You are on page 1of 27

BY: MR.

KITIPONG TANGKIT
DEPARTMENT OF FOREST PRODUCTS
FACULTY OF FORESTRY : KASETSART UNIVERSITY

บทที่ 5
การอนุรกั ษ์และการพัฒนาวนผลิตภัณฑ์
Conservation and Forest Products Development
บทนํา (Introduction)
การอนุ รกั ษ์และการพัฒนาวนผลิตภัณฑ์

การอนุ รักษ์และการพัฒนาหากดูผิวเผินเราอาจคิดว่ าเป็ นแนวคิดที่สวนทางกัน แท้ จริงแล้ วเป็ นเช่ นไรและมีเส้ นที่สามารถนํามา
บรรจบกันให้ ลงตัวได้ หรือไม่ มีแนวคิดและทฤษฏีใดบ้ างที่จะทําให้ การอนุรักษ์และพัฒนาสามารถทํางานส่งเสริมกัน นิสิตยุกต์ใหม่
ต้ องค้ นหา และสรุปความเป็ นไปตามบริบทของเราให้ ได้
Chapter Content
เนื้ อหาบทที่ 5 การอนุ รกั ษ์และการพัฒนาวนผลิตภัณฑ์

5.1 แนวคิดการจัดทํามาตรฐานการรับรองวนผลิตภัณฑ์
5.2 ห่วงโซ่อุปทานในระบบการอนุรักษ์และพัฒนา
5.3 การอนุรักษ์ และ พัฒนาวนผลิตภัณฑ์ ตามแนวคิด Thailand 4.0
5.1 แนวคิดการจัดทํามาตรฐานการรับรองวนผลิตภัณฑ์

5.1.1 การรับรองที่มาวัตถุดิบ
5.1.2 การรับรองผลิตภัณฑ์
การอนุรกั ษ์ (Conservation)
การอนุ รกั ษ์ หมายถึง การรักษาไว้ ให้ นานที่สดุ และสามารถนํามาใช้ ให้ เป็ นประโยชน์มากที่สดุ
การอนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (natural resources and environmental conservation) หมายถึง การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมอย่างฉลาดโดยใช้ ให้ น้อย ยาวนาน และเกิดประโยชน์ต่อมหาชนสูงสุด จําเป็ นต้ องมีการพัฒนา
ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้ อมอย่างต่อเนื่องเพื่อรุ่นต่อไปได้ ใช้ อย่างยั่งยืน โดยมีหลักการคร่าวๆดังนี้
1. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 5. การใช้ ส่งิ ทดแทน
2. การปรับปรุงคุณภาพ 6.การใช้ ส่งิ ที่มีคุณภาพรองลงมา
3. การลดอัตราการเสื่อมสูญ 7. การสํารวจหาทรัพยากรใหม่ ๆ
4. การนํากลับมาใช้ ประโยชน์ใหม่ 8. การป้ องกัน
การพัฒนา (Development)

การพัฒนา หมายถึง การทําให้ เจริญ การปรับปรุงเปลี่ยนไปในทางที่ทาํ ให้ เจริญขึ้น ซึ่งการที่จะทําให้ เกิดการพัฒนาขึ้นได้ น้ัน จะต้ อง
มีการวางแผนต้ องอาศัยวิชาความรู้และเทคโนโลยีเข้ ามาช่วย จึงจะทําให้ การพัฒนานั้นบรรลุตามวัตถุประสงค์
แนวคิดพื้ นฐานของการพัฒนาของมนุ ษย์ โดยเริ่มต้ นจาก
1. การพัฒนาในสภาพที่มนุษย์อยู่ภายใต้ อทิ ธิพลของธรรมชาติ และวิวัฒนาการ
2. การพัฒนาที่มนุษย์พยายามเอาชนะธรรมชาติ
3. การพัฒนาที่มนุษย์เอาชนะธรรมชาติได้ และนําธรรมชาติมาใช้ ประโยชน์
แนวคิดพื้ นฐานเกีย่ วกับการพัฒนาทีย่ งยื
ั่ น

แนวคิดพื้ นฐานเกีย่ วกับการพัฒนาที่ยงยื


ั ่ น (sustainable development)เป็ นแนวคิดที่เกิดขึ้นมาเพื่อป้ องกันมิให้ โลกต้ องเดินทาง
ไปสู่จุดจบจากการพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์หรือกระแสโลกาภิวัตน์ (globalization) ความเจริญก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยี และกลไก
การตลาด ซึ่งรูปแบบการพัฒนาที่ย่ังยืนคือรูปแบบของการพัฒนาที่ตอบสนองความต้ องการของคนรุ่นปัจจุบัน โดยไม่ส่งผลด้ านลบ
ต่อคนรุ่นต่อไป

อ้ างอิง : วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, www. mgmtsci.stou.ac.th


แนวคิดการมีส่วนร่วม

แนวคิดเกีย่ วกับการมีส่วนร่วมการมีส่วนร่วม เป็ นวิธที ่จี ะระดม ประชาชนให้ มีบทบาทในการพัฒนาได้ ดีท่สี ดุ เช่นมีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจ มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ และรวมไปถึงการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนและตนเองในการ
พัฒนาหรือดําเนินการในกิจกรรมต่าง ๆ และมีส่วนร่วมในการประเมินผล ซึ่งมีลักษณะและรูปแบบการมีส่วนร่วมดังนี้
การมีส่วนร่วมแบบเป็ นไปเอง (Spontaneous)
การมีส่วนร่วม แบบชักนํา (Induced)
การมีส่วนร่วมแบบบังคับ (Conceived)
5.1.1 การรับรองทีม่ าวัตถุดิบ

การรับรองป่ าไม้ (Forest Certification)


มาตรฐานการรับรองป่ าไม้ ตามแนวทางของ FSC (Forest Stewardship Council)
PEFC หรือ Program for the Endorsement of Forest Certification Scheme
มาตรฐานการรับรองป่ าไม้ ตามแนวทาง ISO (INTERNATIONAL ORGANIZATION FOR STANDARDIZATION)
IPPC (International Plant Protection convention)
การรับรองป่ าไม้ (Forest Certification)

เป็ นระบบหรือเครื่องมือการติดต่ อที่สนับสนุ นให้มีมาตรฐานการจัดการป่ าที่ดีและยังยื


่ น ดํารงไว้ซึ่งผลประโยชน์
ทางสังคม สิง่ แวดล้อมและเศรษฐกิจ
การรับรองทางป่ าไม้ จึงได้ ถูกออกแบบให้ ผ้ ูบริโภคเลือกใช้ ไม้ และผลิตภัณฑ์ไม้ จากป่ าที่มีระบบการจัดการอย่างยั่งยืน
โดยมีการกําหนดมาตรฐานการจัดการอย่างยั่งยืนเพื่อใช้ ในการรับรองไว้ ตั้งแต่แหล่งกําเนิดไม้ จนถึงอุตสาหกรรมไม้ เพื่อให้ มีการ
จัดการที่ดี รวมทั้งแหล่งกําเนิดไม้ ท่ไี ด้ มาอย่างถูกต้ องตามกฏหมาย โดยใช้ กลไกทางตลาดที่นาํ ไปสู่การจัดการอย่างยั่งยืน รณรงค์ให้
มีการค้ าไม้ และผลิตภัณฑ์ไม้ ท่ีได้ รับรองจากป่ าที่มีระบบการจัดการอย่ างยั่งยืน การรับรองเส้ นทางการทําไม้ จากต้ นตอ ไปจนถึง
ผลิตภัณฑ์ไม้ (Chain of Custody Certification) และเป็ นการปิ ดฉลากการรับรอง (Environmental labeling)
โดยเน้ นรูปแบบการรับรองจากองค์กรอิสระ (Independent Organization) การรับรองทางป่ าไม้ เป็ นการสมัครใจทั้ง
ผู้ผลิตและผู้บริโภค (Voluntary Certification) ไม่มีข้อผูกพันทางกฏหมาย

Cite : www.digital.forest.ku.ac.th
อ้ างอิง : นิคม แหลมสัก, นรินธร จําวงษ์ : การรับรองป่ าไม้ ,การจัดการทรัพยากรเพื่อการป่ าไม้ ,หน่วยที่ 11, ประมวลสาระชุดวิชา,
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช)
การรับรองป่ าไม้ (Forest Certification)

การรับรองทางป่ าไม้ (Forest Certification) เป็ นเครื่องมือหรือวิธีการใหม่ท่มี ีผลกระทบโดยตรงต่อวงการป่ าไม้ ท่วั โลก โดยการใช้
การตลาดเป็ นข้ อกําหนดในการจูงใจให้ ปรับปรุงวิธกี ารจัดการป่ าไม้ โดยวิธกี ารที่ได้ รับการยอมรับแพร่หลายและเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
เพราะเป็ นการชักจูงให้ กระทําตามโดยมิใช่บังคับโดยกฎหมายหรือกฎระเบียบต่างๆอย่างที่เคยปฏิบัติมาในอดีต และประการสําคัญ
วิธกี ารนี้สามารถช่วยให้ ผ้ ูท่เี กี่ยวข้ องกับป่ าไม้ (Stake – holders) หันหน้ าเข้ าหากันเพื่อที่จะเดินไปตามหลักการของการพัฒนาแบบ
ยั่งยืน และได้ มีการกําหนดหลักการป่ าไม้ ข้ ึนมา (Forest Principles) สําหรับเป็ นหลักในการนําไปปฏิบัติท่วั โลก โดยจะต้ องมีการ
ดําเนินการอย่างมีมาตรฐาน และในการนําสินค้ าออกจากป่ าก็ควรจะต้ องดําเนินการในลักษณะการจัดการป่ าไม้ แบบยั่งยืน รวมทั้งมี
แนวความคิด เรื่องการติดฉลากรับรองสินค้ าจากไม้
เพื่อขจัดความสับสนในหมู่ผ้ ูบริโภคและผู้ผลิต และหาข้ อยุติเรื่อง F.C. จึงได้ เกิดมีการรวมตัวกันระหว่ างตัวแทน
องค์กร สิ่งแวดล้ อม นักวิชาการป่ าไม้ ผู้ค้าไม้ องค์กรชุมชนท้ องถิ่น สมาคมป่ าชุมชน และสถาบันรับประกันผลผลิตป่ าไม้ ร่วมกัน
จัดตั้งองค์กรที่เรียกว่า Forest Stewardship Council หรือ FSC ขึ้นมา
FSC (Forest Stewardship Council)

เป็ นองค์กรเอกชนภายใต้ ความร่วมมือของกลุ่มต่างๆจากทั่วโลก อาทิ กลุ่มอนุรักษ์ป่าไม้ และสิ่งแวดล้ อม ผู้ค้าไม้ ผู้ผลิตสินค้ าจากไม้


และองค์กรผู้ให้ การรับรองไม้ และผลิตภัณฑ์จากไม้ เพื่อจัดทําระบบการให้ การรับรองไม้ และผลิตภัณฑ์ไม้ ซึ่งเป็ นการรับประกันว่า
ไม้ และผลิตภัณฑ์ไม้ ท่ไี ด้ รับการประทับเครื่องหมาย FSC เป็ นไม้ และผลิตภัณฑ์ท่ใี ช้ ไม้ จากป่ าธรรมชาติหรือป่ าปลูกที่มี
การจัดการป่ าอย่างถูกต้ องตามหลักการที่เป็ นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ คือมีการปลูกไม้ แบบยั่งยืน
ISO (INTERNATIONAL ORGANIZATION FOR STANDARDIZATION)

ISO ย่อมาจาก INTERNATIONAL ORGANIZATION FOR STANDARDIZATION หรือองค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศ เป็ น


องค์กรอิสระซึ่งจัดตั้งขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2490 โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ส่งเสริมการกําหนดมาตรฐานและกิจกรรมที่เกีย่ วข้อง
เพือ่ ช่วยให้การแลกเปลีย่ นสินค้าและบริการเป็ นไปโดยสะดวก และช่วยพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศใน
ด้านวิชาการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และเศรษฐกิจ
มาตรฐานที่กาํ หนดขึ้นเรียกว่า มาตรฐานระหว่างประเทศ (International Standard) เป็ นมาตราการหนึ่งทางการค้ าที่สาํ คัญ
ที่องค์การการค้ าโลกได้ กาํ หนดเพื่อให้ มีความเสมอภาคในทางปฏิบัติ ทั้งกับอุตสาหกรรมในประเทศ และสินค้ าที่นาํ เข้ า ซึ่งทุก
ประเทศจะต้ องนําไปปฏิบัติ เพื่อให้ เกิดความโปร่งใสและยุติธรรมทางการค้ า
มาตรฐานสากล ISO ทีส่ ําคัญ

ปัจจุบันมาตรฐานสากลที่สาํ คัญต่อการค้ าเป็ นมาตรฐานสากลด้ านระบบบริหารได้ แก ระบบคุณภาพ และการจัดการสิ่งแวดล้ อมหรือ


ที่ร้ จู ักกันมีดังนี้
1. ISO 9000 คือ มาตรฐานระบบคุณภาพที่องค์กรธุรกิจทัว่ โลกใช้ เพื่อรับรองระบบการบริหารการดําเนินงาน เป็ นมาตรฐานทีเ่ ป็ น
หลักประกันของสินค้าและบริการ เพื่อสร้ างความมั่นใจให้ แก่องค์กรว่าสามารถสร้ างสรรค์ผลิตภัณฑ์หรือบริการ ซึ่งเป็ นไปตามที่
ลูกค้ าต้ องการมีคุณภาพสมํ่าเสมอและมีความปลอดภัย รวมทั้งมีระบบการจัดการคุณภาพได้ ตามมาตรฐานสากล
2. ISO 14000 เป็ นมาตรฐานเพือ่ การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ องค์กรจัดระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมให้ มีผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้ อมน้ อยที่สุด โดยครอบคลุมถึงการจัดระบบโครงสร้ างขององค์กร การกําหนดความรับผิดชอบการปฏิบัติงาน ระเบียบ
ปฏิบัติ กระบวนการดูแลทรัพยากร เพื่อให้ มีการจัดการและรักษาไว้
3. ISO 18000 เป็ นมาตรฐานอุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มาตรฐานเพือ่ ความปลอดภัยของ
ชีวติ และทรัพย์สิน โดยมีวัตถุประสงค์สาํ คัญเพื่อมุ่งเน้ นให้ องค์กร จัดการระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เพื่อลด
ความเสี่ยงต่ออันตรายและอุบัติเหตุต่างๆ ของพนักงานและผู้เกี่ยวข้ อง โดยปรับปรุงการดําเนินงานขององค์กรให้ ปลอดภัย และเป็ น
การสร้ างภาพลักษณ์ความรับผิดชอบขององค์กรต่อพนักงานและต่อสังคม
IPPC (International Plant Protection convention)

IPPC ย่อมาจาก International Plant Protection convention คือ ความร่วมมือระหว่างประเทศในการควบคุมและป้องกัน


การแพร่ระบาดของศัตรูพืช มีการกําหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ ว่าด้ วยมาตรการสุขอนามัยพืช International Standards Ph
ytosanitary Measures ISPM เพื่อให้ การดําเนินมาตรการด้ านสุขอนามัยพืชของประเทศต่าง ๆ มีความสอดคล้ องกัน อ้ างอิงจาก
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
จุดประสงค์ของการใช้ IPPC เพือ่ คุม้ ครองป่ าไม้และพืชโดยไม่ให้มีการแพร่กระจายของแมลง ที่อาจติดมากับสินค้านําเข้าที่ใช้
บรรจุภณั ฑ์ประเภทไม้ทีไ่ ม่ได้มาตรฐาน
วิธีปฏิบตั ิตามมาตรฐาน IPPC

โดยมาตรฐาน IPPC ได้ กาํ หนดวิธปี ฎิบัติสาํ หรับบรรจุภัณฑ์ไม้ ไว้ 2 วิธี คือ
1.Methyl Bromide (MB) Fumigation : ในวิ ธีน้ ีบรรจุ ภัณฑ์ไม้ จะต้ องผ่านการรมยาด้ วยสาร Methyl Bromide
2. Heat Treatment (HT) : ในวิธนี ้ บี รรจุภัณฑ์ไม้ จะต้ องผ่านการอบโดยให้ อุณภูมิท่แี กนกลางของไม้ ไม่น้อยกว่า 56 องศาเซลเซียส
เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 30 นาที

หมายเหตุ : มาตรฐานตาม ISPM15 บังคับใช้ กบั ไม้ ทุกชนิด ในขณะที่บางมาตรฐานจะบังคับใช้ กบั ไม้ เนื้ออ่อน เท่านั้น
ในกรณีวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม่ได้ ผ่านกรรมวิธกี ารฆ่าเชื้อ และประทับตราสัญลักษณ์ IPPC?เจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบ ณ ท่าเรือปลายทางอาจมีคาํ สั่งให้ ส่งสินค้ า
คืนทั้งตู้กลับไปยังประเทศต้ นทาง หรือถ้ าวัสดุบรรจุ ภัณฑ์น้ันไม่ได้ รับการประทับตราสัญญลักษณ์ IPPC สินค้ าเหล่านั้นก็อาจจะต้ องถูกส่งกลับคืน
เช่นกัน
What is supply chain Management
SUPPLY CHAIN IS?
โซ่ อุปทาน หรือ ห่วงโซ่ อุปทาน หรือ เครือข่ายลอจิ สติกส์
โซ่ อุปทาน หรือ ห่ วงโซ่ อุปทาน หรือ เครือข่ ายลอจิ สติกส์ คือ การใช้ ระบบของหน่วยงาน คน เทคโนโลยี กิจกรรม ข้ อมูลข่าวสาร และ
ทรัพยากร มาประยุกต์เข้ าด้ วยกัน เพื่อการเคลื่อนย้ ายสินค้ าหรือบริการ จากผูจ้ ัดหาไปยังลูกค้า กิจกรรมของห่ วงโซ่อุปทานจะแปรสภาพ
ทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุดิบ และวัสดุอ่นื ๆให้ กลายเป็ นสินค้ าสําเร็จ แล้ วส่งไปจนถึงลูกค้ าคนสุดท้ าย (ผู้บริโภค หรือ End Customer)
ในเชิงปรัชญาของโซ่อุปทานนั้น วัสดุท่ถี ูกใช้ แล้ ว อาจจะถูกนํากลับมาใช้ ใหม่ท่จี ุดไหนของห่วงโซ่อปุ ทานก็ได้ ถ้ าวัสดุน้ันเป็ น
วัสดุท่นี าํ กลับมาใช้ ใหม่ได้ (Recyclable Materials) โซ่อุปทานมีความเกี่ยวข้ องกับห่วงโซ่ คุณค่า
โดยทั่วไปแล้ ว จุดเริ่มต้ นของห่ วงโซ่ มักจะมาจากทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็ นทรัพยากรทางชีววิทยาหรือนิเวศวิทยา
ผ่านกระบวนการแปรรูปโดยมนุ ษย์ผ่านกระบวนการสกัด และการผลิตที่เกี่ยวข้ อง เช่น การก่อโครงร่ าง, การประกอบ หรือการรวมเข้ า
ด้ วยกัน ก่อนจะถูกส่งไปยังโกดัง หรือคลังวัสดุ โดยทุกครั้งที่มีการเคลื่อนย้ าย ปริมาณของสินค้ าก็จะลดลงทุกๆครั้ง และไกลกว่าจุดกําเนิด
ของมัน และท้ ายที่สดุ ก็ถูกส่งไปถึงมือผู้บริโภค
แนวคิด เป้าหมาย และทฤษฎี ห่วงโซ่ อุปทาน
วิวฒ
ั นาการและแนวคิดของห่วงโซ่ อุปทาน
ในช่วงปี 1980s คําว่า"การจัดการห่วงโซ่อุปทาน"ถูกสร้ างและพัฒนาขึ้น เพื่อสนองต่อความต้ องการในการสนธิกระบวนการหลักทาง
ธุรกิจเข้ าด้ วยกัน จากผู้บริโภครายสุดท้ าย ย้ อนไปจนถึงผู้จัดหาต้ นนํา้ (ผู้จัดหารายแรกสุด) จากผู้จัดหาต้ นนํา้ ที่จัดหาสินค้ า, บริการ
และข้ อมูลมาเพื่อเพิ่มมูลค่าให้ แก่ลูกค้ าและผู้มีส่วนร่วมในบรรษัท
แนวคิดพื้ นฐานของการจัดการห่ วงโซ่ อุปทานคือการที่บรรษัททั้งหลายในห่ วงโซ่ อุปทานเข้ ามามีส่วนร่ วมด้ วยการ
แลกเปลี่ยนข้ อมูลข่าวสารซึ่งกันและกัน โดยคํานึงถึงความผันผวนของตลาด และกําลังในการผลิต
เป้าหมายพื้นฐานของการจัดการห่ วงโซ่ อุปทานคือการเติมเต็มความต้ องการของลูกค้ า โดยใช้ ทรัพยากรให้ ค้ ุมค่ า
ที่สดุ
โดยทฤษฎี ห่วงโซ่อุปทานมีความมุ่งหมายที่จะสนองความต้ องการของตลาด และใช้ วัสดุคงคลังให้ น้อยที่สดุ

หมายเหตุ ความแตกต่างระหว่างลอจิสติกส์กบั ห่ วงโซ่ อุปทาน คําว่าลอจิสติกส์น้ ีหมายถึงกิจกรรมภายในบริษัท/องค์กรหนึ่งๆ เพื่อการกระจายสินค้ า ในขณะที่ห่วงโซ่


อุปทานครอบคลุมไปถึงการผลิตและการส่งคําสั่งซื้อ ดังนั้นห่วงโซ่อปุ ทานจะมีขอบข่ายกว้ างกว่าลอจิสติกส์ และครอบคลุมหลายๆบริษัท รวมทั้งผู้จัดหา, ผู้ค้าส่ง และผู้ค้า
ปลีก เพื่อทํางานร่วมกัน มุ่งหาเป้ าหมายเดียวกันคือทําให้ ลูกค้ าพึงพอใจ
5.2 ห่วงโซ่ อุปทานในระบบการอนุรกั ษ์และพัฒนา

Cite : www.digital.forest.ku.ac.th
Sample of managed forest certificate
5.3 การอนุ รกั ษ์ และ พัฒนาวนผลิตภัณฑ์ ตามแนวคิด Thailand 4.0

Change?

“ประเทศไทย 4.0” ต้ องการปรับเปลี่ยนโครงสร้ างเศรษฐกิจ ไปสู่ “Value–Based Economy” หรือ “


เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้ วยนวัตกรรม” กล่ าวคือ ในปัจจุ บัน เรายังติดอยู่ในโมเดลเศรษฐกิจแบบ “ทํามาก ได้
น้ อย” เราต้ องการปรับเปลี่ยนเป็ น “ทําน้ อย ได้ มาก” นั่นหมายถึงการขับเคลื่อนให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่าง
น้ อยใน 3 มิติสาํ คัญ คือ
1. เปลี่ยนจากการผลิตสินค้ า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สนิ ค้ าเชิง “นวัตกรรม”
2. เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้ วยภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้ วยเทคโนโลยี ความคิด
สร้ างสรรค์ และนวัตกรรม
3. เปลี่ยนจากการเน้ นภาคการผลิตสินค้ า ไปสู่การเน้ นภาคบริการมากขึ้น
ตัวอย่างวิดีทศั น์ ไทยแลนด์ 4.0
คําถามสําคัญ ในปั จจุบนั ?
คําถามสุดท้าย สําหรับการบรรยาย 2561
นิสติ ตอบในกระดาษ A4 เขียนชื่อ นามสกุล รหัส / นําส่งอาจารย์ท่หี น้ าห้ องเรียน และกลับบ้ านได้

หากวันพรุ่งนี้เป็ นวันสุดท้ ายบนโลกใบนี้ของคุณ


คุณจะสอนคนรุ่นต่อๆไปอย่างไร
ถึงคุณค่าในการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจํากัด
ให้ ออกมาดีท่สี ดุ เท่าที่จะทําได้
“ประสบการณ์ คือ สิ่งที่คุณได้ เมื่อคุณไม่ได้ ในสิ่งที่คุณต้ องการ”

You might also like