
2EI
(2θD + θC − 0) + 0 = 2 EIθC + 4 EIθD
4.5 4.5 4.5
พิจารณาสมดุลของจุดตอ A
M AB = 0
4 2
EIθ A + EIθ B = 0
4 .5 4 .5
2EIθ A + EIθ B + 0EIθC + 0EIθ D = 0 ...................................(1)
พิจารณาสมดุลของจุดตอ B
M BA + M BC = 0
2 4 2 1
EIθ A + EIθ B + EIθ B + EIθC − 18.36 = 0
4.5 4.5 3 3
4EIθ A + 8EIθ B + 6EIθ B + 3EIθC = 165.24
4EIθ A + 14EIθ B + 3EIθC + 0EIθ D = 165.24 .........................(2)
พิจารณาสมดุลของจุดตอ C
M CB + M CD = 0
1 2 4 2
EIθ B + EIθC + 18.36 + EIθC + EIθ D = 0
3 3 4 .5 4 .5
3EIθ B + 6EIθC + 165.24 + 8EIθC + 4EIθ D = 0
0EIθ A + 3EIθ B + 14EIθC + 4EIθ D = −165.24 …………………….(3)
พิจารณาสมดุลที่จุดตอ D
M DC = 0
2 4
EIθC + EIθ D = 0
4 .5 4 .5
0EIθ A + 0EIθ B + EIθC + 2EIθ D = 0 .................................(4)
292 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

รวมสมการจัดในรูปเมตริกซ แลวแกสมการดวย Gauss-Jordan Elimination Method


2EIθ A + EIθ B + 0EIθC + 0EIθ D = 0 .............................................(1)
4EIθ A + 14EIθ B + 3EIθC + 0EIθ D = 165.24 ....................................(2)
0EIθ A + 3EIθ B + 14EIθC + 4EIθ D = −165.24 …………………….(3)
0EIθ A + 0EIθ B + EIθC + 2EIθ D = 0 ...............................................(4)
⎡2 1 0 0⎤ ⎡EIθ A ⎤ ⎡ 0 ⎤ (1)
⎢4 14 3 0⎥ ⎢ EIθ ⎥ ⎢ 165.24 ⎥ (2)
⎢ ⎥⎢ B⎥
=⎢ ⎥
⎢0 3 14 4⎥ ⎢ EIθC ⎥ ⎢− 165.24⎥ (3)
⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎣0 0 1 2⎦ ⎣EIθ D ⎦ ⎣ 0 ⎦ (4)
(1) ⇒ (1)
(1) × 2 − (2) ⇒ (2)
⎡2 1 0 0⎤ ⎡EIθ A ⎤ ⎡ 0 ⎤ (1)
⎢0 − 12 − 3 0⎥ ⎢ EIθ ⎥ ⎢− 165.24⎥ (2)
⎢ ⎥⎢ B⎥
=⎢ ⎥
⎢0 3 14 4⎥ ⎢ EIθC ⎥ ⎢− 165.24⎥ (3)
⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎣0 0 1 2⎦ ⎣EIθ D ⎦ ⎣ 0 ⎦ (4)
(2) ⇒ (2)
(2) + 4 × (3) ⇒ (3)
⎡2 1 0 0 ⎤ ⎡EIθ A ⎤ ⎡ 0 ⎤ (1)
⎢0 − 12 − 3 0 ⎥ ⎢ EIθ ⎥ ⎢− 165.24⎥ (2)
⎢ ⎥⎢ B⎥
=⎢ ⎥
⎢0 0 53 16⎥ ⎢ EIθC ⎥ ⎢ − 826.2 ⎥ (3)
⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎣0 0 1 2 ⎦ ⎣EIθ D ⎦ ⎣ 0 ⎦ (4)
(3) ⇒ (3)
(3) − 53 × (4) ⇒ (4)
⎡2 1 0 0 ⎤ ⎡EIθ A ⎤ ⎡ 0 ⎤ (1)
⎢0 − 12 − 3 ⎥ ⎢ ⎥ ⎢
0 ⎥ ⎢ EIθ B ⎥ ⎢− 165.24⎥ ⎥ (2)
⎢ =
⎢0 0 53 16 ⎥ ⎢ EIθC ⎥ ⎢ − 826.2 ⎥ (3)
⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎣0 0 0 − 90⎦ ⎣EIθ D ⎦ ⎣ − 826.2 ⎦ (4)
จากสมการที่ (4)
− 90EIθ D = −826.2
− 826.2
EIθ D = = 9.18
− 90
จากสมการที่ (3)
53EIθC + 16EIθ D = −826.2
53EIθC + 16 × 9.18 = −826.2
53EIθC = −826.2 − 16 × 9.18 = −973.08
− 973.08
EIθC = = −18.36
53
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 293

จากสมการที่ (2)
− 12EIθ B − 3EIθC = −165.24
− 12EIθ B − 3(− 18.36 ) = −165.24
− 12EIθ B = −165.24 − 3 × 18.36 = −220.32
− 220.32
EIθ B = = 18.36
− 12
จากสมการที่ (1)
2EIθ A + EIθ B = 0
EIθ B 18.36
EIθ A = − =− = −9.18
2 2
แทนคาหาโมเมนตที่ปลายชิน้ สวน
M AB =
4
EIθ A +
2
EIθ B =
4
(− 9.18) + 2 (18.36) = 0
4.5 4.5 4.5 4.5
M BA =
2
EIθ A +
4
EIθ B =
2
(− 9.18) + 4 (18.36) = 12.24 t.m
4.5 4.5 4.5 4.5
= EIθ B + EIθC − 18.36 = (18.36 ) + (− 18.36) − 18.36 = −12.24 t.m
2 1 2 1
M BC
3 3 3 3
= EIθ B + EIθC + 18.36 = (18.36) + (− 18.36) + 18.36 = 12.24 t.m
1 2 1 2
M CB
3 3 3 3
M CD =
4
EIθC +
2
EIθ D =
4
(− 18.39) + 2 (9.18) = −12.24 t.m
4.5 4.5 4.5 4.5
M DC =
2
EIθC +
4
EIθ D =
2
(− 18.36) + 4 (9.18) = 0
4.5 4.5 4.5 4.5
วิเคราะหหาแรงตามแนวแกน
w D L 1.53 × 12
PDA = = = 9.18 ตัน
2 2
พิจารณาผลแรงลม
[∑ M A =0 ] R D × 12 = 2.7 × 4.5
2.7 × 4.5
RD = = 1.0125 ตัน แรงอัด
12
[∑ F y =0 ] R A = − R D = 1.0125 ตัน แรงดึง
เนื่องจากความสมมาตร แบงแรงแนวนอนเทากัน
2.7
HA = HD = = 1.35 ตันไปทางซาย
2
M BA = −1.35 × 4.50 = −6.075 ตันเมตร ทวนเข็มนาฬิกา = M CD
ตัน.เมตร ตามเข็มนาฬิกา
M BC = M CB = 6.075
ผลลัพธการวิเคราะหดังรูป (ข) และ (ค) สรุปไดดังนี้
แรงอัด PDL = 4320 kg
PLL = 9180 kg
294 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

PwL = 1012.5 kg
โมเมนตดัด
M DL = 5760 kg.m
M LL = 12240 kg.m
M wL = 6075 kg.m
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักและโมเมนตดดั ทีก่ ระทําโดยไมนําผลของแรงลมมาพิจารณารวม
เสาดานขวามือจะรับผลของน้ําหนักบรรทุกปกติรวมกับแรงลมสูงสุด ดังนั้นจึงพิจารณาออกแบบเสา
ทางดานขวามือ
P = 4,320 + 9,180 = 13,500 kg
M = 5,760 + 12,240 = 18,000 kg.m
ขั้นตอนที่ 2 เลือกขนาดรูปตัด
เนื่องจากโมเมนตดัดทีก่ ระทํามีคามากเมื่อเทียบกับแรงอัดที่กระทํา จึงแปลงคาแรงอัดเปนโมเมนตดัดที่
เทียบเทา ตามขอเสนอของ Yura ดังนี้
d d
M eq = M x + P = 18,000 + 13,500 = 18,000 + 6,750d kg.m
2 2
สมมติเลือกรูปตัด W300 × 94 ไดโมเมนตเทียบเทาเปน
M eq = 18,000 + 6,750 × 0.30 = 20,025 kg.m
สมมติวา Fb = 0.6Fy = 0.6 × 2500 = 1500 ksc
M 20,025 × 100
Sx = = = 1335 cm 3
Fb 1500
ลองเลือก W − 300 × 94 มี d = 300 mm, bf = 300 mm, tw = 10 mm, tf = 15 mm, r = 18 mm A =
119.78 cm2, w = 94 kg/m, Ix = 20,412 cm4, Iy = 6,754.9 cm4, rx = 13.054 cm, ry = 7.5091 cm, Sx = 1,360.8
cm3, Sy = 450.32 cm3,Zx = 1,501.3 cm3, Zy = 684.27 cm3,J = 88.303 cm4, Zt = 38.938 cm3, Cw = 1,353,800
cm6
ขั้นตอนที่ 3 หาหนวยแรงอัดที่เกิดขึน้ จริง fa และหนวยแรงอัดที่ยอมให Fa
หนวยแรงอัดที่เกิดขึ้นจริง
P 13,500
fa = = = 112.7066288 ksc
A 119.78
หาหนวยแรงอัดที่ยอมให ขั้นแรกตองพิจารณาความชะลูด
การโกงเดาะรอบแกน y มีตัวประกอบความยาวประสิทธิผล K y = 1.0
การโกงเดาะรอบแกน x ตองใช Alignment chart โดยปลายลางเปน hinge ดังนั้น G B = 10 สวนปลาย
บนตองหาจาก
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 295

4EI c

Lc
4EI
1 12 12 4
GA = = 4.5 = × = = = 1.33
4EI b 4E(2I ) 4.5 2
∑ L 12
9 3

ใช Alignment chart ของโครงเฟรมที่เซไดโยงเสนตรงระหวาง GA กับ GB ตัดเสนกลางได Kx = 1.95

ความชะลูดทางแกน y
K yLy 1.0 × 450
= = 59.92728822
ry 7.5091
ความชะลูดทางแกน x
K x L x 1.95 × 450 K L
= = 67.22077524 > y y
rx 13.054 ry
การโกงเดาะเกิดรอบแกน x
2π 2 E 2 × 2,040,000 K L
Cc = =π = 126.9141221 > x x
Fy 2500 rx
K x L x 67.22077524
= = 0.52965598
rx C c 126.9141221
⎡ 1 ⎛K L ⎞
2

⎢1 − ⎜⎜ x x ⎟
⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rx C c ⎠ ⎥⎦
Fa =
⎡5 3 ⎛ K L ⎞ 1 ⎛ KxLx ⎞
3

⎢ + ⎜ x x ⎟− ⎜ ⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎜⎝ rx C c ⎟ 8⎜ r C
⎠ ⎝ x c

⎠ ⎥⎦
296 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

⎡ 1 2⎤
⎢⎣1 − 2 (0.529655598) ⎥⎦ × 2500
Fa =
⎡5 3 3⎤
⎢⎣ 3 + 8 (0.529655598) − 8 (0.529655598) ⎥⎦
1

Fa = 1163.867829 ksc
ดังนั้น
f a 112.7066288
= = 0.096837996 < 0.15
Fa 1163.867829
ขั้นตอนที่ 4 หาหนวยแรงดัดที่เกิดขึน้ จริง fbx และหนวยแรงดัดทีย่ อมให Fbx
หนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นจริง
M x 18,000 × 100
f bx = = = 1322.751323 ksc
Sx 1360.8
หาหนวยแรงดัดที่ยอมให Fbx
ระยะค้ํายันทางขาง L = 4.50 m = 450 cm
E 2,040,000
L c = 0.444b f = 0.444 × 30.0 = 380.4953067 cm
Fy 2500
L
พบวา L > L c การหาคาของ Fbx จะตองพิจารณาจากผลของ
rT
คา M1 = 0 = โมเมนตดดั ที่ปลายลางของเสาซึ่งมีคานอยเปน 0 เพราะเปน hinge
คา M 2 = 18,000 kg.m = โมเมนตดัดที่ปลายบนซึ่งมีคามากกวา
2
⎛M ⎞ ⎛M ⎞
C b = 1.75 + 1.05⎜⎜ 1 ⎟⎟ + 0.3⎜⎜ 1 ⎟⎟
⎝ M2 ⎠ ⎝ M2 ⎠
2
⎛ 0 ⎞ ⎛ 0 ⎞
C b = 1.75 + 1.05⎜ ⎟ + 0.3⎜ ⎟
⎝ 18,000 ⎠ ⎝ 18,000 ⎠
C b = 1.75
EC b 2,040,000 × 1.75
3.517 = 3.517 × = 70.86801817
Fy 2500
L L 450
= = = 57.69230769
rT 0.26b f 0.26 × 30.0
L EC b
พบวา < 3.517 ดังนั้นหนวยแรงดัดที่ยอมใหคือ
rT Fy
Fbx = 0.6Fy = 0.6 × 2500 = 1500 ksc
ดังนั้น
f bx 1322.751323
= = 0.881834215
Fbx 1500
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 297

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบดวยสมการ Interaction


f a f bx
+ = 0.096837996 + 0.881834215 = 0.978672211 < 1.0 ใชได
Fa Fbx
ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบเมื่อพิจารณารวมผลของแรงลมเขาไปดวย
มาตรฐาน AISC/ASD ใหเพิ่มหนวยแรงที่ยอมใหอกี 33% เมื่อรวมผลของแรงลมเขาไปดวย ในทาง
ตรงกันขามแทนที่จะเพิ่มหนวยแรงที่ยอมใหกลับลดแรงและโมเมนตลงเหล็ก 75% ก็ไดผลอยางเดียวกัน
P = 0.75(PDL + PLL + PWL ) = 0.75(4320 + 9180 + 1012.5) = 10,884.375 kg
M = 0.75(M DL + M LL + M WL ) = 0.75(5,760 + 12,240 + 6,075) = 18,056.25 kg.m
หนวยแรงอัดที่เกิดขึ้น
P 10,884.375
fa = = = 90.86971949 ksc
A 119.78
หนวยแรงอัดที่ยอมให เหมือนเดิมคือ
Fa = 1163.867829 ksc
f a 90.86971949
ดังนั้น = = 0.078075634 < 0.15
Fa 1163.867829
หนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นจริง
M x 18,056.25 × 100
f bx = = = 1326.884921 ksc
Sx 1360.8
หนวยแรงดัดที่ยอมให เหมือนเดิมคือ
Fbx = 0.6Fy = 0.6 × 2500 = 1500 ksc
f bx 1326.884921
ดังนั้น = = 0.884589947
Fbx 1500
ตรวจสอบโดยใชสมการ Interaction
f a f bx
+ = 0.078075634 + 0.884589947 = 0.962665581 < 1.0 ใชได
Fa Fbx
ดังนั้นเลือกหนาตัดเสา W300 × 94

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD

ขั้นตอนที่ 1 หาคาแรงเพิ่มคาและโมเมนตดัดเพิ่มคา ทีก่ ระทําตอเสาทางขวามือ ตามมาตรฐานกําหนด


(ก) พิจารณาจากผลของ 1.4D หรือ 1.4 เทาของน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน
Pu = 1.4PDL = 1.4 × 4,320 = 6,048 kg
M nt = 1.4M DL = 1.4 × 5,760 = 8,064 kg.m = 806,400 kg.cm
M lt = 0
298 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

(ข) เมื่อพิจารณาจากผลรวมของ 1.2D+1.6L


Pu = 1.2PDL + 1.6PLL = 1.2 × 4,320 + 1.6 × 9,180 = 19,872 kg
M nt = 1.2M DL + 1.6M LL = 1.2 × 5,760 + 1.6 × 12,240 = 26,496 kg.m
M nt = 2,649,600 kg.cm
M lt = 0
(ค) เมื่อพิจารณาจากผลรวมของ 1.2D + 0.8W
Pu = 1.2PDL + 0.8PWL = 1.2 × 4,320 + 0.8 × 1012.5 = 5,994 kg
M nt = 1.2M DL = 1.2 × 5,760 = 6,912 kg.m = 691,200 kg.cm
M lt = 0.8M WL = 0.8 × 6075 = 4,860 kg.m = 486,000 kg.cm
(ง) เมื่อพิจารณารวมผลของ 1.2D + 0.5L + 1.3W
Pu = 1.2PDL + 0.5PLL + 1.3PWL = 1.2 × 4,320 + 0.5 × 9,180 + 1.3 × 1,012.5
Pu = 11,090.25 kg
M nt = 1.2M DL + 0.5M LL = 1.2 × 5,760 + 0.5 × 12,240 = 13,032 kg.m
M nt = 1,303,200 kg.cm
M lt = 1.3M WL = 1.3 × 6,075 = 7,897.5 kg.m = 789,750 kg.cm
สังเกตวากรณี (ข) คาแรงอัดและโมเมนตดดั มีคาสูงสุด สวนกรณี (ง) แมวาแรงและโมเมนตจะไมมาก
แตมีการเซดวย จึงตองพิจารณาทั้งกรณี (ข) และ (ง)
พิจารณากรณี (ข)
Pu = 19,872 kg
M nt = 26,496 kg.m
M lt = 0
หาโมเมนตดดั เทียบเทา ตามขอเสนอของ Yura
d d
M u ,eq = M ux + Pu = 26,496 + 19,872 = 26,496 + 9,936d
2 2
ลองเลือก W − 300 × 94 มี d = 300 mm, bf = 300 mm, tw = 10 mm, tf = 15 mm, r = 18 mm A =
119.78 cm2, w = 94 kg/m, Ix = 20,412 cm4, Iy = 6,754.9 cm4, rx = 13.054 cm, ry = 7.5091 cm, Sx = 1,360.8
cm3, Sy = 450.32 cm3,Zx = 1,501.3 cm3, Zy = 684.27 cm3,J = 88.303 cm4, Zt = 38.938 cm3, Cw = 1,353,800
cm6
M u ,eq = 26,496 + 9,936 × 0.30 = 29,476.8 kg.m = 2,947,680 kg.cm
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 299

ตรวจสอบวาหนาตัดเปนแบบ compact หรือไม


สวนปก (flange)
E 2,040,000
λ p = 0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
bf 30.0
= = 10 < λ p
2 t f 2 × 1 .5
สวนแผนตั้ง (web)
h d − 2t f − 2r 30.0 − 2 × 1.5 − 2 × 1.8
= = = 23.4
tw tw 1.0
เนื่องจาก
Pu Pu 70,000
= = = 0.25973544 > 0.125
φ b Py φ b (AFy ) 0.9(119.78 × 2500 )
ดังนั้น
E ⎛⎜ P ⎞
λ p = 1.12

2.33 − u ⎟ = 1.12

2,040,000
(2.33 − 0.25973544)
Fy ⎝ φ b Py ⎠ 2500
h
λ p = 66.2352149 > = 23.4
tw
แสดงวารูปตัดนี้เปนแบบคอมแพค
ขั้นตอนที่ 3 หากําลังรับโมเมนตดัดประลัยของรูปตัดที่เลือกใช
ตรวจสอบระยะค้ํายันทางขางเพื่อหากําลังรับโมเมนตดัดประลัย
4 3
I y = 6754.9 cm , ry = 7.5091 cm, Sx = 1360.8 cm

J=
1
3
( ) (
1
)
2b f t 3f + dt 3w = 2 × 30.0 × 1.53 + 30.0 × 1.03 = 77.5 cm
3
4

I y d 2 6754.9 × 30.0 2 6
Cw = = = 1,519,852.5 cm
4 4
2
A = 119.78 cm , E = 2,040,000 ksc, ν = 0.3 = Poisson’s ratio ไดโมดูลัสการเฉือน
E 2,040,000
G= = = 784,615.3846 ksc
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3)
π EGJA π 2,040,000 × 784,615.3846 × 77.5 × 119.78
x1 = =
Sx 2 1360.8 2
x 1 = 198,988.0854 kg/cm2
2
4 × 1,519,852.5 ⎛
2
4C w ⎛ Sx ⎞ 1360.8 ⎞
x2 = ⎜ ⎟ = ⎜ ⎟
I y ⎝ GJ ⎠ 6754.9 ⎝ 784,615.3846 × 77.5 ⎠
x 2 = 0.45072751 × 10 −6 (kg/cm2)-2
E 2,040,000
L p = 1.76ry = 1.76 × 7.5091 == 377.5249295 cm
Fy 2500
300 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

1 + 1 + x 2 (Fy − Fr )
ry x1
Lr =
2

Fy − Fr
7.5091 × 198,988.0854
Lr = 1 + 1 + 0.45072751 × 10 −6 × (2500 − 700 )
2500 − 700
L r = 830.1230178 1 + 1 + 0.000811309
L r = 830.1230178 1 + 1.000405573
L r = 830.1230178 × 1.414356947
L r = 1174.090257 cm
ขณะที่ L b = 450 cm
นั่นคือ Lp < Lb < Lr
ดังนั้น
⎡ L − Lp ⎤
M n = C b ⎢M p − (M p − M r ) b ⎥
⎣⎢ L r − L p ⎦⎥
2
⎛M ⎞ ⎛M ⎞
เมื่อ C b = 1.75 + 1.05⎜⎜ 1 ⎟⎟ + 0.3⎜⎜ 1 ⎟⎟
⎝ M2 ⎠ ⎝ M2 ⎠
2
⎛ 0 ⎞ ⎛ 0 ⎞
C b = 1.75 + 1.05⎜ ⎟ + 0.3⎜ ⎟ = 1.75
⎝ 26,496 ⎠ ⎝ 26,496 ⎠
M p = Fy Z x = 2500 × 1501.3 = 3,753,250 kg.cm
M r = (Fy − Fr )Sx = (2500 − 700) × 1360.8 = 2,449,440 kg.cm
ดังนั้น
Lb − Lp 450 − 377.5249295
= = 0.090984465
Lr − Lp 1174.090257 − 377.5249295
Lb − Lp
(M − Mr ) = (3,753,250 − 2,449,440 ) × 0.090984465
Lr − Lp
p

Lb − Lp
(M − Mr ) = 118,626.4559
Lr − Lp
p

M n = 1.75[3,753,250 − 118,626.4559]
M n = 6,360,591.202 kg.cm > M p = 3,753,250 kg.cm
ตองใช M n = M p = 3,753,250 kg.cm = 37,532.5 kg.m
φ b M nx = 0.9 × 37,532.5 = 33,779.25 kg.m
φ b M nx > M u ,eq = 29,476.8 kg.m ใชได
ขั้นตอนที่ 4 หากําลังรับแรงอัดประลัย φc Pn
การโกงเดาะรอบแกน y นั้น K y = 1.0
การโกงเดาะรอบแกน x ใหปลายบนเปน GA และปลายลางเปน hinge จึงมีคา GB = 10
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 301

E c Ic
Lc
∑ EI
1 12
คา GA = = 4.5 = × = 1.33
E b I b E(2I ) 4.5 2
∑ L 12
b

จาก Alignment chart แบบเซได จะไดคาของ K x = 1.93

ความชะลูดทางแกน y
K yLy 1.0 × 450
= = 59.92728822
ry 7.5091
ความชะลูดทางแกน x
K x L x 1.93 × 450 K L
= = 66.53133139 > y y = 59.92728822
rx 13.054 ry
การโกงเดาะเกิดรอบแกน x
K xLx Fy 66.53133139 2,500
λc = = = 0.741363605
rx π E π 2,040,000
λ2c
Fcr = 0.658 Fy = 0.6580.741363605 × 2500 = 0.6580.549619996 × 2500
2

Fcr = 0.794498929 × 2500 = 1,986.247324 ksc


φc Pn = φc Fcr A g = 0.85 × 1,986.247324 × 119.78 = 202,225.7988 kg
302 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบสําหรับกรณี (ข) ซึง่ โครงสรางไมเซ


หาโมเมนตขยายคา (amplified moment)
M ux = B1M nt + B2 M lt = B1M nt + B2 × 0 = B1M nt
หาตัวประกอบขยายคา (modification factor) B1
จากสมการ
⎛M ⎞ ⎛ 0 ⎞
C m = 0.6 + 0.4⎜⎜ 1 ⎟⎟ = 0.6 + 0.4⎜ ⎟ = 0 .6
⎝ 2⎠
M ⎝ 26, 496 ⎠
การโกงเดาะรอบแกน x ใหปลายบนเปน GA และปลายลางเปน hinge จึงมีคา GB = 10
E c Ic

Lc
EI
1 12
คา GA = = 4.5 = × = 1.33
E b I b E(2I ) 4.5 2
∑ L 12
b

จาก Alignment chart แบบไมเซ จะไดคาของ K x = 0.88

π 2 EA π 2 × 2,040,000 × 119.78
Pe1 = = = 2,620,662.332 kg
⎛ 0.88 × 450 ⎞
2 2
⎛ K x Lx ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ ⎜ ⎟
⎝ rx ⎠ ⎝ 13.054 ⎠
Cm 0.6
B1 = = = 0.604584452 < 1.0 ใช B1 = 1.0
Pu 19,872
1− 1−
Pe1 2,620,662.332
ดังนั้น M ux = B1M nt = 1.0M nt = 26,496 kg.m
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 303

Pu 19,872
เนื่องจาก = = 0.098266393 < 0.2 ดังนั้น
φc Pn 202,225.7988
Pu M ux 0.098266393 26,496
+ = + = 0.833520061 < 1.0 ใชได
2φc Pn φ b M nx 2 33,779.25
ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบสําหรับกรณี (ง)
จาก M ux = B1M nt + B2 M lt
หาตัวประกอบขยายคา (modification factor) B1
จากสมการ
⎛M ⎞ ⎛ 0 ⎞
C m = 0.6 + 0.4⎜⎜ 1 ⎟⎟ = 0.6 + 0.4⎜ ⎟ = 0 .6
⎝ M2 ⎠ ⎝ 13,032 ⎠
การโกงเดาะรอบแกน x ใหปลายบนเปน GA และปลายลางเปน hinge จึงมีคา GB = 10
E c Ic

Lc
EI
1 12
คา GA = = 4.5 = × = 1.33
E b I b E(2I ) 4.5 2
∑ L 12
b

จาก Alignment chart แบบไมเซ จะไดคาของ K x = 0.88

π 2 EA π 2 × 2,040,000 × 119.78
Pe1 = = = 2,620,662.332 kg
⎛ 0.88 × 450 ⎞
2 2
⎛ K x Lx ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ ⎜ ⎟
⎝ rx ⎠ ⎝ 13.054 ⎠
304 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

Cm 0.6
B1 =
Pu
=
11,090.25
= 0.6025499 < 1.0 ใช B1 = 1.0
1− 1−
Pe1 2,620,662.332
หาตัวประกอบขยายคา (modification factor) B2
จากระยะเซทางขางที่ยอมให
1 1
B2 = = = 1.028154292
1−
∑ Pu ⎛ Δ oh ⎞
⎜ ⎟ 1−
2 × 11,090.25 ⎛ 1 ⎞
⎜ ⎟
∑H ⎝ L ⎠ 2700 ⎝ 300 ⎠
ดังนั้นโมเมนตขยายคา (amplified moment)
M ux = B1M nt + B 2 M lt = 1.0 × 13,032 + 1.028154292 × 7,897.5
M ux = 21,151.84852kg.m
ตรวจสอบการรับแรงรวมกันกับโมเมนตโดยอาศัย Interaction equation
Pu 11,090.25
เนื่องจาก = = 0.054840925 < 0.2 ดังนั้น
φc Pn 202,225.7988
Pu M ux 0.054840925 21,151.84852
+ = + = 0.653599212 < 1.0 ใชได
2φc Pn φ b M nx 2 33,779.25
ดังนั้น ใชเสาเหล็กรูปตัด W300 × 94

ตัวอยางที่ 5.5 จงออกแบบคานชวงเดียวยาว 6 เมตร รับน้ําหนักบรรทุกใชงานดังแสดง ซึ่งมีน้ําหนักบรรทุก


แบบจุดกระทําในแนวเอียงผานศูนยถวงของรูปตัด ถาคานมีค้ํายันทางขางที่จุดรองรับและที่กึ่งกลาง
คาน ใชเหล็กชนิด ASTM A36

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักตามแนวแกนและโมเมนตดดั ทีก่ ระทํา
P = 0.3 + 0.7 = 1.0 ตัน
w = 200 + 350 = 550 kg/m
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 305

wL2 Py L 550 × 6 2 (0.95 × 1000) × 6


Mx = + = + = 3900 kg.m
8 4 8 4
P L (0.31 × 1000) × 6
My = x = = 465 kg.m
4 4
ขั้นตอนที่ 2 เลือกขนาดรูปตัด คาโมดูลัสหนาตัดโดยประมาณ
Mx C M
Sx ≈ + n y
0.6Fy 0.75Fy
โดยที่
Sx
Cn = = 2−7 ขึ้นกับความลึก d ของรูปตัด ประมาณคาของ C n = 5
Sy
ดังนั้น
3,900 × 100 5 × 465 × 100 3
Sx ≈ + = 384 cm
0.6 × 2500 0.75 × 2500
เลือกหนาตัด W300 × 36.7 มี d = 300 mm, bf = 150 mm, tw = 6.5 mm, tf =9 mm, r =13 mm, A =
46.787 cm2, w =36.7 kg/m, Ix = 7210.5 cm4, Iy = 507.54 cm4, rx = 12.414 cm, ry = 3.2936 cm, Sx = 480.7
cm3, Sy = 67.672 cm3, Zx = 542.2 cm3, Zy = 105.13 cm3, J = 12.33 cm4, Zt = 8.6139 cm3, Cw = 106,080 cm6
ตรวจสอบการรับโมเมนตดัดสองทางโดยใชสมการ
f bx f by
+ ≤ 1.0
Fbx Fby
โดยที่
M x 3,900 × 100
f bx = = = 811.3168296 ksc
Sx 480.7
M 465 × 100
f by = y = = 687.1379596 ksc
Sy 67.672
Fbx = หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกน x พิจารณาจากค้ํายันทางขาง ซึ่งอยูที่ปลายคานและกึ่งกลาง
คาน ดังนั้นระยะค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดที่มีจริงคือ
6.00
L= = 3.00 m = 300 cm
2
E 2,040,000
0.444b f = 0.444 × 15.0 × = 190.2476533 cm < L = 300 cm
Fy 2500
L L 300
= = = 76.92307692
rT 0.26b f 0.26 × 15
3
⎛M ⎞ ⎛M ⎞
C b = 1.75 + 1.05⎜⎜ 1 ⎟⎟ + 0.3⎜⎜ 1 ⎟⎟ ≤ 2.3
⎝ M2 ⎠ ⎝ M2 ⎠
2
⎛ 0 ⎞ ⎛ 0 ⎞
C b = 1.75 + 1.05⎜ ⎟ + 0.3⎜ ⎟ = 1.75 < 2.3
⎝ 3900 ⎠ ⎝ 3900 ⎠
306 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

EC b 2,040,000 × 1.75
3.517 = 3.517 × = 70.86801817
Fy 2500
EC b 2,040,000 × 1.75
17.586 = 17.586 × = 158.4702117
Fy 2500
L EC b
ถา ≤ 3.517 ใช Fbx = 0.60Fy ซึ่งไมใชกรณีนี้
rT Fy
EC b
ถา L
≥ 17.586 ใช Fbx = 5.862EC
≤ 0.60Fy ซึ่งไมใชกรณีนี้
2
b
rT Fy ⎛L⎞
⎜⎜ ⎟⎟
⎝ rT ⎠
EC b L EC b
ถา 3.517 < < 17.586 ซึ่งเปนกรณีนี้ ใช
Fy rT Fy
⎡2 Fy ⎛L⎞ ⎤
2

Fbx = ⎢ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy ≤ 0.6Fy
⎢⎣ 3 52.759EC b ⎝ rT ⎠ ⎥⎦
⎡2 2500 ⎛ 300 ⎞ ⎤
2

Fbx = ⎢ − ×⎜ ⎟ ⎥ × 2500 ≤ 0.6 × 2500


⎢⎣ 3 52.759 × 2,040,000 × 1.75 ⎝ 0.26 × 15 ⎠ ⎥⎦
Fbx = 0.588127094 × 2500 ≤ 1500
Fbx = 1470.317736 < 1500 ksc
หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนรอง
Fby = 0.75Fy = 0.75 × 2500 = 1875 ksc
แทนคาในสมการได
f bx f by
+ ≤ 1.0
Fbx Fby
811.3168296 687.1379596
+ ≤ 1.0
1470.317736 1875
0.91827052 ≤ 1.0
ตรวจสอบหนวยแรงเฉือน
หนวยแรงแอนที่ยอมให
Fv = 0.4Fy = 0.4 × 2500 = 1000 ksc
แรงเฉือนทางดิ่งที่จุดรองรับ
P wL 950 550 × 6.00
Vy = + = + = 2125 kg
2 2 2 2
หนวยแรงเฉือนทางดิ่ง
Vy Vy 2125
f vy = = = = 108.974359 ksc < Fv = 1000 ksc
Aw dt w 30 × 0.65
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 307

แรงเฉือนทางราบที่จุดรองรับ
P 310
Vx = = = 155 kg
2 2
หนวยแรงเฉือนทางราบ
1.5Vx 1.5Vx 1.5 × 155
f vy = = = = 8.611111111 ksc < Fv = 1000 ksc
2A f 2b f t f 2 × 15 × 0.9
ดังนั้นใชคานรูปตัด W300 × 36.7

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักประลัย และโมเมนตดัดประลัย
Pu = 1.2PDL + 1.6PLL = 1.2 × 0.3 + 1.6 × 0.7 = 1.48 ตัน = 1,480 kg
w u = 1.2w DL + 1.6 w LL = 1.2 × 200 + 1.6 × 350 = 800 kg/m

M ux =
( ) (
w u L2 P cos 18.2 o L 800 × 6 2 1,480 cos 18.2o × 6
+ = +
)
8 4 8 4
M ux = 5,708.937954 kg.m = 570,893.7954 kg.cm

M uy =
(P sin 18.2 )L = (1,480 sin 18.2 )× 6 = 693.3835191 kg.m
u
o o

4 4
M uy kg.cm
= 69,338.35191
ขั้นตอนที่ 2 พิจารณาเลือกรูปตัด โมดูลัสพลาสติกโดยประมาณของหนาตัดคือ
M ux C un M uy
Zx ≈ +
φ b Fy φ b Fy
Zx
เมื่อ C un = ≈ 2−7 เลือกคาที่ C un = 5 ดังนั้น
Zy
570,893.7954 5 × 69,338.35191 3
Zx = + = 407.8158022 cm
0.9 × 2500 0.9 × 2500
เลือกหนาตัด W300 × 36.7 มี d = 300 mm, bf = 150 mm, tw = 6.5 mm, tf =9 mm, r =13 mm, A =
46.787 cm2, w =36.7 kg/m, Ix = 7210.5 cm4, Iy = 507.54 cm4, rx = 12.414 cm, ry = 3.2936 cm, Sx = 480.7
cm3, Sy = 67.672 cm3, Zx = 542.2 cm3, Zy = 105.13 cm3, J = 12.33 cm4, Zt = 8.6139 cm3, Cw = 106,080 cm6
ตรวจสอบวาหนาตัดเปนแบบ compact หรือไม
สวนปก (flange)
E 2,040,000
λ p = 0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
bf 15.0
= = 8.333333333 < λ p
2 t f 2 × 0 .9
E 2,040,000
λ r = 0.83 = 0.83 = 27.94196366
Fy − Fr 2500 − 700
308 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

bf
สําหรับสวนปก < λp หนาตัดนี้เปนแบบคอมแพค ตรวจสอบแผนตั้งเพื่อยืนยัน
2t f
สวนแผนตั้ง (web)
h d − 2t f − 2r 30.0 − 2 × 0.9 − 2 × 1.3
= = = 39.38461538
tw tw 0.65
E 2,040,000
λ p = 3.76 = 3.76 = 107.4070836
Fy 2500
E 2,040,000
λ r = 5.70 = 5.70 = 162.8245682
Fy 2500
h
สําหรับแผนตัง้ นั้น < λp หนาตัดนี้เปนชนิดคอมแพคแนนอนแลว
tw
ขั้นตอนที่ 3 หากําลังรับโมเมนตดัดประลัยของรูปตัดที่เลือกใช
ตรวจสอบระยะค้ํายันทางขางเพื่อหากําลังรับโมเมนตดัดประลัย
4 3
I y = 507.54 cm , ry = 3.2936 cm, Sx = 480.7 cm
4
J = 12.33 cm
6
C w = 106,080 cm
A = 46.787 cm2, E = 2,040,000 ksc, ν = 0.3 = Poisson’s ratio ไดโมดูลัสการเฉือน
E 2,040,000
G= = = 784,615.3846 ksc
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3)
π EGJA π 2,040,000 × 784,615.3846 × 12.33 × 46.787
x1 = =
Sx 2 480.7 2
x 1 = 140,426.2777 kg/cm2
2
4 × 106,080 ⎛
2
4C w ⎛ Sx ⎞ 480.7 ⎞
x2 = ⎜ ⎟ = ⎜ ⎟
I y ⎝ GJ ⎠ 507.54 ⎝ 784,615.3846 × 12.33 ⎠
x 2 = 2.064104493 × 10 −6 (kg/cm2)-2
E 2,040,000
L p = 1.76ry = 1.76 × 3.2936 = 165.5879011 cm
Fy 2500

1 + 1 + x 2 (Fy − Fr )
ry x1
Lr =
2

Fy − Fr
3.2936 × 140,426.2777
Lr = 1 + 1 + 2.064104493 × 10 −6 × (2500 − 700 )
2500 − 700
L r = 256.9488824 1 + 1 + 0.003715388
L r = 256.9488824 1 + 1.001855972
L r = 256.9488824 × 1.414869595
L r = 363.5491613 cm
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางรับแรงตามแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 309

600
ขณะที่ Lb = = 300 cm
2
นั่นคือ Lp < Lb < Lr
ดังนั้น
⎡ L − Lp ⎤
M n = C b ⎢M p − (M p − M r ) b ⎥
⎢⎣ L r − L p ⎥⎦
2
⎛M ⎞ ⎛M ⎞
เมื่อ C b = 1.75 + 1.05⎜⎜ 1 ⎟⎟ + 0.3⎜⎜ 1 ⎟⎟
⎝ M2 ⎠ ⎝ M2 ⎠
2
⎛ 0 ⎞ ⎛ 0 ⎞
C b = 1.75 + 1.05⎜ ⎟ + 0.3⎜ ⎟ = 1.75
⎝ 5,708.937954 ⎠ ⎝ 5,708.937954 ⎠
M p = Fy Z x = 2500 × 542.2 = 1,355,500 kg.cm
M r = (Fy − Fr )Sx = (2500 − 700) × 480.7 = 865,260 kg.cm
ดังนั้น
Lb − Lp 300 − 165.5879011
= = 0.67898183
Lr − Lp 363.5491613 − 165.5879011
Lb − Lp
(M − Mr ) = (1,355,500 − 865,260 ) × 0.67898183
Lr − Lp
p

Lb − Lp
(M − Mr ) = 332,864.0528
Lr − Lp
p

M n = 1.75[1,355,500 − 332,864.0528]
M n = 1,789,612.908 kg.cm > M p = 1,355,500 kg.cm
ตองใช M n = M p = 1,355,500 kg.cm = 13,555 kg.m
φ b M nx = 0.9 × 13,555 = 12,199.5 kg.m
φ b M ny = φ b Fy Z y = 0.9 × 2500 × 105.13 = 236,542.5 kg.cm
φ b M ny = 2,365.425 kg.m
ตรวจสอบโดยใชสมการ
M ux M uy
+ ≤ 1.0
φ b M nx φ b M ny
5,708.937954 693.3835191
+ ≤ 1.0
12,199.5 2,365.425
0.761097656 < 1.0
ตรวจสอบกําลังรับแรงเฉือน
w u L Pu cos18.2 o 800 × 6.00 1,480 cos18.2 o
Puy = + = + = 3,102.979318 kg
2 2 2 2
Vuy = 0.9(0.6Fy A w ) = 0.54Fy dt w = 0.54 × 2500 × 30.0 × 0.65 = 26,325 kg
310 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

Vuy > Puy รับแรงเฉือนทางดิ่งได


Pu sin 18.2o 1,480 sin 18.2o
Pux = = = 231.1278397 kg
2 2
Vux = 0.9(0.6Fy )(2A f ) = 1.08Fy A f = 1.08Fy b f t f
Vux = 1.08 × 2500 × 15.0 × 0.9 = 36,450 kg
Vux > Pux รับแรงเฉือนทางราบได
ดังนั้นใชคานรูปตัด W300 × 36.7
แบบฝกหัดการออกแบบโครงสรางรับแรงในแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 311

แบบฝกหัดบทที่ 5
โครงสรางรับแรงตามแนวแกนและโมเมนตดัดรวมกัน
[1][Segui 6.2-1] เสารับแรงและโมเมนตตามรูปมีค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดเฉพาะที่ปลายทั้งสองขาง
น้ําหนักบรรทุกใชงานคงที่ 25% และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 75% การดัดเกิดรอบแกน x ของหนา
ตัด ชนิดเหล็ก ASTM A992 หากไมคิดการขยายคาแรงดัดแลว จงตรวจสอบเสารับแรงและโมเมนตได
หรือไม
(ก) ตามวิธี AISC/LRFD
(ข) ตามวิธี AISC/ASD

[2][Segui 6.2-2] ชิ้นสวนโครงสรางในรูป น้ําหนักแผคงที่ใชงานจากน้าํ หนักของตัวคานเอง สวนน้ําหนักแผ


จรใชงานเปนคาที่ตองการทราบ แรงอัดตามแนวแกนจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 4.5 ตัน และจาก
น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 9 ตัน การดัดเกิดรอบแกน x ของหนาตัด ไมคิดผลการขยายคาแรงดัด ค้ํายัน
ทางขางมีที่ปลายทั้งสองขางเทานั้น เหล็กชนิด ASTM A992
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
312 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ชิ้นสวนในโครงเฟรมที่ไมเซ
[3][Segui 6.5-1] จงหาตัวประกอบขยายคาโมเมนต (moment amplification factor) B1 ของชิ้นสวนในขอ [1]
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
[4][Segui 6.5-2] จงหาตัวประกอบขยายคาโมเมนต (moment amplification factor) B1 ของชิ้นสวนในขอ [2]
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
[5][Segui 6.5-3] หนาตัด W350 × 49.6 ชนิดเหล็ก ASTM A992 ใชเปนโครงสรางรับแรงตามแนวแกน
รวมกับโมเมนตดัด ความยาว 4.20 เมตร ค้ํายันทางขางมีที่ปลายทั้งสองขาง มีการยึดใหไมมีการเซทาง
ขาง ให K x = 0.9 และ K y = 1.0 มีแรงกระทําทางขางระหวางปลายทั้งสอง แรงอัดใชงาน 155 ตัน
และโมเมนตดดั รอบแกนหลัก (แกน x) 34 ตันเมตร น้าํ หนักบรรทุกใชงานคงที่ 33% และน้ําหนัก
บรรทุกจรใชงาน 67% ใหใช C b = 1.6 ใหตรวจสอบวาชิน้ สวนนี้สอดคลองกับขอกําหนดของ
มาตรฐาน AISC หรือไม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
[6][Segui 6.5-4] ชิ้นสวนตามรูป P6.5-4 เปนชิ้นสวนทีอ่ ยูในโครงเฟรมที่ไมเซ แรงอัดตามแกนและโมเมนต
ดัดเปนน้ําหนักบรรทุกใชงาน โมเมนตดดั รอบแกน x ของหนาตัด (ในรูปไมไดแสดงแรงเฉือนเอาไว)
โดยแบงเปนน้าํ หนักบรรทุกคงที่ 30% และน้ําหนักบรรทุกจร 70% จงตรวจสอบวาชิ้นสวนนีเ้ ปนไป
ตามสมการ interaction ของ AISC หรือไม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดการออกแบบโครงสรางรับแรงในแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 313

[7][Segui 6.5-5] คานชวงเดียวรับโมเมนตดัดที่ปลายรอบแกน x ของหนาตัด ดังแสดงในรูปที่ P6.5-5 แรง


ตามแนวแกนและโมเมนตดดั นี้เปนน้ําหนักบรรทุกใชงานโดยเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่กับน้ําหนัก
บรรทุกจรอยางละครึ่ง ค้ํายันทางขางมีเฉพาะที่ปลายทั้งสอง ไมตองคิดน้ําหนักคานเอง คานเปนแบบ
คาน-เสา ใช Fy = 3500 ksc ใหตรวจสอบคานนี้วารับน้ําหนักไดหรือไม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[8][Segui 6.5-6] คาน-เสาในรูป P6.5-6 เปนแบบไมเซ โมเมนตดัดรอบแกนหลัก (x) ของหนาตัด ชนิดเหล็ก


ASTM A992 แรงและโมเมนตที่แสดงเปนน้ําหนักบรรทุกใชงาน โดยแบงเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่
25% และน้ําหนักบรรทุกจร 75% ชิ้นสวนสามารถรับแรงที่กําหนดไดหรือไม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[9][Segui 6.5-7] ชิ้นสวนทีแ่ สดงในรูปที่ P6.5-7 มีค้ํายันทางขางที่จุด A, B และ C โมเมนตดัดกระทํารอบ


แกนหลัก (แกน x) ของหนาตัด น้ําหนักบรรทุกเปนน้ําหนักบรรทุกใชงาน น้ําหนักบรรทุกแผรวม
น้ําหนักคานเอาไวแลว ชนิดเหล็ก ASTM A992 ชิ้นสวนรับแรงและโมเมนตที่กําหนดไดหรือไม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
314 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[10][Segui 6.5-8] ชิ้นสวนโครงสรางเหล็กตามรูปที่ P6.5-8 อยูในโครงเฟรมที่ไมเซ โมเมนตดัดรอบแกน


หลัก (แกน x) ของหนาตัด แรงและโมเมนตที่แสดงเปนน้ําหนักบรรทุกใชงาน โดยเปนน้ําหนัก
บรรทุกคงที่ 50% และน้ําหนักบรรทุกจร 50% จงตรวจสอบวาชิ้นสวนดังกลาวสอดคลองกับมาตรฐาน
AISC หรือไม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[11][Segui 6.5-9] ชิ้นสวนในรูป P6.5-9 เปนเหล็กชนิด ASTM A572 Grade 50 อยูในโครงเฟรมที่ไมเซ


โมเมนตที่ปลายเปนน้ําหนักบรรทุกใชงานและดัดรอบแกนหลัก (แกน x) ของหนาตัด ไมแสดงแรง
เฉือนที่ปลายชิน้ สวน ถาแรงตามแกนและโมเมนตดดั เปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ 33% และน้ําหนัก
บรรทุกจร 67% ให Kx = Ky = 1.0 จงหาแรงอัดตามแนวแกนสูงสุด P ที่ชิ้นสวนรับได
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดการออกแบบโครงสรางรับแรงในแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 315

[12][Segui 6.5-10] แรงและโมเมนตในรูป P6.5-10 เปนน้ําหนักบรรทุกใชงาน โดยแบงเปนน้ําหนักบรรทุก


คงที่ 25% และน้ําหนักบรรทุกจร 75% ชนิดเหล็ก ASTM A992 ชิ้นสวนรับน้ําหนักบรรทุกไดหรือไม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[13][Segui 6.5-11] ชิ้นสวนในรูป P6.5-11 อยูในโครงเฟรมที่ไมเซ ชนิดเหล็ก ASTM A992 แรงตาม


แนวแกนและโมเมนตดัดทีป่ ลายยังไมไดเพิ่มคา โดยเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ 33% และน้ําหนัก
บรรทุกจร 67% ไมแสดงแรงเฉือนที่ปลายเอาไว ใช Kx = Ky = 1.0 จงตรวจสอบวาชิ้นสวนนี้รับแรง
และโมเมนตทกี่ ําหนดไดหรือไม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
316 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[14][Segui 6.5-12] ชิ้นสวนในรูป P6.5-12 มีค้ํายันทางขางที่ปลายทั้งสอง ใชเหล็ก ASTM A572 Grade 50


แรงที่กระทําเปนน้ําหนักบรรทุกใชงาน โดยเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ 50% และน้ําหนักบรรทุกจร 50%
ใหตรวจสอบวาหนาตัดคานรับน้ําหนักไดหรือไม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[15][Segui 6.5-13] เสายึดปลายแนนทั้งสองปลายในรูป P6.5-13 ไมมีการเซ ขนาดหนาตัด W500 × 89.7


เหล็กชนิด ASTM A992 การดัดรอบแกนหลัก (แกน x) จงหาแรงกระทําใชงานสูงสุด Q เปนน้ําหนัก
บรรทุกจร
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดการออกแบบโครงสรางรับแรงในแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 317

ชิ้นสวน คาน-เสา ในโครงเฟรมที่มีการเซ


[16][Segui 6.6-1] เหล็กรูปหนาตัด W350 × 136 มี Fy = 3500 ksc เปน คาน-เสา ในโครงเฟรมที่เซได ความ
ยาว 4.20 เมตร ในการวิเคราะหครั้งแรกไดคาทั้งในสภาพเซและไมเซ ตารางที่แสดงนี้เปนน้ําหนัก
บรรทุกเพิ่มคาแลว
แบบการวิเคราะห Pu, ตัน Mtop, ตัน.เมตร Mbot, ตัน.เมตร
โครงเฟรมไมเซ 181 6.22 3.32
โครงเฟรมเซได - 5.53 13.13
การดัดเปนการดัดรอบแกนหลัก (แกน x) โมเมนตทุกตัวทิศทางไปทางเดียวกันทําใหเกิดการโกงสอง
ทาง ให ∑ Pe 2 = 18,144 ตัน และ ∑ Pu = 2,720 ตัน ตัวประกอบความยาวประสิทธิผลเมื่อไมเซ
Kx = 1.0 และเมื่อเซ Kx = 1.7 โดย Ky = 1.0 ในทุกกรณี ใชวิธี AISC/LRFD ตรวจสอบวาชิ้นสวนรับ
แรงและโมเมนตไดหรือไม
[17][Segui 6.6-2] เหล็กรูปตัด W350 × 136 ชนิด ASTM A992 ยาว 4.80 เมตร เปนเสาในโครงเฟรมที่เซ
ได แรงตามแนวแกนและโมเมนตที่ปลายไดจากการวิเคราะหน้ําหนักโนมถวง (น้ําหนักบรรทุกคงที่
และน้ําหนักบรรทุกจร) ตามรูปที่ P6.6-2a ทั้งโครงเฟรมและน้ําหนักบรรทุกเปนแบบสมมาตร รูปที่
P6.6-2b เปนผลการวิเคราะหแรงลม แรงและโมเมนตเปนน้ําหนักบรรทุกใชงาน โดยโมเมนตเปนการ
ดัดรอบแกนหลัก (แกน x) ตัวประกอบความยาวประสิทธิผลกรณีไมเซ Kx = 0.85 และกรณีที่เซ Kx =
1.2 สวนทางแกนรอง Ky = 1.0 เสานี้รับแรงกระทําไดหรือไม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
318 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

การออกแบบชิน้ สวน คาน-เสา


[18][Segui 6.7-1] ใหใช Fy = 3500 ksc จงเลือกหนาตัด W300 ที่เบาที่สุดสําหรับชิ้นสวน คาน-เสา ตามรูป
P6.7-1 ชิ้นสวนนี้อยูใ นโครงเฟรมที่ไมเซ แรงตามแนวแกนและโมเมนตดัดเปนน้ําหนักบรรทุกใชงาน
โดยแบงเปนน้าํ หนักบรรทุกคงที่ 30% และน้ําหนักบรรทุกจร 70% (ไมไดแสดงแรงเฉือนที่ปลาย
เอาไว) การดัดรอบแกนหลัก (แกน x) ให Kx = Ky = 1.0
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[19][Segui 6.7-2] คาน-เสา ในรูป P6.7-2 อยูในโครงเฟรมที่ไมเซ รับแรงและโมเมนต (ไมแสดงแรงเฉือนที่


ปลาย) ซึ่งเปนน้ําหนักบรรทุกใชงานโดยเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ 50% และน้าํ หนักบรรทุกจร 50%
ชนิดเหล็ก ASTM A992 การดัดรอบแกนหลัก (แกน x) จงเลือกหนาตัด W 250 ที่เบาที่สุด
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดการออกแบบโครงสรางรับแรงในแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 319

[20][Segui 6.7-3] ชิ้นสวนคาน-เสาตามรูป P6.7-3 น้ําหนักบรรทุกที่แสดงเปนน้าํ หนักบรรทุกใชงาน โดย


แบงเห็นน้ําหนักบรรทุกคงที่ 25% และน้าํ หนักบรรทุกจร 75% การดัดเกิดรอบแกนหลัก (แกน x) ของ
หนาตัด ให Kx = Ky = 1.0 ชนิดเหล็ก ASTM A992 จงเลือกหนาตัด W 250
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[21][Segui 6.7-4] ชิ้นสวนในรูป P6.7-4 อยูในโครงเฟรมที่ไมเซ การดัดเกิดรอบสองแกนของหนาตัด คาที่


แสดงเปนน้าํ หนักบรรทุกใชงาน โดยแบงเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ 33% และน้ําหนักบรรทุกจร 67%
(ทั้งนี้ไมไดแสดงแรงเฉือนเอาไว) ให Kx = Ky = 1.0 ชนิดเหล็ก ASTM A992 เลือกหนาตัด W
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
320 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[22][Segui 6.7-5] ชิ้นสวนในรูป P6.7-5 รับน้ําหนักบรรทุกใชงาน การดัดรอบแกนหลัก (แกน x) อยูใน


โครงเฟรมที่ไมเซ ให Kx = 0.8 และ Ky = 1.0 ชนิดเหล็ก ASTM A992 จงเลือกหนาตัด W350 ใหรับ
แรงกระทําได
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[23][Segui 6.7-6] ชิ้นสวน P6.7-6 อยูในโครงเฟรมที่ไมเซ แรงและโมเมนตเปนน้ําหนักบรรทุกใชงาน โดย


เปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ 50% และน้ําหนักบรรทุกจร 50% ชนิดเหล็ก ASTM A992 จงเลือกหนาตัด W
ที่เหมาะสม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดการออกแบบโครงสรางรับแรงในแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 321

[24][Segui 6.7-7] ชิ้นสวนในรูป P6.7-7 อยูในโครงเฟรมที่ไมเซ น้ําหนักบรรทุกทีแ่ สดงเปนน้าํ หนักบรรทุก


ใชงาน แบงเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ 25% และน้ําหนักบรรทุกจร 75% ให Kx = Ky = 1.0 ชนิดเหล็ก
ASTM A992 จงเลือกหนาตัด W ที่เหมาะสม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[25][Segui 6.7-8] ใหออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD เลือกหนาตัด W300 ที่เบาที่สุด เหล็กชนิด ASTM A992
สําหรับคาน-เสาในโครงเฟรมที่เซได ความยาวชิน้ สวน 4.80 เมตร ตัวประกอบความยาวประสิทธิผล
ตอนที่ยังไมเซ Kx = 1.0 และตอนที่เซได Kx = 2.0 ทางแกนรอง Ky = 1.0 การดัดเกิดรอบแกนหลัก
(แกน x) ของหนาตัด แรงอัดตามแนวแกนและโมเมนตเปนคาที่เพิ่มแลวจากการวิเคราะหครั้งแรกคือ
Pu = 34 ตัน, Mnt = 37.3 T.m , และ Mlt = 4.15 T.m ให Cm = 0.6 และ Cb = 1.67
[26][Segui 6.7-9] โครงเฟรมชั้นเดียวที่แสดงในรูป P6.7-9 รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ (dead load) น้ําหนักจร
จากหลังคา (roof live load) และแรงลม (wind load) ในรูปแสดงผลการวิเคราะหโดประมาณ ซึ่งแรง
ตามแกนและโมเมนตแยกเปนจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ จากน้ําหนักจรของหลังคา แรงยกเนือ่ งจาก
แรงลม (wind uplift) และแรงทางขางจากแรงลม (lateral wind load) แรงทางดิ่งมีความสมมาตรและ
ใหเปนโมเมนต Mnt อยางเดียว สวนแรงทางขางทําใหเกิดโมเมนต Mlt ใชเหล็กชนิด ASTM A992 จง
1
เลือกหนาตัด W350 ใหดัชนีการโยกตัว (drift index) เนื่องจากแรงลมใชงาน ไมเกิน การดัดเกิด
400
รอบแกนหลัก (แกน x) ของหนาตัด ค้ํายันทางขางมีเฉพาะปลายลางและปลายบนของเสา
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
322 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

การออกแบบแกงแนง (Design of Bracing)


[27][Segui 6.7-10] ใหออกแบบแกงแนงของโครงเฟรมในขอ [26] โดยใชเหล็กฉากเดีย่ ว ชนิดเหล็ก ASTM
A36 ใหวางลักษณะของแกงแนงจนทําใหโครงเฟรมมีเสถียรภาพทั้งสามเฟรม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

โครงขอหมุนที่ทอนบนรับแรงอัดและมีแรงทางขวางกระทําระหวางปลายชิ้นสวน
[28][Segui6.8-1] ใหใช Fy = 3500 ksc เลือกชิ้นสวนตัว T ทําชิ้นสวนบน (top chord) ของโครงขอหมุนใน
รูป P6.8-1 ชวงหางระหวางโครงขอหมุนหรือระยะ bay = 7.50 เมตร โดยมีน้ําหนักกระทําดังนี้
แป W150 × 14 วางตรงจุดตอและกึ่งกลางระยะจุดตอ
หิมะ 100 kg/m2 บนพื้นระดับฉายของหลังคา
หลังคาโลหะเคลือบ 10 kg/m2
โครงหลังคา 20 kg/m2
ฉนวน 15 kg/m2
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดการออกแบบโครงสรางรับแรงในแนวแกนรวมกับโมเมนตดัด 323

[29][Segui 6.8-2] ใหใชเหล็ก ASTM A992 เลือกหนาตัด T สําหรับชิ้นสวนทอนบนของโครงขอหมุน


หลังคาในรูปที่ P6.8-2 ชวงหางของโครงขอหมุนหรือระยะ bay = 7.50 เมตร แป W150 × 14 วางตรง
จุดตอและทีก่ งึ่ กลาง น้ําหนักบรรทุกสรุปดังนี้
หลังคาโลหะเคลือบ 10 kg/m2
โครงขอหมุน 25 kg/m2
หิมะ 90 kg/m2 บนพื้นระดับฉายของหลังคา
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

ขอสอบกลางภาค 2/2550 ครุศาสตรโยธา มทร.ธัญบุรี


[30] จงออกแบบเสาในโครงเฟรมที่ไมเซ สูง 6.00 เมตร เหล็กชนิด ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, E =
2,040,000 ksc ให Kx = Ky = 1.0 รับแรงอัดใชงานตามแนวแกน 120 ตัน ปลายบน M = 30 T.m ปลาย
ลาง M = 12 T.m ทิศทางเหมือนปลายบน การดัดแบบใชงาน และเปนการดัดรอบแกนหลัก (แกน x)
เลือกหนาตัดแบบ H (หนาตัด W ที่มีความลึก d ใกลเคียงกับความกวางปก bf) ออกแบบตามวิธี
AISC/LRFD
324 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขอสอบกลางภาค 2/2551 ครุศาสตรโยธา มทร.ธัญบุรี


[31] จงออกแบบเสาในโครงเฟรมที่ไมเซ สูง 4.50 เมตร เหล็กชนิด ASTM A572 Grade 50 มี Fy = 3500 ksc,
E = 2,040,000 ksc ให Kx = 0.80, Ky = 1.0 รับแรงอัดใชงานตามแนวแกน 240 ตัน ปลายบน M = 25
T.m ปลายลาง M = 10 T.m ทิศทางสวนกับปลายบน การดัดแบบใชงาน และเปนการดัดรอบแกนหลัก
(แกน x) เลือกหนาตัดแบบ H (หนาตัด W ที่มีความลึก d ใกลเคียงกับความกวางปก bf) ออกแบบตาม
วิธี AISC/LRFD
การตอโครงสรางโดยใชตัวยึด 325

บทที่ 6 การตอโครงสรางโดยใชตัวยึด
6.1 การตอโครงสรางโดยใชตัวยึด
เมื่อจําเปนตองตอโครงสราง อาจจะใชตัวยึดเชน หมุดย้ําหรือสลักเกลียว ทําการยึดใหโครงสรางติดกัน
และสามารถรับแรงตางๆ ไดโดยปลอดภัย แรงที่กระทําตอตัวยึดอาจจะเปนแรงรวมศูนยคือแรงตางๆ กระทํา
ผานศูนยถวงของรอยตอ (และเปนศูนยถวงของกลุมตัวยึด) หรืออาจจะเปนแรงเยื้องศูนย แรงทีก่ ระทําไมผาน
ศูนยถวงของรอยตอ การออกแบบรอยตอจะพิจารณากําลังของตัวยึดตามมาตรฐานกําหนด
ขนาดของรูเจาะสําหรับตัวยึด จะเจาะใหโตกวาขนาดของตัวยึด โดยรูเจาะมาตรฐาน (standard hole)
จะมีขนาดขึ้นกับขนาดของตัวยึดดังนี้
ตัวยึดขนาดเสนผานศูนยกลาง 24 มม ลงมา ใหเผื่อขนาดรูเจาะโตขึ้น 2 มม
ตัวยึดขนาดเสนผานศูนยกลางโตกวา 24 มม ขึ้นไป ใหเผือ่ ขนาดรูเจาะโตขึ้น 3 มม
หมุดย้ํา (Rivet)

รูปที่ 6.1 เปนรูปรางทั่วไปของหมุดย้ําทีใ่ ชมากที่สุด หัวของหมุดย้ําเปนแบบหัวกลม (button head) แต


อาจจะมีแบบหัวแบน (countersunk head) สําหรับกรณีที่มีชองวางจํากัด ในการใชงานจะเผาใหหมุดย้ํารอน
แดง สอดเขาในรูที่เจาะเตรียมไว รองดานหัวเอาไวแลวย้ําดานปลายที่โผลออกมาใหโคงมนเหมือนสวนหัว
เมื่อเย็นลงหมุดย้ําจะหดรัดเขาจนแนนมาก
มาตรฐาน ASTM แบงหมุดย้ําเปน 3 ชนิดคือ
A502 เกรด 1 (ASTM A502-1)
A502 เกรด 2 (ASTM A502-2)
A502 เกรด 3 (ASTM A502-3)
ขนาดของหมุดย้ําตั้งแต 12 มม ถึง 36 มม
หมุดย้ํา ASTM A502-1 ทําจากเหล็กกลาคารบอน (คารบอนประมาณ 0.8 %) กําลังครากประมาณ
1950 ksc ใชตอ แผนเหล็กกลาทั่วไป
326 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

หมุดย้ํา ASTM A502-2 และ ASTM A502-3 ทําจากเหล็กกลาคารบอน-แมงกานีส กําลังครากประมาณ


2650 ksc ใชตอ แผนเหล็กกลากําลังสูง โดยชนิด ASTM A502-3 จะทนการกัดกรอนสูงมาก
การตอสวนโครงสรางดวยหมุดย้ําใชงานมากในสมัยกอน ปจจุบนั แทบจะไมใชแลว เนื่องจากการตอ
โครงสรางดวยสลักเกลียวทํางานไดงายกวา และประหยัดกวา ไมตองใชเครื่องมือพิเศษใดๆ
สลักเกลียว (Bolt)

รูปที่ 6.2 เปนสลักเกลียว สวนหัว (head) มักจะเปนหกเหลี่ยม หรืออาจจะเปนสี่เหลี่ยม หรือหัวกลม


แลวบุมลงไปเปนหกเหลี่ยมสําหรับขันดวยประแจ L แหวนรอง (washer) สําหรับกระจายแรงกด สลักเกลียว
ตัวผู (bolt) มีเกลียวที่ปลายอาจจะตลอดความยาวหรือแคบางสวน สวนสลักเกลียวตัวเมีย (nut) สําหรับขันอัด
ใหแนน สลักเกลียวในงานโครงสรางมี 2 ชนิด คือ สลักเกลียวแบบธรรมดา (unfinished bolt) และสลักเกลียว
กําลังสูง (high-strength bolt)
สลักเกลียวแบบธรรมดา เปนชนิด ASTM A307 ทําจากเหล็กกลาคารบอนต่ํา มีกาํ ลังดึงประลัย 4000
ksc รับแรงเฉือนและแรงกดไดนอยกวาหมุดย้ํา ใชสาํ หรับโครงสรางขนาดเล็กทีไ่ มมีการสั่นสะเทือนหรือ
แรงกระแทก ขนาดเสนผานศูนยกลางตั้งแต 16 มม ถึง 38 มม
สลักเกลียวกําลังสูง ไดแก ASTM A325, ASTM A449 และ ASTM A490 ชนิด A325 และ A449 ทํา
จากเหล็กกลาคารบอนปานกลางชุบแข็ง มีกําลังครากประมาณ 5600 ksc ถึง 6350 ksc และกําลังดึงประลัย
ประมาณ 7250 ksc ถึง 8300 ksc ขึ้นกับขนาดของสลักเกลียว ขนาดเล็กกําลังจะสูงกวาขนาดใหญเพราะการ
ชุบแข็งจะแข็งไดทั่วกวา
สําหรับสลักเกลียวกําลังสูง ASTM A490 ทําจากเหล็กกลาประสมชุบแข็ง หนวยแรงดึงที่จุดคราก
ประมาณ 7950 ksc ถึง 8970 ksc ขึ้นกับขนาดเหล็ก โดยขนาดเล็กจะแข็งกวาขนาดโต
ขนาดของสลักเกลียวกําลังสูง ตั้งแต 12 mm ถึง 38 mm แต ASTM A449 มีถึงขนาด 76 mm
การขันสลักเกลียวตัวเมียของสลักเกลียวกําลังสูงทําไดสองแบบคือ ขันแนนพอดี (snug-tight) มีแรงดึง
ในสลักเกลียวบางเล็กนอย รอยตอขยับตัวไดบาง การขันแนนมาก (fully tensioned) แรงดึงในสลักเกลียว
ประมาณ 70 % ของแรงดึงประลัย รอยตอไมมีการขยับตัวเนื่องจากแรงฝดระหวางแผนเหล็กที่มาตอกัน
การตอโครงสรางโดยใชตัวยึด 327

การขันสลักเกลียวกําลังสูงใหแนนมากทําไดโดย
(ก) วิธี Turn-of-the-nut คือขันตัวเมียตอไปใหไดตามจํานวนรอบที่ระบุ
(ข) วิธี Calibrating wrench ขันตัวเมียตอไปดวยประแจแรงบิด (Torque wrench) ที่มีสเกลบอกบอก
กําลังหรือโมเมนตที่ใชขัน ปจจุบันมีประแจที่ตั้งแรงบิดเอาไว เมื่อขันจนไดแรงบิดตัวประแจจะ
รูดไป
(ค) ใชแหวนรองบอกแรงดึงที่เรียกวา Direct Tension Indicator : DTI
(ง) ใชสลักเกลียวแบบพิเศษ ที่เรียกวา Calibrated Bolt Assembles ตองใชเครื่องขันเฉพาะ เมื่อขัน
จนไดกําลังที่กาํ หนด ปลายของสลักเกลียวที่ตอไวพิเศษจะขาดหลุดออก
ในประเทศไทยนิยมใชวิธี (ข) ซึ่งไมตองฝกการใชเครื่องมือมากเหมือนวิธีอื่นๆ หัวหนางานอาจจะเปน
ผูตั้งโมเมนตที่ประแจแลวใหคนงานขันตัวเมียใหแนนตามกําหนด
การยึดตอชิ้นสวน
การใชตัวยึดในการตอโครงสรางเหล็ก ทําได 2 อยางดังนี้
(1) ตอแบบทาบ (Lap joint) นําแผนมาทาบแลวเจาะรูยึดดวยตัวยึด ดังรูปที่ 6.3 รอยตอจะเกิดแรง
เยื้องศูนย แตถา ตัวยึดอยางนอย 2 ตัวใน 1 แถวจะลดอาการนี้ลงไดบาง

(2) ตอแบบประกับ (Butt joint) นําแผนเหล็กมาตอชนกัน ใชเหล็กอีกหนึง่ แผนมาประกับเจาะรูยดึ


ดวยตัวยึด ในกรณีใชแผนประกับ 1 แผน (single cover butt joint) อาจจะเกิดการเยื้องศูนย ดังรูปที่ 6.4 (ก)
แตถาเปลี่ยนไปใชแผนประกับ 2 แผน (double cover butt joint) จะไมมีการเยื้องศูนยซึ่งดีที่สุด ดังแสดงใน
รูปที่ 6.4 (ข)
รูปที่ 6.5 แสดงการตอยึดดวยตัวยึด อาจจะใชตวั ยึดเพียงแถวเดียว (chain) หรือหลายแถวและตอยึด
เยื้องกัน (zigzag) ตองใชตัวยึดแถวละ 2 ตัวในแตละแถวขนานกับแนวแรง
ระยะหางระหวางศูนยกลางของตัวยึดหรือรูเจาะในแนวขนานกับแนวแรง เรียกวา pitch ตัวยอ “s”
ระยะหางระหวางศูนยกลางของตัวยึดหรือรูเจาะในแนวตั้งฉากกับแนวแรง เรียกวา gage ใชอักษรยอ
“g” เรียกแนวแถวตัวยึดที่ขนานแนวแรงวา gage line
328 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ระยะหางระหวางระหวางขอบของชิ้นสวนกับศูนยกลางของตัวยึดหรือรูเจาะตัวนอกสุดเรียกวา ระยะ
ขอบ (edge distance) ใชตัวยอ “e”

6.2 ประเภทของรอยตอยึด
รอยตอยึดยึดแบงตามสภาพของการรับแรงได 2 ประเภท คือ
(1) รอยตอแบบรับแรงกด (Bearing Type) เมื่อมีแรงกระทํากับรอยตอชนิดนี้ ชิ้นสวนที่ตอกันจะ
ขยับตัว (slip) ไดบาง โดยถือวาความฝดระหวางผิวของชิ้นสวนนอย (เนื่องจากแรงบีบอัดจากตัวยึดนอย)
พื้นผิวของตัวยึดจะกดเขากับพื้นผิวรูเจาะของชิ้นสวน และเพื่อใหงายขึ้นจึงสมมติใหแรงกดกับตัวยึดทุกตัว
เทากัน และกระจายสม่ําเสมอบนพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผากวางเทากับเสนผานศูนยกลางของตัวยึดและยาวเทากับ
ความหนาของชิ้นสวน แรงทีเ่ กิดกับตัวยึดจะมีทั้งแรงเฉือนและแรงกด
ประเภทของรอยตอยึด 329

(2) รอยตอแบบมีแรงฝด (Friction Type) สลักเกลียวที่ขนั แนนมากทําใหเกิดแรงอัดตั้งฉากผิวสัมผัส


ของชิ้นสวน แรงเสียดทานระหวางผิวสัมผัสจึงเกิดขึ้นและมากพอทีจ่ ะตานทานการไถลของผิวสัมผัสได แรง
ดึงในสลักเกลียวกําลังสูงอยูที่ประมาณ 70% ของแรงดึงประลัย ลักษณะรอยตอแบบนี้คือรูปที่ 6.6 (ข)
ผิวสัมผัสตองไมมีการเคลือบใดๆ ที่จะทําใหความฝดลดลง การคํานวณกําลังของรอยตอจึงพิจารณาเฉพาะ
แรงเฉือนที่กระทํากับตัวยึด เมื่อแรงกระทํามากกวาความฝดระหวางผิว ชิ้นสวนจะขยับตัวจนมีแรงกดที่ตัวยึด
ขึ้นมาเหมือนแบบแรก มาตรฐาน AISC เรียกรอยตอแบบนี้วา Slip-critical connection หรือรอยตอแบบไม
ขยับตัว ความสามารถของรอยตอแบบนีจ้ ะรับแรงสั่นสะเทือนและแรงกระแทกไดดี จึงเหมาะกับโครงสราง
สะพาน และในกรณีที่รอยตอตองรับแรงดึงดวยตัวยึดโดยตรงจะใชรอยตอแบบนีด้ วย
6.3 การวิบัติของรอยตอ
การวิบัติของรอยตอที่ใชตวั ยึด อาจจะเกิดทีต่ ัวยึด หรือเกิดที่แผนเหล็กทีน่ ํามาตอกัน ดังรูปที่ 6.7
การวิบัติเนื่องจากแรงเฉือน (Shear failure) เกิดที่ตวั ยึด เนื่องจากใชตัวยึดขนาดเล็ก หรือจํานวนตัวยึด
นอยเกินไป จนตัวยึดขาดในระนาบการเฉือน การขาดระนาบเดียวหากตอทาบ และสองระนาบหากตอ
ประกับ เนื้อทีห่ นาตัดของตัวยึดเปนผูรับแรงเฉือน ปองกันไดโดยเพิ่มขนาดหรือจํานวนตัวยึด ดูรูปที่ 6.7 (ก)
และ (จ)
330 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

การวิบัติจากการดึงขาด (Cracking or fracture failure) ดังรูปที่ 6.7 (ข) เกิดจากเนื้อทีห่ นาตัด


ประสิทธิผลนอยเกินไป มักจะมาจากระยะหางระหวางตัวยึดนอย ปองกันไดโดยเพิ่มขนาดของแผนเหล็ก
หรือจัดตําแหนงตัวยึดใหเหมาะสม
การวิบัติเนื่องจากแรงกด (Bearing failure) ตามรูปที่ 6.7(ค) เนื่องจากใชแผนเหล็กบางเกินไป พืน้ ทีร่ ับ
แรงกดจะเปนสี่เหลี่ยมผืนผากวางเทากับเสนผานศูนยกลางของตัวยึดและยาวเทากับความหนาของแผนเหล็ก
ปองกันไดโดยเพิ่มความหนาของแผนเหล็ก หรือเพิ่มจํานวนตัวยึด
การวิบัติเนื่องจากการเฉือนขาด (Tear out failure) ตามรูปที่ 6.7 (ง) เกิดเมื่อแผนเหล็กบางเกินไปหรือ
รูเจาะใกลขอบเกินไป ปองกันไดโดยเพิ่มความหนาของแผนเหล็กและใหรูเจาะหางจากขอบ 1.5 ถึง 2.0 ของ
เสนผานศูนยกลางตัวยึด
การวิบัติจากการดัด (Bending failure) ดังรูปที่ 6.7 (ฉ) เกิดในกรณีที่ตัวยึดชะลูดมาก คือเสนผาน
ศูนยกลางนอยแตยาว ปองกันไดโดยใชขนาดตัวยึดโตขึน้
การวิบัติจากแรงดึงและแรงเฉือน (Block shear) (ไมมีรูปแสดงในรูปที่ 6.7 แตจะแสดงในตัวอยาง) เมื่อ
จุดตอรับแรงดึง แลวแผนเหล็กขาดสองแนวตั้งฉากกัน แนวหนึ่งขนานกับแนวแรงเกิดจากแรงเฉือน อีกแนว
หนึ่งตั้งฉากกับแนวแรงเกิดจากแรงดึง รูปรางของรอยขาดคลายกลองจึงเรียก block shear การวิเคราะหการ
ขาดของรอยตอแบบนี้เปนเรื่องสําคัญที่ตองตรวจสอบทุกครั้ง
ในการออกแบบโครงสรางเหล็ก แมจะออกแบบชิ้นสวนตางๆ อยางดีสามารถรับแรงตางๆ ไดแลว
หากออกแบบจุดตอไมดพี อก็จะทําใหโครงสรางวิบัติตรงจุดตอแลวระบบโครงสรางก็จะวิบัติตามทั้งหมด
การออกแบบรอยตอยึดแบบรับแรงกด มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD 331

6.4 การออกแบบรอยตอยึดแบบรับแรงกด มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD


กําลังรับแรงดึงและกําลังรับแรงเฉือนของตัวยึด
วิธี AISC/ASD กําลังรับแรงดึงที่ยอมใหของตัวยึด = Ft A b
กําลังรับแรงเฉือนที่ยอมใหของตัวยึด = Fv A b
วิธี AISC/LRFD กําลังรับแรงดึงประลัยของตัวยึด = φFt A b
กําลังรับแรงเฉือนประลัยของตัวยึด = φFv A b
เมื่อ Ft = หนวยแรงดึงทีย่ อมให (AISC/ASD) และหนวยแรงดึงประลัย (AISC/LRFD) ตารางที่ 6.1 และ
ตารางที่ 6.2 , ksc
Fv = หนวยแรงเฉือนที่ยอมให (AISC/ASD) และหนวยแรงเฉือนประลัย (AISC/LRFD) ตารางที่ 6.1
และตารางที่ 6.2 , ksc
πd 2b
Ab = = เนื้อที่หนาตัดของตัวยึด, cm2
4
db = เสนผานศูนยกลางของตัวยึด, cm
φ = 0.75 = ตัวคูณลดกําลัง (reduction factor)

กําลังรับแรงกดที่รูเจาะ (Bearing strength)


รอยตอที่ใชตัวยึดในแนวขนานกับแนวแรง อยางนอยสองตัวหรือมากกวา โดยที่ d b เปนเสนผาน
ศูนยกลางของตัวยึด มาตรฐานกําหนดใหจดั ตัวยึดดังนี้
ระยะหางระหวางศูนยกลางของตัวยึดไมนอ ยกวา 3d b
ระยะจากศูนยกลางตัวยึดชิดขอบแผนเหล็กถึงขอบแผนเหล็กนั้นไมนอยกวา 1.5d b
วิธี AISC/ASD กําลังรับแรงกดที่ยอมให = 1.2Fu d b t
วิธี AISC/LRFD กําลังรับแรงกดประลัย = 2.4φFu d b t
เมื่อ Fu = กําลังรับแรงดึงประลัยของแผนเหล็กหรือชิ้นสวน, ksc
d b = ขนาดเสนผานศูนยกลางของตัวยึด, cm
t = ความหนาของแผนเหล็กหรือชิ้นสวน ในกรณีใชหมุดย้าํ หนักสลักเกลียวแบบฝงหัว ใหใชความ
หนาจริง ลบดวย ครึ่งหนึ่งของความหนาหัวหมุดที่ฝงในแผนเหล็ก
φ = 0.75 = ตัวคูณลดกําลัง (reduction factor)
332 การออกแบบโครงสรางเหล็ก
การออกแบบรอยตอยึดแบบรับแรงกด มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD 333

กําลังรับแรงดึงและแรงเฉือนรวมกันของรอยตอแบบรับแกรงกด
วิธี AISC/ASD หนวยแรงดึงที่เกิดขึน้ จากแรงดึงและแรงเฉือนที่กระทํารวมกัน ตองมีคาไมเกินหนวย
แรงดึงที่ยอมให ดังตารางที่ 6.3 โดยที่ หนวยแรงเฉือนที่เกิดขึ้น (f v ) ตองมีคาไมเกินหนวยแรงเฉือนที่ยอม
ใหในตารางที่ 6.1
วิธี AISC/LRFD หนวยแรงดึงประลัยที่เกิดขึ้นจากแรงดึงประลัยและแรงเฉือนประลัยที่กระทํารวมกัน
ตองมีคาไมเกินหนวยแรงดึงประลัยที่กําหนดในตารางที่ 6.4 โดยที่หนวยแรงเฉือนประลัยที่เกิดขึ้น (f v ) ตอง
มีคาไมเกินหนวยแรงเฉือนประลัยที่กําหนดในตารางที่ 6.2

6.5 การออกแบบรอยตอยึดแบบมีแรงฝด มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD


กําลังรับแรงของสลักเกลียวกําลังสูงในรอยตอแบบมีแรงฝด ใหพจิ ารณาจากการกระทําของแรงที่เกิด
จากน้ําหนักบรรทุกใชงานอยางเดียว
กําลังรับแรงเฉือน
กําลังรับแรงเฉือนของสลักเกลียว = Fv A b
334 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

กําลังรับแรงดึงและแรงเฉือนรวมกัน
⎛ T⎞
กําลังรับแรงเฉือนของสลักเกลียว = Fv A b ⎜⎜1 − ⎟
⎝ Tb ⎟⎠
เมื่อ Fv = 1170 ksc = หนวยแรงเฉือนที่ยอมให สําหรับสลักเกลียวชนิด ASTM A325 ที่ทํารูเจาะ
มาตรฐาน
Fv = 1450 ksc = หนวยแรงเฉือนที่ยอมให สําหรับสลักเกลียวชนิด ASTM A490 ที่ทํารูเจาะ
มาตรฐาน
T = แรงดึงใชงาน, kg
Tb = แรงดึงต่ําสุดที่ใชขันสลักเกลียว มีคาตามตารางที่ 6.5 หนวย kg
2
A b = เนื้อที่หนาตัดสลักเกลียว, cm
ระยะหางของรอยตอยึด มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD 335

6.6 ระยะหางของรอยตอยึด มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD


ระยะหางระหวางศูนยกลางของตัวยึดหรือรูเจาะ
ตองมีระยะหางอยางนอย 2 23 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางของตัวยึด มาตรฐานกําหนดใหหาง 3
เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางตัวยึด ตารางที่ 6.6 ใหระยะหางของแนวรูเจาะในแนวตั้งฉากแนวแรง
สําหรับเหล็กฉาก

ระยะหางจากศูนยกลางตัวยึดริมหรือรูเจาะถึงขอบแผนเหล็ก
ระยะขอบตองไมนอยกวา 1.5 ถึง 2.0 เทาของเสนผานศูนยกลางตัวยึด แตตองไมเกิน 12 เทาความหนา
ของแผนเหล็ก หรือ 15 เซนติเมตร ตารางที่ 6.7 แสดงคาขั้นต่ําของระยะขอบสําหรับตัวยึดขนาดตางๆ เมื่อทํา
รูเจาะมาตรฐาน
336 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

6.7 วิธีออกแบบรอยตอรับแรงรวมศูนย
รอยตอที่รับแรงกระทําผานจุดศูนยถว งของรอยตอ เรียกวา รอยตอรับแรงรวมศูนย ซึง่ แรงกระจายให
ตัวยึดรับแรงเทาๆ กัน แรงที่กระทําบนตัวยึดอาจจะเปนแรงดึง แรงอัด หรือ แรงเฉือน การคํานวณให
ตั้งสมมติฐานวาไมมีความฝดระหวางแผนเหล็กสําหรับรอยตอแบบรับแรงกด หนวยแรงที่เกิดขึ้นตองไมเกิน
กวาคาตามมาตรฐาน
6.8 วิธีออกแบบรอยตอรับแรงเยื้องศูนย
รอยตอที่รับแรงไมผานศูนยถว งของรอยตอ เรียกวา รอยตอรับแรงเยื้องศูนย ดังรูปที่ 6.8 แรงเยื้องศูนย
สามารถแทนดวยแรงรวมศูนยกับโมเมนต ทําใหตวั ยึดรับแรงเฉือนจากแรงรวมศูนย แลวมีแรงดึง หรือ
แรงอัด หรือแรงเฉือน จากโมเมนต แรงสวนที่สองนี้จะอยูในแนวตั้งฉากกับเสนตรงจากศูนยถวงรอยตอมายัง
จุดศูนยกลางของตัวยึด แรงนีจ้ ะมากหรือนอยขึ้นกับความยาวของเสนตรงจากศูนยถวงรอยตอมายังจุด
ศูนยกลางของตัวยึด แรงที่เกิดบนตัวยึดตองไมเกินกวาทีม่ าตรฐานกําหนด

พิจารณารอยตอดวยตัวยึดในรูปที่ 6.9 แรง P กระทําเยื้องจากศูนยถวงรอยตอเปนระยะ e ดังนั้นรอยตอ


ตองรับทั้งแรงเฉือน P และโมเมนตบิด M = Pe

ให N= จํานวนของตัวยึดที่ใช
d i = ระยะจากศูนยถวงรอยตอถึงศูนยกลางตัวยึดแตละตัว
rpi = เปนแรงบนตัวยึดเนื่องจากแรงเฉือน P
rmi = เปนแรงบนตัวยึดเนื่องจากโมเมนต M = Pe
ตามรูปที่ 6.9 มีจํานวนตัวยึด N = 4 แรงเฉือนจากแรงผานศูนยถว งรอยตอ P จะกระจายเทากัน คือ
P P
rp1 = rp 2 = rp 3 = rp 4 = =
N 4
วิธีออกแบบรอยตอรับแรงเยื้องศูนย 337

พิจารณาผลของโมเมนต M = Pe พยายามเฉือนตัวยึดใหหมุนตามเข็มนาฬิกา แรงที่เกิดบนตัวยึดแตละ


ตัวจะตั้งฉากกับเสนโยงจากศูนยถวงรอยตอมายังจุดศูนยกลางตัวยึดและแปรตามความยาวระยะนี้ดว ย ให
แรงที่เกิดบนตัวยึดเปน rm1 , rm 2 , rm3 , rm 4 ดังนัน้
M = Pe = rm1d1 + rm 2 d 2 + rm 3d 3 + rm 4 d 4 (6.8.1)
แต rm1 = kd1 , rm 2 = kd 2 , rm3 = kd 3 , rm 4 = kd 4 หรือ
rm1 rm 2 rm 3 rm 4
= = =
d1 d 2 d 3 d 4
rm1
ทําใหอยูใ นรูปของ ไดวา
d1
d d d d
rm1 = rm1 1 , rm 2 = rm1 2 , rm 3 = rm1 3 , rm 4 = rm1 4
d1 d1 d1 d1
แทนคาลงในสมการ (6.8.1)
d1 d d d
M = Pe = rm1 d1 + rm1 2 d 2 + rm1 3 d 3 + rm1 4 d 4
d1 d1 d1 d1
r ∑ d i2
M = Pe =
rm1 2
d1
(
d1 + d 22 + d 32 + d 24 = m1
d1
)
Md1
rm1 = N

∑d
i =1
2
i

ทํานองเดียวกันจะได
Md 2 Md 3 Md 4
rm 2 = N
, rm 3 = N
, rm 4 = N

∑ d i2
i =1
∑ d i2
i =1
∑d
i =1
2
i
338 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

Md i
ดังนั้น rmi = N
(6.8.2)
∑d
i =1
2
i

คาของแรงลัพธบนตัวยึดแตละตัวจากการกระทําเยื้องศูนย ไดจากการรวมเวกเตอรของ rpi กับ rmi ซึ่ง


ทําไดหลายวิธที ั้งการเขียนรูปและแยกแรงในแนวตั้งฉากกัน โดยแนวหนึ่งขนานกับแนวแรงทีก่ ระทําเชน
แนว y รวมแรงทางพีชคณิต แลวจึงรวมเวกเตอรอีกครั้ง

ถาให x และ y เปนระยะในแนวราบกับแนวตั้งของระยะจากศูนยถวงรอยตอไปยังจุดศูนยกลางตัวยึด


แรง rpi เปนแรงจากแรงกระทํารวมศูนย แรง rmi เปนแรงจากโมเมนต ดังรูปที่ 6.10
แยกแรง rmi ไปอยูในแนวราบกับแนวตั้ง
rmi y Md i y My
rmix = = N × = N
∑ d i2 i ∑ d i2
di d
i =1 i =1

rmi x Md i x Mx
rmiy = = N × = N
∑ d i2 i ∑ d i2
di d
i =1 i =1

แตเนื่องจาก d i2 = x 2 + y 2
ดังนั้น
My Mx
rmix = , rmiy = (6.8.3)
∑ (x ) ∑ (x )
N N
2
+y 2 2
+y 2

i =1 i =1

รวมแรงในแนวตั้ง ry = rpi + rmiy โดยในการรวมตองดูทิศทางใหดดี วย


รวมแรงในแนวราบ rx = rmix
ดังนั้นแรงลัพธ ri = (rpi + rmiy )2 + rmix
2

คาแรงลัพธ ri ตองไมเกินกวาที่มาตรฐานกําหนด
วิธีออกแบบรอยตอรับแรงเยื้องศูนย 339

จํานวนตัวยึดในรอยตอรับแรงเยื้องศูนย

จากรูปที่ 6.11 จัดตัวยึดที่รอยตอรับแรงเยื้องศูนย โดยที่


ให n = จํานวนแถว
m = จํานวนตัวยึดในแตละแถว
s = ระยะหางของตัวยึด (ไมนอยกวา 3 เทาของขนาดตัวยึด)

กรณีที่เรียงตัวยึดในแนวตั้งเพียงแนวเดียว ตัวนอกสุดจะหางจากศูนยถวง (n − 1)s ถัดเขามาจะหาง


2
(n − 1)s − s = (n − 3)s ถัดมาอีก (n − 3)s − s = (n − 5)s ดังนั้น คํานวณอนุกรมไดดังนี้
2 2 2 2
[ ]
n/2 2
y 2 = 2 × (n − 1) + (n − 3) + (n − 5) + ..... + (n − n )
s

i =1 4
2 2 2 2

n/2
s 2 n (n − 1)(n + 1)

i =1
y =
2

12
เนื่องจากมีทั้งหมด m แถวจะได
s 2 mn (n − 1)(n + 1) s 2 mn (n 2 − 1)

y2 =
12
=
12
ทํานองเดียวกันจะได
(
s 2 nm(m − 1)(m + 1) s 2 mn m 2 − 1 )
∑ x2 = 12
=
12
ดังนั้น
( ) ( )
s 2 mn m 2 − 1 s 2 mn n 2 − 1 s 2 mn 2
( )
∑ d i2 = ∑ x 2 + ∑ y 2 = 12
+
12
=
12
m + n2 − 2

สําหรับตัวยึดตัวนอกสุด มีระยะ
⎛ n −1 ⎞ ⎛ m −1 ⎞
[ ]
2 2
s2
d= ⎜ s⎟ + ⎜ s⎟ = (n − 1)2 + (m − 1)2
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
2
2
340 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

d=
s
(n − 1)2 + (m − 1)2
2
Md i
หากพิจารณาผลของโมเมนตเพียงอยางเดียว แรงที่กระทําตอตัวยึดแตละตัวมีคา ซึ่งตองไมเกิน
∑ d i2
กําลังของตัวยึด สมมติให R เปนกําลังของตัวยึด และตัวยึดที่อยูน อกสุดทั้งสองทิศทางคือที่มุมนอกสุดจะเกิด
แรงมากที่สุด ดังนั้น
Md i

s
(n − 1)2 + (m − 1)2
R= = 2
∑ d i2 (
s 2 mn 2
m + n2 − 2 )
12
6M (n − 1) + (m − 1)
2 2

R=
(
smn m 2 + n 2 − 2 )
เมื่อ n > m ประมาณคา (n − 1)2 + (m − 1)2 ≈ 2n 2 ≈ n 2 และ (m 2 + n 2 − 2) ≈ 2n 2
6M × n 2 6M 6M
R≈ = ≈
smn × 2n 2 2
smn 2 smn
2

6M
n2 ≈
smR
6M
n= (6.8.4)
smR
เปนสมการที่ใชเพื่อประมาณจํานวนตัวยึดที่ตองการในรอยตอรับแรงเยื้องศูนย โดยหาคา M = Pe
จากนั้นเลือกขนาดตัวยึดจะทําใหทราบ R และ s สมมติ m แทนคาหา n

6.9 การตอปลายคาน
การทํารอยตอระหวางคานกับคานและระหวางคานกับเสา โดยใชตวั ยึด แสดงไวในรูปที่ 6.12 และ
6.13
การตอยึดปลายคานสําหรับคานชวงเดียว เพื่อใหรับแรงเฉือน (จากแรงปฏิกิริยาของที่รองรับ) เพียง
อยางเดียว อาจจะใชเหล็กฉากเพียง 1 คูตามรูปที่ 6.12 โดยขาของหนึ่งของเหล็กฉากยึดติดกับแผนตั้งของคาน
ซึ่งนิยมทํามาจากโรงงาน (shop bolt หรือ shop rivet) แลวยึดขาเหล็กฉากอีกขางเขากับปกเสา เปนการตอยึด
ในสถานที่กอสราง (field bolt หรือ field rivet) แสดงสัญลักษณของตัวยึดดวยสีดํา ลักษณะการตอแบบนี้
เรียกวา framed beam connection) ขนาดของเหล็กฉากที่ใช ความยาวขา 100 mm ถึง 200 mm ความหนา
เหล็กฉากประมาณ 8-12 mm สวนความยาวของเหล็กฉากประมาณ 12 − 23 ของความลึกของคานเหล็ก
รูปพรรณ ที่ปลายคานตอกับเสาจะเวนชองวางไวประมาณ 12-19 mm เผื่อในการติดตัง้
การตอปลายคาน 341

ในกรณีแรงปฏิกิริยาไมมากนัก คือไมเกิน 20 ตัน อาจจะใชเหล็กฉากรองใตคาน (beam seat) ดังรูป


6.12 ถาขาเหล็กฉากยาวไมเทากันจะใชขาดานยาวยึดแนบกับปกเสา ขาดานสั้นรองรับปลายคาน ความยาว
ของขาดานสั้นตองมากพอทีจ่ ะไมทําใหแผนตั้งของคานเกิดการยูหรือการคราก ความหนาของเหล็กฉากตอง
มากพอที่จะถายแรงเฉือนได การตอแบบนี้เรียกวา unstiffened (flexible) beam-seat connection

ในกรณีที่แรงปฏิกิริยามากขึน้ เหล็กฉากรองใตคานอยางเดียวไมพอ แกไขไดโดยใชเหล็กฉากอีกหนึ่ง


คูยึดโดยเอาทางยาวไปยันปกเหล็กฉากที่รองรับคาน ดังรูปที่ 6.12 เรียกวา stiffened beam-seat connection ใน
ทั้งสองกรณีมกั จะใชเหล็กฉากยึดที่ปก บนของคานดวย ทั้งนี้เพื่อใหคานอยูในที่และปลายคานไมมกี ารบิดตัว
ความหนาของเหล็กฉากยึดปกบนควรจะไมใหหนาเกินไปคือประมาณ 6 mm เพื่อใหปลายคานหมุนไดบาง
ตามสมมติฐานของคานชวงเดียวที่ปลายคานมีโมเมนตเปน 0
หากปลายคานตองรับโมเมนตดัดดวย เชนคานในโครงขอแข็งตางๆ ถาโมเมนตที่ปลายคานไมมากนัก
ลักษณะปลายคานยึดแนนบางสวน (partially restrained) ใหออกแบบมีเหล็กฉากรองใตคาน รับทั้งแรง
ปฏิกิริยาและแรงอัดจากโมเมนต สวนเหล็กฉากดานบนของคานใหออกแบบรับแรงดึงจากโมเมนตดัด การ
หาขนาดและจํานวนตัวยึดใหพิจารณาจากแรงที่กระทํา
342 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ในกรณีปลายคานมีลักษณะยึดแนน (fully restrained) โมเมนตจะมีคามาก การออกแบบจะใหเหล็ก


ฉากและตัวยึดที่ยึดกับแผนตัง้ ของคานเปนผูรับแรงเฉือน สวนเหล็กฉากที่ยึดกับปกคาน (clip angle) ติดกับ
ปกเสา ออกแบใหรับแรงดึงหรือแรงอัดที่เกิดจากโมเมนตดัด ดังรูปที่ 6.13 บางกรณีก็ใชเหล็กตัวทีแทนเหล็ก
ฉาก สวนที่ตอ ยึดกับปกคานรับแรงจากโมเมนตดัด สวนทีย่ ึดติดกับปกเสารับแรงเฉือน นอกจากนี้โมเมนต
ดัดที่ปลายคานกระทําตอเสาอาจจะเปนเหตุใหเหล็กแผนตั้งของเสาเกิดการครากหรือการยูขึ้น ปกเสาอาจจะ
บิดตัวและฉีกออกจากแรงดึงในปกคาน ดังนั้นตองมีการเสริมเหล็กขางเสา (column stiffener) ดวยเหล็กแผน
เชื่อมแทรกในเสาตรงกับแนวปกคาน
ตัวอยางการออกแบบรอยตอดวยตัวยึด 343

ตัวอยางที่ 6.1 จงหาจํานวนของสลักเกลียวชนิด ASTM A325 ขนาด 16 mm ที่ตองใชเพื่อทํารอยตอรับแรง


ดึง ดังรูป ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD แผนเหล็กเปนชนิด ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc,
Fu = 4050 ksc ทํารูเจาะตามมาตรฐาน (standard hole) และตอแบบมีแรงกดโดยเกลียวไมอยูใน
ระนาบของแรงเฉือน

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
เนื่องจากโจทยไมกําหนดแรงที่กระทํา จึงตองออกแบบใหรับแรงดึงสูงสุดที่แผนเหล็กจะรับได
ขั้นตอนที่ 1 หาแรงดึงทีแ่ ผนเหล็กจะตองรับ
ความหนาของแผนเหล็กเทากับผลรวมของความหนาของแผนประกับสองแผนรวมกัน ดังนัน้ จะหา
กําลังรับแรงดึงจากแผนเหล็กหรือจากแผนประกับก็จะไดแรงขนาดเทากัน
แรงดึงสูงสุดที่รับได P = 0.6Fy A g
พิจารณาจากแผนเหล็ก P = 0.6 × 2500 × (1.6 × 35) = 84,000 kg
พิจารณาจากแผนประกับ P = 0.6 × 2500 × (2 × 0.8 × 35) = 84,000 kg
ขั้นตอนที่ 2 หากําลังของสลักเกลียวชนิด ASTM A325 เมื่อตอแบบรับแรงกดและเกลียวไมอยูในระนาบแรง
เฉือน
จากตารางที่ 6.1 สลักเกลียว ASTM A325 ที่เกลียวไมอยูในระนาบแรงเฉือน จะมีหนวยแรงดึงทีย่ อม
ให Ft = 3080 ksc หนวยแรงเฉือนที่ยอมให Fv = 2100 ksc
กําลังรับแรงเฉือนสองระนาบ = Fv A b = 2 × 2100 × ⎛⎜ π × 1.62 ⎞⎟ = 8444.6 kg
⎝4 ⎠
ระยะหางระหวางตัวยึด (c = 9 cm ) > (3d = 3 × 1.6 = 4.8 cm )
344 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

และระยะหางขอบ (L = 5 cm ) > (1.5d = 1.5 × 1.6 = 2.4 cm )


กําลังรับแรงกด = 1.2Fu d b t = 1.2 × 4050 × 1.6 × 1.6 = 12441.6 kg
สลักเกลียวจะวิบัติเนื่องจากแรงเฉือน ไมใชจากการกดกับแผนเหล็ก
จํานวนสลักเกลียว = 84,000 = 9.95 ⇒ 10 ตัว ใช 12 ตัว จัดเปน 4 แถวๆ ละ 3 ตัว โดยจัดตามรูป
8444.6
ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบกําลังรับแรงดึงจริง
พิจารณากําลังรับแรงดึงของแผนเหล็กประกับ ขนาดสลักเกลียว 16 mm รูเจาะตองเผื่ออีก 2 mm แนว
ขาดจะผานรูเจาะแนวริมใกลแรงดึงที่สุด มีจํานวนรูเจาะ 4 รู
(ก) แรงดึงบนหนาตัดสุทธิประสิทธิผล
หนาตัดสุทธิประสิทธิผล A e = Ut[b − n(d b + 0.2)] = 1× 0.8 × [35 − 4 × (1.6 + 0.2)]
A e = 22.24 cm 2
แผนประกับสองแผน A e = 2 × 22.24 = 44.48 cm 2
แรงดึง Pt = 0.5Fu A e = 0.5 × 4050 × 44.48 = 90,072 kg > 84,000 kg
(ข) แรงดึงจากการรับแรงดึงรวมกับแรงเฉือน (block shear) แนวขาดที่เปนไปไดคือคือสวนรับแรง
ดึงจะผานรูเจาะจํานวน 2 + 0.5 + 0.5 = 3 รู ความยาวของรอยขาด = 9 + 9 + 9 - 3 × (1.6 + 0.2) = 21.6 cm 2
มีแผนประกับสองแผน ดังนัน้
A nt = 2 × 21.6 × 0.8 = 34.56 cm 2
แนวขาดเนื่องจากแรงเฉือน ผานรูเจาะ 2.5 รู ความยาวของรอยขาด = 8 + 8 + 5 − 2.5(1.6 + 0.2 ) =
16.5 cm แตละแผนจะมีแนวแรงเฉือนสองดาน และมีแผนประกับ 2 แผน
A nv = 2 × 2 × 16.5 × 0.8 = 52.8 cm 2
กําลังรับแรงดึง
P = 0.3Fu A nt + 0.5Fu A nv = 0.3 × 4050 × 34.56 + 0.5 × 4050 × 52.8
P = 148,910.4 kg > 84,000 kg
ดังนั้นสวนของโครงสรางนี้รับแรงดึงได 84,000 kg

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
เนื่องจากโจทยไมไดกําหนดแรงดึงประลัยมาให จึงจะออกแบบใหรอยตอรับแรงดึงประลัยไดสูงที่สุด
เทาที่ชิ้นสวนจะรับได
ขั้นตอนที่ 1 หาแรงดึงประลัยที่ชิ้นสวนรับได
สังเกตวาความหนาของแผนเหล็กเทากับผลรวมความหนาของแผนประกับ แรงดึงประลัยของชิ้นสวน
จะหาจากแผนเหล็กหรือแผนประกับก็จะไดคาเทากัน ในที่นี้จะหาจากแผนประกับ
แรงดึงประลัยของหนาตัดทัง้ หมด Ptu = 0.9Fy A g
Ptu = 0.9 × 2500 × (2 × 35 × 0.8) = 126,000 kg
ตัวอยางออกแบบจุดตอดวยตัวยึด 345

ขั้นตอนที่ 2 หากําลังรับแรงประลัยของสลักเกลียวชนิด ASTM A325 ดูตารางที่ 6.2 เกลียวไมอยูในระนาบ


แรงเฉือน มีหนวยแรงดึงประลัย Ft = 6210 ksc และหนวยแรงเฉือนประลัย Fv = 4140 ksc
กําลังรับแรงเฉือนประลัย 2 ระนาบ
⎛ π ⎞
Pvu = 0.75Fv A b = 0.75 × 4050 × ⎜ 2 × × 1.6 2 ⎟ = 12,214.5 kg
⎝ 4 ⎠
กําลังรับแรงกดประลัยระหวางสลักเกลียวกับแผนเหล็กประกับ
ระยะหางระหวางตัวยึด (c = 9 cm ) > (3d = 3 × 1.6 = 4.8 cm )
กําลังรับแรงกดประลัยบนแผนประกับรวม 2 แผน
Pbu = 0.75(2.4d b tFu ) = 0.75 × (2.4 × 1.6 × (2 × 0.8) × 4050) = 18,662.4 kg
ดังนั้นสลักเกลียวจะวิบัติจากแรงเฉือน รับแรงไดตัวละ 12,214.5 kg
จํานวนสลักเกลียวที่ตองการ = 126,000 = 10.3 ⇒ 11 ⇒ 12 ตัว จัดรอยตอตามรูป
12,214.5
ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบการรับแรงดึงประลัย
พิจารณากําลังรับแรงดึงประลัยจากแผนเหล็กประกับ
(ก) แรงดึงประลัยที่ทําใหแผนเหล็กฉีกขาด
หนาตัดสุทธิประสิทธิผล A e = Ut[b − n(d b + 0.2)] = 1× 0.8 × [35 − 4 × (1.6 + 0.2)]
A e = 22.24 cm 2
แผนประกับสองแผน A e = 2 × 22.24 = 44.48 cm 2
แรงดึงประลัย
Ptu = 0.75Fu A e = 0.75 × 4050 × 44.48 = 135,108 kg
(ข) แรงดึงจากการรับแรงดึงรวมกับแรงเฉือน (block shear) แนวขาดที่เปนไปไดคือคือสวนรับแรง
ดึงจะผานรูเจาะจํานวน 2 + 0.5 + 0.5 = 3 รู ความยาวของรอยขาด = 9 + 9 + 9 - 3 × (1.6 + 0.2) = 21.6 cm 2
มีแผนประกับสองแผน ดังนัน้
A nt = 2 × 21.6 × 0.8 = 34.56 cm 2
แนวขาดเนื่องจากแรงเฉือน ผานรูเจาะ 2.5 รู ความยาวของรอยขาด = 8 + 8 + 5 − 2.5(1.6 + 0.2 ) =
16.5 cm แตละแผนจะมีแนวแรงเฉือนสองดาน และมีแผนประกับ 2 แผน
A nv = 2 × 2 × 16.5 × 0.8 = 52.8 cm 2
เนื้อที่รับแรงเฉือน A gv = 2 × 2 × 0.8 × (8 + 8 + 5) = 67.2 cm 2
เนื้อที่รับแรงดึง A gt = 2 × 0.8 × (35 − 4 − 4) = 43.2 cm 2
กําลังรับแรงดึงประลัยเนื่องจากแรงดึงรวมกับแรงเฉือนพิจารณาจากคามากตอไปนี้
เมื่อ Fu A nt ≥ 0.6Fu A nv Ptu = 0.75(0.6Fy A gv + Fu A nt )
เมื่อ 0.6Fu A nv > Fu A nt Ptu = 0.75(0.6Fu A nv + Fy A gt )
346 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

Fu A nt = 4050 × 34.56 = 139,968 kg


0.6Fu A nv = 0.6 × 4050 × 52.8 = 128,304
Ptu = 0.75(0.6 × 2500 × 67.2 + 4050 × 34.56 ) = 180,576 kg
Ptu = 0.75(0.6 × 4050 × 52.8 + 2500 × 43.2) = 177,228 kg
ดังนั้นกําลังรับแรงดึงประลัยจากแรงดึงรวมกับแรงเฉือน (block shear) คือ
Ptu = 180,576 kg
ดังนั้นโครงสรางรับแรงดึงประลัยได Ptu = 126,000 kg

ตัวอยางที่ 6.2 จงหาจํานวนของสลักเกลียวชนิด ASTM A325 ขนาด 24 mm ที่ตองใช เพื่อทํารอยตอรับแรง


ดึงจากน้ําหนักคงที่ใชงาน 15 ตัน และจากน้ําหนักจรใชงาน 25 ตัน ดังรูป โดยวิธี AISC/LRFD แผน
เหล็กเปนชนิด ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc ทํารูเจาะแบบมาตรฐาน (standard
hole) และตอแบบมีแรงฝดโดยเกลียวไมอยูในระนาบของแรงเฉือน

วิธีทํา
เมื่อตอแบบมีแรงฝดและเกลียวไมอยูในระนาบของแรงเฉือน
กําลังรับแรงเฉือนระนาบเดียวของสลักเกลียวในสภาวะใชงาน
π × 2.4 2
= φFv A b = 1.0 × 1170 × = 5292.96 kg / bolt
4
จํานวนสลักเกลียวที่ใช =
(15 + 25) × 1000 = 7.56 ⇒ 8 ตัว
5292.96
เมื่อแระกระทําเกินกวาสภาวะใชงาน รอยตอจะขยับตัวทําใหสลักเกลียวตองรับทั้งแรงเฉือนและแรง
กด หากําลังรับแรงดึงประลัยของรอยตอ
กําลังรับแรงเฉือนประลัยของสลักเกลียว
⎛ π × 2 .4 2 ⎞
Pvu = 0.75Fv A b = 8 × 0.75 × 4140 × ⎜⎜ ⎟⎟ = 112,373.5126 kg
⎝ 4 ⎠
กําลังรับแรงกดประลัยระหวางสลักเกลียวกับเหล็กแผน
สมมติวาระยะหางระหวางสลักเกลียว c ≥ 3d b และระยะขอบ L ≥ 1.5d b
กําลังรับแรงกดประลัยจากสลักเกลียว 8 ตัว
Pbu = 8 × 0.75(2.4d b tFu ) = 8 × 0.75 × (2.4 × 2.4 × 1.6 × 4050) = 223,948.8 kg
รอยตอจึงรับแรงดึงประลัย Pu = 112,373.5126 kg = 112,400 kg
ตัวอยางออกแบบจุดตอดวยตัวยึด 347

ตัวอยางที่ 6.3 จากการทํารอยตอระหวางชิ้นสวนรูปตัด W กับแผนเหล็กประกับเพื่อรับแรงดึง โดยใชสลัก


เกลียวชนิด ASTM A325 ขนาด 22 mm ทํารูเจาะมาตรฐาน (standard hole) และตอแบบมีแรงกดโดย
เกลียวไมอยูใ นระนาบของแรงเฉือน ดังรูป ใหเหล็กเปนชนิด ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc และ
Fu = 4050 ksc ใหหากําลังรับแรงดึงของรอยตอโดยวิธี AISC/ASD/LRFD โดยพิจารณาจาก
(ก) กําลังรับแรงดึงของชิ้นสวน
(ข) กําลังรับแรงดึงของสลักเกลียว
(ค) กําลังรับแรงดึงรวมกับแรงเฉือน (block shear strength) ของชิ้นสวนรูปตัด W

วิธีทํา
วิเคราะหโดยวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 กําลังรับแรงดึงของชิ้นสวน
พิจารณาจากคานอยระหวาง P = 0.6Fy A g กับ P = 0.5Fu A e
หนาตัด W350 × 49.6 ดูตารางที่ 1 ภาคผนวก ข มีขอมูลวา ความกวางปก b f = 175 mm ความหนา
ปก t f = 11 mm ความลึก d = 350 mm ความหนาแผนตั้ง t w = 7 mm เนื้อที่หนาตัด A g = 63.14 mm2
สลักเกลียว ASTM A325 ขนาด 22 mm < 24 mm จึงเผื่อรูเจาะขึ้นอีก 2 mm ขนาดรูเจาะ 22 + 2 = 24
mm รูเจาะทีแ่ นวขาดใกลแรงดึงที่สุดอยูบนปกๆ ละ 2 รู รวมเปน 4 รู ดังนั้น
24 11 2
A n = 63.14 − 4 × × = 52.58 cm
10 10
A e = UA n = 0.85A n = 0.85 × 52.58 = 44.693 cm2
P = 0.6Fy A g = 0.6 × 2500 × 63.14 = 94,710 kg
P = 0.5Fu A e = 0.5 × 4050 × 44.693 = 90,503.325 kg
เลือกคานอย กําลังรับแรงดึงของชิ้นสวนคือ 90,503 kg
348 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แผนเหล็กประกับสองแผน แตละแผนกวาง 300 mm หนา 10 mm รูเจาะขนาด 24 mm ในแนวขาดใกล


แรงที่สุดมี 2 รู ดังนั้น
A g = 2 × (30.0 × 1.0) = 60 cm
2

2
0.85A g = 0.85 × 60 = 51 cm
A n = 2 × (30.0 × 1.0 − 2 × 2.4 × 1.0 ) = 50.4 cm < 0.85A g = 51 cm
2 2

2
A e = A n = 50.4 cm แตถา A n > 0.85A g ใหใช A e = 0.85A g
ดังนั้น P = 0.6Fy A g = 0.6 × 2500 × 60 = 90,000 kg
P = 0.5Fu A e = 0.5 × 4050 × 50.4 = 102,060 kg
เลือกคานอย P = 90,000 kg
ขั้นตอนที่ 2 กําลังรับแรงของสลักเกลียว
หาจากคานอยระหวางกําลังรับแรงเฉือนกับกําลังรับแรงกด
สลักเกลียวขนาด 22 mm จํานวน 12 ตัว กําลังรับแรงเฉือนจากตารางที่ 6.1 กรณีที่เกลียวไมอยูใ น
ระนาบแรงเฉือนชนิด ASTM A325-X คือ Fv = 2100 ksc ดังนั้น
กําลังรับแรงเฉือน Pv = Fv A b = 2100 × 12 × π × 2.22 = 95,793 kg
4
เนื่องจากแผนประกับหนา 10 mm ขณะทีป่ กคานหนา 11 mm แผนประกับจึงวิบัติจากแรงกดกอนปก
คาน กําลังรับแรงกด Pbr = 1.2Fu dt สลักเกลียวมี 12 ตัว ดังนั้น
กําลังรับแรงกด Pbr = 12 × (1.2 × 4050 × 2.2 × 1.0) = 128,304 kg
การรับแรงของสลักเกลียว จะวิบัตจิ ากแรงเฉือนจนสลักเกลียวขาดที่ 95,793 kg
ขั้นตอนที่ 3 กําลังรับแรงดึงรวมกับแรงเฉือน (block shear strength) ของปกคาน W ดูตามรูปมี 4 ชิน้ ปกคาน
หนา 11 mm สลักเกลียวขนาด 22 mm < 24 mm เผื่อรูเจาะอีก 2 mm ขนาดรูเจาะจึงเปน 24 mm
กําลังรับแรงรวมคือ Pbs = 0.5Fu A nt + 0.3Fu A nv
สวนรับแรงดึงเทากับ 4.25 ซม ลบดวยครึ่งหนึ่งของรูเจาะ
⎛ 2.4 ⎞
A nt = 1.1 × ⎜ 4.25 − ⎟ = 3.355 cm2
⎝ 2 ⎠
สวนรับแรงเฉือนใหระยะหางปลายและระยะระหวางสลักเกลียวเทากับ 3 เทาของขนาดสลักเกลียว ดู
ตามรูปจะมี 3 ชวง จึงยาว = 3 × (3 × 2.2) = 19.8 cm ในแนวขาดจะมีรูเจาะ 2.5 รู ปกคานหนา 1.1 mm
ดังนั้น เนื้อที่รับแรงเฉือนคือ
A nv = 1.1× (19.8 − 2.5 × 2.4) = 15.18 cm
2

ดังนั้นกําลังรับแรงดึงรวมกับแรงเฉือน เมื่อคิด block shear รวมทั้ง 4 ชิ้นแลว


Pbs = 4 × [0.5 × 4050 × 3.355 + 0.3 × 4050 × 15.18] = 100,950.3 kg
เลือกคานอยทีส่ ุดจากทุกกรณี กําลังรับแรงดึงของจุดตอคือ 90,000 kg
ตัวอยางการออกแบบจุดตอดวยตัวยึด 349

การวิเคราะหโดยวิธี AISC/LRFD

ขั้นตอนที่ 1 กําลังรับแรงดึงของชิ้นสวน วิเคราะหจากคานอยระหวาง Pu = φ t Fy A g กับ Pu = φt Fu A e


หนาตัด W350 × 49.6 ดูตารางที่ 1 ภาคผนวก ข มีขอมูลวา ความกวางปก b f = 175 mm ความหนา
ปก t f = 11 mm ความลึก d = 350 mm ความหนาแผนตั้ง t w = 7 mm เนื้อที่หนาตัด A g = 63.14 mm2
สลักเกลียว ASTM A325 ขนาด 22 mm < 24 mm จึงเผื่อรูเจาะขึ้นอีก 2 mm ขนาดรูเจาะ 22 + 2 = 24
mm รูเจาะทีแ่ นวขาดใกลแรงดึงที่สุดอยูบนปกๆ ละ 2 รู รวมเปน 4 รู ดังนั้น
Pu = φ t Fy A g = 0.9 × 2500 × 63.14 = 142,065 kg
เนื้อที่หนาตัด A g = 63.14 mm2 รูเจาะ 4 รู ขนาดรูเจาะ 2.2 + 0.2 = 2.4 cm ปกหนา 1.1 cm ดังนั้น
2
A n = 63.14 − 4 × 2.4 × 1.1 = 52.58 cm
2
A e = UA n = 1.0 × 52.58 = 52.58 cm
Pu = φ t Fu A e = 0.75 × 4050 × 52.58 = 159,711.75 kg
แผนเหล็กประกับ มี 2 แผน แตละแผนกวาง 30 cm หนา 1 cm รูเจาะขนาด 2.4 cm แผนละ 2 รู
2
A g = 30 × 1 = 30 cm
2
0.85A g = 0.85 × 30 = 25.5 cm
A n = 1 × (30 − 2 × 2.4 ) = 25.2 cm < 0.85Ag
2

2
ดังนั้น A e = A n = 25.2 cm
Pu = φ t Fy A g = 0.9 × 2500 × (2 × 30 ) = 135,000 kg
Pu = φ t Fu A e = 0.75 × 4050 × (2 × 25.2 ) = 153,090 kg
เลือกจากคานอย กําลังรับแรงดึงจากกําลังของชิ้นสวนคือ 135,000 kg
ขั้นตอนที่ 2 กําลังรับแรงประลัยของสลักเกลียว
เลือกจากคานอยระหวางกําลังรับแรงเฉือนและกําลังรับแรงกด สลักเกลียว ASTM A325 X-bolt เกลียว
ไมอยูในระนาบแรงเฉือน ตาราง 6.2 หนวยแรงเฉือนประลัย 4140 ksc สลักเกลียวขนาด 2.2 cm จํานวน 12
ตัว
⎛ π ⎞
Pu = φ v Fv A b = 0.75 × 4140 × ⎜12 × × 2.2 2 ⎟ = 141,637 kg
⎝ 4 ⎠
กําลังรับแรงกดจะวิบัติที่แผนเหล็กประกับเพราะบางกวาปกคาน โดยเหล็กมี Fu = 4050 ksc เสน
ผานศูนยกลางสลักเกลียว 2.2 cm แผนประกับหนา 1.0 cm จํานวนสลักเกลียว 12 ตัว และตัวคูณลดกําลัง
φ br = 0.75 ดังนั้นกําลังรับแรงกดของแผนประกับคือ
Pu = φ br (2.4Fu dt ) = 12 × [0.75 × (2.4 × 4050 × 2.2 × 1.0)] = 192,456 kg
จากกําลังรับแรงเฉือนและกําลังรับแรงกด จุดตอรับแรงได 141,637 kg
350 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขั้นตอนที่ 3 กําลังรับแรงดึงรวมกับแรงเฉือน (block shear strength) ของปกคานคาน W ดูตามรูปมี 4 ชิ้น ปก


คานหนา 11 mm สลักเกลียวขนาด 22 mm < 24 mm เผื่อรูเจาะอีก 2 mm ขนาดรูเจาะจึงเปน 24 mm
สวนรับแรงดึงยาว 4.25 cm รูเจาะ 0.5 รู
2
A gt = 1.1 × 4.25 = 4.675 cm
⎛ 2.4 ⎞
A nt = 1.1 × ⎜ 4.25 − ⎟ = 3.355 cm2
⎝ 2 ⎠
สวนรับแรงเฉือนใหระยะหางปลายและระยะระหวางสลักเกลียวเทากับ 3 เทาของขนาดสลักเกลียว ดู
ตามรูปจะมี 3 ชวง จึงยาว = 3 × (3 × 2.2) = 19.8 cm ในแนวขาดจะมีรูเจาะ 2.5 รู ปกคานหนา 1.1 mm
ดังนั้น เนื้อที่รับแรงเฉือนคือ
2
A gv = 1.1× 19.8 = 21.78 cm
A nv = 1.1× (19.8 − 2.5 × 2.4) = 15.18 cm
2

ตรวจสอบคา
0.6Fu A nv = 0.6 × 4050 × 15.18 = 36,887.4 kg
Fu A nt = 4050 × 3.355 = 13,587.75 kg
พบวา 0.6Fu A nv > Fu A nt ดังนั้น กําลังรับแรงดึงรวมกับแรงเฉือน ซึ่งมี 4 block shear
[
Pbs = φ bs Fy A gt + 0.6Fu A nv ]
Pbs = 4 × 0.75 × [2500 × 4.675 + 0.6 × 4050 × 15.18]
Pbs = 145,724.7 kg
จากทั้งสามกรณี กําลังรับแรงดึงของจุดตอ 135,000 kg

ตัวอยางที่ 6.4 จงออกแบบจุดตอของโครงหลังคาที่ใชเหล็กฉากเดีย่ ว เพื่อใหรับแรงดึงเนื่องจากน้ําหนัก


บรรทุกคงที่ใชงาน 1500 kg และจากน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 2000 kg แผนประกับหนา 8 mm สลัก
เกลียวชนิด ASTM A325 ขนาด 16 mm ทํารูเจาะแบบมาตรฐาน (standard hole) และตอแบบมีแรงกด
โดยเกลียวอยูในระนาบของแรงเฉือน ทัง้ เหล็กฉากและเหล็กประกับเปนชนิด ASTM A36 มี
Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc
ตัวอยางออกแบบจุดตอดวยตัวยึด 351

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 หาขนาดรูปตัดฉากเดีย่ ว พิจารณาจาก P = 0.6Fy A g และ P = 0.5Fu A e = 0.5Fu UA n โดยที่
Fy = 2500 ksc , Fu = 4050 ksc สมมติมีรูเจาะ 2 รูใน 1 แถว < 3 รู ใช U = 0.75 สลักเกลียวขนาด 16 mm <
24 mm เผื่อขนาดรูเจาะอีก 2 mm
แรงดึงที่กระทํา P = DL + LL = 1500 + 2000 = 3500 kg
พิจารณาจากสมการ P = 0.6Fy A g ได
P 3500
Ag = = = 2.33 cm2
0.6Fy 0.6 × 2500
แนวขาดผานรูเจาะ 1 รู สมมติเหล็กฉากหนา t cm ดังนั้นเนื้อทีห่ นาตัดสุทธิ An และเนื้อที่หนาตัด
ประสิทธิผล A e หาไดจาก
A n = A g − (1.6 + 0.2 )t = A g − 1.8t
A e = UA n = 0.75(A g − 1.8t )
พิจารณาจากสมการ P = 0.5Fu A e
3500 = 0.5 × 4050 × 0.75(A g − 1.8t )
3500 2
Ag = + 1.8t = 2.305 + 1.8t cm
0.5 × 4050 × 0.75
ลองเลือกเหล็กฉาก L − 50 × 50 × 6 mm มี A g = 5.64 cm2 ความหนา 6 mm = 0.6 cm
สมการแรก A g = 5.64 > 2.33 cm2
สมการที่สอง A g = 5.64 > 2.305 + 1.8 × 0.6 = 3.384 cm2
แสดงวาเหล็กฉาก L − 50 × 50 × 6 mm สามารถรับแรงดึงได
ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบรอยตอดวยสลักเกลียวชนิด ASTM A325 ขนาด 16 mm ซึ่งมีเนื้อที่หนาตัดตัวละ
π 2 π
Ab = d b = × 1.6 2 = 2.01 cm2
4 4
หากําลังตานทานของสลักเกลียวจากคานอยระหวางกําลังรับแรงเฉือนและกําลังรับแรงกด
จากตารางที่ 6.1 สลักเกลียว A325-N bolt เกลียวอยูในระนาบแรงเฉือน จะมีกําลังรับแรงเฉือน
Fv = 1470 ksc ดังนั้นกําลังตานทานแรงเฉือนของสลักเกลียว 1 ตัวคือ
Pv1 = Fv A b = 1470 × 2.01 = 2954.7 kg
กําลังตานทานแรงกด Pbr1 = 1.2Fu d b t โดย Fu = 4050 ksc เปนกําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็กฉาก
, d b = 1.6 cm เสนผานศูนยกลางสลักเกลียว และ t = 0.6 cm ความหนาของเหล็กฉาก
Pbr1 = 1.2Fu d b t = 1.2 × 4050 × 1.6 × 0.6 = 4665.6 kg
เลือกคานอยเปนกําลังตานทานของสลักเกลียว 2954.7 kg/ตัว แรงดึงที่เหล็กฉากตองรับ P = 3500 kg
ดังนั้นจํานวนของสลักเกลียวที่ตองการคือ
352 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

3500
จํานวนสลักเกลียว = = 1.18 ⇒ 2 ตัว
2954.7
ระยะหางระหวางศูนยกลางสลักเกลียว = 3d b = 3 × 1.6 = 4.8 ⇒ 5.0 cm
ระยะหางปลายหรือระยะขอบ = 1.5d b = 1.5 × 1.6 = 2.4 ⇒ 2.5 cm
ตรวจสอบกําลังรับแรงดึงโดยเลือกจากคานอยของ
P = 0.6Fy A g = 0.6 × 2500 × 5.64 = 8460 kg
P = 0.5Fu A e = 0.5 × 4050 × 0.75 × (5.64 − 1.8 × 0.6 ) = 6925.5 kg
และ P = 0.3Fu A nv + 0.5Fu A nt = Fu (0.3A nv + 0.5A nt )
ลักษณะการวิบัติแรงดึงรวมแรงเฉือน (block shear) แนวแรงเฉือนผานรูเจาะ 1.5 รู ระยะจากปลาย
เหล็กฉากถึงศูนยกลางรูเจาะที่สองคือ 2.5 + 5.0 = 7.5 cm ขนาดรูเจาะ 1.6 + 0.2 = 1.8 cm ดังนั้นเนือ้ ที่หนาตัด
สุทธิในการรับแรงเฉือนคือ
A nv = 0.6 × (7.5 − 1.5 × 1.8) = 2.88 cm
2

ในสวนการรับแรงดึง แนวขาดของแรงดึงผานรูเจาะ 0.5 รู ขาเหล็กฉาก 50 mm = 5 cm ความหนา 6


mm = 0.6 cm เหลือความยาวขอบในขา = 5 – 0.6 = 4.4 cm แบงครึ่งระยะนี้ใหเปนแนวของรูเจาะได 2.2 cm
ดังนั้นเนื้อที่หนาตัดสุทธิในการรับแรงดึง
A nt = 0.6 × (2.2 − 0.5 × 1.8) = 0.78 cm
2

ดังนั้นกําลังรับแรงดึงตามสมการที่สามคือ
P = Fu (0.3A nv + 0.5A nt ) = 4050 × (0.3 × 2.88 + 0.5 × 0.78) = 5078.7 kg
ดังนั้นจุดตอนีร้ ับแรงดึงได P = 5078.7 > 3500 kg

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
ขั้นตอนที่ 1 หาขนาดรูปตัดเหล็กฉากเดีย่ ว จากสมการ Pu = 0.9Fy A g และ Pu = φt Fu A e = 0.75Fu UA n
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดตัวคูณเพิ่มคาสําหรับน้ําหนักบรรทุกคงที่ 1.2 และสําหรับน้าํ หนักบรรทุกจร
1.6 ดังนั้นแรงดึงเพิ่มคาคือ
Pu = 1.2DL + 1.6LL = 1.2 × 1500 + 1.6 × 2000 = 5000 kg
เหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc และ U = 0.75 โดยดูจากกรณีทจี่ ํานวนรูเจาะ
ในหนึ่งแถวนอยกวา 3 รูซึ่งออนแอที่สุด (คา U นอยที่สดุ ) ขนาดสลักเกลียว d b = 1.6 < 2.4 cm จึงเผื่อขนาด
รูเจาะอีก 2 mm = 0.2 cm ขนาดรูเจาะมีเสนผานศูนยกลาง = 1.6 + 0.2 = 1.8 cm จํานวนรูเจาะในแนวขาดมี 1
รู เนื้อที่หนาตัดสุทธิคือ
A n = A g − 1.8t
ดังนั้นกําลังรับแรงดึงคือ
Pu = 0.9Fy A g
ตัวอยางการออกแบบจุดตอดวยตัวยึด 353

Pu 5000
Ag = = = 2.222 cm2
0.9Fy 0.9 × 2500
Pu = 0.75Fu UA n
Pu 5000
A n = A g − 1.8t = = = 2.195
0.75Fu U 0.75 × 4050 × 0.75
A g = 2.195 + 1.8t
ลองเลือกเหล็กฉาก L − 50 × 50 × 6 mm มี A g = 5.64 cm2 ความหนา 6 mm = 0.6 cm
สมการแรก A g = 5.64 > 2.222 cm2
สมการที่สอง A g = 5.64 > 2.195 + 1.8 × 0.6 = 3.275 cm2
ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบรอยตอดวยสลักเกลียวชนิด ASTM A325 ขนาด 16 mm ซึ่งมีเนื้อที่หนาตัดตัวละ
π 2 π
Ab = d b = × 1.6 2 = 2.01 cm2
4 4
หากําลังตานทานของสลักเกลียวจากคานอยระหวางกําลังรับแรงเฉือนและกําลังรับแรงกด
จากตารางที่ 6.2 สลักเกลียว A325-N bolt เกลียวอยูในระนาบแรงเฉือน จะมีกําลังรับแรงเฉือน
Fvu = 3310 ksc ดังนั้นกําลังตานทานแรงเฉือนของสลักเกลียว 1 ตัวคือ
Pv1u = φ vu Fvu A b = 0.75 × 3310 × 2.01 = 4989.825 kg
กําลังตานทานแรงกด Pbr1 = φbr 2.4Fu d b t โดย Fu = 4050 ksc เปนกําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก
ฉาก , d b = 1.6 cm เสนผานศูนยกลางสลักเกลียว t = 0.6 cm ความหนาของเหล็กฉาก และ φbr = 0.75
เปนตัวคูณลดกําลังแรงกด
Pbr1 = φ br 2.4Fu d b t = 0.75 × 2.4 × 4050 × 1.6 × 0.6 = 6998.4 kg
เลือกคานอยเปนกําลังตานทานของสลักเกลียว 4989.825 kg/ตัว แรงดึงที่เหล็กฉากตองรับ Pu = 5000
kg ดังนั้นจํานวนของสลักเกลียวที่ตองการคือ
5000
จํานวนสลักเกลียว = = 1.002 ⇒ 2 ตัว
4989.825
ระยะหางระหวางศูนยกลางสลักเกลียว = 3d b = 3 × 1.6 = 4.8 ⇒ 5.0 cm
ระยะหางปลายหรือระยะขอบ = 1.5d b = 1.5 × 1.6 = 2.4 ⇒ 2.5 cm
ตรวจสอบกําลังรับแรงดึงโดยเลือกจากคานอยของ
Pu = 0.9Fy A g = 0.9 × 2500 × 5.64 = 12,690 kg
Pu = 0.75Fu A e = 0.75 × 4050 × 0.75 × (5.64 − 1.8 × 0.6 ) = 10,388.25 kg
และจากคามากของ
Pu = 0.75(0.6Fu A nv + Fy A gt ) กับ Pu = 0.75(0.6Fy A gv + Fu A nt )
ลักษณะการวิบัติแรงดึงรวมแรงเฉือน (block shear) แนวแรงเฉือนผานรูเจาะ 1.5 รู ระยะจากปลาย
เหล็กฉากถึงศูนยกลางรูเจาะที่สองคือ 2.5 + 5.0 = 7.5 cm ขนาดรูเจาะ 1.6 + 0.2 = 1.8 cm ดังนั้นเนือ้ ที่หนาตัด
สุทธิในการรับแรงเฉือนคือ
354 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

A nv = 0.6 × (7.5 − 1.5 × 1.8) = 2.88 cm2


และเนื้อทีห่ นาตัดเต็มในการรับแรงเฉือน
2
A gv = 7.5 × 0.6 = 4.5 cm
ในสวนการรับแรงดึง แนวขาดของแรงดึงผานรูเจาะ 0.5 รู ขาเหล็กฉาก 50 mm = 5 cm ความหนา 6
mm = 0.6 cm เหลือความยาวขอบในขา = 5 – 0.6 = 4.4 cm แบงครึ่งระยะนี้ใหเปนแนวของรูเจาะได 2.2 cm
ดังนั้นเนื้อที่หนาตัดสุทธิในการรับแรงดึง
A nt = 0.6 × (2.2 − 0.5 × 1.8) = 0.78 cm
2

และเนื้อทีห่ นาตัดเต็มในการรับแรงดึง
2
A gt = 0.6 × 2.2 = 1.32 cm
ดังนั้นกําลังรับแรงดึงจากคามากของ
Pu = 0.75(0.6Fu A nv + Fy A gt )
Pu = 0.75 × (0.6 × 4050 × 2.88 + 2500 × 1.32 ) = 7723.8 kg
Pu = 0.75(0.6Fy A gv + Fu A nt )
Pu = 0.75 × (0.6 × 2500 × 4.5 + 4050 × 0.78) = 7431.75 kg
คามากคือ Pu = 7723.8 kg
ดังนั้นจุดตอนีร้ ับแรงดึงประลัยได P = 7723.8 > 5000 kg

ตัวอยางที่ 6.5 หากตองทํารอยตอที่ปลายคานรูปตัด W กับชิ้นสวนรองรับ โดยใชสลักเกลียวขนาด 22 mm


จํานวน 3 ตัว และทํารูเจาะแบบมาตรฐาน (standard hole) ดังรูป เหล็กเปนชนิด ASTM A36 มี
Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc ใหคํานวณหากําลังรับแรงเฉือนของเหล็กแผนตั้งของคานตาม
มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD

วิธีทํา
หนาตัด W300 × 94 แผนตั้งมีความหนา t w = 10 mm ดูไดจากภาคผนวก ข
คํานวณโดยวิธี AISC/ASD
พื้นที่รับแรงเฉือนเต็ม A gv = (30 − 5) × 1.0 = 25 cm2 โดยคิดเฉพาะแผนตั้ง ลบสวนที่บากออก
ตัวอยางการออกแบบจุดตอโดยใชตัวยึด 355

(ก) กําลังรับแรงเฉือนบนหนาตัดเต็ม
Vv = 0.4Fy A gv = 0.4 × 2500 × 25 = 25,000 kg
สลักเกลียวขนาด 22 mm < 24 mm เผื่อรูเจาะ 2 mm ขนาดรูเจาะ 24 mm = 2.4 cm
พื้นที่รับแรงเฉือนสุทธิมีรูเจาะ 3 รู มี A nv = (30 − 5 − 3 × 2.4) × 1.0 = 17.8 cm2
(ข) กําลังรับแรงเฉือนบนหนาตัดสุทธิ
Vv = 0.3Fu A nv = 0.3 × 4050 × 17.8 = 21,627 kg
(ค) พิจารณากําลังรับแรงเฉือนจากแรงเฉือนรวมกับแรงดึง (block shear strength)
เนื้อที่หนาตัดรับแรงดึงสุทธิ มีรูเจาะ 0.5 รู
A nt = (4 − 0.5 × 2.4 ) × 1.0 = 2.8 cm
2

เนื้อที่หนาตัดรับแรงเฉือนสุทธิ มีรูเจาะ 2.5 รู


A nv = (4 + 15 − 2.5 × 2.4 ) × 1.0 = 13 cm
2

กําลังรับแรงเฉือนแบบ block shear คือ


Vbs = 0.5Fu A nt + 0.3Fu A nv
Vbs = 0.5 × 4050 × 2.8 + 0.3 × 4050 × 13
Vbs = 21,465 kg
ดังนั้น กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กแผนตั้งของคาน Vv = 21,465 kg
คํานวณโดยวิธี AISC/LRFD
พื้นที่รับแรงเฉือนเต็ม A gv = (30 − 5) × 1.0 = 25 cm2 โดยคิดเฉพาะแผนตั้ง ลบสวนที่บากออก
(ก) กําลังรับแรงเฉือนบนหนาตัดเต็ม
Vuv = φ v 0.6Fy A gv = 0.9 × 0.6 × 2500 × 25 = 33,750 kg
สลักเกลียวขนาด 22 mm < 24 mm เผื่อรูเจาะ 2 mm ขนาดรูเจาะ 24 mm = 2.4 cm
พื้นที่รับแรงเฉือนสุทธิมีรูเจาะ 3 รู มี A nv = (30 − 5 − 3 × 2.4) × 1.0 = 17.8 cm2
(ข) กําลังรับแรงเฉือนบนหนาตัดสุทธิ
Vuv = φ v 0.6Fu A nv = 0.75 × 0.6 × 4050 × 17.8 = 32,440.5 kg
(ค) พิจารณากําลังรับแรงเฉือนจากแรงเฉือนรวมกับแรงดึง (block shear strength)
เนื้อที่หนาตัดรับแรงดึงสุทธิ มีรูเจาะ 0.5 รู
A nt = (4 − 0.5 × 2.4 ) × 1.0 = 2.8 cm
2

เนื้อที่หนาตัดรับแรงเฉือนสุทธิ มีรูเจาะ 2.5 รู


A nv = (4 + 15 − 2.5 × 2.4) × 1.0 = 13 cm
2

0.6Fu A nv = 0.6 × 4050 × 13 = 31,590 kg


Fu A nt = 4050 × 2.8 = 11,340 kg
356 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

A gt = 4 × 1.0 = 4 cm2
A gv = (4 + 15) × 1.0 = 19 cm2
ดังนั้น เมื่อ 0.6Fu A nv > Fu A nt นัน้
กําลังรับแรงเฉือนแบบ block shear คือ
Vbs = φ bs (Fy A gt + 0.6Fu A nv )
Vbs = 0.75 × (2500 × 4 + 0.6 × 4050 × 13)
Vbs = 31,192.5 kg
เลือกคานอยทีส่ ุด กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กแผนตั้งของคาน Vbs = 31,192.5 kg

ตัวอยางที่ 6.6 จงออกแบบรอยตอระหวางค้ํายันรับแรงดึงกับเสา ดังรูป ซึ่งตองรับแรงดึงที่เกิดจากน้ําหนัก


บรรทุกคงที่ใชงาน 30 ตัน และจากน้าํ หนักบรรทุกจรใชงาน 22 ตัน ใชสลักเกลียวกําลังสูงชนิด
ASTM A325 ขนาด 22 mm เมื่อตอแบบ
(ก) แบบมีแรงกด และ (ข) แบบมีแรงฝด
ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
สมมติใหแรงกระทําผานศูนยถวงของรอยตอ แยกแรงใหอยูใ นแนวตั้งและแนวนอน แนวแรงเอียง
อัตราสวน 1 : 2 แนวเอียง = 12 + 2 2 = 5 ดังนั้น
1
แรงเฉือนในแนวตั้ง V = 52 × = 23.255 ตัน
5
ตัวอยางการออกแบบจุดตอโดยใชตัวตอ 357

2
แรงดึงในแนวนอน T = 52 × = 46.51 ตัน
5
สมมติใชสลักเกลียว ASTM A325 ขนาด 22 mm จํานวน 8 ตัว เนื้อที่รับแรงดึงและเนือ้ ที่หนาตัดรับแรงเฉือน
π
A v = A t = 8 × × 2.2 2 = 30.41 cm2
4
(ก) เมื่อเปนการตอแบบมีแรงกดของสลักเกลียว ASTM A325 และเกลียวอยูในระนาบแรงเฉือน
V 23.255 × 1000
หนวยแรงเฉือนที่กระทํา fv = = = 764.72 ksc
Av 30.41
V 46.51 × 1000
หนวยแรงดึงทีก่ ระทํา ft = = = 1529.43 ksc
At 30.41
จากตารางที่ 6.3 หนวยแรงดึงที่ยอมใหของสลักเกลียว ASTM A325 เมื่อเกลียวอยูในระนาบแรงเฉือน
คือ
หนวยแรงดึงทีย่ อมให Ft = 3080 2 − 4.39f v2 = 3080 2 − 4.39 × 764.72 2
ksc > f t = 1529.43 ksc ใชได
Ft = 2630.4
(ข) เมื่อตอแบบมีแรงฝด และสมมติวาเกลียวอยูในระนาบของแรงเฉือน
V 46.51 × 1000
หนวยแรงดึงทีก่ ระทํา ft = = = 1529.43 ksc
At 30.41
จากตารางที่ 6.1 หนวยแรงดึงที่ยอมให Ft = 3080 ksc > f t = 1529.43 ksc ใชได
V 23.255 × 1000
หนวยแรงเฉือนที่กระทํา fv = = = 764.72 ksc
Av 30.41
⎛ T⎞
หนวยแรงเฉือนที่ยอมให Fv = 1170⎜⎜1 − ⎟⎟ ตัวเลข 1170 ksc สําหรับ ASTM A325
⎝ Tb ⎠
แรงดึงที่เกิดขึน้ ในสลักเกลียว 1 ตัว T = f t × π × 2.22 = 1529.43 × 3.80 = 5811.834 kg
4
แรงดึงต่ําสุดในการขันสลักเกลียว ตาราง 6.5 สลักเกลียวขนาด 22 mm คือ Tb = 17600 kg
⎛ 5811.834 ⎞
หนวยแรงเฉือนที่ยอมให Fv = 1170 × ⎜1 − ⎟ = 783.645 ksc > 764.72 ksc ใชได
⎝ 17600 ⎠
ดังนั้นใชสลักเกลียวกําลังสูงชนิด ASTM A325 ขนาด 22 mm จํานวน 8 ตัว

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
แรงประลัยที่กระทํา Pu = 1.2D + 1.6L = 1.2 × 30 + 1.6 × 22 = 71.2 ตัน = 71,200 kg
สมมติใหแรงกระทําผานศูนยถวงของรอยตอ แยกแรงใหอยูใ นแนวตั้งและแนวนอน แนวแรงเอียง
อัตราสวน 1 : 2 แนวเอียง = 12 + 2 2 = 5 ดังนั้น
1
แรงเฉือนในแนวตั้ง Vu = 71,200 × = 31,841.608 kg
5
2
แรงดึงในแนวนอน Tu = 71,200 × = 63,683.216 kg
5
358 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

สมมติใชสลักเกลียว ASTM A325 ขนาด 22 mm จํานวน 8 ตัว เนื้อที่รับแรงดึงและเนือ้ ที่หนาตัดรับแรงเฉือน


π
A v = A t = 8 × × 2.2 2 = 30.41 cm2
4
(ก) เมื่อตอแบบมีแรงกด และสมมติวาเกลียวอยูในระนาบของแรงเฉือน ตารางที่ 6.2 สลักเกลียว A325-N
มีหนวยแรงเฉือนประลัย Fvu = 3310 ksc ดังนั้น
Vu = Fvu A v = 3310 × 30.41 = 100,657.1 kg > 31,841.608 kg ใชได
Vu 31,841.608
หนวยแรงเฉือนประลัยที่เกิดขึ้น fv = = = 1047.08 ksc
Av 30.41
T 63,683.216
หนวยแรงดึงประลัยที่เกิดขึ้น ft = = = 2092.674 ksc
At 30.41
จากตารางที่ 6.4 เมื่อเกลียวอยูในระนาบของแรงเฉือน สลักเกลียว ASTM A325 มีหนวยแรงดึงประลัย
ที่ยอมใหคือ
Ftu = 5860 − 1.8f v ≤ 4690
Ftu = 5860 − 1.8 × 1047.08
Ftu = 3975.256 ksc < 4690 ksc และ Ftu = 3975.256 ksc > f t = 2092.674 ksc ใชได
ดังนั้นใชสลักเกลียวกําลังสูง ชนิด ASTM A325 ขนาด 22 mm จํานวน 8 ตัว
(ข) เมื่อตอแบบมีแรงฝด และสมมติวาเกลียวอยูในระนาบของแรงเฉือน สําหรับรอยตอแบบมีแรงฝด ตอง
พิจารณาในสภาวะการใชงาน
V 46.51 × 1000
หนวยแรงดึงทีก่ ระทํา ft = = = 1529.43 ksc
At 30.41
V 23.255 × 1000
หนวยแรงเฉือนที่กระทํา fv = = = 764.72 ksc
Av 30.41
⎛ T⎞
หนวยแรงเฉือนที่ยอมให Fv = 1170⎜⎜1 − ⎟⎟ ตัวเลข 1170 ksc สําหรับ ASTM A325
⎝ Tb ⎠
แรงดึงที่เกิดขึน้ ในสลักเกลียว 1 ตัว T = f t × π × 2.22 = 1529.43 × 3.80 = 5811.834 kg
4
แรงดึงต่ําสุดในการขันสลักเกลียว ตาราง 6.5 สลักเกลียวขนาด 22 mm คือ Tb = 17600 kg
⎛ 5811.834 ⎞
หนวยแรงเฉือนที่ยอมให Fv = 1170 × ⎜1 − ⎟ = 783.645 ksc > 764.72 ksc ใชได
⎝ 17600 ⎠
ดังนั้นใชสลักเกลียวกําลังสูงชนิด ASTM A325 ขนาด 22 mm จํานวน 8 ตัว
ตัวอยางการออกแบบจุดตอโดยใชตัวยึด 359

ตัวอยางที่ 6.7 จงหาจํานวนหมุดย้ําชนิด ASTM A501-1 ขนาด 22 mm ที่ตองสําหรับรอยตอซึ่งรับแรงเยื้อง


ศูนย ที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 25 ตัน และจากน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 15 ตัน ซึ่งถายแรง
มาจากคานชวงเดียว ดังรูป ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
แรงลัพธ P = D + L = 25 + 15 = 40 ตัน = 40,000 kg
รอยตอลักษณะนี้ ตัวยึดตองรับทั้งแรงเฉือนและแรงดึงเนื่องจากแรงกระทําเยื้องศูนย
6M
ขั้นตอนที่ 1 หาจํานวนแถวที่ตองการ จากสมการ n =
smR
เมื่อ M = 40,000 × 7.5 = 300,000 kg.cm โมเมนตที่ผิวสัมผัส
s = 7.5 cm = ระยะหางระหวางตัวยึด สมมติขึ้น
m = 2 = จํานวนตัวยึดในหนึ่งแถว สมมติคาขึ้นมา
R = 1225 × 3.80 = 4655 kg = กําลังรับแรงเฉือนของหมุดย้ํา 1 ตัว ตาราง 6.1 A502,Gr 1 หนวยแรง
เฉือน 1225 ksc หมุดย้ํา 1 ตัว มีเนื้อที่หนาตัด 3.80 cm2
แทนคา
6 × 300,000
n= = 5.08 แถว
7.5 × 2 × 4655
ดังนั้นใชตัวยึด 6 แถวๆ ละ 2 ตัว ดังรูป
360 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขั้นตอนที่ 2 ตรวจสอบกําลังรับแรง
หาตําแหนงแกนสะเทินของรอยตอ สวนที่อยูใตแกนสะเทินผิวของเหล็กฉากจะแนบกับเสาจึงเปน
สี่เหลี่ยมผืนผากวางเทากับเหล็กฉากสองตัวตอกัน หรือ 100 + 100 = 200 mm = 20 cm ถา y เปนระยะจาก
แกนสะเทินถึงขอบลางที่จะประมาณความลึก/6 = (3.75 + 37.5 + 6.25)/6 =7.92 cm ประมาณ 8 cm โมเมนต
จากพื้นที่สัมผัสดังกลาวรอบแกนสะเทินคือ
y
M = 20 y × = 10 y 2 cm3
2
สวนที่เหนือแกนสะเทินจะพยายามอาออกดวยแรงดึง ดังนั้นเนื้อที่รับแรงดึงจึงเปนตัวยึดแถวละสอง
π
ตัว ดังนัน้ พื้นที่แถวละ 2 × × 2.2 2 = 7.602654222 cm2 เมื่อระยะ y ประมาณ 8 cm หาระยะตัวยึดหาง
4
จากแกนสะเทิน
แถวที่ 1 หาง = 3.75 − y = 3.75 − 8 = −4.25 cm อยูใตแกนสะเทิน ไมมีผล
แถวที่ 2 หาง = 3.75 + 7.5 − y = 11.25 − y = 11.25 − 8 = 3.25 cm เหนือแกนสะเทิน มีผล
แถวที่ 3 หาง = 3.75 + 7.5 × 2 − y = 18.75 − y = 18.75 − 8 = 10.75 cm เหนือแกนสะเทิน มีผล
แถวที่ 4 หาง = 3.75 + 7.5 × 3 − y = 26.25 − y = 26.25 − 8 = 18.25 cm เหนือแกนสะเทิน มีผล
แถวที่ 5 หาง = 3.75 + 7.5 × 4 − y = 33.75 − y = 33.75 − 8 = 25.75 cm เหนือแกนสะเทิน มีผล
แถวที่ 6 หาง = 3.75 + 7.5 × 5 − y = 41.25 − y = 41.25 − 8 = 33.25 cm เหนือแกนสะเทิน มีผล
คาโมเมนตของเนื้อที่ตัวยึดทีอ่ ยูเหนือแกนสะเทินรอบแกนสะเทินไดจากการเอาเนื้อทีต่ ัวยึด 7.602654222
cm2 คูณกับระยะจากแกนสะเทิน คือ
M = 7.602654222 × [(11.25 − y ) + (18.75 − y ) + (26.25 − y ) + (33.75 − y ) + (41.25 − y )]
M = 7.602654222 × [131.25 − 5y]
โมเมนตจากดานลางตองเทากับโมเมนตจากดานบนรอบแกนสะเทิน ดังนั้น
10 y 2 = 7.602654222(131.25 − 5y )
y 2 = 0.7602654222(131.25 − 5 y )
y 2 = 99.78483664 − 3.80132711y
y 2 + 3.80132711y − 99.78483664 = 0
− 3.80132711 ± 3.801327112 − 4(1)(− 99.78483664 )
y=
2 ×1
− 3.80132711 ± 413.5894344
y=
2
− 3.80132711 + 20.33689835
y=
2
16.53557124
y=
2
y = 8.267785618 cm
ตัวอยางการออกแบบรอยตอโดยใชตัวยึด 361

bh 3
โมเมนตอินเนอรเชียของรอยตอคือของสี่เหลี่ยมผืนผา ที่อยูใตแกนสะเทิน รวมกับของตัวยึด ∑ Ad 2
3
ของสี่เหลี่ยมผืนผาใตแกนสะเทิน
bh 3 by 3 20 × 8.2677856183
I1 = = = = 3767.700405 cm4
3 3 3
ของตัวยึดเหนือแกนสะเทิน
I 2 = ∑ Ad 2 = A ∑ d 2
[
I 2 = 7.602654222 (11.25 − y ) + (18.75 − y ) + (26.25 − y ) + (33.75 − y ) + (41.25 − y )
2 2 2 2 2
]
⎡(11.25 − 8.267785618) + (18.75 − 8.267785618) ⎤
2 2

⎢ ⎥
I 2 = 7.602654222 × ⎢(26.25 − 8.267785618) + (33.75 − 8.267785618) ⎥
2 2

⎢ ⎥
⎣⎢+ (41.25 − 8.267785618)
2
⎦⎥
⎡2.982214382 2 + 10.482214382 + 17.982214382 ⎤
I 2 = 7.602654222 × ⎢ ⎥
⎢⎣25.48221438 + 32.98221438 ⎥⎦
2 2

⎡8.893602619 + 109.8768183 + 323.3600341⎤


I 2 = 7.602654222 × ⎢ ⎥
⎣+ 649.3432498 + 1087.826466 ⎦
I 2 = 7.602654222 × 2179.30017
I 2 = 16568.46564 cm4
โมเมนตอินเนอรเชียรวม
I = I1 + I 2 = 3767.700405 + 16568.46564 = 20,336.16605 cm4
สลักเกลียวแถวบนสุดจะเกิดหนวยแรงดึงมากที่สุด
หนวยแรงดึงสูงสุดที่สลักเกลียวบน
Mc 300,000 × (41.25 − 8.267785618)
f = t =
I 20,336.16605
f t = 486.5550513 ksc < 1225 ksc (จากตารางที่ 6.1)
สลักเกลียวทั้ง 12 ตัวหรือทั้ง 6 แถว จะชวยกันรับแรงเฉือน หนวยแรงเฉือนที่เกิดขึ้น
40,000
fv = = 876.8867388 ksc
6 × 7.602654222
จากตารางที่ 6.3 หนวยแรงดึงที่ยอมให
Ft = 2100 − 1.3f v ≤ 1600
Ft = 2100 − 1.3 × 876.8867388 = 960.0472396 < 1600
ดังนั้น เมื่อ f t = 486.5550513 ksc < Ft = 960.0472396 ksc
362 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
แรงประลัย Pu = 1.2D + 1.6L = 1.2 × 25 + 1.6 × 15 = 54 ตัน = 54,000 kg
รอยตอลักษณะนี้ ตัวยึดตองรับทั้งแรงเฉือนและแรงดึงเนื่องจากแรงกระทําเยื้องศูนย
6M
ขั้นตอนที่ 1 หาจํานวนแถวที่ตองการ จากสมการ n =
smR
เมื่อ M = 54,000 × 7.5 = 405,000 kg.cm โมเมนตที่ผิวสัมผัส
s = 7.5 cm = ระยะหางระหวางตัวยึด สมมติขึ้น
m = 2 = จํานวนตัวยึดในหนึ่งแถว สมมติคาขึ้นมา
R = φ v Fv A b = 0.75 × 1720 × 3.80 = 4902 kg = กําลังรับแรงเฉือนของหมุดย้ํา 1 ตัว ตาราง 6.2
A502,Gr 1 หนวยแรงเฉือน 1720 ksc หมุดย้ํา 1 ตัว มีเนื้อที่หนาตัด 3.80 cm2
แทนคา
6 × 405,000
n= = 5.75 แถว
7.5 × 2 × 4902
ดังนั้นใชตัวยึด 6 แถวๆ ละ 2 ตัว ดังรูป
ขั้นตอนที่ 2 ตรวจสอบกําลังรับแรง
หาตําแหนงแกนสะเทินของรอยตอ สวนที่อยูใตแกนสะเทินผิวของเหล็กฉากจะแนบกับเสาจึงเปน
สี่เหลี่ยมผืนผากวางเทากับเหล็กฉากสองตัวตอกัน หรือ 100 + 100 = 200 mm = 20 cm ถา y เปนระยะจาก
แกนสะเทินถึงขอบลางที่จะประมาณความลึก/6 = (3.75 + 37.5 + 6.25)/6 =7.92 cm ประมาณ 8 cm โมเมนต
จากพื้นที่สัมผัสดังกลาวรอบแกนสะเทินคือ
y
M = 20 y × = 10 y 2 cm3
2
สวนที่เหนือแกนสะเทินจะพยายามอาออกดวยแรงดึง ดังนั้นเนื้อที่รับแรงดึงจึงเปนตัวยึดแถวละสอง
π
ตัว ดังนัน้ พื้นที่แถวละ 2 × × 2.2 2 = 7.602654222 cm2 เมื่อระยะ y ประมาณ 8 cm หาระยะตัวยึดหาง
4
จากแกนสะเทิน
แถวที่ 1 หาง = 3.75 − y = 3.75 − 8 = −4.25 cm อยูใตแกนสะเทิน ไมมีผล
แถวที่ 2 หาง = 3.75 + 7.5 − y = 11.25 − y = 11.25 − 8 = 3.25 cm เหนือแกนสะเทิน มีผล
แถวที่ 3 หาง = 3.75 + 7.5 × 2 − y = 18.75 − y = 18.75 − 8 = 10.75 cm เหนือแกนสะเทิน มีผล
แถวที่ 4 หาง = 3.75 + 7.5 × 3 − y = 26.25 − y = 26.25 − 8 = 18.25 cm เหนือแกนสะเทิน มีผล
แถวที่ 5 หาง = 3.75 + 7.5 × 4 − y = 33.75 − y = 33.75 − 8 = 25.75 cm เหนือแกนสะเทิน มีผล
แถวที่ 6 หาง = 3.75 + 7.5 × 5 − y = 41.25 − y = 41.25 − 8 = 33.25 cm เหนือแกนสะเทิน มีผล
คาโมเมนตของเนื้อที่ตัวยึดทีอ่ ยูเหนือแกนสะเทินรอบแกนสะเทินไดจากการเอาเนื้อทีต่ ัวยึด 7.602654222
cm2 คูณกับระยะจากแกนสะเทิน คือ
ตัวอยางการออกแบบรอยตอโดยใชตัวยึด 363

M = 7.602654222 × [(11.25 − y ) + (18.75 − y ) + (26.25 − y ) + (33.75 − y ) + (41.25 − y )]


M = 7.602654222 × [131.25 − 5y]
โมเมนตจากดานลางตองเทากับโมเมนตจากดานบนรอบแกนสะเทิน ดังนั้น
10 y 2 = 7.602654222(131.25 − 5y )
y 2 = 0.7602654222(131.25 − 5 y )
y 2 = 99.78483664 − 3.80132711y
y 2 + 3.80132711y − 99.78483664 = 0
− 3.80132711 ± 3.801327112 − 4(1)(− 99.78483664 )
y=
2 ×1
− 3.80132711 ± 413.5894344
y=
2
− 3.80132711 + 20.33689835
y=
2
16.53557124
y=
2
y = 8.267785618 cm
bh 3
โมเมนตอินเนอรเชียของรอยตอคือของสี่เหลี่ยมผืนผา ที่อยูใตแกนสะเทิน รวมกับของตัวยึด ∑ Ad 2
3
ของสี่เหลี่ยมผืนผาใตแกนสะเทิน
bh 3 by 3 20 × 8.2677856183
I1 = = = = 3767.700405 cm4
3 3 3
ของตัวยึดเหนือแกนสะเทิน
I 2 = ∑ Ad 2 = A ∑ d 2
[
I 2 = 7.602654222 (11.25 − y ) + (18.75 − y ) + (26.25 − y ) + (33.75 − y ) + (41.25 − y )
2 2 2 2 2
]
⎡(11.25 − 8.267785618) + (18.75 − 8.267785618) ⎤
2 2

⎢ ⎥
I 2 = 7.602654222 × ⎢(26.25 − 8.267785618) + (33.75 − 8.267785618) ⎥
2 2

⎢ ⎥
⎢⎣+ (41.25 − 8.267785618)
2
⎥⎦
⎡2.982214382 2 + 10.482214382 + 17.982214382 ⎤
I 2 = 7.602654222 × ⎢ ⎥
⎢⎣25.48221438 + 32.98221438 ⎥⎦
2 2

⎡8.893602619 + 109.8768183 + 323.3600341⎤


I 2 = 7.602654222 × ⎢ ⎥
⎣+ 649.3432498 + 1087.826466 ⎦
I 2 = 7.602654222 × 2179.30017
I 2 = 16568.46564 cm4
โมเมนตอินเนอรเชียรวม
I = I1 + I 2 = 3767.700405 + 16568.46564 = 20,336.16605 cm4
สลักเกลียวแถวบนสุดจะเกิดหนวยแรงดึงมากที่สุด
364 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

หนวยแรงดึงสูงสุดที่สลักเกลียวบน
Mc 405,000 × (41.25 − 8.267785618)
f = t =
I 20,336.16605
f t = 656.8493193 ksc
สลักเกลียวทั้ง 12 ตัวหรือทั้ง 6 แถว จะชวยกันรับแรงเฉือน หนวยแรงเฉือนที่เกิดขึ้น
54,000
fv = = 1183.797097 ksc
6 × 7.602654222
จากตารางที่ 6.4 หนวยแรงดึงประลัยที่ยอมให
Ft = 3030 − 1.8f v ≤ 2340
Ft = 3030 − 1.8 × 1183.797097 = 899.1652248 < 2340
ดังนั้น เมื่อ f t = 656.8493193 ksc < Ft = 899.1652248 ksc

ตัวอยางที่ 6.8 จงออกแบบรอยตอของตงเหล็ก W 250 × 29.6 ยาว 3.00 เมตร และ W300 × 36.7 ยาว
3.00 เมตร กับคานเหล็ก W 400 × 66 ชนิด ASTM A36 ดังรูป โดยใชสลักเกลียวชนิด ASTM A325-
N ขนาดเสนผานศูนยกลาง 16 mm ทํารอยตอแบบมีแรงกด

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
เปดตารางเหล็ก ภาคผนวก ข ไดขอมูลดังนี้
W 250 × 29.6, d = 250 mm, b f = 125 mm, t w = 6 mm, t f = 9 mm, r = 12 mm, A = 37.66
cm 2 , w = 29.6 kg/m, I x = 4050 cm 4 , I y = 294 cm 4 , rx = 10.4 cm, ry = 2.79 cm, Sx = 324
cm3 , Sy = 47 cm3 , Z x = 351.86 cm 3
W300 × 36.7, d = 300 mm, b f = 150 mm, t w = 6.5 mm, t f = 9 mm, r = 13 mm, A = 46.78
cm2, w = 36.7 kg/m, Ix = 7210 cm4, Iy = 508 cm4, rx = 12.4 cm, ry = 3.29 cm, Sx = 481 cm3, Sy = 67.7 cm3,
Zx = 522.08 cm3
ตัวอยางการออกแบบรอยตอโดยใชตัวยึด 365

2
W 400 × 66 , d = 400 mm, bf = 200 mm, tw = 8 mm, tf = 13 mm, r = 16 mm, A = 84.12 cm , w =
66.0 kg/m, Ix = 23700 cm4, Iy = 1740 cm4, rx = 16.8 cm, ry = 4.54 cm, Sx = 1190 cm3, Sy = 174 cm3, Zx =
1285.95 cm3
ขั้นตอนที่ 1 หาแรงปฏิกิริยาประลัยโดยสมมติตงเหล็กเปนคานชวงเดียวรับน้ําหนักบรรทุกแผ wu kg/m
wuL
แรงปฏิกิริยาประลัย Ru =
2
w u L2
โมเมนตดัดสูงสุดกลางชวง Mu =
8
R u w uL 8 4
อัตราสวน = × 2
=
Mu 2 wuL L
4M u
ดังนั้น Ru =
L
แตโมเมนตดดั สูงสุดที่รับไดคือ M u = 0.9Fy Z x
4M u 4 × 0.9Fy Z x
ดังนั้น Ru = =
L L
4 × 0.9 × 2500 × 351.86
แรงประลัยจาก W 250 × 29.6 Ru = = 10,555.8 kg
300
4 × 0.9 × 2500 × 522.08
แรงประลัยจาก W300 × 36.7 Ru = = 15,662.4 kg
300
ขั้นตอนที่ 2 หาจํานวนสลักเกลียวที่ตองใช ที่แผนตั้งของตงเหล็ก โดยใชเหล็กฉากเปนตัวถายแรง ในที่นี้ใช
สลักเกลียว ASTM A325-N ขนาด 16 mm เกลียวอยูใ นระนาบแรงเฉือน ขนาดสลักเกลียวเล็กกวา 24 mm ใน
การทํารูเจาะมาตรฐาน เผื่อขนาดรูเจาะอีก 2 mm ระยะหางระหวางศูนยกลางรูเจาะอยางนอย 3 เทาของขนาด
สลักเกลียว คือ = 3 × 16 = 48 mm = 4.8 cm < 6 cm และระยะหางขอบไมนอยกวา 1.5 เทาของขนาดสลัก
เกลียว คือ = 1.5 × 16 = 24 mm = 2.4 cm < 3 cm
กําลังรับแรงกดบนสลักเกลียว Pbru = 0.75(2.4Fu d b t )
กําลังรับแรงกดบน W 250 × 29.6 , Pbru = 0.75 × (2.4 × 4050 × 1.6 × 0.6) = 6998.4 kg/ตัว
กําลังรับแรงกดบน W300 × 36.7 , Pbru = 0.75 × (2.4 × 4050 × 1.6 × 0.65) = 7581.6 kg/ตัว
กําลังรับแรงเฉือนสองระนาบ P2 vu = 0.75(2A bv )Fv ตารางที่ 6.2 ได Fv = 3310 ksc
กําลังรับแรงเฉือนสองระนาบ P2 vu = 0.75 × ⎛⎜ 2 × π × 1.62 ⎞⎟ × 3310 = 9982.725 kg/ตัว
⎝ 4 ⎠
ตง W 250 × 29.6 รับแรงปฏิกิริยา 10,555.8 kg โดยสลักเกลียวรับแรงไดตัวละ 6998.4 kg/ตัว ดังนั้น
ตองการสลักเกลียวจํานวน = 10,555.8 = 1.508 ⇒ 2 ตัว
6998.4
ตง W 300 × 36.7 รับแรงปฏิกิริยา 15,662.4 kg โดยสลักเกลียวรับแรงได 7581.6 kg/ตัว ดังนั้น
ตองการสลักเกลียวจํานวน = 15,662.4 = 2.066 ⇒ 3 ตัว
7581.6
366 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขั้นตอนที่ 3 หาจํานวนสลักเกลียวที่ตองใช เพื่อตอตงเหล็กกับแผนตัง้ ของคานหลัก W 400 × 66.0 โดยสลัก


เกลียวคิดคราวละ 1 ระนาบแรงเฉือน
กําลังรับแรงเฉือนหนึ่งระนาบ Pvu = 0.75(A bv )Fv = 0.75 × ⎛⎜ π × 1.62 ⎞⎟ × 3310 = 4991 kg/ตัว
⎝4 ⎠
กําลังรับแรงกดบน W 400 × 66.0 คือ Pbru = 0.75(2.4Fu d b t w )
Pbru = 0.75 × (2.4 × 4050 × 1.6 × 0.8) = 9331.2 kg/ตัว
ดังนั้นสลักเกลียว 1 ตัว รับแรงได 4991 kg จากแรงเฉือนหนึ่งระนาบ แตใชเหล็กฉากสองดานของ
แผนตั้ง
ตง W 250 × 29.6 รับแรงปฏิกิริยา 10,555.8 kg โดยสลักเกลียวรับแรงไดตัวละ 4991 kg/ตัว ดังนั้น
ตองการสลักเกลียวจํานวน = 10,555.8 = 2.11 ⇒ 3 ⇒ 4 ตัว ขางละ 2 ตัว
4991
ตง W300 × 36.7 รับแรงปฏิกิริยา 15,662.4 kg โดยสลักเกลียวรับแรงได 4991 kg/ตัว ดังนั้นตองการ
สลักเกลียวจํานวน = 15,662.4 = 3.14 ⇒ 4 ⇒ 6 ตัว ขางละ 3 ตัว
4991
คานหลัก W 400 × 66.0 รับแรงกด = 10,555.8+15,662.4 = 26,218.2 kg สลักเกลียวรับแรงกดได
9331.2 kg/ตัว ดังนั้นตองการสลักเกลียว = 26,218.2 = 2.81 ⇒ 3 ⇒ 6 ตัว ขางละ 3 ตัว
9331.2
ขั้นตอนที่ 4 หาขนาดของเหล็กฉาก
ถาบากปลายตงเหล็ก (coping) ออกลึกลงไป 5 cm ใชเหล็กฉากดานที่ตอกับ W 250 × 29.6 ยาว 12
cm และดานทีต่ อกับ W300 × 36.7 ยาว 18 cm ระยะหางระหวางสลักเกลียว 6 cm ระยะหางขอบ 3 cm ให
ขอบของตงเหล็กหางจากคานเหล็ก 0.5 นิว้ หรือ 12.5 mm (set back) เลือกใชเหล็กฉากคู L − 75 × 75 × 6
mm ความหนาใกลเคียงกับแผนตั้งของตง เพื่อใหแรงกดใกลเคียงกัน ใหตําแหนงรูเจาะบนเหล็กฉากหางมุม
ของเหล็กฉาก (ระยะ gage) เทากับ 4.4 cm ระยะขอบของตง = 4.4 – 1.25 = 3.15 cm > 1.5d b = 2.4 cm และ
ระยะขอบของเหล็กฉาก = 7.5 – 4.4 = 3.1 cm > 1.5d b = 2.4 cm เปนไปตามขอกําหนด
ตรวจสอบกําลังรับแรงของเหล็กฉากสวนที่ตอกับตง W 250 × 29.6
เนื้อที่รับแรงเฉือนไมหักรูเจาะ คิด 2 ดานเพราะใชเหล็กฉาก 2 ตัว
2
A gv = 2 × 12 × 0.6 = 14.4 cm
R u = φ0.6Fy A gv = 0.9 × 0.6 × 2500 × 14.4 = 19,440 kg
เนื้อที่หนาตัดสุทธิซึ่งหักรูเจาะออกไป คิด 2 ดาน เพราะใชเหล็กฉาก 2 ตัว
A nv = 2 × 12 × 0.6 − 2 × 2 × (1.6 + 0.2 ) × 0.6 = 10.08 cm
2

R u = φ0.75Fu A nv = 0.6 × 0.75 × 4050 × 10.08 = 18,370.8 kg


ดังนั้นเหล็กฉากรับแรงได 18,370.8 kg > 10,555.8 kg ใชได
ตัวอยางการออกแบบรอยตอโดยใชตัวยึด 367

ตรวจสอบกําลังรับแรงของเหล็กฉากสวนที่ตอกับตง W300 × 36.7


เนื้อที่รับแรงเฉือนไมหักรูเจาะ คิด 2 ดานเพราะใชเหล็กฉาก 2 ตัว
2
A gv = 2 × 18 × 0.6 = 21.6 cm
R u = φ0.6Fy A gv = 0.9 × 0.6 × 2500 × 21.6 = 29,160 kg
เนื้อที่หนาตัดสุทธิซึ่งหักรูเจาะออกไป คิด 2 ดาน เพราะใชเหล็กฉาก 2 ตัว
A nv = 2 ×18 × 0.6 − 2 × 3 × (1.6 + 0.2) × 0.6 = 15.12 cm
2

R u = φ0.75Fu A nv = 0.6 × 0.75 × 4050 × 15.12 = 27,556.2 kg


ดังนั้นเหล็กฉากรับแรงได 27,556.2 kg > 15,662.4 kg ใชได

ตัวอยางที่ 6.9 จงออกแบบการตอคานกับเสา เพื่อรับแรงปฏิกิริยาจากคานชวงเดียวที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุก


คงที่ใชงาน 20 ตัน และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 15 ตัน โดยใชสลักเกลียวชนิด ASTM A325 ขนาด
22 mm เหล็กชนิด ASTM A36 ออกแบบตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD

วิธีทํา
ใชเหล็กฉาก 1 คูในการถายแรงระหวางคานกับเสา สลักเกลียว ASTM A325 ขนาด 22 mm และสมมติวา
เกลียวอยูในระนาบแรงเฉือน
เปดตารางเหล็ก ภาคผนวก ข ไดขอมูลดังนี้
2
W300 × 94 , d = 300 mm, bf = 300 mm, tw = 10 mm, tf = 15 mm, r = 18 mm, A = 119.8 cm , w =
94.0 kg/m, Ix = 20,400 cm4, Iy = 6,750 cm4, rx = 13.1 cm, ry = 7.51 cm, Sx = 1,360 cm3, Sy = 450 cm3, Zx =
1,464.75 cm3
368 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

2
W 400 × 172 , d = 400 mm, bf = 400 mm, tw = 13 mm, tf = 21 mm, r = 22 mm, A = 218.7 cm , w =
172 kg/m, Ix = 66,600 cm4, Iy = 22,400 cm4, rx = 17.5 cm, ry = 10.1 cm, Sx = 3,330 cm3, Sy = 1,120 cm3, Zx
= 3,600.13 cm3
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 ออกแบบรอยตอที่เหล็กแผนตั้งของคาน ซึ่งตัวยึดตองรับทั้งแรงเฉือนและแรงกด
ตารางที่ 6.1 หนวยแรงเฉือนของสลักเกลียว A325-N คือ 1470 ksc
⎛ π ⎞
กําลังรับแรงเฉือนสองระนาบ = Fv (2A b ) = 1470 × ⎜ 2 × × 2.2 2 ⎟ = 11,175.9 kg/ตัว
⎝ 4 ⎠
กําลังรับแรงกด = 1.2Fu d b t w = 1.2 × 4050 × 2.2 ×1.3 = 13,899.6 kg/ตัว
สลักเกลียวจะวิบัติจากแรงเฉือน คือรับแรงได 11,175.9 kg/ตัว
แรงเฉือนของคาน P = D + L = 20 + 15 = 35 ตัน = 35,000 kg
35,000
ตองการสลักเกลียว = = 3.13 ⇒ 4 ตัว
11,175.9
ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบรอยตอที่ปกเสา ซึ่งตัวยึดตองรับทั้งแรงเฉือนและแรงกด
การรับแรงเฉือนของสลักเกลียวเปน 1 ระนาบ
กําลังรับแรงเฉือนหนึ่งระนาบ = Fv A b = 1470 × π × 2.22 = 5,587.95 kg/ตัว
4
กําลังรับแรงกด kg/ตัว
= 1.2Fu d b t f = 1.2 × 4050 × 2.2 × 1.5 = 16,038
สลักเกลียวจะวิบัติจากแรงเฉือน คือรับแรงได 5,587.95 kg/ตัว
แรงเฉือนที่ปกเสา P = D + L = 20 + 15 = 35 ตัน = 35,000 kg
35,000
ตองการสลักเกลียว = = 6.26 ⇒ 7 ⇒ 8 ตัว ขางละ 4 ตัว
5,587.95
ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบขนาดของเหล็กฉากที่ใชถายแรงเฉือน
ใหระยะหางระหวางสลักเกลียว 7.5 cm > 3db = 3 × 2.2 = 6.6 cm
ใหระยะขอบ 3.5 cm > 1.5db = 1.5 × 2.2 = 3.3 cm
สลักเกลียวดานละ 4 ตัว มีระยะระหวางสลักเกลียว = 4 – 1 = 3 ชวง ระยะขอบ 2 ระยะ ดังนั้นความยาว
ของเหล็กฉากเทากับ = 3 × 7.5 + 2 × 3.5 = 29.5 cm เหล็กฉากมี 2 ตัว ถาเหล็กฉากหนา t cm แรงเฉือนที่รับ
ได
V = 2(0.4Fy Lt ) = 2 × (0.4 × 2500 × 29.5t )
35,000 = 2 × (0.4 × 2500 × 29.5t )
35,000
t=
2 × 0.4 × 2500 × 29.5
t = 0.593 cm = 5.93 mm
เลือกใชเหล็กฉาก 2Ls − 100 × 100 × 7 mm ยาว 30 cm
หนวยแรงกดที่ยอมให Fbr = 1.2Fu = 1.2 × 4050 = 4,860 ksc
ตัวอยางออกแบบรอยตอโดยใชตัวยึด 369

P 35,000
หนวยแรงกดที่เกิดขึ้น f br = = = 2841 ksc < Fbr = 4,860 ksc
Ntd b 8 × 0.7 × 2.2
ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
แรงประลัยที่กระทํา Pu = 1.2D + 1.6L = 1.2 × 20 + 1.6 × 15 = 48 ตัน = 48,000 kg
ขั้นตอนที่ 1 ออกแบบรอยตอที่เหล็กแผนตั้งของคาน ซึ่งตัวยึดตองรับทั้งแรงเฉือนและแรงกด
จากตารางที่ 6.2 กําลังรับแรงเฉือนประลัยของ ASTM A325-N bolts คือ Fvu = 3310 ksc
กําลังรับแรงเฉือนสองระนาบ Pu 2 v = 0.75Fvu (2A b ) = 0.75 × 3310 × ⎛⎜ 2 × π × 2.22 ⎞⎟
⎝ 4 ⎠
Pu 2 v = 18,873.58911 kg/ตัว
กําลังรับแรงกด Pbru = 0.75(2.4Fu d b t w ) = 0.75 × (2.4 × 4050 × 2.2 × 1.3)
Pbru = 20,849.4 kg/ตัว
กําลังรับแรงของสลักเกลียวเปนสวนของแรงเฉือนสองระนาบคือ 18,873.58911 kg/ตัว ดังนั้นจํานวน
48,000
สลักเกลียวที่ตอ งการคือ = = 2.54 ⇒ 3 ⇒ 4 ตัว (สังเกตวาตองการจํานวนสลักเกลียวนอย
18,873.58911
กวาวิธี AISC/ASD ที่ตองการถึง 4 ตัว)
ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบรอยตอที่ปกเสา ตัวยึดตองรับทั้งแรงเฉือนและแรงกด
การรับแรงเฉือนของสลักเกลียวเปน 1 ระนาบ
กําลังรับแรงเฉือนหนึ่งระนาบ Pu1v = 0.75Fvu A b = 0.75 × 3310 × π × 2.22 = 9436.8 kg/ตัว
4
กําลังรับแรงกด Pbru = 0.75(2.4Fu d b t w ) = 0.75 × (2.4 × 4050 × 2.2 × 1.5)
Pbru = 24,057 kg/ตัว
สลักเกลียวจะวิบัติจากแรงเฉือน คือรับแรงได 9,436.8 kg/ตัว ดังนัน้ จํานวนสลักเกลียวที่ตองการคือ
48,000
= = 5.1 ⇒ 6 ⇒ 8 ตัวขางละ 4 ตัว (สังเกตวาตองการจํานวนสลักเกลียวนอยกวาวิธี AISC/ASD ที่
9,436.8
ตองการถึง 7 ตัว)
ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบขนาดของเหล็กฉากที่ใชถายแรงเฉือน
ใหระยะหางระหวางสลักเกลียว 7.5 cm > 3db = 3 × 2.2 = 6.6 cm
ใหระยะขอบ 3.5 cm > 1.5db = 1.5 × 2.2 = 3.3 cm
สลักเกลียวดานละ 4 ตัว มีระยะระหวางสลักเกลียว = 4 – 1 = 3 ชวง ระยะขอบ 2 ระยะ ดังนั้นความยาว
ของเหล็กฉากเทากับ = 3 × 7.5 + 2 × 3.5 = 29.5 cm เหล็กฉากมี 2 ตัว ถาเหล็กฉากหนา t cm แรงเฉือนที่รับ
ได
Vu = 2φ(0.6Fy Lt ) = 2 × 0.9 × (0.6 × 2500 × 29.5t )
48,000 = 2 × 0.9 × (0.6 × 2500 × 29.5t )
48,000
t=
2 × 0.9 × 0.6 × 2500 × 29.5
370 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

t = 0.603 cm = 6.03 mm
เลือกใชเหล็กฉาก 2Ls − 100 × 100 × 7 mm ยาว 30 cm
หนวยแรงกดประลัยที่ยอมให Fbru = 0.75(2.4Fu ) = 0.75 × (2.4 × 4050) = 7,290 ksc
Pu 48,000
หนวยแรงกดประลัยที่เกิดขึ้น f bru = = = 3,896.1 ksc < Fbru = 7,290 ksc
Nd b t 8 × 2.2 × 0.7
ตัวอยางที่ 6.10 จงออกแบบการตอคานกับเสาโดยใชเหล็กฉากรองใตคาน (beam seat connection) เพื่อรับ
แรงปฏิกิริยาทีเ่ กิดจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 6 ตัน และจากน้ําหนักจรใชงาน 7 ตัน จากคานขนาด
W 400 × 66 โดยใชสลักเกลียวชนิด ASTM A325 ขนาด 22 mm เหล็กชนิด ASTM A36 ออกแบบ
ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD

วิธีทํา
จากภาคผนวก ข สมบัติของหนาตัด
2
W 400 × 66 , d = 400 mm, bf = 200 mm, tw = 8 mm, tf = 13 mm, r = 16 mm, A = 84.12 cm , w =
66.0 kg/m, Ix = 23700 cm4, Iy = 1740 cm4, rx = 16.8 cm, ry = 4.54 cm, Sx = 1190 cm3, Sy = 174 cm3, Zx =
1285.95 cm3
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 หาขนาดของเหล็กฉาก
ความกวางโดยประมาณของเหล็กฉากที่ตอ งใช เพื่อปองกันการครากของแผนตั้งของคาน (local web
yielding) จากสูตร
R
= 0.66Fy
(2.5k + N )t w
เมื่อ R = D + L = 6 + 7 = 13 ตัน = 13,000 kg = แรงปฏิกิริยา
k = t f + r = 13 + 16 = 29 mm = 2.9 cm = ระยะจากผิวปกคานถึงโคนโคงสวนพอก
t w = 8 mm = 0.8 cm = ความหนาของแผนตั้งคาน
ตัวอยางการออกแบบรอยตอโดยใชตัวยึด 371

Fy = 2500 ksc = กําลังครากของเหล็ก ASTM A36


13,000
= 0.66 × 2500
(2.5 × 2.9 + N ) × 0.8
13,000
= 2 .5 × 2 .9 + N
0.8 × 0.66 × 2500
13,000
N= − 2 .5 × 2 .9
0.8 × 0.66 × 2500
N = 2.6 cm
ความกวางโดยประมาณของเหล็กฉากที่ตอ งใช เพื่อปองกันไมใหแผนตั้งของคานเกิดการยู (web
cripping) จากสูตร
⎡ ⎛ N ⎞⎛ t ⎞
1.5
⎤ ⎛t ⎞
R = 0.2 t ⎢1 + 3⎜ ⎟⎜⎜ w
2
w ⎟⎟ ⎥ EFy ⎜⎜ f ⎟⎟
⎢⎣ ⎝ d ⎠⎝ t f ⎠ ⎥⎦ ⎝ tw ⎠
เมื่อ d = 400 mm = 40 cm = ความลึกคาน
tw = 8 mm = 0.8 cm = ความหนาของแผนตั้ง
tf = 13 mm = 1.3 cm = ความหนาของปก
E = 2,040,000 ksc = โมดูลัสยืดหยุนของเหล็ก ASTM A36
R = D + L = 6 + 7 = 13 ตัน = 13,000 kg = แรงปฏิกิริยา
Fy = 2500 ksc = กําลังครากของเหล็ก ASTM A36
แทนคา
⎡ ⎛ N ⎞ ⎛ 0.8 ⎞ ⎤
1.5
⎛ 1.3 ⎞
13,000 = 0.2 × 0.8 × ⎢1 + 3 × ⎜ ⎟ × ⎜
2
⎟ ⎥ 2,040,000 × 2500 × ⎜ ⎟
⎣⎢ ⎝ 40 ⎠ ⎝ 1.3 ⎠ ⎦⎥ ⎝ 0.8 ⎠
⎡ N ⎤
13,000 = 0.128 × ⎢1 + 3 × × 0.482747409⎥ 8,287,500,000
⎣ 40 ⎦
N 13,000 13,000
1 + 3 × × 0.482747409 = =
40 0.128 8,287,500,000 11,652.57053
N
1+ 3× × 0.482747409 = 1.115633668
40
N
3× × 0.482747409 = 1.115633668 − 1 = 0.115633668
40
0.115633668 × 40
N=
3 × 0.482747409
N = 3.19 cm ใช N = 3.5 cm
ใหระยะหางระหวางปลายคานกับผิวปกเสา 12 mm = 1.2 cm เพื่อใหสามารถติดตั้งได
ความกวางของเหล็กฉากอยางนอย = 3.5 + 1.2 = 4.7 cm
372 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

หาความหนาของเหล็กฉาก
ประมาณหนาตัดวิกฤตของโมเมนตดัดบนเหล็กฉากที่ระยะ k = ความหนาเหล็กฉาก t ซึ่งประมาณวา
12 mm + ขอบความโคงสวนพอกซึ่งประมาณวาเทากับ 1 cm
k=t+1
แรงปฏิกิริยา R กระทําที่กึ่งกลางระยะ N ดังนั้น
⎛N ⎞ ⎛ 3.5 ⎞
M = R ⎜ + 1.2 − k ⎟ = 13,000 × ⎜ + 1.2 − (1.2 + 1)⎟ = 9,750 kg.cm
⎝2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
ความยาวของเหล็กฉากใหเทากับความกวางของคานคือ 20 cm
Fb = 0.75Fy = 0.75 × 2500 = 1,875 ksc = หนวยแรงดัดที่ยอมให
ความหนาของเหล็กฉากที่ตองการ
6M 6 × 9,750
t= = = 1.25 cm > 1.2 cm ที่สมมติไว
bFb 20 × 1,875
ทดลองเลือกเหล็กฉาก L − 150 × 100 × 12 mm จากภาคผนวก ข ตารางที่ 5 เหล็กฉากขาไมเทากัน มี A =
150 mm, B = 100 mm, t = 12 mm, r1 = 12 mm, r2 = 8.5 mm, Area = 28.58 cm2, w = 22.4 kg/m, cx = 4.88
cm, cy = 2.41 cm, Ix = 612 cm4, Iy = 223 cm4
k = t + r1 = 12 + 12 = 24 mm = 2.4 cm
⎛N ⎞ ⎛ 3.5 ⎞
M = R ⎜ + 1.2 − k ⎟ = 13,000 × ⎜ + 1.2 − 2.4 ⎟ = 7,150 kg.cm
⎝2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
ความยาวของเหล็กฉากใหเทากับความกวางของคานคือ 20 cm
Fb = 0.75Fy = 0.75 × 2500 = 1,875 ksc = หนวยแรงดัดที่ยอมให
ความหนาของเหล็กฉากที่ตองการ
6M 6 × 7,150
t= = = 1.07 cm < 1.2 cm ที่เลือกเหล็กฉากไว ใชได
bFb 20 × 1,875
ใชเหล็กฉากรองใตคาน L − 150 × 100 × 12 mm ยาว 20 cm
ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบรอยตอที่ปกเสา สลักเกลียวตองรับทั้งแรงเฉือนและแรงกด
ตารางที่ 6.1 สลักเกลียว ASTM A325-N เกลียวอยูในระนาบแรงเฉือน มีกําลังรับแรงเฉือนที่ยอมให
Fv = 1470 ksc
เหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc
กําลังรับแรงเฉือนหนึ่งระนาบ
⎛π ⎞
Pu1 = Fv A b = 1470 × ⎜ × 2.2 2 ⎟ = 5587.95 kg/ตัว
⎝4 ⎠
กําลังรับแรงกด
kg/ตัว
Pbru = 1.2Fu d b t = 1.2 × 4050 × 2.2 × 1.2 = 12,830.4
กําลังรับแรงของสลักเกลียวเกิดจากแรงเฉือนหนึ่งระนาบ 5,587.95 kg/ตัว
ตัวอยางการออกแบบรอยตอโดยใชตัวยึด 373

13,000
ดังนั้นตองการสลักเกลียว = = 2.33 ⇒ 3 ⇒ 4 ตัว
5,587.95
ใชสลักเกลียว ASTM A325-N เกลียวอยูใ นระนาบแรงเฉือน จํานวน 4 ตัวยึดขายาวของเหล็กฉากติด
กับปกคาน ขางละ 2 ตัว (จึงเปน 4 ตัวใหสมมาตรกัน) สวนขาดานสัน้ ของเหล็กฉากใชสลักเกลียว 2 ตัวเพื่อ
ยึดปกคานใหอยูกับที่
ที่ปลายคานดานบนอาจจะใชเหล็กฉาก L − 90 × 90 × 7 mm ยาว 20 cm สลักเกลียว 2 ตัวยึดกับปกเสา
และ 2 ตัวยึดกับปกบนของคาน เพื่อยึดใหคานอยูในตําแหนงและใหหมุนไดบาง

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
แรงปฏิกิริยาประลัย
Pu = 1.2D + 1.6L = 1.2 × 6 + 1.6 × 7 = 18.4 ตัน = 18,400 kg
ขั้นตอนที่ 1 หาขนาดของเหล็กฉาก
ความกวางโดยประมาณของเหล็กฉากที่ตอ งใช เพื่อปองกันการครากของแผนตั้งของคาน (local web
yielding) จากสูตร
R n = (2.5k + N )Fy t w
เมื่อ R n = Pu = 18,400 kg = แรงปฏิกิริยา
k = t f + r = 13 + 16 = 29 mm = 2.9 cm = ระยะจากผิวปกคานถึงโคนโคงสวนพอก
t w = 8 mm = 0.8 cm = ความหนาของแผนตั้งคาน
Fy = 2500 ksc = กําลังครากของเหล็ก ASTM A36
แทนคา
18,400 = (2.5 × 2.9 + N ) × 2500 × 0.8
18,400
2 .5 × 2 .9 + N = = 9 .2
2500 × 0.8
cm
N = 9.2 − 2.5 × 2.9 = 1.95
ความกวางโดยประมาณของเหล็กฉากที่ตอ งใช เพื่อปองกันไมใหแผนตั้งของคานเกิดการยู (web
cripping) จากสูตร
⎡ ⎛ N ⎞⎛ t ⎞
1.5
⎤ ⎛t ⎞
R n = 0.75 × 0.4 t ⎢1 + 3⎜ ⎟⎜⎜ w
2
w
⎟⎟ ⎥ EFy ⎜⎜ f ⎟⎟
⎢⎣ ⎝ d ⎠⎝ t f ⎠ ⎥⎦ ⎝ tw ⎠
เมื่อ d = 400 mm = 40 cm = ความลึกคาน
tw = 8 mm = 0.8 cm = ความหนาของแผนตั้ง
tf = 13 mm = 1.3 cm = ความหนาของปก
E = 2,040,000 ksc = โมดูลัสยืดหยุนของเหล็ก ASTM A36
R n = Pu = 18,400 kg = แรงปฏิกิริยา
374 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

Fy = 2500 ksc = กําลังครากของเหล็ก ASTM A36


แทนคา
⎡ ⎛ N ⎞ ⎛ 0.8 ⎞ ⎤
1.5
⎛ 1.3 ⎞
18,400 = 0.75 × 0.4 × 0.8 × ⎢1 + 3 × ⎜ ⎟ × ⎜
2
⎟ ⎥ 2,040,000 × 2500 × ⎜ ⎟
⎣⎢ ⎝ 40 ⎠ ⎝ 1.3 ⎠ ⎦⎥ ⎝ 0.8 ⎠
⎡ N ⎤
18,400 = 0.192 × ⎢1 + 3 × × 0.482747409⎥ 8,287,500,000
⎣ 40 ⎦
N 18,400 18,400
1 + 3 × × 0.482747409 = =
40 0.192 8,287,500,000 17,478.8558
N
1+ 3× × 0.482747409 = 1.052700486
40
N
3× × 0.482747409 = 1.052700486 − 1 = 0.052700486
40
0.052700486 × 40
N=
3 × 0.482747409
N = 1.46 cm ใช N = k = 2.9 cm
ใหระยะหางระหวางปลายคานกับผิวปกเสา 12 mm = 1.2 cm เพื่อใหสามารถติดตั้งได
ความกวางของเหล็กฉากอยางนอย = 2.9 + 1.2 = 4.1 cm
หาความหนาของเหล็กฉาก
ประมาณหนาตัดวิกฤตของโมเมนตดัดบนเหล็กฉากที่ระยะ k = ความหนาเหล็กฉาก t ซึ่งประมาณวา
12 mm + ขอบความโคงสวนพอกซึ่งประมาณวาเทากับ 1 cm
k=t+1
แรงปฏิกิริยา Ru = Rn = 18, 400 kg กระทําที่กึ่งกลางระยะ N ดังนัน้
⎛N ⎞ ⎛ 2.9 ⎞
M u = R u ⎜ + 1.2 − k ⎟ = 18,400 × ⎜ + 1.2 − (1.2 + 1)⎟ = 8,280 kg.cm
⎝2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
⎛ 2

โดยที่โมเมนตดัดประลัยที่รบั ได M u = 0.9Fy Z x = 0.9Fy ⎜⎜ bt ⎟⎟
⎝ 4 ⎠
ความยาวของเหล็กฉากใหเทากับความกวางของคานคือ b = 20 cm
ความหนาของเหล็กฉากที่ตองการ
4M 4 × 8,280
t= = = 0.86 cm < 1.2 cm ที่สมมติไว
0.9bFy 0.9 × 20 × 2,500
ทดลองเลือกเหล็กฉาก L − 150 ×100 × 9 mm จากภาคผนวก ข ตารางที่ 5 เหล็กฉากขาไมเทากัน มี A =
150 mm, B = 100 mm, t = 9 mm, r1 = 12 mm, r2 = 6.0 mm, Area = 21.84 cm2, w = 17.1 kg/m, cx = 4.76 cm,
cy = 2.30 cm, Ix = 502 cm4, Iy = 181 cm4
k = t + r1 = 9 + 12 = 21 mm = 2.1 cm
ตัวอยางการออกแบบรอยตอโดยใชตัวยึด 375

ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบรอยตอที่ปกเสา สลักเกลียวตองรับทั้งแรงเฉือนและแรงกด


กําลังรับแรงเฉือนหนึ่งระนาบ
⎛π ⎞
Pu1v = 0.75Fuv A b = 0.75 × 3310 × ⎜ × 2.2 2 ⎟ = 9,436.8 kg/ตัว
⎝4 ⎠
กําลังรับแรงกดสลักเกลียวหนึ่งตัว
Pubr = 0.75(2.4Fu d b t ) = 0.75 × (2.4 × 4050 × 2.2 × 0.9) = 14,434.2 kg/ตัว
ดังนั้นกําลังรับแรงของสลักเกลียวเกิดจากการรับแรงเฉือน 9,436.8 kg/ตัว จํานวนสลักเกลียวที่ตองการ
คือ = 18,400 = 1.95 ⇒ 2 ⇒ 4 ตัว
9,436.8
ขอสังเกต การออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD จะประหยัดกวาวิธี AISC/ASD

ตัวอยางที่ 6.1 จงออกแบบการตอคานกับเสาเพื่อรับโมเมนตดัดที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงานขนาด 1


ตัน.เมตร และจากน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 0.5 ตัน.เมตร และแรงปฏิกิริยาที่เกิดน้าํ หนักบรรทุกคงที่
ใชงาน 9.6 ตัน และจากน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 2.4 ตัน ใชสลักเกลียว ASTM A325 ขนาด 22 mm
เหล็กชนิด ASTM A36 ออกแบบตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD

วิธีทํา
ใชเหล็กฉากประกับสองขางของเหล็กแผนตั้งของคานโดยทําหนาที่รับแรงเฉือนทั้งหมด เหล็กฉากที่
ประกับปกคานบนและลางทําหนาที่รับโมเมนตดัดทั้งหมด
เปดตารางเหล็ก ภาคผนวก ข ไดขอมูลดังนี้
2
W 400 × 66 , d = 400 mm, bf = 200 mm, tw = 8 mm, tf = 13 mm, r = 16 mm, A = 84.12 cm , w =
66.0 kg/m, Ix = 23700 cm4, Iy = 1740 cm4, rx = 16.8 cm, ry = 4.54 cm, Sx = 1190 cm3, Sy = 174 cm3, Zx =
1285.95 cm3
สมมติเสาหนาตัดเดียวกับคาน
376 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
แรงเฉือนรวม P = D + L = 9.6 + 2.4 = 12 ตัน = 12,000 kg
โมเมนตดัดรวม M = D + L = 1 + 0.5 = 1.5 ตัน.เมตร = 1,500 kg.m = 150,000 kg.cm
ขั้นตอนที่ 1 หาขนาดของเหล็กฉากและจํานวนตัวยึดที่ประกับเหล็กแผนตั้งของคานกับปกเสา
จากตารางที่ 6.1 สลักเกลียว ASTM A325-N เกลียวอยูในระนาบแรงเฉือน หนวยแรงดึงทีย่ อมให
Ft = 3080 ksc และหนวยแรงเฉือนทีย่ อมให Fv = 1470 ksc และเหล็กชนิด ASTM A36 มีกําลังจุดคราก
Fy = 2500 ksc และกําลังประลัย Fu = 4050 ksc
(ก) ตรงรอยตอระหวางเหล็กแผนตัง้ ของคาน สลักเกลียวตองรับทั้งแรงเฉือนและแรงกด
กําลังรับแรงเฉือนสองระนาบ P2 v = Fv (2A b ) = 1470 × ⎛⎜ 2 × π × 2.22 ⎞⎟ = 11,175.9 kg/ตัว
⎝ 4 ⎠
กําลังรับแรงกด Pbr = 1.2Fu d b t w = 1.2 × 4050 × 2.2 × 0.8 = 8,553.6 kg/ตัว
ดังนั้นการวิบตั ิเกิดจากแรงกด = 8,553.6 kg/ตัว
ใชสลักเกลียวขนาด 22 mm จํานวน = 12,000 = 1.4 ⇒ 2 ตัว
8,553.6
(ข) ตรงรอยตอที่ปกเสา ตัวยึดตองรับทั้งแรงเฉือนและแรงกด
กําลังรับแรงเฉือนหนึ่งระนาบ P1v = Fv A b = 1470 × ⎛⎜ π × 2.22 ⎞⎟ = 5,587.95 kg/ตัว
⎝4 ⎠
กําลังรับแรงกด Pbr = 1.2Fu d b t f = 1.2 × 4050 × 2.2 × 1.3 = 13,899.6 kg/ตัว
ดังนั้นการวิบตั ิเกิดจากแรงเฉือน = 5,587.95 kg/ตัว
12,000
ใชสลักเกลียวขนาด 22 mm จํานวน = = 2.15 ⇒ 3 ⇒ 4 ตัว ขางละ 2 ตัว
5,587.95
(ค) ออกแบบขนาดของเหล็กฉากในการถายแรงเฉือน
ใหระยะหางระหวางสลักเกลียว = 7.5 cm > 3d b = 3 × 2.2 = 6.6 cm
ใหระยะขอบ = 3.5 cm > 1.5d b = 1.5 × 2.2 = 3.3 cm
ดังนั้นความยาวของเหล็กฉาก L = (2 − 1) × 7.5 + 3.5 + 3.5 = 14.5 cm
เหล็กฉากแตละดานรับแรงเฉือน V = R = 12,000 = 6,000 kg
2 2
กําลังรับแรงเฉือน V = 0.4Fy Lt
V 6,000
ความหนาเหล็กฉาก t= = = 0.414 cm
0.4Fy L 0.4 × 2500 × 14.5
ใชเหล็กฉาก 2Ls − 100 × 100 × 10 mm ยาว 15 cm
ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของเหล็กฉากและจํานวนสลักเกลียวที่ใชยึดกับปกคานและปกเสา
(ก) ตรงรอยตอกับปกเสา โมเมนตดัด M = 150,000 kg.cm เปนโมเมนตลบผิวบนคานเปนแรงดึง ให
ขอบลางของคานเปนจุดหมุน แรงดึง T ที่สลักเกลียวตองรับคือ
ตัวอยางการออกแบบรอยตอโดยใชตัวยึด 377

Td = M
M 150,000
T= = = 3,750
d 40
กําลังรับแรงดึงของสลักเกลียว Pt = Ft A b = 3080 × ⎛⎜ π × 2.22 ⎞⎟ = 11,708 kg/ตัว
⎝4 ⎠
3,750
ดังนั้นตองการสลักเกลียว = = 0.32 ⇒ 1 ⇒ 2 ตัว ซายขวาขางละ 1 ตัว
11,708
(ข) ตรงรอยตอที่ปกคาน ตัวยึดตองรับทั้งแรงเฉือนหนึ่งระนาบและแรงกด ซึ่งเกิดจากแรงดึง 3,750
kg เนื่องจากโมเมนตดัด 150,000 kg.cm
กําลังรับแรงเฉือนหนึ่งระนาบ Pv = Fv A b = 1,470 × ⎛⎜ π × 2.22 ⎞⎟ = 5,587.95 kg/ตัว
⎝4 ⎠
กําลังรับแรงกด Pbr = 1.2Fu d b t f = 1.2 × 4050 × 2.2 × 1.3 = 13,899.6 kg/ตัว
ดังนั้นสลักเกลียววิบัติเพราะแรงเฉือน = 5,587.95 kg/ตัว
3,750
จํานวนสลักเกลียวที่ตองการ = = 0.671 ⇒ 1 ⇒ 2 ตัว ซายขวาขางละ 1 ตัว
5,587.95
(ค) ออกแบบขนาดของเหล็กฉากที่ใชรับโมเมนตดดั
แรงดึงจากโมเมนตดัดทําใหปลายคานขอบบนถางออก เหล็กฉากจึงดัดโคงออกโดยจุดดัดกลับ
(inflection point) อยูกึ่งกลางระหวางศูนยกลางตัวยึดทีย่ ึดติดกับปกคานกับผิวบนของเหล็กฉาก ดังรูป

สมมติเลือกเหล็กฉาก L − 150 × 100 × 15 mm ยาว 20 cm เทากับความกวางปกคาน ใหขาดาน


สั้น 100 mm แนวกับปกเสา ระยะ g = 6.25 cm = ระยะจากมุมนอกของเหล็กฉากถึงศูนยกลางของสลักเกลียว
ตําแหนงจุดดัดกลับจะอยูกึ่งกลางของระยะจากศูนยกลางสลักเกลียวถึงผิวบนของเหล็กฉากหรือทีม่ ุมในของ
เหล็กฉาก ซึ่งคือกึ่งกลางของระยะ g ลบดวยความหนาของเหล็กฉาก จุดดัดกลับเปนจุดที่โมเมนตเปน 0
ดังนั้นโมเมนตสูงสุดจึงเทากับแรงคูณกับระยะจากแรงถึงจุดดัดกลับ ระยะจุดดัดกลับคือ
g − t 6.25 − 1.5
l= = = 2.375 cm
2 2
โมเมนตดัดสูงสุดบนเหล็กฉาก M = Tl = 3,750 × 2.375 = 8,906.25 kg.cm
378 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เหล็กฉากมีสภาพเปนคานแบนกวาง b = 20 cm หนา t หนวยแรงดัดทีย่ อมให Fb = 0.75Fy


bt 2
M = FbSx = 0.75Fy
6
6M 6 × 8,906.25
t= =
0.75Fy b 0.75 × 2500 × 20
t = 1.19 cm < 15 mm
ดังนั้นใชเหล็กฉากยึดปกบนลางของคานเขากับปกเสา ขนาด L − 150 × 100 × 15 mm

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
แรงประลัย Pu = 1.2D + 1.6L = 1.2 × 9.6 + 1.6 × 2.4 = 15.36 ตัน = 15,360 kg
โมเมนตดัดประลัย M u = 1.2M D + 1.6M L = 1.2 ×1 + 1.6 × 0.5 = 2 ตัน.เมตร = 200,000 kg.cm
ขั้นตอนที่ 1 หาขนาดของเหล็กฉากและจํานวนสลักเกลียวที่ประกับเหล็กแผนตั้งของคานกับปกเสา
จากตารางที่ 6.2 สลักเกลียว ASTM A325-N เกลียวอยูในระนาบแรงเฉือน หนวยแรงดึงประลัยทีย่ อม
ให Ftu = 6210 ksc และหนวยแรงเฉือนประลัยที่ยอมให Fvu = 3310 ksc และเหล็กชนิด ASTM A36 มี
กําลังจุดคราก Fy = 2500 ksc และกําลังประลัย Fu = 4050 ksc
(ก) ตรงรอยตอที่เหล็กแผนตัง้ ของคาน ตัวยึดตองรับทั้งแรงเฉือนและแรงกด
กําลังรับแรงเฉือนสองระนาบ
⎛ π ⎞
Pvu = 0.75Fvu (2A b ) = 0.75 × 3310 × ⎜ 2 × × 2.2 2 ⎟ = 18,873.59 kg/ตัว
⎝ 4 ⎠
กําลังรับแรงกด
Pbru = 0.75(2.4Fu d b t w ) = 0.75 × (2.4 × 4050 × 2.2 × 0.8) = 12,830.4 kg/ตัว
การวิบัติเกิดจากแรงกด ดังนัน้ ตองการใชสลักเกลียวจํานวน
Pu 15,360
n1 = = = 1.2 ⇒ 2 ตัว
Pbru 12,830.4
(ข) ตรงรอยตอที่ปกเสา สลักเกลียวรับทั้งแรงเฉือนและแรงกด
กําลังรับแรงเฉือนหนึ่งระนาบ
⎛π ⎞
Pvu = 0.75Fvu A b = 0.75 × 3310 × ⎜ × 2.2 2 ⎟ = 9,436.8 kg/ตัว
⎝4 ⎠
กําลังรับแรงกด
Pbru = 0.75(2.4Fu d b t f ) = 0.75 × (2.4 × 4050 × 2.2 × 1.3) = 20,849.4 kg/ตัว
การวิบัติเกิดจากแรงเฉือน ดังนั้นตองการใชสลักเกลียวจํานวน
Pu 15,360
n1 = = = 1.63 ⇒ 2 ⇒ 4 ตัว ซายขวาขางละ 2 ตัว
Pvu 9,436.8
ตัวอยางการออกแบบรอยตอโดยใชตัวยึด 379

(ค) ออกแบบขนาดเหล็กฉากที่ใชถายแรงเฉือน
ใหระยะหางระหวางสลักเกลียว = 7.5 cm > 3d b = 3 × 2.2 = 6.6 cm
ใหระยะขอบ = 3.5 cm > 1.5d b = 1.5 × 2.2 = 3.3 cm
ดังนั้นความยาวของเหล็กฉาก L = (2 − 1) × 7.5 + 3.5 + 3.5 = 14.5 cm
เหล็กฉากแตละดานรับแรงเฉือน V = R = 15,360 = 7,680 kg
2 2
กําลังรับแรงเฉือน Vu = φ0.6Fy Lt
Vu 7,680
ความหนาเหล็กฉาก t= = = 0.392 cm
φ0.6Fy L 0.9 × 0.6 × 2500 × 14.5
ใชเหล็กฉาก 2Ls − 100 × 100 × 10 mm ยาว 15 cm
ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบขนาดของเหล็กฉากและจํานวนสลักเกลียวที่ใชในการยึดปกคานกับปกเสา
(ก) ตรงรอยตอกับปกเสา โมเมนตดัด M = 200,000 kg.cm เปนโมเมนตลบผิวบนคานเปนแรงดึง ให
ขอบลางของคานเปนจุดหมุน แรงดึง T ที่สลักเกลียวตองรับคือ
Tu d = M u
M u 200,000
Tu = = = 5,000
d 40
กําลังรับแรงดึงของสลักเกลียว Ptu = φ t Ftu A b = 0.75 × 6210 × ⎛⎜ π × 2.22 ⎞⎟ = 17,704 kg/ตัว
⎝4 ⎠
5,000
ดังนั้นตองการสลักเกลียว = = 0.282 ⇒ 1 ⇒ 2 ตัว ซายขวาขางละ 1 ตัว
17,704
(ข) ตรงรอยตอที่ปกคาน ตัวยึดตองรับทั้งแรงเฉือนหนึ่งระนาบและแรงกด ซึ่งเกิดจากแรงดึง 5,000
kg เนื่องจากโมเมนตดัด 200,000 kg.cm
กําลังรับแรงเฉือนหนึ่งระนาบ
⎛π ⎞
Pvu = φ t Fvu A b = 0.75 × 3,310 × ⎜ × 2.2 2 ⎟ = 9,436.8 kg/ตัว
⎝4 ⎠
กําลังรับแรงกด
Pbru = φ2.4Fu d b t f = 0.75 × 2.4 × 4050 × 2.2 × 1.3 = 20,849.4 kg/ตัว
ดังนั้นสลักเกลียววิบัติเพราะแรงเฉือน = 9,436.8 kg/ตัว
5,000
จํานวนสลักเกลียวที่ตองการ = = 0.529 ⇒ 1 ⇒ 2 ตัว ซายขวาขางละ 1 ตัว
9,436.8
(ค) ออกแบบขนาดของเหล็กฉากที่ใชรับโมเมนตดดั
แรงดึงจากโมเมนตดัดทําใหปลายคานขอบบนถางออก เหล็กฉากจึงดัดโคงออกโดยจุดดัดกลับ
(inflection point) อยูกึ่งกลางระหวางศูนยกลางตัวยึดทีย่ ึดติดกับปกคานกับผิวบนของเหล็กฉาก ดังรูป
380 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

สมมติเลือกเหล็กฉาก L − 150 ×100 ×12 mm ยาว 20 cm เทากับความกวางปกคาน ใหขาดาน


สั้น 100 mm แนวกับปกเสา ระยะ g = 6.25 cm = ระยะจากมุมนอกของเหล็กฉากถึงศูนยกลางของสลักเกลียว
ตําแหนงจุดดัดกลับจะอยูกึ่งกลางของระยะจากศูนยกลางสลักเกลียวถึงผิวบนของเหล็กฉากหรือทีม่ ุมในของ
เหล็กฉาก ซึ่งคือกึ่งกลางของระยะ g ลบดวยความหนาของเหล็กฉาก จุดดัดกลับเปนจุดที่โมเมนตเปน 0
ดังนั้นโมเมนตสูงสุดจึงเทากับแรงคูณกับระยะจากแรงถึงจุดดัดกลับ ระยะจุดดัดกลับคือ
g − t 6.25 − 1.2
l= = = 2.525 cm
2 2
โมเมนตดัดสูงสุดบนเหล็กฉาก M u = Tu l = 5,000 × 2.525 = 12,625 kg.cm
เหล็กฉากมีสภาพเปนคานแบนกวาง b = 20 cm หนา t
bt 2
M u = φFy Z x = 0.9Fy
4
4M u 4 × 12,625
t= =
0.9Fy b 0.9 × 2500 × 20
t = 1.06 cm < 12 mm
ดังนั้นใชเหล็กฉากยึดปกบนลางของคานเขากับปกเสา ขนาด L − 150 ×100 ×12 mm
หมายเหตุ อาจจะพิจารณาตอปลายคานกับเสาโดยอาศัยหนาตัดตัว T ดังแสดงในรูป การหาความหนาของแผนปกเนื่องจาก
แรงดึงที่เกิดจากโมเมนตดัด จะพิจารณาโดนสมมติวาแรงดึงดังกลาวทําใหเกิดการกงตัวดังรูป นั่นคือ แผนปกตองรับ
โมเมนตเทากับแรง T/2 คูณกับระยะ x
แบบฝกหัด การออกแบบรอยตอโดยใชตัวยึด 381

แบบฝกหัดบทที่ 6
การออกแบบรอยตอโดยใชตัวยึด
เรื่อง กําลังรับแรงกด ระยะระหวางตัวยึด และระยะขอบ

[1],[Segui 7.3-1] แผนเหล็กรับแรงดึงขนาดกวาง 150 mm หนา 12 mm ตอกับแผนเหล็กประกับหนา 9 mm


โดยใชสลักเกลียวขนาด 22 mm เกรด ASTM A325 เหล็กแผนทั้งสองเปนชนิด ASTM A36
(ก) ตรวจสอบระยะระหวางตัวยึด และระยะขอบวาเปนไปตามมาตรฐานหรือไม
(ข) คํานวณหากําลังรับแรงกด

[2],[Segui 7.3-2] ชิ้นสวนรับแรงดึงในรูปที่ P7.3-2 เปนแผนเหล็กชนิด ASTM A242 ขนาดกวาง 141 mm


หนา 12 mm ยึดกับแผนประกับชนิด A242 หนา 9 mm โดยใชสลักเกลียวขนาด 19 mm ชนิด A325
(ก) ตรวจสอบระยะระหวางสลักเกลียวกับระยะขอบเปนไปตามมาตรฐานหรือไม
(ข) คํานวณหากําลังรับแรงกด
382 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แบบฝกหัดเรื่องกําลังรับแรงเฉือน

[3],[Segui 7.4-1] ทอนรับแรงดึงเปนเหล็กราง C − 200 × 24.6 เหล็กชนิด ASTM A572 Grade 50 ยึดกับ
แผนเหล็กประกับหนา 9 mm ชนิด ASTM A36 โดยใชสลักเกลียวขนาด 22 mm ชนิด ASTM A307
ดังรูป
(ก) ตรวจสอบระยะระหวางสลักเกลียวและระยะขอบ วาเปนไปตามมาตรฐานหรือไม
(ข) คํานวณกําลังออกแบบเนื่องจากแรงเฉือนและแรงกด
(ค) คํานวณกําลังที่ยอมใหเนื่องจากแรงเฉือนและแรงกด

[4],[Segui 7.4-2] รูปที่ P7.4-2 แผนรับแรงดึงหนา 12 mm ตอกับโดยมีแผนประกับสองดาน ความหนาแผน


ประกับแตละแผน 6 mm สลักเกลียว ASTM A325 ขนาด 22 mm เกลียวอยูใ นระนาบแรงเฉือน แผน
เหล็กชนิด ASTM A36
(ก) ตรวจสอบระยะระหวางสลักเกลียวกับระยะขอบวาเปนไปตามมาตรฐานหรือไม
(ข) คํานวณหากําลังรับแรงของรอยตอจากแรงเฉือนและแรงกด
แบบฝกหัดเรื่องรอยตอโดยใชตัวยึด 383

[5],[Segui 7.4-3] จงหาจํานวนของสลักเกลียว ASTM A325 เกลียวอยูในระนาบแรงเฉือน ขนาดสลักเกลียว


19 mm แถวเดียวแนว a-b รูปที่ P7.4-3 โดยพิจารณาจากผลแรงเฉือนและแรงกด แรงที่แสดงเปน
น้ําหนักบรรทุกใชงาน ชนิดเหล็ก ASTM A36 กําลังรับแรงกดพิจารณาจากขีดจํากัดบนของ 2.4Fu dt
(ก) โดยวิธี AISC/LRFD
(ข) โดยวิธี AISC/ASD

[6],[Segui 7.4-4] แผนประกับเหล็กในรูป P7.4-4 มีความหนาแผนละ 6 mm จงหาวาจะตองใชสลักเกลียวกี่


ตัว เมื่อสลักเกลียว ASTM A325 เกลียวอยูในระนาบแรงเฉือน ขนาดสลักเกลียว 22 mm แผนเหล็ก
ชนิด ASTM A36 แรงที่แสดงเปนน้ําหนักบรรทุกใชงาน โดยน้ําหนักบรรทุกคงที่ 25% และน้ําหนัก
บรรทุกจร 75%
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[7],[Segui 7.4-5] ทอนรับแรงดึงตามรูปเปนเหล็กฉากขาไมเทากันขนาด L − 150 × 100 × 12 mm ยึดกับ


แผนประกับเหล็กหนา 12 mm โดยใชสลักเกลียวขนาด 19 mm ชนิด ASTM A325 เกลียวอยูในระนาบ
แรงเฉือน ทั้งเหล็กฉากและแผนประกับเหล็กเปนชนิด ASTM A36 จงหาน้ําหนักบรรทุกใชงานของ
รอยตอเมื่อพิจารณาจากแรงเฉือนในสลักเกลียวและแรงกด ใหน้ําหนักบรรทุกจรเปน 2 เทาของ
น้ําหนักบรรทุกคงที่
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
384 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[8],[Segui 7.4-6] เหล็กฉากคูขนาด 2L − 100 × 75 × 10 mm LLBB ยึดกับแผนประกับหนา 9 mm ดวยสลัก


เกลียวขนาด 22 mm ชนิด ASTM A325 ดังรูป P7.4-6 เหล็กฉากและแผนประกับตางเปนชนิด ASTM
A36 รอยตอนีร้ ับแรงเฉือนและแรงแบกทานไดหรือไม ใหคาดการณดว ยวาเกลียวจะอยูในระนาบแรง
เฉือนหรือไม
(ก) โดยวิธี AISC/LRFD
(ข) โดยวิธี AISC/ASD

รอยตอแบบวิกฤตการไถล และแบบรับแรงกด

[9],[Segui 7.6-1] เหล็กฉากคูขนาด 2L − 150 × 150 × 15 mm ยึดกับแผนประกับเหล็กหนา 15 mm ดังรูป


P7.6-1 จงคํานวณหาน้ําหนักบรรทุกใชงานสูงสุดที่รับได หากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงานเปน 8.5 เทา
ของน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน สลักเกลียวขนาด 22 mm ชนิด ASTM A325 แบบรับแรงกด เหล็กฉาก
ชนิด ASTM A572 Grade 50 แผนประกับเหล็กชนิด ASTM A36
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดเรื่องรอยตอโดยใชตัวยึด 385

[10],[Segui 7.6-2] จงหาจํานวนของสลักเกลียวขนาด 22 mm ชนิด ASTM A325 แบบรับแรงกด สําหรับยึด


รอยตอรับแรงดึงในรูป P7.6-2 ใหเกลียวไมอยูในระนาบรับแรงเฉือน
(ก) โดยวิธี AISC/LRFD
(ข) โดยวิธี AISC/ASD

[11],[Segui 7.6-3] ทอนรับแรงดึงรูปตัดที WT175 × 24.8 ชนิด ASTM A572 Grade 50 โดยยึดกับแผน
ประกับเหล็กหนา 9 mm ชนิด ASTM A572 Grade 50 ดวยสลักเกลียวขนาด 22 mm โดยยึดที่ปก ของ
ตัวที การยึดเปนแบบรับแรงกด แรงดึงจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 20 ตัน และจากน้ําหนักบรรทุก
จรใชงาน 40 ตัน ใหกําลังแบกทานระบุตามสมการ Pbrn = 2.4Fu d b t จงตอบคําถามตอไปนี้
(ก) สลักเกลียวชนิด ASTM A307 ตองใชกี่ตวั
(ข) สลักเกลียวชนิด ASTM A325 ตองใชกี่ตวั
(ค) สลักเกลียวชนิด ASTM A490 ตองใชกี่ตวั
386 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

(ง) ถาราคาของสลักเกลียว A307, A325, และ A490 เปนอัตราสวน 1.0 : 1.7 : 2.6 สลักเกลียว
ชนิดใดที่ประหยัดที่สุด
[12],[Segui 7.6-4] (ก) ใหทําตารางแสดงคากําลังรับแรงเฉือนและกําลังวิกฤตการไถลของสลักเกลียวชนิด
ASTM A325 ตั้งแตขนาด 12 mm ถึง 38 mm โดยเพิ่มคราวละ 3 mm ใหผิวและเกลียวอยูใ นระนาบ
แรงเฉือน ตารางที่แสดงนี้เปนตัวอยาง โดยทานตองแปลงหนวยใหเหมาะสม
(ข) จากตารางที่ได สรุปผลวาอยางไร

[13],[Segui 7.6-5] แผนเหล็กชนิด ASTM A36 ขนาดกวาง 165 mm หนา 12 mm เปนทอนรับแรงดึงดังรูปที่


P7.6-5 แผนประกับเหล็กชนิด ASTM A36 หนา 15 mm สลักเกลียวขนาด 28 mm ชนิด ASTM A325
แบบมีแรงฝด (ไมไถล) น้ําหนักบรรทุกจรใชงานเปน 3 เทาของน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน จง
คํานวณหากําลังรับแรงดึงใชงานสูงสุด P ที่รอยตอรับได โดยพิจารณาการวิบัติในทุกๆ กรณีที่เปนไป
ได
ใชวิธี AISC/LRFD
ใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดเรื่องรอยตอโดยใชตัวยึด 387

[14],[Segui 7.6-6] ทอนรับแรงดึงในรูป P7.6-6 เปนเหล็กฉาก L − 150 × 90 × 12 mm ยึดดวยสลักเกลียว


ขนาด 28 mm แบบมีแรงฝด ASTM A325 แผนประกับเหล็กหนา 9 mm รับแรงดึงจากน้ําหนักบรรทุก
คงที่ใชงาน 9 ตัน และจากน้าํ หนักบรรทุกจรใชงาน 27 ตัน และจากแรงลมใชงาน 9 ตัน ความยาวของ
ชิ้นสวน 2.70 เมตร ชนิดเหล็กทั้งเหล็กฉากและแผนประกับเปน ASTM A36 รอยตอนี้รับแรงกระทํา
ไดหรือไม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
388 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แบบฝกหัดการออกแบบจุดตอรับแรงผานศูนยถวง

[15],[Segui 7.7-1] ทอนรับแรงดึงเปนเหล็กราง C − 200 × 30.3 ชนิดเหล็ก ASTM A242 แผนประกับเหล็ก


ชนิด ASTM A36 หนา 12 mm ดังแสดงในรูป P7.7-1 แรงดึงจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 18 ตัน
และจากน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 36 ตัน จุดตอเปนแบบมีความฝด (slip-critical) สลักเกลียวชนิด
ASTM A325 ขนาด 34 mm จะตองใชกี่ตวั เขียนแสดงตําแหนงของสลักเกลียวที่เปนไปได สมมติวา
กําลังรับแรงดึงและกําลังรับแรงดึงรวมกับแรงเฉือน (block shear) ของเหล็กรางเพียงพอ หากไมแนใจ
ใหตรวจสอบดวย
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[16],[Segui 7.7-2] จงออกแบบจุดตอโดยใชเหล็กฉากเดี่ยว แผนประกับเหล็ก และสลักเกลียว ตามเงื่อนไข


ตอไปนี้
- น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 22,680 kg น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 45,360 kg แรงลม 20,400 kg
- สลักเกลียวชนิด ASTM A325 แบบมีแรงฝด
- แผนประกับเหล็กหนา 9 mm
- ทั้งเหล็กฉากและเหล็กประกับเปนชนิด ASTM A36
- ความยาว 6.00 เมตร
ใหเขียนรายละเอียดใหมากเพียงพอที่จะนําไปกอสรางได
(ก) โดยวิธี AISC/LRFD
(ข) โดยวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดเรื่องรอยตอโดยใชตัวยึด 389

[17],[Segui 7.7-3] ใหออกแบบทอนรับแรงดึงและจุดตอที่ปลายตามเงือ่ นไขตอไปนี้


- ความยาว 4.50 เมตร
- ใชแผนประกับเหล็กหนา 9 mm
- เหล็กทุกชนิดใช ASTM A36
- รอยตอยึดดวยสลักเกลียวกําลังสูงแบบมีแรงฝด
- แรงดึงคงที่ใชงาน 20.5 ตัน แรงดึงจรใชงาน 47.6 ตัน
ทอนรับแรงดึงเปนเหล็กฉากคูชนิดขาไมเทากัน ขายาวหันหลังเขาหากัน
ใหเขียนแบบแสดงจุดตอที่เพียงพอในการนําไปกอสรางไดจริง
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

การออกแบบสลักเกลียวกําลังสูงในการรับแรงดึง

[18],[Segui 7.8-1] ใหตรวจสอบรอยตอโดยพิจารณาถึงผลของตัวที สลักเกลียว รวมทั้งการโกงตัวของปกตัว


ที (prying)
โดยวิธี AISC/LRFD
โดยวิธี AISC/ASD
390 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[19],[Segui 7.8-2] จงหาวาจุดตอสําหรับการแขวนในรูป P7.8-2 สามารถรับแรงกระทําไดหรือไม พิจารณา


การโกงตัวของขาเหล็กฉากดวย
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

การออกแบบจุดตอที่ตัวยึดรับทั้งแรงดึงและแรงเฉือน

[20],[Segui 7.9-1] รูปที่ P7.9-1 ประกอบดวยเสา W300 × 94 มีชิ้นสวนตัวที WT150 × 47 ยึดปกติดกับ


ปกเสาดวยสลักเกลียวขนาด 22 mm ชนิด ASTM A325 ชนิดรับแรงกด จํานวน 8 ตัวสองขางของปก
ขางละ 4 ตัว น้ําหนักบรรทุกใชงานมีแนวแรงผานเซนทรอยดของกลุมสลักเกลียว ใหตรวจสอบวา
รอยตอนี้รับแรงไดหรือไม
(ก) โดยวิธี AISC/LRFD
(ข) โดยวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดเรื่องรอยตอโดยใชตัวยึด 391

[21],[Segui 7.9-2] รูปที่ P7.9-2 แทนตัวทียึดกับปกเสาโดยใชสลักเกลียวหกตัว เหล็กทุกสวนเปน ASTM


A992 ใหตรวจสอบวาจุดตอนี้สอดคลองกับขอกําหนดของ AISC หรือไม สมมติวาการรับแรงกด
เปนไปตามขีดจํากัดบนของ 2.4Fu d b t f
(ก) โดยวิธี AISC/LRFD
(ข) โดยวิธี AISC/ASD

[22],[Segui 7.9-3] จุดตอในรูปที่ P7.9-3 จงหาวาจะตองใชสลักเกลียวขนาด 22 mm ชนิด ASTM A325 แบบ


รับแรงกด จํานวนกี่ตัว แรง 36,000 kg เปนน้ําหนักบรรทุกใชงานโดยเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน
9,000 kg และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 27,000 kg ใหเกลียวอยูใ นระนาบแรงเฉือน กําลังรับแรงกดให
ใชขีดจํากัดบนของ 2.4Fu d b t f
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
392 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[23],[Segui 7.9-4] รูปที่ P7.9-4 ทอนรับแรงดึงเหล็กฉากคูยึดกับแผนประกับเหล็กหนา 22 mm แลวมีเหล็ก


ฉากคูยึดแผนประกับเขากับปกของเสา แรงที่กระทําเปนน้ําหนักบรรทุกใชงานที่แบงเปนน้ําหนัก
บรรทุกคงที่ใชงาน 25% และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 75% จุดตอทุกสวนใชสลักเกลียวขนาด 22
mm ชนิด ASTM A490 แบบมีแรงฝด ใหเกลียวอยูใ นระนาบแรงเฉือน ใหคํานวณหาจํานวนสลัก
เกลียวทีต่ องใช และเขียนแสดงตําแหนงของสลักเกลียวเพื่อใหกอสรางไดจริง เสาเปนเหล็ก ASTM
A992 สวนเหล็กฉากและแผนประกับเปน ASTM A36
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[24],[Segui 7.9-5] รูปที่ P7.9-5 แทนรับแรงดึงตัวทีตัดและเสริมจากหนาตัด W − 300 × 94 หันปกไปยึดกับ


ปกเสา W − 300 × 94 โดยใชสลักเกลียวชนิด ASTM A325 แบบมีแรงกด จํานวน 12 ตัว เหล็ก
โครงสรางเปน ASTM A992 แนวแรงผานเซนทรอยดของสลักเกลียว จงหาขนาดของสลักเกลียว
(ก) โดยวิธี AISC/LRFD
(ข) โดยวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดเรื่องรอยตอโดยใชตัวยึด 393

จุดตอแบบเยื้องศูนย พิจารณาเฉพาะแรงเฉือน

[25],[Segui 8.2-1] ใหใชวิธีอิลาสติกในการหาแรงเฉือนสูงสุดที่เกิดขึน้ ในสลักเกลียว รูป P8.2-1

[26],[Segui 8.2-2] รูปที่ P8.2-2 กลุมของสลักเกลียวขนาด 19 mm ชนิด ASTM A325 แบบมีแรงฝด รับแรง
เฉือนหนึ่งระนาบ ใหกําลังรับแรงกดมากพอ (ความหนาของแผนเหล็กมากพอ) ใหใชวิธีอิลาสติก
คํานวณ
(ก) น้ําหนักบรรทุกเพิ่มคาสูงสุดที่รับไดเมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) น้ําหนักบรรทุกใชงานสูงสุดที่รับไดเมื่อใชวิธี AISC/ASD
394 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[27],[Segui 8.2-3] ตามรูป P8.2-3 เชิงยื่น (bracket) ทําจากแผนเหล็กยึดเขากับปกเสาดังแสดง ใหใชวิธี


วิเคราะหแบบอิลาสติกหาแรงเฉือนสูงสุดในสลักเกลียว

[28],[Segui 8.2-4] ตัวยึดในรูป P8.2-4 ไมไดวางตัวในแนวเซนทรอยดของเหล็กฉากโดยจะอยูในแนว


กึ่งกลางของขาตั้งที่ตัวยึดอยู จงหาแรงสูงสุดที่เกิดจากการเยื้องศูนย

[29],[Segui 8.2-5] รูปที่ P8.2-5 เปนแผนเหล็กทําเปนเชิงยื่นยึดกับปกเสา ใหวิเคราะหโดยวิธีอิลาสติกหาแรง


เฉือนสูงสุดในสลักเกลียว
แบบฝกหัดเรื่องรอยตอโดยใชตัวยึด 395

[30],[Segui 8.2-6] แรงที่กระทําบนเชิงยื่นประกอบดวยน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 9 ตัน และน้ําหนักบรรทุก


จรใชงาน 13.5 ตัน สลักเกลียวชนิด ASTM A325 แบบรับแรงกด จะตองใชขนาดเทาใด ใชวิธี
วิเคราะหแบบอิลาสติก และความหนาของแผนเหล็กมากพอที่จะตานทานแรงกดไดโดยปลอดภัย
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[31],[Segui 8.2-7] จงหาขนาดของสลักเกลียวชนิด ASTM A325 แบบรับแรงกด วิเคราะหโดยวิธีอิลาสติก


ความหนาของแผนเหล็กมากพอที่จะรับแรงกดไดอยางปลอดภัย
396 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[32],[Segui 8.2-8] ใหใชสลักเกลียวชนิด ASTM A325 แบบมีแรงฝด เลือกขนาดของสลักเกลียว แรงกระทํา


ที่แสดงเปนน้าํ หนักบรรทุกใชงาน วิเคราะหโดยวิธีอิลาสติก ใหความหนาของแผนเหล็กมากพอทีจ่ ะ
รับแรงกดไดโดยปลอดภัย
(ก) โดยวิธี AISC/LRFD
(ข) โดยวิธี AISC/ASD

[33],[Segui 8.2-9] รูปที่ P8.2-9 ใชสลักเกลียวชนิด ASTM A325 แบบรับแรงกด (ไถลได) ใหวเิ คราะหโดย
วิธีอิลาสติก หาขนาดของสลักเกลียวที่ใช แรง 4,500 kg แบงเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 1,125 kg
และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 3,375 kg เหล็กที่ใชเปนชนิด ASTM A36
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดเรื่องรอยตอโดยใชตัวยึด 397

[34],[Segui 8.2-10] ยึดแผนเหล็กเขาดานหลังของเหล็กราง ดังรูป P8.2-10


ใหวเิ คราะหวธิ ีอิลาสติกหาแรงสูงสุดในสลักเกลียว

[35],[Segui 8.2.12] รูปที่ P8.2-12 สลักเกลียวขนาด 19 mm ชนิด ASTM A325 แบบรับแรงกด และรับแรง
เฉือนระนาบเดียว สมมติแผนเหล็กหนาพอที่จะรับแรงกดไดโดยปลอดภัย จงหา
(ก) แรงเพิ่มคาที่ยอมให เมื่อใชวธิ ี AISC/LRFD
(ข) แรงใชงานทีย่ อมให เมื่อใชวธิ ี AISC/ASD

[36],[Segui 8.2-13] สลักเกลียวขนาด 19 mm ชนิด ASTM A325 แบบรับแรงกด และรับแรงเฉือนระนาบ


เดียว สมมติเหล็กหนาพอที่จะรับแรงกดไดโดยปลอดภัย จุดตอนี้รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 18 ตัน
และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 40.8 ตัน สลักมีแนวทางดิ่ง 4 แนว ตําแหนงของแรงกระทําตรงกับแนว
ลางสุดของสลักเกลียว จํานวนสลักเกลียวในแนวดิ่งจะตองเปนเทาใด (แทนที่จะเปน 3 ดังแสดง)
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
398 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

จุดตอเยื้องศูนยดวยสลักเกลียวที่รับทั้งแรงดึงและแรงเฉือน
[37],[Segui 8.3-1] ใหตรวจสอบวากลุมสลักเกลียวนีร้ ับแรงไดหรือไม แรงที่แสดงเปนน้ําหนักบรรทุกใช
งาน
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[38],[Segui 8.3-2] ยึดคานเขากับเสาโดยใชสลักเกลียวขนาด 22 mm ชนิด ASTM A325 แบบรับแรงกด ดัง


รูป P8.3-2 สลักเกลียว 8 ตัวยึดปกตัวทีกบั ปกเสา ชนิดเหล็ก ASTM A992 การยึดกันระหวางปกตัวที
กับปกเสาเพียงพอหรือไม
(ก) เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) เมื่อใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดเรื่องรอยตอโดยใชตัวยึด 399

[39],[Segui 8.3-3] ใหตรวจสอบวากลุมสลักเกลียวที่กําหนดรับน้ําหนักบรรทุกใชงานไดหรือไม


(ก) ใชวธิ ี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[40],[Segui 8.3-4] ใหตรวจสอบวากลุมสลักเกลียวที่กําหนดรับน้ําหนักบรรทุกใชงานไดหรือไม


(ก) ใชวธิ ี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
400 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[41],[Segui 8.3-5] รูปที่ P8.3-5 ใหตรวจสอบวากลุมสลักเกลียวรับแรงไดหรือไม แรงที่แสดงเปนน้ําหนัก


บรรทุกใชงานโดยเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ 33% และน้ําหนักบรรทุกจร 67% สลักเกลียวขนาด 22 mm
ชนิด ASTM A325 แบบรับแรงกด ใหความหนาแผนเหล็กมากพอที่จะรับแรงกดไดโดยปลอดภัย
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[42],[Segui 8.3-6] รูปที่ P8.3-6 ปกของรูปตัดที WT − 150 × 18.35 ที่ทําเปนเชิงยืน่ ยึดติดกับปกของเสา


W − 350 × 136 เหล็กชนิด ASTM A992 กลุมสลักเกลียวรับน้ําหนักบรรทุกใชงานที่กําหนดนีไ้ ด
หรือไม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[43],[Segui 8.3-7] รูปที่ P8.3-7 คานยึดติดกับเสาโดยใชสลักเกลียวขนาด 19 mm ชนิด ASTM A325 แบบมี


แรงฝด คานและเสาเปนชนิดเหล็ก ASTM A992 สวนเหล็กฉากเปน ASTM A36 แรง R เปนแรง
ปฏิกิริยาของคานซึ่งเทากับกําลังของสลักเกลียว 10 ตัวทีย่ ึดเหล็กฉากกับเสา จงหา
(ก) แรงปฏิกิริยาสูงสุดจากน้ําหนักเพิ่มคา R u เมื่อใชวิธี AISC/LRFD
(ข) แรงปฏิกิริยาสูงสุดที่ยอมให R a เมื่อใชวิธี AISC/ASD
แบบฝกหัดเรื่องรอยตอโดยใชตัวยึด 401

[44],[Segui 8.3-8] เชิงยืน่ ตัดจากรูป WT ยึดติดกับปกเสาดวยสลักเกลียว 10 ตัว ชนิด ASTM A325 แบบมี
แรงฝด ดังรูปที่ P8.3-8 เหล็กที่ใชเปนชนิด ASTM A992 แรงที่กระทําเปนน้ําหนักบรรทุกใชงานโดย
แบงเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ 30% และน้าํ หนักบรรทุกจร 70% ตองใชขนาดของสลักเกลียวเทาใด
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[45],[Segui 8.3-9] จากรูปที่ P8.3-9 ใหเหล็กฉากเปน ASTM A36 สวนเสาและคานเปน ASTM A992 ใหใช
วิธี AISC/ASD/LRFD
(ก) ออกแบบคานชวงเดียวตามเงื่อนไขที่แสดง โดยนอกจากน้ําหนักตัวคานเองยังตองรับน้ําหนัก
บรรทุกจรใชงาน 6,000 kg/m ใหถือวาปกรับแรงอัดมีคา้ํ ยันพอเพียงตลอดความยาว ไมตอง
พิจารณาเรื่องการโกงตัว
(ข) ออกแบบสลักเกลียวทั้งหมด เหล็กฉากคู ไมตองพิจารณาการเยื้องศูนย สลักเกลียวแบบรับแรงกด
(ค) ใหพิจารณาผลการเยื้องศูนย และปรับแกการออกแบบที่ไดจากขอ (ข)
(ง) ใหเขียนรายละเอียดตามผลการออกแบบ ใหสามารถนําไปกอสรางได
402 การออกแบบโครงสรางเหล็ก
การตอโครงสรางโดยการเชื่อม 403

บทที่ 7 การตอโครงสรางโดยการเชื่อม
7.1 การตอโครงสรางโดยการเชื่อม (Welded Connections)
การตอโครงสรางเหล็กในปจจุบันนีน้ ิยมใชวิธีเชื่อมไฟฟา (arc welding) แรงดันไมสูงนักแตกระแสสูง
บริเวณทีจ่ ะเชือ่ มมีสภาพความตานทานกวาบริเวณอืน่ จึงมีความรอนสูงเหล็กละลายโดยมีลวดเชื่อมเปนสวน
พอกเสริมเนื้อใหมากขึน้
การเชื่อมแบบที่มีเปลือกหุม (shielded metal arc welding : SMAW) สวนของเปลือกหุมซึ่งบางครั้งก็
เรียกวา ฟลักซ จะละลายหุม อยูผิวนอกของเหล็กที่หลอมเหลวจนแข็งตัวรอนแดงอยู ทําหนาที่ปอ งกันไมให
ออกซิเจนและกาซอื่นเขาผสมกับเหล็กจนเสียกําลัง เมื่อเย็นลงแลวตองเคาะเอาเปลือกหุมนี้ออกไป ยิ่งถาเปน
การเชื่อมพอใหหนาขึน้ ตองเอาเปลือกหุมออกใหหมด หากไมหมดจะเปนสวนโพรงที่ทําใหรอยเชื่อมไม
แข็งแรง การเชื่อมแบบนีท้ ําไดงายจึงนิยมทําในสนามที่ควบคุมแนวเชื่อมดวยมือจึงตองอาศัยความชํานาญ
ของชาง
การเชื่อมใตฟลักซ (submerged (hidden) arc welding :SAW) ใชผงฟลักซ (flux) คลุมรอยเชื่อม ลวด
เชื่อมเปนขดปลอยตอเนื่องและเลื่อนอยางตอเนื่อง รอยเชื่อมจะลึกและเรียบจากการทํางานแบบอัตโนมัติ การ
เชื่อมแบบนี้ทาํ ในโรงงาน และมักจะเปนการผลิตชิ้นสวนโครงสรางเชน plate girder เนื่องจากไมมีขนาด
มาตรฐานผลิตออกมาขายตองประกอบขึ้นเอง อยางไรก็ตามการใชผงฟลักซก็ยงั ตองมีการขจัดตะกรัน
ออกไป ปจจุบันมีการใชกาซเฉื่อยเชนอารกอนพนคลุมรอยเชื่อมในระหวางยังหลอมเหลว วิธีนี้ไดผลดีที่สุด
และยังไมตองขจัดตะกรันดวย แตมีราคาสูงจึงใชในการเชื่อมเครื่องมือที่มีรอยเชื่อมไมมากนัก
การเชื่อมดวยกาซ เชนกาซอะเซตทิลีนกับออกซิเจน พนเปลวไฟสีน้ําเงิน ลวดเชื่อมเล็กๆ ยาวประมาณ
90 cm โดยมีการใชฟลักซตามโลหะเชื่อม นิยมใชในการเชื่อมเครื่องมือ
ทาทางหรือตําแหนงในการเชื่อม ไดแก เชื่อมในแนวราบ (flat weld) เชื่อมในแนวนอน (horizontal
weld) เชื่อมในแนวตั้ง (vertical weld) หรือเชื่อมในแนวเงย (overhead weld) เรียงลําดับจากงายไปยาก
รูปแบบของการเชื่อมตอโลหะ อาจจะเปน รอยตอแบบตอชน (butt joint) รอยตอแบบตอทาบ (lap
joint) รอยตอแบบตัวที (tee joint) รอยตอแบบตอขอบ (edge joint) หรือรอยตอแบบตอมุม (corner joint)
แบบของการเชื่อมตอ จากวิธีการเชื่อม ทาทางหรือตําแหนงการเชื่อม และรูปแบบการตอทอนโลหะ
อาจจะจําแนกแบบของการตอเชื่อมไดสามแบบดังนี้
(ก) การเชื่อมตอแบบฟลเลต (fillet weld) หรือ การเชื่อมแบบตอทาบ โดยเชื่อมตามแนวยาวหรือตาม
แนวขวางของชิ้นสวนตรงสวนที่ทํามุมฉากกัน โดยนําแผนเหล็กมาทาบซอนกัน ตรงปลายรอยทาบซึ่งมักจะ
ตั้งฉากกัน รอยเชื่อมจะพอกลงตรงนี้ รอยตอรับไดทั้งแรงดึง แรงอัด แรงเฉือน แรงดัด แตเนื้อรอยเชื่อมจะเกิด
แรงเฉือนอยางเดียว วิธีนใี้ ชงานมากกวา 80 % เพราะงาย ราคาถูก รวดเร็ว
404 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

(ข) การเชื่อมแบบตอชนหรือในรอง (Butt weld หรือ Groove weld) ที่ปลายที่ชนกันมีการลบเหลีย่ ม


เปนรอง V หรือครึ่ง V ลักษณะอาจจะเปนการเชื่อมเต็มความหนาของชิ้นสวน (complete penetration) หรือ
เชื่อมบางสวนไมเต็มความหนา (partial penetration) วิธีนี้จะราคาแพง แตไดชิ้นงานที่เรียบรอย เหมาะ
สําหรับสวนรับแรงดึงและแรงอัดโดยตรง
(ค) การเชื่อมอุดแบบปลั๊กหรือสลอต (plug หรือ slot weld) โดยนําแผนเหล็กมาซอนทาบกัน แผน
หนึ่งมีการเจาะรูหรือเซาะเปนรองยาว (ไมเต็มความยาวระยะทาบ) แลวเชื่อมอุดใหเต็มรูหรือชอง รอยตอ
แบบนี้รับแรงเฉือนไดดี แตการทําใชเวลานานเหล็กที่นาํ มาตออาจจะบิดตัวได
ลวดเชื่อม บอกสัญลักษณวา E_XX ตัว E หมายถึงลวดเชื่อม (electrode) ตัวเลขสองตัวถัดไปเชน 70
เปนตัวบอกกําลังรับแรงดึงประลัยไดไมนอยกวา 70 ksi (kips per square inch) แรง 1 kip หรือ 1 กิโลปอนด
หรือ 1000 ปอนด สําหรับ XX บอกลักษณะการเคลือบผิวหรือเปลือกหุมลวดเชื่อมรวมถึงตําแหนงหรือทา
เชื่อมที่เหมาะสมกับงาน ดังนั้นตองเลือกลวดเชื่อมใหเหมาะสมกับชิ้นงานและสภาพใชงาน เชน
E 60 ใชกับเหล็กทีม่ ีกําลังครากไมเกิน 42 ksi (2950 ksc) เชน ASTM A36
E 70 ใชกับเหล็กทีม่ ีกําลังครากไมเกิน 55 ksi (3860 ksc) เชน ASTM A36 (Fy = 36 ksi), A572 Grade
50 (Fy = 50 ksi)
E 80 ใชกับเหล็กทีม่ ีกําลังครากไมเกิน 65 ksi (4570 ksc) เชน ASTM A572 Grade 60 (Fy = 60 ksi)
หรือ ASTM A572 Grade 65 (Fy = 65 ksi)
การตรวจสอบรอยเชื่อม ในขั้นแรกจะเปนการสังเกตดวยตา แลวอาจจะใชเอ็กซเรย เสียงอุลตราโซนิก
เพื่อดูเขาไปในเนื้อรอยเชื่อมวามีโพรงหรือไม
การวิบัติของรอยตอเชื่อม และเนื้อที่ประสิทธิผลของรอยเชื่อม 405

7.2 การวิบัติของรอยเชื่อม และเนื้อที่ประสิทธิผลของรอยเชื่อม


การวิบัติของรอยตอเชื่อมมีสองลักษณะคือ การวิบัติที่รอยเชื่อม หรือ การวิบัติที่ชิ้นสวน โดยเกิดจาก
แรงดึง แรงอัด แรงเฉือน โมเมนต สวนแรงที่เกิดขึ้นในรอยเชื่อมสวนใหญจะเปนแรงเฉือน

รูปที่ 7.2 แสดงระนาบการวิบัติของรอยเชื่อมหรือที่แผนเหล็ก แนว 1-1 และ 3-3 คือแนวขาดของ


ชิ้นสวน แตแนว 2-2 เปนแนวขาดที่ผานรอยเชื่อมและเปนแนวที่สั้นที่สุด เรียกวา เนื้อที่ประสิทธิผลของรอย
เชื่อม (effective weld area) ระยะที่สั้นทีส่ ุดเรียก ความหนาประสิทธิผล (effective throat thickness) เมื่อคูณ
กับความยาวของรอยเชื่อมก็จะเปนเนื้อที่ประสิทธิผลของรอยเชื่อม
406 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

การเชื่อมแบบตอทาบที่มีขนาดขาเชื่อมเทากัน (equal leg fillet weld) ความหนาประสิทธิผลจะเอียง 45


องศา จึงมีความยาว 2 = 0.707 ของขนาดขาเชื่อม แตถาเปนการเชื่อมใตฟลักซ (SAW) จะมีความยาวมาก
ขึ้น แตในกรณีที่ขนาดขาเชือ่ มไมเทากัน (unequal leg fillet weld) ความหนาประสิทธิผลจะเปนระยะตั้งฉาก
จากมุมการเชือ่ ม (root of the weld) ไปยังผิวเชื่อมสมมติ
ในกรณีการเชือ่ มแบบตอชน และเชื่อมลึกตลอดความหนาของแผนเหล็ก
เนื้อที่ประสิทธิผล = ความหนาของชิ้นสวนที่บางกวา × ความยาวของการเชื่อม
สําหรับการเชื่อมในรู หรือ ในชอง
เนื้อที่ประสิทธิผล = เนื้อที่หนาตัดของรูหรือชองที่รับแรงกระทํา

7.3 สัญลักษณมาตรฐานของการเชื่อม

รูปที่ 7.4 แสดงสัญลักษณของการเชื่อมแบบตางๆ ตามมาตรฐานอเมริกัน (American Welding


Society) โดยมาตรฐาน AISC นํามาใชเปนการกําหนดวิธีเขียนบอกใหชางเชื่อมทราบถึง ลักษณะหรือวิธีการ
สัญลักษณมาตรฐานของการเชื่อม 407

เชื่อม ขนาดขาเชื่อม ความยาวของรอยเชื่อม ตําแหนงทีจ่ ะเชื่อม ลวดเชือ่ มที่จะใช โดยเขียนอธิบายบนหรือใต


เสนตรงแลวแตวาจะเชื่อมทางดานไหนของหัวลูกศรที่ชไี้ ปยังตําแหนงที่จะเชื่อม
ตัวอยางการใชสัญลักษณของการเชื่อม

7.4 การออกแบบรอยตอเชื่อม ตามมาตรฐาน AISC


ตารางที่ 7.1 เปนกําลังรับแรงของรอยเชื่อมตามมาตรฐาน AISC/ASD และตารางที่ 7.2 เปนกําลังรับ
แรงของรอยเชือ่ มตามมาตรฐาน AISC/LRFD โดยใชสําหรับการตอทาบ และแบบเชือ่ มในรูหรือในชอง แต
กําลังรอยเชื่อมตองเลือกจากคานอยของกําลังรับแรงของเนื้อเชื่อม กับ กําลังรับแรงของแผนเหล็กที่นํามาตอ
กัน
408 การออกแบบโครงสรางเหล็ก
การออกแบบรอยตอเชื่อมตามมาตรฐาน AISC 409
410 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

การตอเชื่อมแบบฟลเลตหรือแบบตอทาบ (fillet weld)


กําลังรับแรงของรอยเชื่อมแบบตอทาบ ใหหาจากกําลังรับแรงเฉือนบนเนื้อที่ประสิทธิผลของรอยเชื่อม
เสมอ ไมวาแรงที่กระทําจะอยูในทิศทางใด

โดยวิธี AISC/ASD

หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของลวดเชื่อม = (0.3FExx )(0.707 × size × L ) kg


หรือ = (0.3FExx )(0.707 × size ) kg/cm
เมื่อ L = ความยาวของรอยเชื่อม, cm
FExx = กําลังรับแรงดึงประลัยของลวดเชื่อม
FExx = 70 ksi = 4900 ksc สําหรับ E70 electrode
FExx = 60 ksi = 4200 ksc สําหรับ E60 electrode
size = ขนาดขาเชื่อม , cm
ดังนั้น หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของลวดเชือ่ ม Fv = [0.707(0.3FExx)]
เมื่อใชลวดเชื่อม E 70 ได Fv = 1040(size) kg/cm
เมื่อใชลวดเชื่อม E 60 ได Fv = 890(size) kg/cm

โดยวิธี AISC/LRFD

กําลังรับแรงประลัยของลวดเชื่อม = φFw A w โดยตัวคูณลดกําลัง φ = 0.75


กําลังรับแรงประลัยของลวดเชื่อม = (0.75)(0.6FExx )(0.707 × size × L ) kg
กําลังรับแรงประลัยของลวดเชื่อม = (0.45FExx )(0.707 × size) kg/cm
กําลังรับแรงประลัยของลวดเชื่อม = 1555(size) kg/cm เมื่อใชลวดเชื่อม E 70
กําลังรับแรงประลัยของลวดเชื่อม = 1335(size) kg/cm เมื่อใชลวดเชื่อม E 60
นอกจากพิจารณากําลังของลวดเชื่อมแลว ยังตองพิจารณากําลังของชิ้นสวนที่นํามาเชือ่ มตอดวย (BM:
Base Metal) เมื่อแรงที่รับเปนแรงดึง แรงอัด แรงเฉือน แรงเฉือนรวมกับแรงดึง (block shear) เชน
AISC/ASD การเฉือนขาดที่เหล็กแผนตามแนวรอยเชื่อม = 0.3FuABM
AISC/LRFD การเฉือนขาดที่เหล็กแผนตามแนวรอยเชื่อม = 0.75(0.6FuABM)
เมื่อ ABM = เนื้อที่หนาตัดของแผนเหล็กที่เชื่อม, cm2
มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD ใหขอกําหนดเพิ่มเติมเกีย่ วกับการเชื่อมแบบตอทาบ ดังนี้
(1) ขนาดเล็กสุดของขาเชื่อม ขึ้นอยูกับแผนเหล็กที่หนากวา ดังตารางที่ 7.3 แตตองไมเกินกวาความ
หนาของเหล็กที่บางกวา
หนวยแรงบนรอยเชื่อม 411

(2) ขนาดใหญสุดของขาเชื่อมแบบตอทาบ ใหเทากับความหนาของแผนเหล็กถาความหนาไมเกิน 6


mm แตถาความหนาเกิน 6 mm ขนาดใหญสุดของขาเชื่อมเทากับความหนาของแผนเหล็กลบออก 2 mm
(3) ความยาวของการเชื่อมแบบตอทาบ ตองไมนอยกวา 4 เทาของขนาดขาเชื่อม ความยาวของการ
เชื่อมที่ปลายแผนเหล็กแบน (Flat bar) ที่รับแรงดึงตองไมนอยกวาระยะหางตั้งฉากระหวางแนวเชื่อม ซึ่ง
ระยะระหวางแนวเชื่อมไมควรเกิน 20 cm เวนแตไดพิจารณาเนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล
(4) ควรมีการเชื่อมออมปลาย (end return) โดยมีความยาวไมนอยกวา 2 เทาของขนาดขาเชื่อม เพื่อ
กระจายหนวยแรง (high stress concentration) ในการคํานวณใหถือสวนที่ออมปลายนี้รับแรงไดดว ย
(5) ระยะทาบของแผนเหล็ก อยางนอย 5 เทาของความหนาของแผนเหล็กที่บางกวา แตตองไมนอย
กวา 25 mm
(6) ความยาวของรอยเชื่อมแบบเวนระยะ ตองไมนอยกวา 4 เทาของขนาดขาเชื่อมหรือ 38 mm

7.5 หนวยแรงบนรอยเชื่อม
หนวยแรงที่เกิดขึ้นบนรอยเชือ่ มเมื่อตองรับแรงกระทําในลักษณะตางๆ สามารถหาไดจาก สูตรแรงใน
P Mc Tr VQ
แนวแกน f= สูตรแรงดัด f= สูตรแรงบิด f= สูตรแรงเฉือนในคาน f= ดังแสดงใน
A I J It
รูปที่ 7.6
412 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

7.6 วิธีออกแบบรอยตอเชื่อมเพื่อรับแรงรวมศูนย
รอยตอที่แรงกระทําผานเซนทรอยดหรือศูนยถวงของรอยตอเชื่อม เรียกวา รอยตอเชื่อมรับแรงรวม
ศูนย หนวยแรงที่เกิดขึ้นจะถือวากระจายสม่ําเสมอ หนวยแรงที่เกิดขึ้นอาจจะเปนหนวยแรงดึง หนวยแรงอัด
หนวยแรงเฉือน แตในการตอทาบนั้น หนวยแรงที่เกิดขึน้ ในรอยเชื่อมจะเปนหนวยแรงเฉือน ซึ่งตองไมเกิด
กวาคาที่มาตรฐานกําหนด
ในเหล็กฉาก แนวเซนทรอยดจะไมอยูกึ่งกลางแตจะคอนไปทางขาตั้ง ความยาวรอยเชื่อมดานขาตั้งจะ
มากกวาทางดานขานอน ดังรูปที่ 7.7 การหาความยาวรอยเชื่อมทําไดดังนี้
วิธีออกแบบรอยตอเชื่อมเพื่อรับแรงรวมศูนย 413

ให P = แรงกระทําผานแนวศูนยถวงของเหล็กฉาก
P1 = แรงตานทานของรอยเชื่อมดานยาว
P2 = แรงตานทานของรอยเชื่อมดานสั้น
L1 = ความยาวรอยเชื่อมดานยาว
L2 = ความยาวรอยเชื่อมดานสั้น
Pw = กําลังรับแรงของรอยเชือ่ มตอหนวยความยาว
ใหแนว P2 เปนจุดหมุน สมการสมดุลโมเมนต
[∑ M P 2 = 0] Pb = P1 (a + b)
Pb
P1 = =P L
(a + b ) w 1
P Pb
L1 = 1 =
Pw Pw (a + b )
ใหแนว P1 เปนจุดหมุน สมการสมดุลโมเมนต
[∑ M P1 = 0] Pa = P2 (a + b)
Pa
P2 = =P L
(a + b ) w 2
P Pa
L2 = 2 =
Pw Pw (a + b )
414 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

7.7 วิธีออกแบบรอยเชื่อมตอรับแรงเยื้องศูนย
รอยตอรับแรงไมผานศูนยถว งของรอยตอ เรียกวา รอยเชื่อมตอรับแรงเยื้องศูนย ดังรูปที่ 7.8 เมื่อยาย
แรงใหไปผานจุดศูนยถวงของรอยตอเพื่อใหหนวยแรงเฉือนกระจายสม่าํ เสมอ ผลการยายแรงจะเกิดโมเมนต
ดัดหรือโมเมนตบิด ที่ทําใหเกิดแรงดึง แรงอัด หรือแรงเฉือนสวนเพิ่ม รอยเชื่อมจุดที่หางจากศูนยถวงมาก
ที่สุดจะรับแรงดึงหรือแรงอัดมากที่สุด เมื่อรวมหนวยแรงที่เกิดจากแรงตามแนวแกนและแรงจากโมเมนต
จะตองมีคาไมเกินกวาที่มาตรฐานกําหนด
การตอปลายคาน 415

7.8 การตอปลายคาน
รูปที่ 7.9 และรูปที่ 7.10 เปนรอยตอเชื่อมปลายคานกับเสา

ปลายของคานชวงเดียวยึดกับเสาจะรับเฉพาะแรงปฏิกิรยิ าจากเสาซึ่งคือแรงเฉือนในคานที่แผนตั้งตอง
รับเอาไว อาจจะใชเหล็กฉากเพียง 1 คูประกบแผนตั้งและแนบกับปกคาน โดยอาจจะเชื่อมเหล็กฉากกับแผน
ตั้งคานในโรงงาน (shop weld) เมื่อยกคานเขาที่และค้าํ ยันใหไดระดับและตําแหนงแลวจึงเชื่อมสวนที่แนบ
กับปกเสาในสถานที่กอสราง (field weld) การตอแบบนี้เรียก frame beam connection ความยาวขาเหล็กฉาก
ประมาณ 75-100 mm ความหนาประมาณ 9 mm สวนความยาวที่ใชประมาณ 12 − 23 ของความลึกของคาน
เวนระยะหางจากหนาเสาประมาณ 12-19 mm เผื่อสําหรับการยกติดตั้ง
416 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เพื่อใหการประกอบติดตั้งไดระดับตามตองการ อาจจะมีเหล็กฉากรองใตคาน (beam seat) ดังรูปที่ 7.9


ลาง โดยใหรับแรงปฏิกิริยา ถาเหล็กฉากขาไมเทากันใหเชื่อมขายาวแนบกับปกเสา สวนขาสั้นรองรับปลาย
คาน โดยความยาวตองมากพอที่จะไมทําใหแผนตั้งของคานเกิดการยูห รือคราก ความหนาก็ตองมากพอที่จะ
ถายแรงเฉือนที่มากระทําได การตอแบบนี้เรียกวา unstiffened (flexible) beam-seat connection ใชในกรณี
แรงปฏิกิริยาไมมาก กลาวคือไมเกิน 20 ตัน แตถาแรงปฏิกิริยามีคามากเกินกวา 20 ตัน วิธีนี้จะรับไมไหวตอง
ใชหนาตัดรูปที หรือเสริมแผนเหล็กใหเหล็กฉากแข็งขึน้ รวมทั้งการยึดที่ปกคานบน และใชเหล็กฉากประกบ
สองขางของแผนตั้งคาน เพื่อยึดปลายคานใหอยูในตําแหนงและเปนการปองกันการยูการครากของแผนตั้ง
ดวย ความหนาของเหล็กฉากปดปกบนไมควรจะหนาเกินกวา 6 mm เพื่อใหปลายคานสามารถหมุนไดตาม
สมมติฐานวาปลายคานมีโมเมนตเปน 0
ในกรณีที่ปลายคานตองรับโมเมนตดัดดวย เชนคานในโครงเฟรม หากการยึดรั้งเพียงบางสวน
(partially restrained) โมเมนตดัดที่ปลายคานจะไมมากนัก อาจจะใชเหล็กฉากรองใตคานและมีแผนเหล็กปด
บน ดังรูปที่ 7.10 โดยออกแบบใหเหล็กฉากรองใตคานรับทั้งแรงปฏิกิริยาและแรงอัดจากโมเมนตดัด สวน
เหล็กปดบนออกแบบใหรับแรงดึงจากโมเมนตดัด แรงดึงดังกลาวสงถายผานรอยเชือ่ มแบบตอทาบ (fillet
การตอปลายคาน 417

weld) ไปยังแผนเหล็กปดบน แลวถายผานรอยเชื่อมแบบตอชน (butt weld) ไปยังปกเสาหรือเหล็กแผนตั้ง


ของเสาตอไป หากตัดแผนเหล็กปดบนเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมูจะทําใหการเชื่อมงายและแข็งแรงมากขึ้น ดัง
แสดงในรูปที่ 7.10(ข) การหาขนาดของรอยเชื่อมจะพิจารณาจากแรงดึงแรงอัดจากโมเมนตดัด และจากแรง
เฉือนที่มาจากแรงกิริยาของคาน ในกรณีที่โมเมนตดดั มีคานอยอาจจะเชื่อมปลายคานติดกับเสาไดโดยตรง
แตในทางปฏิบัตินั้นจะใชวธิ ีมีเหล็กฉากเขาชวย เพราะการเชื่อมคานติดเสาตองตัดคานใหไดขนาดความยาว
พอดี การยกเขาติดตั้งในที่ทําไดยากมาก
กรณีปลายคานในโครงเฟรมที่มีการยึดเหนี่ยวเต็มที่ (fully restrained) จะเกิดโมเมนตมากเกือบหรือ
เทากับกําลังการรับโมเมนตของคาน แรงดึงและแรงอัดจากโมเมนตในคานจะมีคาสูงมากจนทําใหเกิดการ
ครากหรือการยูในแผนตั้งของเสาเนื่องจากแรงอัดในปกคาน หรือปกเสาจะบิดตัวและฉีกออกเนื่องจากแรงดึง
ในปกคาน กรณีนี้ตองเสริมเหล็กแทรกเขาไปในแนวของปกคานโดยมีความหนาไมนอยกวาปกคาน และ
เพื่อใหแข็งแรงมากขึ้นอาจจะเสริมเหล็กในแนวทแยงจะดูเหมือนเปน truss ค้ําอยูในปกเสา เหล็กที่เสริมเขา
ไปนี้เรียกวา column stiffener

ตัวอยางที่ 7.1 จงออกแบบรอยตอเชื่อมสําหรับสวนโครงสรางรับแรงดึง ใชเหล็กชนิด ASTM A36 ลวด


เชื่อมชนิด E 70 ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD

วิธีทํา
จากมาตรฐานการเชื่อม
แผนเหล็กที่มาตอทาบกัน มีความหนา 10 mm กับ 20 mm แผนที่หนากวาคือ 20 mm > 19 mm
มาตรฐานขอ 1 ใหขนาดการเชื่อมเล็กที่สุด 8 mm ตามตารางที่ 7.3
ขนาดใหญสุดของขาเชื่อมเทากับความหนาที่หนากวา ลบ 2 mm คือ 20 – 2 = 18 mm
ขนาดใหญสุดตองไมเกินความหนาของแผนที่บางกวาคือ 10 mm
418 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ความยาวของรอบเชื่อมตองไมนอยกวาระยะตั้งฉากระหวางแนวเชื่อม ซึ่งคือความกวางของแผนเหล็ก
หรือ 10 cm
เลือกใชลวดเชือ่ มชนิด E 70 ขนาด 8 mm
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
แรงดึงที่รอยตอตองรับคือแรงดึงที่เหล็กทั้งสองแผนรับเอาไวได แตละแผนหนา t = 10 mm = 1 cm
กวาง b = 100 mm = 10 cm ดังนั้นเนื้อที่หนาตัดแผนเหล็ก A t = 2bt = 2 × 10 × 1 = 20 cm2 แผนเหล็กเปน
ชนิด ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, Fu = 4050 ksc
แรงดึงที่แผนเหล็กรับได P = 0.6Fy A t = 0.6 × 2500 × 20 = 30,000 kg
กําลังรับแรงที่ยอมใหของรอยตอทาบ พิจารณาจาก
(ก) กําลังรับแรงเฉือนของลวดเชือ่ ม
Fev = 0.3Fv (0.707 t w ) = 0.3 × 4900 × (0.707 × 0.8) = 831 kg/cm
(ข) กําลังรับแรงเฉือนขาดของตัวแผนเหล็กซึ่งหนา 1 cm
Fpv = 0.3Fu t p = 0.3 × 4050 × 1 = 1215 kg/cm
แผนประกับหนา 20 mm เปน 2 เทาของแผนเหล็กซึ่งมี 2 แผน จึงไมตอ งพิจารณาการเฉือนขาด
ของแผนประกับเนื่องจากมีสวนการรับแรงดึงอยูดว ย
ดังนั้นหากเกิดการวิบัติจะมาจากการเฉือนในรอยเชื่อม
P 30,000
ตองการความยาวรอยเชื่อม L= = = 36.1 cm เมื่อจัดตามรูปจะมีรอยเชื่อม 4 รอยยาว
Fev 831
รอยละ 10 cm รวมเปน 40 cm มากกวา 36.1 cm ใชได

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
รอยตอตองรับแรงดึงประลัย φ t Pn = 0.9Fy bt = 0.9 × 2500 × 10 × (2 × 1) = 45,000 kg
กําลังรับแรงประลัยของรอยตอเชื่อมแบบตอทาบ พิจารณาจาก
(ก) กําลังรับแรงเฉือนของลวดเชือ่ ม
Fev = 0.707 t (φ t 0.6Fv ) = 0.707 × 0.8 × (0.75 × 0.6 × 4900) = 1247 kg/cm
(ข) กําลังรับแรงเฉือนขาดแตละดานของแผนเหล็กหนา 1 cm
Fpv = 0.75(0.6Fu t ) = 0.75 × (0.6 × 4050 × 1) = 1822 kg/cm
แผนประกับหนา 20 mm เปน 2 เทาของแผนเหล็กซึ่งมี 2 แผน จึงไมตอ งพิจารณาการเฉือนขาด
ของแผนประกับเนื่องจากมีสวนการรับแรงดึงอยูดว ย
ดังนั้นหากเกิดการวิบัติจะมาจากการเฉือนในรอยเชื่อม
ตัวอยางการออกแบบรอยตอเชื่อม 419

P 45,000
ตองการความยาวรอยเชื่อม L= = = 36.09 cm เมื่อจัดตามรูปจะมีรอยเชื่อม 4 รอยยาว
Fev 1247
รอยละ 10 cm รวมเปน 40 cm มากกวา 36.1 cm ใชได

ตัวอยางที่ 7.2 จงออกแบบรอยตอเชื่อมสําหรับสวนโครงสรางที่รับแรงดึง ซึ่งไดจากการกระทําของน้ําหนัก


คงที่ใชงาน 16 ตัน และจากน้ําหนักจรใชงาน 44 ตัน สมมติใชเหล็กชนิด ASTM A36 และลวดเชือ่ ม
ชนิด E 70 ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD

วิธีทํา
จากมาตรฐานการเชื่อม
แผนเหล็กสวนที่หนากวาคือแผนประกับ หนา 19 mm ดังนั้นขนาดเล็กสุดของขาเชื่อม 6 mm
แผนเหล็กสวนที่บางกวาคือเหล็กฉาก หนา 10 mm มากกวา 6 mm ดังนั้นขนาดใหญสุดของขาเชื่อมคือ
10 – 2 = 8 mm
ดังนั้นเลือกใชลวดเชื่อมชนิด E 70 ขนาดขาเชื่อม 8 mm

ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 หาความยาวของรอยเชื่อมและจัดระยะการเชื่อม
รอยตอตองรับแรงดึงใชงาน P = D + L = 16 + 44 = 60 ตัน = 60,000 kg
60,000
แบงสําหรับเหล็กฉากขางละ = 30,000 kg
2
หากําลังรับแรงของรอยเชื่อมตอ
(ก) กําลังรับแรงเฉือนของลวดเชือ่ มแบบตอทาบ
Fev = 0.3Fv (0.707 t w ) = 0.3 × 4900 × (0.707 × 0.8) = 831.4 kg/cm
(ข) กําลังรับแรงเฉือนขาดดานเดียวตามแนวที่เชื่อมของเหล็กฉากซึ่งหนา 1 cm
Fpv = 0.3Fu t p = 0.3 × 4050 × 1 = 1215 kg/cm
420 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ดังนั้นการวิบตั ิเกิดขึ้นที่รอยเชื่อม รับแรงเฉือนได Pw = 831.4 kg/cm


แตละดานตองการความยาวของรอยเชื่อม L1 + L 2 = 30,000 = 36.08 cm
831.4
เหล็กฉากมีระยะเซนทรอยด a = 2.22 cm , a + b = 9 cm ดังนั้น b = 9 – 2.22 = 6.78 cm นั่นคือ
Pb 30,000 × 6.78
L1 = = = 27.183 ⇒ 27.2 cm
Pw (a + b ) 831.4 × 9
Pa 30,000 × 2.22
L2 = = = 8.9 ⇒ 9 cm
Pw (a + b ) 831.4 × 9
หากมีการเชื่อมออมปลายปดเต็มหัวเหล็กฉากโดยใชขนาดขาเชื่อมเทากัน ความยาวสวนออมปลาย 9
cm แบงใหดานละครึ่งคือ 4.5 cm ดังนั้นความยาวที่ตองเชื่อมจึงเหลือ
L1 = 27.2 − 4.5 = 22.7 cm ใช L1 = 23 cm
L 2 = 9 − 4.5 = 4.5 cm ใช L 2 = 5 cm

ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของแผนเหล็กประกับที่ตองใช สมมติใชเหล็กชนิด ASTM A36


พิจารณาไดจาก
(ก) แผนเหล็กประกับตรงหนาตัด a-a ไมชํารุดเนื่องจากแรงดึง ดังนัน้ เนื้อที่หนาตัดของแผนเหล็ก
ประกับตองไมนอยกวาเหล็กฉากคู ถาความกวางของแผนเหล็กประกับที่แนว a-a เทากับ 25 cm ความหนา
ของแผนประกับ t cm ดังนัน้
25t = 2 × 20.5
t = 1.64 cm = 16.4 mm
(ข) ไมใหแผนเหล็กประกับถูกเฉือนขาดตามแนวรอยเชื่อม โดยพิจารณากําลังเปน kg/cm กําลังรับ
แรงเฉือนของแผนเหล็กประกับ = 0.3Fu t kg/cm ในขณะที่รอยเชื่อมรับแรงเฉือนได ขางละ 831.4 kg/cm
ดังนั้น
0.3 × 4050 t = 2 × 831.4
t = 1.37 cm = 13.7 mm
(ค) ไมใหแผนเหล็กประกับถูกดึงและเฉือนขาด (block shear) ตามแนวของรอยเชื่อม ดังนั้นกําลัง
รับแรงดึงรวมกับแรงเฉือนของแผนประกับจะเทากับแรงที่กระทํา คือ 60,000 kg
สวนรับแรงเฉือนยาว = L1 + L1 = 2L1 = 2 × 23 = 46 และสวนรับแรงดึงยาว 9 cm
กําลังรับแรงดึงรวมกับแรงเฉือน = 0.3Fu A v + 0.5Fu A t
0.3 × 4050 × 46t + 0.5 × 4050 × 9t = 60,000
74,115t = 60,000
60,000
t= = 0.8096 cm = 8.1 mm
74,115
ดังนั้นความหนาสูงสุดที่ตองการคือ 16.4 mm เลือกใชความหนาแผนประกับ 19 mm
ตัวอยางออกแบบรอยเชื่อม 421

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
ขั้นตอนที่ 1 หาความยาวของรอยเชื่อม และจัดระยะการเชื่อม
รอยตอตองรับแรงดึงประลัย Pu = 1.2D + 1.6L = 1.2 × 16 + 1.6 × 44 = 89.6 ตัน = 89,600 kg
แบงสําหรับเหล็กฉากขางละ P = 89,600 = 44,800 kg
2
หากําลังรับแรงประลัยของรอยเชื่อมตอ
(ก) กําลังรับแรงเฉือนประลัยของลวดเชื่อมแบบตอทาบ
Fev = 0.75(0.6Fvu )(0.707 t w ) = 0.75 × (0.6 × 4900) × (0.707 × 0.8)
Fev = 1247 kg/cm
(ข) กําลังรับแรงเฉือนขาดดานเดียวตามแนวที่เชื่อม บนแผนเหล็กฉากหนา 10 mm
Fpv = 0.75(0.6Fu )t p = 0.75 × (0.6 × 4050) × 1.0 = 1822.5 kg/cm
ดังนั้นการวิบตั ิเกิดขึ้นที่ตวั รอยเชื่อม โดยรับแรงได Pw = 1247 kg/cm
P 44,800
ความยาวของรอยเชื่อมที่ตองการ L1 + L 2 = = = 35.93 ⇒ 36 cm
Pw 1247
เหล็กฉากมีระยะเซนทรอยด a = 2.22 cm , a + b = 9 cm ดังนั้น b = 9 – 2.22 = 6.78 cm นั่นคือ
Pb 44,800 × 6.78
โดยที่ L1 = = = 27.06 cm
Pw (a + b ) 1247 × 9
Pa 44,800 × 2.22
L2 = = = 8.86 cm
Pw (a + b ) 1247 × 9
หากมีการเชื่อมออมปลายปดเต็มหัวเหล็กฉากโดยใชขนาดขาเชื่อมเทากัน ความยาวสวนออมปลาย 9
cm แบงใหดานละครึ่งคือ 4.5 cm ดังนั้นความยาวที่ตองเชื่อมจึงเหลือ
L1 = 27.06 − 4.5 = 22.56 ⇒ 23 cm
L 2 = 8.86 − 4.5 = 4.36 ⇒ 4.5 cm

ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของแผนเหล็กประกับที่ตองใช สมมติใชเหล็กชนิด ASTM A36


พิจารณาไดจาก
(ก) แผนเหล็กประกับตรงหนาตัด a-a ไมชํารุดเนื่องจากแรงดึง ดังนัน้ เนื้อที่หนาตัดของแผนเหล็ก
ประกับตองไมนอยกวาเหล็กฉากคู ถาความกวางของแผนเหล็กประกับที่แนว a-a เทากับ 25 cm ความหนา
ของแผนประกับ t cm ดังนัน้
25t = 2 × 20.5
cm = 16.4 mm
t = 1.64
(ข) ไมใหแผนเหล็กประกับถูกเฉือนขาดตามแนวรอยเชื่อม โดยพิจารณากําลังเปน kg/cm กําลังรับ
แรงเฉือนของแผนเหล็กประกับ = 0.75 × 0.6Fu t kg/cm ในขณะที่รอยเชื่อมรับแรงเฉือนได ขางละ 1247
kg/cm ดังนั้น
422 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

0.75 × 0.6 × 4050 t = 2 × 1247


t = 1.37 cm = 13.7 mm
(ค) ไมใหแผนเหล็กประกับถูกดึงและเฉือนขาด (block shear) ตามแนวของรอยเชื่อม ดังนั้นกําลัง
รับแรงดึงรวมกับแรงเฉือนของแผนประกับจะเทากับแรงประลัยที่กระทํา คือ 89,600 kg
สวนรับแรงเฉือนยาว = L1 + L1 = 2L1 = 2 × 23 = 46 และสวนรับแรงดึงยาว 9 cm
กําลังรับแรงดึงรวมกับแรงเฉือนเลือกจากคามากของ
[
φR n = 0.75 0.6Fy A v + Fu A t ]
φR n = 0.75 × [0.6 × 2500 × 46 t + 4050 × 9 t ] = 79,087.5t kg
[
φR n = 0.75 0.6Fu A v + Fy A t ]
φR n = 0.75 × [0.6 × 4050 × 46 t + 2500 × 9 t ] = 100,710 t kg
89,600
t= = 0.89 cm = 8.9 mm
100,710
ดังนั้นความหนาสูงสุดที่ตองการคือ 16.4 mm เลือกใชความหนาแผนประกับ 19 mm
ตัวอยางที่ 7.3 ถาทํารอยตอบาเสาโดยการเชื่อมแบบตอทาบ ดังแสดง เพื่อใหรับแรงกระทําที่เกิดจากน้ําหนัก
บรรทุกคงที่ใชงาน 10 ตัน และจากน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 8 ตัน จงหาขนาดของรอยเชื่อมที่ใชลวด
เชื่อมชนิด E 60 กับเหล็ก ASTM A36 สมมติวาไมเกิดการวิบัติที่บาเสา

วิธีทํา
ลักษณะของรอยเชื่อมคลายกับตัว C ซึ่งรับทั้งแรงเฉือนจากแรงตามแกนและแรงเฉือนจากโมเมนตบิด
ขั้นแรกตองหาเซนทรอยดของรอยเชื่อมกอนจึงจะหาระยะเยื้องศูนย หาแรงเฉือน หาหนวยแรง แลวหาขนาด
ตัวอยางการออกแบบรอยเชื่อม 423

ของขาเชื่อม
สมมติขนาดขาเชื่อมเปนหนึง่ หนวย และพิจารณาวาเปนเสนตรงภายในของรอยเชือ่ ม รูปรางตัว C
สมมาตรกับแกน x-x ดังนัน้ ตําแหนงศูนยถวงหรือเซนทรอยดจะอยูบนแกนสมมาตร x-x นี้ ใหขอบในของ
รอยเชื่อมขนานแกน y-y เปนแกนหมุน หาตําแหนงเซนทรอยดดังนี้
15 15
15 × + 15 × + 60 × 0
x2 =
∑ Lx = 2 2 =
225
= 2.5 cm
∑L 15 + 15 + 60 90
x1 = 15 − 2.5 = 12.5cm
โมเมนตอินเนอรเชียรอบแกน x-x
1× 603
Ix = + 2 × (15 × 1) × 30 2 = 45,000 cm4
12
โมเมนตอินเนอรเชียรอบแกน y-y
⎡1 × 2.53 1 × 12.53 ⎤
I y = (60 × 1) × 2.5 + 2 × ⎢
2
+ = 1687.5 cm4
⎣ 3 3 ⎥⎦
ดังนั้นโพลารโมเมนตอินเนอรเชียของรอยเชื่อม
J = I x + I y = 45,000 + 1687.5 = 46,687.5 cm4

ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
รอยเชื่อมรับแรงเฉือน
P = D + L = 10 + 8 = 18 ตัน = 18,000 kg
ความยาวรอยเชื่อม
L = 15 + 60 + 15 = 90 cm
หนวยแรงเฉือนที่กระทํา f s = P = 18,000 = 200 kg/cm สม่ําเสมอ
L 90
รอยเชื่อมรับโมเมนตบิด
T = Pe = 18,000 × (35 + 12.5) = 855,000 kg.cm
หนวยแรงเฉือนบิดกระทําในแนวนอน
Tv 855,000 × 30
fh = = = 549.398 kg/cm
J 46,687.5
หนวยแรงเฉือนบิดกระทําแนวตั้ง
Th 855,000 × 12.5
fv = = = 228.916 kg/cm
J 46,687.5
ที่มุมบนคาหนวยแรงเฉือนจากแรงเฉือน กับหนวยแรงเฉือนบิดแนวตัง้ จะเสริมกัน ดังนัน้ หนวยแรง
เฉือนลัพธ
f t = (200 + 228.916 ) + 549.3982 = 696.999 ⇒ 697 kg/cm
2
424 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แตกําลังรับแรงเฉือนของลวดเชื่อม E 60
Ft = 0.3Fv (0.707 ) = 0.3 × 4200 × 0.707 = 890.82 kg/cm/cm
ดังนั้นตองการขนาดขาเชื่อม
ft 697
tw = = = 0.78 ⇒ 0.8 cm = 8 mm
Ft 890.82
ดังนั้นใชลวดเชื่อมชนิด E 60 ขนาดขาเชื่อม 8 mm

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
รอยเชื่อมรับแรงเฉือนประลัย
Pu = 1.2D + 1.6L = 1.2 × 10 + 1.6 × 8 = 24.8 ตัน = 24,800 kg
ความยาวรอยเชื่อม
L = 15 + 60 + 15 = 90 cm
หนวยแรงเฉือนที่กระทํา
24,800
fs = = 275.556 kg/cm
90
รอยเชื่อมรับโมเมนตบิด
Tu = Pu e = 24,800 × (35 + 12.5) = 1,178,000 kg.cm
หนวยแรงเฉือนบิดกระทําในแนวนอน
Tu v 1,178,000 × 30
fh = = = 756.948 kg/cm
J 46,687.5
หนวยแรงเฉือนบิดกระทําแนวตั้ง
Tu h 1,178,000 × 12.5
fv = = = 315.395 kg/cm
J 46,687.5
ที่มุมบนคาหนวยแรงเฉือนจากแรงเฉือน กับหนวยแรงเฉือนบิดแนวตัง้ จะเสริมกัน ดังนัน้ หนวยแรง
เฉือนลัพธ
f t = (275.556 + 315.395) + 756.9482 = 960.309 kg/cm
2

แตกําลังรับแรงเฉือนของลวดเชื่อม E 60
Ft = 0.75(0.6Fv )(0.707 ) = 0.75 × 0.6 × 4200 × 0.707 = 1336.23 kg/cm/cm
ดังนั้นตองการขนาดขาเชื่อม
f t 960.309
tw = = = 0.72 ⇒ 0.8 cm = 8 mm
Ft 1336.23
ดังนั้นใชลวดเชื่อมชนิด E 60 ขนาดขาเชื่อม 8 mm
b E
หมายเหตุ การหาขนาดของบาเสา พิจารณาจากแรงเฉือนและโมเมนตดดั ที่กระทํา และ ≤ 0.56
t Fy
ตัวอยางการออกแบบรอยเชื่อม 425

ตัวอยางที่ 7.4 จงออกแบบรอยตอปลายคานกับเสา โดยใชเหล็กฉากหนึ่งคูประกับเหล็กแผนตั้งของคาน และ


เชื่อมแบบตอทาบ ดังแสดง เพื่อใหรับแรงปฏิกิริยาจากคานที่เกิดจากน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 20 ตัน
จากน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 15 ตัน ใชลวดเชื่อมชนิด E 70 เหล็กชนิด ASTM A36

วิธีทํา
แรงเฉือนใชงาน P = D + L = 20 + 15 = 35 ตัน = 35,000 kg
หาขนาดของเหล็กฉากที่ใชเพื่อถายแรงเฉือน
สมมติใชเหล็กฉากยาว L = 25 cm และใชเหล็กฉากคู
ความหนาเหล็กฉากที่ตองการ
t=
P/2
=
(35,000 / 2) = 0.7 cm = 7 mm
0.4Fy L 0.4 × 2500 × 25
แรงเฉือนประลัย Pu = 1.2D + 1.6L = 1.2 × 20 + 1.6 × 15 = 48 ตัน = 48,000 kg
ความหนาเหล็กฉากที่ตองการ
t=
Pu / 2
=
(48,000 / 2) = 0.71 cm = 7.1 mm
0.9(0.6Fy )L 0.9(0.6 × 2500 ) × 25
ดังนั้นเลือกใช 2 − Ls − 75 × 75 × 12 mm ยาว 25 cm ใหขาดานหนึ่งทาบติดกับเหล็กแผนตั้งของ
คานโดยใหปลายคานหางจากหนาเสาประมาณ 1 cm แลวเชื่อม (จากโรงงาน) รอบเหล็กฉากที่ประกับติด ดัง
แสดง สวนขาอีกดานหนึ่งเชือ่ ม (ในทีก่ อสราง) ติดกับปกเสาตามความยาวของเหล็กฉาก ดังแสดงในรูป
การจัดลักษณะของรอยเชื่อม สวนที่ติดกับกับคานจะมีรูปรางคลายตัว C โดยตองรับทั้งแรงเฉือนและ
โมเมนตบิด ดังนั้นตองหาเซนทรอยดหรือศูนยถวงของรอยเชื่อมกอน จึงจะหาหนวยแรงที่กระทําได
สมมติใหขนาดขาเชื่อมเปนหนึ่งหนวย
ใหขอบทางตั้งของรอยเชื่อมเปนแกนหมุน
426 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

6.5 6.5
6.5 × + 6.5 × + 25 × 0
x=
∑ Lx = 2 2 =
42.25
= 1.112 cm
∑L 6.5 + 6.5 + 25 38
6.5 − x = 6.5 − 1.112 = 5.388 cm
โมเมนตอินเนอรเชียรอบแกน x
1× 253
Ix = + 2 × (1× 6.5) × 12.52 = 3333.333 cm4
12
โมเมนตอินเนอรเชียรอบแกน y
⎛ 1 × 1.1123 1 × 5.3883 ⎞
I y = (1 × 25) × 1.112 2 + 2 × ⎜⎜ + ⎟⎟ = 136.108 cm4
⎝ 3 3 ⎠
ดังนั้น โพลารโมเมนตอินเนอรเชีย
J = I x + I y = 3333.333 + 136.108 = 3469.441 cm4

ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 ออกแบบรอยเชือ่ มที่เหล็กแผนตั้ง
รอยเชื่อมแตละดานรับแรงเฉือน P = 35,000 = 17,500 kg
2
หนวยแรงเฉือนที่เกิดขึน้
17,500
fs = = 460.526 kg/cm
25 + 6.5 + 6.5
รอยเชื่อมรับโมเมนตบิด
T = Pe = 17,500 × 6.4 = 112,000 kg.cm
หนวยแรงเฉือนบิดที่กระทําในแนวนอน
Tv 112,000 × 12.5
fh = = = 403.523 kg/cm
J 3469.441
หนวยแรงเฉือนบิดที่กระทําในแนวตั้ง
Th 112,000 × 5.388
fv = = = 173.935 kg/cm
J 3469.441
หนวยแรงเฉือนบิดในแนวตัง้ จะไปรวมกับหนวยแรงเฉือนจากแรงเฉือน
หนวยแรงเฉือนลัพธ
f t = (460.526 + 173.935) + 403.5232 = 751.912 kg/cm
2

กําลังรับแรงเฉือนของลวดเชือ่ ม
Ft = 0.3Fv (0.707 ) = 0.3 × 4900 × 0.707 = 1039.29 kg/cm/cm
ขนาดขาเชื่อมที่ตองการ
f t 751.912
tw = = = 0.72 cm = 7.2 mm
Ft 1039.29
ตัวอยางการออกแบบรอยเชื่อม 427

ดังนั้น ใชลวดเชื่อมชนิด E 70 ขนาดขาเชื่อม 8 mm


ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบรอยเชือ่ มที่เหล็กปกเสา
รอยเชื่อมรับแรงเฉือน P = 35,000 = 17,500 kg
2
หนวยแรงเฉือนที่กระทํา
P 17,500
fs = = = 700 kg/cm
L 25
รอยเชื่อมรับโมเมนตดัด M = Pe = 17,500 × 7.5 = 131,250 kg.cm
สมมติใหแนวแกนสะเทินอยูหางจากดานบนของเหล็กฉากเปนระยะ 16 ของความยาวทั้งหมดของ
เหล็กฉากนัน้
หนวยแรงดัดที่กระทําในแนวนอนเปน fh พิจารณาสวนลาง แรงแนวนอน H ขนาด
1 ⎛ L ⎞ 1 ⎛ 5L ⎞ 5f L
H= fh ⎜ L − ⎟ = fh ⎜ ⎟ = h
2 ⎝ 6 ⎠ 2 ⎝ 6 ⎠ 12
ระยะหางระหวางแรง H เทากับ 2L ดังนั้นโมเมนต
3
⎛ 2L ⎞ 5f L 2L 5f h L
2
M = H⎜ ⎟ = h × =
⎝ 3 ⎠ 12 3 18
18M 18 × 131,250
fh = = = 756 kg/cm
5L2 5 × 252
ดังนั้นหนวยแรงลัพธ
f r = 700 2 + 756 2 = 1030.309 kg/cm
กําลังรับแรงเฉือนของลวดเชือ่ ม
Fr = 0.3Fv (0.707 ) = 0.3 × 4900 × 0.707 = 1039.29 kg/cm/cm
ขนาดขาเชื่อมที่ตองการ
f r 1030.309
tw = = = 0.991 cm = 9.91 mm
Fr 1039.29
ดังนั้น ใชลวดเชื่อมชนิด E 70 ขนาดขาเชื่อม 10 mm

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD
ขั้นตอนที่ 1 ออกแบบรอยเชือ่ มที่เหล็กแผนตั้ง
รอยเชื่อมรับแรงเฉือนประลัย
48,000
Pu = = 24,000 kg
2
หนวยแรงเฉือนที่กระทํา
Pu 24,000 24,000
fs = = = = 631.579 kg/cm
L 25 + 2 × 6.5 38
428 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

รอยเชื่อมรับโมเมนตบิดประลัย
Tu = Pu e = 24,000 × 6.4 = 153,600 kg.cm
หนวยแรงเฉือนบิดกระทําในแนวนอน
Tu v 153,600 × 12.5
fh = = = 553.403 kg/cm
J 3469.441
หนวยแรงเฉือนบิดกระทําในแนวตั้ง
Tu h 153,600 × 5.388
fv = = = 238.539 kg/cm
J 3469.441
หนวยแรงเฉือนลัพธ
f r = (631.579 + 238.539 ) + 553.4032 = 1031.194 kg/cm
2

กําลังรับแรงเฉือนของลวดเชือ่ ม
Fr = 0.75(0.6Fv )(0.707 ) = 0.75 × 0.6 × 4900 × 0.707 = 1558.935 kg/cm/cm
ขนาดขาเชื่อมที่ตองการ
f r 1031.194
tw = = = 0.661 cm = 6.61 mm
Fr 1558.935
ดังนั้นใชลวดเชื่อมชนิด E 70 ขนาดขาเชื่อม 8 mm
ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบรอยเชือ่ มที่เหล็กปกเสา
รอยเชื่อมรับแรงเฉือนประลัย
48,000
Pu = = 24,000 kg
2
หนวยแรงเฉือนที่กระทํา
Pu 24,000
fs = = = 960 kg/cm
L 25
รอยเชื่อมรับโมเมนตดัด M = Pu e = 24,000 × 7.5 = 180,000 kg.cm
สมมติใหแนวแกนสะเทินอยูหางจากดานบนของเหล็กฉากเปนระยะ 16 ของความยาวทั้งหมดของ
เหล็กฉากนัน้
หนวยแรงดัดที่กระทําในแนวนอนเปน fh พิจารณาสวนลาง แรงแนวนอน H ขนาด
1 ⎛ L ⎞ 1 ⎛ 5L ⎞ 5f L
H= fh ⎜ L − ⎟ = fh ⎜ ⎟ = h
2 ⎝ 6 ⎠ 2 ⎝ 6 ⎠ 12
ระยะหางระหวางแรง H เทากับ 2L ดังนั้นโมเมนต
3
⎛ 2L ⎞ 5f h L 2L 5f h L
2
M u = H⎜ ⎟ = × =
⎝ 3 ⎠ 12 3 18
18M 18 × 180,000
fh = = = 1036.8 kg/cm
5L2 5 × 252
ตัวอยางออกแบบรอยเชื่อม 429

ดังนั้นหนวยแรงลัพธ
f r = 960 2 + 1036.82 = 1412.995 kg/cm
กําลังรับแรงเฉือนของลวดเชือ่ ม
Fr = 0.75(0.6Fv )(0.707 ) = 0.75 × 0.6 × 4900 × 0.707 = 1558.935 kg/cm/cm
ขนาดขาเชื่อมที่ตองการ
f r 1412.995
tw = = = 0.906 cm = 9.06 mm
Fr 1558.935
ดังนั้น ใชลวดเชื่อมชนิด E 70 ขนาดขาเชื่อม 10 mm

ตัวอยางที่ 7.5 จงออกแบบการตอปลายคานกับเสาโดยใชเหล็กฉากรองใตคาน (beam seat-connection) เพื่อ


รับแรงปฏิกิริยาที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 6 ตัน และจากน้าํ หนักจรใชงาน 7 ตัน จากคาน
ขนาด W 400 × 66 ใชลวดเชื่อมชนิด E 70 เหล็กชนิด ASTM A36 มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
ขั้นตอนที่ 1 หาขนาดของเหล็กฉาก
ความกวางโดยประมาณของเหล็กฉากเพือ่ ปองกันไมใหแผนตั้งของคานเกิดการคราก (local web
yielding) โดยพิจารณาจากสูตร
R
= 0.66Fy
(2.5k + N )t w
โดยที่ R = 13,000 kg เหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc
หนาตัด W 400 × 66 มี h = 400 mm, bf = 200 mm, tw = 8 mm, tf = 13 mm, r = 16 mm, A = 84.12 cm2, w =
66.0 kg/m, Ix = 23,700 cm4, Iy = 1,740 cm4, rx = 16.8 cm, ry = 4.54 cm, Sx = 1,190 cm3, Sy = 174 cm3, Zx =
1,285.95 cm3
430 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ดังนั้น k = tf + r = 13 + 16 = 29 mm = 2.9 cm, tw = 0.8 cm แทนคาได


13,000
= 0.66 × 2500
(2.5 × 2.9 + N ) × 0.8
13,000
2.5 × 2.9 + N = = 9.84848
0.8 × 0.66 × 2500
N = 2.598 cm = 2.6 cm
ความกวางโดยประมาณของเหล็กฉากที่ตอ งใช เพื่อปองกันไมใหแผนตั้งของคานเกิดการยู (web
crippling) จากสูตร
⎡ ⎛ N ⎞⎛ t ⎞
1.5
⎤ ⎛t ⎞
R = 0.2 t ⎢1 + 3⎜ ⎟⎜⎜ w
2
w ⎟⎟ ⎥ EFy ⎜⎜ f ⎟⎟
⎢⎣ ⎝ d ⎠⎝ t f ⎠ ⎥⎦ ⎝ tw ⎠
เมื่อ R = 13,000 kg, tw = 0.8 cm, tf = 1.3 cm, d = h = 40 cm, E = 2,040,000 ksc, Fy = 2500 ksc
⎡ N ⎛ 0.8 ⎞ ⎤
1.5
1.3
13,000 = 0.2 × 0.8 × ⎢1 + 3 × × ⎜
2
⎟ ⎥ 2,040,000 × 2500 ×
⎢⎣ 40 ⎝ 1.3 ⎠ ⎥⎦ 0.8
⎡ N ⎛ 0.8 ⎞ ⎤
1.5

13,000 = 0.128 × ⎢1 + 3 × × ⎜ ⎟ ⎥ × 91,035.70728


⎣⎢ 40 ⎝ 1.3 ⎠ ⎦⎥
3N 13,000
1+ × 0.482747409 =
40 0.128 × 91,035.70728
1 + 0.036206055N = 1.115633668
0.036206055N = 0.115633668
0.115633668
N= = 3.194 ⇒ 3.2 cm
0.036206055
ดังนั้นใชระยะ N = 3.2 cm สมมติเวนระยะหางระหวางหนาเสากับปลายคาน 12 mm = 1.2 cm
ความกวางเหล็กฉากอยางนอย = 3.2 + 1.2 = 4.4 cm = 44 mm
หาความหนาของเหล็กฉาก
โมเมนตดัดวิกฤตที่ระยะ k = t + 1 cm จากหลังเหล็กฉาก บนขาดานสั้นของเหล็กฉาก
⎡⎛ N ⎞ ⎤ ⎡⎛ 3.2 ⎞ ⎤
M = R ⎢⎜ + 1.2 ⎟ − (t + 1)⎥ = 13,000 × ⎢⎜ + 1.2 ⎟ − (1.2 + 1)⎥
⎣⎝ 2 ⎠ ⎦ ⎣⎝ 2 ⎠ ⎦
M = 7,800 kg.cm
สมมติใชเหล็กฉากยาวเต็มหนาเสา เอาขายาวแนบกับหนาเสา สวนขาสั้นรองรับปลายคาน สมมติหนาเสา
กวาง 250 mm ดังนั้นใชเหล็กฉากยาว b = 25 cm และใหความหนาของเหล็กฉากเปน t
bt 2
S=
6
M 6M
fs = = ≤ Fb = 0.75Fy
S bt 2
6M 6 × 7,800
t≥ = = 0.999
0.75Fy b 0.75 × 2500 × 25
ตัวอยางการออกแบบรอยเชื่อม 431

t = 1. 0 cm = 10 mm
ดังนั้นใชเหล็กฉาก L − 150 × 100 × 12 mm ยาว 25 cm ใหเชื่อมขาดานยาว 150 mm แนบกับหนาเสา
ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบรอยตอที่ปกเสา
ทํารอยเชื่อมที่ขาดานยาวของเหล็กฉากทั้งสองขางดังรูป

รอยเชื่อมแตละขางจะรับแรงเฉือนครึ่งหนึง่ ของทั้งหมด
13,000
V= = 6,500 kg
2
และรับโมเมนตดัดรอบผิวรอบทาบระหวางหนาเสากับเหล็กฉาก
⎛ N⎞ ⎛ 3.2 ⎞
M = V⎜1.2 + ⎟ = 6,500 × ⎜1.2 + ⎟ = 18,200 kg.cm
⎝ 2⎠ ⎝ 2 ⎠
หนวยแรงเฉือนเนื่องจากแรงเฉือน 6,500 kg
6,500
fs = = 433.3 kg/cm
15
สมมติแนวแกนสะเทินอยูกึ่งกลางของรอยเชื่อม หนวยแรงดัดจะกระจายดังรูป หนวยแรงดัดสูงสุด fh
กระจายเปนรูปสามเหลี่ยมคนละครึ่งกัน แรงกระทําคือพืน้ ที่รูปสามเหลี่ยม
1 L f L
แรง = × fh × = h
2 2 4
2L
แรงทั้งสองจะอยูหางกัน ดังนั้นโมเมนตของแรงคูควบนีค้ ือ
3
f L 2L f h L2
M= h × =
4 3 6
f × 15 2
18,200 = h
6
f h = 485.3 ksc
หนวยแรงทั้งสองตั้งฉากกัน ดังนั้นหาหนวยแรงลัพธ
f r = 433.32 + 485.32 = 650.6 ksc
กําลังรับแรงเฉือนของลวดเชือ่ ม Fr = 0.3Fv (0.707 ) = 0.3 × 4900 × 0.707 = 1,039.29 kg/cm
ดังนั้นขนาดขาเชื่อมที่ตองการคือ t = f r =
650.6
= 0.626 cm = 6.26 mm
Fr 1,039.29
432 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ใชลวดเชื่อมชนิด E 70 ขนาดขาเชื่อม 8 mm
ตรวจสอบการรับแรงเฉือนของเหล็กฉาก
Pv = 0.4Fy t = 0.4 × 2500 × 1.2 = 1200kg/cm > fs = 433.3 ksc
ดังนั้นใชเหล็กฉาก L − 150 × 100 × 12 mm ยาว 25 cm ใหขาเหล็กฉากดานยาว 150 mm เชื่อมแนบ
ติดกับปกเสาทั้งสองขางดวยลวดเชื่อมชนิด E 70 ขนาดขาเชื่อม 8 mm และอาจจะใชเหล็กฉากที่บางกวาปด
ปลายคานดานบนใหอยูกับที่ เชน L − 75 × 75 × 6 mm ยาว 25 cm

ออกแบบโดยวิธี AISC/LRFD

แรงเฉือนประลัยที่กระทํา
Pu = 1.2D + 1.6L = 1.2 × 6,000 + 1.6 × 7,000 = 18,400 kg
ขั้นตอนที่ 1 หาขนาดของเหล็กฉาก
ความกวางโดยประมาณของเหล็กฉากเพือ่ ปองกันไมใหเกิดการครากเฉพาะทีใ่ นแผนตั้งของคาน
(local web yielding) จากสูตร
R n = (2.5k + N )Fy t w
โดยที่ R n = Pu = 18,400 kg เหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc
หนาตัด W 400 × 66 มี h = 400 mm, bf = 200 mm, tw = 8 mm, tf = 13 mm, r = 16 mm, A = 84.12 cm2, w =
66.0 kg/m, Ix = 23,700 cm4, Iy = 1,740 cm4, rx = 16.8 cm, ry = 4.54 cm, Sx = 1,190 cm3, Sy = 174 cm3, Zx =
1,285.95 cm3
ดังนั้น k = tf + r = 13 + 16 = 29 mm = 2.9 cm, tw = 0.8 cm แทนคาได
18,400 = (2.5 × 2.9 + N ) × 2500 × 0.8
18,400
2.5 × 2.9 + N = = 9.2
2500 × 0.8
N = 9.2 − 2.5 × 2.9 = 1.95 cm
ความกวางโดยประมาณของเหล็กฉาก เพือ่ ปองกันการยูข องแผนตั้งของคาน (web crippling) จากสูตร
⎡ N⎛t ⎞
1.5
⎤ ⎛t ⎞
R u = 0.75 × 0.40 t ⎢1 + 3 ⎜⎜ w
2
w ⎟⎟ ⎥ EFy ⎜⎜ f ⎟⎟
⎢⎣ d ⎝ tf ⎠ ⎥⎦ ⎝ tw ⎠
เมื่อ Ru = 18,400 kg, tw = 0.8 cm, tf = 1.3 cm, d = h = 40 cm, E = 2,040,000 ksc, Fy = 2500 ksc แทนคา
⎡ N ⎛ 0 .8 ⎞ ⎤
1.5
1 .3
18,400 = 0.75 × 0.40 × 0.8 × ⎢1 + 3 ⎜
2
⎟ ⎥ 2,040,000 × 2500 ×
⎣⎢ 40 ⎝ 1.3 ⎠ ⎦⎥ 0.8
⎡ N ⎤
18,400 = 0.192 ⎢1 + 3 × 0.482747409⎥ × 91,035.70728
⎣ 40 ⎦
N 18,400
1 + 3 × 0.482747409 = = 1.052700486
40 0.192 × 91,035.70728
ตัวอยางการออกแบบรอยเชื่อม 433

N
3 × 0.482747409 = 0.052700486
40
0.052700486 × 40
N= = 1.455571048 cm
3 × 0.482747409
ดังนั้นระยะ N = 1.46 cm
เลือกใชระยะ N = k = 2.9 cm เวนระยะหางระหวางปลายคานกับเสา 12 mm
ความกวางเหล็กฉากอยางนอย = 2.9 + 1.2 = 4.1 cm
หาความหนาของเหล็กฉาก
จากโมเมนตดดั วิกฤต สมมติใหเปนระยะ k = t +1 cm วัดจากมุมเหล็กฉากไปทางขาดานสั้น
⎡⎛ N ⎞ ⎤ ⎡⎛ 2.9 ⎞ ⎤
M u = R u ⎢⎜ + 1.2 ⎟ − (t + 1)⎥ = 18,400 × ⎢⎜ + 1.2 ⎟ − (1.2 + 1)⎥
⎣⎝ 2 ⎠ ⎦ ⎣⎝ 2 ⎠ ⎦
M u = 8,280 kg ⋅ cm
2
แตเนื่องจาก M u = 0.9Fy Z = 0.9Fy bt ดังนั้น
4
สมมติใชเหล็กฉากยาว 25 cm
25t 2
0.9 × 2500 × = 8,280
4
8,280 × 4
t= = 0.767 cm = 7.67 mm
0.9 × 2500 × 25
เลือกใชเหล็กฉากขนาด L − 150 × 100 × 9 mm ยาว 25 cm
ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบรอยตอที่ปกเสา
ทํารอยตอเชื่อมที่ขาดานยาวของเหล็กฉากทั้งสองขาง ดังรูป

รอยเชื่อมแตละขางจะรับแรงเฉือนครึ่งหนึง่ ของทั้งหมด
18,400
Vu = = 9,200 kg
2
และรับโมเมนตดัดรอบผิวรอบทาบระหวางหนาเสากับเหล็กฉาก
⎛ N⎞ ⎛ 2.9 ⎞
M u = Vu ⎜1.2 + ⎟ = 9,200 × ⎜1.2 + ⎟ = 24,380 kg.cm
⎝ 2⎠ ⎝ 2 ⎠
หนวยแรงเฉือนเนื่องจากแรงเฉือน 9,200 kg
434 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

9,200
fs = = 613.33 kg/cm
15
สมมติแนวแกนสะเทินอยูกึ่งกลางของรอยเชื่อม หนวยแรงดัดจะกระจายดังรูป หนวยแรงดัดสูงสุด fh
กระจายเปนรูปสามเหลี่ยมคนละครึ่งกัน แรงกระทําคือพืน้ ที่รูปสามเหลี่ยม
1 L f L
แรง = × fh × = h
2 2 4
แรงทั้งสองจะอยูหางกัน 2L ดังนั้นโมเมนตของแรงคูควบนีค้ ือ
3
f L 2L f h L2
Mu = h × =
4 3 6
f × 15 2
24,380 = h
6
f h = 650.13 ksc
หนวยแรงทั้งสองตั้งฉากกัน ดังนั้นหาหนวยแรงลัพธ
f r = 613.332 + 650.132 = 893.78 ksc
กําลังรับแรงเฉือนของลวดเชือ่ ม
Fr = 0.75 × 0.6Fv (0.707 ) = 0.75 × 0.6 × 4900 × 0.707 = 1,558.935 kg/cm
ดังนั้นขนาดขาเชื่อมที่ตองการคือ t = f r =
893.78
= 0.573 cm = 5.73 mm
Fr 1,558.935
ดังนั้นใชลวดเชื่อมชนิด E 70 ขนาดขาเชื่อม 6 mm
ตรวจสอบการรับแรงเฉือนของเหล็กฉาก
Fv = φ0.6Fy t = 0.9 × 0.6 × 2500 × 0.9 = 1,215 kg / cm > f s = 613.33 kg / cm
ดังนั้นใชเหล็กฉากขนาด L − 150 × 100 × 9 mm ยาว 25 cm ใหขาเหล็กดานยาว 150 mm เชื่อมติดกับปก
เสาโดยใชลวดเชื่อม E 70 ขนาดขาเชื่อม 6 mm และอาจจะใชเหล็กฉากขนาด L − 90 × 90 × 7 mm ปดที่
ปลายคานดานบนยึดคานใหอยูในตําแหนงที่ตองการและใหหมุนได

ตัวอยางที่ 7.6 จงออกแบบการตอคานกับเสาโดยใชเหล็กรูปตัวทีรองใตคาน (stiffened beam seat-


connection) เพื่อรับแรงปฏิกิริยาที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 7.5 ตัน และจากน้ําหนักบรรทุก
จรใชงาน 9 ตัน จากคานขนาด W 400 × 66 ใชลวดเชือ่ มชนิด E 60 เหล็กชนิด ASTM A36 มาตรฐาน
AISC/ASD/LRFD
วิธีทํา
หนาตัด W 400 × 66 มี h = 400 mm, bf = 200 mm, tw = 8 mm, tf = 13 mm, r = 16 mm, A = 84.12 cm2, w =
66.0 kg/m, Ix = 23,700 cm4, Iy = 1,740 cm4, rx = 16.8 cm, ry = 4.54 cm, Sx = 1,190 cm3, Sy = 174 cm3, Zx =
1,285.95 cm3
ตัวอยางการออกแบบรอยเชื่อม 435

ออกแบบโดยวิธี AISC/ASD
น้ําหนัก R = P = D + L = 7.5 + 9 tonne = 16,500 kg
ขั้นตอนที่ 1 หาขนาดของเหล็กรูปตัวที
ความกวางโดยประมาณของเหล็กตัวทีเพือ่ ไมใหปก คานเกิดการครากเฉพาะที่ (local web yielding)
จากสูตร
R
= 0.66Fy
(2.5k + N )t w
โดย R = 16,500 kg หนาตัด W 400 × 66 มี t w = 0.8 cm, t f = 1.3 cm, r = 1.6 cm, k = t f + r = 2.9
cm เหล็ก ASTM A36 มี E = 2,040,000 ksc และ Fy = 2500 ksc
16,500
= 0.66 × 2500
(2.5 × 2.9 + N ) × 0.8
16,500
2.5 × 2.9 + N = = 12.5
0.8 × 0.66 × 2500
N = 12.5 − 2.5 × 2.9 = 5.25 cm
ความกวางโดยประมาณของเหล็กตัวทีเพือ่ ไมใหแผนตัง้ ของคานเกิดการยู (web crippling) จากสูตร
⎡ N⎛t ⎞
1.5
⎤ ⎛t ⎞
R = 0.20 t ⎢1 + 3 ⎜⎜ w
2
w ⎟⎟ ⎥ EFy ⎜⎜ f ⎟⎟
⎢⎣ d ⎝ tf ⎠ ⎥⎦ ⎝ tw ⎠
โดย R = 16,500 kg หนาตัด W 400 × 66 มี d = h = 40 cm, t w = 0.8 cm, t f = 1.3 cm, r = 1.6 cm,
เหล็ก ASTM A36 มี E = 2,040,000 ksc และ Fy = 2500 ksc
⎡ N ⎛ 0.8 ⎞ ⎤
1.5
⎛ 1.3 ⎞
16,500 = 0.20 × 0.8 × ⎢1 + 3 × ⎜
2
⎟ ⎥ 2,040,000 × 2500 × ⎜ ⎟
⎣⎢ 40 ⎝ 1.3 ⎠ ⎦⎥ ⎝ 0.8 ⎠
⎡ 3N ⎤
16,500 = 0.128⎢1 + × 0.482747409⎥ 8,287,500,000
⎣ 40 ⎦
3N 16,500
1+ × 0.482747409 = = 1.415996578
40 0.128 8,287,500,000
3N
× 0.482747408 = 0.415996578
40
40
N = 0.415996578 × = 11.49 cm
3 × 0.482747408
ดังนั้นใช N = 11.49 cm ถาเวนระยะหางระหวางปลายคานกับหนาเสา 1.2 cm จะตองการเหล็กตัวทีกวาง
= 11.49 + 1.2 = 12.69 cm ใชเหล็กตัวทีกวาง 15 cm
เลือกเหล็กหนาตัดตัวที โดยความหนาของเหล็กแผนตั้งไมนอยกวาความหนาของแผนตั้งของคาน และ
มีอัตราสวนของความกวางหรือความลึกตอความหนาไมเกินกวาขอกําหนด ซึ่งเหล็กแผนตั้งของรูปตัดตัวที
ตองสามารถตานทานโมเมนตดัดดวย
436 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ทดลองเลือก WT − 220 × 62 มาจาก W − 440 × 124 ซึ่งมี d = h = 220 mm, b f = 300 mm,
t w = 11 mm, t f = 18 mm, r = 24 mm, A = 78.7 cm 2 , w = 62 kg/m, Ix = 2,683 cm4, Iy = 4,055.7 cm4,
rx = 5.8386 cm, ry = 7.1785 cm, SxT = 662.31 cm3, SxB = 149.48 cm3, Sy = 270.38 cm3, Zx = 267.20 cm3, Zy
= 413.81 cm3, cy =17.95 cm
bf 30 E 2,040,000
= = 8.333 < 0.56 s = 0.56 = 15.997
2t f 2 × 1.8 Fy 2,500
d 22 E 2,040,000
= = 20 < 0.75 s = 0.75 = 21.424
t w 1.1 Fy 2,500
หนาตัดทีเ่ ลือกมาใชได
โมเมนตดัดที่เหล็กแผนตั้งของหนาตัดตัวทีตองรับ
⎛N ⎞ ⎛ 11.49 ⎞
M = R ⎜ + 1.2 ⎟ = 16,500 × ⎜ + 1.2 ⎟ = 114,592.5 kg.cm
⎝2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
หนวยแรงดัดที่กระทํา
M 6M 6 × 114,592.5
fb = = = = 1291.42562 ksc < 0.6Fy = 0.6 × 2500 = 1500 ksc
S t wd2 1.1 × 22 2
ดังนั้นเลือกรูปตัด WT-220 × 62 ยาว 15 cm เชื่อมติดกับปกเสา

ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบรอยตอเชื่อมที่ปกเสา โดยทํารอยตอเชื่อมกับปกเสาดังรูป ใหรอยเชื่อมกวาง 1 หนวย


เปนรูปตัว L ความยาวขายาว L ความยาวขาสั้น 0.25L เปนการเชื่อมใตปกตัวที พืน้ ทีร่ อยเชื่อม
∑ A = 2 × (L + 0.25L )× 1 = 2.5L
หาตําแหนงเซนทรอยดจากศูนยกลางรอยเชื่อมบน
2 × (0.25L × 1) × 0 + 2 × (L × 1) ×
L
y=
∑ Ay = 2 = 0.4L
∑A 2.5L
เสนยาว 0.25L สองเสนหางแกนสะเทินระยะ 0.4L หาโมเมนตอินเนอรเชียรอบแกนสะเทิน
ตัวอยางการออกแบบรอยเชื่อม 437

1 × (0.4L ) 1 × (L − 0.4L )
3 3
I = 2 × (0.25L × 1) × (0.4L ) + 2 × + 2×
2

3 3
0.128L 0.432L 0.24 + 0.128 + 0.432 3 0.8L3
3 3
I = 0.08L +
3
+ = L =
3 3 3 3
3 2
I 0.8L 1 2L
Stop = = × =
y 3 0.4L 3
เนื่องจากรอยเชื่อมอยูใตปกคานซึ่งหนา 1.8 cm ความลึกตัวที 22 cm ดังนั้น
L = 22 − 1.8 = 20.2 cm
หนวยแรงเฉือนจากแรงเฉือนอยูในแนวตัง้
R R 16,500
fs = = = = 326.733 kg/cm
A 2.5L 2.5 × 20.2
หนวยแรงดัดที่รอยเชื่อมบนซึ่งเปนแรงดึงและอยูใ นแนวนอน
M 3M 3 × 114,592.5
fh = = = = 421.255 kg/cm
Stop 2L2 2 × 20.2 2
(สวนที่อยูใตแกนสะเทินเปนแรงอัดจากโมเมนตดัดที่เนื้อของแผนตั้งตัวทีชวยรับอยู รอยเชื่อมจึงอาจจะไม
ตองรับหรือรับเปนสวนนอย หากจะฉีกขาดจะเริ่มจากรอยเชื่อมบน)
หนวยแรงลัพธที่รอยเชื่อมบน
f r = f s2 + f h2 = 326.7332 + 421.2552 = 533.114 kg/cm
กําลังรับแรงเฉือนของลวดเชือ่ ม
Fr = (0.3Fv )(0.707 ) = (0.3 × 4200) × (0.707 ) = 890.82 kg/cm > fr = 533.114 kg/cm
ตองการขนาดขาเชื่อม
f r 533.114
tw = = = 0.598 cm = 5.98 mm
Fr 890.82
คา Fv = 4200 ksc สําหรับลวดเชื่อมชนิด E 60 (ถาเปน E 70 คา Fv = 4900 ksc)
ดังนั้นใชลวดเชื่อมชนิด E 60 ขนาดขาเชื่อม 8 mm
ตรวจสอบการรับแรงเฉือนของเหล็กแผนตัง้
FvW = 0.4Fy t = 0.4 × 2,500 × 1.1 = 1,100 kg/cm > fs = 326.733 kg/cm
ดังนั้นใชเหล็กรูปตัดตัวที ขนาด WT − 220 × 62 ยาว 15 cm เชื่อมแบบฟลเล็ตกับปกเสาดวยลวดเชือ่ มชนิด
E60 ขนาดขาเชื่อม 8 mm และที่ปลายคานดานบนใชเหล็กฉากขนาด L − 90 × 90 × 7 mm ยาว 25 cm เพือ่
ยึดคานใหอยูในตําแหนงที่ตอ งการและใหหมุนได
438 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ตัวอยางที่ 7.7 จงออกแบบการเชื่อมตอปลายคานรูปตัด W 450 × 76 กับเสา รับแรงปฏิกิริยา 16.5 ตัน และ


โมเมนตดัด 22 ตัน.เมตร ใชเหล็กชนิด ASTM A36 ลวดเชื่อมชนิด E 70 ใชฐานรองรับเหล็กฉากขนาด
L − 150 × 100 × 15 mm
วิธีทํา เนื่องจากโจทยไมแยกแรงวามาจากน้ําหนักบรรทุกคงที่เทาใด จากน้ําหนักบรรทุกจรเทาใด การที่จะ
ออกแบบตามวิธี AISC/LRFD จึงตองมีการเดาขึ้นมา ดังนั้นตัวอยางนีจ้ งึ จะออกแบบตามวิธี AISC/ASD
คาน W 450 × 76 มี d = 450 mm, bf = 200 mm, tw = 9 mm, tf = 14 mm, r = 18 mm, A = 96.774 cm2,
w = 76 kg/m, Ix = 33,456 cm4, Iy = 1,871.6 cm4, rx = 18.593 cm, ry = 4.3977 cm, Sx = 1,486.9 cm3,
Sy=187.16 cm3, Zx = 1,679.3 cm3, Zy = 290.93 cm3
ขั้นตอนที่ 1 ออกแบบรอยเชือ่ มแบบตอทาบเพื่อรับแรงปฏิกิริยา 16.5 ตัน
ใชขายาวของเหล็กฉากแนบกับปกเสา รอยเชื่อมจะยาวทีส่ ุดไมเกิน 15 cm
R
ความยาวรอยเชื่อมที่ตองการ L = สมมติขนาดขาเชื่อม t w = 6 mm ดังนั้น
(0.3Fv )(0.707 )t w
16,500
L= = 26.46 cm ขางละ = 26.46 = 13.23 cm ใช 15 cm
(0.3 × 4900)(0.707 ) × 0.6 2
ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบรอยเชือ่ มตอเพื่อรับโมเมนตดัด 22 ตัน.เมตร
การออกแบบทําได 2 วิธี คือ
(ก) แบบใหคานชิดหนาเสา และ
(ข) แบบใหคานไมชิดหนาเสาโดยหางประมาณ 12 mm เพื่อสะดวกในการยกติดตั้ง
(ก) ออกแบบใหคานชิดหนาเสา

แรงดึงแรงอัดที่เกิดขึ้นในปกคานเนื่องจากโมเมนตดดั โดยไมคิดวาแผนตั้งชวยรับโมเมนต แนวแรง


ผานกึ่งกลางความหนาของปกคาน ระยะแขนโมเมนตคอื
แขนโมเมนต d m = d − t f −
tf
= 45 −
1.4 1.4
− = 45 − 1.4 = 43.6 cm
2 2 2 2
แรงดึง T และแรงอัด C ในปกคาน
M 22 × 1000 × 100
T=C= = = 50,458.7156 kg
dm 43.6
แรงดึงนี้จะสงจากปกคานไปยังเสาผานรอยเชื่อมแบบตอชนชนิด bevel
ตัวอยางการออกแบบรอยตอเชื่อม 439

แตกําลังรับแรงดึงของปกคานตรงรอยเชื่อมตลอดความกวางของปกคาน
T1 = 0.6Fy b f t f = 0.6 × 2500 × 20 × 1.4 = 42,000 kg < 50,458.7156 kg
ดังนั้น ตองเสริมแผนเหล็กรับแรงสวนทีย่ งั ขาดอยู
T2 = 50,458.7156 − 42,000 = 8,458.7156 kg
ใชแผนเหล็กเชื่อมติดหลังคานแบบตอทาบ แลวเชื่อมติดกับปกเสาแบบตอชน ดังนัน้ หาขนาดของแผน
เหล็ก โดยขัน้ แรกสมมติใหความหนาแผนเหล็ก 8 mm หาความกวางของแผนเหล็ก
T2 8,458.7156
b= = = 7.049 cm
0.6Fy t 0.6 × 2500 × 0.8
สมมติใหแผนเหล็กกวาง 7.5 cm = 75 mm ขนาดขาเชื่อมเมื่อความหนาของแผนเหล็ก 6 mm ขึ้นไป ลดลง 2
mm จากความหนา ดังนั้นขนาดขาเชื่อมควรจะเปน tw = 8 – 2 = 6 mm ดังนั้นความยาวรอยเชื่อม
T2 8,458.7156
L= = = 13.565 cm
(0.3Fv )(0.707 )t w (0.3 × 4,900)(0.707 ) × 0.6
ความยาวรอยเชื่อมดานกวาง 7.5 cm เหลือสองขาง = 13.565 – 7.5 = 6.065 cm สองขางๆ ละ 3.0325 cm ใช 5
cm แผนเหล็กกวาง 7.5 cm ยาว 5 cm หนา 8 mm หรือ PL − 75 × 50 × 8 mm
(ข) ออกแบบไมใหคานชิดหนาเสา
ใชแผนเหล็กทีห่ ลังคานรับแรงดึง และเหล็กฉากรองดานลางรับแรงอัด สวนที่รับแรงดึงใชรอยเชื่อม
แบบตอชนชนิด Bevel

เนื่องจากการใชแผนเหล็กและเหล็กฉากยึดปกคาน แขนโมเมนตจึงเทากับความลึกของคาน 45 cm
แรงดึงและแรงอัดที่เกิดขึน้
M 22 × 1000 × 100
T=C= = = 48,889 kg
dm 45
หลังคานกวาง 20 cm แตจะทําเปนสี่เหลี่ยมคางหมูใหรอยเชื่อมระหวางแผนเหล็กยาวพอในการรับแรง
สมมติวาความกวางแผนเหล็กตรงปลายคานกวาง 17.5 cm ความหนาของแผนเหล็กจากการรับแรงดึงคือ
T 48,889
t= = = 1.86 cm = 18.6 mm ใช 20 mm
0.6Fy b 0.6 × 2500 × 17.5
440 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

การตอทาบ ปกคานบางกวาแผนเหล็ก ความหนาปกคาน 1.4 cm ลดลง 0.2 cm เหลือ 1.2 cm แตขนาด


โตสุดของขาเชื่อมคือ 8 mm ดังนั้นความยาวของรอยเชือ่ ม หาไดจาก
T 48,889
L= = = 58.8 cm ใช 60 cm
(0.3Fv )(0.707)t w (0.3 × 4900)(0.707) × 0.8
ใหสวนของสี่เหลี่ยมคางหมูยาว 25 cm และตรงปลายกวาง 10 cm จะไดรอยเชื่อมยาวมากกวา 60 cm

ตัวอยางที่ 7.8 จงออกแบบการยึดปลายเสา W 250 × 72.4 กับฐานคอนกรีต แรงอัดประลัย 42 ตัน และ


โมเมนตดัดประลัย 7.5 ตัน.เมตร ใชเหล็กชนิด ASTM A36 สมมติกําลังตานทานแรงกดประลัยของ
คอนกรีต 70 ksc

วิธีทํา
เสา W 250 × 72.4 มี d = 250 mm, bf = 250 mm, tw = 9 mm, tf = 14 mm, r = 16 mm, A = 92.18 cm2,
w = 72.4 kg/m, Ix = 10,800 cm4, Iy = 3,650 cm4, rx =10.8 cm, ry = 6.29 cm, Sx =867 cm3, Sy =292 cm3, Zx =
936.89 cm3
กําหนดให B = 50 cm = ดานกวางของแผนรองใตเสา
L = 50 cm = ดานยาวของแผนเหล็กรองใตเสา
Pu = 42,000 kg = น้ําหนักตามแนวแกน
Mu = 750,000 kg.cm = โมเมนตดัดรอบแกนสะเทิน
หนวยแรงกดประลัย
Pu 6M 42,000 6 × 750,000
qu = ± = ±
BN BN 2 50 × 50 50 × 50 2
q u = 16.8 ± 36
q u = 16.8 + 36 = 52.8 ksc แรงอัด
q u = 16.8 − 36 = −19.2 ksc แรงดึง
ตัวอยางการออกแบบรอยเชื่อม 441

ถาหนวยแรงกดประลัยแปรเปนเสนตรง สมมติระยะ x วัดจากตําแหนงแรงกดสูงสุด 52.8 ksc หนวยแรงที่


ระยะ x ใดๆ หาไดจากสามเหลี่ยมคลาย
q u + 19.2 50 − x
=
52.8 + 19.2 50

50 − x
q u = (52.8 + 19.2 ) − 19.2
50
q u = 72 − 1.44 x − 19.2
q u = 52.8 − 1.44 x
แรงเฉือนที่ระยะ x จากหนวยแรง 52.8 ksc เปนพื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู ดานคูขนานยาว 52.8 กับ 52.8 –
1.44 x ระยะระหวางคูขนาน x แรงเฉือนคือพื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมูนี้
Vu =
x
(52.8 + 52.8 − 1.44x ) = 52.8x − 0.72x 2
2
โมเมนตดัดที่ระยะ x จากหนวยแรง 52.8 ksc แบงสี่เหลี่ยมคางหมูเปนสามเหลี่ยมสองรูป หาโมเมนต
ดัดที่รอยตัดหรือระยะ x ดังนี้
+ × (52.8 − 1.44x ) × x ×
1 2x 1 x
Mu = × 52.8 × x ×
2 3 2 3
M u = 17.6x + 8.8x − 0.24x
2 2 3

M u = 26.4x 2 − 0.24x 3
หนาตัดวิกฤตอยูที่ระยะ
N − 0.95d 50 − 0.95 × 25
x= = = 13.125 cm
2 2
โมเมนตดัดทีห่ นาตัดวิกฤต
M u = 26.4 × 13.1252 − 0.24 × 13.1253 = 4,005.175781 kg.cm/cm
ความหนาของแผนเหล็กที่รองใตเสา
4M u 4 × 4,005.175781
t= = = 2.668 cm = 26.7 mm ใช t = 28 mm
φ b Fy 0.9 × 2500
หาขนาดและจํานวนของสลักสมอ (anchor bolt) ที่ตองใช โดยศูนยกลางหางจากหนาเสา 6.25 cm ซึ่งคือ
กึ่งกลางระยะจากหนาเสาถึงปลายแผนรอง
50 − 25 25
= = = 6.25 cm
2× 2 4
(ก) พิจารณาใหสลักสมอรับโมเมนตดดั ที่กระทําทั้งหมด
โมเมนตดัดประลัย
M u = 7.5 × 1000 × 100 = 750,000 kg.cm
แขนโมเมนต
d m = 6.25 + 25 + 6.25 = 37.5 cm
442 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แรงดึงและแรงอัดที่สลักเกลียวตองรับ
M u 750,000
T=C= = = 20,000 kg
dm 37.5
เลือกเหล็ก RB 19 mm ชนิด SR-24 มี Fy = 2400 ksc, Fu = 3900 ksc
เนื้อที่หนาตัดเหล็กหนึ่งเสน
πd 2b π × 1.9 2
A s1 = = = 2.835 cm2
4 4
จํานวนสลักเกลียวที่ตองการแตละดาน
T 20,000
nb = = = 3.22 ⇒ 4 ตัว
0.75(0.75Fu )A s1 0.75 × 0.75 × 3900 × 2.835
(ข) พิจารณาใหสลักสมอรับโมเมนตดดั ที่กระทําแตพิจารณาผลของแรงอัดดวย
ระยะเยื้องศูนย
M u 7.5
e= = = 0.17857 m = 17.857 cm
Pu 42
จุดที่หนวยแรงอัดกระทําเปน 0 กลาวคือ
q u = 52.8 − 1.44 x = 0
52.8
x= = 36.667
1.44
36.667
แรงอัดใตแผนรอง Ru จะหางจากขอบนอกของแผนเหล็ก ขณะที่ขอบของแผนเหล็กหางจาก
3
50 − 25
หนาเสาระยะ = 12.5 cm ดังนั้นแรงอัดลัพธ Ru จึงหางจากหนาเสาเปนระยะ
2
36.667
= 12.5 − = 0.2778 cm
3
แรง T เปนแรงดึงของสลักสมอ เมื่อวัดถึง Ru ไดแขนโมเมนตยาว
d m = 6.25 + 25 + 0.2778 = 31.5278 cm
น้ําหนัก Pu = 42,000 kg หางจากศูนยกลางเสา e = 17.857 cm ระยะจากศูนยกลางเสาถึงขอบเสา
25
= = 12.5 cm และหนาเสาถึงแนวแรง Ru คือ 0.2778 cm ดังนัน้ Pu หางแนวแรง Ru หรือแขนโมเมนต
2
ของแรง Pu คือ
d m1 = 17.857 − 12.5 − 0.2778 = 5.0792 cm
ดังนั้นเมื่อให Ru เปนแกนหมุน สมดุลของโมเมนตคือ
Td m = Pu d m1
31.5278T = 42,000 × 5.0792
42,000 × 5.0792
T= = 6,766.295143 kg
31.5278
เลือกเหล็ก RB 19 mm ชนิด SR-24 มี Fy = 2400 ksc, Fu = 3900 ksc
เนื้อที่หนาตัดเหล็กหนึ่งเสน
ตัวอยางการออกแบบรอยเชื่อม 443

πd 2b π × 1.9 2
A s1 = = = 2.835 cm2
4 4
จํานวนสลักเกลียวที่ตองการแตละดาน
T 6,766.295143
nb = = = 1.09 ⇒ 2 ตัว
0.75(0.75Fu )A s1 0.75 × 0.75 × 3900 × 2.835
ระยะที่ตองฝงยึดสลักสมอในคอนกรีต
ใหหนวยแรงยึดเหนีย่ วระหวางคอนกรีตกับสลักสมอ 25 ksc โดยตองงอปลายเปน J-bolt สลักสมอแต
ละเสนรับแรงถอน
T 6,766.295143
Pwd = = = 3,383.15 kg
2 2
โดยที่แรงถอน
Pwd = uπd b L
Pwd 3,383.15
L= = = 22.67
uπd b 25 × π × 1.9
ใช J-bolt ขนาด 19 mm ยาว 25 cm จากผิวใตแผนรองใตเสาถึงจุดที่เริ่มงอตัว J
ขนาดรอยเชื่อมระหวางเสาเหล็กกับแผนเหล็กรองใตเสา
หนวยแรงดึงทีป่ กเสา
M u Pu 750,000 42,000
ft = − = − = 344.89 ksc
Z x A 936.89 92.18
แรงดึงที่ปกเสา
kg
T = f t b f t f = 344.89 × 25 × 1.4 = 12,071.17
ถาใชลวดเชื่อมชนิด E 60 ขนาดขาเชื่อม 8 mm เชื่อมตลอดความกวางของปกเสา
กําลังของรอยเชื่อมในการรับแรงดึง
Tw = 0.75(0.6Fv )(0.707 )Lt w = 0.75(0.6 × 4200 )(0.707 ) × 25 × 0.8
Tw = 26,724.6 kg > T = 12,071.17 kg
444 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แบบฝกหัดเรื่องรอยตอเชื่อม
รอยเชื่อมพอก (Fillet Welds)
[1] [Segui 7.11-1] จงหาน้ําหนักบรรทุกใชงานสูงสุดที่กระทําได หากอัตราสวนน้ําหนักบรรทุกจรใชงานตอ
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงานเทากับ 2.5 ใหตรวจสอบการวิบัติทุกกรณีที่เปนไปได ทอนรับแรงดึงเปน
เหล็ก ASTM A572 Grade 50 สวนแผนประกับเหล็กเปนเหล็กชนิด ASTM A36 ลวดเชื่อมชนิด E70
ขนาด 5 mm
(ก) โดยวิธี AISC/ASD
(ข) โดยวิธี AISC/LRFD

[2] [Segui 7.11-2] จงหาน้ําหนักบรรทุกใชงานสูงสุดที่กระทําบนจุดตอได ใหอัตราสวนน้ําหนักบรรทุกจรใช


งานตอน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงานเทากับ 3.0 ใหตรวจสอบการวิบัตทิ ุกกรณีที่เปนไปได ทอนรับแรง
ดึงเปนเหล็ก ASTM A36 ลวดเชื่อมชนิด E70 ขนาด 6 mm ทอนรับแรงดึงเปนเหล็กฉากคู และเชื่อม
ตลอดตามรูปที่ P7.11-2
(ก) โดยวิธี AISC/ASD
(ข) โดยวิธี AISC/LRFD
แบบฝกหัดเรื่องรอยเชื่อม 445

[3][Segui 7.11-3] จงหาแรงดึงใชงานสูงสุด P ที่จุดตอสามารถรับได อัตราสวนน้ําหนักบรรทุกจรใชงานตอ


น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงานเทากับ 2.0 แผนเหล็กแตละแผนขนาด PL − 175 × 19 mm เหล็กชนิด
ASTM A242 ลวดเชื่อมชนิด E70 ขนาดขาเชื่อม 12 mm
(ก) โดยวิธี AISC/ASD
(ข) โดยวิธี AISC/LRFD

[4][Segui 7.11-4] ชิ้นสวนรับแรงดึงตอโดยวิธีเชื่อม ลวดเชื่อมชนิด E70 ขนาดขาเชื่อม 6 mm ดังรูป P7.11-4


แตละดานของแผนประกับเชือ่ มดังแสดง เหล็กแผนกลางเดี่ยว PL − 150 × 12 mm สวนสองแผน
ประกบนอกแตละแผนขนาด PL − 75 × 8 mm เหล็กทุกแผนเปนชนิด ASTM A36 จงหาน้าํ หนัก
บรรทุกใชงานสูงสุด เมื่อน้ําหนักบรรทุกคงที่กับน้ําหนักบรรทุกจรใชงานมีสัดสวนเทาๆ กัน
(ก) โดยวิธี AISC/ASD
(ข) โดยวิธี AISC/LRFD
446 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[5][Segui 7.11-5] จงออกแบบรอยเชื่อมที่แสดงในรูปที่ P7-11-5 น้ําหนักบรรทุกที่แสดงเปนน้ําหนักบรรทุก


ใชงาน เหล็กฉากมี Fy = 3500 ksc และแผนประกับมี Fy = 2500 ksc ใหเขียนแสดงรายละเอียดให
ครบถวน
(ก) โดยวิธี AISC/ASD
(ข) โดยวิธี AISC/LRFD

[6][Segui 7.11-7] จงออกแบบรอยเชื่อมตอของหนาตัด MC250 × 34.6 เหล็ก ASTM A572 Grade 50 สวน
แผนประกับหนา 9 mm เปนเหล็กชนิด ASTM A36 ใหเขียนรายละเอียดของจุดตอเชื่อมอยางชัดเจน
(ก) โดยวิธี AISC/ASD
(ข) โดยวิธี AISC/LRFD
แบบฝกหัดเรื่องรอยตอเชื่อม 447

[7][Segui 7.11-8] จงออกแบบรอยเชื่อมตอที่แสดง โดยพิจารณาแรงดึงจากที่ชนิ้ สวนทนทานได ใชเหล็ก


ชนิด ASTM A36 ใหเขียนแสดงรายละเอียดจุดตออยางละเอียด

[8][Segui 7.11-9] ใหออกแบบโดยใชเหล็กฉากคูรับแรงดึงจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 5,443 kg และจาก


น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 16,330 kg ชิ้นสวนยาว 4.80 เมตร ใชแผนประกับเหล็กหนา 15 mm เหล็กที่
ใชชนิด ASTM A36 เขียนแสดงรายละเอียดใหมากพอทีจ่ ะนําไปกอสรางได

[9][Segui 7.11-10] จงออกแบบทอนรับแรงดึงและจุดตอปลายดวยการเชื่อม โดยมีเงื่อนไขดังนี้


(1) ทอนรับแรงดึงเปนเหล็กรางมาตรฐานที่ใชในไทย
(2) ความยาว 5.33 เมตร
(3) แผนตั้งของเหล็กรางเชื่อมติดกับแผนประกับเหล็กหนา 9 mm
(4) เหล็กรางเปนชนิด ASTM A572 Grade 50 สวนแผนประกับ ASTM A36
(5) น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 24,500 kg น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 36,300 kg และแรงลม 34,000
kg
ใหแสดงรายละเอียดอยางชัดเจนที่จะนําไปกอสรางไดจริง

จุดตอเชื่อมเยื้องศูนย โดยรอยเชื่อมรับเฉพาะแรงเฉือน

[10][Segui 8.4-1] จงใชวิธวี ิเคราะหแบบอิลาสติก หาแรงสูงสุดในรอยเชื่อมเปน kg/cm


448 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[11][Segui 8.4-2] จงใชวิธวี ิเคราะหแบบอิลาสติก หาแรงสูงสุดในรอยเชื่อมเปน kg/cm

[12][Segui 8.4-3] จงใชวิธวี ิเคราะหแบบอิลาสติก หาแรงสูงสุดในรอยเชื่อมเปน kg/cm

[13][Segui 8.4-4] ใหใชวิธวี ิเคราะหแบบอิลาสติก ตรวจสอบวารอยเชื่อมเพียงพอหรือไม ใหแรงเฉือนใน


ชิ้นสวนและแผนเหล็กนั้นเพียงพอ น้ําหนักบรรทุก4,536 kg เปนน้ําหนักบรรทุกใชงานโดยเปน
น้ําหนักบรรทุกคงที่ 25% ที่เหลือ 75% เปนน้ําหนักบรรทุกจร
(ก) โดยวิธี AISC/ASD
(ข) โดยวิธี AISC/LRFD
แบบฝกหัดเรื่องรอยตอเชื่อม 449

[14][Segui 8.4-5] ใหใชลวดเชื่อมชนิด E70 ใหหาขนาดการเชื่อม โดยวิเคราะหดว ยวิธีอิลาสติก ใหแผน


เหล็กสามารถรับแรงเฉือนได
(ก) โดยวิธี AISC/ASD
(ข) โดยวิธี AISC/LRFD

[15][Segui 8.4-6] ใหตรวจสอบกําลังของรอยเชื่อม แรง 9,000 kg เปนน้ําหนักบรรทุกใชงาน อัตราสวน


น้ําหนักบรรทุกจรใชงานตอน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงานเทากับ 2.0 วิเคราะหโดยวิธีอลิ าสติก แผนเหล็ก
และชิ้นสวนรับแรงเฉือนไดอยางปลอดภัย
(ก) โดยวิธี AISC/ASD
(ข) โดยวิธี AISC/LRFD

[16][Segui 8.4-7] ใหวิเคราะหโดยวิธีอิลาสติก คํานวณหาแรงในรอยเชื่อมเปน kg/cm เนื่องจากการเยื้องศูนย


450 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[17][Segui 8.4-8] ใหวิเคราะหโดยวิธีอิลาสติก คํานวณหาแรงในรอยเชื่อมเปน kg/cm เนื่องจากการเยื้องศูนย

[18][Segui 8.4-9] เหล็กฉากขนาด L − 150 × 150 × 12 mm ยึดติดกับแผนประกับเหล็กหนา 15 mm โดย


เชื่อมยึดดวยลวดเชื่อม E70 ใหกําลังของรอยเชื่อมเทากับกําลังของเหล็กฉาก จัดรอยเชื่อมไมใหเกิด
การเยื้องศูนย ชนิดเหล็ก ASTM A36 ใหชนิ้ สวนรับแรงไดโดยปลอดภัย
(ก) โดยวิธี AISC/ASD
(ข) โดยวิธี AISC/LRFD
[19][Segui 8.4-13] จุดตอชิน้ สวนดวยลวดเชื่อมดังรูปที่ P8.4-13 แรงที่กระทําเปนน้าํ หนักบรรทุกใชงาน ให
ใชวิธี AISC/LRFD หาขนาดการเชื่อม วิเคราะหโดยวิธีอิลาสติก
แบบฝกหัดเรื่องรอยตอเชื่อม 451

[20][Segui 8.4-14] จุดตอชิน้ สวนดวยลวดเชื่อมดังรูปที่ P8.4-13 แรงที่กระทําเปนน้าํ หนักบรรทุกใชงาน ให


ใชวิธี AISC/ASD หาขนาดการเชื่อม วิเคราะหโดยวิธีอิลาสติก

[21][Segui 8.4-15] ใหใชวิธีวิเคราะหแบบอิลาสติก ออกแบบรอยตอเชื่อม สําหรับเหล็กฉากชนิด ASTM


A36 ขนาด L − 150 × 150 × 12 mm แผนประกับเหล็กหนา 15 mm และเปนชนิด ASTM A36 ดวย
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 14,000 kg น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 14,000 kg ใชวิธี AISC/LRFD
(ก) ไมตองปรับสมดุลของรอยเชื่อม เขียนรายละเอียดจุดตอใหชัดเจน
(ข) ปรับสมดุลความยาวของรอยตอ เขียนรายละเอียดจุดตอใหชัดเจน

[22][Segui 8.4-16] ใหใชวิธีวิเคราะหแบบอิลาสติก ออกแบบรอยตอเชื่อม สําหรับเหล็กฉากชนิด ASTM


A36 ขนาด L − 150 × 150 × 12 mm แผนประกับเหล็กหนา 15 mm และเปนชนิด ASTM A36 ดวย
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 14,000 kg น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 14,000 kg ใชวิธี AISC/ASD
(ก) ไมตองปรับสมดุลของรอยเชื่อม เขียนรายละเอียดจุดตอใหชัดเจน
(ข) ปรับสมดุลความยาวของรอยตอ เขียนรายละเอียดจุดตอใหชัดเจน
452 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[23][Segui 8.4-17] เหล็กฉากเดีย่ วรับแรงดึงเชื่อมตอกับแผนประกับเหล็กดังรูป P8.4-17 เหล็ก ASTM A36


ทั้งเหล็กฉากและแผนประกับเหล็ก
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD และขนาดการเชื่อมที่เล็กที่สุด ออกแบบรอยตอ ไมตองปรับความยาวของ
รอยเชื่อม
(ข) ใหตรวจสอบผลการออกแบบตามขอ (ก) โดยดูผลการเยือ้ งศูนย ปรับแกใหเหมาะสม
(ค) ใหเขียนรายละเอียดรอยตอเชื่อมอยางชัดเจน

[24][Segui 8.4-18] เหล็กฉากเดีย่ วรับแรงดึงเชื่อมตอกับแผนประกับเหล็กดังรูป P8.4-17 เหล็ก ASTM A36


ทั้งเหล็กฉากและแผนประกับเหล็ก
(ก) ใชวิธี AISC/ASD และขนาดการเชื่อมที่เล็กที่สุด ออกแบบรอยตอ ไมตองปรับความยาวของ
รอยเชื่อม
(ข) ใหตรวจสอบผลการออกแบบตามขอ (ก) โดยดูผลการเยือ้ งศูนย ปรับแกใหเหมาะสม
(ค) ใหเขียนรายละเอียดรอยตอเชื่อมอยางชัดเจน
แบบฝกหัดเรื่องรอยเชื่อมตอ 453

[25][Segui 8.4-19]
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD ออกแบบรอยตอเชื่อมของหูชางที่แสดงในรูป P8.4-19 เหล็กทุกชิ้นเปนชนิด
ASTM A36 ระยะ 250 mm เปนคาสูงสุด
(ข) ใหอธิบายวาเหตุผลใดรอยเชื่อมของทานเหมาะสมที่สุด

[26][Segui 8.4-20]
(ก) ใชวิธี AISC/ASD ออกแบบรอยตอเชื่อมของหูชางที่แสดงในรูป P8.4-19 เหล็กทุกชิ้นเปนชนิด
ASTM A36 ระยะ 250 mm เปนคาสูงสุด
(ข) ใหอธิบายวาเหตุผลใดรอยเชื่อมของทานเหมาะสมที่สุด

รอยเชื่อมเยื้องศูนย รับทั้งแรงเฉือนและแรงดึง

[27][Segui 8.5-1] จงหาแรงสูงสุดในรอยเชื่อมเปน kg/cm


454 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[28][Segui 8.5-2] จงหาแรงสูงสุดในรอยเชื่อมเปน kg/cm

[29][Segui 8.5-3] ใหใชลวดเชื่อมชนิด E70 ขนาดการเชื่อมใหญที่สุด แบบการเชื่อมแบบพอก fillet ใหหา


แรงปฏิกิริยาทีม่ ากที่สุด R (ที่รอยเชื่อมรับได) ที่รอยตอในรูปที่ P8.5-3 สามารถรับเอาไวได คานและเสา
เปนเหล็กชนิด ASTM A992 เหล็กฉากเปน ASTM A36 ไมคตองคิดการเชื่อมออมปลายที่ดานบนของ
รอยเชื่อม
(ก) โดยวิธี AISC/ASD
(ข) โดยวิธี AISC/LRFD

[30][Segui 8.5-4] หูชางทําดวยเหล็ก ASTM A36 เชื่อติดกับเสา W350 × 136 ชนิดเหล็ก ASTM A992 ใช
ลวดเชื่อมชนิด E70 จงหาขนาดการเชื่อม แรงกระทําประกอบดวยน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 3,630 kg
น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 8,200 kg
(ก) โดยวิธี AISC/ASD
(ข) โดยวิธี AISC/LRFD
แบบฝกหัดเรื่องรอยเชื่อมตอ 455

[31][Segui 8.5-5] หูชาง WT − 175 × 24.8 เชื่อมติดกับเสา W − 350 × 136 โดยใชลวดเชื่อมชนิด E70
ขนาดการเชื่อม 8 mm ดังรูป P8.5-5 จงหาน้ําหนักบรรทุกเพิ่มคาสูงสุด Pu ที่จุดตอรับได แลวใหหา
น้ําหนักบรรทุกใชงานสูงสุด Pa
456 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขอสอบปลายภาค 2/2550 ครุศาสตรโยธา มทร.ธัญบุรี


[32] จงออกแบบหูชางรับน้ําหนักจากเครนโรงงานซึ่งน้ําหนักบรรทุกคงที่ 3.5 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรที่ยก
ได 15 ตัน โดยตองเผื่อการเปลี่ยนแปลงความเร็วในการยกอีก 30 % ของน้ําหนักบรรทุกจร เสาที่
รองรับเปนขนาด W − 350 × 136 ตําแหนงแรงกดจากเครนหางจากหนาเสา 150 mm ใชเหล็กชนิด
ASTM A36 ลวดเชื่อม E70
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 457

บทที่ 8 คานเหล็กประกอบขนาดใหญ
8.1 คานเหล็กประกอบขนาดใหญ
ในกรณีที่ไมสามารถหาหนาตัดเหล็กรูปพรรณที่ใหญพอในการรับน้ําหนัก จําเปนตองนําเหล็กแผนมา
ประกอบกันเปน คานเหล็กประกอบขนาดใหญ (plate girder) โดยประกอบขึ้นจากแผนเหล็กอยางนอยสาม
h E
แผน กลาวคือ เหล็กแผนตั้ง (web) ที่มีอัตราสวนความชะลูด > 5.70 ตามวิธี LRFD หรือ
tw Fy
h E
> 5.76 ตามวิธี ASD และเหล็กแผนปกคาน (flange) ที่ดานรับแรงอัดและแรงดึงสําหรับรับ
tw Fy
โมเมนตดัด การตอยึดชิ้นสวนเขาดวยกัน อาจจะใชวิธีเชื่อม หรือใชตัวยึด หากใชตวั ยึดจะใชเหล็กฉาก
(angle) เปนตัวชวยยึดระหวางปกกับแผนตั้ง สวนมากหนาตัดประกอบนี้จะคลายรูปตัด I หรือ W หรือกลอง
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ จะใชในกรณีที่ตองการชวงความยาวมากและไมตองการใหมเี สาเกะกะ
เชนหองจัดเลีย้ ง หองประชุม สวนมากเพื่อสะดวกในการใชสอยของผูรับบริการมักจะใหหองเหลานี้อยูชั้น
ลาง ทําใหคานชั้นสองตองรับน้ําหนักจากเสาชั้นเหนือขึ้นไปจึงเกิดแรงเฉือนมากขึน้ แผนตั้งอาจจะยูหรือ
ครากไดงาย จึงปองกันโดยเสริมเหล็กแผนขางคานเปนระยะซึ่งถือวาเปนค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดดวย
h
ทําใหคานสามารถรับแรงเฉือนและแรงกดจากเสาไดดี ดังนั้นการใช นอยเกินไปจะไมประหยัดเนื่องจาก
tw
ตองเสริมเหล็กขางคานถี่มาก
หนาตัดแบบตางๆ ของคานเหล็กประกอบขนาดใหญ แสดงไวดังรูปที่ 8.1
รูปที่ 8.1(ก) เปนแบบธรรมดาของคานเหล็กประกอบแบบใชหมุดย้าํ (riveted plate girder) ที่ปก คาน
จะประกอบดวยเหล็กฉากหนึ่งคู นํามาประกบกับเหล็กแผนตั้ง (solid web plate) ที่ขอบบนและขอบลาง
รูปที่ 8.1(ข) เมื่อตองรับโมเมนตดัดมากขึน้ จะเสริมแผนเหล็กเขาที่ปก คาน เรียกเหล็กที่เสริมนี้วา แผน
เหล็กประกบ (cover plate) การยึดใชหมุดย้าํ (rivet)
รูปที่ 8.1(ค) ทําเปนรูปกลอง (box girder) เปนแบบทัว่ ไปที่ใชในโครงสรางอาคาร
รูปที่ 8.1(ง) เปนรูปกลอง แตตองรับน้าํ หนักมากหากตองจํากัดความลึก ก็เสริมเหล็กแผนตั้ง (web
plate)
รูปที่ 8.1(จ) แสดงวิธีเลี่ยงการใชแผนเหล็กประกบปกคาน (cover plate) ที่มากเกินไป โดยเสริมแผน
เหล็กเขาไประหวางเหล็กแผนตั้ง (web) กับปกเหล็กฉาก (flange angle) ทําใหเนื้อทีห่ นาตัดปกคาน (flange)
มากขึ้น แตวิธนี ี้ทํางานยากจึงไมคอยนิยมกันนัก
458 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

รูปที่ 8.1(ฉ) และ (ช) แสดงแบบทั่วไปของคานเหล็กประกอบที่ไดจากการเชื่อม (welded plate girder)


รอยตอระหวางเหล็กแผนตั้งกับแผนเหล็กปกคานใชการเชื่อมแบบตอทาบ (fillet weld)
รูปที่ 8.1(ซ) ใชคานตัว T ตอดวยเหล็กแผนดวยวิธีตอชน (butt weld)

8.2 ลักษณะการวิบัติของคานเหล็กประกอบ
ลักษณะการวิบัติของคานเหล็กประกอบคลายกับคานรูปพรรณ เชนที่ปกคานดานรับแรงดึงอาจจะ
คราก สวนปกคานดานรับแรงอัดอาจจะเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหง (FLB) หรือ เกิดการบิดและโกงทางขาง
(LTB) นอกจากนี้แรงอัดในปกคานดานบนที่รับแรงอัดอาจจะทําใหแผนตั้งโกงงอในแนวตั้งเนือ่ งจากแรง
ลัพธที่ไดจากแรงอัดนั้น
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ , ลักษณะการวิบัติของคานเหล็กประกอบขนาดใหญ 459

วิธีการปองกันการโคงงอของเหล็กแผนตั้งทําได 3 วิธี คือ


(1) โดยการลดอัตราสวนความลึกตอความหนาของเหล็กแผนตั้ง คือเพิ่มความหนาของเหล็กแผนตั้ง
(2) โดยเสริมเหล็กที่ดานขางของเหล็กแผนตั้งเปนชวงๆ เรียกวา เหล็กเสริมขางคาน ซึ่งอาจจะเปน
เหล็กแผนแบน หรือเหล็กฉาก ทําใหกําลังรับแรงเฉือนของเหล็กแผนตัง้ มากขึ้น
(3) โดยเสริมเหล็กที่ดานขางของเหล็กแผนตั้งเปนชวงๆ ตลอดความยาวคาน ทําใหเหล็กแผนตั้งรับ
แรงเฉือนซึ่งก็คือแรงอัดในแนวทแยงเพิ่มมากขึ้น จากพฤติกรรมการกระจายแรงตามสมมติฐานวาเหล็กแผน
ตั้งจะรับแรงดึงอยางเดียวหลังจากเกิดการโคงโกงงอ ที่เรียกวา tension-field action

รูปที่ 8.5 แสดงหลักการของการกระจายแรงที่เหล็กแผนตั้งรับเฉพาะแรงดึงอยางเดียวหลังจากเกิดการ


โคงโกงงอ หรือ tension-field action นั่นคือ เมื่อเหล็กแผนตั้งรับแรงอัดในแนวทแยงไมไหวจนเกิดการโคง
โกงงอไปแลว หากมีแรงอัดเพิ่มขึ้น เหล็กเสริมขางคานกับเหล็กปกคานจะรับแรงแทน โดยเหล็กเสริมขาง
460 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

คานจะรับแรงในแนวตั้งซึ่งเปนแรงยอยของแรงอัดในแนวทแยงที่เพิ่มขึน้ และเหล็กปกคานจะรับแรงใน
แนวนอนซึ่งเปนแรงยอยของแรงอัดในแนวทแยงที่เพิ่มขึน้ จึงเหลือเฉพาะแรงดึงในแนวทแยงเทานั้นที่เหล็ก
แผนตั้งตองรับตอไป สังเกตวาการรับแรงจะเปนแบบเดียวกับโครงถักแบบ Pratt โดยเหล็กเสริมขางคาน
เสมือนเปนชิ้นสวนในแนวตัง้ ของโครงถักซึ่งทําหนาที่รับแรงอัด และเหล็กแผนตั้งในคานชวงในเสมือน
ชิ้นสวนในแนวทแยงของโครงถักซึ่งทําหนาที่รับแรงดึง ดังนั้นกําลังตานทานแรงเฉือนประลัยของเหล็กแผน
ตั้งจะประกอบดวย กําลังตานทานกอนเหล็กแผนตั้งเกิดการโกงงอ และกําลังตานทานภายหลังที่เหล็กแผนตั้ง
เกิดการโกงงอ (post buckling strength) ซึ่งเปนผลจากการที่สมมติใหเหล็กแผนตั้งรับเฉพาะแรงดึงในแนว
ทแยงภายหลังการโกงงอ (tension-field action)
บริเวณปลายคาน เมื่อระยะหางของเหล็กเสริมขางคานมากเกินไป tension-field action เกิดขึน้ ไม
สมบูรณ ถือวาไมมีพฤติกรรมดังกลาวในชวงนี้
ในกรณีที่มีเสามาตั้งบนคานหรือมีน้ําหนักขนาดมากมากดบนคาน การวิบัติของเหล็กแผนตั้งอาจจะ
เกิดการคราก หรือการยู หรือเซออกทางขางเมื่อไมมีค้ํายัน ปองกันไดโดยเสริมเหล็กขางคานแบบรับแรงกด
(bearing stiffener) ทั้งสองขางของเหล็กแผนตั้งตรงตําแหนงที่มนี ้ําหนักเปนจุดมากด เหล็กเสริมขางคานนี้
อาจจะเปนเหล็กแผนแบน (flat plate) หรือเหล็กฉาก (angle) โดยตองมีขนาดตามขอกําหนดมาตรฐาน

8.3 ขอพิจารณาสําหรับออกแบบคาน ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD


ความลึกทั้งหมดของคานเหล็กประกอบ
L L
ปกติจะใช ≤d≤ แตถาชวงยาวไมมากนักอาจจะใช d ≥ L
12 10 8
โดยที่ d = ความลึกทั้งหมดของคาน
L = ชวงความยาวของคาน
ขนาดของเหล็กแผนตัง้
h
ขนาดของเหล็กแผนตั้งที่จะใช ใหพิจารณาจากอัตราสวนความชะลูด เพื่อปองกันการโกงใน
tw
h
แนวตั้งที่จะเกิดขึ้น คาอัตราสวนความชะลูด สูงสุดที่ยอมใหขนึ้ กับ อัตราสวนระหวางระยะหางของ
tw
เหล็กเสริมขางคาน (a) กับความลึกของเหล็กแผนตั้ง (h) เรียกอัตราสวนนีว้ า aspect ratio ของคานเหล็ก
ประกอบ
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ , ขอพิจารณาสําหรับออกแบบคาน ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD 461

a ⎛ h ⎞ E
เมื่อ ≤ 1.5 ⎜⎜ ⎟⎟ = 11.74 (8.3.1)
h ⎝ tw ⎠ max Fy
a ⎛ h ⎞ 0.48E
เมื่อ > 1.5 ⎜⎜ ⎟⎟ = (8.3.2)
h ⎝ tw ⎠ max Fy (Fy − Fr )
โดยที่
a = ระยะหางระหวางเหล็กเสริมขางคาน, cm
h = ระยะหางระหวางเหล็กปกคาน ประมาณจากความลึกตั้งหมดของคานเหล็กประกอบ ลบดวยความ
หนาของเหล็กปกคาน (ซึ่งมีคาประมาณ 5-10 cm)
t w = ความหนาของเหล็กแผนตั้ง, cm (ปกติ คานทั่วไป เหล็กแผนตั้งหนา 6-9 mm แตคานสะพาน
ตองหนาอยางนอย 10 mm)
Fy = กําลังจุดครากของเหล็ก, ksc
Fr = 1150 ksc = หนวยแรงอัดคงคางในปกคาน
h
ถาพบวา < 260 และสามารถรับแรงเฉือนไดตามตองการ ก็ไมจาํ เปนตองเสริมเหล็กขางคาน
tw
ขนาดของแผนเหล็กปกคาน
แผนเหล็กปกคาน ตองสามารถตานทานโมเมนตดัดไดตามตองการ ทั้งสภาวะวิบัติเนือ่ งจากการโกงงอ
เฉพาะแหง และ/หรือ สภาวะการบิดและการโกงดานขาง เมื่อรับแรงอัดที่เกิดจากโมเมนตดัด
เนื้อที่หนาตัดของแผนเหล็กปกคานขางหนึ่ง (A f ) อาจจะประมาณได ดังนี้
โมเมนตอินเนอรเชียของคานประกอบ = โมเมนตอินเนอรเชียของเหล็กแผนตั้ง
+ โมเมนตอินเนอรเชียของปกคาน
462 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

2
t h3 ⎛h⎞
ดังนั้น (โดยประมาณ) I x = w + 2A f ⎜ ⎟
12 ⎝2⎠
2
t e h 3 2A ⎛ h ⎞
f⎜ ⎟
Ix ⎝ 2⎠ t h2
โมดูลัสอิลาสติกของหนาตัด Sx = = 12 + = w + Af h
c h h 6
2 2
ตามวิธี ASD: M = S x Fb ดังนั้น
M twh
คาโดยประมาณ Af = − (8.3.3)
hFb 6
ตามวิธี LRFD : M u = φ b S x R PG R e Fcr (ซึ่งจะกลาวตอไป) ถาให R PG = 1, R e = 1.0 และ
Fcr = Fy โดยที่ φ b = 0.9 ดังนั้น
Mu t h
คาโดยประมาณ Af = − w (8.3.4)
0.9hFy 6
twh
พจนของ ที่ปรากฏในสมการขางตนเรียกวา เนื้อที่ประสิทธิผลของเหล็กแผนตั้ง (web
6
equivalent) สําหรับคานประกอบแบบใชตวั ยึด มาตรฐาน AREA กําหนดวา ใหคณ ู web equivalent ดวย 0.75
เพราะตองทํารูเจาะสําหรับหมุดย้ําหรือสลักเกลียว
คานเหล็กประกอบที่ตอโดยใชตัวยึด ตองจัดให เนื้อทีห่ นาตัดของเหล็กประกบปกคาน (cover plate) ที่
ตองยึดตอ มีเนื้อที่หนาตัดไมเกินรอยละ 70 ของเนื้อที่หนาตัดทั้งหมดของปกคาน นอกจากนี้ อาจลดความ
หนาของแผนเหล็กปกคานลงได เมื่ออยูห างจากจุดกึ่งกลางของคานมากขึ้น
การลดจํานวนแผนเหล็กปกคาน
จํานวนและขนาดของแผนเหล็กปกคาน อาจพิจารณาลดลงตามคาโมเมนตดัดที่ลดลง ซึ่งพิจารณาดังนี้
สมมติใหแผนภาพโมเมนตดดั ของคานเปนพาราโบลา ดังรูปที่ 8.7
ถาให A 1 = เนื้อที่หนาตัดของเหล็กปกคานตัวนอกสุด
A 2 = เปนเนื้อทีห ่ นาตัดของแผนเหล็กปกคานตัวในเขามา
A FL = เปนเนื้อที่หนาตัดของแผนเหล็กปกคาน กับเนื้อที่ประสิทธิผลของเหล็กแผนตั้ง (web
equivalent)
x 1 , x 2 = เปนระยะหางจากจุดกึ่งกลางของคานเหล็กประกอบทีจ่ ะลดจํานวนแผนเหล็กปกคาน
ตัวนอกสุดและตัวในตามลําดับ
A1 x2
ดังนั้น = 12
A FL ⎛ L ⎞
⎜ ⎟
⎝2⎠
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ , ขอพิจารณาสําหรับออกแบบคาน ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD 463

L A1
จะไดระยะ x1 =
2 A FL
A1 + A 2 x 22
ในทํานองเดียวกัน = 2
A FL ⎛L⎞
⎜ ⎟
⎝2⎠
L A1 + A 2
จะไดระยะ x2 =
2 A FL
เมื่อคํานวณหาระยะทีจ่ ะลดแผนเหล็กประกบปกคานไดแลวตามทฤษฎี ในทางปฏิบตั ิใหยื่นแผนเหล็ก
ปกคานออกไปอีกเปนระยะไมนอยกวาครึง่ หนึ่งของความกวางของแผนเหล็กประกบ

8.4 การออกแบบคานเหล็กประกอบขนาดใหญ-มาตรฐาน AISC


การออกแบบคานเหล็กประกอบตอไปนี้ พิจารณาเฉพาะคานที่มีรูปตัดคลายตัว I มีความสมมาตรสอง
แกน ซึ่งใชเหล็กชนิดเดียวกันทั้งหมด
8.4.1 การออกแบบโดยวิธี ASD
หนวยแรงดัดที่ยอมให (Allowable Bending Stress : Fb' )
หนวยแรงดัดที่ยอมใหในปกคานที่รับแรงอัด ของคานเหล็กประกอบขนาดใหญ ซึ่งมี
h E
> 5.76 คือ
tw Fy
Fb' = Fb R PG R e (8.4.1)
464 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

โดยที่
Fb = หนวยแรงดัดที่ยอมให ซึ่งมีคาตามที่ใหไวในบทที่ 4 (ปกติใช Fb = 0.60Fy )
R PG = ตัวคูณลดกําลังเมื่อพิจารณาการโกงงอของเหล็กแผนตั้งในชวงอิลาสติก
⎛ h 0.6E ⎞⎟
R PG = 1 − 0.0005a r ⎜⎜ − 5.76 ⎟ ≤ 1.0
t
⎝ w Fb ⎠
Re = ตัวคูณประกอบเมื่อใชเหล็กที่มีกําลังจุดครากตางกัน
Re =
(
12 + a r 3α − α 3 )
12 + 2a r
เมื่อใชเหล็กชนิดเดียวกัน R e = 1.0
Aw
ar = ≤ 1 .0 = อัตราสวนระหวางเนื้อที่ของเหล็กแผนตั้งตอเนื้อที่ของปกคานดานที่รบั แรงอัด
Af
Aw = เนื้อที่หนาตัดของเหล็กแผนตั้ง
Af = เนื้อที่หนาตัดของแผนเหล็กปกคานดานทีร่ ับแรงอัด
0.60Fy
α= ≤ 1.0
Fb
Fy =กําลังจุดครากของเหล็ก
h = ระยะหางระหวางปกคาน
t w = ความหนาของเหล็กแผนตั้ง
หนวยแรงเฉือนที่ยอมให (Allowable Shear Stress : Fv )
(ก) เมื่อพิจารณาออกแบบโดยใชเหล็กชนิดเดียวกันและอาศัยพฤติกรรมสมมติของ tension field
action ดวย เชน ที่ชวงภายในคานที่มีเหล็กเสริมขางคานเปนชวงๆ ใหหาคาหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหจาก
สมการ
⎡ ⎤
⎢ ⎥
Fy ⎢ 1 − Cv ⎥
Fv = ⎢ Cv + ⎥ ≤ 0.4Fy (8.4.2)
2.89 ⎛a⎞
2
⎢ + ⎥
⎢ 1.15 1 ⎜ ⎟ ⎥
⎣ ⎝h⎠ ⎦
ทั้งนี้คาประสิทธิ์ C v ในเทอมทีส่ องภายในวงเล็บตองมีคาไมเกินกวา 1.0
a
ที่ชวงปลายคาน หรือชวงใดที่ใชเหล็กเสริมขางคานซึ่งอัตราสวน เกินกวาคานอยระหวาง 3.0 กับ
h
2
⎡ ⎤
⎢ 260 ⎥
⎢ ⎥ จะไมมีพฤติกรรมของ Tension field action
⎢ h ⎥
⎢t ⎥
⎣ w ⎦
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ , ขอพิจารณาสําหรับออกแบบคาน ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD 465

(ข) เมื่อพิจารณาออกแบบโดยไมพิจารณารวมผลของพฤติกรรมสมมติของ Tension field action แต


h 5E
มีอัตราสวน > หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหหาไดจาก
tw Fy
Fy C v
Fv = ≥ 0.4Fy (8.4.3)
2.89
โดยที่
1.55k v E
Cv = 2
เมื่อ C v มีคานอยกวา 0.80
⎛ h ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ Fy
⎝ tw⎠
k E
1.12 v
Fy
Cv = เมื่อ C v มีคามากกวา 0.80
h
tw
2
⎛h⎞ a
k v = 4.00 + 5.34⎜ ⎟ ถา < 1.0
⎝a⎠ h
2
⎛h⎞ a
k v = 5.34 + 4.0⎜ ⎟ ถา > 1.0
⎝a⎠ h
tw =ความหนาของเหล็กแผนตั้ง
a = ระยะชวงวางระหวางเหล็กเสริมขางคาน
h = ระยะชวงวางระหวางปกคานตรงหนาตัดที่พิจารณา
ตารางที่ 15 และ 16 ในภาคผนวกใหคาหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหสําหรับคานเหล็กประกอบที่ใชเหล็กกําลังจุด
คราก Fy = 2500 ksc เมื่อไมรวมและรวมผลของพฤติกรรมสมมติ Tension field action ตามลําดับ ตามวิธี
ASD
466 การออกแบบโครงสรางเหล็ก
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ , ขอพิจารณาสําหรับออกแบบคาน ตามมาตรฐาน AISC/ASD/LRFD 467
468 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขนาดของเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกด (Intermediate Web Stiffener)


h
เมื่อเหล็กแผนตั้ง มีอัตราสวน ≥ 260 หรือหนวยแรงเฉือนทีก่ ระทํามีคาเกินกวาหนวยแรงเฉือนที่
tw
ยอมให Fv จะตองเสริมเหล็กขางคานแบบไมรับแรงกด เปนชวงๆ เพื่อใหคานเหล็กประกอบมีกําลังรับแรง
a
เฉือนเพิ่มขึ้น อยางไรก็ดีระยะหางของเหล็กเสริมขางคานที่พิจารณาจากอัตราสวนของ ตองไมเกินกวาคา
h
2
⎡ 260 t w ⎤
นอยระหวาง 3.0 กับ ⎢ h ⎥
⎣ ⎦
ขนาดของเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกด ในคานเหล็กประกอบที่ออกแบบโดยรวมผลของ
Tension field action ดวย ใหพิจารณาจากสมการตอไปนี้ คือ
4
⎛ h ⎞
I st ≥ ⎜ ⎟ (8.4.4)
⎝ 50 ⎠
⎡ 2 ⎤
⎢ ⎛a⎞ ⎥
⎜ ⎟
1 − Cv ⎢ a ⎥
− ⎝ ⎠
h
และ A st ≥ ⎢ ⎥ YDht w (8.4.5)
2 h ⎛a⎞
2
⎢ + ⎥
⎢ 1 ⎜ ⎟ ⎥
⎣ ⎝h⎠ ⎦
โดยที่
I st = โมเมนตอินเนอรเชียรอบแกนเหล็กแผนตั้งเมื่อใชเหล็กเสริมขางคานแบบคู หรือโมเมนต
อินเนอรเชียรอบแกนดานทีเ่ หล็กเสริมขางคานยึดติดกับเหล็กแผนตั้งเมือ่ ใชเหล็กเสริมขางคาน
แบบเดีย่ ว
A st = เนื้อที่หนาตัดทั้งหมดของเหล็กเสริมขางคานที่ตองการ
Y= อัตราสวนระหวางกําลังจุดครากของเหล็กแผนตั้งตอกําลังจุดครากของเหล็กเสริมขางคาน
D = 1.0 เมื่อใชเหล็กเสริมขางคานแบบคู
D = 1.8 เมื่อใชเหล็กฉากเปนเหล็กเสริมขางคานขางเดียว
D = 2.4 เมื่อใชเหล็กแผนเปนเหล็กเสริมขางคานขางเดียว
1.55k v E
Cv = 2
เมื่อ C v มีคานอยกวา 0.80
⎛ h ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ Fy
⎝ tw⎠
k E
1.12 v
Fy
Cv = เมื่อ C v มีคามากกวา 0.80
h
tw
2
⎛h⎞ a
k v = 4.00 + 5.34⎜ ⎟ ถา < 1.0
⎝a⎠ h
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ , ขนาดของเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกด 469

2
⎛h⎞ a
k v = 5.34 + 4.0⎜ ⎟ ถา > 1.0
⎝a⎠ h
tw =ความหนาของเหล็กแผนตั้ง
a = ระยะชวงวางระหวางเหล็กเสริมขางคาน
h = ระยะชวงวางระหวางปกคานตรงหนาตัดที่พิจารณา
ตารางที่ 16 ในภาคผนวก ใหคาของเนื้อทีห่ นาตัดของเหล็กเสริมขางคาน A st เปนเปอรเซ็นตของเนื้อ
ที่หนาตัดของเหล็กแผนตั้ง สําหรับเหล็กเสริมขางคานแบบคู และกําลังจุดครากเทากับ Fy = 2500 ksc
ตามวิธี ASD
การถายแรงเฉือนระหวางเหล็กเสริมขางคานกับเหล็กแผนตั้ง เมื่อพิจารณารวมผลของ Tension field
action แลว หาไดจากสมการ
Fy3
f vs = 0.027 h (8.4.6)
E
เหล็กเสริมขางคานแบบไมรบั แรงกด ใชเสริมที่ปกคานดานที่รับแรงอัดจนถึงตําแหนงที่อยูหางจากปก
คานดานที่รับแรงดึงเปนระยะประมาณ 4 – 6 เทาของความหนาของเหล็กแผนตั้ง
เหล็กแผนตั้งทีร่ ับโมเมนตดัดรวมกับแรงเฉือน (Flexure-Shear Interaction)
เมื่อออกแบบคานเหล็กประกอบโดยพิจารณารวมถึงพฤติกรรมสมมติของ Tension field action ตอง
ตรวจสอบการรับโมเมนตดัดรวมกับแรงเฉือน ตรงบริเวณที่โมเมนตดดั หรือแรงเฉือนมีคามาก ดังตอไปนี้
หนวยแรงดึงทีเ่ กิดขึ้นเนื่องจากแรงดัด ในเหล็กแผนตั้งตองมีคาไมเกินกวาคานอยของ
⎛ ⎞
Ft = 0.60Fy กับ F1 = ⎜⎜ 0.825 − 0.375 f v ⎟⎟Fy (8.4.7)
⎝ Fv ⎠
โดยที่
V
fv = = หนวยแรงเฉือนเฉลี่ยที่เกิดขึน้ ในเหล็กแผนตั้ง
ht w
FV = หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหที่ไดรวมผลของ tension field action แลว
⎡ ⎤
⎢ ⎥
Fy ⎢ 1 − Cv ⎥
Fv = ⎢ Cv + ⎥ ≤ 0.4Fy
2.89 ⎛a⎞
2
⎢ 1.15 1 + ⎜ ⎟ ⎥
⎢ ⎝h⎠ ⎥
⎣ ⎦
ดังนั้นจากสมการขางตน จึงไมตองตรวจสอบการรับโมเมนตดัดรวมกับแรงเฉือนเมือ่
(ก) f v ≤ 0.6Fv และ f b ≤ 0.6Fy หรือ
(ข) f v = Fv และ f b ≤ 0.75Fy
470 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด
ตรงตําแหนงทีม่ ีน้ําหนักแบบจุดกระทําและมีคาสูงมาก ตองใชเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดที่
ตําแหนงนั้น เพื่อชวยกระจายแรงที่กระทําออกไป เหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดที่จะใชตองเปนไปตาม
ขอกําหนดดังตอไปนี้
(1) หนวยแรงกดที่กระทําตอเหล็กเสริมขางคาน ตองมีคาไมเกินกวา 0.9Fy
(2) หนวยแรงอัดที่กระทํา ตองมีคาไมเกินกวาคาที่ยอมใหเมื่อพิจารณาเสมือนวาเปนเสาที่มีความ
ยาวประสิทธิผล KL = 0.75h และมีเนือ้ ที่หนาตัดที่รบั แรงอัด ซึ่งพิจารณาไดจากขอกําหนด
ตอไปนี้
ที่ปลายคาน
เนื้อที่หนาตัดที่รับแรงอัด = เนื้อที่หนาตัดของเหล็กเสริมขางคาน + 12t w
ตรงตําแหนงกลางชวงคานทีร่ ับน้ําหนักแบบจุด
เนื้อที่หนาตัดรับแรงอัด = เนือ้ ที่หนาตัดของเหล็กเสริมขางคาน + 12t w
b
(3) อัตราสวนความกวางตอความหนา ของเหล็กเสริมขางคาน ตองไมเกินกวา
t
b E
≤ 0.56
t Fy
(4) รอยเชื่อมระหวางเหล็กเสริมขางคานกับเหล็กแผนตั้ง ตองมีกําลังพอที่จะถายแรงเฉือนได
ตรงรอยตอระหวางเหล็กเสริมขางคานกับเหล็กแผนตั้ง ระยะหางระหวางศูนยกลางของสลักเกลียวตอง
ไมเกิน 30 cm และระยะชวงวางของการเชื่อมแบบเวนระยะตองไมเกิน 16 เทาของความหนาของเหล็กแผน
ตั้ง หรือไมเกินกวา 25 cm

8.4.2 การออกแบบโดยวิธี LRFD


กําลังรับโมเมนตดดั ประลัย (Design Flexural Strength)
h E
คานเหล็กประกอบที่มี > 5.70 มีกําลังรับโมเมนตดัด
tw Fy
กําลังรับโมเมนตดัด = φb M n
โดยที่
φ b = 0.90 = ตัวคูณลดกําลัง
M n = กําลังตานทานโมเมนตดด ั ประลัย โดยพิจารณาจาก คานอย ในสภาวะวิบัติตางๆ ตอไปนี้
(ก) เมื่อปกคานดานที่รับแรงดึงเกิดการคราก (tension-flange yielding)
M n = S xt R e Fy (8.4.8)
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ , เหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด 471

(ข) เมื่อปกคานดานที่รับแรงอัดเกิดการโกงเดาะ (compression-flange buckling: FLB หรือ LTB)


M n = S xc R PG R e Fcr (8.4.9)
โดยที่
R PG = ตัวคูณลดกําลังเมื่อพิจารณาการโกงงอของเหล็กแผนตั้งในชวงอิลาสติก
⎛h E ⎞⎟
R PG = 1 − 0.0005a r ⎜⎜ c − 5.70 ≤ 1.0 มาตรฐาน 1986 AIDC/LRFD
⎝ tw Fcr ⎟⎠
ar ⎛ hc ⎞
R PG = 1 − ⎜ − 5.70 E ⎟ ≤ 1.0 มาตรฐาน 1994 AISC/LRFD
1200 + 300a r ⎜⎝ t w Fcr ⎟⎠
Re = ตัวคูณประกอบเมื่อใชเหล็กปกคานและเหล็กแผนตั้งที่มกี ําลังจุดครากตางกัน
R e = 1.0 − 0.1(1.3 + a r )(0.81 − m ) ≤ 1.0 มาตรฐาน 1986 AISC/LRFD

Re =
(
12 + a r 3m − m 3 )
≤ 1.0 มาตรฐาน 1994 AISC/LRFD
12 + 2a r
R e = 1.0 เมื่อใชเหล็กชนิดเดียวกัน
Aw
ar = ≤ 1. 0 อัตราสวนระหวางเนื้อที่ของเหล็กแผนตั้งตอเนื้อที่ของปกคานดานที่รบั แรงอัด
Af
m= อัตราสวนระหวางกําลังที่จดุ ครากของเหล็กแผนตั้งตอกําลังที่จุดครากของเหล็กปกคาน หรือตอ
คาหนวยแรงวิกฤต Fcr
Fcr = หนวยแรงวิกฤตในปกคานดานรับแรงอัด ที่ไดจากสภาวะวิบัติแบบ LTB หรือ FLB
Fy = กําลังที่จุดครากที่กําหนด หรือกําลังที่จุดครากของปกคานดานรับแรงดึง
S xc = โมดูลัสอิลาสติกของหนาตัดเมื่อพิจารณาที่ขอบรับแรงอัด
S xt = โมดูลัสอิลาสติกของหนาตัดเมื่อพิจารณาที่ขอบรับแรงดึง
h c = ระยะสองเทาของระยะทีว่ ัดจากแนวแกนสะเทินถึงขอบดานในที่ปกรับแรงอัด ที่เชือ ่ มตอ หรือ
ระยะสองเทาของระยะทีว่ ัดจากแนวแกนสะเทินถึงแนวของตัวยึดตรงปกรับแรงอัด (เมื่อขนาด
ของปกคานเทากันทั้งสองดานและตอเชื่อมนั้น ระยะ h c = h )

หนวยแรงวิกฤต Fcr ขึ้นกับพารามิเตอรความชะลูด λ, λp , λr และคาของ C PG ดังตอไปนี้


(ก) เมื่อ λ ≤ λ p คา Fcr = Fy
⎡ 1 ⎛ λ − λp ⎞⎤
(ข) เมื่อ λp < λ ≤ λr คา Fcr = C b Fy ⎢1 − ⎜ ⎟⎥ ≤ Fy
⎢⎣ 2 ⎜⎝ λ r − λ p ⎟⎥
⎠⎦
C
(ค) เมื่อ λ > λr คา Fcr = PG
λ2
472 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ทั้งนี้ ใหพิจารณาพารามิเตอรความชะลูดจากสภาวะวิบัตสิ องแบบ คือ LTB และ FLB (ไมตองพิจารณา


สภาวะวิบัตแิ บบ WLB เพราะไมเกิดการวิบัติ) และใหใชคาหนวยแรงวิกฤต Fcr ที่นอยที่สุด
ที่สภาวะวิบัตแิ บบ LTB
Lb
λ=
rT
E
λ p = 1.76
Fy
E
λ r = 4.44
Fy

C PG = 286000C b
12.5M max
Cb =
2.5M max + 3M A + 4M B + 3M C
โดยที่
M max = คาสัมบูรณ (absolute) ของโมเมนตดัดที่มากที่สุดในชวงที่ไมมีค้ํายัน
1
MA = คาสัมบูรณ (absolute) ของโมเมนตดัดตรงจุด ในชวงที่ไมมีค้ํายัน
4
1
MB = คาสัมบูรณ (absolute) ของโมเมนตดัดตรงจุด ในชวงที่ไมมีค้ํายัน
2
3
MC = คาสัมบูรณ (absolute) ของโมเมนตดัดตรงจุด ในชวงที่ไมมีค้ํายัน
4
อาจเลือกใชคา C b = 1.0 จะทําใหตองใชหนาตัดโตขึ้น
C b = 1.0 สําหรับคานยืน ่ (unbraced cantilevers) หรือเมื่อโมเมนตดัดที่อยูในชวงที่ไมมีการค้ํายัน มี
คามากกวาหรือเทากับคามากของโมเมนตดัดตรงจุดค้ํายัน้
อนึ่ง มาตรฐาน AISC/LRFD ป 1986 ใชคา
2
⎛M ⎞ ⎛M ⎞
C b = 1.75 + 1.05⎜⎜ 1 ⎟⎟ + 0.3⎜⎜ 1 ⎟⎟ ≤ 2.3
⎝ M2 ⎠ ⎝ M2 ⎠
M1 = โมเมนตคานอยที่ปลายคานจุดที่มีค้ํายัน
M 2 = โมเมนตคามากที่ปลายคานจุดที่มีค้ํายัน
M1
เปนบวกเมื่อโมเมนตทําใหเกิดการโกงสองทาง (ทิศทางโมเมนตไปทางเดียวกัน)
M2
M1
เปนลบเมื่อโมเมนตทําใหเกิดการโกงทางเดียว (ทิศทางโมเมนตสวนทางกัน)
M2
อาจจะเลือกใช C b = 1.0 ไดในทุกกรณี
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ , เหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด 473

2
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
ใหเลือกใชคา C b = 1.75 + 1.05⎜⎜ M1 ⎟⎟ + 0.3⎜⎜ M1 ⎟⎟ ≤ 2.3
⎝ M2 ⎠ ⎝ M2 ⎠
12.5M max
ไมใช C b =
2.5M max + 3M A + 4M B + 3M C
Lp = ชวงระยะหางของค้ํายัน
rT = รัศมีไจเรชันรอบแกนในระนาบของเหล็กแผนตั้งของปกคานดานรับแรงอัดบวกกับหนึ่งในสาม
ของเหล็กแผนตั้งที่รับแรงอัด (หรือหนึ่งในหกของความลึกของเหล็กแผนตั้ง เมื่อคานเหล็ก
ประกอบมีรูปตัดสมมาตรทั้งสองแกน)
Iy
rT = 2 ≈ 0.26b f
A
Af + w
6
bf = ความกวางของปกคาน

ที่สภาวะวิบัตแิ บบ FLB
bf
λ=
2t f
E
λ p = 0.38
Fy
E
λ r = 1.35
Fy
C PG = 26200k c
C b = 1.0
4 tw
คา kc = =4 และ 0.35 ≤ k c ≤ 0.763
h h
tw

กําลังรับแรงเฉือนประลัย (Design Shear Strength), φ v Vn


กําลังรับแรงเฉือนประลัย φ v Vn
โดยที่
φ v = 0.90 = ตัวคูณลดกําลังสําหรับแรงเฉือน
Vn = กําลังตานทานแรงเฉือนประลัย (ทางทฤษฎี) ซึ่งหาไดจากกรณีตางๆ ดังนี้
474 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

(ก) เมื่อใชเหล็กชนิดเดียวกันและพิจารณารวมผลของ Tension-field action ดวย เชน ทีช่ วงภายใน


คานที่มีเหล็กเสริมขางคาน กําลังตานทานแรงเฉือนประลัย หาไดดังนี้
h k E
เมื่อ ≤ 1.10 v Vn = 0.6A w Fy (8.4.10)
tw Fy
⎡ ⎤
⎢ ⎥
h k E ⎢ 1 − Cv ⎥
เมื่อ > 1.10 v Vn = 0.6A w Fy ⎢C v + ⎥ (8.4.11)
tw Fy ⎛a⎞
2
⎢ + ⎥
⎢ 1.15 1 ⎜ ⎟ ⎥
⎣ ⎝h⎠ ⎦
2
a ⎛ 260 t w ⎞
สวนที่ชวงปลายคานหรือชวงใดที่ มีคานอยกวาคานอยของ 3.0 กับ ⎜ ⎟ จะไมมีพฤติกรรม
h ⎝ h ⎠
แบบ tension field action ดังนั้นใชกําลังตานทานแรงเฉือนประลัย
Vn = 0.6A w Fy C v
(ข) กรณีที่ไมพจิ ารณารวมผลของ Tension field action ซึ่งอาจใชหรือไมใชเหล็กเสริมขางคาน จะ
หากําลังตานทานแรงเฉือนประลัยไดดังนี้
h k E
เมื่อ ≤ 1.10 v Vn = 0.6A w Fy (8.4.12)
tw Fy
k vE h k E
เมื่อ 1.10 < ≤ 1.37 v
Fy tw Fy
1.10t w k vE
Vn = 0.6A w Fy (8.4.13)
h Fy
h k E 0.91k v E
เมื่อ > 1.37 v Vn = A w 2
(8.4.14)
tw Fy ⎛ h ⎞
⎜⎜ ⎟⎟
⎝ tw ⎠
โดยที่
Aw = เนื้อที่หนาตัดของเหล็กแผนตั้ง
Fy = กําลังจุดครากของเหล็ก
k v = คาสัมประสิทธิ์การโกงงอของเหล็กแผนตัง้ ที่รับแรงเฉือน
5
kv = 5 + 2
⎛a⎞
⎜ ⎟
⎝h⎠
a
k v = 5 ถา > 3.0
h
2
a ⎛ 260 t w ⎞
k v = 5 ถา > ⎜ ⎟
h ⎝ h ⎠
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ , กําลังรับแรงเฉือนประลัย 475

Cv = คาสัมประสิทธิ์การเฉือน ซึ่งเปนอัตราสวนระหวางหนวยแรงวิกฤตในเหล็กแผนตัง้ (หาจาก


ทฤษฎีอิลาสติก) ตอหนวยแรงเฉือนที่ทําใหเหล็กแผนตั้งเกิดการคราก คา C v หาไดดังนี้
k vE h k E
เมื่อ 1.10 < ≤ 1.37 v
Fy tw Fy
1.10t w k vE
Cv =
h Fy
h k E 1.52k v E
เมื่อ > 1.37 v Cv = 2
tw Fy ⎛ h ⎞
Fy ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ tw ⎠
ตารางที่ 17 และ 18 ในภาคผนวก ใหคากําลังรับแรงเฉือนประลัยของคานเหล็กประกอบเมื่อใชเหล็กที่
มีกําลังจุดคราก 2500 ksc เมื่อไมรวมและรวมผลของ tension field action ตามวิธี LRFD
476 การออกแบบโครงสรางเหล็ก
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ , กําลังรับแรงเฉือนประลัย 477
478 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขนาดของเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกด (Intermediate Web Stiffener)


h E
เมื่อเหล็กแผนตั้งมีอัตราสวน ≥ 2.45 หรือมีกําลังรับแรงเฉือนประลัยไมพอเพียง จะตอง
tw Fy
เสริมเหล็กขางคานแบบไมรบั แรงกดเปนชวงๆ เพื่อใหคานเหล็กประกอบมีกําลังรับแรงเฉือนเพิม่ ขึ้น การ
คํานวณหากําลังรับแรงเฉือนประลัยหาไดดังนี้
φVn = 0.6φA w Fy C v
φ = 0.90
kv = 5
k vE h k E
เมื่อ 1.10 < ≤ 1.37 v
Fy tw Fy
1.10t w k vE
Cv =
h Fy
h k E
เมื่อ > 1.37 v
tw Fy
1.52k v E
Cv = 2
⎛ h ⎞
Fy ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ tw ⎠
ขนาดของเหล็กขางคานแบบไมรับแรงกดใหพิจารณาจากสมการตอไปนี้
I st ≥ at 3w j (8.4.15)
และเมื่อพิจารณาออกแบบโดยรวมพฤติกรรมสมมติของ tension field action
Fy ⎡ Vu ⎤
A st ≥ ⎢0.15Dht w (1 − C v ) − 18t 2w ⎥ ≥ 0 (8.4.16)
Fy ,st ⎣ φ v Vn ⎦
โดยที่
2.5
j= 2
− 2 ≥ 0.5
⎛a⎞
⎜ ⎟
⎝h⎠
I st = โมเมนตอินเนอรเชียรอบแกนเหล็กแผนตั้งเมื่อใชเหล็กเสริมขางคานแบบคู หรือโมเมนตอิน
เนอรเชียรอบแกนดานที่เหล็กเสริมขางคานตอติดกับเหล็กแผนตั้งเมื่อใชเหล็กเสริมขางคานขางเดียว
A st = เนื้อที่หนาตัดของเหล็กเสริมขางคาน
Fy = กําลังจุดครากของคานเหล็กประกอบ
Fy ,st = กําลังจุดครากของเหล็กเสริมขางคาน
D = 1.0 เมื่อใชเหล็กเสริมขางคานแบบคู
D = 1.8 เมื่อใชเหล็กฉากเปนเหล็กเสริมขางคานขางเดียว
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 479

D = 2 .4 เมื่อใชเหล็กแผนเปนเหล็กเสริมขางคานขางเดียว
Vu = แรงเฉือนประลัยตรงตําแหนงที่พิจารณาใชเหล็กเสริมขางคาน
h k E
เมื่อ ≤ 1.10 v Vn = 0.6A w Fy (8.4.12)
tw Fy
k vE h k E
เมื่อ 1.10 < ≤ 1.37 v
Fy tw Fy
1.10t w k vE
Vn = 0.6A w Fy (8.4.13)
h Fy
h k E 0.91k v E
เมื่อ > 1.37 v Vn = A w 2
(8.4.14)
tw Fy ⎛ h ⎞
⎜⎜ ⎟⎟
⎝ tw ⎠
โดยที่
Aw = เนื้อที่หนาตัดของเหล็กแผนตั้ง
Fy = กําลังจุดครากของเหล็ก
k v = คาสัมประสิทธิ์การโกงงอของเหล็กแผนตัง้ ที่รับแรงเฉือน
5
kv = 5 + 2
⎛a⎞
⎜ ⎟
⎝h⎠
a
k v = 5 ถา > 3.0
h
2
a ⎛ 260 t w ⎞
k v = 5 ถา > ⎜ ⎟
h ⎝ h ⎠
Cv = คาสัมประสิทธิ์การเฉือน ซึ่งเปนอัตราสวนระหวางหนวยแรงวิกฤตในเหล็กแผนตัง้ (หาจาก
ทฤษฎีอิลาสติก) ตอหนวยแรงเฉือนที่ทําใหเหล็กแผนตั้งเกิดการคราก คา C v หาไดดังนี้
k vE h k E
เมื่อ 1.10 < ≤ 1.37 v
Fy tw Fy
1.10t w k vE
Cv =
h Fy
h k E 1.52k v E
เมื่อ > 1.37 v Cv = 2
tw Fy ⎛ h ⎞
Fy ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ tw ⎠
ตารางที่ 18 ในภาคผนวก ใหคาของเนื้อทีห่ นาตัดของเหล็กเสริมขางคาน A st เปนเปอรเซ็นตของเนื้อ
ที่หนาตัดของเหล็กแผนตั้ง สําหรับเหล็กเสริมขางคานแบบคู และเหล็กมีกําลังจุดครากเทากับ 2500 ksc ตาม
วิธี LRFD (ตารางที่ 18 ดูในเอกสารหนา 19)
480 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

การถายแรงเฉือนประลัยระหวางเหล็กเสริมขางคานกับเหล็กแผนตั้ง ซึ่งรวมผลของ tension field


action หาไดจากสมการ
Fy3
f vs = 0.045h (8.4.17)
E
เหล็กเสริมขางคานแบบไมรบั แรงกด ใชเสริมที่ปกคานดานที่รับแรงอัดจนถึงตําแหนงที่อยูหางจากปก
คานดานที่รับแรงดึงเปนระยะประมาณ 4 – 6 เทาของความหนาของเหล็กแผนตั้ง

เหล็กแผนตั้งทีร่ ับโมเมนตดัดรวมกับแรงเฉือน (Flexure-Shear Interaction)


เมื่อออกแบบคานเหล็กประกอบและใชเหล็กเสริมขางคาน โดยพิจารณากําลังรับแรงเฉือนประลัยจาก
พฤติกรรมสมมติของ tension field action ใหตรวจสอบการรับโมเมนตดัดประลัยรวมกับแรงเฉือนประลัยใน
เหล็กแผนตั้ง ดังนี้
ในชวงที่ 0.6Vn ≤ Vu ≤ φVn และ 0.75M n ≤ M u ≤ φM n โดย φ = 0.90 ใหตรวจสอบการรับ
โมเมนตดัดประลัยรวมกับแรงเฉือนประลัย ดวยสมการ
Mu V
+ 0.625 u ≤ 1.375 (8.4.18)
φM n φVn
โดยที่
Vu = แรงเฉือนประลัยที่กระทําตรงหนาตัดทีพ่ ิจารณา
M u = โมเมนตดัดประลัยที่กระทําตรงหนาตัดที่พจิ ารณา
Vn = กําลังตานทานแรงเฉือนประลัย
M n = กําลังตานทานโมเมนตดัดประลัย
φ = 0.9 = ตัวคูณลดกําลัง
ทั้งนี้ Vu ≤ φVn และ M u ≤ φM n

เหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด
ตรงตําแหนงทีม่ ีน้ําหนักแบบจุดกระทําและมีคาสูงมาก ตองใชเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดที่
ตําแหนงนั้น เพื่อชวยกระจายน้ําหนักทีก่ ระทําออกไป ปองกันเหล็กแผนตั้งไมใหวิบัตจิ ากการคราก การยู
และการเซออกทางขาง เหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดตองเปนไปตามขอกําหนดตอไปนี้
(1) กําลังรับแรงกดประลัยของเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด ตองไมเกินกวา
แรงกดประลัย = φ(1.8Fy A pb )
โดยที่
φ = 0.75 = ตัวคูณลดกําลัง
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 481

Fy = กําลังจุดครากของเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด
A pb = เนื้อที่ของเหล็กเสริมขางคานที่รับแรงกด
(2) กําลังรับแรงอัดประลัย ใหพจิ ารณาเสมือนวาเปนเสาที่มคี วามยาวประสิทธิผล KL = 0.75h และ
มีเนื้อที่หนาตัดที่รับแรงอัด ซึ่งพิจารณาไดจากขอกําหนดตอไปนี้
ที่ปลายคาน
เนื้อที่หนาตัดที่รับแรงอัด = เนื้อที่หนาตัดของเหล็กเสริมขางคาน + 12t w
ตรงตําแหนงกลางชวงคานทีร่ ับน้ําหนักแบบจุด
เนื้อที่หนาตัดที่รับแรงอัด = เนื้อที่หนาตัดของเหล็กเสริมขางคาน + 25t w
(3) อัตราสวนความกวางตอความหนาของเหล็กเสริมขางคานตองเปนไปดังนี้
b E
≤ 0.56
t Fy
(4) รอยเชื่อมระหวางเหล็กเสริมขางคานกับเหล็กแผนตั้ง ตองมีกําลังพอที่จะถายแรงเฉือนได ซึ่ง
ปกติจะออกแบบรอยเชื่อมใหสามารถรับแรงทั้งหมดที่กระทําแบบจุด
ตรงรอยตอระหวางเหล็กเสริมขางคานกับเหล็กแผนตั้ง ระยะหางระหวางศูนยกลางของสลักเกลียวตอง
ไมเกิน 30 cm และระยะชวงวางของการเชื่อมแบบเวนระยะตองไมเกิน 16 เทาของความหนาของเหล็กแผน
ตั้ง หรือ ไมเกินกวา 25 cm

8.5 การตอแผนเหล็กปกคานกับเหล็กฉากปกคาน (Cover Plate and Flange Connection)


การตอแผนเหล็กปกคานกับเหล็กฉากปกคานในคานเหล็กประกอบที่ตอ ดวยตัวยึด แสดงไวในรูปที่
8.8 รอยตอดังกลาวตองรับไดทั้งแรงเฉือนในแนวนอน และแรงกดทีก่ ระทํา
482 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ถาให s เปนระยะหางระหวางศูนยกลาง (pitch) ของตัวยึดตามความยาวคาน และถาเรียงตัวยึดเปน


จํานวน 2 แถวในแตละดานชองเหล็กฉากปกคาน ดังนัน้ ในระยะหางของตัวยึดเทากับ s ตัวยึดตัวหนึ่งจะรับ
แรงเฉือนในแนวนอนเพียงครึ่งเดียว

นั้นคือ ถาให R เปนกําลังตานทานที่ยอมใหของตัวยึดแตละตัว และ


VQ
v= = แรงเฉือนในแนวนอน ตอความยาวของคาน
I
ดังนั้นตัวยึด 1 ตัวจะรับแรงเฉือน R = 1 vs = s VQ
2 2I
ทําใหระยะหางระหวางศูนยกลางของตัวยึด
2RI
s=
VQ
โดยที่
I= โมเมนตอินเนอรเชียทั้งหมด ที่หนาตัดทีพ่ ิจารณา
V = แรงเฉือนที่หนาตัดนัน

Q = โมเมนตของเนื้อที่หนาตัดแผนเหล็กปกคานรอบแกนสะเทิน

8.6 การตอเหล็กแผนตั้งกับเหล็กปกคาน (Web and Flange Connection)


รูปที่ 8.9 แสดงลักษณะการตอของเหล็กแผนตั้งกับเหล็กปกคาน สําหรับคานเหล็กประกอบที่ทําการ
ตอโดยใชตวั ยึด จะตองออกแบบรอยตอใหรับไดทั้งแรงเฉือนในแนวนอนและในแนวตั้งที่เกิดจากการ
กระทําของน้ําหนักบรรทุก สวนคานเหล็กประกอบทีท่ ํารอยตอโดยการเชื่อม ใหพิจารณาออกแบบรอยตอ
เชื่อมจากคาแรงเฉือนในแนวนอน
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 483

VQ
แรงเฉือนในแนวนอนมีคาเทากับ ตอความยาวของคาน
I
ให s เปนระยะหางระหวางศูนยกลางของตัวยึดในเหล็กแผนตั้ง (ดูรูปที่ 8.10)
ดังนั้นแรงเฉือนในแนวนอนที่ตัวยึดแตละตัว = VQ s
I
คานเหล็กประกอบในโครงอาคารที่รับน้ําหนักกระทําแบบจุด (point load) จะตองเสริมเหล็กขางคาน
แบบรับแรงกดใตจดุ นั้น เพือ่ ปองกันไมใหรอยตอตองรับแรงเฉือนในแนวตั้งโดยตรง ถาสมมติวาคานตองรับ
น้ําหนักแผ w kg/cm ที่ปกดานบน ดังรูปที่ 8.10 คาแรงเฉือนในแนวตัง้ ที่กระทําตอตัวยึดแตละตัวเทากับ ws
ดังนั้นตัวยึดตองรับแรงเฉือน (แรงลัพธของแรงเฉือนในแนวตั้ง และแรงเฉือนในแนวนอน) เทากับ
2 2
⎛ sVQ ⎞ ⎛ VQ ⎞
R = (ws ) + ⎜ ⎟ =s w +⎜ ⎟
2 2

⎝ I ⎠ ⎝ I ⎠
นั่นคือ
R
s=
2
⎛ VQ ⎞
w2 + ⎜ ⎟
⎝ I ⎠
เมื่อ R = กําลังตานทานที่ยอมใหของตัวยึดแตละตัว

8.7 การตอเหล็กแผนตั้ง (Web Connection)


การตอเหล็กแผนตั้งจะทําเมือ่ จําเปนจริงๆ เทานั้น และจะไมทําตรงกึ่งกลางของคานชวงเดียวเพราะมี
โมเมนตสูงสุดเกิดขึ้นทีจ่ ุดนัน้
คานเหล็กประกอบที่ประกอบขึ้นโดยการเชื่อมตอ สามารถเชื่อมตอเหล็กแผนตั้งไดเลยโดยไม
จําเปนตองใชแผนเหล็กดาม (splice plate) รูปที่ 8.11 แสดงการตอเหล็กแผนตั้งโดยใชตัวยึด ซึ่งตองใชแผน
เหล็กดามดวย แผนเหล็กดามที่เลือกใชตอ งสามารถรับโมเมนตดัดและแรงเฉือนไดเทากันกับที่เหล็กแผนตั้ง
จะตองรับตรงหนาตัดนั้น
484 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

การตอเหล็กแผนตัง้ แบบใชแผนเหล็กดาม 3 แผน (Triple-Plate Splice)


การตอเหล็กแผนตั้งในลักษณะนี้ตองใชแผนเหล็กดาม 3 แผน ทีแ่ ตละดานของเหล็กแผนตั้ง และ
พิจารณาใหแผนเหล็กทีใ่ ชดามทําหนาที่ตางๆ คือ แผนเหล็กรับโมเมนตดัด (moment plate) 2 แผน และแผน
เหล็กรับแรงเฉือน (shear plate) 1 แผน ดังรูปที่ 8.12
การพิจารณาออกแบบแผนเหล็กดามที่ใชรับโมเมนตดัด อาศัยการสมมติใหกําลังตานทานโมเมนตของ
แผนเหล็กดาม (splice plate) มีคาเทากับ กําลังตานทานโมเมนตของเหล็กแผนตั้ง
กําลังตานทานโมเมนตของเหล็กแผนตั้ง = IFb =
1
Fb t w h 2
c 6
กําลังตานทานโมเมนตดัดของแผนเหล็กดาม = d Fb A p d
h
2
Fb t w h d
ดังนั้น = Fb A p d
6 h
twh3
นั่นคือ เนื้อที่หนาตัดของแผนเหล็กดามที่ตองการ A p =
6d 2
เนื่องจากคา d ยังไมทราบ ในขั้นแรกตองสมมติขึ้นกอน
จํานวนของตัวยึดที่ตองใชในแผนเหล็กดามที่รับโมเมนตดัด หาไดจากการสมมติวาแผนเหล็กดามทีร่ ับ
d
โมเมนตดัด ตองสามารถรับแรงกระทําไดทั้งหมด (คือ Fb A p ) ดังนั้นถา R เปนกําลังตานทานของตัวยึด
h
dFb A p
จะไดจํานวนตัวยึดเทากับ
hR
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 485
486 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ตัวอยางที่ 8.1 คานเหล็กประกอบที่ไดจากการเชื่อมดังรูป จงหากําลังรับโมเมนตดัดรอบแกนหลัก เมื่อ


ระยะที่ทาํ ค้ํายันทางขางที่ปกบนเทากับ 10 เมตร และใหคา C b = 1.75 นอกจากนี้ใหหากําลังรับแรง
เฉือน เมื่อไมใชเหล็กเสริมขางคานเลย และเมื่อใชเหล็กเสริมขางคานทุกระยะ 2.50 เมตร สมมติใหใช
เหล็กชนิด A36 (Fy = 2500 ksc, E = 2 × 10 6 ksc )

วิธีทํา
โดยวิธี ASD
ขั้นตอนที่ 1 ตรวจสอบวาเปนคานเหล็กประกอบขนาดใหญหรือไม
h E
คานประกอบที่ไดจากการเชือ่ มเปนคานประกอบขนาดใหญเมื่อ ≥ 5.76
tw Fy
h 1730 − 15 − 15
= = 170
tw 10
E 2 × 10 6
5.76 = 5.76 = 5.76 800 = 162.917
Fy 2500
h E
≥ 5.76 เปนคานประกอบขนาดใหญ (plate girder)
tw Fy
ขั้นตอนที่ 2 ตรวจสอบความหนาของเหล็กแผนตั้ง
เพื่อปองกันการโกงเดาะในแนวตั้ง ในกรณีนี้ไมใชเหล็กเสริมขางคาน
a = 10 m = 1000 cm = ระยะหางของเหล็กเสริมขางคาน ในที่นี้คือค้ํายันทางขาง
1730 − 15 − 15
h= = 1.7 m = 170 cm
1000
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 487

a 1000
= = 5.88 > 1.5 ดังนั้นจึงตรวจสอบดวยสมการ
h 170
h 0.48E

tw Fy (Fy + Fr )
โดยที่ h = 1730 − 15 − 15 = 1700 mm = 170 cm
t w = 10 mm = 1.0 cm
E = 2 × 10 6 ksc
Fy = 2500 ksc
Fr = 1150 ksc
h 170
= = 170
t w 1.0
0.48E 0.48 × 2 × 10 6
= = 317.8
Fy (Fy + Fr ) 2500 × (2500 + 1150 )
h 0.48E
พบวา < ความหนาของเหล็กแผนตั้งมากพอที่จะไมเกิดการโกงเดาะ
tw Fy (Fy + Fr )
ขั้นตอนที่ 3 หากําลังรับโมเมนตดัด คํานวณไดจากสมการ
M = S x Fb R PG R e
ตองคํานวณหาคาตางๆ ที่จําเปนกอน
หาหนวยแรงดัด Fb ตามขอกําหนดในบทที่ 4 การออกแบบคานเหล็กรูปพรรณ
ระยะค้ํายัน L = 10 m = 1000 cm
E 2 × 10 6
ระยะค้ํายันวิกฤต L c = 0.444b f = 0.444 × 45 = 565.12 cm
Fy 2500
พบวา L > L c ค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดไมพอเพียง ตรวจสอบคาตางๆ ดังนี้
C b = 1.75 ตามที่โจทยกาํ หนดให
rT ≈ 0.26b f = 0.26 × 45 = 11.7 cm
L 1000
= = 85.47
rT 11.7
EC b 2 × 10 6 × 1.75
3.517 = 3.517 × = 70.17
Fy 2500

EC b 2 × 10 6 × 1.75
17.586 = 17.586 × = 156.91
Fy 2500
EC b L EC b
พบวา 3.517 < < 17.586
Fy rT Fy
488 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ดังนั้นหนวยแรงดัดที่ยอมใหคือ
⎡ ⎛L⎞ ⎤
2

⎢ Fy ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢2 ⎝ rT ⎠ ⎥ F ≤ 0.6F
Fb = ⎢ −
3 52.76EC b ⎥
y y
⎢ ⎥
⎢ ⎥
⎣ ⎦
⎡ ⎛ 1000 ⎞
2

⎢ 2500 × ⎜ ⎟ ⎥
Fb = ⎢ 2
− ⎝ 11.7 ⎠ ⎥ × 2500 = 1419.417144 ksc
⎢ 3 52.76 × 2 × 10 6 × 1.75 ⎥
⎢ ⎥
⎢⎣ ⎥⎦
0.6Fy = 0.6 × 2500 = 1500 ksc
ดังนั้น Fb = 1419.417144 ksc
หาคาสัมประสิทธิ์อื่นๆ
Aw ht (d − 2t f )t w (173 − 2 × 1.5) × 1.0
ar = = w = = = 2.518518519
Af bf t f bf t f 45 × 1.5
R e = 1.0 เนื่องจากใชเหล็กชนิดเดียวกันทําทั้งแผนตั้งและปก
หาโมเมนตอินเนอรเชียโดยพิจารณาจากสี่เหลี่ยมเต็มกวาง 45 cm ลึก 173 cm ลบดวยสวนเจาะเปนรูป
สี่เหลี่ยมกวาง 45 − 1.0 = 44 cm ลึก 173 − 2 × 1.5 = 170 cm ดังนั้น
bh 3 45 × 1733 44 × 170 3
Ix = ∑ = − = 1,402,105.417 cm 4
12 12 12
d 173
c= = = 86.5 cm
2 2
I 1,402,105.417
Sx = x = = 16,209.31118 cm 3
c 86.5
⎛ h 0.6E ⎞⎟
R PG = 1 − 0.0005a r ⎜⎜ − 5.76 ≤ 1.0
⎝ tw Fb ⎟⎠
⎛ 170 0.6 × 2 × 10 6 ⎞⎟
R PG = 1 − 0.0005 × 2.518518519 × ⎜ − 5.76 = 0.996824302
⎜ 1.0 1419 . 417144 ⎟
⎝ ⎠
M = S x Fb R PG R e
M = 16,209.31118 × 1419.417144 × 0.996824302 × 1.0
M = 22,934,708.44 kg.cm = 229,347.0844 kg.m
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 489

ขั้นตอนที่ 4 หากําลังรับแรงเฉือน
(ก) เมื่อไมใชเหล็กเสริมขางคานเลย
กําลังรับแรงเฉือนที่ไมรวมผลของพฤติกรรมสมมติแบบ tension field action คือ
A w Fy C v
V=
2.89
ระยะค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดเทากับความยาวของคานคือ a = L = 1000 cm และความลึกของแผนตั้ง
h = 173 − 2 × 1.5 = 170 cm
อัตราสวน a = 1000 = 5.882352941 > 1
h 170
4.0 4.0
ดังนั้น k v = 5.34 + 2
= 5.34 + = 5.4556
⎛a⎞ 5.8823529412
⎜ ⎟
⎝h⎠
ดังนั้นคา C v = 1.52k2v E < 0.8
⎛ h ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ Fy
⎝ tw ⎠
1.52 × 5.4556 × 2 × 10 6
แทนคา Cv = 2
= 0.229550505
⎛ 170 ⎞
⎜ ⎟ × 2500
⎝ 1.0 ⎠
A w Fy C v dt w Fy C v 173 × 1.0 × 2500 × 0.229550505
V= = =
2.89 2.89 2.89
V = 34,353.14654 kg
(ข) เมื่อใชเหล็กเสริมขางคานทุกระยะ 2.50 เมตร
กําลังรับแรงเฉือนที่นอยที่สุดจะอยูที่ปลายคาน เนื่องจากไมไดรวมผลจากพฤติกรรมสมมติแบบ
A w Fy C v
tension field action ซึ่งคํานวณคากําลังรับแรงเฉือนไดจากสมการ V =
2.89
ระยะหางของค้ํายันทางขางของปกคานรับแรงอัด = ระยะหางของเหล็กเสริมขางคาน a = 2.50 m =250 cm
ความสูงของเหล็กแผนตั้ง h = 173 − 2 × 1.5 = 170 cm
a 250
อัตราสวน = = 1.470588235 > 1
h 170
4.0 4.0
ดังนั้น k v = 5.34 + 2
= 5.34 + = 7.1896
⎛a⎞ 1.470588235 2
⎜ ⎟
⎝h⎠
1.52k v E
ดังนั้นคา Cv = 2
< 0.8
⎛ h ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ Fy
⎝ tw ⎠
490 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

1.52 × 7.1896 × 2 × 10 6
แทนคา Cv = 2
= 0.302510505
⎛ 170 ⎞
⎜ ⎟ × 2500
⎝ 1.0 ⎠
A w Fy C v dt w Fy C v 173 × 1.0 × 2500 × 0.302510505
V= = =
2.89 2.89 2.89
V = 45,271.90086 kg
แสดงใหเห็นวา เมื่อใชเหล็กเสริมขางคานเปนระยะๆ ตลอดความยาวคาน จะทําใหกาํ ลังรับแรงเฉือนของรูป
ตัดมีคาเพิ่มมากขึ้น
ถาตองการใหกําลังรับแรงเฉือนของรูปตัดที่ชวงปลายคาน มีคาเพิ่มขึ้นเปนสองเทาของกรณีที่ไมใช
a
เหล็กเสริมขางคานเลย ทําไดโดยลดอัตราสวน ใหนอยลง
h
A w Fy C v
เมื่อตองการ V= = 2 × 34,353.14654 = 68,706.29308 kg
2.89
173 × 1.0 × 2500C v
= 68,706.29308
2.89
2.89 × 68,706.29308
Cv = = 0.45910101
173 × 1.0 × 2500
1.52k v E 1.52k v × 2 × 10 6
Cv = 2
= 2
= 0.45910101
⎛ h ⎞ ⎛ 170 ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ Fy ⎜ ⎟ × 2500
⎝ w⎠
t ⎝ 1.0 ⎠
0.45910101 × 170 2 × 2500
kv = = 10.9112
1.52 × 2 × 10 6
4.0
k v = 5.34 + 2
= 10.9112
⎛a⎞
⎜ ⎟
⎝h⎠
4.0
2
= 10.9112 − 5.34 = 5.5712
⎛a⎞
⎜ ⎟
⎝h⎠
2
⎛a⎞ 4.0
⎜ ⎟ = = 0.717978173
⎝h⎠ 5.5712
a
= 0.717978173 = 0.847335927
h
a = 0.847335927 h = 0.847335927 × 170 = 144.0471076 cm
ดังนั้นที่ปลายคาน นอกจากจะตองเสริมเหล็กขางคานแบบรับแรงกดที่จุดรองรับแลว จะตองเสริม
เหล็กขางคานแบบไมรับแรงกด โดยใหหา งจากปลายคานเปนระยะ a = 144 cm จึงจะทําใหกําลังรับแรงเฉือน
ของรูปตัดที่ชวงปลายคานมีคาเพิ่มมากขึ้นกวาเดิมเปนสองเทาจากกรณีที่ไมใชเหล็กเสริมขางคานเลย
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 491

โดยวิธี LRFD
ขั้นตอนที่ 1 ตรวจสอบวาเปนคานเหล็กประกอบขนาดใหญหรือไม
h 173 − 2 × 1.5
= = 170
tw 1.0
E 2 × 10 6
5.70 = 5.70 = 161.2203461
Fy 2500
h E
> 5.70
tw Fy
แสดงวาเปนคานเหล็กประกอบขนาดใหญ
ขั้นตอนที่ 2 ตรวจสอบความหนาของเหล็กแผนตั้ง
เพื่อปองกันการโกงเดาะในแนวตั้ง ในกรณีนี้ไมใชเหล็กเสริมขางคาน
a = 10 m = 1000 cm = ระยะหางของเหล็กเสริมขางคาน ในที่นี้คือค้ํายันทางขาง
1730 − 15 − 15
h= = 1.7 m = 170 cm
1000
a 1000
= = 5.88 > 1.5 ดังนั้นจึงตรวจสอบดวยสมการ
h 170
h 0.48E

tw Fy (Fy + Fr )
โดยที่ h = 1730 − 15 − 15 = 1700 mm = 170 cm
t w = 10 mm = 1.0 cm
E = 2 × 10 6 ksc
Fy = 2500 ksc
Fr = 1150 ksc
h 170
= = 170
t w 1 .0
0.48E 0.48 × 2 × 10 6
= = 317.8
Fy (Fy + Fr ) 2500 × (2500 + 1150 )
h 0.48E
พบวา < ความหนาของเหล็กแผนตั้งมากพอที่จะไมเกิดการโกงเดาะ
tw Fy (Fy + Fr )
ขั้นตอนที่ 3 หากําลังรับโมเมนตดัดประลัย
หาหนวยแรงดัดวิกฤต Fcr ที่ปกคานรับแรงอัด ซึ่งพิจารณาไดจาก
(ก) ถาการวิบัติเปนแบบ LTB
ตองใชพารามิเตอร λ = L b เปนตัวพิจารณา
rT
492 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

L b = 10 m = 1000 cm = ระยะหางของค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด ในที่นเี้ ทากับความยาวคาน


rT ≈ 0.26b f = 0.26 × 45 = 11.7 cm
ดังนั้น
L b 1000
λ= = = 85.47008547
rT 11.7
E 2 × 10 6
λ p = 1.76 = 1.76 = 49.7803174
Fy 2500

E 2 × 10 6
λ r = 4.44 = 4.44 = 125.5821643
Fy 2500
พบวา λp < λ < λr ดังนั้น
⎡ 1 ⎛ λ − λp ⎞⎤
Fcr = C b Fy ⎢1 − ⎜ ⎟⎥ ≤ Fy
⎜ ⎟⎥
⎣⎢ 2 ⎝ λ r − λ p
⎠⎦
⎡ 1 ⎛ 85.47008547 − 49.7803174 ⎞⎤
Fcr = 1.75 × 2500 × ⎢1 − ⎜ ⎟⎥
⎣ 2 ⎝ 125.5821643 − 49.7803174 ⎠⎦
Fcr = 3345.059823 ksc > Fy = 2500 ksc
Fcr = Fy = 2500 ksc
(ข) ถาการวิบัติเปนแบบ FLB
bf
ตองใชพารามิเตอร λ = เปนตัวพิจารณา
2t f
bf 45
λ= = = 15
2t f 2 × 1.5
E 2 × 10 6
λ p = 0.38 = 0.38 = 10.74802307
Fy 2500

E 2 × 10 6
λ r = 0.88 = 0.88 = 24.8901587
Fy 2500
พบวา λp < λ < λr ดังนั้น
⎡ 1 ⎛ λ − λp ⎞⎤
Fcr = C b Fy ⎢1 − ⎜ ⎟⎥ ≤ Fy
⎜ ⎟⎥
⎣⎢ 2 ⎝ λ r − λ p
⎠⎦
⎡ 1⎛ 15 − 10.74802307 ⎞⎤
Fcr = 1.0 × 2500 × ⎢1 − ⎜ ⎟⎥
⎣ 2 ⎝ 24.8901587 − 10.74802307 ⎠⎦
Fcr = 2124.174785 ksc < Fy = 2500 ksc
Fcr = 2124.174785 ksc
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 493

พิจารณาจากผลของขอ (ก) และ (ข) เลือกคานอย นัน่ คือ


Fcr = 2124.174785 ksc
หาคาสัมประสิทธิ์อื่นๆ เพื่อนําไปแทนคาหากําลังรับโมเมนตดัด
A (d − 2t f )t w (173 − 2 × 1.5) × 1.0
a = w = = = 2.518518519
45 × 1.5
r
Af bf t f
R e = 1.0 เนื่องจากใชเหล็กชนิดเดียวกันทําทั้งแผนตั้งและปก
หาโมเมนตอินเนอรเชียโดยพิจารณาจากสี่เหลี่ยมเต็มกวาง 45 cm ลึก 173 cm ลบดวยสวนเจาะเปนรูป
สี่เหลี่ยมกวาง 45 − 1.0 = 44 cm ลึก 173 − 2 × 1.5 = 170 cm ดังนั้น
⎛ h 0.6E ⎞⎟
R PG = 1 − 0.0005a r ⎜⎜ − 5.76 ⎟ ≤ 1.0
⎝ t w Fb ⎠
⎛ 170 0.6 × 2 × 10 6 ⎞⎟
R PG = 1 − 0.0005 × 2.518518519 × ⎜ − 5.76 = 0.996824302
⎜ 1.0 1419 . 417144 ⎟
⎝ ⎠
หากําลังตานทานโมเมนตดดั ประลัย
เมื่อพิจารณาทีป่ กคานรับแรงดึง
M n = S xt R e Fy = 16,209.31118 × 1.0 × 2500 = 40,523,277.95 kg.cm
M n = 405,232.7795 kg.m
เมื่อพิจารณาทีป่ กคานรับแรงอัด
M n = S xc R PG R e Fcr = 16,209.31118 × 0.996824302 × 1.0 × 2124.174785
M n = 34,322,066.33 kg.cm = 343,220.6633 kg.m
ดังนั้น กําลังรับโมเมนตดัดประลัยทางทฤษฎีคือ M n = 343,220.6633 kg.m และกําลังรับโมเมนตดัด
ประลัยที่รับไดจริงคือ
φ b M n = 0.9 × 343,220.6633 = 308,898.597 kg.m
ขั้นตอนที่ 4 หากําลังรับแรงเฉือนประลัย
(ก) เมื่อไมใชเหล็กเสริมขางคานเลย
หากไมรวมผลจากพฤติกรรมสมมติแบบ tension field action เลย กําลังรับแรงเฉือนจะคํานวณไดจาก
φ v Vn = 0.9(0.6A w Fy C v )
ระยะค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดเทากับความยาวของคานคือ a = L = 1000 cm และความลึกของแผนตั้ง
h = 173 − 2 × 1.5 = 170 cm
อัตราสวน a = 1000 = 5.882352941 > 3
h 170
ดังนั้น kv = 5
494 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

1.52k v E
ดังนั้นคา Cv = 2
< 0.8
⎛ h ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ Fy
⎝ tw ⎠
1.52 × 5 × 2 × 10 6
แทนคา Cv = 2
= 0.210380622
⎛ 170 ⎞
⎜ ⎟ × 2500
⎝ 1.0 ⎠
ดังนั้น กําลังรับแรงเฉือน
φ v Vn = 0.9 × (0.6 × 170 × 1.0 × 2500 × 0.210380622)
φ v Vn = 48,282.35294 kg
(ข) เมื่อใชเหล็กเสริมขางคาน ทุกระยะ 2.50 เมตร
กําลังรับแรงเฉือนที่นอยที่สุดจะอยูที่ปลายคาน เนื่องจากไมไดรวมผลจากพฤติกรรมสมมติแบบ
tension field action ซึ่งคํานวณคากําลังรับแรงเฉือนไดจากสมการ
φ v Vn = 0.9(0.6A w Fy C v )
ระยะหางของค้ํายันทางขางของปกคานรับแรงอัด = ระยะหางของเหล็กเสริมขางคาน a = 2.50 m =250 cm
ความสูงของเหล็กแผนตั้ง h = 173 − 2 × 1.5 = 170 cm
a 250
อัตราสวน = = 1.470588235 > 3
h 170
5 5
ดังนั้น kv = 5 + 2
= 5+ = 7.312000001
⎛a⎞ 1.470588235 2
⎜ ⎟
⎝h⎠
h 170
= = 170
t w 1 .0
k vE 7.312 × 2 × 10 6
1.37 = 1.37 = 104.7812686
Fy 2500
h k E
> 1.37 v
tw Fy
1.52k v E
ดังนั้นคา Cv = 2
< 0.8
⎛ h ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ Fy
⎝ tw ⎠
1.52 × 7.312 × 2 × 10 6
แทนคา Cv = 2
= 0.307660622
⎛ 170 ⎞
⎜ ⎟ × 2500
⎝ 1.0 ⎠
กําลังรับแรงเฉือน
φ v Vn = 0.9(0.6A w Fy C v ) = 0.9 × (0.6 × 170 × 1.0 × 2500 × 0.307660622)
φ v Vn = 70,608.11294 kg
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 495

แสดงใหเห็นวา เมื่อใชเหล็กเสริมขางคานเปนระยะๆ ตลอดความยาวคาน จะทําใหกาํ ลังรับแรงเฉือนของรูป


ตัดมีคาเพิ่มมากขึ้น
ถาตองการใหกําลังรับแรงเฉือนของรูปตัดที่ชวงปลายคาน มีคาเพิ่มขึ้นเปนสองเทาของกรณีที่ไมใช
a
เหล็กเสริมขางคานเลย ทําไดโดยลดอัตราสวน ใหนอยลง
h
เมื่อตองการให φv Vn = 0.9(0.6A w FyC v ) = 2 × 48,282.35294
φv Vn 2 × 48,282.35294
นั่นคือ ตองการ Cv = = = 0.420761245
0.9(0.6A w Fy ) 0.9(0.6 × 170 × 1.0 × 2500 )
2
1.52k v E CF ⎛h ⎞
แตเนื่องจาก Cv = 2
หรือ k v = v y ⎜⎜ ⎟⎟
⎛h⎞ 1.52E ⎝ t w ⎠
⎜⎜ ⎟⎟ Fy
⎝ tw ⎠
2
CF ⎛ h ⎞ 0.420761245 × 2500 ⎛ 170 ⎞
2

k v = v y ⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜ ⎟ = 10
1.52E ⎝ t w ⎠ 1.52 × 2 × 106 ⎝ 1.0 ⎠
2
5 ⎛a⎞ 5 5 5
แต kv = 5 + ได ⎜ ⎟ = = = =1
⎛a⎞
2
⎝h⎠ k v − 5 10 − 5 5
⎜ ⎟
⎝h⎠
a
= 1 =1
h
a = 1 × h = 1 × 170 = 170 cm
นั่นคือ นอกจากจะตองเสริมเหล็กขางคานแบบรับแรงกดที่จุดรองรับแลว จะตองเสริมเหล็กขางคาน
แบบไมรับแรงกด โดยใหหา งจากปลายคานเปนระยะ a = h = 170 cm จึงจะทําใหกําลังรับแรงเฉือนของ
รูปตัดที่ชวงปลายคานมีคาเพิ่มมากกวาเดิมเปนสองเทาจากกรณีที่ไมใชเหล็กเสริมขางคานเลย

ตัวอยางที่ 8.2 คานเหล็กประกอบขนาดใหญซึ่งใชเหล็กชนิด A36 ตองรับน้ําหนักบรรทุกแบบแผที่เกิดจาก


น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน (รวมน้ําหนักของคานแลว) 1.5 ตัน/เมตร น้าํ หนักบรรทุกจรใชงาน 4.5 ตัน/
เมตร และน้ําหนักบรรทุกแบบจุดที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 4.5 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใช
งาน 13.5 ตัน ซึ่งกระทําที่ตาํ แหนงตางๆ ดังแสดง สมมติใหมีค้ํายันทางขางที่ปกคานดานรับแรงอัด
เฉพาะที่ปลายคานและที่น้ําหนักแบบจุดกระทําเทานั้น และใหมีเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด
เฉพาะที่ปลายคานและที่น้ําหนักแบบจุดกระทําเชนกัน ถาตอเชื่อมคานเหล็กประกอบนี้อยางเพียงพอ
ใหตรวจสอบ
(ก) กําลังรับโมเมนตดัด
(ข) กําลังรับแรงเฉือน
(ค) การรับแรงเฉือนรวมกับโมเมนตดัด
496 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

(ง) การใชเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด ขนาด 10 × 150 mm หนึ่งคูตรงที่มีน้ําหนัก


แบบจุดกระทํา และขนาด 12 × 150 mm หนึ่งคูที่ปลายคานทั้งสอง

วิธีทํา
ตรวจสอบโดยวิธี ASD
ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักใชงานที่กระทํา
น้ําหนักแผ w = 1.5 + 4.5 = 6 t / m
น้ําหนักแบบจุด P = 4.5 + 13.5 = 18 ตัน
ขั้นตอนที่ 2 เขียนแผนภาพแรงเฉือน (SFD) และแผนภาพโมเมนตดดั (BMD) ดังแสดง
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 497

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบขนาดของเหล็กแผนตั้ง
ความสูงแผนตั้ง h = d − 2t f = 170 − 2 × 2.5 = 165 cm
ความหนาแผนตั้ง t w = 1.0 cm
h 165
= = 165
t w 1.0
E 2 × 106
5.76 = 5.76 = 162.9174024
Fy 2500
h E
> 5.76
tw Fy
แสดงวาเปนคานประกอบขนาดใหญ (plate girder)
ตรวจสอบความหนาอยางนอยของเหล็กแผนตั้ง t w เพื่อปองกันการโกงเดาะในแนวตั้ง
a = 3.50 m = 350 cm = ระยะหางระหวางค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด (ดูจากรูป)
a 350
= = 2.121212121 ดังนั้นตรวจสอบดวยสมการ
h 165
498 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

h 0.48E 0.48 × 2 × 106


≤ = = 317.8006612
tw Fy (Fy + Fr ) 2500(2500 + 1150 )
h 165
tw = = = 0.519193381 cm < 1.0 cm
317.8006612 317.8006612
แสดงวาใชเหล็กแผนตั้งขนาดสูง 165 cm และหนา 10 mm ได
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบกําลังรับโมเมนตดดั
หนวยแรงดัดที่ยอมให
Fb' = Fb R PG R e
หาคาตางๆ ที่จาํ เปน
R e = 1.0 เนื่องจากใชเหล็กชนิดเดียวกันในการทําแผนตั้งและปกคาน
I x = สี่เหลี่ยมเต็มลบสี่เหลี่ยมเจาะออก
40 × 1703 (40 − 1.0)(170 − 2 × 2.5)
3
I =
x − = 1,777,260.417 cm 4
12 12
170
c= = 85 cm
2
I 1,777,260.417
Sx = = = 20,908.94608 cm3
c 85
หาหนวยแรงดัด Fb
เนื่องจากมีค้ํายันดานขางเปนระยะๆ ดังนั้น ตองพิจารณาหาหนวยแรงดัดจากการโกงออกทางขาง และ
จากการโกงเฉพาะที่ที่ปกคานดานรับแรงอัด แลวนําคานอยมาใช
(ก) สําหรับการโกงเฉพาะที่ที่ปกคานดานรับแรงอัด
bf 40
= =8
2 t f 2 × 2 .5
E 2 × 106
0.38 = 0.38 = 10.74802307
Fy 2500
bf E
< 0.38
2t f Fy
แมจะเหมือนกับเปนหนาตัดแบบอัดแนน แตเหล็กปกคานอาจจะไมไดยดึ ตอเนือ่ งกับเหล็กแผนตั้งตลอด
ความยาวคาน ดังนั้น
Fb = 0.60Fy = 0.60 × 2500 = 1500 ksc
(ข) สําหรับการโกงออกทางขาง พิจารณาจากระยะค้ํายันทางขาง
L = 3.50 m = 350 m = ระยะหางของค้ํายันทางขาง (ดูจากรูป)
E 2 × 106
L c = 0.444b f = 0.444 × 40 = 502.3286574 cm
Fy 2500
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 499

L < Lc
ดังนั้น Fb = 0.66Fy = 0.66 × 2500 = 1650 ksc
เลือกคานอย หนวยแรงดัดที่ยอมให Fb = 1500 ksc
A w ht w 165 × 1.0
ar = = = = 1.65
A f bf t f 40 × 2.5
⎛h 0.6E ⎞⎟
R PG = 1 − 0.0005a r ⎜⎜ − 5.76 ≤ 1.0
⎝ tw Fb ⎟⎠
⎛ 165 0.6 × 2 × 106 ⎞
R PG = 1 − 0.0005 × 1.65⎜ − 5.76 ⎟
⎜ 1.0 1500 ⎟
⎝ ⎠
R PG = 0.998281857
ดังนั้น หนวยแรงดัดที่ยอมให
Fb' = Fb R PG R e = 1500 × 0.998281857 × 1.0 = 1497.422785 ksc
โมเมนตดัดที่รบั ได
M = Fb' Sx = 1497.422785 × 20,908.94608 = 31,309,532.28 kg.cm
M = 313,095.3228 kg.m
โมเมนตดัดสูงสุดที่เกิดขึ้น 273 ตัน.เมตร หนาตัดรับโมเมนตนี้ได
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบกําลังรับแรงเฉือน
(ก) ที่ปลายคาน แมวาจะใชเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดที่ฐานรอง และที่ตําแหนงซึ่งน้ําหนัก
แบบจุดกระทํา แตจะไมมีผลตอพฤติกรรมสมมติแบบ tension field action จาก
h 165
= = 165
t w 1.0
5E 5 × 2 × 106
= = 63.2455532
Fy 2500
h 5E
>
tw Fy
Fy C v
หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหคือ Fv =
2.89
a = 3.50 m = 350 cm = ระยะหางระหวางค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด (ดูจากรูป)
a 350
= = 2.121212121 > 1.0
h 165
4.0 4.0
k v = 5.34 + 2
= 5.34 + = 6.228979592
⎛a⎞ 2.1212121212
⎜ ⎟
⎝h⎠
500 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

1.55k v E 1.52 × 6.228979592 × 2 × 106


คา Cv = = = 0.278216315
⎛h ⎞
2
1652 × 2500
⎜⎜ ⎟⎟ Fy
⎝ tw ⎠
ดังนั้น
Fy C v 2500 × 0.278216315
Fv = = = 240.671553 ksc
2.89 2.89
รับแรงเฉือนได
V = 240.671553 × 165 × 1.0 = 39,710.80625 kg < 69 tonne
แสดงวาไมสามารถรับแรงเฉือนดังที่ตองการ
วิธีแกไขเพื่อเพิ่มกําลังรับแรงเฉือน คือ ตองพิจารณาเสริมเหล็กขางคานชวงใน (intermediate stiffener)
a
แบบไมรับแรงกด ทั้งนี้ เพื่อลดอัตราสวน
h
การหาตําแหนงตัวแรกของเหล็กเสริมขางคานชวงในแบบไมรับแรงกด ทําดังนี้
จากแผนภาพแรงเฉือน แรงเฉือนสูงสุด V = 69 t = 69,000 kg
Fy C v V 69,000
ให Fv = = =
2.89 A w 165 × 1.0
69,000 2.89
Cv = × = 0.483418181
165 × 1.0 2500
1.55k v E
แต Cv = 2
ดังนั้น
⎛h⎞
⎜⎜ ⎟⎟ Fy
⎝ tw ⎠
2
CF ⎛h⎞ 0.483418181 × 2500 ⎛ 165 ⎞
2

k v = v y ⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜ ⎟ = 10.61375806
1.55E ⎝ t w ⎠ 1.55 × 2 × 106 ⎝ 1.0 ⎠
4.0 ⎛a⎞ 4 .0 4 .0
แต k v = 5.34 + ได ⎜ ⎟= =
⎛a⎞
2
⎝h⎠ k v − 5.34 10.61375806 − 5.34
⎜ ⎟
⎝h⎠
a
= 0.870903216
h
a = 0.870903216h = 0.870903216 × 165 = 143.6990307 cm
นั่นคือ ระยะทีต่ องเสริมเหล็กขางคานตัวแรก a = 143.699 m
(ข) ที่ตําแหนงซึ่งรับน้ําหนักกระทําแบบจุด
เนื่องจากใชเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดทุกระยะ 3.50 เมตร ดังนั้นกําลังรับแรงเฉือนจะพิจารณา
โดยรวมผลของพฤติกรรมสมมติแบบ tension field action
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 501

a 350
= = 2.121212121
h 165
4.0 4.0
k v = 5.34 + 2
= 5.34 + = 6.228979592
⎛a⎞ 2.121212121 2
⎜ ⎟
⎝h⎠
1.55k v E 1.55 × 6.228979592 × 2 × 106
Cv = 2
= 2
= 0.283707426 < 1.0
⎛ h ⎞ ⎛ 165 ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ Fy ⎜ ⎟ × 2500
⎝ tw ⎠ ⎝ 1.0 ⎠
หนวยแรงเฉือนที่ยอมให
⎡ ⎤
⎢ ⎥
Fy ⎢ 1 − Cv ⎥
Fv = ⎢ Cv + ⎥
2.89 ⎛a⎞
2
⎢ 1.15 1 + ⎜ ⎟ ⎥
⎢⎣ ⎝ h ⎠ ⎥⎦
⎡ ⎤
⎢ ⎥
2500 ⎢ 1 − 0.283707426 ⎥
Fv = 0.283707426 +
2.89 ⎢ 2 ⎥
⎛ 350 ⎞ ⎥
⎢ 1.15 1 + ⎜ ⎟
⎢⎣ ⎝ 165 ⎠ ⎥⎦
Fv = 475.1801335 ksc
แรงเฉือนที่เกิดจริง (ดูจาก SFD) V = 69 − 6 × 3.50 − 18 = 30 t = 30,000 kg
V 30,000
หนวยแรงเฉือนที่เกิดขึน้ จริง fv = = = 181.8181818 ksc
ht w 165 × 1.0
พบวา f v < Fv ใชได
ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบการรับโมเมนตดัดและแรงเฉือนรวมกัน
ตองตรวจสอบดวยสมการ
⎛ f ⎞
Fb = ⎜⎜ 0.825 − 0.375 v ⎟⎟Fy ≤ 0.6Fy
⎝ Fv ⎠
ตรงตําแหนงทีน่ ้ําหนักกระทําเปนจุด จากขัน้ ตอนที่ 5 พบวา
f v = 181.8181818 ksc
Fv = 475.1801335 ksc
⎛ 181.8181818 ⎞
Fb = ⎜ 0.825 − 0.375 × ⎟ × 2500 = 1703.784361 ksc
⎝ 475.1801335 ⎠
0.6Fy = 0.6 × 2500 = 1500 ksc
ใช Fb = 1500 ksc
502 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ตรงตําแหนงทีน่ ้ําหนักกระทําเปนจุด ดู BMD จะพบวามีโมเมนต M = 231 t , m และหนาตัดโมดูลัสหนา


ตัด Sx = 20,908.94608 cm3 ดังนัน้ หนวยแรงดัด
M 231 × 1000 × 100
fb = = = 1104.790261 ksc < Fb = 1500 ksc
Sx 20,908.94608
แสดงวาการรับโมเมนตดัดและแรงเฉือนรวมกัน ไมมีผลตอการรับน้ําหนักของคานประกอบนี้
ขั้นตอนที่ 7 ตรวจสอบการใชเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด
(ก) ที่ตําแหนงซึ่งมีน้ําหนักแบบจุดกระทํา และใชเหล็กเสริมขางคานหนึ่งคู ขนาดหนาตัด
10 × 150 mm
b 150
ตรวจสอบ อัตราสวน = = 15
t 10
E 2 × 106
กับอัตราสวน 0.56 = 0.56 = 15.8391919
Fy 2500
b E
พบวา < 0.56 ใชได
t Fy
ตรวจสอบกําลังรับแรงกดของเหล็กเสริมขางคาน
R = 0.9Fy A pb
ถาขนาดขาเชื่อมระหวางปกคานกับแผนตัง้ เทากับ 10 mm และตัดมุมที่เหล็กเสริมขางคาน เทากับ 1.5
cm ดังนั้น
A pb = 2(15 − 1.5)(1.0 ) = 27 cm 2
R = 0.9 × 2500 × 27 = 60,750 kg > 18,000 kg ใชได
พิจารณากําลังรับน้ําหนักเมือ่ ทําหนาที่คลายเสา
A = 25 × 1 + 2 × 1.0 × 15 = 55 cm 2
25 × 1.03 1.0 × 153
2
bd 3 ⎛ 15 ⎞
I=∑ + ∑ Ad 2 = + 2× + 2 × 1.0 × 15 × ⎜ 0.5 + ⎟
12 12 12 ⎝ 2⎠
I = 2484.583333 cm 4
I 2484.583333
r= = = 6.721178648
A 55
KL 0.75 × 165
= = 18.41194922
r 6.721178648
2π 2 E 2π2 × 2 × 106 KL
Cc = = = 125.6637061 >
Fy 2500 r
KL 18.41194922
= = 0.146517636
rCc 125.6637061
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 503

⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
Fa = 3
5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞
+ ⎜ ⎟− ⎜ ⎟
3 8 ⎜⎝ rCc ⎟⎠ 8 ⎜⎝ rCc ⎟⎠

Fa =
[1 − 0.5(0.146517636 )]× 2500
2
= 1436.869872 ksc
5 3 1
+ × 0.14651763 − × 0.14651763 3

3 8 8
P = 55 × 1436.869872 = 79,027.84294 kg > 18,000 kg OK
(ข) ที่ปลายคาน ซึ่งใชเหล็กเสริมขางคาน 1 คู ขนาดหนาตัด 12 × 150 mm
b 150
ตรวจสอบ อัตราสวน = = 12.5
t 12
E 2 × 106
กับอัตราสวน 0.56 = 0.56 = 15.8391919
Fy 2500
b E
พบวา < 0.56 ใชได
t Fy
ถาขนาดขาเชื่อมระหวางปกคานกับแผนตัง้ เทากับ 10 mm และตัดมุมที่เหล็กเสริมขางคาน เทากับ 1.5
cm ดังนั้น
A pb = 2(15 − 1.5)(1.2) = 32.4 cm 2
R = 0.9 × 2500 × 32.4 = 72,900 kg > 69,000 kg ใชได
พิจารณากําลังรับน้ําหนักเมือ่ ทําหนาที่คลายเสา
A = 12 × 1 + 2 × 1.2 × 15 = 48 cm 2
12 × 1.03 1.2 × 153
2
bd 3 ⎛ 15 ⎞
I=∑ + ∑ Ad 2 = + 2× + 2 × 1.2 × 15 × ⎜ 0.5 + ⎟
12 12 12 ⎝ 2⎠
I = 2980 cm 4
I 2980
r= = = 7.879297769 cm
A 48
KL 0.75 × 165
= = 15.70571435
r 7.879297769
2π 2 E 2π2 × 2 × 106 KL
Cc = = = 125.6637061 >
Fy 2500 r
KL 15.70571435
= = 0.124982103
rCc 125.6637061
504 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
Fa = 3
5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞
+ ⎜ ⎟− ⎜ ⎟
3 8 ⎜⎝ rCc ⎟⎠ 8 ⎜⎝ rCc ⎟⎠

Fa =
[1 − 0.5(0.124982103 )]× 2500
2
= 1447.78351 ksc
5 3 1
+ × 0.124982103 − × 0.124982103 3

3 8 8
P = 48 × 1447.78351 = 69,493.6085 kg > 69,000 kg OK
สรุปวา คานเหล็กประกอบทีก่ ําหนดให จะสามารถรับน้ําหนักกระทําดังกลาวได ตอเมื่อเพิ่มเหล็กเสริม
ขางคานแบบไมรับแรงกดที่ระยะหางจากปลายคานไมเกิน 1.43 เมตร

ตรวจสอบตามวิธี LRFD
ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักประลัยที่กระทํา
น้ําหนักแผประลัย w u = 1.2DL + 1.6LL = 1.2 × 1.5 + 1.6 × 4.5 = 9 ตัน/เมตร
น้ําหนักประลัยแบบจุด Pu = 1.2DL + 1.6LL = 1.2 × 4.5 + 1.6 × 13.5 = 27 ตัน
ขั้นตอนที่ 2 เขียนแผนภาพแรงเฉือน (SFD) และแผนภาพโมเมนตดดั (BMD)
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 505

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบขนาดของเหล็กแผนตั้ง
ความสูง h = d − 2t f = 170 − 2 × 2.5 = 165 cm
ความหนา t w = 1 cm
h 165
= = 165
tw 1
E 2 × 106
5.70 = 5.70 = 161.2203461
Fy 2500
h E
> 5.70 OK
tw Fy
ตรวจสอบความหนาอยางนอยของเหล็กแผนตั้ง เพื่อปองกันไมใหเกิดการโกงเดาะในแนวตั้ง
a = 3.50 m = 350 cm ระยะหางของค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด
a 350
= = 2.121212121 > 1.5 จึงตองตรวจสอบดวยสมการ
h 165
h 0.48E

tw Fy (Fy + Fr )
0.48E 0.48 × 2 × 106
= = 317.8006612
Fy (Fy + Fr ) 2500(2500 + 1150 )
165
≤ 317.8006612
tw
165
tw ≥ = 0.519193381 cm
317.8006612
ดังนั้นใชเหล็กแผนตั้งขนาดสูง 165 cm หนา 10 mm ได
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบกําลังรับโมเมนตดดั
กําลังรับโมเมนตดัดประลัย φb M n = φbSxt R e Fy สําหรับปกรับแรงดึง
กําลังรับโมเมนตดัดประลัย φb M n = φbSxc R PG R e Fcr สําหรับปกรับแรงอัด
หาคาตางๆ ที่จาํ เปน
R e = 1.0 เนื่องจากใชเหล็กชนิดเดียวกันในการทําแผนตั้งและปกคาน
I x = สี่เหลี่ยมเต็มลบสี่เหลี่ยมเจาะออก
40 × 1703 (40 − 1.0)(170 − 2 × 2.5)
3
I =
x − = 1,777,260.417 cm 4
12 12
170
c= = 85 cm
2
I 1,777,260.417
Sx = = = 20,908.94608 cm3
c 85
506 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

หาหนวยแรงดัดวิกฤตที่ปกรับแรงอัด Fcr
เนื่องจากมีค้ํายันทางขางเปนระยะๆ ดังนั้นตองพิจารณาหาหนวยแรงดัดวิกฤตจากลักษณะการวิบัติ
แบบ LTB และแบบ FLB แลวนําคานอยมาใช
(ก) สําหรับการวิบตั ิแบบ FLB
bf 40
λ= = =8
2 t f 2 × 2.5
E 2 × 106
λ p = 0.38 = 0.38 = 10.74802307
Fy 2500
λ < λp
ดังนั้น Fcr = Fy = 2500 ksc
(ข) สําหรับการวิบตั ิแบบ LTB
Lb Lb 350
λ= ≈ = = 33.65384615
rT 0.26bf 0.26 × 40
E 2 × 106
λ p = 1.76 = 1.76 = 49.7803174
Fy 2500
λ < λp
ดังนั้น Fcr = Fy = 2500 ksc
เลือกคานอย ใช Fcr = Fy = 2500 ksc
A w ht w 165 × 1.0
เนื่องจาก ar = = = = 1.65
A f bf t f 40 × 2.5
⎛h E ⎞⎟
R PG = 1 − 0.0005a r ⎜⎜ c − 5.70 ⎟ ≤ 1.0
t
⎝ w Fcr ⎠

ปกคานขนาดเทากัน h c = h = 165 cm
⎛ 165 2 × 106 ⎞
R PG = 1 − 0.0005 × 1.65 × ⎜ − 5.70 ⎟ = 0.996881785 < 1.0
⎜ 1.0 2500 ⎟
⎝ ⎠
ที่ปกคานรับแรงดึง
φb M n = φbSxt R e Fy = 0.9 × 20,908.94608 × 1.0 × 2500
φb M n = 47,045,128.68 kg.cm = 470,451.2868 kg.m
ที่ปกคานรับแรงอัด
φb M n = φbSxc R PG R e Fcr = 0.9 × 20,908.94608 × 0.996881785 × 1.0 × 2500
φb M n = 46,898,431.88 kg.cm = 468,984.3188 kg.m
เลือกคานอย φb M n = 468,984.3188 kg.m > 409,500 kg.m ที่เกิดขึ้น ใชได
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 507

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบกําลังรับแรงเฉือน
(ก) ที่ปลายคาน แมวาจะใชเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดที่ฐานรอง และที่ตําแหนงซึ่งน้ําหนัก
แบบจุดกระทํา แตจะไมมีผลตอพฤติกรรมสมมติแบบ tension field action ดังนัน้ กําลังรับแรงเฉือนจะ
คํานวณไดจาก
φ v Vn = 0.9(0.6A w Fy C v )
A w = ht w = 165 × 1.0 = 165 cm 2
Fy = 2500 ksc
a 350
= = 2.121212121 < 3.0 ดังนั้น
h 165
5 5
kv = 5 + 2
=5+ 2
= 6.11122449
⎛a⎞ ⎛ 350 ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝h⎠ ⎝ 165 ⎠
h 165
= = 165
t w 1.0
k vE 6.11122449 × 2 × 106
1.37 = 1.37 = 95.79209673
Fy 2500
h k E
> 1.37 v
tw Fy

1.52k v E 1.52 × 6.11122449 × 2 × 106


ดังนั้น Cv = 2
= 2
= 0.272956803
⎛h ⎞ ⎛ 165 ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ Fy ⎜ ⎟ × 2500
⎝ tw ⎠ ⎝ 1.0 ⎠
ดังนั้นกําลังรับแรงเฉือน
φv Vn = 0.9(0.6A w FyC v )
φv Vn = 0.9 × 0.6 × 165 × 2500 × 0.272956803
φv Vn = 60,801.12802 kg < Vu = 103,500 kg
แสดงวา ไมสามารถรับแรงเฉือนที่เกิดขึ้นได วิธแี กไขตองเสริมเหล็กขางคานแบบไมรับแรงกดเพือ่ ลดระยะ
a ใหนอยลง
หาตําแหนงของเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกดคูแรก
ใหแรงเฉือนทีร่ ับไดเทากับแรงเฉือนประลัย
φ v Vn = 0.9(0.6A w Fy C v ) = 103,500
0.9 × 0.6 × 165 × 2500C v = 103,500
103,500
Cv = = 0.464646464
0.9 × 0.6 × 165 × 2500
508 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

1.52k v E 1.52 × k v × 2 × 106


แต Cv = 2
= 2
= 0.464646464
⎛h ⎞ ⎛ 165 ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ Fy ⎜ ⎟ × 2500
⎝ w⎠
t ⎝ 1.0 ⎠
0.464646464 × 1652 × 2500
kv = = 10.40296053
1.52 × 2 × 106
5
แต kv = 5 + 2
= 10.40296053
⎛a⎞
⎜ ⎟
⎝h⎠
a 5
= = 0.961986782
h 10.40296053 − 5
a = 0.961986782 × 165 = 158.7278191 cm
ดังนั้นระยะทีต่ องเสริมเหล็กขางคานคูแรกหางจากปลายคานระยะ a = 158 cm = 1.58 m
(ข) ที่ตําแหนงซึ่งรับน้ําหนักกระทําแบบจุด
เนื่องจากใชเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดทุกระยะ 3.50 เมตร ดังนั้นกําลังรับแรงเฉือน จะพิจารณา
โดยรวมผลของพฤติกรรมสมมติแบบ tension field action
a 350
= = 2.121212121 < 3.0 ดังนั้น
h 165
5 5
kv = 5 + 2
=5+ 2
= 6.11122449
⎛a⎞ ⎛ 350 ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝h⎠ ⎝ 165 ⎠
1.52k v E 1.52 × 6.11122449 × 2 × 106
Cv = 2
= 2
= 0.272956803
⎛h ⎞ ⎛ 165 ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ Fy ⎜ ⎟ × 2500
⎝ w⎠
t ⎝ 1.0 ⎠
แต
h 165
= = 165
t w 1 .0
k vE 6.11122449 × 2 × 106
1.10 = 1.10 = 76.91336234
Fy 2500
h k E
> 1.10 v
tw Fy
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 509

กําลังรับแรงเฉือนประลัย
⎡ ⎤
⎢ ⎥
⎢ 1 − Cv ⎥
Vn = 0.6A w Fy ⎢C v +
2 ⎥
⎢ ⎛a⎞
1.15 1 + ⎜ ⎟ ⎥
⎢⎣ ⎝ h ⎠ ⎥⎦
⎡ ⎤
⎢ ⎥
⎢ 1 − 0.272956803 ⎥
Vn = 0.6 × 165 × 1.0 × 2500 × ⎢0.272956803 +
2 ⎥
⎢ ⎛ 350 ⎞ ⎥
1.15 1 + ⎜ ⎟
⎢⎣ ⎝ 165 ⎠ ⎥⎦
⎡ 0.727043197 ⎤
Vn = 247,500 × ⎢0.272956803 +
⎣ 1.15 × 2.34510999 ⎥⎦
Vn = 134,279.6238 kg
φ v Vn = 0.9 × 134,279.6238 = 120,851.6615 kg > 45,000 kg OK
ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบการรับโมเมนตดัดและแรงเฉือนรวมกัน
ตองตรวจสอบในชวง
0.6Vn ≤ Vu ≤ φ v Vn
หรือเมื่อ 0.75M n ≤ M u ≤ φb M n
ขณะนี้ทราบวา Vn = 134,279.6238 kg
φ v Vn = 120,851.6615 kg
และ
0.6Vn = 0.6 × 134,279.6238 = 80,567.77428 kg
φb M n = 468,984.3188 kg.m
468,984.3188
Mn = = 521,093.6876 kg.m
0.9
0.75M n = 0.75 × 521,093.6876 = 390,820.2657 kg.m
เมื่อพิจารณาจากแผนภาพของแรงเฉือนและโมเมนตดัด เมื่อคา Vu = 80.6 ตัน คาของ M u จะนอย
และมีคานอยกวาคาที่ตองพิจารณาคือ 390,820.2657 kg.m
นั่นคือ การรับโมเมนตดัดและแรงเฉือนรวมกัน ไมมีผลตอการรับน้ําหนักของคานประกอบนี้
ขั้นตอนที่ 7 ตรวจสอบการใชเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด
(ก) ที่ตําแหนงซึ่งมีน้ําหนักแบบจุดกระทํา และใชเหล็กเสริมขางคานหนึง่ คู ขนาดหนาตัดขางละ
10 × 150 mm
b
ตรวจสอบอัตราสวน วาชะลูดเกินไปหรือไม
t
510 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

b 150
= = 15
t 10
E 2 × 106
0.56 = 0.56 = 15.8391919
Fy 2500
b E
< 0.56 OK
t Fy
ตรวจสอบกําลังรับแรงกดประลัยของเหล็กเสริมขางคาน
φR n = 0.75(1.8Fy A pb )
ถาขนาดขาเชื่อมระหวางปกคานกับแผนตัง้ เทากับ 10 mm และตัดมุมที่เหล็กเสริมขางคานเทากับ 1.5
cm ดังนั้นเนื้อที่รับแรงกดคือ
A pb = 2 × (15 − 1.5) × 1.0 = 27 cm 2
ดังนั้นกําลังรับแรงกดประลัย
φR n = 0.75(1.8Fy A pb ) = 0.75 × 1.8 × 2500 × 27
φR n = 91,125 kg > 27,000 kg OK
พิจารณากําลังรับน้ําหนักประลัยเมื่อทําหนาที่คลายเสา
A = 25 × 1.0 + 2 × 15 × 1.0 = 55 cm 2
25 × 13 1.0 × 153
2
⎛ 15 ⎞
I= + 2× + 2 × 15 × 1.0 × ⎜ 0.5 + ⎟ = 2484.583333 cm 4
12 12 ⎝ 2⎠
I 2484.583333
r= = = 6.721178648
A 55
KL 0.75 × 165
= = 18.41194922
r 6.721178648
KL Fy 18.41194922 2500
λc = = = 0.207207228 < 1.5
rπ E π 2 × 106
Fcr = 0.658λ c Fy = 0.6580.207207228 × 2500 = 0.982190114 × 2500
2 2

Fcr = 2455.427881 ksc


φc Pn = 0.85Fcr A g = 0.85 × 2455.427881 × 55
φc Pn = 114,791.2534 kg > 27,000 kg OK
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 511

(ข) ที่ปลายคาน ซึ่งใชเหล็กเสริมขางคานหนึ่งคู ขนาดหนาตัด 12 × 150 mm


b
ตรวจสอบอัตราสวน วาชะลูดเกินไปหรือไม
t
b 150
= = 12.5
t 12
E 2 × 106
0.56 = 0.56 = 15.8391919
Fy 2500
b E
< 0.56 OK
t Fy
ตรวจสอบกําลังรับแรงกดประลัยของเหล็กเสริมขางคาน
φR n = 0.75(1.8Fy A pb )
ถาขนาดขาเชื่อมระหวางปกคานกับแผนตัง้ เทากับ 10 mm และตัดมุมที่เหล็กเสริมขางคานเทากับ 1.5
cm ดังนั้นเนื้อที่รับแรงกดคือ
A pb = 2 × (15 − 1.5) × 1.2 = 32.4 cm 2
ดังนั้นกําลังรับแรงกดประลัย
ดังนั้นกําลังรับแรงกดประลัย
φR n = 0.75(1.8Fy A pb ) = 0.75 × 1.8 × 2500 × 32.4
φR n = 109,350 kg > 103,500 kg OK
พิจารณากําลังรับน้ําหนักประลัยเมื่อทําหนาที่คลายเสา
A = 12 × 1.0 + 2 × 15 × 1.2 = 48 cm 2
12 × 13 1.2 × 153
2
⎛ 15 ⎞
I= + 2× + 2 × 15 × 1.2 × ⎜ 0.5 + ⎟ = 2980 cm 4
12 12 ⎝ 2⎠
I 2980
r= = = 7.879297769
A 48
KL 0.75 × 165
= = 15.70571439
r 7.879297769
KL Fy 15.70571439 2500
λc = = = 0.176751386 < 1.5
rπ E π 2 × 106
Fcr = 0.658λ c Fy = 0.6580.176751386 × 2500 = 0.987009165 × 2500
2 2

Fcr = 2467.522914 ksc


φc Pn = 0.85Fcr A g = 0.85 × 2467.522914 × 48
φc Pn = 100,674.9349 kg < 103,500 kg No good
สรุป คานเหล็กประกอบที่กําหนดให ไมสามารถรับน้ําหนักกระทําดังกลาวได แตจะสามารถรับ
น้ําหนักดังกลาวได ก็ตอเมื่อ
512 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

(ก) เพิ่มเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกด ที่ระยะหางจากปลายคานไมเกินกวา 1.58 เมตร


(ข) เพิ่มความหนาของเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดที่ปลายคาน

ตัวอยางที่ 8.3 จงออกแบบคานเหล็กประกอบยาว 20 เมตร ใหรับน้ําหนักแผซึ่งประกอบดวย น้ําหนัก


บรรทุกคงที่ใชงาน 2500 kg/m ๖ไมรวมน้ําหนักคาน) น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 1900 kg/m และใหรับ
น้ําหนักจากเสาที่กระทําตรงกลางคานซึ่งประกอบดวยน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 35000 kg และ
น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 26000 kg สมมติมีค้ํายันทางขางที่ปกบนตลอดความยาวคาน และใชเหล็ก
ชนิด ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc, E = 2 × 106 ksc, และหนัก 8000 kg / m3

วิธีทํา
ออกแบบโดยวิธี ASD
ขั้นตอนที่ 1 หาความลึกทั้งหมดของหนาตัดคาน
L L
ประมาณความลึกคานอยูระหวาง ถึง
12 10
L 20 L 20
= = 1.67 m, = = 2.00 m
12 12 10 10
เลือกความลึกคาน d = 180 cm
ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของเหล็กแผนตั้ง
สมมติใหปกคานหนา t f = 50 mm ดังนัน้ h = d − 2t f = 180 − 2 × 5 = 170 cm
หาความหนาของเหล็กแผนตัง้
h E
(ก) ถาเปนคานประกอบขนาดใหญ ≥ 5.76
tw Fy
170 2 × 106
≥ 5.76 = 162.9174024
tw 2500
170
tw ≤ = 1.043473549 cm
162.9174024
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 513

(ข) จากมาตรฐาน ว.ส.ท. เหล็กแผนตั้งจะไมเกิดการโกงเดาะในแนวตั้ง ถา


a h E
ในกรณี < 1.5 ≤ 11.74
h tw Fy
170 2 × 106
≤ 11.74 = 332.0573444
tw 2500
170
tw ≥ = 0.511959764 cm
332.0573444
a h 0.48E
ในกรณี > 1.5 ≤
h tw Fy (Fy + Fr )
170 0.48 × 2 × 106
≤ = 317.8006612
tw 2500 × (2500 + 1150 )
170
tw ≥ = 0.534926514 cm
317.8006612
ดังนั้นเลือกใชเหล็กแผนตั้งขนาดสูง 170 cm หนา 10 mm
ขั้นตอนที่ 3 หาขนาดของเหล็กปกคาน
M Aw
เนื้อที่หนาตัดของเหล็กปกคานโดยประมาณ A f = −
hFb 6
ดังนั้น หาโมเมนตดัดทีก่ ระทํา ซึ่งเกิดจากน้ําหนักที่ประกอบดวย
สมมติน้ําหนักของคาน = 0.11(2500 + 1900) = 484 → 500 kg / m
น้ําหนักแผ w = (2500 + 500) + (1900) = 4900 kg / m
น้ําหนักกระทําเปนจุด P = 35000 + 26000 = 61000 kg
wL2 PL 4900 × 202 61000 × 20
ดังนั้น M max = + = + = 550,000 kg.m
8 4 8 4
wL P 4900 × 20 61000
Vmax = + = + = 79,500 kg
2 2 2 2
สมมติหนวยแรงดัดที่ยอมให Fb = 0.6Fy = 0.6 × 2500 = 1500 ksc
550,000 × 100 170 × 1
แทนคา Af ≈ − = 187.3529412 cm 2
170 × 1500 6
โดยที่สมมติไวแลววาปกคานหนา 5 cm ดังนั้นความกวางปกคานอยางนอย
A f 187.3529412
bf = = = 37.47058824 cm
tf 5
เลือกใชขนาดของปกคาน กวาง bf = 40 cm = 400 mm หนา t f = 5 cm = 50 mm
514 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบหนวยแรงดัด
h 170
= = 170
tw 1
E 2 × 106
5.76 = 5.76 = 162.9174024
Fy 2500
h E
> 5.76
tw Fy
ดังนั้นหนวยแรงดัดที่ยอมใหคือ
Fb' = Fb R PG R e

คานมีค้ํายันทางขางตลอดความยาวคาน และอัตราสวน
bf 40
= =4
2t f 2 × 5
E 2 × 106
0.38 = 0.38 = 10.74802307
Fy 2500
bf E
< 0.38
2t f Fy
ดังนั้น
Fb = 0.6Fy = 0.6 × 2500 = 1500 ksc
R e = 1.0 เพราะใชเหล็กชนิดเดียวกันทั้งแผนตั้งและปกคาน
A w ht w 170 × 1
ar = = = = 0.85
A f b f t f 40 × 5
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 515

จากสมการ
⎛h 0.6E ⎞⎟
R PG = 1 − 0.0005a r ⎜⎜ c − 5.76 ⎟ ≤ 1.0
t
⎝ w Fb ⎠

แตปกคานรับแรงอัดเทากับปกคานรับแรงดึง h c = h = 170 cm
⎛ 170 0.6 × 2 × 106 ⎞
R PG = 1 − 0.0005 × 0.85 × ⎜ − 5.76 ⎟ = 0.996989896 < 1.0
⎜ 1 1500 ⎟
⎝ ⎠
ดังนั้น หนวยแรงดัดที่ยอมให
Fb' = Fb R PG R e = 1500 × 0.996989896 × 1.0 = 1495.484844 ksc
จากรูปตัดที่เลือกใช
bd 3 b1d13
Ix = สี่เหลี่ยมเต็ม – สีเหลี่ยมเจาะออก− =
12 12
40 × 180 (40 − 1) × (180 − 2 × 5)
3 3
Ix = − = 3,472,750 cm 4
12 12
d 180
c= = = 90 cm
2 2
I 3,472,750
Sx = x = = 38,586.11111 cm3
c 90
หนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นจริง
M x 550 × 1000 × 100
f bx = = = 1425.383342 < Fbx = Fb' = 1495.484844 ksc ใชได
Sx 38,586.11111
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบหนวยแรงเฉือนและพิจารณาหาตําแหนงของเหล็กเสริมขางคาน
(ก) ที่ปลายคาน หากใชเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดที่ฐานรองและที่กึ่งกลางซึ่งมีน้ําหนักแบบ
จุดกระทํา
a = 10 m = 1000 cm = ระยะหางระหวางค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัด
h = d − 2 t f = 180 − 2 × 5 = 170 cm = ความสูงของแผนตั้ง
a 1000
= = 5.882352941 > 1.0
h 170
4 4
ดังนั้น k v = 5.34 + 2
= 5.34 + = 5.4556
⎛a⎞ 5.8823529412
⎜ ⎟
⎝h⎠
h 170
= = 170
tw 1
5E 5 × 2 × 106
= = 63.2455532
Fy 2500
516 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

h 5E
>
tw Fy
1.55k v E 1.55 × 5.4556 × 2 × 106
Cv = = = 0.234081107
⎛h ⎞
2
170 2 × 2500
⎜⎜ ⎟⎟ Fy
⎝ tw ⎠
FC 2500 × 0.234081107
Fv = y v = = 202.4923073 ksc
2.89 2.89
V 79500
fv = = = 467.6470588 ksc > Fv No good
A w 170 × 1

หนวยแรงเฉือนที่เกิดขึน้ มากกวาหนวยแรงเฉือนที่ยอมให ใชไมได ตองพิจารณาเสริมเหล็กขางคานชวงใน


(intermediate stiffener) ดวย
หาตําแหนงตัวแรกของเหล็กเสริมขางคานตัวในแบบไมรบั แรงกด
พิจารณาไดจากใหหนวยแรงเฉือนที่รับไดเทากับหนวยแรงเฉือนที่เกิดขึ้น
Fy C v
Fv = = f v = 467.6470588
2.89
467.6470588 × 2.89 467.6470588 × 2.89
Cv = = = 0.5406
Fy 2500
1.55k v E 1.55k v × 2 × 106
Cv = = = 0.5406
⎛h ⎞
2
1702 × 2500
⎜⎜ ⎟⎟ Fy
⎝ tw ⎠
0.5406 × 1702 × 2500
kv = = 12.59946774
1.55 × 2 × 106
5.34
kv = 4 + 2
= 12.59946774
⎛a⎞
⎜ ⎟
⎝h⎠
a 5.34
= = 0.78801565 < 1.0
h 12.59946774 − 4
a = 0.78801565h = 0.78801565 × 170 = 133.9626605 cm
ดังนั้น ใชเหล็กเสริมขางคานตัวแรกแบบไมรับแรงกด ที่ระยะ 1 เมตร จากปลายคาน
(ข) หาตําแหนงถัดไปของเหล็กเสริมขางคานชวงใน
ถาใชเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกดทุกๆ ระยะ 3 เมตร จนถึงกลางชวงคาน ดังนั้นตรวจสอบ
หนวยแรงเฉือนที่ระยะ 1 เมตรแรกที่หางจากปลายคาน โดยพิจารณารวมพฤติกรรมรับแรงดึงสมมติ tension
field action
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 517

a 300
= = 1.764705882 > 1.0
h 170
4 4
k v = 5.34 + 2
= 5.34 + = 6.624444444
⎛a⎞ 1.7647058822
⎜ ⎟
⎝h⎠
1.55k v E 1.55 × 6.624444444 × 2 × 106
Cv = = = 0.284232218
⎛h ⎞
2
1702 × 2500
⎜⎜ ⎟⎟ Fy
⎝ tw ⎠
หนวยแรงเฉือนที่ยอมให
⎡ ⎤
⎢ ⎥
Fy ⎢ 1 − Cv ⎥
Fv = ⎢ Cv + ⎥
2.89 ⎛a⎞ ⎥
2
⎢ 1.15 1 + ⎜ ⎟
⎢⎣ ⎝ h ⎠ ⎥⎦
2500 ⎡ 1 − 0.284232218 ⎤
Fv = × ⎢0.284232218 + ⎥
2.89 ⎣ 1.15 1 + 1.7647058822 ⎦
2500
Fv = × 0.591086579 = 511.3205703 ksc
2.89
V 79500 − 4900 × 1.00
fv = = = 438.8235294 ksc < Fv OK
Aw 170 × 1
(ค) หาขนาดของเหล็กเสริมขางคานแบบไมรบั แรงกด
สมมติใชเหล็กเสริมขางคานเปนคู คา D = 1.0
ดังนั้น
⎡ 2 ⎤
⎢ ⎛a⎞ ⎥
⎜ ⎟
1 − Cv ⎢ a ⎝ h⎠ ⎥
min A st = ⎢ − ⎥ YDht
2 h ⎛ ⎞
2
⎢ 1+ ⎜ ⎟ ⎥
a
⎢⎣ ⎝ h ⎠ ⎥⎦
⎡ 2 ⎤
⎢ ⎛ 300 ⎞ ⎥
⎜ ⎟
1 − 0.284232218 ⎢ 300 ⎥
− ⎝ ⎠
170
min A st = ⎢ ⎥ × 1 × 1 × 170 × 1.0
2 170 ⎛
2
⎞ ⎥
⎢ 1+ ⎜
300

⎢⎣ ⎝ 170 ⎠ ⎥⎦
min A st = 13.95508976 cm 2
และ
4 4
⎛ h ⎞ ⎛ 170 ⎞
min Ist = ⎜ ⎟ = ⎜ ⎟ = 133.6336 cm
4

⎝ 50 ⎠ ⎝ 50 ⎠
518 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เลือกใชแผนเหล็กขนาดกวาง 75 mm หนา 10 mm ยาว 165 cm เสริม 2 ขาง


bh 3 ⎡1.0 × 7.53 ⎛ 7.5 1.0 ⎞ ⎤
2

Ist = + Ad = 2 × ⎢
2
+ (1.0 × 7.5)⎜ + ⎟ ⎥ = 341.25 cm > min Ist
4

12 ⎣⎢ 12 ⎝ 2 2 ⎠ ⎦⎥
ตรวจสอบ
b 75
= = 7.5
t 10
E 2 × 106
0.56 = 0.56 = 15.8391919
Fy 2500
b E
< 0.56 OK
t Fy
ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบการรับโมเมนตดัดและแรงเฉือนรวมกัน โดยคิดรวมกับพฤติกรรมการรับแรงดึง
สมมติ หรือ tension field action ซึ่งตองตรวจสอบดวยสมการ
⎛ f ⎞
Fb = ⎜⎜ 0.825 − 0.375 v ⎟⎟Fy ≤ 0.6Fy
⎝ Fv ⎠
ที่ตําแหนงน้ําหนักกระทําเปนจุดนัน้
V 30,500
fv = = = 179.4117647 ksc
A w 170 × 1
จากขอ (ข) ทราบวา Fv = 511.3205703 ksc
⎛ 179.4117647 ⎞
Fb = ⎜ 0.825 − 0.375 × ⎟ × 2500 = 1733.550728 ksc
⎝ 511.3205703 ⎠
0.6Fy = 0.6 × 2500 = 1500 ksc
ดังนั้นใช Fb = 1500 ksc ที่จริงในสภาวะที่ f v < 0.6Fv ไมตองตรวจสอบการรับโมเมนตดัดและแรงเฉือน
รวมกัน

ขั้นตอนที่ 7 หาขนาดของเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด
(ก) ตรงกลางคาน ที่รับแรงกด 61000 kg
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 519

กําลังรับแรงกดของเหล็กเสริมขางคาน
0.9Fy A pb = 61000
61000 61000
A pb = = = 27.11111111 cm 2
0.9Fy 0.9 × 2500
สมมติใชแผนเหล็กหนา t = 12 mm = 1.2 cm มีแผนเหล็ก 2 แผน ดังนัน้ ความกวางแผนเหล็กตอง
ไมนอยกวา
27.11111111
b= = 11.2962963 cm
2 × 1.2
ขณะเดียวกันความกวางตองไมมากกวา
b E 2 × 106
≤ 0.56 = 0.56 = 15.8391919
t Fy 2500
b ≤ 15.8391919 × 1.2 = 19.00703028 cm
ดังนั้นใชเหล็กเสริมขางคานหนึ่งคู ขนาดหนาตัด 12 × 150 mm
ถาขนาดขาเชื่อมระหวางปกคานกับแผนตัง้ เทากับ 10 mm และตัดมุมของเหล็กเสริมขางคานเทากับ
1.5 cm ดังนั้น
A pb = 2 × (15 − 1.5) × 1.2 = 32.4 cm 2 > 27 cm 2
ตรวจสอบกําลังรับน้ําหนักเมือ่ ทําหนาที่คลายเสา
A = 25 × 1 + 2 × 1.2 × 15 = 61 cm 2
25 × 1 3 1.2 × 15 3
2
bd 3 ⎛ 1.0 15 ⎞
I = + Ad 2
= + 2× + 2 × (1.2 × 15) × ⎜⎜ + ⎟⎟
12 12 12 ⎝ 2 2⎠
I = 2981.083333 cm 4

I 2981.083333
r = = = 6.990723752 cm
A 61
KL 0.75 × 170
= = 18.23845492
r 6.990723752
2π 2 E 2π2 × 2 × 106 KL
Cc = = = 125.6637061 >
Fy 2500 r
KL 18.23845492
= = 0.145137012
rCc 125.6637061
⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
Fa =
⎡ 5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ rCc ⎠ 8 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
520 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

Fa =
[1 − 0.5 × 0.145137012 ]× 2500
2

⎡5 3 1 3⎤
⎢⎣ 3 + 8 × 0.145137012 − 8 × 0.145137012 ⎥⎦
Fa = 1437.585522 ksc
P = Fa A = 1437.585522 × 61 = 87,692.71687 kg > 61,000 kg OK
(ข) ที่ปลายคาน แรงปฏิกิริยา 79500 kg
ใชเหล็กเสริมขางคานหนึ่งคูข นาดหนาตัด 16 × 150 mm วางหางจากปลายคาน 5 cm
ถาขนาดขาเชื่อมระหวางปกคานกับแผนตัง้ เทากับ 10 mm และตัดมุมของเหล็กเสริมขางคานเทากับ
1.5 cm ดังนั้นพื้นที่รับแรงกดคือ
A pb = 2 × (15 − 1.5) × 1.6 = 43.2 cm 2
รับแรงกดได
P = 0.9Fy A pb = 0.9 × 2500 × 43.2 = 97,200 kg > 79,500 kg
ตรวจกําลังรับน้ําหนักเมื่อทําหนาที่คลายเสา
A = 12 × 1 + 2 × 1.6 × 15 = 60 cm 2
12 × 13 1.6 × 153
2
bd 3 ⎛ 1.0 15 ⎞
I= + Ad 2 = + 2× + 2 × (1.6 × 15) × ⎜ + ⎟
12 12 12 ⎝ 2 2⎠
I = 3973 cm 4
I 3973
r= = = 8.13736239 cm
A 60
KL 0.75 × 170
= = 15.66846773
r 8.13736239
2π 2 E 2π2 × 2 × 106 KL
Cc = = = 125.6637061 >
Fy 2500 r
KL 15.66846773
= = 0.124685704
rCc 125.6637061
⎡ 1 ⎛ KL ⎞ 2 ⎤
⎢1 − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥ Fy
⎢⎣ 2 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦
Fa =
⎡ 5 3 ⎛ KL ⎞ 1 ⎛ KL ⎞3 ⎤
⎢ + ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢⎣ 3 8 ⎝ rCc ⎠ 8 ⎝ rCc ⎠ ⎥⎦

Fa =
[1 − 0.5 × 0.1246857042 × 2500 ]
⎡5 3 1 3⎤
⎢⎣ 3 + 8 × 0.124685704 − 8 × 0.124685704 ⎥⎦
Fa = 1447.929972 ksc
P = Fa A = 1447.929972 × 60 = 86,875.7983 kg > 79,500 kg OK
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 521

ขั้นตอนที่ 8 ตรวจสอบน้ําหนักของคานประกอบที่ได
ปริมาตรของปกคาน 2Vf = 2 × 0.05 × 0.40 × 20 = 0.8 m3
ปริมาตรของแผนตั้ง 0.01 × 1.70 × 20 = 0.34 m3
เหล็กเสริมขางคาน
แบบไมรับแรงกด มี 12 ชิ้น ขนาด 10 × 75 × 1650 mm
ปริมาตรแบบไมรับแรงกด 12 × 0.01 × 0.075 × 1.65 = 0.01485 m3
แบบรับแรงกด ขนาด 12 × 150 × 1700 mm จํานวน 2 ชิ้น และขนาด 16 × 150 × 1700 m จํานวน 4
ชิ้น
ปริมาตรแบบไมรับแรงกด 2 × 0.012 × 0.15 × 1.70 + 4 × 0.016 × 0.15 × 1.70 = 0.02244 m3
รวมปริมาตร 0.8 + 0.34 + 0.01485 + 0.02244 = 1.17729 m3
9418.32
น้ําหนักคาน = 8000 × 1.17729 = 9418.32 kg = = 470.916 kg / m นอยกวาที่สมมติ
20
ไวที่ 500 kg/m ใชได
ขั้นตอนที่ 9 ออกแบบรอยตอตางๆ ของคานประกอบ
สมมติใชลวดเชื่อมชนิด E70
กําลังของลวดเชื่อม = 0.3 × 4900 = 1470 ksc
(ก) รอยตอระหวางปกคานกับเหล็กแผนตัง้
แรงเฉือนในแนวนอนของรอยตอนี้ = VQ
I
V = 79,500 kg = แรงเฉือน
⎛ 180 5 ⎞
Q = (40 × 5) × ⎜ − ⎟ = 17,500 cm3 = โมเมนตของพื้นที่เหนือรอยตอรอบแกนสะเทิน
⎝ 2 2⎠
40 × 1803 (40 − 1)(180 − 2 × 5)
3
I= − = 3,472,750 cm 4
12 12
แรงเฉือนในแนวนอน 79,500 × 17,500 = 400.6191059 kg / cm
3,472,750
แผนเหล็กที่บางที่สุดคือแผนตั้งหนา 10 mm ใชขนาดการเชื่อม = 10 – 2 = 8 mm ตามขอกําหนด
ถาเปนการเชื่อมแบบเวนระยะ (intermittent weld)
จะตองเชื่อมยาวอยางนอย L min = 4 × 8 = 32 mm แตตองไมนอยกวา 38 mm
ดังนั้นใชความยาวรอยเชื่อมแตละชวง 50 mm = 5 cm
รอยเชื่อมมี 2 ดาน ดังนัน้ กําลังรับแรงเฉือนของรอยเชื่อม
0.707 tFv = 2 × 0.707 × 0.8 × 1470 = 1662.864 kg / cm
522 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แตกําลังรับแรงเฉือนของเหล็กแผน
= 0.4Fy t = 0.4 × 2500 × 1.0 = 1000 kg / cm
ดังนั้น หากจะเกิดการวิบัติเนือ่ งจากแรงเฉือนจะไมเกิดที่รอยเชื่อมแตจะเกิดที่แผนเหล็กแผนตั้ง
กําลังของรอยเชื่อม = 1000 kg / cm = 1000 × 5 = 5000 kg
แตแรงเฉือนในแนวนอน = 400.6191059 kg / cm รอยเชื่อมยาว 5 cm จะตองรับแรงนี้ได ดังนัน้ ระยะจาก
ศูนยรอยเชื่อมถึงศูนยรอยเชือ่ มจะมีระยะหาง
5000
= = 12.48068284 cm
400.6191059
มาตรฐาน AISC ใหขอกําหนดเกีย่ วกับ การเวนระยะเชื่อมสําหรับคานเหล็กประกอบไวดังนี้
E
- เมื่อรอยเชื่อมรับแรงอัด เวนระยะหางจากรอยเชื่อมถึงรอยเชื่อมไดไมเกิน 0.75t f แตไมเกิน 30
Fy
cm
- เมื่อรอยเชื่อมรับแรงดึง เวนระยะหางจากศูนยถว งรอยเชื่อมถึงศูนยถวงรอยเชื่อมไดไมเกิน 24 t f แต
ไมเกิน 30 cm
ถาเชื่อมเวนระยะจากศูนยถวงถึงศูนยถวง = 12 cm
ระยะหางระหวางรอยเชื่อม 12 − 5 − 5 = 7 cm < 30 cm
2 2
ดังนั้นใชขาเชือ่ ม 8 mm เชื่อมยาว 50 mm และเวนระยะจากศูนยถึงศูนย 120 mm
(ข) รอยตอระหวางเหล็กแผนตัง้ กับเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกด
แรงเฉือนระหวางเหล็กแผนตั้งกับเหล็กเสริมขางคาน
Fy3 25003
0.027 h = 0.027 × 170 = 405.7025157 kg / cm
E 2 × 106
เลือกใชการเชือ่ มแบบเวนระยะ ขนาดขาเชือ่ ม 3 mm เชื่อมยาว 50 mm
แผนเหล็กมี 2 แผน แตละแผนมีรอยเชื่อม 2 ดาน ดังนัน้ กําลังรับแรงเฉือนของรอยเชื่อม
0.707 tFv = 2 × 2 × 0.707 × 0.3 × 1470 = 1247.148 kg / cm
แตกําลังรับแรงเฉือนของเหล็กแผน
= 0.4Fy t = 0.4 × 2500 × 0.6 = 600 kg / cm
ดังนั้น หากจะเกิดการวิบัติเนือ่ งจากแรงเฉือนจะไมเกิดที่รอยเชื่อมแตจะเกิดที่แผนเหล็กแผนตั้ง
กําลังของรอยเชื่อม = 600 kg / cm = 600 × 5 = 3000 kg
แตแรงเฉือน = 405.7025157 kg / cm รอยเชื่อมยาว 5 cm จะตองรับแรงนี้ได ดังนั้นระยะจากศูนยรอย
เชื่อมถึงศูนยรอยเชื่อมจะมีระยะหาง
3000
= = 7.394580718 cm
405.7025157
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 523

มาตรฐาน AISC ใหขอกําหนดเกีย่ วกับการเวนระยะการเชือ่ ม (สําหรับเหล็กเสริมขางคาน) ดังนี้


ใหเวนระยะหางระหวางรอยเชื่อมไดไมเกิน 16t w แตไมกิน 25 cm
ถาเชื่อมใหระยะจากศูนยถึงศูนย 5 cm
ระยะหางระหวางรอยเชื่อม = 5 − 5 − 5 = 0 cm
2 2
ดังนั้นใชขาเชือ่ ม 3 mm เชื่อมตลอดความยาวของเหล็กเสริมขางคาน
(ค) รอยตอระหวางเหล็กแผนตัง้ กับเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด
79500
แรงกดที่ปลายคาน = = 476.0479042 kg / cm
170 − 1.5 − 1.5
เลือกใชการเชือ่ มแบบเวนระยะ ขนาดขาเชือ่ ม 8 mm เชื่อมยาว 50 mm
แผนเหล็กมี 2 แผน แตละแผนมีรอยเชื่อม 2 ดาน ดังนัน้ กําลังรับแรงเฉือนของรอยเชื่อม
0.707 tFv = 2 × 2 × 0.707 × 0.8 × 1470 = 3325.728 kg / cm
แตกําลังรับแรงเฉือนของเหล็กแผน
= 0.4Fy t = 0.4 × 2500 × 1.0 = 1000 kg / cm
ดังนั้น หากจะเกิดการวิบัติเนือ่ งจากแรงเฉือนจะไมเกิดที่รอยเชื่อมแตจะเกิดที่แผนเหล็กแผนตั้ง
กําลังของรอยเชื่อม = 1000 kg / cm = 1000 × 5 = 5000 kg
แตแรงเฉือน = 476.0479042 kg / cm รอยเชื่อมยาว 5 cm จะตองรับแรงนี้ได ดังนั้นระยะจากศูนยรอย
เชื่อมถึงศูนยรอยเชื่อมจะมีระยะหาง
5000
= = 10.50314465 cm
476.0479042
ถาเชื่อมเวนระยะจากศูนยถึงศูนย = 10 cm
ระยะหางระหวางรอยเชื่อม = 10 − 5 − 5 = 5 cm < 16 t w = 16 × 1 = 16 cm
2 2
ดังนั้นใชขาเชือ่ ม 8 mm เชื่อมยาว 50 mm และเวนระยะจากศูนยถึงศูนย 10 cm

ออกแบบโดยวิธี LRFD
ขั้นตอนที่ 1 หาความลึกทั้งหมดของหนาตัดคาน
L L
ประมาณความลึกคานอยูระหวาง ถึง
12 10
L 20 L 20
= = 1.67 m, = = 2.00 m
12 12 10 10
เลือกความลึกคาน d = 180 cm
ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของเหล็กแผนตั้ง
สมมติใหปกคานหนา t f = 50 mm ดังนัน้ h = d − 2t f = 180 − 2 × 5 = 170 cm
524 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

หาความหนาของเหล็กแผนตั้ง
h E
(ก) ถาเปนคานประกอบขนาดใหญนั้น ≥ 5.70
tw Fy
170 2,040,000
≥ 5.70
tw 2500
170
≥ 162.8245682
tw
170
tw ≤ = 1.044
162.8245682
ความหนาของเหล็กแผนตั้งตองไมเกิน 1.044 cm
(ข) จากขอกําหนด เหล็กแผนตั้งจะไมเกิดการโกงเดาะในแนวตั้ง หาก
a h E
กรณี ≤ 1.5 นั้น ≤ 11.74
h tw Fy
170 2,040,000
≤ 11.74 = 335.361479
tw 2500
170
tw ≥ = 0.507 cm
335.361479
a h 0.48E
กรณี > 1.5 นั้น ≤
h tw Fy (Fy + Fr )
170 0.48 × 2,040,000
≤ = 324.1566744
tw 2500(2500 + 1150 )
170
tw ≥ = 0.524 cm
324.1566744
ใช Fr = 1150 ksc เนื่องจากคานประกอบใชวิธีเชื่อมตอแผนเหล็ก
ดังนั้นเลือกใชเหล็กแผนตั้งสูง 1700 mm หนา 10 mm
ขั้นตอนที่ 3 หาขนาดของเหล็กปกคาน
เนื้อที่หนาตัดของเหล็กปกคานที่ตองการโดยประมาณ
Mu A
Af = − w
0.9hFy 6
ตอนนี้ยังขาดคาโมเมนตดัดประลัย M u
สมมติน้ําหนักคาน 10% ของน้ําหนักบรรทุกที่รับ หรือ
w b = 0.10 × (DL + LL) = 0.10 × (2500 + 1900 ) = 440 kg/m
น้ําหนักแผประลัย
w u = 1.2DL + 1.6LL = 1.2 × (2500 + 440) + 1.6 × 1900 = 6568 kg/m
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 525

โมเมนตดัดประลัยสูงสุดที่กลางคาน
w u L2 Pu L 6568 × 20 2 83,600 × 20
Mu = + = + = 746,400 kg.m
8 4 8 4
M u = 74,640,000 kg.cm
แรงเฉือนประลัยสูงสุดที่จุดรองรับ
w u L Pu 6568 × 20 83,600
Vu = + = + = 107,480 kg
2 2 2 2

ดังนั้นเนื้อที่หนาตัดของปกคานที่ตองการคือ
Mu A Mu ht
A f = bf t f = − w = − w
0.9hFy 6 0.9hFy 6
74,640,000 170 × 1.0
bf × 5 = − = 166.8039216
0.9 × 170 × 2500 6
166.8039216
bf = = 33.36 cm ⇒ 35 cm = 350 mm
5
ดังนั้น ใชปกคานขนาดกวาง 350 mm หนา 50 mm มี A f = 35 × 5 = 175 cm 2
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบกําลังรับโมเมนตดัดประลัย
กําลังรับโมเมนตดัดประลัย = φb M n เมื่อ
พิจารณาจากปกรับแรงดึง
M n = Sxt R e Fy
พิจารณาจากปกรับแรงอัด
M n = Sxc R PG R e Fcr
หาคาตางๆ ที่เกี่ยวของดังนี้
R e = 1.0 เมื่อเหล็กที่ใชทําปกคานกับที่ใชทําแผนตัง้ เปนเหล็กชนิดเดียวกัน
526 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

เมื่อมีค้ํายันทางขางตลอดความยาว การวิบัติแบบโกงเดาะทางขางจากการบิด (Lateral Torsional


Buckling : LTB) แตจะเปนการโกงเกาะของปกคานเฉพาะที่ (Flange Local Buckling : FLB) โดยพิจารณา
ดังนี้
bf 350
λ= = = 3.5
2 t f 2 × 50
E 2,040,000
λ p = 0.38 = 0.38 = 10.85497121
Fy 2500
λ < λp
ดังนั้น
Fcr = Fy = 2500 ksc
A w ht w 170 × 1.0
ar = = = = 0.971428571
Af bf t f 35 × 5
ตัวคูณลดคาจากการโกงเดาะในชวงอิลาสติกของเหล็กแผนตั้ง R PG
⎛h E ⎞⎟
R PG = 1 − 0.0005a r ⎜⎜ c − 5.70 ⎟ ≤ 1 .0
t
⎝ w Fcr ⎠

⎛ 170 2,040,000 ⎞
R PG = 1 − 0.0005 × 0.971428571 × ⎜⎜ − 5.70 ⎟

⎝ 1 . 0 2500 ⎠
R PG = 0.99651479
หนาตัดคานประกอบดวยสี่เหลี่ยมเต็มกวาง 35 cm ลึก 180 cm แลวเจาะออกกวาง 35-1.0 = 34 cm ลึก
180 – 5 – 5 = 170 cm ดังนั้นโมเมนตอินเนอรเชียของคานคือ
35 × 1803 34 × 1703
I= − = 3,089,833.333 cm4
12 12
ระยะจากแกนสะเทินถึงผิวบนสุดและลางสุด
d 180
c= = = 90 cm
2 2
โมดูลัสหนาตัดของคานรอบแกนหลัก x คือ
I 3,089,833.333
Sx = = = 34,331.48148 cm3
c 90
ที่ปกคานรับแรงดึง
M n = Sxt R e Fy = 34,331.48148 × 1.0 × 2500 = 85,828,703.7 kg.cm
ที่ปกคานรับแรงอัด
M n = Sxc R PG R e Fcr = 34,331.48148 × 0.99651479 × 1.0 × 2500
M n = 85,529,572.65 kg.cm = 855,295.7265 kg.m
เลือกคานอย M n = 855,295.7265 kg.m
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 527

นั่นคือ กําลังรับโมเมนตดัด
φ b M n = 0.9 × 855,295.7265 = 769,766.1538 kg.m > M u = 746,400 kg.m
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบกําลังรับแรงเฉือนและพิจารณาหาตําแหนงของเหล็กเสริมขางคาน
(ก) แรงเฉือนที่ปลายคาน หากใชเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดที่ปลายทั้งสองและที่กึ่งกลางคาน
เทานั้น ระยะหางระหวางเหล็กเสริมขางคาน a = 10.00 m = 1,000 cm และ ความสูงของแผนตั้ง h = 170 cm
ดังนั้น
a 1,000
= = 5.882352941 > 3.0
h 170
kv = 5
h 170
= = 170
t w 1.0
k vE 5 × 2,040,000
1.10 = 1.10 = 70.26236546
Fy 2,500
k vE 5 × 2,040,000
1.37 = 1.37 = 87.50858244
Fy 2,500
h k E
พบวา > 1.37 v จะไดวา
tw Fy
1.52k v E 1.52 × 5 × 2,040,000
Cv = = = 0.214588235
⎛ h ⎞
2
170 2 × 2500
⎜⎜ ⎟⎟ Fy
⎝ tw ⎠
ดังนั้น φ v Vn = 0.9(0.6A w Fy C v ) = 0.9(0.6ht w Fy C v )
φ v Vn = 0.9(0.6 × 170 × 1.0 × 2500 × 0.214588235) = 49,247.99993 kg
φ v Vn < Vu = 107,480 kg
แสดงวาตองเสริมเหล็กขางคานชวงใน (intermediate stiffener) ดวย
หาตําแหนงเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกดตัวแรก a
ให φ v Vn = 0.9(0.6ht w Fy C v ) = Vu = 107,480
0.9(0.6 × 170 × 1.0 × 2500C v ) = 107,480
1.52k v E 107,480
Cv = = = 0.46832244
⎛ h ⎞
2
0.9 × 0.6 × 170 × 1.0 × 2500
⎜⎜ ⎟⎟ Fy
⎝ tw ⎠
1.52k v × 2,040,000
2
= 0.46832244
⎛ 170 ⎞
⎜ ⎟ × 2500
⎝ 1.0 ⎠
528 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

0.46832244 × 170 2 × 2500


kv = = 10.91211826
1.52 × 2,040,000
2
5 ⎛h⎞
เนื่องจาก kv = 5 + = 5 + 5⎜ ⎟
⎝a⎠
2
⎛a⎞
⎜ ⎟
⎝h⎠
k − 5 10.91211826 − 5
2
⎛h⎞
⎜ ⎟ = v = = 1.182423652
⎝a⎠ 5 5
2
⎛ 170 ⎞
⎜ ⎟ = 1.182423652
⎝ a ⎠
170
= 1.182423652 = 1.087393053
a
170
a= = 156.3372136 cm
1.087393053
เลือกใชเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกดตัวในตัวแรกที่ระยะ 1.00 เมตร จากปลายคาน เหลือชวงระยะ
จากเหล็กขางคานตัวในแรกไปถึงกลางคานระยะ 10.00 – 1.00 = 9.00 เมตร สมมติสวนที่เหลือเสริมเหล็กขาง
คานทุกระยะ 3.00 เมตร
a 300
= = 1.764705882
h 170
5 5
kv = 5 + 2
=5+ = 6.605555556
⎛a⎞ 1.764705882 2
⎜ ⎟
⎝h⎠
1.52k v E 1.52 × 6.605555556 × 2,040,000
Cv = 2
= 2
⎛ h ⎞ ⎛ 170 ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ Fy ⎜ ⎟ × 2500
⎝ w⎠
t ⎝ 1 . 0 ⎠
C v = 0.283494902
h 170
เนื่องจาก = = 170
t w 1.0
k vE 6.605555556 × 2,040,000
1.10 = 1.10 = 80.75928017
Fy 2500
h k E
> 1.10 v
tw Fy
⎡ ⎤
⎢ ⎥
⎢ 1 − Cv ⎥
ดังนั้น Vn = 0.6A w Fy ⎢C v +
2 ⎥
⎢ ⎛a⎞
1.15 1 + ⎜ ⎟ ⎥
⎢⎣ ⎝ h ⎠ ⎥⎦
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 529

⎡ ⎤
⎢ ⎥
⎢ 1 − 0.283494902 ⎥
Vn = 0.6 × (170 × 1.0 ) × 2500 × ⎢0.283494902 +
2 ⎥
⎢ ⎛ 300 ⎞ ⎥
1.15 1 + ⎜ ⎟
⎢⎣ ⎝ 170 ⎠ ⎥⎦
Vn = 150,619.6656 kg
กําลังรับแรงเฉือนที่ตําแหนง 1.00 เมตรจากปลายคานตรงเหล็กเสริมภายในแรกอยูนนั้ คือ
φ v Vn = 0.6 × 150,619.6656 = 135,557.699 kg
แรงเฉือนจริงที่ระยะ 1.00 เมตร จากปลายคานซึ่งเปนคาสูงสุดของชุดเหล็กขางคานภายในที่มี a = 3.00 m
Vu = R − w u x = 107,480 − 6,568 × 1.00 = 100,912 kg < φ v Vn

(ข) หาขนาดของเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกด
สมมติใชเหล็กเสริมขางคานเปนคูทําใหคา D = 1.0 ดังนั้น
Fy ⎡ ⎤
⎢0.15Dht w (1 − C v )
Vu
min A st = − 18t 2w ⎥ ≥ 0
Fy ,st ⎣ φ v Vn ⎦
2500 ⎡ ⎤
0.15 × 1.0 × 170 × 1.0(1 − 0.283494902 ) ×
100,912
min A st = ⎢ − 18 × 1.0 2 ⎥
2500 ⎣ 135,557.699 ⎦
min A st = −4.398772949 < 0
2
2 .5 2 .5 ⎛ 170 ⎞
j= −2= − 2 = 2.5⎜ ⎟ − 2 = −1.197222222 < 0.5 ใช j = 0.5
⎝ 300 ⎠
2 2
⎛a⎞ ⎛ 300 ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝h⎠ ⎝ 170 ⎠
และ min I st ≥ at 3w j = 300 × 1.03 × 0.5 = 150
tb 3
min I st = = 150
12
สมมติใชเหล็กเสริมขางคานหนา t = 6 mm = 0.6 cm ดังนั้น
0.6b 3
min I st = = 150
12
530 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

150 × 12
b3 = = 3000
0.6
b = 3 3000 = 14.4224957 cm
ความกวางของเหล็กเสริมขางคานทั้งคูคือ 14.4224957 cm แตละขางตองการความกวาง 7.21124785
cm
สมมติใชแผนเหล็กกวาง 75 mm หนา 6 mm ยาว 165 cm (นอยกวาระยะ h = 170 cm เพราะเปนแบบ
ไมรับแรงกด) เสริมสองขาง
ตรวจสอบ
b 7.5
= = 12.5
t 0.6
E 2,040,000
0.56 = 0.56 = 15.99679958
Fy 2500
b E
< 0.56
t Fy
ใชได
ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบการรับโมเมนตดัดรวมกับแรงเฉือน เมื่อพิจารณาพฤติกรรมการรับแรงดึงสมมติ ตอง
ตรวจสอบในชวงที่ 0.6Vn ≤ Vu ≤ φ v Vn หรือเมื่อ 0.75M n ≤ M u ≤ φb M n
ที่ตําแหนง 1.00 เมตรจากปลายคาน มี Vn = 150,619.6656 kg
0.6Vn = 0.6 × 150,619.6656 = 90,371.79936 kg
φ v Vn = 0.9 × 150,619.6656 = 135,557.699 kg
โมเมนตดัดสูงสุดทางทฤษฎีที่รับได M n = 855,295.7265 kg.m
0.75M n = 0.75 × 855,295.7265 = 641,471.7949 kg.m
φ b M n = 0.9 × 855,295.7265 = 769,766.1538 kg.m
ให Vu = 0.6Vn = 90,371.79936 kg
และ M u = 0.75M n = 641,471.79949 kg.m
หาตําแหนงที่ Vu = 0.6Vn = 90,371.79936 kg แลวหาคาของ M u ไปเทียบกับ 0.75M n
Vu = R − w u x
90,371.79936 = 107,480 − 6,568x
107,480 − 90,371.79936
x= = 2.604780853 m
6,568
1 1
M u = Rx − w u x 2 = 107,480 × 2.604780853 − × 6,568 × 2.6047808532
2 2
M u = 257,680.2893 kg.m < 0.75M n = 641,471.79949 kg.m
จึงอยูนอกชวงพิจารณา หมายความวาการรับโมเมนตดัดรวมกับการรับแรงเฉือน หนาตัดนี้รับได
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 531

ขั้นตอนที่ 7 หาขนาดเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด
(ก) ที่กลางคาน รับแรงกด Ppb = 83,600 kg
กําลังรับแรงกดประลัยของเหล็กเสริมขางคาน
φ br R n = 0.75(1.8Fy A pb )
83,600 = 0.75 × 1.8 × 2500A pb
เนื้อที่รับแรงกดที่ตองการ
83,600
A pb = = 24.77037037 cm 2
0.75 × 1.8 × 2500
สมมติแผนเหล็กรับแรงกดหนา t pb = 12 mm หาความกวางที่ตอ งการ
A pb = b pb t pb = b pb × 1.2 = 24.77037037
24.77037037
b pb = = 20.64197531 cm
1.2
แตเสริมสองขางดังนั้นแตละขางกวางอยางนอย
b pb 20.64197531
= = 10.32098765 cm
2 2
แตความกวางแตละขางตองไมเกินกวา
b pb E 2,040,000
≤ 0.56t pb = 0.56 × 1.2 = 19.19615962 cm
2 Fy 2500
เลือกใชความกวาง 150 mm หนา 12 mm เสริมสองขาง
สมมติขนาดขาเชื่อมระหวางปกคานกับเหล็กแผนตั้งเทากับ 10 mm เหล็กเสริมขางคานตองตัดมุมเพื่อ
หลบรอยเชื่อมนี้ สมมติตัดไป 15 mm รูปโคงหนึ่งสวนสี่ของวงกลม (ลด stress concentration) พื้นที่รับแรง
กดจะลดลง สวนที่เหลือจึงเปน
A pb = 2 ขาง × (15.0 − 1.5) × 1.2 = 32.4 cm 2 > 24.77 cm 2
ตรวจสอบกําลังรับน้ําหนักประลัยเมื่อทําหนาที่คลายเสา

เนื้อที่หนาตัดรับแรงกดทีก่ ลางคานสวนของเหล็กแผนตั้งมาตรฐานกําหนดความกวางไวที่ 25 cm
2
A = 25 × 1 + 2 × 15 × 1.2 = 61 cm
532 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

⎡ ⎛ 1⎞
3
⎛1⎞ ⎤
3

⎢ ⎜
1 . 2 15 + ⎟ 1 . 2 × ⎜ ⎟ ⎥
25 × 13
+ 2× ⎢ ⎝
2⎠ ⎝ 2 ⎠ ⎥ = 2981.283333
I= − cm4
12 ⎢ 3 3 ⎥
⎢ ⎥
⎣ ⎦
I 2981.2833333
r= = = 7.048975497 cm
A 61
KL 0.75 × 170
= = 18.08773489
r 7.048975497
KL Fy 18.08773489 2500
λc = = = 0.201552983 < 1.5
rπ E π 2,040,000
Fcr = 0.658λc Fy = 0.6580.201552983 × 2500 = 2457.851779 ksc
2 2

φc Pn = φc Fcr A g = 0.85 × 2457.851779 × 61 = 127,439.6147 kg > 83,600 kg


ระบบค้ํายันทางขางแบบรับแรงกดที่กลางคานรวมกับแผนตั้งรับน้ําหนักกดทีก่ ลางคานได
(ข) ทีป่ ลายคาน แรงปฏิกิริยาประลัย R u = 107,480 kg
ใชเหล็กเสริมขางคานหนึ่งคูแ ตละขางหนาตัดกวาง 15 cm หนา 16 mm วางหางจากปลายคานเขาไป
ทางกลางคานระยะ 5 cm
สมมติขนาดขาเชื่อมระหวางปกคานกับเหล็กแผนตั้งเทากับ 10 mm เหล็กเสริมขางคานตองตัดมุมเพื่อ
หลบรอยเชื่อมนี้ สมมติตัดไป 15 mm รูปโคงหนึ่งสวนสี่ของวงกลม (ลด stress concentration) พื้นที่รับแรง
กดจะลดลง
เนื้อที่หนาตัดรับแรงกดที่ปลายคานสวนของเหล็กแผนตั้งมาตรฐานกําหนดความกวางไวที่ 12 cm

A = 12 × 1.0 + 2 × 15 × 1.6 = 60 cm2


⎡ ⎛ 1⎞
3
⎛1⎞ ⎤
3

⎢1.6⎜15 + ⎟ 1.6⎜ ⎟ ⎥
12 × 13
+ 2× ⎢ ⎝
2⎠
− ⎝ ⎠ ⎥ = 3973 cm4
2
I=
12 ⎢ 3 3 ⎥
⎢ ⎥
⎣ ⎦
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 533

I 3973
r= = = 8.13736239 cm
A 60
KL Fy 0.75 × 170 2500
λc = = = 0.174594908 < 1.5
rπ E 8.13736239π 2,040,000
Fcr = 0.658λc Fy = 0.6580.174594908 × 2500 = 2468.305547 ksc
2 2

φc Pn = φc Fcr A g = 0.85 × 2468.305547 × 60 = 125,883.5829 kg > 107,480 kg


เหล็กขางคานรวมกับแผนตัง้ ของคานรับแรงปฏิกิริยาที่ปลายคานได
ขั้นตอนที่ 8 ตรวจสอบน้าํ หนักของคานประกอบที่ได โดยหาปริมาตรแลวคูณกับหนวยน้ําหนักของเหล็ก
7850 kg/m3 ก็จะไดน้ําหนักทั้งหมดของคาน แลวหาน้ําหนักตอความยาว 1 เมตรเทียบกับน้ําหนักที่สมมติวา
มากกวาหรือไม
ปกคาน หนา 5 cm กวาง 35 cm ยาว 20 m มี 2 ปก ปกบนกับปกลาง
5 35
Vf = 2 × × × 20 = 0.7 m3
100 100
แผนตั้ง 1 แผน หนา 1.0 cm ลึก 170 cm ยาว 20 m
1.0 170
Vw = 1× × × 20 = 0.34 m3
100 100
เหล็กเสริมขางคานแบบไมรบั แรงกดมี 6 ตําแหนง ๆ ละ 2 แผน รวม 12 แผน ความหนา 6 mm กวาง
75 mm ยาว 165 cm
6 75 165
Vpb = 12 × × × = 0.00891 m3
1000 1000 100
เหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดที่กลางคาน มี 2 แผน ความหนา 12 mm กวาง 150 mm ยาว 170 cm
12 150 170
Vpb = 2 × × × = 0.00612 m3
1000 1000 100
เหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดที่ปลายคานมี 4 แผน ความหนา 16 mm กวาง 150 mm ยาว 170 cm
16 150 170
Vpb = 4 × × × = 0.01632 m3
1000 1000 100
รอยเชื่อมระหวางปกกับแผนตั้ง ขนาดขาเชื่อม 10 mm ตลอด 4 แนวๆ ละ 20 เมตร
1 10 10
Vweld = 4 × 20 × × × = 0.004 m3
2 1000 1000
รอยเชื่อมระหวางเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกด มี 12 แผน แตละแผนมีรอยเชือ่ มขนาดขาเชือ่ ม
6 mm 2 แนว ยาวแนวละ 75 + 1650 − 15 − 15 = 1695 mm
1 6 6 1695
Vweld = 12 × 2 × × × × = 0.00073224 m3
2 1000 1000 1000
รอยเชื่อมระหวางเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดทั้งทีก่ ลางคานและที่ปลายคานมี 6 แผน มีรอย
เชื่อมแผนละ 2 แนว ขาเชื่อม 10 mm ยาวแนวละ 150 + 150 + 1700 − 4 × 15 = 1940 mm
534 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

1 10 10 1940
Vweld = 6 × 2 × × × × = 0.001164 m3
2 1000 1000 1000
ปริมาตรรวมทั้งสิ้น
V = 0.7 + 0.34 + 0.00891 + 0.00612 + 0.01632
+ 0.004 + 0.00073224 + 0.001164
V = 1.07724624 m3
น้ําหนักคานทัง้ หมด
W = 7850 × 1.07724624 = 8,456.382984 kg
น้ําหนักเฉลี่ยตอความยาว 1 เมตร
W 8,456.382984
w= = = 422.8191492 kg/m < 440 kg/m ที่สมมติไว ใชได
L 20
ขั้นตอนที่ 9 ออกแบบรอยตอตางๆ ของคานประกอบ
สมมติใชลวดเชื่อมชนิด E70
กําลังของลวดเชื่อม
φ w Fw A w = 0.75(0.6FExx )(0.707 t weld L )
φ w Fw A w = 0.75(0.6 × 4900)(0.707 t weld L ) = 2205(0.707 t w L ) kg
(ก) รอยตอระหวางแผนเหล็กปกคานกับแผนตั้ง
แรงเฉือนในแนวนอนที่รอยตอนี้
Vuv Q
v uh =
I
Vuv = 107,480 kg
⎛ 170 5 ⎞ 3
Q = 5 × 35 × ⎜ + ⎟ = 15,312.5 cm
⎝ 2 2⎠
35 × (170 + 5 + 5) (35 − 1.0) × 1703
3
I= − = 3,089,833.333 cm4
12 12
107,480 × 15,312.5
v uh = = 532.6460435 kg/cm
3,089,833.333
แผนตั้งหนา 10 mm ซึ่งบางกวาแผนปกทีห่ นา 50 mm แลวความหนามากกวา 6 mm ดังนั้น
ขนาดขาเชื่อมจึงลดลงอีก 2 mm เหลือเปนขนาดขาเชื่อม tweld =10 – 2 = 8 mm
เมื่อจะเชื่อมแบบเวนระยะ (intermittent weld) ตองเชื่อมยาวอยางนอย
L min = 4 t weld ≥ 38 mm
L min = 4 × 8 = 32 mm < 38 mm
ดังนั้นใหเชื่อมยาว L = 50 mm = 5 cm
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 535

กําลังรับแรงเฉือนของรอยเชือ่ มที่มี 2 ขาง


φ w Fw A w 2205(0.707 × 0.8L )
v weld = = 2× = 2494.296 kg/cm
L L
กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กแผนตั้งเอง
v web = φ v (0.6Fy t w ) = 0.9 × (0.6 × 2500 × 1.0 ) = 1350
kg/cm < 2494.296 kg/cm
ดังนั้นกําลังรับแรงเฉือนของรอยตอตองพิจารณาจากการวิบัติดว ยแรงเฉือนที่เหล็กแผนตั้ง แตเนื่องจาก
ความยาวของรอยเชื่อมแตละชวง L = 5 cm ดังนั้นระยะชวงหางระหวางรอยเชื่อมหาไดจาก
1350 × 5
x= = 12.67 cm
532.6460435
ตองเชื่อมเวนระยะจากศูนยถงึ ศูนยของรอยเชื่อม 12.5 cm หรือเชื่อมชวงยาวชวงละ 5 cm ชองวาง
ระหวางรอยเชือ่ ม = 12.5 – 5 = 7.5 cm
มาตรฐาน AISC มีขอกําหนดเกี่ยวกับการเวนรอยเชื่อมสําหรับคานเหล็กประกอบ ดังนี้
- เมื่อเชื่อมตรงปกคานรับแรงอัด ใหเวนระยะหางจากรอยเชื่อมถึงรอยเชื่อมไดไมเกิน
E
x = 0.75t f และตองไมเกิน 30 cm
Fy
- เมื่อเชื่อมตรงปกคานรับแรงดึง ใหเวนระยะหางจากศูนยถว งรอยเชื่อมถึงศูนยถวงรอยเชื่อมไดไม
เกิน
x = 24 t f ≤ 30 cm
กรณีนี้ระยะหางระหวางรอยเชื่อมที่ปกคานรับแรงอัดคือ 7.5 cm < 30 cm
ดังนั้นใชขาเชือ่ ม 8 mm เชื่อมยาว 50 mm และเวนระยะจากศูนยถึงศูนย 12.5 cm หรือเวนระยะจากรอยเชื่อม
ถึงรอยเชื่อม 7.5 cm
(ข) รอยตอระหวางเหล็กแผนตั้งกับเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกด
แรงเฉือนระหวางเหล็กแผนตั้งกับเหล็กเสริมขางคาน
Fy3 25003
v b = 0.045h = 0.045 × 170 = 669.5089152 kg/cm
E 2,040,000
เลือกใชการเชือ่ มแบบเวนระยะ ขนาดขาเชือ่ ม t weld = 3 mm เชื่อมยาวชวงละ L = 50 mm มี 2 ดาน แตละจุด
มีเหล็ก 2 แผน
φ w Fw A w 2205(0.707 × 0.3L )
v weld = = 2× 2× = 1870.722 kg/cm
L L
กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กแผนตั้งเอง
v web = φ v (0.6Fy t w ) = 0.9 × (0.6 × 2500 × 0.6 ) = 810
kg/cm < 1870.722 kg/cm
ดังนั้นกําลังรับแรงเฉือนของรอยตอตองพิจารณาจากการวิบัติดว ยแรงเฉือนที่เหล็กแผนตั้ง แตเนื่องจาก
ความยาวของรอยเชื่อมแตละชวง L = 5 cm ดังนั้นระยะชวงหางระหวางรอยเชื่อมหาไดจาก
536 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

810 × 5
x= = 6.049209963 cm
669.5089152
ตองเชื่อมเวนระยะจากศูนยถงึ ศูนยของรอยเชื่อม 6.05 cm
มาตรฐาน AISC มีขอกําหนดเกีย่ วกับการเวนระยะการเชื่อมสําหรับเหล็กเสริมขางคานทั้งแบบมีและ
ไมมีแรงกดวา ใหเวนระยะหางระหวางรอยเชื่อมไดไมเกิน 16t w แตไมเกิน 25 cm
x = 16 × 1.0 = 16 cm > 6.05 cm
ดังนั้นระยะชองวางระหวางรอยเชื่อมที่ติดกันคือ
5 5
x v = 6.05 − − = 1.05 cm
2 2
จะเห็นวา หากเชื่อมดวยขนาดขาเชื่อม 3 mm ยาวครั้งละ 5 cm จะเวนไดเพียง 1.05 cm ซึ่งนอยไปและไม
สะดวกในการทํางาน ควรเชือ่ มยาวตลอดของเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกด
(ค) รอยตอระหวางเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดกับเหล็กแผนตั้ง
ที่ปลายคานมีแรงกดสูงสุด 107,480 kg มีเหล็กแผนตั้ง 2 แผน ยาว 170 cm แตตัดมุมเพื่อหลบรอยเชือ่ ม
ระหวางเหล็กแผนตั้งกับปกคานไป 2 ขางๆ ละ 1.5 cm ดังนั้นความยาวที่รับแรงเฉือนจะเหลือเพียง 170 -
2 × 1.5 = 167 cm เฉลี่ยแรงเฉือนที่รอยเชื่อมจะตองรับ
107,480
vv = = 643.5928144 kg/cm
167
กําลังรับแรงเฉือนของรอยเชือ่ ม ซึ่งมี 2 แผน แผนละ 2 แนว ขนาดขาเชือ่ ม 8 mm = 0.8 cm เชื่อมยาว
ชวงละ 50 mm
φ F A 2205(0.707 × 0.8L )
v = w w w = 2× 2×
weld = 4988.592 kg/cm
L L
กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กแผนตั้งเอง
v web = φ v (0.6Fy t w ) = 0.9 × (0.6 × 2500 × 1.0 ) = 1350
kg/cm < 4988.592 kg/cm
ดังนั้นกําลังรับแรงเฉือนของรอยตอตองพิจารณาจากการวิบัติดว ยแรงเฉือนที่เหล็กแผนตั้ง แตเนื่องจาก
ความยาวของรอยเชื่อมแตละชวง L = 5 cm ดังนั้นระยะชวงหางระหวางรอยเชื่อมหาไดจาก
1350 × 5
x= = 10.0820166 cm
669.5089152
มาตรฐาน AISC มีขอกําหนดเกีย่ วกับการเวนระยะการเชื่อมสําหรับเหล็กเสริมขางคานทั้งแบบมีและ
ไมมีแรงกดวา ใหเวนระยะหางระหวางรอยเชื่อมไดไมเกิน 16t w แตไมเกิน 25 cm
x = 16 × 1.0 = 16 cm > 6.05 cm
ดังนั้นระยะชองวางระหวางรอยเชื่อมที่ติดกันคือ
5 5
x v = 10.0820166 − − = 5.0820166 cm
2 2
ดังนั้นใชขาเชือ่ ม 8 mm เชื่อมยาว 5 cm เวนระยะ 5 cm หรือศูนยถึงศูนย 10 cm
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 537

แบบฝกหัดบทที่ 8
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ
แบบฝกหัดเรื่องกําลังรับแรงดัด
[1][Segui 10.4-1] คานประกอบขนาดใหญมีปกกวาง 250 mm หนา 25 mm แผนตั้งสูง 1150 mm หนา 9 mm
เปนคานชวงเดียวรับน้ําหนักแผสม่ําเสมอ ค้ํายันทางขางตลอดความยาว เหล็กชนิด ASTM A572
Grade 50 จงหากําลังรับแรงดัดระบุ (Mn)

[2][Segui 10.4-2] คานประกอบขนาดใหญมีปกกวาง 560 mm หนา 75 mm แผนตั้งสูง 1750 mm หนา 12


mm เปนคานชวงเดียวรับน้าํ หนักแผสม่ําเสมอ ค้ํายันทางขางตลอดความยาว เหล็กชนิด ASTM A572
Grade 50 จงหากําลังรับแรงดัดระบุ (Mn)

[3][Segui 10.4-3] คานประกอบขนาดใหญมีปกกวาง 300 mm หนา 22 mm แผนตั้งสูง 1500 mm หนา 9 mm


เปนคานชวงเดียวรับน้ําหนักแผสม่ําเสมอ ชวงยาวคาน 12.00 เมตร ค้ํายันทางขางที่ปลายทั้งสองและ
กึ่งกลางคาน เหล็กชนิด ASTM A572 Grade 50 จงหากําลังรับแรงดัดระบุ (Mn)

[4][Segui 10.4-4] คานประกอบขนาดใหญมีปกกวาง 450 mm หนา 19 mm แผนตั้งสูง 1300 mm หนา 6 mm


เปนคานชวงเดียวรับน้ําหนักแผสม่ําเสมอ ชวงยาวคาน 15.00 เมตร ค้ํายันทางขางที่ปลายทั้งสองและ
กึ่งกลางคาน เหล็กชนิด ASTM A572 Grade 50 จงหากําลังรับแรงดัดระบุ (Mn)

[5][Segui 10.4-5] คานเหล็กประกอบขนาดใหญชวงยาว 24.00 เมตร ประกอบขึ้นจากเหล็กแผนตั้งหนา 6


mm สูง 1950 mm และปกคานบนลางกวาง 550 mm หนา 75 mm ค้ํายันทางขางตลอดความยาว เหล็ก
ชนิด ASTM A572 Grade 50 น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 1.5 T/m (รวมน้ําหนักคานแลว) น้ําหนัก
บรรทุกจรใชงาน 3 T/m น้ําหนักบรรทุกจรใชงานแบบจุดที่กลางชวง 215 T เหล็กเสริมขางคานที่
ปลายคานทั้งสองขาง และที่ระยะ 1.20 เมตร 4.85 เมตร และ 8.50 เมตร จากแตละปลาย และทีก่ ึ่งกลาง
ชวงคาน จงตรวจดูวากําลังรับแรงดัดพอเพียงหรือไม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
538 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แบบฝกหัดเรื่องกําลังรับแรงเฉือน
[6][Segui 10.5-1] คานเหล็กประกอบตามขอ [2]
(ก) จงหากําลังรับแรงเฉือนระบุ (Vn) ของปลายคาน หากค้ํายันทางขางภายในตัวแรกหางจากจุด
รองรับ 1.75 เมตร
(ข) จงหากําลังรับแรงเฉือนระบุ (Vn) ของชวงภายใน หากค้ํายันทางขางภายในที่เหลือวางหางกัน
5.00 เมตร
(ค) ถาไมมีค้ํายันภายใน ยกเวนที่มีอยูในปลายคานและที่กึ่งกลางคาน กําลังรับแรงเฉือนระบุ (Vn)
จะเปนเทาใด

[7][Segui 10.5-2] คานเหล็กประกอบขนาดใหญ ปกหนา 25 mm กวาง 750 mm แผนตั้งหนา 15 mm สูง


2250 mm รับน้ําหนักบรรทุกแผคงที่ใชงาน 6 T/m (รวมน้ําหนักคานดวย) และน้ําหนักบรรทุกแผจรใช
งาน 4.5 T/m ชวงคานยาว 22.50 เมตร กําลังครากของเหล็ก 2500 ksc ถาเหล็กเสริมทางขางมีที่ปลาย
ทั้งสอง จงหาตําแหนงของเหล็กเสริมทางขางภายในคูแรกนับจากปลายคาน

[8][Segui 10.5-3] คานเหล็กประกอบขนาดใหญมีปก หนา 38 mm กวาง 375 mm เทากันทั้งปกบนปกลาง


สวนแผนตั้งหนา 8 mm สูง 1650 mm เหล็กชนิด ASTM A572 Grade 50 ความยาวชวงคาน 16.50
เมตร น้ําหนักบรรทุกแผจรใชงาน 3 T/m และน้ําหนักบรรทุกแผคงที่ใชงาน 0.33 T/m รวมน้ําหนัก
คานดวยแลว เหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดเสริมที่ปลายทั้งสองขาง และเหล็กเสริมขางคาน
ภายในแบบไมรับแรงกดเสริมที่ระยะ 1.85 เมตร และ 3.85 เมตร จากแตละปลาย คานนี้รับแรงเฉือน
ไดหรือไม
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 539

[9][Segui 10.5-4] จงตรวจสอบวาคานเหล็กประกอบขนาดใหญในขอ [5] รับแรงเฉือนไดหรือไม


(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

เหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด
[10][10.6-1] เหล็กเสริมขางคานภายในเปนแผนคู หนา 12 mm กวาง 150 mm เหล็กแผนตั้งหนา 8 mm สูง
1400 mm ที่มมุ ของเหล็กขางคานเจียนออก 12 mm เพื่อหลบรอยเชื่อมระหวางปกกับแผนตั้ง เหล็กทุก
สวนเปนชนิด ASTM A36
(ก) ใหใชวิธี AISC/LRFD หาน้าํ หนักบรรทุกแบบจุดเพิ่มคาสูงสุดที่รับได
(ข) ใหใชวิธี AISC/ASD หาน้ําหนักบรรทุกแบบจุดใชงานสูงสุดที่รับได

[11][Segui 10.6-2] รูปที่ P10.6-2 แสดงเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดที่ปลายคาน เหล็กเสริมขางคาน


หนา 15 mm สวนเหล็กแผนตั้งหนา 5 mm ปลายเหล็กเสริมขางคานเจียนออก 12 mm เพื่อหลบรอย
เชื่อมระหวางแผนตั้งกับปกคาน เหล็กทุกแผนเปน ASTM A572 Grade 50
(ก) ใหใชวิธี AISC/LRFD หาน้าํ หนักบรรทุกแบบจุดเพิ่มคาสูงสุดที่รับได
(ข) ใหใชวิธี AISC/ASD หาน้ําหนักบรรทุกแบบจุดใชงานสูงสุดที่รับได
540 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แบบฝกหัดออกแบบคานประกอบขนาดใหญ
[12][Segui 10.7.1] จงออกแบบคานเหล็กประกอบขนาดใหญเพือ่ รับโมเมนตดดั ใชงานขนาด 1,659,000
kg.m โดยเปนสวนของน้ําหนักบรรทุกคงที่ 25% และน้ําหนักบรรทุกจร 75% ความลึกของคานที่
2565 mm ค้ํายันทางขางตลอดความยาว ใหประมาณขนาดหนาตัดคานที่เหมาะสม โมเมนตดัดทีใ่ หมา
ถือวารวมเอาผลของน้ําหนักคานไวดว ยแลว
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[13][Segui 10.7.2] จงออกแบบคานเหล็กประกอบขนาดใหญรับโมเมนตดัดจากน้ําหนักบรรทุกคงที่


525,400 kg.m และโมเมนตดัดจากน้ําหนักบรรทุกจร 1,078,400 kg.m ความลึกของคานจํากัดไวที่
1980 mm ชวงเหล็กเสริมทางขางหางกัน 7.50 เมตร เหล็กชนิด ASTM A572 Grade 50 ใหประมาณ
ขนาดหนาตัดคานที่เหมาะสม โมเมนตดัดที่ใหมาถือวารวมเอาผลของน้ําหนักคานไวดว ยแลว ใช Cb =
1.67
(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[14][Segui 10.7-3] ใหใชวธิ ี AISC/LRFD หาขนาดของปกและแผนตั้งที่เหมาะสม ของคานประกอบขนาด


ใหญ ที่แสดงในรูปที่ P10.7-3 โดยมีเงื่อนไขดังนี้
- ความยาวชวงคาน 15.00 เมตร
- เปนคานชวงเดี่ยว เสริมเหล็กขางคานทุกๆ ระยะ 3.75 เมตร
- น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงานเพิ่มเติม 0.75 T/m ไมรวมน้ําหนักคาน
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 541

- น้ําหนักบรรทุกจรใชงานแบบจุด 59 ตัน ทีก่ ึ่งกลางคาน


- ใชเหล็ก ASTM A572 Grade 50
ใหเลือกขนาดของปกและแผนตั้งจนไมจําเปนตองเสริมเหล็กขางคานชวงใน เหล็กขางคานแบบรับ
แรงกดใชที่บริเวณจุดรองรับและที่น้ําหนักแบบจุดกระทํา

[15][Segui 10.7-4] ใหออกแบบคานประกอบขนาดใหญเพื่อรับน้ําหนักบรรทุกดังรูปที่ P10.7-4 น้ําหนัก


บรรทุกที่แสดงเพิ่มคาเอาไวแลว น้ําหนักบรรทุกแผไดรวมน้ําหนักของตัวคานเองเอาไวดว ย เหล็ก
เสริมขางคานมีที่ปลายคานและที่มีน้ําหนักเปนจุดกระทํา ใชวิธี AISC/LRFD ในการหา
(ก) เลือกขนาดของปกและแผนตั้งโดยใหมีเหล็กเสริมขางคานชวงใน ให Fy = 3500 ksc ความลึก
ของคาน 1250 mm เหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดมีที่ปลายคานและบริเวณรับน้ําหนักแบบ
จุด แตไมตองออกแบบเหล็กเสริมขางคานนี้
(ข) คํานวณหาตําแหนงของเหล็กเสริมขางคานชวงใน แตไมตองออกแบบ

[16][Segui 10.7-5] ใหใชวธิ ี AISC/LRFD ออกแบบเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดในแบบฝกหัดขอ [15]


ใหใช Fy = 3500 ksc
542 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[17][Segui 10.7-6] ใหออกแบบรอยเชื่อมระหวางปกคานกับแผนตั้งของขอ [16]


(ก) ใชวิธี AISC/LRFD
(ข) ใชวิธี AISC/ASD

[18][Segui 10.7-7] คานยาว 21 เมตร รับน้ําหนักแผสม่ําเสมอและน้าํ หนักเปนจุดอีกสองแรง ตรงจุดที่แบง


คานเปน 3 ชวงเทากัน น้ําหนักบรรทุกแผเปนสวนของน้ําหนักบรรทุกคงที่ 1935 kg/m และน้ําหนัก
บรรทุกจร 3420 kg/m สวนน้ําหนักแบบจุดแบงเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ 12,700 kg และน้ําหนัก
บรรทุกจร 72,921 kg เหล็กเสริมขางคานมีที่ปลายคานซึ่งเปนจุดรองรับ และที่น้ําหนักแบบจุดกระทํา
ใชเหล็ก ASTM A572 Grade 50 ความลึกคาน 2000 mm ใหใชวิธี AISC/LRFD
(ก) ใหออกแบบหนาตัดของปกและแผนตั้ง แลวหาระยะของเหล็กเสริมขางคานชวงใน
(ข) หาขนาดของเหล็กเสริมขางคานชวงในที่เปนแบบไมรับแรงกด และเหล็กเสริมขางคานแบบรับ
แรงกด
(ค) ออกแบบรอยเชื่อมทั้งหมด

[19][Segui 10.7-8] จงออกแบบคานประกอบขนาดใหญ ตามขอมูลและเงื่อนไขตอไปนี้


(ก) ความยาวชวงคาน 30 เมตร
(ข) น้ําหนักบรรทุกแผใชงานสม่าํ เสมอ โดยเปนน้ําหนักบรรทุกจร 1042 kg/m และเปนน้ําหนัก
บรรทุกคงที่เพิ่มเติม 446 kg/m
(ค) น้ําหนักบรรทุกใชงานแบบจุดที่ทุกจุดซึ่งแบงความยาวคานเปน 4 สวนเทาๆ กัน โดยเปน
น้ําหนักบรรทุกคงที่ 22,680 kg และน้ําหนักบรรทุกจร 68,040 kg
(ง) ปกรับแรงอัดมีเหล็กเสริมขางคานค้ํายันเอาไวที่ปลายคานทั้งสองขาง และตรงที่มีน้ําหนักจุด
กระทํา
ใหใชเหล็กชนิด ASTM A572 Grade 50
(1) เลือกขนาดหนาตัดคานประกอบที่เหมาะสม และระยะหางของเหล็กเสริมขางคานชวงใน
(2) ออกแบบขนาดของเหล็กเสริมขางคานชวงในแบบไมรับแรงกด และแบบรับแรงกดตรงจุดที่มี
น้ําหนักแบบจุดกระทํา
(3) ออกแบบรอยเชื่อมทั้งหมด
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ 543

[20][Segui 10.7-9] คานประกอบขนาดใหญ ABCDE ใชกอสรางอาคารที่ตองการชวงวางกวางมากๆ ดังรูป


ที่ P10.7-9 น้ําหนักบรรทุกแผคงที่ 2,828 kg/m ยังไมรวมน้ําหนักคาน และน้ําหนักแผจร 4,167 kg/m ที่
จุด B,C และ D มีเสามาตัง้ ฝากบนคานโดยที่น้ําหนักบรรทุกคงที่ 50,800 kg และน้ําหนักบรรทุกจร
76,200 kg ทั้งสามจุด ใหคานเปนแบบชวงเดียว น้ําหนักของเสาที่ตั้งบนคานใหถือเปนแบบจุด ปกรับ
แรงอัดมีเหล็กเสริมขางคานทุกๆ ระยะ 3.00 เมตร ใชวิธี AISC/LRFD กําลังครากของเหล็ก
Fy = 3500 ksc ทุกชิ้นสวน
(ก) ออกแบบหนาตัดคานประกอบขนาดใหญนี้ ความลึกคาน 3.00 เมตร
(ข) ใหหาตําแหนงเหล็กเสริมขางคานชวงใน และออกแบบขนาดดวย
(ค) ใหออกแบบขนาดเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกดที่จดุ B , C และ D (สมมติวาแตละปลาย
เปนการตอแบบโครงเฟรม)
(ง) ออกแบบรอยเชื่อมทุกแหง
544 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

บทที่ 9 สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด
โครงสรางเหล็กที่น้ําหนักกระทําไมผานศูนยกลางแรงเฉือน (shear center) จะเกิดโมเมนตบิดรวมกับ
โมเมนตดัด แรงเฉือน หรืออาจจะมีแรงดึงกับแรงอัดเขามากระทํารวมดวย การออกแบบหนาตัดกรณีที่มี
โมเมนตบิดมากๆ ตองคํานึงถึงโมเมนตบิดเอาไวดวย เพราะอาจจะตองการขนาดหนาตัดที่โตกวาการรับ
โมเมนตดัด แรงเฉือน แรงตามแนวแกน

9.1 จุดศูนยกลางแรงเฉือน (Shear Center)


จุดศูนยกลางแรงเฉือนของหนาตัดเปนจุดทีห่ ากแนวแรงกระทําผานจุดนีจ้ ะไมเกิดโมเมนตบิดในหนา
ตัดนั้น การหาตําแหนงจะพิจารณาสมดุลของโมเมนตบิดจากแรงเฉือนภายในกับโมเมนตบิดทีก่ ระทํา
ภายนอก โดยปกตินั้นจุดศูนยกลางแรงเฉือนจะอยูบนแกนสมมาตรเสมอ ดังรูปที่ 9.1 หากการสมมาตรทั้ง
สองแกน จุดศูนยกลางแรงเฉือนกับจุดเซนทรอยดของหนาตัดจะเปนจุดเดียวกัน แตถาสมมาตรแกนเดียว จุด
ศูนยกลางแรงเฉือนจะอยูบนแกนสมมาตรนั้นแตจะเปนคนละจุดกับเซนทรอยดของหนาตัด สําหรับเหล็ก
ฉากและตัวที จุดศูนยกลางแรงเฉือนอยูจุดตัดของเสนแนวกลางความหนาของสองแผนตัดกัน

จุดศูนยกลางแรงเฉือน เรียกอีกชื่อวา จุดศูนยกลางของการบิด (center of rotation or twisting) เพราะ


หากแรงกระทําผานจุดนีจ้ ะไมเกิดการบิดตัวของหนาตัด มีแตโมเมนตดัดกับแรงอื่นๆ แตถาแรงไมผานจุดนี้
จะมีโมเมนตบดิ เกิดขึน้ และทําใหหนาตัดบิดตัว คาโมเมนตบิดจะเทากับแรงคูณกับระยะเยื้องศูนย e ดังรูปที่
9.2 คาของโมเมนตบิดจะมากที่สุดตรงจุดรองรับและเปน 0 ที่กลางคาน พบมากในแปซึ่งจะเอียงตัวตามแนว
ของจันทันในโครงหลังคา แปรูปตัด C มีจุดศูนยกลางแรงเฉือนบนแกนสมมาตรทางดานหลังของตัว C หาก
วาง C คว่ําลงไปทางชายคาดวยการอางวาหลบน้ําฝนทีอ่ าจจะรัว่ แนวแรงจะหางจากจุดศูนยกลางแรงเฉือน
มากที่สุด การบิดตัวของแปจึงมากที่สุดไปดวย ทําใหกระเบื้องแตกตามแนวยาว แตถาวางตัว C ใหหงายขึ้น
แนวแรงจะตรงหรืออยูใกลจดุ ศูนยกลางแรงเฉือนมาก การบิดตัวของแปไมมีหรือมีนอ ย นี่คือเหตุผลในการ
วางแป C ใหหงายขึ้นหาอกไก ไมใชปญหาเรื่องฝนรั่วหรือไม
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 545
546 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

9.2 โมเมนตบิด (Torsion or Twisting Moment)


ความตานทานโมเมนตบิดของรูปตัดโครงสราง มีทั้งความตานทานโมเมนตบิดแบบสม่ําเสมอ เรียกวา
โมเมนตบิดเซนตวีนานท (St-Venant Torsion) กับ ความตานทานโมเมนตบิดแบบไมสม่ําเสมอ เรียกวา
โมเมนตบิดเบีย้ ว (Warping Torsion)

9.2.1 โมเมนตบิดเซนตวีนานท

โมเมนตบิดแบบเซนตวีนานท เปนโมเมนตบิดตานทานแบบสม่ําเสมอ ระนาบของหนาตัดกอนและ


หลังการบิดจะคงรูปเปนระนาบโดยไมมีการบิดเบี้ยว หนวยแรงเฉือนจะมีคาสูงสุดที่ขอบนอกสุดและแปร
ลดลงเปนเสนตรงจนเปน 0 ที่จุดเซนทรอยดของหนาตัด รูปตัดที่เปนไปตามทฤษฎีนี้คือหนาตัดกลมตันและ
กลมกลวง
ในกรณีที่หนาตัดไมกลม เมือ่ รับโมเมนตบิดจะเกิดการบิดเบี้ยวของระนาบหนาตัด เนื่องจากตองรับทัง้
หนวยแรงเฉือนขนานหนาตัดที่เกิดจากโมเมนตบิดแลวยังตองรับหนวยแรงดัดที่ตั้งฉากกับหนาตัด สําหรับ
ในทางทฤษฎี จะถือวาทุกหนาตัดสามารถรับแรงเฉือนแบบเซนตวนี านทหากปลายมีการยึดรั้งที่ดพี อในการ
ตานทานโมเมนตบดิ เบีย้ ว

9.2.2 โมเมนตบิดเบี้ยว

เมื่อโมเมนตบดิ กระทําตอสวนของโครงสรางที่มีการยึดรัง้ จะเกิดแรงเฉือนในระนาบหนาตัดและเกิด


แรงดึงแรงอัดในแนวตั้งฉากกับระนาบ ระนาบของหนาตัดจึงเกิดการบิดเบี้ยวตัวไปจากเดิมกอนมีโมเมนต
บิดกระทํา
รูปตัดแบบปดเชนทอกลม ทอเหลี่ยม จะมีแรงเฉือนตานทานโมเมนตบิดแบบเซนตวีนานท แตเมือ่ เปน
รูปตัดเปดเชน W ตัว C จะพิจารณาใหปก คานมีสวนชวยตานทานโมเมนตบิดที่มากระทําดวย และเปน
โมเมนตบิดเบีย้ ว ดังนัน้ ปกคานจึงตองรับหนวยแรงเฉือนเนื่องจากโมเมนตบิดและหนวยแรงตั้งฉากจาก
โมเมนตดัด การวิเคราะหขนั้ สูงใชในการหาคาหนวยแรงเนื่องจากโมเมนตบิดเบีย้ วมีความยุงยากมาก
แตเพื่อใหการออกแบบรูปตัดงายขึ้น หนวยแรงตานทานที่เกิดจากโมเมนตบิดเบีย้ วบนรูปตัด W อาจใช
คาโดยประมาณดังรูปที่ 9.4
สมมติวารูปตัดตองรับโมเมนตบิด T ที่กระทําตรงปลายของคานยืน่ แปลงโมเมนตบิดเปนแรงคูควบ
กระทําที่ปกบนและปกลาง สมมติระยะหางของแนวแรงเฉือนเทากับ d ให P’ เปนแรงคูควบที่กระทําในปก
คาน ดังนั้น
T
P' =
d
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 547
548 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ใหคานยื่นยาว L และทีจ่ ุดรองรับจะรับโมเมนตดัด


TL
M ' = P' L =
d
โดยถือวาสวนปกคานเทานัน้ ที่ทําหนาที่รับโมเมนตดัด สวนของแผนตั้งมีสติฟเนสในการรับโมเมนต
ดัดนอยมากจนตัดทิ้งไปได หนาตัดปกคานจึงตองรับทั้งหนวยแรงเฉือนขนานผิวหนาตัดเนื่องจากแรง P’
และหนวยแรงดัดตั้งฉากผิวหนาตัดเนื่องจากโมเมนตดดั M’
การประมาณขางตนจะไดหนวยแรงเกินจริงไปบาง แตเปนทางดานปลอดภัยเพราะตองออกแบบให
แข็งแรงเกินจริง การวิบัติยอมไมเกิดโดยงาย

9.3 มุมบิด
สวนโครงสรางใดๆ มีความยาว L โมดูลัสการเฉือน G คาคงที่ตานทานการบิด J รับโมเมนตบิด T มุม
บิด θ เปรียบเทียบระหวางปลายทั้งสองขางมีหนวยเปนเรเดียน หาไดจากสมการ
TL
θ= (9.3.1)
GJ
เมื่อ θ= มุมบิดเปรียบเทียบระหวางปลาย โดยมองยอนทางปลายชิ้นสวน ลากเสนตรงทั้งสองปลายให
ทับแนวกัน จากนั้นใสแรงบิดเขาไป เสนตรงทั้งสองจะบิดออกจากกัน มุมที่บิดไปเปนเรเดียว
คือมุมบิดนี้
J= คาคงที่ตานทานการบิด ดูรูปที่ 9.3 หรือจากโปรแกรม Prokon
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 549

E = 2,040,000 ksc = โมดูลัสยืดหยุนของเหล็ก


ν = 0.3 = อัตราสวนปวซองของเหล็ก (คาจริงคือ 0.298 ประมาณคาเปน 0.3)
E E E 2,040,000
G= = = = = 784,615 ksc =โมดูลัสการเฉือนของเหล็ก
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3) 2.6 2.6

9.4 การออกแบบสวนโครงสรางรับโมเมนตบิดรวมกับแรงกระทําอืน่
ขอกําหนดในการออกแบบตามวิธี AISC/LRFD มีดังนี้
(ก) ที่สภาวะคราก เมื่อมีหนวยแรงตั้งฉากกับรูปตัดเชน แรงดึง แรงอัด
Pu M ux M uy
f un = ± ± f nT ≤ φFy ใช φ = 0.90 (9.4.1)
A Zx Zy

(ข) ที่สภาวะคราก เมื่อมีหนวยแรงเฉือนกระทํากับรูปตัด


Vu
f uv = ± f vST ± f vWT ≤ 0.6φFy ใช φ = 0.90 (9.4.2)
Av

(ค) ที่สภาวะของการโกงเดาะ

หนวยแรงอัดจากสมการ (9.4.1) f un ≤ φc Fcr ใช φc = 0.85 (9.4.3)


หนวยแรงเฉือนจากสมการ (9.4.2) f uv = φc Fcr ใช φc = 0.85 (9.4.4)

เมื่อ
f un = หนวยแรงประลัยทั้งหมดตามแนวแกน ซึ่งตั้งฉากกับรูปตัด
f uv = หนวยแรงเฉือนประลัยทั้งหมด
f nT = หนวยแรงตั้งฉากกับรูปตัดที่เกิดจากโมเมนตบิด
f vST = หนวยแรงเฉือนที่เกิดจากโมเมนตบิดเซนตวีนานท
f vWT = หนวยแรงเฉือนที่เกิดจากโมเมนตบิดเบีย้ ว
Pu = แรงประลัยตามแนวแกน ซึ่งอาจจะเปนแรงดึงหรือแรงอัด
M ux = โมเมนตดัดประลัยรอบแกน x ของหนาตัด
M uy = โมเมนตดัดประลัยรอบแกน y ของหนาตัด
Vu = แรงเฉือนประลัยที่กระทํา
A = เนื้อที่หนาตัดของรูปตัด
A w = เนื้อที่หนาตัดของเหล็กแผนตั้ง
550 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

Zx = โมดูลัสพลาสติกของรูปตัดรอบแกน x
Z y = โมดูลัสพลาสติกของรูปตัดรอบแกน y
K = ตัวประกอบความยาวประสิทธิผล
L = ความยาวของชิ้นสวน
I = โมเมนตอินเนอรเชียของรูปตัด
I
r= = รัศมีไจเรชันของรูปตัด
A
E = 2,040,000 ksc = โมดูลัสยืดหยุนของเหล็ก
Fy = กําลังครากของเหล็กโครงสราง
KL Fy
λc =
rπ E
Fcr = หนวยแรงวิกฤตของสวนโครงสรางรับแรงอัดตามวิธี AISC/LRFD
ถา λ c ≤ 1.5 ได
Fcr = 0.658λc Fy
2

ถา λ c > 1.5 ได


0.877
Fcr = Fy
λ2c
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 551

ตัวอยางการออกแบบสวนโครงสรางรับแรงบิด
ตัวอยางที่ 9.1 คานยื่นยาว 1.50 เมตร ทําดวยเหล็กชนิด ASTM A36 รับโมเมนตบิดใชงานที่ปลายเทากับ 1.5
ตัน.เมตร ใหเปรียบเทียบหนวยแรงเฉือน หนวยแรงตั้งฉากกับรูปตัด และมุมบิด ที่เกิดจากโมเมนตบิด
นี้ เมื่อรูปตัดของคานดังกลาวเปนแบบ รูปตัดแบบกลอง (แบบปด) กับ รูปตัด W (แบบเปด) โดยมี
ขนาดดังแสดง

วิธีทํา
(ก) รูปตัดแบบกลอง (แบบปด)
โมเมนตบิดตานทานของรูปตัดแบบปด ขึ้นกับโมเมนตบิดเซนตวนี านทเปนสวนใหญ จึงไมคิดสวน
ของโมเมนตบิดเบี้ยว ที่จะทําใหเกิดหนวยแรงเฉือนและหนวยแรงตั้งฉาก
(1) จากรูปที่ 9.3 กลองสี่เหลี่ยมจัตุรัส หนวยแรงเฉือนแบบเซนตวีนานทคือ
T
f vST =
2b 2 t
โดยที่ T = 1.5 × 1000 × 100 = 150,000 kg.cm = โมเมนตบิดที่กระทํา
2.5 2.5
b = 25 − − = 22.5 cm = ความยาวของเสนแบงครึ่งความหนาของกลอง
2 2
t = 2 .5 cm = ความหนาของกลอง
150,000
f vST = = 59.25925926 ksc
2 × 22.52 × 2.5
เปนหนวยแรงเฉือนที่มากทีส่ ุด
(2) หามุมบิดที่มากที่สุดที่ปลายคานจากสมการ
TL
θ=
JG
เมื่อ T = 150,000 kg.cm = โมเมนตบิด
L = 150 cm = ความยาวคาน
E 2,040,000
G= = = 784,615 ksc = โมดูลัสการเฉือน
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3)
552 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

J = tb 3 = 2.5 × 22.53 = 28,476.5625 cm4 = คาคงที่การบิด


แทนคาได
150,000 × 150
θ= = 0.00100702 เรเดียน
28,476.5625 × 784,615
180
θ = 0.00100702 × = 0.057698029 องศา
π

(ข) รูปตัด W (แบบเปด)


โมเมนตบิดตานทานของรูปตัดแบบเปดประกอบจาก โมเมนตบิดแบบเซนตวีนานท กับ โมเมนตบิด
เบี้ยว

(1) หาหนวยแรงเฉือนสูงสุดบนปกคานและเหล็กแผนตั้ง เนื่องจากโมเมนตบิดเซนตวนี านท จาก


สมการ
Tt i
f vST =
J
เมื่อ T = 150,000 kg.cm = โมเมนตบิดที่กระทํา
t i = 2.5 cm = ความหนาของปกและแผนตั้ง ซึ่งเทากัน
สวนของปกมี b = 25 cm และ t = 2.5 cm มี 2 แผน
สวนของแผนตั้งมี b = 25 − 2.5 − 2.5 = 20 cm และ t = 2.5 cm มี 1 แผน
bt 3 25 × 2.53 20 × 2.53
J=∑ = 2× + = 364.5833333 cm 4
3 3 3
แทนคาจะไดหนวยแรงเฉือนสูงสุด
150,000 × 2.5
f vST = = 1028.571429 ksc
364.5833333

(2) หาหนวยแรงเฉือนและหนวยแรงตั้งฉากทีม่ ากที่สุด เนื่องจากโมเมนตบิดเบีย้ ว พิจารณา


โดยประมาณ จากรูปที่แสดง

แรงคูควบที่ปก ปลายคาน P' = T = 150,000 = 6666.7 kg


d 22.5
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 553

โมเมนตดัดทีป่ กคานแตละปกจากแรง P’ ที่ปลายยึดแนน (ไมคิดแผนตั้ง)


150,000
M = P' L = × 1.50 = 10,000 kg.m
22.5
หนวยแรงเฉือนมากที่สุดเกิดที่กลางปกตรงตําแหนงแผนตั้งพอดี และเปน 1.5 เทาของคาเฉลี่ย
V 6666.7
f vWT = 1.5 = 1.5 × = 160 ksc
bf t f 25 × 2.5

หนวยแรงตั้งฉากมากที่สุดในปกคาน f nT = M
S
โดยที่ M = 10,000 × 100 = 1,000,000 kg.cm โมเมนตดัดที่ปลายยึดแนนของปกคาน
t f b f2 2.5 × 252
S= = = 260.4166667 cm3 = โมดูลัสอิลาสติกของปกคาน
6 6
แทนคาได
1,000,000
f nT = = 3840 ksc
260.4166667

(3) หาหนวยแรงรวมมากที่สุด
หนวยแรงเฉือนในปกคาน
f uv = f vST + f vWT = 1028.571429 + 160 = 1188.571429 ksc
หนวยแรงตั้งฉากกับปกคาน
f un = f nT = 3840 ksc
(4) หามุมบิดมากที่สุดจากสมการ θ = TL
JG
bt 3
25 × 2.53 20 × 2.53
J=∑ = 2× + = 364.5833333 cm 4
3 3 3
T = 150,000 kg.cm
E 2,040,000
G= = = 784,615 ksc
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3)
L = 150 cm
150,000 × 150
θ= = 0.0786555 เรเดียน
364.5833333 × 784,615
180
θ = 0.0786555 × = 4.506628228 องศา
π
สรุปวา หนาตัดแบบเปดจะเกิดหนวยแรงและมุมบิดมากกวาหนาตัดแบบปด
554 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ตัวอยางที่ 9.2 จงออกแบบคานเหล็กรูปพรรณชวงเดียวยาว 6.00 เมตร รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 900


kg/m กระทําโดยเยื้องจากศูนยกลางแรงเฉือนหนาตัดเหล็กรูปไป 10 cm สมมติวาคานมีค้ํายันทางขาง
เฉพาะที่จดุ รองรับ ใชเหล็กชนิด ASTM A36

วิธีทํา
คานรับน้ําหนักบรรทุกคงที่แผใชงาน 900 kg/m เยื้องศูนยจากจุดศูนยกลางแรงเฉือน ยายแรงไปที่จุด
ศูนยกลางแรงเฉือนจะเกิดโมเมนตบิด
T = we = 900 × 10 = 9000 kg.cm/m
สมมติคานมีน้ําหนักคงทีแ่ ผใชงาน 140 kg/m เมื่อรวมกับน้ําหนักบรรทุกแผคงที่ใชงานที่ยายมาเปน
900 + 140 = 1040 kg/m ซึ่งจะทําใหเกิดโมเมนตดัดสูงสุดที่กลางชวง และแรงเฉือนสูงสุดที่ปลายคาน
ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักและโมเมนตดดั สูงสุดประลัยที่เกิดขึ้น ใชตัวคูณเพิ่มคา 1.4 เพราะมีแตน้ําหนัก
บรรทุกคงที่
น้ําหนักแผประลัยรวม w u = 1.4 × 1040 = 1456 kg/m
โมเมนตดัดประลัยสูงสุดที่กลางคาน
w u L2 1456 × 6.00 2
Mu = = = 6552 kg.m = 655,200 kg.cm
8 8
โมเมนตบิดประลัยสูงสุดที่ปลายคานสองขางๆ ละครึ่ง ตองเพิ่มคาดวย 1.4 เพราะเปนน้ําหนักบรรทุก
คงที่
6.00
Tu = 1.4 × 9000 × = 37,800 kg.cm
2
แรงเฉือนประลัยที่จุดรองรับ
w u L 1456 × 6.00
Vu = = = 4368 kg
2 2
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 555

ขั้นตอนที่ 2 เลือกขนาดรูปตัด
เนื่องจากคานตองรับทั้งโมเมนตดัด (Mu) และโมเมนตบดิ (Tu) ที่ประกอบจากโมเมนตบิดแบบเซนตวี
นานท และโมเมนตบิดเบีย้ ว ดังนั้นอาจจะหาโมดูลัสพลาสติกของหนาตัด (โดยประมาณ) ไดจากสมการ
⎛T ⎞
M ux + C un M uy + 2C un ⎜ u ⎟
Zx = ⎝ d ⎠
0.9Fy
เมื่อ M ux = 655,200 kg.cm
M uy = 0
Tu = 37,800 kg.cm
สมมติ d = 250 mm = 25 cm
Zx
C un = = 2 .2
Zy
ดังนั้น
37,800
655,200 + 2.2 × 0 + 2 × 2.2 ×
Zx = 25 = 294.1568 cm3
0.9 × 2500
ลองเลือกรูปตัด W 250 × 72.4 มี d = 250 mm, bf = 250 mm, tw = 9 mm tf = 14 mm , r = 16 mm ,A =
92.188 cm2, Ix = 10,834 cm4, Iy = 3648.8 cm4, rx = 10.841 cm, ry = 6.2913 cm, Sx = 866.7 cm3, Sy =291.91
cm3, Zx = 960.6 cm3, Zy = 443.78 cm3, J = 58.937 cm4, Zt = 27.617 cm3, Cw = 501,600 cm6
Zx 960.6
C un = = = 2.16 ≈ 2.2
Z y 443.78
ขั้นตอนที่ 3 หาหนวยแรงตางๆ ที่เกิดขึ้นเนื่องจากโมเมนตดัดและโมเมนตบิด
(ก) เนื่องจากโมเมนตดัดประลัย M u = 655,200 kg.cm และแรงเฉือนประลัย Vu = 4368 kg
หนวยแรงดัดในปกคาน
M ux 655,200
f fu = = = 682.0737039 ksc
Zx 960.6
หนวยแรงเฉือนในแผนตั้ง
Vu V 4368
f vw = = u = = 194.1333333 ksc
A w dt w 25 × 0.9
(ข) เนื่องจากโมเมนตบิดแบบเซนตวีนานท
Tu t i
หนวยแรงเฉือนในปกคานและแผนตั้ง คํานวณจาก f vST =
J
37,800 × 1.4
หนวยแรงเฉือนที่ปกคาน f vST = = 897.9079356 ksc
58.937
556 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

37,800 × 0.9
หนวยแรงเฉือนที่แผนตั้ง f vST = = 712.6253457 ksc
58.937
(ค) เนื่องจากโมเมนตบิดเบีย้ ว
ตองแปลงโมเมนตบิดสม่ําเสมอตลอดคานเปนแรงที่ปก คานกอน
9000
Tu = 1.4 × = 126 kg.m/m
100

ระยะหางระหวางแรงกระทําที่ปกคาน = 25 − 1.4 − 1.4 = 23.6 cm = 0.236 m


2 2
แรงกระทําที่ปก คาน
Tu 126
P' = = = 533.8983051 kg (ในรูป 534 kg)
d1 0.236
ในกรณีจะพิจารณาคานมีเฉพาะปกคาน ไมคิดผลของแผนตั้งซึ่งมีผลนอย
แรง P’ = 533.8983051 kg/m กระทําทางขางของปกคานแตละปก
P' L 533.8983051 × 6.00
max Vu = = = 1601.694915 kg
2 2
โมเมนตดัดสูงสุดในปกคาน
P' L2 533.8983051 × 6.00 2
max M u = = = 2402.542373 kg.m
8 8
หนวยแรงเฉือนในปกคานเนื่องจากแรงเฉือน
Vu 1601.694915
f vWT = 1.5 = 1.5 × = 68.64406779 ksc
bf t f 25 × 1.4
หนวยแรงดัดในปกคานเนื่องจากโมเมนตดดั
Mu 4 × 2402.542373 × 100
f nT = = = 1098.305085 ksc
2
t f bf 1.4 × 252
4
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 557

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบหนวยแรงตามขอกําหนด
(ก) หนวยแรงตั้งฉากสูงสุดในปกคาน (เกิดที่กลาวงชวงคาน) จากสมการ (9.4.1)
Pu M ux M uy
f un = ± ± ± f nT
A Zx Zy
f un = 0 + 682.0737039 + 0 + 1098.305085
ksc < 0.9Fy = 0.9 × 2500 = 2250 ksc ใชได
f un = 1780.378789
(ข) หนวยแรงเฉือนสูงสุดในปกคาน (เกิดขึ้นทีจ่ ุดรองรับ) จากสมการ (9.4.2)
Vu
f uv = ± f vST ± f vWT
Aw
f uv = 0 + 897.9079356 + 68.64406779
ksc < 0.6(0.9Fy ) = 0.6 × 0.9 × 2500 = 1350 ksc ใชได
f uv = 966.5520034
(ค) หนวยแรงเฉือนสูงสุดในแผนตั้ง (เกิดขึ้นทีจ่ ุดรองรับ) จากสมการ (9.4.2)
Vu
f uv = + f vST + f vWT
Aw
f uv = 194.1333333 + 712.6253457 + 0
ksc < 0.6(0.9Fy ) = 0.6 × 0.9 × 2500 = 1350 ksc ใชได
f uv = 906.758679
(ง) ตรวจสอบการโกงทางขาง (LTB)
E 2,040,000
L p = 1.76ry = 1.76 × 6.2913 = 316.2992355 cm
Fy 2500

1 + 1 + X 2 (Fy − Fr )
ry X1
Lr =
2

Fy − Fr
π EGJA
X1 =
Sx 2
2
4C w ⎛ Sx ⎞
X2 = ⎜ ⎟
Iy ⎝ GJ ⎠
โดยที่ Fy = 2500 ksc
Fr = 700 ksc
ry = 6.2913 cm
E = 2,040,000 ksc
ν = 0 .3
E 2,040,000
G= = = 784,615.3846 ksc
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3)
I y = 3,648.8 cm4
558 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

A = 92.188 cm2
3
Sx = 866.7 cm
4
J = 58.937 cm
6
C w = 501,600 cm
π EGJA π 2,040,000 × 784,615.3846 × 58.937 × 92.188
X1 = =
Sx 2 866.7 2
X1 = 239,023.5989
2
4 × 501,600 ⎛
2
4C w ⎛ Sx ⎞ 866.7 ⎞
X2 = ⎜ ⎟ = ×⎜ ⎟
I y ⎝ GJ ⎠ 3,648.8 ⎝ 784,615.3846 × 58.937 ⎠
X 2 = 0.193159184 × 10 −6

L r = y 1 1 + 1 + X 2 (Fy − Fr )
rX 2

Fy − Fr
6.2913 × 239,023.5989
Lr = 1 + 1 + 0.193159184 × 10 −6 × (2500 − 700)
2

2500 − 700
6.2913 × 239,023.5989
Lr = 1 + 1 + 0.625835757
2500 − 700
6.2913 × 239,023.5989
Lr = 1 + 1.275082647
2500 − 700
6.2913 × 239,023.5989 × 1.50833771
Lr =
2500 − 700
Lr = 1260.106524 cm
โจทยกําหนดวาค้ํายันทางขางมีที่ปลายเทานั้น นั่นคือ L b = 6.00 m = 600 cm อยูระหวาง
L p = 3.162992355 เมตร กับ L r = 12.60106524 เมตร ดังนั้น
⎡ ⎛ L − L p ⎞⎤
M n = C b ⎢M p − (M p − M r )⎜ b ⎟
⎢⎣ ⎜ L − L ⎟⎥⎥
⎝ r p ⎠⎦
เมื่อ M p = Fy Z x = 2500 × 960.6 = 2,401,500 kg.cm = 24,015 kg.m
M r = (Fy − Fr )Sx = (2500 − 700) × 866.7 = 1,560,060 kg.cm = 15,600.6 kg.m
C b = 1 ดูรูปที่ 4.8
⎡ 6.00 − 3.162992355 ⎤
M n = 1 × ⎢24,015 − (24,015 − 15,600.6 ) ×
⎣ 12.60106524 − 3.162991255 ⎥⎦
M n = 21,485.70036kg.m
เมื่อจะตองตรวจสอบดวยสมการ (9.4.3) หนวยแรงอัด f un ≤ 0.85Fcr
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 559

เนื่องจากคานมีหนาตัดแบบคอมแพค ดังนัน้ จึงหาคา Fcr ไดจาก


Fcr φ b M n M n 21,485.70036
= = =
Fy φ b M p M p 24,015
2500 × 21,485.70036
Fcr = = 2,236.695853 ksc > f un = 1780.378789 ksc ใชได
24,015
ดังนั้นเลือกใชคานรูปตัด W 250 × 72.4

ตัวอยางที่ 9.3 จงออกแบบคานเหล็กรูปพรรณชวงเดียวยาว 6 เมตร รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 900 kg/m


ที่กระทําโดยมีระยะเยื้องศูนยกลางแรงเฉือนของหนาตัดเหล็กรูปเทากับ 22.5 cm สมมติวาคานมีค้ํายัน
ทางขางเฉพาะที่จุดรองรับ ใชเหล็กชนิด ASTM A36

วิธีทํา
ตัวอยางนี้เหมือนตัวอยางที่ 9.2 ตางกันที่ระยะเยื้องศูนยมากกวาทําใหแรงบิดมากกวา การออกแบบจึง
ตองพิจารณาผลของแรงบิดที่เพิ่มขึ้นมาก
ขั้นตอนที่ 1 หาน้ําหนักและโมเมนตประลัยสูงสุดที่กระทํา
สมมติใหน้ําหนักของคาน = 140 kg/m
น้ําหนักแผประลัยรวม w u = 1.4 × (900 + 140) = 1456 kg/m
โมเมนตดัดประลัยสูงสุดที่กลางคาน
w u L2 1456 × 6 2
Mu = = = 6552 kg.m
8 8
จากการเยื้องศูนย e = 0.225 เมตร น้ําหนักประลัยที่กระทําเยื้องศูนย w u1L = 1.4 × 900 × 6 = 7560
kg เมื่อคูณกับระยะเยื้องศูนยจะเปนโมเมนตบิด โดยใหปลายทั้งสองขางแบงกันรับปลายละครึ่ง ดังนั้น
โมเมนตบิดประลัยแตละปลายคือ
1
Tu = × 7560 × 0.225 = 850.5 kg.m
2
560 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขั้นตอนที่ 2 เลือกขนาดรูปตัด หาคาโมดูลัสพลาสติกโดยประมาณจากสมการ


⎛T ⎞
M ux + C un M uy + 2C un ⎜ u ⎟
Zx = ⎝ d ⎠
0.9Fy
โดยที่
Zx
C un = ≈ 2 .5 = อัตราสวนโมดูลัสพลาสติกรอบแกน x ตอโมดูลัสพลาสติกรอบแกน y
Zy
cm = 0.35 m = ความลึกคาน
d ≈ 35
Fy = 2500 ksc = กําลังครากของเหล็ก ASTM A36
แทนคา
850.5 × 100
6552 × 100 + 2.5 × 0 + 2 × 2.5 ×
Zx = 35 = 831.2 cm3
0.9 × 2500
เปดตารางเหล็กภาคผนวก ข ทดลองเลือกหนาตัด W350 × 136 มี d = 350 mm, bf = 350 mm, tw = 12
mm, tf = 19 mm, r = 20 mm, A = 173.89 cm2, w = 136 kg/m , Ix = 40,299 cm4, Iy = 13,586 cm4, Sx = 2302.8
cm3, Sy = 776.33 cm3, rx = 15.223 cm, ry = 8.8391 cm, Zx = 2545.4 cm3, Zy = 1178.6 cm3, J = 199.88 cm4,
Zt = 70.605 cm3, Cw = 3.6821 × 106 cm6
สังเกตวาเลือกรูปตัดขนานใหญกวาคาประมาณถึง 3 เทาเศษ
ขั้นตอนที่ 3 หาหนวยแรงตางๆ ที่เกิดขึ้นจากโมเมนตดดั และโมเมนตบดิ
(ก) คาโมเมนตดัดประลัยสูงสุดที่กลางชวง
w u L2 1456 × 6 2
Mu = = = 6552 kg.m = 655,200 kg.cm
8 8
คาโมเมนตบิดประลัยที่ปลายคาน
1
Tu = × 7560 × 0.225 = 850.5 kg.m = 85,050 kg.cm
2
คาแรงเฉือนประลัยที่ปลายคาน
w u L 1456 × 6
Vu = = = 4368 kg
2 2
หนวยแรงดัดที่ปกคาน = M ux = 655,200 = 257.4055158 ksc
Zx 2545.4

หนวยแรงเฉือนในแผนตั้ง = Vu = Vu = 4368 = 104 ksc


A w dt w 35 × 1.2
(ข) เนื่องจากโมเมนตบิดเซนตวนี านต
หนวยแรงเฉือนในปกคาน
Tu t f 85,050 × 1.9
f vST = = = 808.460076 ksc
J 199.88
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 561

หนวยแรงเฉือนในแผนตั้ง
Tu t w 85,050 × 1.2
f vST = = = 510.6063638 ksc
J 199.88
(ค) หนวยแรงเนื่องจากโมเมนตบิดเบี้ยว
โมเมนตบิดทีก่ ระทําสม่ําเสมอตลอดคานคือ
TuAll = 1.4 × 900 × 0.225 = 283.5kg.m/m
ตองแปลงโมเมนตบิดเปนแรงกระทําที่ปกคาน ระยะแขนโมเมนตวดั ที่กึ่งกลางความหนาของ
ปก นั่นคือแขนโมเมนต d1 = 350 − 19 − 19 = 331 mm = 0.331 m
2 2
TuAll 283.5
แรงที่ปก wP = = = 856.4954683 kg/m
d1 0.331
มองปกแตละขางเสมือนคานยาว 6.00 เมตร รับน้ําหนักแผ w P = 856.4954683 kg/m ความ
กวาง 1.9 cm ลึก 35 cm
แรงเฉือนสูงสุดที่ปกคาน
w P L 856.4954683 × 6
Vu ' = = = 2569.486405 kg
2 2
โมเมนตดัดสูงสุดในปกคาน
w P L2 856.4954683 × 62
M 'u = = = 3854.229607 kg.m
8 8
หนวยแรงเฉือนในปกคาน
1.5Vu' 1.5 × 2569.486405
f vWT = = = 57.95833996 ksc
bf t f 35 × 1.9
หนวยแรงดัดสูงสุดในปกคาน
M 'u 4M 'u 4 × 3854.229607 × 100
f nT = = = = 662.3810281 ksc
Z t f bf2 1.9 × 352
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบหนวยแรงตามขอกําหนด
(ก) หนวยแรงตั้งฉากสูงสุดในปกคานที่กึ่งกลางชวงคาน ตามสมการที่ (9.4.1)
Pu M ux M uy
f un = ± ± ± f nT
A Zx Zy
f un = 0 + 257.4055158 + 0 + 662.3810281 = 919.7865439 ksc
ksc > f un = 919.8 ksc ใชได
0.9Fy = 0.9 × 2500 = 2250
(ข) หนวยแรงเฉือนสูงสุดในปกคาน เกิดทีจ่ ุดรองรับ ตามสมการที่ (9.4.2)
Vu
f uv = ± f vST ± f vWT = 0 + 808.460076 + 57.95833996
Aw
f uv = 866.418416 ksc
562 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

0.6(0.9Fy ) = 0.6 × 0.9 × 2500 = 1350


ksc > f uv = 866.418416 ksc ใชได
(ค) หนวยแรงเฉือนสูงสุดในแผนตั้ง เกิดบริเวณจุดรองรับ ตามสมการที่ (9.4.2)
Vu
f uv = ± f vST ± f vWT = 104 + 510.6063638 + 0
Aw
f uv = 614.6063638 ksc
0.6(0.9Fy ) = 0.6 × 0.9 × 2500 = 1350 ksc > f uv = 614.6063638 ksc ใชได
(ง) ตรวจสอบการโกงทางขาง (LTB)
E 2,040,000
L p = 1.76ry = 1.76 × 8.8391 = 444.3915522 cm
Fy 2500

1 + 1 + X 2 (Fy − Fr )
ry X1
Lr =
2

Fy − Fr
π EGJA
X1 =
Sx 2
2
4C w ⎛ S x ⎞
X2 = ⎜ ⎟
I y ⎝ GJ ⎠
โดยที่ Fy = 2500 ksc
Fr = 700 ksc
ry = 8.8391 cm
E = 2,040,000 ksc
ν = 0 .3
E 2,040,000
G= = = 784,615.3846 ksc
2(1 + ν ) 2(1 + 0.3)
I y = 13,586cm4
2
A = 173.89 cm
3
Sx = 2302.8 cm
4
J = 199.88 cm
C w = 3,682,100 cm6
π EGJA π 2,040,000 × 784,615.3846 × 199.88 × 173.89
X1 = =
Sx 2 2302.8 2
X1 = 227,532.8578
2
4 × 3,682,100 ⎛
2
4C w ⎛ Sx ⎞ 2302.8 ⎞
X2 = ⎜ ⎟ = ×⎜ ⎟
I y ⎝ GJ ⎠ 13,586 ⎝ 784,615.3846 × 199.88 ⎠
X 2 = 0.233735178 × 10− 6
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 563

1 + 1 + X 2 (Fy − Fr )
ry X1
Lr =
2

Fy − Fr
8.8391 × 227,532.8578
Lr = 1 + 1 + 0.233735178 × 10− 6 × (2500 − 700)
2

2500 − 700
8.8391 × 227,532.8578
Lr = 1 + 1 + 0.757301978
2500 − 700
8.8391 × 227,532.8578
Lr = 1 + 1.325632671
2500 − 700
8.8391 × 227,532.8578 × 1.525002515
Lr =
2500 − 700
Lr = 1703.924014 cm
โจทยกําหนดวาค้ํายันทางขางมีที่ปลายเทานั้น นั่นคือ L b = 6.00 m = 600 cm อยูระหวาง
L p = 4.443915522 เมตร กับ L r = 17.03924014 เมตร ดังนั้น
⎡ ⎛ L − L p ⎞⎤
M n = C b ⎢M p − (M p − M r )⎜ b ⎟⎥
⎢⎣ ⎜ − ⎟
L
⎝ r L p ⎠⎥⎦
เมื่อ M p = Fy Z x = 2500 × 2545.4 = 6,363,500 kg.cm = 63,635 kg.m
M r = (Fy − Fr )Sx = (2500 − 700) × 2302.8 = 4,145,040 kg.cm = 41,450.4 kg.m
C b = 1 ดูรูปที่ 4.8
⎡ 6.00 − 4.443915522 ⎤
M n = 1 × ⎢63,635 − (63,635 − 41,450.4) ×
⎣ 17.03924014 − 4.443915522 ⎥⎦
kg.m
M n = 60,894.21223
เมื่อจะตองตรวจสอบดวยสมการ (9.4.3) หนวยแรงอัด f un ≤ 0.85Fcr
เนื่องจากคานมีหนาตัดแบบคอมแพค ดังนัน้ จึงหาคา Fcr ไดจาก
Fcr φb M n M n 60,894.21223
= = =
Fy φb M p M p 63,635
2500 × 60,894.21223
Fcr = = 2392.323887 ksc > f un = 919.7865439 ksc ใชได
63,635
ดังนั้นเลือกใชคานรูปตัด W350 × 136
564 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

แบบฝกหัดบทที่ 9
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด
แบบฝกหัดการออกแบบใหใชวิธี AISC/LRFD หรือ AISC/ASD ตามที่ผูสอนกําหนด น้ําหนักบรรทุก
ที่กําหนดใหเปนน้ําหนักบรรทุกใชงาน ทุกขอใหถือวาค้ํายันทางขางของปกรับแรงอัดพอเพียงจนไมตอง
พิจารณาเสถียรภาพการโกงทางขาง

[1][Salmon 8.1] เหล็กรางตามรูป ใหแรง Vx และ Vy แยกกระทําผานจุดเซนทรอยดของหนาตัด จงหาและ


เขียนรูปการกระจาย shear flow τt ของทุกชิ้นสวนของหนาตัด จากนั้นหาแรงเฉือนลัพธของแตละ
กรณี (จาก Vx แยกกันกับ Vy) แลวนําผลไปหาจุดศูนยแรงเฉือน (shear center)
คุณสมบัติหนาตัด จาก Prokon , A = 69.25 cm2, Ix = 7604.7 cm4, Iy = 753.5 cm4, Sx =565.41 cm3, SyL =
224.39 cm3, SyR = 103.69 cm3, xc = 3.358 cm, yc = 13.45 cm, rx = 10.479 cm, ry = 3.2986 cm, Zx = 671.44
cm3, Zy = 187.8 cm3, xpl = 1.5149 cm, ypl = 13.45 cm, J = 59.685 cm4, Zt = 14.704 cm3, Cw = 83,368 cm6

[2][Salmon 8.2] เหล็กรางตามรูป ใหแรง Vx และ Vy แยกกระทําผานจุดเซนทรอยดของหนาตัด จงหาและ


เขียนรูปการกระจาย shear flow τt ของทุกชิ้นสวนของหนาตัด จากนั้นหาแรงเฉือนลัพธของแตละ
กรณี (จาก Vx แยกกันกับ Vy) แลวนําผลไปหาจุดศูนยแรงเฉือน (shear center) ใหเสนอความคิดเห็นวา
หากใชความหนาเฉลี่ยของปกแทนความหนาจริงในการหาจุดศูนยแรงเฉือน แทนการใชความหนา
จริงนั้น คาจะผิดเพี้ยนไปอยางไร
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 565

คุณสมบัติหนาตัดจาก Prokon A = 70.264 cm2, Ix = 8635.8 cm4, Iy = 655.12 cm4, Sx = 602.39 cm3, SyL =
219.59 cm3, SyR =85.731 cm3, Zx =717.72 cm3, Zy = 166.59 cm3, xc = 2.9834 cm, yc = 14.336 cm, rx =
11.086 cm, ry = 3.0535 cm, xpl = 1.2253 cm, ypl = 14.336 cm, J = 63.586 cm4, Zt = 16.004 cm3, Cw = 79.595
cm6

[3][Salmon 8.3] เหล็กรางตามรูป ใหแรง Vx และ Vy แยกกระทําผานจุดเซนทรอยดของหนาตัด จงหาและ


เขียนรูปการกระจาย shear flow τt ของทุกชิ้นสวนของหนาตัด จากนั้นหาแรงเฉือนลัพธของแตละ
กรณี (จาก Vx แยกกันกับ Vy) แลวนําผลไปหาจุดศูนยแรงเฉือน (shear center)
566 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

คุณสมบัติหนาตัดจาก Prokon A = 18 cm2, Ix =647.96 cm4, Iy = 147.37 cm4, Ixy = -121.94 cm4, Iu = 676.08
cm4, Iv = 119.24 cm4, Ir = 765.32 cm4, Angle = 12.988o, SxT = 71.597 cm3, SxB = 98.924 cm3, SyL = 61.911
cm3, SyR = 18.608 cm3, Su = 72.281 cm3, Sv = 18.691 cm3, Zx = 97.567 cm3, Zy = 37.658 cm3, yc = 6.55 cm,
xc = 2.3803 cm, rx = 5.9998 cm, ry = 2.8613 cm, ru = 6.1286 cm, rv = 2.5739 cm, xpl = 0.57695 cm, ypl =
5.3016 cm, J = 2.1627 cm4, Zt = 1.8775 cm3, Cw = 2,600 cm6

[4][Salmon 8.4] เหล็กฉากตามรูป ใหแรง Vx และ Vy แยกกระทําผานจุดเซนทรอยดของหนาตัด จงหาและ


เขียนรูปการกระจาย shear flow τt ของทุกชิ้นสวนของหนาตัด จากนั้นหาแรงเฉือนลัพธของแตละ
กรณี (จาก Vx แยกกันกับ Vy) แลวนําผลไปหาจุดศูนยแรงเฉือน (shear center)
คุณสมบัติหนาตัดจาก Prokon, A = 40.559 cm2, Ix = 1,641.3 cm4, Iy =797.82 cm4, Iu = 2,013.9 cm4, Iv =
425.19 cm4, Ir = 2,439.1 cm4, Angle = 28.966o, SxT = 118.03 cm3, SxB = 269.35 cm3, SyL = 220.84 cm3, SyR =
70.062 cm3, Su = 144.72 cm3, Sv = 58.346 cm3, Zx = 216.05 cm3, Zy = 125.92 cm3, yc = 6.0936 cm, xc =
3.6127 cm, rx = 6.3614 cm, ry = 4.4352 cm, ru = 7.0466 cm, rv = 3.2378 cm, xpl = 1.0172 cm, ypl = 2.9688
cm, J = 20.067 cm4, Zt = 11.471 cm3, Cw = 466.7 cm6

[5][Salmon 8.5] เหล็กตัว Z ตามรูป ใหแรง Vx และ Vy แยกกระทําผานจุดเซนทรอยดของหนาตัด จงหาและ


เขียนรูปการกระจาย shear flow τt ของทุกชิ้นสวนของหนาตัด จากนั้นหาแรงเฉือนลัพธของแตละ
กรณี (จาก Vx แยกกันกับ Vy) แลวนําผลไปหาจุดศูนยแรงเฉือน (shear center)
คุณสมบัติหนาตัดจาก Prokon, A = 31.32 cm2, Ix = 718.25 cm4, Iy = 325.81 cm4, Ixy = -368.83 cm4, Iu =
939.81 cm4, Iv = 104.25 cm4, Ir = 1,044.1 cm4, Angle = 30.993o, SxT = 114.92 cm3, SxB = 114.92 cm3, SyL =
44.028 cm3, SyR = 44.028 cm3, Su = 102.51 cm3, Sv = 27.851 cm3, Zx = 139.08 cm3, Zy = 69.78 cm3, yc =
6.25 cm, xc = 7.4 cm, rx = 4.7888 cm, ry = 3.2253 cm, ru = 5.4778 cm, rv = 1.8244 cm, xpl = 7.4 cm, ypl =
6.25 cm, J = 14.905 cm4, Zt = 3.8091 cm3, Cw = 6,018.8 cm6
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 567

[6][Salmon 8.6] จงหาตําแหนงของศูนยกลางแรงเฉือน (shear center) ของคานรับเครนที่ประกอบจากหนา


ตัด W กับเหล็กราง หากใชจดุ เซนทรอยดเปนศูนยกลางแรงเฉือน คาจะคลาดเคลื่อนไปมากหรือไม ให
ใชคาเฉลี่ยของความหนาของเหล็กราง
คุณสมบัติของหนาตัดจาก Prokon สวนปกใชคาเฉลี่ยความหนาแทนสวนโคงจริง, A = 313.63 cm2, Ix =
269,650 cm4, Iy = 26,245 cm4, Ixy = 0, Iu = 269,650 cm4, Iv = 26,245 cm4, Ir = 295,890 cm4, Angle = 0, SxT =
9,682.7 cm3, SxB = 6,205.7 cm3, SyL = 1,381.3 cm3, SyR = 1,381.3 cm3, Su = 6,205.7 cm3, Sv = 1,381.3 cm3,
Zx = 7,954.2 cm3, Zy = 2,106.9 cm3, yc = 43.452 cm, xc = 19 cm, rx = 29.322 cm, ry = 9.1477 cm, ru =
29.322 cm, rv = 9.1477 cm, xpl = 19 cm, ypl = 62.527 cm, J = 791.1 cm4, Zt = 155.96 cm3, Cw = 20,979,000
cm6
568 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[7][Salmon 8.7] คานเหล็กราง C-380x67.3 ยาว 7.20 เมตร รับน้ําหนักบรรทุกแผใชงาน 1200 kg/m กระทํา
ผานกึ่งกลางความหนาและระนาบของแผนตั้ง ปลายคานยึดไวใหเหล็กรางโกงดัดรอบแกน x ในทาง
ดิ่ง จงหาโมเมนตบิดที่ปลายยึดที่ตองตานทาน My โดยจุดรองรับ และหา Mx ที่กระทําใหเกิดโมเมนต
บิดวาใชไปกี่เปอรเซ็นต
คุณสมบัติของหนาตัดจาก Prokon, A = 31.329 cm2, Ix = 1,946 cm4, Iy = 168.49 cm4, Ixy = 0, Iu = 1,946 cm4,
Iv = 168.49 cm4, Ir = 2,114.5 cm4, Angle = 0, SxT = 194.6 cm3, SxB = 194.6 cm3, SyL = 76.107 cm3, SyR =
29.119 cm3, Su = 194.6 cm3, Sv = 29.119 cm3, Zx = 228.53 cm3, Zy = 56.994 cm3, yc = 10 cm, xc = 2.2138
cm, rx = 7.8814 cm, ry = 2.3191 cm, ru = 7.8814 cm, rv = 2.3191 cm, xpl = 0.90625 cm, ypl = 10 cm, J =
11.091 cm4, Zt = 6.6346 cm, Cw = 10,199 cm6

[8][Salmon 8.8]
(ก) ใหหาคําตอบของสมการดิฟเฟอเรนเชียลรับแรงบิดของหนาตัดรูป W ปลายทั้งสองขางตรึงแนน
และมีแรงแบบจุดกระทําเยือ้ งศูนยกระทําที่กึ่งกลางชวงคาน
(ข) คํานวณหาคาคงที่แรงบิด J และ Cw และ λ (หรือ 1 ) แลวใชในขอ (ค) ถึง (ฉ)
α
(ค) คํานวณหนวยแรงรวมระหวางโมเมนตบิดเบี้ยวกับโมเมนตดัด ที่ตําแหนง z = 0, 0.3L และ 0.5L
(ง) คํานวณหนวยแรงเฉือนสูงสุดในแผนตั้ง โดยรวมหนวยแรงเฉือนแบบเซนตวีนานต และแรง
เฉือนเนื่องจากแรงดัด ที่ตําแหนงเดียวกับขอ (ค)
(จ) ใหคํานวณแรงเฉือนในปกคาน Vf เนื่องจากโมเมนตบิดเบีย้ ว ที่ตําแหนงในขอ (ค)
(ฉ) คํานวณหนวยแรงเฉือนสูงสุดในปกคาน โดยคิดผลของแรงบิดเซนตวนี านต แรงเฉือนบิดเบี้ยว
และแรงเฉือนทางดิ่งจากแรงดัด ที่ตําแหนงเดียวกันกับขอ (ค)
(ช) ใหแสดงผลเปนตารางของหนวยแรงเฉือน
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 569

คุณสมบัติของหนาตัดคานจากโปรแกรม Prokon A = 173.89 cm2, Ix = 40,299 cm4, Iy = 13,586 cm4, Ixy = 0,


Iu = 40,299 cm4, Iv = 13,586 cm4, Ir = 53,884 cm4, Angle = 0, SxT = 2,302.8 cm3, SxB = 2,302.8 cm3, SyL =
776.33 cm3, SyR = 776.33 cm3, Su = 2,302.8 cm3, Sv = 776.33 cm3, Zx = 2,545.4 cm3, Zy = 1,178.6 cm3, yc =
17.5 cm, xc = 17.5 cm, rx = 15.223 cm, ry = 8.8391 cm, ru = 15.223 cm, rv = 8.8391 cm, xpl = 17.5 cm, ypl =
17.5 cm, J = 199.88 cm4, Zt = 70.605 cm3, Cw = 3,682,100 cm6

[9][Salmon 8.9] จงหาคําตอบของสมการดิฟเฟอเรนเชียลของการบิดของคานยืน่ โดยมีแรงกระทําแบบจุด


เยื้องศูนยที่ปลายคานยืน่ คํานวณคาคงที่ตา งๆ ที่บอกไวในขอ 8 (ข) ถึง (จ) สังเกตความสัมพันธ
ระหวางขอนี้กบั ขอ 8

คุณสมบัติหนาตัดจากโปรแกรม Prokon, A = 119.79 cm2, Ix = 20,412 cm4, Iy = 6,754.9 cm4, Ixy = 0, Iu =


20,412 cm4, Iv = 6,754.9 cm4, Ir = 27,167 cm4, Angle = 0, SxT = 1,360.8 cm3, SxB = 1,360.8 cm3, SyL =
450.32 cm3, SyR = 450.32 cm3, Su = 1,360.8 cm3, Sv = 450.32 cm3, Zx = 1,501.3 cm3, Zy = 684.27 cm3, yc =
15 cm, xc = 15 cm, rx = 13.054 cm, ry = 7.5091 cm, ru = 13.054 cm, rv = 7.5091 cm, xpl = 15 cm, ypl = 15
cm, J = 88.303 cm4, Zt = 38.938 cm3, Cw = 1,353,800 cm6
[10][Salmon 8.10] ใหหาคําตอบของสมการดิฟเฟอเรนเชียลของคานที่รับน้ําหนักแผสม่ําเสมอแบบเยื้อง
ศูนยจากแผนตั้ง ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุนไมรบั แรงบิด คํานวณคาคงที่ตางๆ ที่บอกไวในขอ
8 (ข) ถึง (จ) สังเกตความสัมพันธระหวางขอนี้กับขอ 8
570 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

คุณสมบัติของหนาตัดจากโปรแกรม Prokon, A = 157.41 cm2, Ix = 56,078 cm4, Iy = 8,111.4 cm4, Ixy = 0, Iu =


56,078 cm4, Iv = 8,111.4 cm4, Ir = 64,189 cm4, Angle = 0, SxT = 2,549 cm3, SxB = 2,549 cm3, SyL = 540.76
cm3, SyR = 540.76 cm3, Su = 2,549 cm3, Sv = 540.76 cm3, Zx = 2,825.3 cm3, Zy = 827.62 cm3, yc = 22 cm, xc
= 15 cm, rx = 18.875 cm, ry = 7.1785 cm, ru = 18.875 cm, rv = 7.1785 cm, xpl = 15 cm, ypl = 22 cm, J =
162.76 cm4, Zt = 59.607 cm3, Cw = 3,560,400 cm6

[11][Salmon 8.11] ใหทําขอ 10 อีกครั้ง แตเปลี่ยนเปนวาปลายทั้งสองยึดแนนตานทานแรงบิดไวได

[12][Salmon 8.12] ใหทําขอ 8 อีกโดยเปลี่ยนเปนคานเหล็กรางขนาด C − 380 × 67.3 โดยน้ําหนักกระทํา


ในระนาบแกน y ของหนาตัด

[13][Salmon 8.13] ใหเลือกหนาตัด W-350 ที่เบาที่สุด โดยการแปลงแรงบิดเปนแรงทางขางในปกคาน ให


รับน้ําหนักแบบจุด W ที่กงึ่ กลางชวงคาน ใหรวมผลจากน้ําหนักคานดวย ปลายทั้งสองเปนแบบยึด
หมุนทั้งโมเมนตดัดและโมเมนตบิด ใหตรวจสอบคาที่ไดกับคาแมนตรงที่หาไดตามตัวอยาง 8.5.2
ของ Salmon หนา 440 ถึง 443
Case WD, T WL, T Span, m Fy, ksc e, cm
1 2.25 9 6.00 2500 5
2 2.25 9 6.00 2500 7.5
3 2.25 9 6.00 2500 10
4 2.25 9 7.30 2500 5
5 2.25 9 7.30 2500 7.5
6 2.25 9 7.30 2500 10
7 3.15 10 7.30 3500 5
8 3.15 10 7.30 3500 7.5
9 3.15 10 7.30 3500 10
10 4.5 6.8 7.90 3500 5
11 4.5 6.8 7.90 3500 7.5
12 4.5 6.8 7.90 3500 10
13 4.5 6.8 7.90 3500 12.5
14 4.5 6.8 7.90 3500 15
15 4.5 6.8 7.90 3500 17.5
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 571

[14][Salmon 8.14] ใหเลือกหนาตัด W ที่เบาที่สุดโดยใชวิธีแปลงแรงบิดเปนแรงในปกคาน คานรับน้ําหนัก


แผสม่ําเสมอ w, รวมกับน้ําหนักคาน ปลายทั้งสองของคานเปนแบบยึดแนนทั้งโมเมนตดัดและ
โมเมนตบิด ถาคําตอบที่ถูกตองหาจากขอ 11 แลว ใหตรวจสอบหนวยแรงสูงสุด
กรณี wD,T/m wL,T/m Span, m Fy, ksc e,cm
1 0.75 2.20 8.50 2500 17.5
2 0.75 2.20 8.50 2500 12.5
3 0.75 2.20 8.50 2500 7.5
4 0.75 2.20 8.50 2500 5.0
5 0.50 2.00 8.00 3500 17.5
6 0.50 2.00 8.00 3500 12.5
7 0.50 2.00 8.00 3500 7.5
8 0.50 2.00 8.00 3500 5.0

[15][Salmon 8.15] จากแบบฝกหัดขอ 14 ใหเลือกหนาตัด W ที่เบาที่สุดโดยใชวิธีแปลงแรงบิดเปนแรงใน


ปกคาน คานรับน้ําหนักแผสม่ําเสมอ w, รวมกับน้ําหนักคาน ปลายทั้งสองของคานเปนแบบยึดหมุน
ทั้งโมเมนตดัดและโมเมนตบดิ ถาคําตอบที่ถูกตองหาจากขอ 11 แลว ใหตรวจสอบหนวยแรงสูงสุด

[16][Salmon 8.16] จากแบบฝกหัดขอ 14 ใหเปรียบเทียบคําตอบเมื่อใชเหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc,


กับ ASTM A572 Grade 50 มี Fy = 3500 ksc ถาเหล็ก ASTM A572 Grade 50 แพงกวา ASTM A36 ที่
7% ใหหากรณีที่ประหยัดที่สุด ใหปลายเปนแบบยึดหมุนสําหรับโมเมนตดัด แตยึดแนนสําหรับ
โมเมนตบิด

[17][Salmon 8.17] คานยาว 12.00 เมตร รับน้ําหนักแบบสมมาตรสองแรง โดยแบงเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่


20% และน้ําหนักบรรทุกจร 80% ถาน้ําหนักบรรทุกเยื้องศูนยไป 125 mm ปลายทั้งสองขางเปนแบบ
ยึดหมุนสําหรับแรงบิด ใหเลือกหนาตัด W350 ที่เบาที่สุด ใชวิธีแปลงโมเมนตบิดไปเปนแรงในปก
572 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ขอมูลของหนาตัด W350 จากโปรแกรม Prokon,


2 4 4
W346 × 174 × 6 × 9 × 14 mm × 41.4 kg/m , A = 52.69 cm , Ix = 11,096 cm , Iy = 791.55 cm , Ixy
= 0, Iu = 11,096 cm4, Iv = 791.55 cm4, Ir = 11,888 cm4, Angle = 0, SxT = 641.41 cm3, SxB = 641.41 cm3, SyL
= 90.983 cm3, SyR = 90.983 cm3, Su = 641.41 cm3, Sv = 90.983 cm3, Zx = 716.31 cm3, Zy = 140.23 cm3, yc =
17.3 cm, xc = 8.7 cm, rx = 14.512 cm, ry = 3.8759 cm, ru = 14.512 cm, rv = 3.8759 cm, xpl = 8.7 cm, ypl =
17.3 cm, J = 13.504 cm4, Zt = 9.1053 cm3, Cw = 222,770 cm6
2 4 4
W350 × 175 × 7 × 11 × 14 mm × 49.6 kg/m , A = 63.15 cm , Ix = 13,561 cm , Iy = 984.35 cm , Ixy
= 0, Iu = 13,561 cm4, Iv = 984.35 cm4, Ir = 14,545 cm4, Angle = 0, SxT = 774.91 cm3, SxB = 774.91 cm3, SyL
= 112.5 cm3, SyR = 112.5 cm3, Su = 774.91 cm3, Sv = 112.5 cm3, Zx = 868.04 cm3, Zy = 173.58 cm3, yc =
17.5 cm, xc = 8.75 cm, rx = 14.654 cm, ry = 3.9481 cm, ru = 14.654 cm, rv = 3.9481 cm, xpl = 8.758.7 cm, ypl
= 17.5 cm, J = 22.994 cm4, Zt = 13.379 cm3, Cw = 279,660 cm6
2 4 4
W 336 × 249 × 8 × 12 × 20 mm × 69.2 kg/m , A = 88.17 cm , Ix = 18,508 cm , Iy = 3,092 cm , Ixy
= 0, Iu = 18,508 cm4, Iv = 3,092 cm4, Ir = 21,600 cm4, Angle = 0, SxT = 1,101.7 cm3, SxB = 1,101.7 cm3, SyL
= 248.35 cm3, SyR = 248.35 cm3, Su = 1,101.7 cm3, Sv = 248.35 cm3, Zx = 1,215.1 cm3, Zy = 379.92 cm3, yc
= 16.8 cm, xc = 12.45 cm, rx = 14.488 cm, ry = 5.9218 cm, ru = 14.488 cm, rv = 5.9218 cm, xpl = 12.45 cm,
ypl = 16.8 cm, J = 43.714 cm4, Zt = 21.318 cm3, Cw = 800,000 cm6
2 4 4
W 340 × 250 × 9 × 14 × 20 mm × 79.7 kg/m , A = 101.53 cm , Ix = 21,680 cm , Iy = 3,651 cm ,
Ixy = 0, Iu = 21,680 cm4, Iv = 3,651 cm4, Ir = 25,331 cm4, Angle = 0, SxT = 1,275.3 cm3, SxB = 1,275.3 cm3,
SyL = 292.08 cm3, SyR = 292.08 cm3, Su = 1,275.3 cm3, Sv = 292.08 cm3, Zx = 1,412.3 cm3, Zy = 446.92 cm3,
yc = 17 cm, xc = 12.5 cm, rx = 14.613 cm, ry = 5.9967 cm, ru = 14.613 cm, rv = 5.9967 cm, xpl = 12.5 cm, ypl
= 17 cm, J = 66.018 cm4, Zt = 29.585 cm3, Cw = 956,870 cm6
2 4 4
W338 × 351 × 13 × 13 × 20 mm × 106 kg/m , A = 135.27 cm , Ix = 28,194 cm , Iy = 9,379.8 cm ,
Ixy = 0, Iu = 28,194 cm4, Iv = 9,379.8 cm4, Ir = 37,574 cm4, Angle = 0, SxT = 1,668.3 cm3, SxB = 1,668.3 cm3,
SyL = 534.46 cm3, SyR = 534.46 cm3, Su = 1,668.3 cm3, Sv = 534.46 cm3, Zx = 1,851.6 cm3, Zy = 817.78 cm3,
yc = 16.9 cm, xc = 17.55 cm, rx = 14.437 cm, ry = 8.3272 cm, ru = 14.437 cm, rv = 8.3272 cm, xpl = 17.55
cm, ypl = 16.9 cm, J = 90.263 cm4, Zt = 37.412 cm3, Cw = 2,450,400 cm6
2 4 4
W344 × 348 × 10 × 16 × 20 mm × 115 kg/m , A = 146.01 cm , Ix = 33,299 cm , Iy = 11,245 cm ,
Ixy = 0, Iu = 33,299 cm4, Iv = 11,245 cm4, Ir = 44,543 cm4, Angle = 0, SxT = 1,936 cm3, SxB = 1,936 cm3, SyL
= 646.24 cm3, SyR = 646.24 cm3, Su = 1,936 cm3, Sv = 646.24 cm3, Zx = 2,121.9 cm3, Zy = 979.9 cm3, yc =
17.2 cm, xc = 17.4 cm, rx = 15.102 cm, ry = 8.7757 cm, ru = 15.102 cm, rv = 8.7757 cm, xpl = 17.4 cm, ypl =
17.2 cm, J = 121.05 cm4, Zt = 48.315 cm3, Cw = 2,989,800 cm6
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 573

W344 × 354 × 16 × 16 × 20 mm × 131 kg/m , A = 166.65 cm2, Ix = 35,334 cm4, Iy = 11,846 cm4,
Ixy = 0, Iu = 35,334 cm4, Iv = 11,846 cm4, Ir = 47,180 cm4, Angle = 0, SxT = 2,054.3 cm3, SxB = 2,054.3 cm3,
SyL = 669.28 cm3, SyR = 669.28 cm3, Su = 2,054.3 cm3, Sv = 669.28 cm3, Zx = 2,299.4 cm3, Zy = 1,026.8
cm3, yc = 17.2 cm, xc = 17.7 cm, rx = 14.561 cm, ry = 8.4312 cm, ru = 14.561 cm, rv = 8.4312 cm, xpl = 17.7
cm, ypl = 17.2 cm, J = 164.2 cm4, Zt = 60.597 cm3, Cw = 3,140,600 cm6
2 4 4
W350 × 350 × 12 × 19 × 20 mm × 137 kg/m , A = 173.89 cm , Ix = 40,299 cm , Iy = 13,586 cm ,
Ixy = 0, Iu = 40,299 cm4, Iv = 13,586 cm4, Ir = 53,884 cm4, Angle = 0, SxT = 2,302.8 cm3, SxB = 2,302.8 cm3,
SyL = 776.33 cm3, SyR = 776.33 cm3, Su = 2,302.8 cm3, Sv = 776.33 cm3, Zx = 2,545.4 cm3, Zy = 1,178.6
cm3, yc = 17.5 cm, xc = 17.5 cm, rx = 15.223 cm, ry = 8.8391 cm, ru = 15.223 cm, rv = 8.8391 cm, xpl = 17.5
cm, ypl = 17.5 cm, J = 199.88 cm4, Zt = 70.605 cm3, Cw = 3,682,100 cm6
2 4 4
W350 × 357 × 19 × 19 × 20 mm × 156 kg/m , A = 173.89 cm , Ix = 40,299 cm , Iy = 13,586 cm ,
Ixy = 0, Iu = 40,299 cm4, Iv = 13,586 cm4, Ir = 53,884 cm4, Angle = 0, SxT = 2,302.8 cm3, SxB = 2,302.8 cm3,
SyL = 776.33 cm3, SyR = 776.33 cm3, Su = 2,302.8 cm3, Sv = 776.33 cm3, Zx = 2,545.4 cm3, Zy = 1,178.6
cm3, yc = 17.5 cm, xc = 17.5 cm, rx = 15.223 cm, ry = 8.8391 cm, ru = 15.223 cm, rv = 8.8391 cm, xpl = 17.5
cm, ypl = 17.5 cm, J = 199.88 cm4, Zt = 70.605 cm3, Cw = 3,682,100 cm6
2 4 4
W 356 × 352 × 14 × 22 × 20 mm × 159 kg/m , A = 202.01 cm , Ix = 47,593 cm , Iy = 16,004 cm ,
Ixy = 0, Iu = 47,593 cm4, Iv = 16,004 cm4, Ir = 63,597 cm4, Angle = 0, SxT = 2,673.7 cm3, SxB = 2,673.7 cm3,
SyL = 909.32 cm3, SyR = 909.32 cm3, Su = 2,673.7 cm3, Sv = 909.32 cm3, Zx = 2,979.5 cm3, Zy = 1,382.2
cm3, yc = 17.8 cm, xc = 17.6 cm, rx = 15.349 cm, ry = 8.9008 cm, ru = 15.349 cm, rv = 8.9008 cm, xpl = 17.6
cm, ypl = 17.8 cm, J = 307.04 cm4, Zt = 96.846 cm3, Cw = 4,410,000 cm6

[18][Salmon 8.18] คานชวงยาว 9.00 เมตร ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุนสําหรับโมเมนตดัด Mx รับ


น้ําหนักบรรทุกคงที่แบบจุด 4 ตัน และน้ําหนักบรรทุกจรแบบจุด 6 ตัน ที่ตําแหนงแบงสามของคานดัง
รูป โดยเยื้องศูนยออกจากแนวกึ่งกลางแผนตั้ง 150 mm ปลายทั้งสองขางยึดแนนในการรับโมเมนตบิด
ใหเลือกหนาตัด W ที่เบาที่สุดโดยวิธีแปลงโมเมนตบิดเปนแรงคูควบในแผนปก
574 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

[19][Salmon 8.19] คานเหล็กราง C − 380 × 67.3 รับน้ําหนักบรรทุกแผสม่ําเสมอโดยแบงเปนน้ําหนัก


บรรทุกคงที่ 20 % และน้ําหนักบรรทุกจร 80 % ชนิดเหล็ก ASTM A36 มี Fy = 2500 ksc ปลายคาน
หมุนไมไดแตบิดเบี้ยวได ตรวจสอบคาหนวยแรงที่เกิดขึน้ โดยใชคําตอบของสมการดิฟเฟอเรนเชียล

[20][Salmon 8.20] คานชวงเดียวยาว 7.20 เมตร รูปตัดเหล็กราง รับน้ําหนักบรรทุกแผสม่ําเสมอเปนน้ําหนัก


บรรทุกคงที่ 0.3 T/m และน้าํ หนักบรรทุกจร 0.9 T/m คานไมมีค้ํายันทางขาง ตองคิดผลของโมเมนต
บิด ใหถือวาปลายคานไมรับโมเมนตบิด ใหเลือกหนาตัดเหล็กรางที่เหมาะสม ชนิดเหล็ก ASTM A36
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 575

[21][Salmon8.21] ใหใชคาน W ในการรับเครนซึ่งมีแรงกระทําแนวดิ่งตามรูปแสดง การออกแบบใหคิด


แรงอัดตามแนวแกนขนาด 4.5 ตัน และแรงดันทางขางขนาด 1,360 kg กระทําสูงจากผิวปกบนรับ
แรงอัด 108 mm ใหถือวาปลายคานทั้งสองขางไมรับโมเมนตบิด ใหเลือกหนาตัด W-350 ที่เบาที่สุด
(ดูรายการจากขอ 17) ชนิดเหล็ก ASTM A36 ใหใชวิธีแปลงโมเมนตบิดเปนแรงคูควบในปกคาน
น้ําหนักบรรทุกทั้งหมดยกเวนน้ําหนักตัวคานและรางเครนเปนน้ําหนักบรรทุกจร

[22][Salmon 8.22] ใหเปรียบเทียบคาคงที่การบิด J ของหนาตัดกลองสี่เหลี่ยมกลวงกับ W ถาหนวยแรง


เฉือนสูงสุดเทากับ 984 ksc ใหหากําลังรับโมเมนตบิดของแตละหนาตัด และสามารถใชกับหนาตัด
W − 700 × 185

คุณสมบัติหนาตัดจากโปรแกรม Prokon ,
รูป (a) มี A = 280.8 cm2, Ix = 113,600 cm4, Iy = 206,850 cm4, Ixy = 0, Iu = 206,850 cm4, Iv = 113,600
cm4, Ir = 320,460 cm4, Angle = 90o, SxT = 4,713.8 cm3, SxB = 4,713.8 cm3, SyL = 5,810.5 cm3, SyR = 5,810.5
cm3, Su = 5,810.5 cm3, Sv = 4,713.8 cm3, Zx = 5,274.3 cm3, Zy = 6,888.9 cm3, yc = 24.1 cm, xc = 35.6 cm, rx
= 20.114 cm, ry = 27.141 cm, ru = 27.141 cm, rv = 20.114 cm, xpl = 35.6 cm, ypl = 24.1 cm, J = 222,720
cm4, Zt = 3,964.5 cm3, Cw = 2,412,200 cm6
576 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

รูป (b) มี A = 235.52 cm2, Ix = 201,520 cm4, Iy = 10,825 cm4, Ixy = 0, Iu = 201,520 cm4, Iv = 10,825
cm4, Ir = 212,350 cm4, Angle = 0o, SxT = 5,757.7 cm3, SxB = 5,757.7 cm3, SyL = 721.66 cm3, SyR = 721.66
cm3, Su = 5,757.7 cm3, Sv = 721.66 cm3, Zx = 6,465 cm3, Zy = 1,116.2 cm3, yc = 35 cm, xc = 15 cm, rx =
29.251 cm, ry = 6.7795 cm, ru = 29.251 cm, rv = 6.7795 cm, xpl = 15 cm, ypl = 35 cm, J = 383.07 cm4, Zt =
107.1 cm3, Cw = 12,232,000 cm6

[23][Salmon 8.23] จงหาการโกงเดาะบิดของคาน (ก) W − 400 × 66 (ข) W − 150 × 31.5 (ค)


W − 200 × 21.3 แตละกรณีเขียนกราฟความสัมพันธระหวางอัตราสวนความชะลูด rE กับความยาว
อธิบายโดยสรุปผลดวย
คุณสมบัติหนาตัดจากโปรแกรม Prokon ,
(ก) W − 400 × 66 มี A = 84.128 cm2, Ix = 23,708 cm4, Iy = 1,736.4 cm4, Ixy = 0 cm4, Iu = 23,708
cm4, Iv = 1,734.8 cm4, Ir = 25,444 cm4, Angle = 0o, SxT = 1,185.4 cm3, SxB = 1,185.4 cm3, SyL = 173.64 cm3,
SyR = 173.64 cm3, Su = 1,185.4 cm3, Sv = 173.64 cm3, Zx = 1,326.4 cm3, Zy = 267.66 cm3, yc = 20 cm, xc =
10 cm, rx = 16.787 cm, ry = 4.5431 cm, ru = 16.787 cm, rv = 4.5411 cm, xpl = 10 cm, ypl = 20 cm, J = 42.203
cm4, Zt = 21.212 cm3, Cw = 643,230 cm6
(ข) W − 150 × 31.5 มี A = 40.143 cm2, Ix = 1,641.5 cm4, Iy = 563.29 cm4, Ixy = 0 cm4, Iu = 1,641.5
cm4, Iv = 563.29 cm4, Ir = 2,204.8 cm4, Angle = 0o, SxT = 218.87 cm3, SxB = 218.87 cm3, SyL = 75.105 cm3,
SyR = 75.105 cm3, Su = 218.87 cm3, Sv = 75.105 cm3, Zx = 246.1 cm3, Zy = 114.71 cm3, yc = 7.5 cm, xc = 7.5
cm, rx = 6.3946 cm, ry = 3.7459 cm, ru = 6.3946 cm, rv = 3.7459 cm, xpl = 7.5 cm, ypl = 7.5 cm, J = 13.513
cm4, Zt = 8.8696 cm3, Cw = 27,071 cm6
(ค) W − 200 × 21.3 มี A = 27.163 cm2, Ix = 1,844.6 cm4, Iy = 133.92 cm4, Ixy = 0 cm4, Iu = 1,844.6
cm4, Iv = 133.92 cm4, Ir = 1,978.5 cm4, Angle = 0o, SxT = 184.46 cm3, SxB = 184.46 cm3, SyL = 26.783 cm3,
SyR = 26.783 cm3, Su = 184.46 cm3, Sv = 26.783 cm3, Zx = 209.5 cm3, Zy = 41.936 cm3, yc = 10 cm, xc = 5
cm, rx = 8.2407 cm, ry = 2.2204 cm, ru = 8.2407 cm, rv = 2.2204 cm, xpl = 5 cm, ypl = 10 cm, J = 5.7469
cm4, Zt = 4.405 cm3, Cw = 12,084 cm6

[24][Salmon 8.24] ใหประมาณคาน้ําหนักบรรทุกโกงเดาะ สมมติวาไมมีหนวยแรงคงคาง และการโกงเดาะ


แบบอิลาสติกตามสมการของ Euler ความยาวชิน้ สวน 3.00 เมตร ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน ที่
ความยาวเทาใดที่คาโมเมนตบิดโกงเดาะเปนคาควบคุมทีต่ องนํามาพิจารณา
(ก) หนาตัด C − 200 × 24.6
(ข) หนาตัดเหล็กฉาก L − 100 × 100 × 7 mm
(ค) หนาตัดตัวที WT − 175 × 68.5
สวนโครงสรางรับโมเมนตบิด 577

(ง) หนาตัดตัว Z ตามรูปที่แสดง

คุณสมบัติหนาตัดจากโปรแกรม Prokon ,
(ก) หนาตัด C − 200 × 24.6 มี A = 31.329 cm2, Ix = 1,946 cm4, Iy = 168.49 cm4, Ixy = 0 cm4, Iu =
1,946 cm4, Iv = 168.49 cm4, Ir = 2,114.5 cm4, Angle = 0o, SxT = 194.6 cm3, SxB = 194.6 cm3, SyL = 76.107
cm3, SyR = 29.119 cm3, Su = 194.6 cm3, Sv = 29.119 cm3, Zx = 228.53 cm3, Zy = 56.994 cm3, yc = 10 cm, xc
= 2.2138 cm, rx = 7.8814 cm, ry = 2.3191 cm, ru = 7.8814 cm, rv = 2.3191 cm, xpl = 0.90625 cm, ypl = 10
cm, J = 11.091 cm4, Zt = 6.6346 cm3, Cw = 10,199 cm6
(ข) หนาตัดเหล็กฉาก L − 100 × 100 × 7 mm มี A = 13.618 cm2, Ix = 129.24 cm4, Iy = 129.24 cm4,
Ixy = -76.065 cm4, Iu = 205.31 cm4, Iv = 53.176 cm4, Ir = 258.48 cm4, Angle = 45.0o, SxT = 17.73 cm3, SxB =
47.679 cm3, SyL = 47.679 cm3, SyR = 17.73 cm3, Su = 29.035 cm3, Sv = 13.872 cm3, Zx = 32.271 cm3, Zy =
32.271 cm3, yc = 2.7106 cm, xc = 2.7106 cm, rx = 3.0807 cm, ry = 3.0807 cm, ru = 3.8828 cm, rv = 1.9761
cm, xpl = 0.68573 cm, ypl = 0.68573 cm, J = 2.3826 cm4, Zt = 2.2221 cm3, Cw = 16.152 cm6
(ค) หนาตัดตัวที WT − 175 × 68.5 มี A = 86.945 cm2, Ix = 1,518.8 cm4, Iy = 6,792.9 cm4, Ixy = 0
cm4, Iu = 6,792.9 cm4, Iv = 1,518.8 cm4, Ir = 8,311.7 cm4, Angle = 90.0o, SxT = 530.72 cm3, SxB = 103.75
cm3, SyL = 388.17 cm3, SyR = 388.17 cm3, Su = 388.17 cm3, Sv = 103.75 cm3, Zx = 194.81 cm3, Zy = 589.3
cm3, yc = 14.638 cm, xc = 17.5 cm, rx = 4.1795 cm, ry = 8.8391 cm, ru = 8.8391 cm, rv = 4.1795 cm, xpl =
17.5 cm, ypl = 16.258 cm, J = 99.484 cm4, Zt = 35.011 cm3, Cw = 2,231.8 cm6
578 การออกแบบโครงสรางเหล็ก

(ง) หนาตัดตัว Z มี A = 14.64 cm2, Ix = 241.12 cm4, Iy = 168.92 cm4, Ixy = 158.37 cm4, Iu = 367.45
cm4, Iv = 42.585 cm4, Ir = 410.04 cm4, Angle = -38.580o, SxT = 48.223 cm3, SxB = 48.223 cm3, SyL = 22.523
cm3, SyR = 22.523 cm3, Su = 42.798 cm3, Sv = 12.702 cm3, Zx = 55.608 cm3, Zy = 34.596 cm3, yc = 5 cm, xc
= 7.5 cm, rx = 4.0583 cm, ry = 3.3968 cm, ru = 5.0099 cm, rv = 1.7055 cm, xpl = 7.5 cm, ypl = 5 cm, J =
1.7462 cm4, Zt = 0.89538 cm3, Cw = 2,030 cm6
ประวัติผูแตงหนังสือ

ศ.กิตติคุณ ดร.วินิต ชอวิเชียร


กรรมการตรวจสอบและกํากับดูแลกิจการ, กรรมการอิสระ

วุฒิการศึกษา
 Doctor of Philosophy, Purdue University, Indiana (USA)
 Master of Science in Civil Engineering , Purdue (USA)
 ปริญญาตรี วิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

การอบรมจาก IOD
 หลักสูตร Directors Accreditation Program รุนที่ 44/2005 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ
บริษัทไทย

ประสบการณการทํางาน
2556 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบและกํากับดูแลกิจการ/ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน, บมจ. ไพลอน
2558 – ปจจุบัน กรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ 6
2550 – ปจจุบัน อาจารยพิเศษ, คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
2548 – 2556 กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบและกํากับดูแลกิจการ/ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน, บมจ. ไพลอน
2555 – 2558 กรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ 5
2515 – 2550 อาจารยประจํา, คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
2543 – 2549 กรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ 1 และ 2
ประวัติผูขยายความหนังสือ

ผศ.สมศักดิ์ คําปลิว
อาจารยผูอุทิศตนเพื่อการศึกษาในประเทศไทยและผูแตงหนังสือคอนกรีตเสริมเหล็ก

ติดตออาจารย
081-9186332

ประวัติโดยยอ
1. วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วศบ.โยธา จุฬาลงกรณฯ รุน 53 พ.ศ.2512
2. อาจารยประจํา มทร.ตะวันออก อุเทนถวาย 20 ป
3. ผอ.กองพัสดุและออกแบบ มทร.เทเวศน 3 ป
4. อาจารยประจํา มทร.ธัญบุรี 7 ป
5. อาจารยพิเศษและวิทยากรที่ TumCivil.com

You might also like