You are on page 1of 12

การจัดสรรน้ําเพื่อภาคการใชน้ําตาง ๆ

สืบเนื่องจากการจัดงาน “น้ําไรพรมแดน”เนื่องในสัป ดาหอนุรักษทรัพยากรน้ําแหงชาติ และวัน


น้ําโลก เมื่อ วันที่ 26 -27 มีนาคม 2552 สมาคมทรัพยากรน้ําแหงประเทศไทย ได จัดใหมี การสัมมนาวิช าการ
เรื่องการบริหารจัดการน้ําภาคการใชน้ําตาง ๆ ในหัวขอ “การบริหารจัดการน้ําภาคการใชน้ําภาคอื่น “ และได
นําผลการสัมมนามาจัดการเสวนาเรื่อง “การจัดสรรน้ําเพื่อภาคการใชน้ําตางๆ” โดยเชิญผูแทนจากภาคเอกชน
สมาชิกวุฒิสภา นักวิชาการและหนวยงานที่เกี่ยวของ เขารวมการเสวนา เพื่อระดมความคิดเห็นและตรวจสอบ
ขอมูลดานความตองการใชน้ํา น้ําตนทุนในปจจุบันและศักยภาพของการจัดหาน้ําตน ทุนเพิ่มเติม เพื่อกําหนด
แนวทางการจั ด สรรน้ํ า สํ า หรั บ ภาคการใช น้ํ า ด า นต า งๆ ซึ่ ง ได จั ด ให มี ก ารเสวนาต อ เนื่ อ ง 3 ครั้ ง โดยมี
รายละเอียดดังนี้
ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 4-5 มิถุนายน 2552 ณ อุทยานแหงชาติเขาใหญ จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งมี
หน ว ยงานต า ง คื อ สมาคมทรั พ ยากรน้ํ า แห ง ประเทศไทย วุ ฒิ ส ภา คณะกรรมการน้ํ า แห ง ชาติ
มหาวิทยาลั ยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม มูลนิ ธเพื่อการบริ หารจัดการน้ําแบบบู รณาการ(ประเทศ
ไทย) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม กรมทรัพยากรน้ํา กรมชลประทาน การไฟฟา
ฝายผลิตแหงประเทศไทย การประปานครหลวง การประปาสวนภูมิภาค สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และบริษัทจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ําภาคตะวันออก จํากัด ซึ่ ง
พอสรุปไดดังนี้
1. ขอมูลความตองการใชน้ําสําหรับภาคการใชตางๆ
หน วยงานที่ มีห นา ที่รั บผิ ดชอบเกี่ ยวกับ การใหบ ริก ารหรื อจั ดสรรน้ํา เพื่ อภาคการใชน้ํ าต างๆ อัน ได แก กรม
ชลประทาน กรมทรัพยากรน้ํา กรมโรงงานอุตสาหกรรม การประปานครหลวง การประปาสวนภู มิภาค การ
ไฟฟาฝายผลิต แหง ประเทศไทย การนิ คมอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
และบริษัทจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ําภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ไดนําเสนอความตองการใชน้ําภาค
การใชตางๆ ทั้งที่เปนอยูปจจุบันและที่คาดการณสําหรับอนาคตตอที่ประชุม
ที่ป ระชุม มีม ติเ ห็นควรใชขอมู ลของหนวยงานเปนพื้นฐานสํ าหรับ การจั ดสรรน้ํา โดยขอใหหนวยงานไป
ปรับปรุงขอมูลตามขอสังเกตของที่ประชุมดังนี้
1.1 การประปาสวนภูมิภาค ทบทวนขอมูลการใชน้ําเพื่อการทองเที่ยว จําแนกการใชน้ํา
สําหรับการอุปโภคบริโภคและอุตสาหกรรมและการทองเที่ยว และจัดทําขอมูลเปนลุมน้ําและกลุมลุมน้ํา
1.2 การประปานครหลวง แยกประเภทการใชน้ําเพื่ออุปโภคบริโภคและอุตสาหกรรม
1.3 หนวยงานเกี่ยวกับน้ําอุตสาหกรรม จัดทําตัวเลขการใชแหลงน้ําจากแหลงใด
1.4 กรมโรงงานอุตสาหกรรมตรวจสอบตัวเลขประมาณการใช น้ํา ของโรงงานที่ ขึ้ น
ทะเบียนทั้งประเทศใหทันเหตุการณและขอขอมูลประมาณการความตองการใชน้ําในอนาคตดวย ทั้งนี้ ขอให
สง ขอมูลที่ป รับ ปรุ งแกไขแลว ใหกั บกรมทรัพยากรน้ําภายในวันที่ 12 มิถุน ายน 2552 เพื่อจัด ทํา ขอมูลใน
ภาพรวม
3. ขอมูลน้ําตนทุนในปจจุบันและศักยภาพในการพัฒนา
กรมชลประทานไดเสนอขอมูลน้ําตนทุนของโครงการชลประทานขนาดใหญและขนาดกลาง พรอมแผนการ
พัฒ นาในอนาคต การไฟฟ าฝ ายผลิต แห งประเทศไทย นํา เสนอโครงการผลิต ไฟฟาที่ จะติด ตั้ง เพิ่ม เติ มที่
เขื่อนของกรมชลประทาน การนําเสนอศักยภาพของน้ําบาดาลจากแองเจาพระยาโดยอาจารยปองศักดิ์ พงษ
ประยูร สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
ที่ประชุมมีมติดังนี้
2.1 รับตัวเลขน้ําผิวดินตนทุนและศักยภาพในการพัฒนาที่นําเสนอโดยกรมชลประทาน
และกรมทรัพยากรน้ํา
2.2 สวนศักยภาพของน้ําบาดาลนั้น เห็นควรจะมีการจัดประชุมผูเชี่ย วชาญดานน้ําบาดาล
เพื่อรวมกันประเมินศักยภาพของน้ําบาดาลที่สามารถจะนํามาใชไดโดยสมาคมทรัพยากรน้ําแหงประเทศไทย
และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
2.3 ปริมาณน้ําเพื่อการรักษาระบบนิเวศน เปนเรื่องที่จําเปนและควรมีการกําหนดเกณฑ
ใหชัดเจนเพื่อเปนแนวทางในการจัดสรรน้ําทั้งจากธรรมชาติและแหลงเก็บกักที่กอสรางขึ้น

3. กรอบการพิจารณาการจัดสรรน้ํา
ที่ประชุมไดเสวนาเพื่อรวมกันหาแนวทางที่เหมาะสมเปนกรอบการพิจารณาจัดสรรน้ํา เพื่อนําเสนอใหใชใน
การวางแผนและการบริหารจัดการน้ําตอไปที่ประชุมมีมติดังนี้
3.1 การจัดลําดับความสําคัญของประเภทการใชน้ํา
3.1.1 น้ําเพื่อการอุปโภค - บริโภค
3.1.2 น้ําเพื่อรักษาระบบนิเวศน
3.1.3 น้ําเพื่อการเกษตร ภาวะวิกฤตจัดสรรเฉพาะน้ําเพื่อการเกษตรสําหรับยังชีพ
3.1.4 น้ําเพื่ออุตสาหกรรม
3.2 น้ําเพื่อรักษาระบบนิเวศน
น้ําเพื่อรักษาระบบนิเวศนเปนสวนสําคัญและจําเปนตอการดํารงอยูของทุกระบบ การ
บริหารจัดการน้ําจึงมีการกําหนดหลักเกณฑการจัดสรรน้ําเพื่อระบบนิเวศนดังนี้
3.2.1 จัดสรรน้ําเพื่อระบบนิเวศนอยางนอย 17 % ของปริมาณน้ําทารวมรายปของ
แตละลุมน้ํา
3.2.2 ในการบริหารอางเก็บน้ํา การระบายน้ําลงสูทายน้ําในฤดูฝนจะระบายน้ํา
เทากับ ขีดความสามารถระบายน้ําสูงสุดของทางน้ําธรรมชาติดานทายน้ํา สวนในฤดูแลง จะตองระบายน้ําใหมี
น้ําในทางน้ําธรรมชาติดานทายน้ําไมนอยกวาระดับน้ําที่ไหลเดิมในธรรมชาติ(Historical Low Flow)
3.3 สัดสวนของภาคการใชตาง ๆ พิจารณาจากตัวเลขความตองการใชน้ําปจจุบันและที่
คาดการณในอนาคต นําตัวเลขเหลานี้มากําหนดสัดสวน เพื่อใชเปนฐานขอมูลในการเสวนาครั้งตอไป
3.4 จากขอมูลเบื้องตนความตองการใชน้ําในปจจุบันมีมากกวาน้ําผิวดินตนทุนที่มีอยู
แลวการขยายความตองการในอนาคตจะตองคํานึงถึงขอจํากัดดานน้ําตนทุน และศักยภาพของการขยายแหลง
เก็บกักก็ยังนอยกวาความตองการตามแผนงานของหนวยงานตางๆจําเปนตองมีการพิจารณาการบริหารจัดการ
น้ําเพื่อรองรับสถานการณน้ําขาดแคลนทั้งนี้สามารถนําน้ําบาดาลมาทดแทนไดในระดับหนึ่ง แตตองมี
มาตรการดานอื่นๆ เชน การประหยัด / การเพิ่มประสิทธิภาพ การปรับเปลี่ยนแผนการผลิต การนํา
เทคโนโลยีใหมๆมาใชเปนตน
ปฏิญญาเขาใหญ
วันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๒

ผูเขารวมเสวนา “การจัดสรรน้ําเพื่อภาคการใชน้ําตางๆ” ที่อุทยานแหงชาติเขา


ใหญ เมื่อวันที่ ๔-๕ มิถุนายน ๒๕๕๒ มีเจตนารมณรวมกันในการเสนอแนวทางการ
จัดสรรน้ําเพื่อภาคการใชน้ําตางๆ ดังนี้

๑. ให หน วยงานที่เกี่ยวขอ งปรับปรุง ขอมูล ความต องการใชน้ํ า และศักยภาพการ


พัฒนาใหถูกตองและเปนปจจุบัน เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานเดียวกันสําหรับนําไปใช
ในการปฏิบัติและวางแผนในอนาคต
๒. สถานภาพของความต องการน้ําในปจจุบั น มีเกินกวาแหลงน้ําตนทุนโดยเฉพาะ
น้ํา ผิว ดิน ที่มี อยู ป ญหาขาดแคลนน้ํา จึง มิอ าจหลี กเลี่ย งไดห ากไม มีม าตรการใน
การบริหารจัดการอยางเปนรูปธรรม
๓. ศัก ยภาพของการพั ฒนาแหลง น้ํา เพิ่ มเติ ม มิอ าจสนองความตอ งการไดทั้ งหมด
จําเปนตองมีการเปลี่ยนแนวคิดในการใชน้ําและบริหารจัดการน้ําของทุกภาคสวน
๔. น้ําเพื่อการรักษาระบบนิเวศน มีความสําคัญและเปนสิ่งจําเปน เพื่อจรรโลงไวซึ่ง
การดํารงอยูของทุกระบบอยางยั่งยืน
๕. น้ํา บาดาลเปนแหลงน้ําที่สําคัญที่ จะนํามาใชรวมกับน้ําผิวดินจํา เปนตองมีการ
สํารวจศึกษา เพื่อใหไดขอมูลที่ชัดเจนสําหรับการบริหารจัดการ
๖. ผูเขารวมเสวนามีเจตนารมณรวมกันที่จะศึกษาหาแนวทางในการบริหารจัดการ
น้ําในภาพรวมใหเกิดความสมดุลและยั่งยืน เพื่อนําเสนอรัฐบาลตอไป
สรุปผลการเสวนา
เรื่อง “การจัดสรรน้ําเพื่อภาคการใชน้ําตาง ๆ” ครั้งที่ 2
วันที่ 20 – 21 สิงหาคม 2552 ณ เขื่อนศรีนครินทร จ. กาญจนบุรี

1. ขอมูลความตองการใชน้ําสําหรับภาคการใชตางๆ
กรมทรัพยากรน้ําไดนําเสนอขอมูลในภาพรวมดานความตองการใชน้ําภาคการใชตางๆ ซึ่งได
ประมวลจากข อมูลที่ ไดรับจากหนวยงานที่มี หนาที่ รับผิดชอบเกี่ย วกั บการให บริการหรือจัดสรรน้ํ า
เพื่อภาคการใชน้ําตางๆ อันไดแก กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ําบาดาล กรมโรงงานอุตสาหกรรม
การประปานครหลวง การประปาส ว นภู มิ ภ าค การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย การนิ ค ม
อุต สาหกรรมแหงประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย และบริษั ท จัด การและพัฒนา
ทรัพยากรน้ําภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ตามที่ไดตกลงรวมกันในการเสวนาครั้งที่ 1
ที่ประชุมมีมติเห็น ดังนี้
1.1 ใหหนวยงานเจาของขอมูลทําแผนความตองการใชน้ําปจจุบันและระยะ 5 ป 10 ป
ขางหนา โดยจัดสงอยางเปนทางการพรอมทั้งแนวทางการประเมินความตองการใชน้ําใหกรม
ทรัพยากรน้ําภายใน 2 สัปดาห เพื่อนําไปใชจําแนกความตองการใชน้ําของภาคการใชตางๆ เปนขอมูล
พื้นฐานสําหรับการวางแผนตอไป
1.2 ใหทําการศึกษาเปรียบเทียบปริมาณน้ําเพื่อรักษาระบบนิเวศน ขนสงทางน้ําและอื่นๆ ใน
เบื้องตนใชตัวเลข 20% ของ annual flow ที่ไหลลงอางเก็บน้ํา ตามขอมูลของ IWMI ซึ่งใกลเคียงกับ
ตัวเลข 17% ที่ไดจากการ operate ปจจุบัน
สมาคมทรัพยากรน้ําฯ จะประสานกับกรมชลประทาน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศ
ไทย กรมการขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวีเพื่อทบทวนขอมูลและหลักเกณฑการ operate เขื่อนหรือ
Rule Curve โดยเปรียบเทียบกับ ตัวเลขของIWMI กับปริมาณการไหลต่ําสุด(Historical Low Flow)
และปริมาณน้ําไหล 90 percentile ของ Flow-Duration Curve

2. ขอมูลน้ําตนทุนในปจจุบันและศักยภาพในการพัฒนา
กรมชลประทานและกรมทรัพยากรน้ําไดนํ าเสนอภาพรวมของศัก ยภาพในการพัฒนา
แหลงน้ําตนทุนและโครงการระบบโครงขายน้ําทั้งในปจจุบันและอนาคต กรมทรัพยากรน้ําบาดาลได
นําเสนอศักยภาพน้ําบาดาลในภาพรวมซึ่งมีศักยภาพในการใชประโยชนไดอีกเปนปริมาณมากกวาน้ํา
ผิวดิน
ที่ประชุมมีมติดังนี้
2.1 ศักยภาพน้ําผิวดิน ใหทบทวนแผนการพัฒนาแหลงน้ําจากหนวยงานที่เกี่ยวของโดยกรม
ชลประทานรวมกับกรมทรัพยากรน้ํา จัดแบงโครงการที่มีศักยภาพในการพัฒนาไดในระยะ 5 ป 10 ป
และระยะยาว โดยพิจารณาจากความพรอมในการดําเนินการและอุปสรรคในการพัฒนาแหลงน้ําผิวดิน
2.2 ศักยภาพน้ําบาดาลยังไมแนนอนจากขอมูลที่มีอยูในปจจุบันแตมีศักยภาพสูงไมต่ํากวา 1
แสนลาน ลูกบาศกเมตร สําหรับคํานิยาม ปริมาณเก็บกัก และปริมาณการใชงานฯลฯ ตองมีการจัด
ประชุมหารือระหวางผูเชี่ยวชาญดานน้ําบาดาลเพื่อใหไดขอสรุปใน Technical Term และศักยภาพซึ่ง
เปนที่ยอมรับรวมกัน

3. กรอบสัดสวนการจัดสรรน้ํา
ที่ประชุมไดรวมกันประมวลขอมูลความตองการใชน้ําในปจจุบัน และไดประเมินสัดสวน
ความตองการใชน้ําสําหรับภาคการใชตางๆ และไดนําสมมติฐานการขยายตัวของแตละภาคสวนจาก
หนวยงานตาง ๆ มาคาดการณความตองการใชน้ําในระยะ 5 ปขางหนา เพื่อเปนกรอบเบื้องตนในการ
วางแผนจัดสรรน้ําตอไป
ที่ประชุมมีมติดังนี้
3.1 ทุกหนวยงานยอมรับกรอบสัดสวนความตองการใชน้ําในปจจุบันและอนาคต 5 ป ดังนี้
สัดสวนปจจุบัน สัดสวนอนาคต 5 ป อัตราขยายตัว
ภาคการใชน้ําเพื่อการเกษตร 66.69 % 65.55 % 10 %
ภาคการใชน้ําเพื่อการอุตสาหกรรม 7.27 % 7.93 % 20 % (นิคมฯ 80%)
ภาคการใชน้ําเพื่อการทองเที่ยว 0.43 % 0.46 % 20 %
ภาคการใชน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค 10.21 % 11.14 % 25 %
ภาคการใชน้ําเพื่อการรักษาระบบ 15.40 % 14.92 % -
นิเวศน ขนสงทางน้ําและอื่นๆ

3.2 เพื่อนําไปสูความเปนไปไดในการวางแผนพัฒนาตามศักยภาพและกรอบสัดสวนความ
ตองการใชน้ําในอนาคตใหเหมาะสม ที่ประชุมมีขอเสนอใหมีมาตรการควบคูกันดังนี้
(1) ภาคการใชน้ําเพื่อการเกษตร ควรมีการเพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ําและปรับ
แผนการผลิตโดยมีการศึกษาความคุมคาของการพัฒนาและการขยายการผลิต รวมทั้งสนับสนุนใหมี
โครงการนํารองศึกษาการบริหารจัดการน้ําเพื่อการเกษตรโดยระบบกองทุนซึ่งดําเนินการโดย
เกษตรกร
(2) ภาคการใชน้ําเพื่อการอุตสาหกรรม ควรมีการเพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ําและ
พัฒนาโครงการนํารอง EcoCity
(3) ภาคการใชน้ําเพื่อการทองเที่ยว ควรมีการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศน
(4) ภาคการใชน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค ควรมีการเพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ําและ
ควบคุมอัตราน้ําสูญเสียในระบบใหเหมาะสม และใหภาครัฐจัดหาแหลงน้ําดิบสําหรับการผลิต
น้ําประปาใหครอบคลุมประชาชนทั่วประเทศ

4. ที่ประชุมเห็นควรจัดการเสวนาฯ ครั้งที่ 3 ประมาณปลายเดือน ตุลาคม 2552 ที่เขื่อนปาสักชลสิทธิ์


จังหวัดลพบุรี
ครั้งที่ 3 จัดเมื่อวันที่ 11 – 13 พฤศจิกายน 2552 ณ เขื่อ นปาสักชลสิท ธ จัง หวัดลพบุรี
และการเสวนาครั้งนี้ สามารถสรุปผลการเสวนาได ดังนี้
1 จากข อมู ลความตอ งการใช น้ํา ของภาคการใช ตาง ๆ ณ ป จจุ บันอยูที่ ประมาณ 60,000
ลานลูกบาศกเมตร โดยเปนความตองการน้ําเพื่อการเกษตรประมาณ 38,500 ลานลูกบาศกเมตร ขณะที่
อางเก็บน้ําขนาดใหญและขนาดกลาง ที่มีอยูสามารถเก็บกักน้ําได 76,000 ลานลูกบาศกเมตร เปนปริมาณ
น้ําใชการประมาณ 53,000 ลานลูกบาศกเมตร (ในกรณี ที่น้ําเขา เต็ มเขื่อ น) จะเห็นวายังขาดน้ําอยูอี ก
ประมาณ 7,000 ลานลูกบาศกเมตร น้ําสว นที่ขาดนั้นถู กชดเชยโดยน้ําหลากจากพื้นที่รับน้ําอยูใตเขื่อ น
และน้ําบาดาล ซึ่งในขณะนี้ไมสามารถระบุไดชัดเจนวาเปนน้ําจากพื้นที่ใตเขื่อนเทาไร เชนเดียวกัน ยังไมมี
ขอมูลชัดเจนวาเปนน้ําบาดาลเทาใด
2. น้ํา ใตดินซึ่ง มีปริ มาณมากกวาน้ํา ผิ วดินจึง เปน แหลง น้ํา ที่สําคัญและจํ าเปน ต องมีการ
นํามาเสริมปริมาณน้ําที่ขาดไป แตยังขาดขอมูลดานปริมาณและศักยภาพที่ชัดเจนในการนี้กรมทรัพยากร
น้ําบาดาลซึ่งเปนหนวยงานที่รับผิดชอบดานนี้ ควรเปนเจาภาพในการจัดประชุมผูเชี่ยวชาญและหนวยงาน
ที่เ กี่ ยวของเพื่อ ปรับ วิ ธีก ารประเมินปริมาณน้ํา บาดาลและความหมายของศัพ ททางวิชาการให ต รงกั น
พร อมกั บทําการศึกษาวิจัย ให ไดปริ มาณน้ํา บาดาลที่มีศัก ยภาพสามารถนํา มาใชไดเ พื่อการทํ าแผนการ
พัฒนารวมกับน้ําผิวดินตอไป
3. ขอมูลความตองการน้ําในอนาคตระยะ 5 ป อยูที่ประมาณ 66,000 ลานลูกบาศกเมตร
หรือเพิ่มขึ้นจากปจจุบั นอี ก 6,000 ลานลู กบาศกเ มตร ในขณะที่แผนงานของกรมชลประทานสามารถ
จัดหาน้ําเพิ่ มโดยการสรางอ างเก็ บน้ําขนาดกลางและขนาดใหญไ ดป ระมาณ 2,000 ลานลู กบาศกเ มตร
เปนปริมาณน้ําใชภาคการเกษตรประมาณ 1,400 ลานลู กบาศกเ มตร ดังนั้นโดยรวมจะยังขาดน้ําเพื่อ
สนองความตองการใชน้ําภาคการใชตาง ๆ ที่คาดการณไวประมาณ 4,600 ลานลูก บาศกเมตร ปญหา
ขาดแคลนน้ํา ในอนาคตจะรุน แรงกวา ปญ หาขาดแคลนน้ํา ในป จจุ บันค อนข างแนน อน ซึ่ง น้ํา บาดาลจะ
สามารถนํามาชดเชยไดบางสวน แตดวยขอจํากัดตามขอ 2
4. จากขอ มูล และผลการประชุ มที่ ผานมา 3 ครั้ง (รวมทั้ งครั้ง นี้) เป นที่ คอ นข างชัดเจนวา
แนวทางการบริหารจัดการน้ําของประเทศจําเปนจะตองมีการปรับเปลี่ ยนทั้งแนวคิดและวิธีการเพราะหาก
ไมมีการจัดการทางดานความตองการใช อยางไรเสียประเทศไทยไมสามารถจัดหาน้ําใหเพียงพอกับความ
ตองการและปญหาการขาดแคลนน้ําจะยิ่งรุนแรงขึ้นในระยะยาว จําเปนตองมีการทบทวนนโยบายเรื่อ งน้ํา
โดยรวม
5. แนวทางเชิงนโยบายและการวาง แผนที่ควรเสนอตอรัฐบาลเพื่อพิจารณาเรียงตามลําดับ
ความสําคัญของภาคการใชน้ําตางๆ มีดังนี้
1) น้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค
(1) เพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ําและลดการสูญเสียน้ําในระบบทอ
(2) สรางจิตสํานึกใหประชาชนประหยัดน้ํา พรอมใชมาตรการอัตราคาน้ํา
(3) ใหโครงการชลประทานสํารองน้ําเพื่ออุปโภคบริโภคสําหรับชุมชนที่
ขาดแคลนแหลงน้ําดิบ
(4) ใหหนวยงานเกี่ยวกับน้ําอุปโภคบริโภคเขาดําเนินการจัดหาน้ําใหกับทองถิ่น
ที่องคกรปกครองทองถิ่นไมมีศักยภาพในการดําเนินการ
2) น้ําเพื่อระบบนิเวศนและการขนสงทางน้ํา
(1) ใหหนวยงานที่มีหนาที่ในการบริหารจัดการน้ําและการระบายน้ําพิจารณาจัดสรร
ปริมาณน้ําที่จะระบายลงสูทายน้ําเพื่อการรักษาระบบนิเวศนและการขนสงทางน้ํา
(2) ใหมีการศึกษาเพื่อกําหนดปริมาณน้ําและหวงเวลาในการระบายน้ําเพื่อรักษา
ระบบนิเวศนและ การขนสงทางน้ําสําหรับแตละลุมน้ํา
3) น้ําเพื่อการเกษตร
(1) เพิ่มประสิทธิภาพการใช น้ําเพื่อการเกษตรและปรับปรุงวิธีการบริหารจัดการ
รวมทั้งนําเทคโนโลยีใหมมาใช
(2) ทบทวนนโยบายดานการเกษตร
- ควบคุมการขยายตัวพื้น ที่การเกษตรและลดการปลูกพืชเชิงเดี่ ยวโดยการทํา
Zoning
- ใหหนวยงานดานทรัพยากรน้ํา การเกษตร ทะเลและชายฝง มีการบูรณาการ
ทิศทางของหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งหมดใหมีความสอดคลองกัน
- ควรทบทวนนโยบายด า นชลประทาน ทั้ ง นี้ เ พราะประชากรที่ ยึ ด อาชี พ
การเกษตรลดนอยลง หากมีการขยายพื้นที่การเกษตรเพิ่ม จําเปนตองนําแรงงานตางดาวเขาประเทศ ซึ่ง
ปจจุบันไดมีการนําเขาแรงงานตางดาวเพื่อการเกษตรและดานอื่นอยูแลว ซึ่งหากจํานวนแรงงานตางดาว
เพิ่มมากขึ้น จะนําไปสูปญหาความมั่นคงของชาติ
4) น้ําเพื่อการอุตสาหกรรม
(1) สงเสริมใหมีการนําน้ํากลับมาใช Reuse โดยใชมาตรการราคาและการสนับสนุน
สิ่งจูงใจ
(2) ควบคุมการขยายเขตอุตสาหกรรมไปในพื้นที่วิกฤตน้ํา โดยการ Zoning
(3) ผลักดันและเรงรัดโครงการ Eco City
5) น้ําเพื่อการทองเที่ยว
(1) สงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศน
(2) สนับสนุนผูประกอบการทองเที่ยวใหมีมาตรการประหยัดน้ํา เชน โรงแรม
และสปา
1.6 มีการศึกษาและจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นจากทุกภาคสวน รวมทั้งภาคประชาสังคม
เพื่อใหไดแนวทางและวิธีการอันจะนําสูการแกไขปญหาการบริหารจัดการน้ําและสามารถนําสูการปฏิบัติได
อยางเปนรูปธรรม
ความตองการน้ําป 2557 (แยกลุมน้ํา)
ความตองการน้ํา
ชื่อลุมน้ํา ความจุกักเก็บ น้ําทา
อุปโภค ปริโภค เกษตร อุตสาหกรรม ระบบนิเวศ รวม
สาละวิน 22.01 759.43 2.60 3.62 787.66 29.79 9,401.18
โขง 209.46 2,830.37 38.85 255.81 3,334.48 2,063.90 28,302.20
กก 24.19 - 3.49 16.42 44.11 135.29 3,630.11
ชี 299.96 5,634.62 98.54 644.44 6,677.56 5,187.03 11,948.34
มูล 255.35 748.17 808.42 589.59 2,401.53 4,849.67 18,972.48
ปง 136.68 1,515.38 61.72 1,746.14 3,459.92 14,329.04 9,043.77
วัง 37.04 226.33 9.37 87.22 359.96 591.35 1,582.24
ยม 98.52 2,723.67 18.36 66.26 2,906.81 487.67 3,965.16
นาน 65.72 644.76 22.31 1,347.12 2,079.92 10,521.85 12,199.63
เจาพระยา 2,116.82 5,360.00 754.90 22.80 8,254.52 178.70 1,774.31
สะแกกรัง 14.92 - 11.66 19.92 46.50 164.11 1,203.29
ปาสัก 70.50 349.31 765.00 124.60 1,309.41 1,002.10 2,913.75
ทาจีน 266.78 11,802.39 239.45 42.73 12,351.35 338.16 1,395.44
แมกลอง 714.37 1,691.64 663.23 3,280.29 6,349.52 26,974.90 11,946.50
ปราจีนบุรี 28.40 468.38 63.09 31.57 591.45 218.02 4,986.04
บางปะกง 101.71 270.00 357.01 80.63 809.34 646.49 4,058.19
โตนทะเลสาบ 11.04 - 5.63 18.11 34.79 149.23 2,203.53
ชายฝงทะเลตะวันออก 259.98 291.00 364.06 176.71 1,091.75 1,321.35 12,781.94
เพชรบุรี 24.67 1,066.00 84.06 98.10 1,272.82 808.20 1,548.20
ชายฝงตะวันตก 32.16 132.00 21.33 83.00 268.49 656.55 1,952.64
ภาคใตฝงตะวันออก 120.00 2,573.00 66.20 12.01 2,771.20 98.91 22,260.80
ตาป 48.01 8.00 32.21 704.17 792.39 5,801.58 13,026.66
ทะเลสาบสงขลา 82.33 6.54 36.25 25.72 150.84 179.18 5,426.99
ปตตานี 30.50 1,184.00 3.35 170.54 1,388.38 1,405.04 2,670.00
ภาคใตฝงตะวันตก 134.89 64.65 36.79 23.73 260.05 147.07 22,396.60
รวมป 2557 5,206.03 40,349.64 4,567.87 9,671.22 59,794.76 78,285.16 211,589.99
รวมป 2552 4,575.68 37,504.00 4,350.36 9,240.40 55,670.43 76,131.05 211589.99
% เพิ่มขึ้น 13.78 7.59 5.00 4.66 7.41 2.83 0.00
ที่มาของขอมูล สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา กรมชลประทาน( ธันวาคม 2551) สํานักบริหารจัดการน้ํา กรมทรัพยากรน้ํา (โครงการน้ํากินน้ําใชทั่วไทย)
กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรม การนิคมอุตสาหกรรม การประปานครหลวง การประปาสวนภูมิภาค การทองเที่ยวแหงประเทศไทย กรมทรัพยากรน้ําบาดาล การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
ขอมูลความตองการใชน้ํา ในปจจุบัน - อนาคต 20 ป
ประเภทการใชน้ํา หนวยงาน ฤดูแลง ฤดูฝน ปจจุบัน 2552 (ลบ.ม/ป) % อนาคต 5 ป % อนาคต 20 ป
การเกษตร 17,247,980,000 21,260,000,000 38,507,980,000 41,353,621,039 47,542,189,953
กรมชลประทาน
(4,000,000,000) (4,400,000,000) (6,000,000,000)
กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,479,100,000 66.57 1,627,010,000 65.45 1,479,100,000
อุตสาหกรรม การนิคมอุตสาหกรรม 165,732,265 198,878,718 686,258,400
กรมโรงานอุตสาหกรรม 4,192,151,247 7.25 5,030,581,496 7.96 8,233,394,672
อุตสาหกรรมทองเที่ยว การทองเที่ยว 255,123,885 0.42 306,148,662 0.47 374,883,060
อุปโภค บริโภค การประปาภูมิภาค 1,322,972,973 1,587,567,568 3,032,933,994
การประปานครหลวง 1,905,760,000 2,286,912,000 2,742,300,000
กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,369,000,000 1,642,800,000 4,928,400,000
ประปาเทศบาล 423,160,380 507,792,456 1,015,584,912
ประปาหมูบาน 1,210,421,760 10.37 1,452,506,112 11.39 1,743,007,334
รักษาระบบนิเวศ ขนสงทางน้ํา
และอื่นๆ 9,240,400,000 15.38 9,671,221,820 14.73 11,600,000,000
รวม 60,071,802,510 100.00 65,665,039,871 100.00 83,378,052,326
ที่มา - สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา กรมชลประทาน (ธันวาคม 2551)
- สํานักบริหารจัดการน้ํา กรมทรัพยากรน้ํา (โครงการน้ํากินน้ําใชทั่วไทย)
- กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรม การนิคมอุตสาหกรรม
- การประปานครหลวง
- การประปาสวนภูมิภาค
- การทองเที่ยวแหงประเทศไทย
- กรมทรัพยากรน้ําบาดาล
- การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
หมายเหตุ ( ตัวเลข ) = หมายถึงปริมาณน้ําในโครงการอางเก็บน้ําขนาดเล็กไมนํามารวมคิดในดานความตองการน้ํานี้
- การประเมินน้ํารักษาระบบนิเวศนใชเกณฑ 20 % ของคาปริมาณน้ําไหลลงอางขนาดกลาง - ใหญ รายปเฉลี่ย

You might also like