You are on page 1of 23

ไ ข ข  อ ข  อ ง ใจ

วั ค ซี น โรคโควิ ด -19
เ ล ื อ ก ช นิ ด ใ ด ด ี ?

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
การวิ จั ย พั ฒ นา วั ค ซี น ป อ งกั น โรคโควิ ด -19

Pre-clinic 215
ชนิด
Phase II
45
ชนิด
Phase I

15 Phase III
ชนิด
6 Approval
ชนิด

CanSinoBIO BioNTech Sinovac


Pfizer Moderna Sinopharm :
Johnson & Johnson BBIBP - CorV
Gamaleya :
Sanofi Oxford / Astrazeneca Sputnik V

ทั่วโลกมีการพัฒนาวัคซีนโควิด-19 ในระยะพรีคลินิกหรือกอนทดสอบในมนุษย
จํานวนกวา 215 ชนิดและมีจํานวน 59 ชนิด ที่ ไดถูกทดสอบในมนุษย โดยแบงเปน
ความปลอดภัย (Phase I) การกระตุŒนภูมิคุŒมกัน (Phase II) จํานวน 45 ชนิด
การทดสอบประสิทธิภาพ (Phase III หรือ Efficacy clinical trial) จํานวน 15 ชนิด
ปจจุบันมีวัคซีนปองกันโรคโควิด-19 จํานวน 6 ชนิด ที่ทดสอบประสิทธิภาพเสร็จแลŒว

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
ความรู Œ เ บื้ อ งตŒ น วั ค ซี น มี กี่ ป ระเภท?
วัคซีนกลุมที่มีสารพันธุกรรม (DNA หรือ RNA) ของไวรัส โดยการผานกระบวนการ เขาไปในเซลล
1 ของผู ไดรับวัคซีน เพื่อถอดหรือแปลรหัสเปนโปรตีนของไวรัสทําให ไดโปรตีนที่เหมือนกับการติดเชื้อ
ไวรัสตามธรรมชาติ มี 3 ชนิด ไดแก

1.1 วัคซีนตัวเปนออนฤทธิ์ 1.2 วัคซีนรหัสพันธุกรรม


(Live attenuated virus vaccine) (DNA or RNA Vaccine)

1.3.1
Recombinant bacterial vector

1.3.2
1.3 วัคซีนไวรัสพาหะ Recombinant adenovirus vector
(Recombinant virus vector)

2 วัคซีนกลุมที่ ไมตองการพาหะเพราะผลิตโดยการสกัดเชื้อไวรัสที่ตายแลวหรือเปนโปรตีนของไวรัส
ในรูปแบบตางๆ เพื่อมาฉีดเขารางกายโดยตรงไมตองผานกระบวนการในเซลลของผู ไดรับวัคซีน

2.1 วัคซีนโปรตีน 2.2 วัคซีนอนุภาคไวรัสเหมือน 2.3 วัคซีนเปปไทด


(Recombinant (Virus like particle vaccine) (Synthetic peptides
subunits protein vaccine)
vaccine)

2.4 วัคซีนตัวตายเต็มตัว 2.5 วัคซีนตัวตายบางสวน


(Whole inactivated vaccine) (Split Inactivated vaccine)

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
ทํ า ความรู Œ จั ก เชื้ อ ไวรั ส โควิ ด -19
SARS-CoV-2
Spike (S)

Receptor

1 2
โครงสรางของเชื้อไวรัสโดยทั่วไปจะมีเพียงแค Genetic material ที่หอหุมดวยโปรตีน
สวนเปลือก โดยโปรตีนสวนปลือกของเชื้อไวรัสโควิด-19 (SARS-CoV-2) หรือ
Spike ซึ่งเปนสวนสําคัญของเชื้อไวรัสโควิด-19 เพราะเชื้อไวรัสจะใช Spike
ผนึกตัวเองเขากับสวนนอกผนังเซลลของมนุษย เพื่อแทรกแซงเขาไปในเซลล

3 4
เมื่อ Spike กับเซลลสวนนอกผนึกเขาดวยกันแลวเชื้อไวรัสจะแอบแทรกแซงเขาไปใน
เซลลและแพรจํานวน จนทําใหเราปวยในที่สุด ดังนั้นการศึกษารูปรางของ Spike จึง
เปนสิ่งที่จําเปนมากที่สุดในการเริ่มตนผลิตวัคซีน การวิจัยพัฒนาวัคซีนจึงเริ่มจาก
การศึกษารูปรางและโครงสรางรหัสพันธุกรรมของ Spike เพื่อทําการเลียนแบบ
และนํามาสกัดเปนวัคซีน

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
การผลิ ต วั ค ซี น mRNA เพื่ อ ป‡ อ งกั น เชื้ อ ไวรั ส โควิ ด -19
Membrane (M)

SARS-CoV-2 Envelope (E)


เชื้อไวรัส SARS-CoV-2 เปนเชื้อไวรัสในตระกูลไวรัสโคโรนา เชนเดียวกับเชื้อไวรัส
ที่กอใหเกิดโรค SARS ที่ระบาดในป 2002 และ MERS ที่ระบาดในป 2012 องคความรู
จากการวิจัยในอดีต สามารถทําใหผลิตวัคซีนโควิด -19 ไดอยางรวดเร็ว
Spike (S) Spike (S)
mRNA
ถอดรหัสพันธุกรรม
ตัดโปรตีนสวนเปลือกของเชื้อไวรัสโควิด-19 หรือ Spike มาวิเคราะห
รหัสยีนใน RNA และ DNA เมื่อไดรหัสพันธุกรรมของ Spike มาแลว
ตองนําไปฝากไว ในเชื้อไวรัสพาหะ เพื่อทําหนาที่สงรหัสพันธุกรรม
เขาไปในรางกายของมนุษย ซึ่งผูผลิตวัคซีนไดทําการวิจัยคนพบ
RNA ไวรัสชนิดตางๆ ที่สามารถนํามาใชเปนพาหะได
ไวรัสพาหะ (ที่ใช ในแพลทฟอรมวัคซีนที่ใช ไวรัสที่ ไมเพิ่มจํานวนเปนพาหะ
: Non-replicating viral vector vaccines)

Lipid Chimpanzee Adenovirus Adenovirus


Nanoparticle Adenovirus Vector 1 AD 26 Vector 2 AD 5
Nanopa
d 1 2
rticle
Lipi

Lipid nanoparticles ใช Chimpanzee Adenovirus วัคซีนเข็มแรก (Prime) : วัคซีนกระตุŒน (boost) :


(ชั้นไขมันของเซลล) เปนเปลือกหุม (เชื้อไวรัสในลิงชิมแพนซี) recombinant adenovirus type recombinant adenovirus type
mRNA ของยีน Spike (S) เปนพาหะของยีน Spike (S) 26 เปนพาหะของยีน Spike (S) 5 เปนพาหะยีน Spike (S)

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
เทคโนโลยี ของวั ค ซี น แต‹ ล ะชนิ ด
Recombinant Adenovirus vector
Lipid nanoparticles เชื้อไวรัสที่ ไมเพิ่มจํานวน
(ชั้นไขมันของเซลล) เปนเปลือกหุม เปนพาหะของยีน Spike (S)
mRNA ของยีน Spike (S)

Lipid Nanoparticle Adenovirus Adenovirus


anopa Chimpanzee Adenovirus Vector 1 AD 26 Vector 2 AD 5
d N
rticle
Lipi

1 2

BioNTech Pfizer
Moderna/mRNA-1273 Oxford / Astrazeneca Gamaleya : Sputnik V
วั ค ซี น ที่ ไ ม‹ ไ ดŒ ใ ชŒ วิ ธี ก ารผลิ ต แบบ mRNA แต‹ ใ ชŒ วิ ธี ก ารผลิ ต แบบเก‹ า

Sinopharm : BBIBP-CorV
Sinovac CoronaVac
Inactivated เปนวัคซีนชนิดเดียวที่ผลิตโดยใชวิธีผลิตวัคซีนแบบเกา
virus โดยใชวิธีการสกัดวัคซีนตัวตายมาผลิตเปนวัคซีน Sinopharm
มีประสิทธิภาพ 86% Sinovac CoronaVac มีประสิทธิภาพ 78%

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
การสั่ ง จอง วั ค ซี น ในแต‹ ล ะชนิ ด
ลานโดส
>3,000
3,000
2,500
2,000
1,500
>1,000
1,000
>500
500 300 300 300
300
100
0
Moderna Johnson & Johnson Novavax
/ Janssen
Gamaleya : BioNTech Oxford
Sputnik V / Pfizer / Astrazeneca

ประเทศที่ ไดจองซื้อวัคซีนโควิด-19 ชนิดตางๆ ตั้งแตเมื่อเริ่มวิจัยพัฒนา


เปนประเทศที่ใหทุนวิจัยพัฒนาวัคซีน จึงเปนประเทศแรกๆ ที่จะไดรับวัคซีนจาก
บริษัทผูผลิต เชน สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สหภาพยุโรป แคนาดา
ญี่ปุน ออสเตรเลีย เม็กซิโก สิงคโปร เปนตน

2021
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
จํ า นวนวั ค ซี น ที่ ผ ลิ ต กั บ จํ า นวนประชากรโลก ?
วัคซีนผลิตไดŒ 7.48 พันลŒานโดส / ป‚

ประชากรโลก 7.4 พันลŒานคน (โดยประมาณ)

วัคซีนโรคโควิด-19 ตŒองใชŒจํานวน 2 โดส / คน

ประชากรที่จะไดŒรับวัคซีน 3.76 พันลŒานคน / ป‚

ยอดสั่งจองวัคซีน 3.85 พันลŒานโดส


หรือ 50% ของวัคซีนที่ผลิตไดŒต‹อไป
จะตŒองฉีดใหŒประชากร
ที่มาจากประเทศที่มีรายไดŒสูง
1
ประชากร พันลŒานคน จากประเทศที่มีรายไดŒสูง
คิดเปšน 13.7% ของประชากรโลก

ประเทศที่มีรายไดสูง (รวมสหภาพยุโรป) มีประชากรรวม 13.7% ของประชากรโลก


ไดจองวัคซีนไปแลว 3.85 พันลŒานโดส หรือครึ่งหนึ่งของจํานวนวัคซีนที่ผลิตไดตอป
จึงเปนปญหาในการเขาถึงวัคซีนโควิด-19 ของประเทศที่มีรายไดตํ่า

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
จํ า นวนวั ค ซี น ที่ แ ต‹ ล ะประเทศไดŒ รั บ และประเทศที่ ไ ดŒ รั บ ความช‹ ว ยเหลื อ จาก COVAX
การเขŒ า ถึ ง วั ค ซี น
$ $
ของแต‹ ล ะประเทศ
$
$ $ $
$ $ $ $
$ $ $
$ $ $
$ $$
$
$
สํ า หรั บ ประเทศไทยที่ เ ป น
$
$ $ $ $

$ $ $ $$ $ $
$
$
ประเทศที่ มี
$
แคนาดา $ $ $ $
$
$
$
$ $ รายไดŒ ป านกลางระดั บ สู ง
0.48% $
$ $ $
5.4 %
สหรั ฐ อเมริ ก า
สหภาพยุ โ รป
13.7%
อิ น เดี ย
17.7% ออสเตรเลี ย
ไม‹ ไ ดŒ รั บ โอกาส
4.25% 50 % 21 % 0.33 % ได วั ค ซี น ฟรี จ าก
26 % 1.75 % องค ก ารอนามั ย โลก
เปอร เ ซ็ น ต จํ า นวนประชากรต อ
ประชากรโลก องคการอนามัยโลกผานทาง COVAX หรือ WHO’s Access to COVID-19 Tools (ACT)
Accelerator มุงหมายใหเกิดการกระจายวัคซีนไปใหประชากรทั่วโลกอยางทั่วถึง โดยจะชวย
เปอร เ ซ็ น ต ข องวั ค ซี น ที่ ถู ก สั่ ง จอง สนับสนุนคาวัคซีนใหกับประเทศที่มีรายไดตํ่าและรายไดปานกลางระดับตํ่าจํานวน 92 ประเทศ
$ ประเทศรายได ตํ่ า ที่ ไ ด รั บ เงิ น สวนประเทศที่เหลือซึ่งมีรายไดปานกลางระดับสูงและรายไดสูงจะไม ไดรับการสนับสนุนคาวัคซีน
ช ว ยเหลื อ จากCOVAX

จํ า นวนวั ค ซี น ที่ แ ต‹ ล ะประเทศไดŒ รั บ เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ รายไดŒ

ประเทศที่ มี ร ายไดŒ สู ง 4.19


พั น ล า นโดส

ประเทศที่ มี ร ายไดŒ ป านกลางระดั บ สู ง 1.24


พั น ล า นโดส

ประเทศที่ มี ร ายไดŒ ป านกลางระดั บ ตํ่ า 4.95


ร อ ยล า นโดส

ประเทศที่ มี รายไดŒ ตํ่ า 1.07


พั น ล า นโดส
ไดŒ รั บ ความช‹ ว ยเหลื อ จาก COVAX
ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา
คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
ความช‹ ว ยเหลื อ จาก COVAX และ WHO
2021 2 พั น ล า นโดส

เปาหมายของ COVAX ตองการใหมีการกระจาย


วัคซีนจํานวน 2 พันลŒานโดส ให ไดภายใน ค.ศ.
2021 แตยังขาดเงินสนับสนุนอยูจํานวนมาก

ทาง COVAX ไดรับเงินสนับสนุนจาก


มูลนิธิ Bill and Melinda Gates เพื่อซื้อ
วัคซีนโควิด-19 จาก Oxford/Astrazeneca
300 ลานโดส และจะซื้อวัคซีนของ
Oxford/Astrazeneca หรือ Novavax
เพิ่มอีก 200 ลานโดสในราคาโดสละ 3 USD

นอกจากนี้ Serum Institute ของอินเดีย ไดทําสัญญาที่จะผลิตวัคซีนโควิด-19 ของ


Oxford/Astrazeneca และ Novavax อยางละ 1 พันลŒานโดส เพื่อขายใหประเทศ
ที่มีรายไดตํ่าและรายไดปานกลางระดับตํ่าในราคาโดสละ 3-6 USD
ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา
คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
ประเทศไทยกั บ การผลิ ต วั ค ซี น โควิ ด -19

Siam Bioscience
บริ ษั ท สยามไบโอไซน

รัฐบาลโดยศูนยวัคซีนแหงชาติและ ศู น ย วั ค ซี น แห ง ชาติ


บริษัทสยามไบโอไซน ไดทําสัญญากับทาง (กระทรวงสาธารณสุ ข )
Oxford/Astrazeneca ที่จะผลิต
วัคซีนโควิด-19 ซึ่งไดรับการถายทอด
เทคโนโลยี ขึ้นทะเบียนและพรอมใชกลาง
ค.ศ. 2021 จํานวน 26 ลŒานโดส
และจะผลิตขายในแถบทวีปเอเชีย รั ฐ บาลไทย

องค ก ารเภสั ช กรรม


(กระทรวงสาธารณสุ ข )

รั ฐ บาลไทย
นอกจากนี้รัฐบาลไดสนับสนุนงบประมาณซื้อวัคซีนโควิด-19 จาก Sinovac
ประเทศจีน โดยองคการเภสัชกรรมเปนผูซื้อและเปนตัวแทนจําหนาย จํานวน
2 ลŒานโดส ล็อตแรกจะมาถึงประเทศไทย ปลายเดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 2021

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
วั ค ซี น โควิ ด -19 กั บ เชื้ อ SARS-CoV-2 ที่ ก ลายพั น ธุ 
S1 S2
เชื้อไวรัส aa 1-684 aa-685 aa 686-1273
SARS-CoV-2 Antibody
Subunit aa 319-514 aa 788-806
S1
NTD RBD FP HR1 HR2 T.A. I.T.
Subunit
S2 กรดอะมิโน รหัสพันธุกรรมของโปรตีน S
Spike

ยีน Spike (S) ของเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 เมื่อถูกแปลรหัสเปนโปรตีน Spike (S) ซึ่งประกอบดวยกรดอะมิโน (amino acid; aa) จํานวน
1273 aa แบงเปนสวน signal peptide (aa 1-13), S1 (aa 14-685) และ S2 (aa 686-1273) ตําแหนงที่ทําหนาที่ในการจับตัวรับบนผิว
เซลล (Receptor-binding domain; RBD) คือ aa 319-514 และตําแหนงที่เปน fusion peptide คือ aa 788-806 ตามลําดับ ดังนั้น
รูปรางของโปรตีนจึงมีสวนสําคัญในการกระตุนภูมิคุมกันชนิดแอนติบอดีที่จําเพาะตอเชื้อไวรัส

สวนที่มีการกลายพันธุ
เชื้อไวรัสที่กลายพันธุ S1 S2
SARS-CoV-2 aa 1-684 aa 686-1273
VUI 202012/01 Antibody aa-685
Subunit aa 319-514 aa 788-806
S1
Subunit
NTD RBD FP HR1 HR2 T.A. I.T.
S2
กรดอะมิโน รหัสพันธุกรรมของโปรตีน S ที่กลายพันธุ
Spike

เชื้อที่กลายพันธุท่ีในสหราชอาณาจักรนั้น พบวาเชื้อแพรและติดตอไดงายกวาสายพันธุเดิมถึง 40-70% เรียกสายพันธุที่กลายพันธุนี้วา


SARS-CoV-2 VUI 202012/01 (Variant Under Investigation, year 2020, month 12, variant 01) ซึ่งมีการกลายพันธุของโปรตีน
Spike (S) ไป 9 ตําแหนงของกรดอะมิโนจาก 1,237 กรดอะมิโน (0.7%)

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
วั ค ซี น โควิ ด -19 กั บ เชื้ อ ไวรั ส ที่ ก ลายพั น ธุ 
เชื้อไวรัสที่กลายพันธุ เชื้อไวรัสที่กลายพันธุ
SARS-CoV-2 VUI จนรูปร‹างของ Spike
202012/01 Antibody เปลี่ยนไป Antibody
สามารถจับ ไมสามารถ
Spike ได จับ Spike ได

Spike
Spike

การกลายพั น ธุ  ใ นแต ล ะตํ า แหน ง ของ DNA ไม‹ มี ผ ล ทํ า ให รู ป ร า งของ


เชื้ อ ไวรั ส เปลี่ ย นไปมากนั ก โดยเฉพาะในส ว นของยี น Spike (S) ที่ เ ป น ส ว นที่
ภู มิ คุ  ม กั น ของร า งกายจะสามารถจํ า แนกออกได ทํ า ให เ มื่ อ ฉี ด วั ค ซี น เข า สู  ร  า งกาย
แอนติ บ อดี ที่ ถู ก สร า งขึ้ น จากวั ค ซี น จะยั ง คงประสิ ท ธิ ภ าพในการจั ด การ
เชื้ อ ไวรั ส ที่ ก ลายพั น ธุ  เ หล า นี้ ไ ด เ ช น เดิ ม

Bio Technology

ถึ ง แม ใ นอนาคตเชื้ อ ไวรั ส จะมี ก ารกลายพั น ธุ  ม ากจนวั ค ซี น ไม ส ามารถป อ งกั น ได
แต แ พลทฟอร ม ของวั ค ซี น ที่ เ ป น mRNA, non-replicating viral vector,
recombinant protein เหล า นี้ จะถู ก ปรั บ แก ไ ขด ว ยวิ ธี อ ณู พั น ธุ วิ ศ วกรรมได
อย า งรวดเร็ ว องค ก ารอนามั ย โลกจึ ง ได ใ ห ค วามสํ า คั ญ ในการติ ด ตามถอดรหั ส
พั น ธุ ก รรมของเชื้ อ SARS-CoV-2 อย า งต อ เนื่ อ ง

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
บทสรุ ป วว‹า ป˜ จ จั ย ของการเลื อ กวั ค ซี น โควิ ด -19

$
เลื อ กวั ค ซี น ชนิ ด ใดดี ? ความ ประสิ ท ธิ ภ าพ ภู มิ คุ Œ ม กั น การสั่ ง ซื้ อ ราคา ความสามารถ
ปลอดภั ย ของวั ค ซี น ล‹ ว งหนŒ า ในการผลิ ต

Platform เก า Platform ใหม


วั ค ซี น แบบเดิ ม ค อ นข า งมี ผู  เ ชี่ ย วชาญที่ ทํ า งานด า น Biotechnology
ความเสถี ย รและมี ค วามน า เชื่ อ ถื อ มั ก จะแนะนํ า วั ค ซี น เทคโนโลยี mRNA
ผู  เ ชี่ ย วชาญสายอนุ รั ก ษ นิ ย ม ซึ่ ง เป น วิ ธี ก ารใหม เ พราะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
หลายรายจึ ง แนะนํ า วั ค ซี น คล า ยกั บ วั ค ซี น เชื้ อ อ อ นฤทธิ์
แพลทฟอร ม แบบเดิ ม เช น Novavax, Na
n op a r t i c l e
มี ร าคาถู ก กว า และสามารถผลิ ต ได ร วดเร็ ว

Li pi d
Sinopharm, Sinovac แต ด  ว ยความที่ ยั ง เป น เทคโนโลยี ใ หม ทํ า ให
ผู  เ ชี่ ย วชาญในฝ า ยอนุ รั ก ษ นิ ย มหลายราย
ยั ง ไม ไ ว ใ จในความปลอดภั ย ของเทคโลโลยี นี้

2021 2022
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

แต ใ นความเป น จริ ง ... เพราะ ความล‹ า ชŒ า ในการสั่ ง จองวั ค ซี น ของ


ประเทศไทย ทํ า ให ป ระเทศไทยต อ งต อ คิ ว จากประเทศ
เราไม‹ มี โ อกาสในการเลื อ ก อื่ น ๆ ที่ จ องคิ ว ไว ล  ว งหน า คาดการณ ว  า ประชากร
ทั่ ว โลกจะได รั บ วั ค ซี น โควิ ด -19 ครบทั่ ว ถึ ง น า จะเป น
ชนิ ด ของวั ค ซี น โควิ ด -19 ปลาย ค.ศ. 2022

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
การแกŒ ป ˜ ญ หาระยะยาว
การแกŒ ไ ขป˜ ญ หาระยะสั้ น ต อ งทํ า การ สั่ ง ซื้ อ ล‹ ว งหนŒ า
ไม ว  า จะโดยทางภาครั ฐ หรื อ เอกชน ไม ว  า จะจาก Pfizer/BioNTech หรื อ Moderna ซึ่ ง อาจแบ ง
มาได เ ล็ ก น อ ย เช น มาเลเซี ย ได ม าหนึ่ ง ล า นโดส ในเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ หรื อ การจองสั่ ง ซื้ อ จาก
Novavax, Johnson & Johnson, Sinopharm, Sinovac, CanSino เพื่ อ มาเสริ ม การป อ งกั น
โรคโควิ ด -19 ในระยะยาว โดยอาจพิ จ ารณาการทํ า สั ญ ญาเพื่ อ ผลิ ต วั ค ซี น ที่ ผ  า นการทดสอบ
ประสิ ท ธิ ภ าพที่ ใ ช แ พลทฟอร ม ที่ ป ระเทศไทยสามารถผลิ ต ได เช น Novavax ที่ ใ ช แ พลทฟอร ม
Recombinant Protein หรื อ Sinopharm ที่ เ ป น วั ค ซี น ตั ว ตาย
จํ า นวนวั ค ซี น ที่ ผ ลิ ต ได ต  อ ป
ลานโดส
3,000
3,000
2,500
2,000
2,000
1,500 1,300
1,000
1,000 1,100 500
500 300 300
200 100-200
100
0

x
c

BIO
ik V

so

ac
a

Va
A

vav
ec
er

reV
hn
RN

na

ino
utn
fiz

en

No
Jo
ro
:m

Cu
h/P

arm

ns
aZ

Sp

Co

n&
Ca
str
rna
ec

a:
ph

vac

so
d:A
NT

ley
de

hn
Sin

o
Bio

Mo

for

ma

Sin

Jo
Ox

Ga

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
$ ราคา วั ค ซี น โควิ ด -19 แต‹ ล ะชนิ ด $

ดอลลารสหรัฐ
$
40 32-37$

35
30$
30

25
20$ 20$
20

15

10

5 3-4$

0
er

ik V
a
fiz

RN

c
ne
h/P

utn
:m

Ze
ec

Sp
tra

rm
rna
NT

a:
ha
As
de
Bio

ley
op
Mo

d:

Sin

ma
for

Ga
Ox

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
เปรียบเทียบขŒอมูล วั ค ซี น ป
ป‡ อ งกั น เชื้ อ ไวรั ส โควิ ด -19 แต‹ละชนิดแตกต‹างกันอย‹างไร
Vaccine Company Vaccine Platform Logistic and Preservation Injection
บริ ษั ท ผู  ผ ลิ ต วิ ธี ก ารผลิ ต การขนส ง และการเก็ บ รั ก ษา การฉี ด ยา
ละลายที่อุณหภูมิหอง

Lipid Nanoparticle 1vial = 5 วัคซีน 1 vial


มี 5 doses (0.3 ml) ละลาย
5 2
ชั่ ว โมง
ในตูเย็น ชั่ ว โมง
Nanopa ชั้นไขมันของเซลล
d
BioNTech/

rticle
Pfizer BNT162b2 Lipi เปนเปลือกหุม mRNA -94ºF เก็บในตูแชแข็งหรือ Dry ice box
ของยีนสวนเปลือก
Spike (S)
-70ºC
-94ºF หรือ -70ºC #1 3
สั ป ดาห #2
1vial 1vial 1vial
ที่มีเซ็นเซอรสําหรับ GPS และอุณหภูมิ
(บริษัทกําลังพัฒนาเปนแบบ เจือจางดวยนํ้าเกลือ วัคซีนที่ละลายและ
freeze-dried เพื่อจะได ไมตองแชแข็ง) เจือจางแลวตองฉีดภายใน 6 ชั่วโมง
ตูแชแข็ง นํ้าแข็งแหง ฉีดเขากลาม 2 เข็ม หางกัน 3 สัปดาห

Lipid Nanoparticle
เก็บไดนาน
4
1vial 1vial 1vial
Nanopa ชั้นไขมันของเซลล เก็บในตูแชแข็งหรือ
Moderna mRNA-1273 d
Dry ice box -20ºc 30 วั น #1 #2
rticle
Lipi

เปนเปลือกหุม mRNA ในตูเย็น สั ป ดาห


ของยีนสวนเปลือก นํ้าแข็งแหง ได น าน 6 เดื อ น ฉีดเขากลาม 2 เข็ม หางกัน 4 สัปดาห
ตูแชแข็ง
Spike (S)

Chimpanzee Adenovirus
Oxford/AstraZeneca
AZD1222 ใชเชื้อไวรัสในลิงชิมแพนซี
เก็บในตูเย็น
2º C - 8º C #1 4
สั ป ดาห #2
เปนพาหะของยีน ฉีดเขากลาม 2 เข็ม หางกัน 4 สัปดาห
Spike (S)

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
เปรียบเทียบขŒอมูล วั ค ซี น ป
ป‡ อ งกั น เชื้ อ ไวรั ส โควิ ด -19 แต‹ละชนิดแตกต‹างกันอย‹างไร
Vaccine Company Phase III Efficacy Clinical Trial Clinical trial
บริ ษั ท ผู  ผ ลิ ต การทดสอบความปลอดภั ย และการทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพ การอนุ มั ติ ใ ช ใ นคน

BioNTech/ อาสาสมั ค ร 43,998 คน ประสิทธิภาพ สหราช


อาณาจักร
สหภาพยุโรป อิสราเอล สหรัฐอเมริกา
Pfizer BNT162b2 จากสหรัฐอเมริกา, เยอรมนี, อารเจนตินา, บราซิล, แอฟริกาใต, ตุรกี 95%
*GCP
เม็กซิโก บราซิล ซาอุดิอาระเบีย แคนาดา

Moderna mRNA-1273 อาสาสมั ค ร 33,000 คน ประสิทธิภาพ


จากสหรัฐอเมริกา 94.1%
*GCP สหราชอาณาจักร แคนาดา

Oxford/AstraZeneca
AZD1222 อาสาสมั ค ร 64,000 คน ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ ยังไมมีการอนุมัติใช
จากสหราชอาณาจักร, บราซิล, แอฟริกาใต 62% 90%
*GCP
ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา *Good Clinical Practice
คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021 (การปฏิ บั ต การวิ จั ย ทางคลิ ก นิ ก ที่ ดี )
เปรียบเทียบขŒอมูล วั ค ซี น ป
ป‡ อ งกั น เชื้ อ ไวรั ส โควิ ด -19 แต‹ละชนิดแตกต‹างกันอย‹างไร
Vaccine Company Vaccine Platform Logistic and Preservation Injection
บริ ษั ท ผู  ผ ลิ ต วิ ธี ก ารผลิ ต การขนส ง และการเก็ บ รั ก ษา การฉี ด ยา

Inactivated vaccine
เก็บในตูเย็น
วิธีการผลิตวัคซีนแบบเกา
โดยการสกัดเชื้อไวรัส 2º C - 8º C #1 4
สั ป ดาห #2
SARS-CoV-2ที่ตายแลว
BIBP BBIBP-CarV: มาผลิตเปนวัคซีน
ฉีดเขากลาม 2 เข็ม หางกัน 4 สัปดาห
Beijing Institute of
Biological Products,
Sinopharm

Adenovirus Adenovirus 2ºC - 8ºC -18 º C


Vector 1 AD 26 Vector 2 AD 5
Gamaleya : Sputnik V
1 2
#1 3
สั ป ดาห #2
Lyophilized ฉีดเขากลาม 2 เข็ม หางกัน 3 สัปดาห
วัคซีนเข็มแรก (Prime) : re- วัคซีนกระตุŒน (boost) Frozen
combinant adenovirus : recombinant adeno- formulation formulation
type 26 เปนพาหะของยีน virus type 5 เก็บในตูเย็น
Spike (S) เปนพาหะยีน Spike (S) 2º C - 8º C

Inactivated vaccine เก็บในตูเย็น


Sinovac CoronaVac วิธีการผลิตวัคซีนแบบเกา
โดยการสกัดเชื้อไวรัส
2º C - 8º C #1 3
สั ป ดาห #2
SARS-CoV-2ที่ตายแลว ฉีดเขากลาม 2 เข็ม หางกัน 3 สัปดาห
มาผลิตเปนวัคซีน

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
เปรียบเทียบขŒอมูล วั ค ซี น ป
ป‡ อ งกั น เชื้ อ ไวรั ส โควิ ด -19 แต‹ละชนิดแตกต‹างกันอย‹างไร
Vaccine Company Phase III Efficacy Clinical Trial Clinical trial
บริ ษั ท ผู  ผ ลิ ต การทดสอบความปลอดภั ย และการทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพ การอนุ มั ติ ใ ช ใ นคน

จีน บาหเรน
BIBP BBIBP-CarV: อาสาสมั ค ร 56,128 คน ประสิทธิภาพ
Beijing Institute of จากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส, บาหเรน, อียิปต, จอรแดน, เปรู, อารเจนตินา 86%
Biological Products,
Sinopharm สหรัฐอาหรับเอมิเรตส อินโดนีเซีย

Gamaleya : Sputnik V
อาสาสมั ค ร 22,714 คน ประสิทธิภาพ
จากเบลารุ ส , รั ส เซี ย , อิ น เดี ย , เวเนซู เ อลา 91.4% รัสเซีย

Sinovac CoronaVac
อาสาสมั ค ร 32,738 คน ประสิทธิภาพ
76% บางกลุมในจีน
ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา *Good Clinical Practice
คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021 (การปฏิ บั ต การวิ จั ย ทางคลิ ก นิ ก ที่ ดี )
เปรียบเทียบขŒอมูล วั ค ซี น ป
ป‡ อ งกั น เชื้ อ ไวรั ส โควิ ด -19 แต‹ละชนิดแตกต‹างกันอย‹างไร
Vaccine Company Vaccine Platform Logistic and Preservation Injection
บริ ษั ท ผู  ผ ลิ ต วิ ธี ก ารผลิ ต การขนส ง และการเก็ บ รั ก ษา การฉี ด ยา
2º C - 8º C -18º C
Non-replicating viral vector
Cansino Ad5-nCoV : Beijing ผลิตโดยใชรหัสพันธุกรรม
Institute of Biotechnology
ของโปรตีน Spike (S) #1
เก็บในตูเย็น เก็บในตูแชเย็น ฉีดเขากลาม 1 เข็ม
2º C - 8º C - 18º C

2º C - 8º C -18º C
Non-replicating viral vector
Janssen Ad26.COV2.S:
Johnson & Johnson Recombinant adenovirus type
26 เปนพาหะของยีน Spike (S)
#1
เก็บในตูเย็น เก็บในตูแชเย็น ฉีดเขากลาม 1 เข็ม
2º C - 8º C - 18º C

Protein subunit
Novavax เก็บในตูเย็น
NVX-CoV2373 2º C - 8º C #1 3
สั ป ดาห #2
ผลิตโดยใชบางชิ้นสวน ฉีดเขากลาม 2 เข็ม หางกัน 3 สัปดาห
ของโปรตีน Spike (S)

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021
เปรียบเทียบขŒอมูล วั ค ซี น ป
ป‡ อ งกั น เชื้ อ ไวรั ส โควิ ด -19 แต‹ละชนิดแตกต‹างกันอย‹างไร
Vaccine Company Phase III Efficacy Clinical Trial Clinical trial
บริ ษั ท ผู  ผ ลิ ต การทดสอบความปลอดภั ย และการทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพ การอนุ มั ติ ใ ช ใ นคน

Cansino Ad5-nCoV : Beijing


Institute of Biotechnology
อาสาสมั ค ร 42,382 คน
บางกลุมในจีน

Janssen Ad26.COV2.S:
Johnson & Johnson
อาสาสมั ค ร 91,845 คน
บางกลุมในจีน
*GCP

Novavax
NVX-CoV2373 อาสาสมั ค ร 50,819 คน

*GCP บางกลุมในจีน

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา *Good Clinical Practice


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021 (การปฏิ บั ต การวิ จั ย ทางคลิ ก นิ ก ที่ ดี )
เปรียบเทียบขŒอมูล วั ค ซี น ป
ป‡ อ งกั น เชื้ อ ไวรั ส โควิ ด -19 แต‹ละชนิดแตกต‹างกันอย‹างไร
Logistic and
Vaccine Company Vaccine Platform Preservation Injection Phase III Efficacy Clinical Trial Clinical trial
บริ ษั ท ผู  ผ ลิ ต วิ ธี ก ารผลิ ต การขนส ง และ การฉี ด ยา การทดสอบความปลอดภั ย และ การอนุ มั ติ ใ ช ใ นคน
การเก็ บ รั ก ษา การทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพ

Lipid Nanoparticle #1
Nanopa
d
3

r t ic l e
Lipi
CureVac CVnCoV
สั ป ดาห

ชั้นไขมันของเซลล เปนเปลือกหุม เก็ บ ในตู Œ เ ย็ น


อาสาสมั ค ร 51,444 คน บางกลุมในจีน
mRNA ของยีนสวนเปลือก 2ºC - 8ºC #2
Spike (S) ไดŒ น าน 3 เดื อ น
ฉีดเขากลาม 2 เข็ม *GCP
หางกัน 3 สัปดาห

Inactivated vaccine #1

3
สั ป ดาห
จีน

WIBP vaccine:
Wuhan Institute of วิธีการผลิตวัคซีนแบบเกา เก็ บ ในตู Œ เ ย็ น
Biological Products, โดยการสกัดเชื้อไวรัส 2ºC - 8ºC #2 อาสาสมั ค ร 52,864 คน
Sinopharm SARS-CoV-2ที่ตายแลว ฉีดเขากลาม 2 เข็ม สหรัฐอาหรับเอมิเรตส
มาผลิตเปนวัคซีน หางกัน 3 สัปดาห

ขŒอมูลโดย : ศ.ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร ภาควิชาจุลชีววิทยา *Good Clinical Practice


คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล 14/01/2021 (การปฏิ บั ต การวิ จั ย ทางคลิ ก นิ ก ที่ ดี )

You might also like