You are on page 1of 67

FOREST PRODUCT UTILIZATION

การใช้ ประโยชน์วนผลิตภัณฑ์
บทที่ 1 ความรูและพื
้ น ้ ฐานตอการพั
่ ฒนาการใช้ประโยชนวนผลิ
์ ตภัณฑ ์
บทนํา
Introduction
• ความเป็ นมาและความสําคัญของปั ญหา
• ป่ าไม้ และปั จจัย 4 ของมนุษย์ (ที่อยูอ่ าศัย ยารักษาโรค เครื่ องนุ่งห่ม
อาหาร)
ข้ อคิดและแนวคิด...จากการใช้ ประโยชน์ทรัพยากรป่ าไม้ ในรูปของผลิตภัณฑ์

• การเพิ่มขึ ้นของประชากร

• การแก้ ปัญหาสิ่งแวดล้ อมของโลก

• ความต้ องการทรัพยากรในอนาคต

• ข้ อตกลงและความร่วมมือต่างๆเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้ อม

• การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริ โภค
การเข้ าสู่ยุค Biomass and Biomass Residue
• ชีวมวล (Biomass)
• ผลิตภัณฑ์ป่าไม้ (Forest Products)
• การใช้ ประโยชน์ (Utilization)

•กระแสโลกอนาคต (Beyond to The Future)


•พลังงาน (Fuel)
•อาหารมนุษย์ (Man Food)
•อาหารสัตว์ (Animal Food)
ไม้ เพื่อพลังงาน……Hot issue
Forest Product Utilization
• Why
– ทําไมต้ องนําไม้ มาใช้ ประโยชน์
– ทําไมมีวิธีคิดในการใช้ ประโยชน์ตอนเริ่มแรกจึงต้ องเป็ นไม้
– ทําไมต้ องเป็ นผลิตผลจากป่ าไม้ หรื อต้ นไม้
– ทําไมใช้ ไม้ เป็ นวัตถุดิบ เป็ นวัสดุอย่างอื่นได้ ไหม (สินค้ าหรื อวัตถุดิบ
ทดแทน)
ฉันเป็ น
ใคร
ทําแล้วได้ อยากทํา
อะไร อะไร

ทําร่วมกับ เพราะ
ใคร Research อะไร

ทํา ทําเพือ่
อย่างไร อะไร
ทําแบบ
ไหน
นวัตกรรมนามธรรมและรู ปธรรม
จินตนาการศาสตร์

“Imagination is more important than knowledge. Knowledge is limited. Imagination


encircles the world.”
“จินตนาการสําคัญกว่าความรู้ ความรู ้มีจาํ กัด แต่จินตนาการครอบคลุมทัว่ พิภพ”
กระบวนการคิดสร้างสรรค์
ความคิดเชิงสร้ างสรรค์
• แนวทางในการแก้ ปัญหาหรือ
จินตนาการของแต่ละบุคคล

แรงจูงใจ องค์ ความรู้


• ความสนใจ ความ • ความเชี่ยวชาญ ความรู้
หลงไหลในงานที่ ความเข้ าใจที่ต้องการ
ต้ องการสร้ างสรรค์ สร้ างสรรค์
โลกแห่ งความรู้ คู่จินตนาการ
 สังคมยุคอุตสาหกรรม สู่ สังคมฐานความรู ้
 โอกาสและความเสี่ ยงหลากหลายรู ปแบบ
 ความไม่รู้ และความไม่แน่นอน
 ระดับการรับรู ้ของเราและการรับรู ้ของคน
การเปลีย่ นแปลง
การวิวฒั นาการ

สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
“Change is.?”

การปรับตัว

การเลียนแบบธรรมชาติ
ขอมูลอุตสาหกรรม/แนวโนม/การพัฒนา
ความคิดสร้ างสรรค์ องค์ ความรู้ แรงบันดาลใจ แปรเปลีย่ นสู่ นวัตกรรม

นวัตกรรมส่ งผลต่อสังคมและชีวิตประจําวันของมนุษย์
การเปลีย่ นแปลง
 ด้ านภูมริ ัฐศาสตร์
 ด้ านเศรษฐศาสตร์
 ด้ านประชากรศาสตร์
 ด้ านสภาพภูมิอากาศ
ทฤษฎีการผลักดันด้วยเทคโนโลยี VS ทฤษฎีการผลักดันจากตลาด

ความต้ องการ
การวิจยั และพัฒนา การผลิตสิ นค้ า
ของตลาด

ความต้ องการของ การผลิต


การวิจัยและพัฒนา
ตลาด สิ นค้ า
กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
การนํา
ความคิด /
สินคาออก
การคนพบ
วางตลาด

การผลิตใน
ขั้นตอนการ
ระดับ
พัฒนา
พาณิชย

ขั้นตอนการ
ขั้นตอนการ
ทดสอบ
ออกแบบ
สินคา
ขั้นตอนการ
วางแผนการ
ผลิต
Timelines of science, Technology, and Economy
1600s 1700s 1800s 1900s 2000s
1600-ปั จจุบน
ั (ความเป็ นสากลของวิทยาศาสตร์ )

1800-1950 (อุตสาหกรรมระดับชาติ)

1950-ปั จจุบน
ั (โลกาภิวตั น์ของอุตสาหกรรม)

1750-2000 (ความคืบหน้าของชาติในด้านเทคโนโลยี)

2000 – ปั จจุบน

(โลกาภิวตั น์ของนวัตกรรม)

ภาพ : Timelines of science, technology, and economy

ที่มา : (Betz, 2011. p. 5)


กระบวนการนวัตกรรม
การวิจยั นวัตกรรม
ตรรกะของการวิจยั การสร้างนวัตกรรมใหม่
Innovation and Economy
ผลกระทบของนวัตกรรม
การประดิษฐ์ของเทคโนโลยีใหม่
อย่างรุ นแรง ต่อเศรษฐกิจ

Research Invent Commercialize Market


Nature Science Technology Economy Utility
อยูก่ บั ธรรมชาติ ค้นพบธรรมชาติ การจัดการธรรมชาติ ยึดโยงธรรมชาติ ใช้ประโยชน์ธรรมชาติ

โลกในบทบาทเป็ นวัตถุดิบ โลกในฐานะการเงิ น

ภาพ กระบวนการนวัตกรรม ดัดแปลงจาก : (Betz, 2011.)


วงจรนวัตกรรม
Invention

Scientific
Innovation
Discovery

Market
การให้ เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive) การให้ เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive)

วิธีคิดแบบอุปนัยไม่ได้เริ่ มต้นจากความเชื่อ แต่การให้ เหตุผล เป็ นการนําความรู้ พนื้ ฐานทีอ่ าจเป็ นความเชื่อ ข้ อตกลง กฎ หรือ
แบบอุปนัย เป็ นการให้ เหตุผลโดยอาศัยข้ อสั งเกตหรือผลการ บทนิยาม ซึ่งเป็ นสิ่ งทีร่ ู้ มาก่อนและยอมรับว่ าเป็ นจริง เพือ่ หา
ทดลองจากหลาย ๆ ตัวอย่ าง เพื่อหาลักษณะร่ วมกันแล้วนํามา เหตุผลนําไปสู่ ข้อสรุป
สรุปเป็ นความรู้ ทวั่ ไป

ทองแดงเป็ นสื่ อไฟฟ้ า มนุษย์ ทุกคน เป็ นผูท้ ี่ตอ้ งตาย


ทองเหลืองเป็ นสื่ อไฟฟ้ า นายบุญน้ อย เป็ นมนุษย์
เพราะฉะนั้น เพราะฉะนั้น
โลหะทุกชนิด เป็ นสื่ อไฟฟ้ า นายบุญน้ อย เป็ นผู้ทตี่ ้ องตาย
Inductive Deductive

Observation Theory

Pattern Hypothesis

Tentative hypothesis Observation

Theory Confirmation of theory


Relationship between the Rule of Law and Ethical Standards
จริ ยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
 จริยธรรม (Ethics) คือ แบบแผนของการกระทําที่ถกู ต้อง หรื อเป็ นเครื่ องนําทางไปสู่ หลักในการประพฤติ
ปฏิบตั ิที่ถกู หลักศีลธรรม หรื อเป็ นแนวคิดของการประพฤติที่ถกู ต้อง

 ธุรกิจ (Business) คือ เป็ นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและจําหน่ายสิ นค้าหรื อบริ การ เพื่อตอบสนอง


ความต้องการของผูบ้ ริ โภค โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อแสวงหากําไรสู งสุ ด

 จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics) คือ มาตรฐานของการประกอบธุ รกิจ การผลิตสิ นค้า การใช้บริ การ
จัดจําหน่ายเพื่อได้รับผลตอบแทนตามสมควรกับการที่ลงทุนไปอย่างเป็ นธรรมทุกฝ่ ายไม่ว่าจะเป็ นผูผ้ ลิต
หรื อผูบ้ ริ โภค เจ้าของกิจการ ผูถ้ ือหุ น้ ผูบ้ ริ หาร ผูร้ ่ วมงาน ผูบ้ ริ การ รัฐบาล สังคม ซึ่ งต่างมีความสัมพันธ์
เชิงธุรกิจร่ วมกัน
จริ ยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
ธุรกิจกับจริยธรรม มีสิ่งที่ตอ้ งคํานึงถึงในการประกอบธุรกิจดังนี้
1. ธุรกิจไม่เพียงต้องดําเนินการตามกฎหมายเท่านั้น จะต้องมีจริ ยธรรมประกอบด้วย
2. ธุรกิจต้องรับผิดชอบต่อสิ นค้าและบริ การของตนที่จาํ หน่ายให้แก่ผบู ้ ริ โภค
3. การกระทําผิดจริ ยธรรมบางอย่างไม่มีกฎหมายห้ามไว้ ถ้านักธุรกิจไม่มีจริ ยธรรมก็จะฉวยโอกาสดําเนินการไป
4. การตัดสิ นคุณค่าทางจริ ยธรรม เป็ นปั ญหาส่ วนหนึ่ งของการดําเนิ น การทางธุ รกิจ ในองค์กรธุ รกิจทัว่ ไป ไม่มี
กฎเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้ชดั เจน
คุณธรรมที่ส่งเสริมการดําเนินธุรกิจ ประกอบด้วย
1.ความไว้วางใจ
2.ความเห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่น
3.ความยุติธรรม
4.ความจริ งใจ
จริ ยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
ทีม่ าของจริยธรรม มาจากแหล่งต่าง ๆ ดังนี้
1. ธรรมชาติ กฎ หรื อหลักการของธรรมชาติที่ปรากฏทัว่ ไป
2. พฤติกรรม หรื อการกระทําของมนุษย์ สัมผัสได้ดว้ ยอินทรี ยท์ ้ งั 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
3. ข้อกําหนดทางศาสนา
4. ค่านิยมต่าง ๆ
5. ปรัชญา
6. วรรณคดี
7. สังคม
8. การเมืองการปกครอง
Market segmentation
Grography segmentation
Market value forecast
Five Force Analysis
Summary
อํานาจของ
ผูซื้อ
อํานาจของ
ผูจัดหา

ระดับของ
การแขงขัน

สินคา ผูเลนราย
ทดแทน ใหม
In the future of Forest Product Industrial
• อุตสาหกรรมยุคศตวรรษที่ 19
– Resource rich
• อุตสาหกรรมยุคศตวรรษที่ 20
– Technology
– Labor cost
• อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
– Zero waste
– Environment
– Increase or Decrease cost
• อุตสาหกรรมหลังปี 2050
Philosophy of Business
Philosophy of Business
Think + Brave Heart + Somebody

Growth

How Where What Why

The way to management

Philosophy of Business
•การบริหารจ ัดการ
•แหล่งว ัตถุดบ

•งบลงทุนและบริหาร
•การบริการ,มาตรฐาน,บุคลากร
•ระเบียบ กฎหมาย
ื่ ถือใน
•ความปลอดภ ัย,ความเชอ
ิ ค้าและบริการ
สน การบริหาร
และการจ ัดการ

ิ ค้าและบริการ
สน

การตลาด

•ตลาดต่างประเทศ
กลไกแห่งความสําเร็ จ“กงล้ อธุรกิจ” •ตลาดในประเทศ
INTRODUCTION OF WOOD
PRODUCTS BUSINESS
การเตรี ยมความพร้ อมในการเป็ น...
“นักธุรกิจผลิตภัณฑ์ไม้ ”
• สภาพธุรกิจในยุคโลกาภิวฒ ั น์คืออะไร (Globalization)
• การเปลี่ยนแปลงสภาพธุรกิจโลก
• เทคโนโลยีก้าวหน้ าเร็วกว่าที่คณ
ุ คาดคิด
• ข่าวสารคืออะไร ทําความเข้ าใจอย่างไรดี
• ประเทศไทยในเวทีโลก
• ธุรกิจในไทยใครเข้ าใจบ้ าง?
• การทําตัวให้ เป็ นกระแส (Current)
• คิดต่างอย่างสร้ างสรรค์ (Advantage Difference and Art Concept)
• การทําธุรกิจบนพื ้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง แบบไทย
Marketing Control
• การควบคุมทรัพยากรธรรมชาติโดยใช้ หลักการตลาด
เป็ นเครื่ องมือในการควบคุม
– ทําทําไม
– ทําอย่างไร
– ทําเพื่ออะไร
– ได้ อะไรจากการลงมือทํา
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
• กิจการสามารถเพิม่ ผลิตภัณฑ์ใหม่ได้หลายวิธเี ช่น
การซือ้ กิจการซึง่ ทําได้ 3 วิธี
– การซือ
้ บริษทั อื่น
– การซือ
้ สิทธิบตั ร (Patents)
– การซือ
้ ลิขสิทธิ ์ หรือ แฟรนไชน์
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
• กิจการพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยการมีหอ้ งทดลองของ
ตนเอง
• กิจการจ้างบริษทั อื่นเข้าทําวิจยั และพัฒนาให้
การแบ่งผลิตภัณฑ์ใหม่จากแนวคิดของ
Booz, Allen และ Hamilton

1. New-to-the-world products: เป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่ทส ่ี ร้างตลาด


ใหม่อย่างแท้จริง
2. New product lines: เป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่ซง่ึ ยอมให้บริษท ั เข้ามา
สร้างตลาดเป็ นครัง้ แรก
3. Additions to existing product line: เป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่ท ่ี
ออกมาเสริมสายผลิตภัณฑ์เดิม เพือ่ สนองความต้องการของตลาด
การแบ่งผลิตภัณฑ์ใหม่จากแนวคิดของ
Booz, Allen และ Hamilton
4. Improvements and revisions of existing products: เป็ น
ผลิต ภัณ ฑ์ใ หม่ซ่ึง เกิด จากการปรับ ปรุ ง เพิ่ม คุณ ค่า และนํ า มา
ทดแทนผลิตภัณฑ์เดิม
5. Repositioning: เป็ นผลิตภัณฑ์เดิมทีน ่ ําเสนอต่อตลาดใหม่หรือ
กลุม่ เป้าหมายใหม่
6. Cost reductions: เป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่ทม ่ี ปี ระสิทธิภาพเท่าเดิม
แต่ตน้ ทุนตํ่ากว่า
ปจั จัยทีเ่ ป็ นอุปสรรคในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
• Shortage of important ideas in certain areas: ไม่สามารถหา
ความคิดริเริม่ ใหม่ๆมาพัฒนาสินค้าพืน้ ฐานได้
• Fragments market: การมุง่ กลุ่มเป้าหมายใหม่ เข้าสูก ่ ลุม่ เฉพาะ
(niche market) ทําให้ปริมาณขายตํ่า และได้กาํ ไรน้อย

• Social and governmental constraints: ข้อจํากัดของสังคม


และรัฐบาล เช่นไม่ปลอดภัยต่อผูใ้ ช้หรือต้องไม่ทาํ ลายสิง่ แวดล้อม
ปจั จัยทีเ่ ป็ นอุปสรรคในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
• Cost of development: ต้นทุนการพัฒนา

• Capital shortages: ขาดแคลนเงินทุน (CrowdFunding)

• Faster required development time: ต้องเรียนรูก


้ าร
ประหยัดเวลาโดยใช้ เทคโนโลยี พันธมิตร และการทดสอบแนวคิด
• Shorter product life cycles: วจชีวต
ิ ผลิตภัณฑ์สนั ้ ลง
การจัดการนวัตกรรม
Managing Innovation
การจัดการนวัตกรรม
Managing Innovation

ความคิดทางนวัตกรรมอาจมา เราจะตองการอะไร และเมื่อไหร


ตองมองใหชัดแลวพัฒนาให สรางสิ่งใหมขึ้นมา แลวจับ
จากแรงบันดาลใจ จากการ แตกอนการคนหาทรัพยากรตอง
ทําการวางแผนกอน เติบโตขึ้น คุณคาใหได
ฟงสูผูตองการนําใช
นวัตกรรมคืออะไรและวิธีการที่เรา
การทําความเขาใจ ทําความเขาใจนวัตกรรมจะชวยให พจนานุกรมใหคําจํากัดความวา
กระบวนการนวัตกรรม เราจัดการกับนวัตกรรมไดดีกวา Innovation คือ Change
Understanding the หรือไม?
Innovation Process

Innovation มาจากภาษาลาตินคือ
in and novare
คือการทําสิ่งใหม, เพื่อเปลี่ยน

นวัตกรรมมีหลายรูปแบบ แตเราสามารถลดไดเปนสี่มิติ
ของการเปลี่ยนแปลง

1.Product innovation 2.Process Innovation


3.Position Innovation 4.Paradigm Innovation
นวัตกรรมมีความสําคัญอย่ างไรกับผู้ประกอบการ?
• Druck, 1994 ; Kanungo, 1990 และ zhao, 2001 กล่าวว่า
นวัต กรรมถื อ เป็ นเครื่ อ งมื อ สํ า คัญ ของการเป็ นผู้ป ระกอบการ
สํ า หรั บ สร้ างความได้ เปรี ย บในเชิ ง การแข่ ง ขั น โอกาสทาง
การตลาด และความสําเร็ จให้ แก่ธุรกิจ จนเป็ นที่เข้ าใจโดยทัว่ กัน
ว่ า การเป็ นผู้ ประกอบการ และการมี น วั ต กรรมเป็ นสิ่ ง ที่ มี
ความสัมพันธ์ซงึ่ กันและกัน
Model for innovation and entrepreneurship

Entrepreneurial
Goals and Recognize Develop
Find Resource Create value
Context Opportunity Venture
เปาหมายและบริบท
คนหาทรัพยากร สรางสรรคคุณคา
การรูโอกาส พัฒนากิจการ
ของผูประกอบการ

Learning
แนวความคิดการควบคุมคุณภาพ
ในกระบวนการทางธุรกิจทังภาคการผลิ
้ ต และภาคบริ การ ล้ วนมีจดุ ประสงค์คือ

ทําอย่างไรให้ สามารถผลิตแล้ วสามารถขายได้

ความสามารถในการขายขึ ้นอยู่กบั การแข่งข้ นด้ านการตลาด

ภาวะตลาดแข่งขันสูง ภาวะตลาดแข่งขันไม่สงู

การพิจารณาคุณภาพผลิตภัณฑ์ในการตัดสินใจซื ้อ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( Asean Economic Community : AEC )
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( Asean Economic Community : AEC )
AEC Blueprint (แบบพิมพ์เขียว) หรือแนวทางทีจ่ ะให้ AEC เป็ นไปคือ
1. การเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน
2.การเป็ นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสู ง
3. การเป็ นภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน
4. การเป็ นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
โดยให้ แต่ ละประเทศใน AEC ให้ มจี ุดเด่ นต่ างๆดังนี้
พม่า : สาขาเกษตรและประมง
มาเลเซีย : สาขาผลิตภัณฑ์ยาง และสาขาสิ่ งทอ
อินโดนีเซีย : สาขาภาพยนต์และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้
ฟิ ลิปปิ นส์ : สาขาอิเล็กทรอนิกส์
สิ งคโปร์ : สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาสุ ขภาพ
ไทย : สาขาการท่ องเทีย่ ว และสาขาการบิน (ประเทศไทยอยู่ตรงกลาง ASEAN)
แรงบันดาลใจในการใช้ประโยชน์
Inspiration in utilization

• สนใจ และตองการจะพัฒนาการนําไมไปใชประโยชนอยางจริงจัง
• ทรัพยากรมีคา ตองรักษาใหไดชั่วลูกชั่วหลาน
• ในสายตาและทัศนคติของสังคมมีความเขาใจผิด ในเรื่องของการนําไม
มาใชประโยชน
• ตองการนําความรูที่ไดไปเผยแพรใหกับนิสิตและผูประกอบการตอไป
ขอบคุณครับ

You might also like