You are on page 1of 42

บทที่ 2

เทคนิคที่สาํ คัญตอการพัฒนาการใช
ประโยชนวนผลิตภัณฑ

Department of Forest Products

Kitipong Tangkit
บทนํา (Introduction)
การสร้างวนผลิตภัณฑขึ ์ น
้ มาสั กสิ่ งหนึ่งนั้น จําเป็ นตองมี
้ หลักการการวางแผน
เพื่อ การพัฒ นาผลิต ภัณ ฑ ์ และการลงทุ น อย่างรอบคอบ ก่อนการตัด สิ น ใจ
สร้างผลิตภัณฑนั์ ้นขึน
้ มา

การวางแผนทํา การศึ ก ษาอย่างรอบครอบ และรอบด้านก่อนการตัด สิ น ใจ


ลงทุน สร้ างโรงงานผลิตวนผลิตภัณฑว์ ่าจะเป็ นประเภทใด ด้วยกระบวนการ
ผลิต ระบบใด จึง ต้ องมีเ ทคนิ ค และหลัก การ ซึ่ง เทคนิ ค และหลัก การนั้น มี
มากมาย

ดังนั้นผู้บรรยายจึงขอบรรยายภายใตหั
้ วขอดั
้ งตอไปนี
่ ้
Chapter Content
เนื้อหาบทที่ 2 เทคนิคทีส
่ ํ าคัญตอการพั
่ ฒนาการใช้ประโยชนวนผลิ
์ ตภัณฑ ์

1. แนวคิดการลงทุน (Investment Idea)


2. การวางแผนในหลักการ (Conceptual Plan)
3. การสํ ารวจวนผลิตภัณฑ ์ (Forest Products Survey)
4. การศึ กษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study)
5. ผลกระทบตอเศรษฐกิ
่ จ สั งคม (Socio-economic Effects)
6. ผลกระทบตอสิ ่ ่ งแวดลอม
้ (Environmental Effects)
1. แนวคิดการลงทุน
(Investment Idea)
1. แนวคิดการลงทุน (Investment Idea)
ผูลงทุนสรางวนผลิตภั ณฑค วรศึ กษาขอมู ลเกี่ ยวกั บสภาพเศรษฐกิจ ซึ่ง เป น
ปจจัยพื้นฐานเปนลําดับแรก แลวจึงพิจารณาสภาพอุตสาหกรรม โดยรวบรวม
ขอมูลทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมมาวิเคราะหแตละสวนเพื่อนําไปสูการตัดสินใจ
ลงทุนในแตละอุตสาหกรรม และลงไปในรายละเอียดแตละผลิตภัณฑตอไป

 นอกจากนี้ผูลงทุนจําเปนตองพิจารณา นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง กฏ


ระเบียบ ขอบังคับ ของรัฐบาลในประเทศที่จะลงทุน และประเทศอื่นๆที่สงผลตอ
การไหลเวียนของเงินทุน กิจกรรมการนําเขา และสงออกปจจัยในการผลิต และ
กิจกรรมการจําหนายเมื่อเปนผลิตภัณฑ ในการวิเคราะหอุตสาหกรรม
1. แนวคิดการลงทุน (Investment Idea) ตอ
ผูวิเคราะหจะตองพิจารณาถึงวัฎจักรผลิตภัณฑวาอยูในระยะใด
(เปนผูสรางสิ่งใหม, ตอยอดสิ่งเดิม หรืออาจเรียกวา พัฒนาขึ้นมาใหม,
พั ฒ นาจากสิ่ ง เดิ ม เป น ต น ) วงจรการขยายตั ว ของผลิ ต ภั ณ ฑ ใ น
อุตสาหกรรมและโครงสรางการแขงขันของอุตสาหกรรมนั้นควบคูกัน
ไป พิจารณาถึงคุณลักษณะ คุณสมบัติ คุณประโยชน และคุณคาจากสิ่ง
ที่จะผลิตในผลิตภัณฑนั้นๆ ซึ่งเปนวิธีการหนึ่งที่ผูลงทุนสามารถนําไปใช
ตัดสินใจเลือกลงทุน และสรางวนผลิตภัณฑได
พลวัตนของโลกใบใหมและแนวโน
่ ้ มอุตสาหกรรมในมิตใิ หม่
ทีม
่ า: แผนแมบทการพั
่ ฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ. 2555-2574 กระทรวงอุตสาหกรรม
การสร้างสรรคคุ
์ ณค่า (Value Creation) เพือ
่ ให้เกิดการสร้าง
Core Competency ของประเทศไทย

Challenge

Innovation

Rick

Value Creation ยกระดับสู่


Global
Knowledge ปรั บตัวให้ สอด
สร้ างด้ วยอะไร Competitiveness
คล้ องกับ
Opportunity

Technology

Threats

ที่มา: แผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ. 2555-2574 กระทรวงอุตสาหกรรม


โครงสรางการส
้ ่ งออกสิ นคาอุ
้ ตสาหกรรมของประเทศไทยและการเปลีย
่ นแปลง
Industrial Structure and Change
ประเทศกําลังพัฒนา ร่วม
ทังประเทศไทย

เปลี่ยนผ่ าน Science-Based
Resource-Based
Research and Development Products
Labor-Intensive
New Design New products

ประเทศไทยถูกบังคับสู่
รูปแบบใหม่

ส่ งผลกระทบ
การใช้ จ่ายเพื่อการวิจัยและพัฒนากับ
ระบบนวัตกรรม
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติ(GDP)
และความสามารถทางการ
ประเทศไทย = 0.26 (ร้ อยละ)
แข่ งขัน
เฉลี่ยในเอเชีย = 2.10
ที่มา: สมนึก เอื ้อจิระพงษ์ พนั ธ์ และคณะ, 2553
ภาพ : กรอบทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมใน 4 มิต ิ
ทีม
่ า: แผนแมบทการพั
่ ฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ. 2555-2574 กระทรวงอุตสาหกรรม
ลักษณะสํ าคัญของรูปแบบการผลิตทีเ่ ปลีย
่ นแปลงภายใตกระแสโลกาภิ
้ วตั น์

ทีม
่ า: แผนแมบทการพั
่ ฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ. 2555-2574 กระทรวงอุตสาหกรรม
ที่มา : FAO 2008
ภาพรวมการใช้ ไม้ ของโลก
Industrial roundwood (millio Sawn timber Wood-base panel (million M3) Paper and paperboard
n M3) (million M3) แผนไมประกอบ (million tones)
กระดาษและกระดาษลูกฟูก
ไมทอนกลม ไมแปรรูป

Year

Production Consumption Production Consumption Production Consumption Production Consumption

2005 273 316 71 84 81 79 121 128

2020 439 498 83 97 160 161 227 234

2030 500 563 97 113 231 236 324 329


2. การวางแผนในหลักการ
(Conceptual Plan)
2. การวางแผนในหลักการ (Conceptual Plan)
กิจกรรมทุกสิ่งบนโลกนี้สามารถประสบความสําเร็จเปนที่นาพอใจ
ได ก็ ต อ เมื่ อ มี ก ารวางแผนวิ ธี ป ฏิ บั ติ ง านอั น ยอดเยี่ ย มและดี พ ร อ ม
โดยเฉพาะอยางยิ่งในการทําสรางผลิตภัณฑ และธุรกิจ การวางแผนยิ่ง
จะทวีคาและมีบทบาทมากยิ่งขึ้น การวางแผนจึงเปนสิ่งสําคัญที่ผูผลิต
และผูพัฒนาผลิตภัณฑควรใหความสําคัญมากเปนพิเศษ โดยเฉพาะกับ
การเริ่มตนธุรกิจใหม จึงไดแนะนําวิธีการวางแผนที่เรียบงายแตเขาถึง
แกนแทของกิจกรรมไว 5 ขั้นตอน
2. การวางแผนในหลักการ (Conceptual Plan) ตอ
2.1 การวิเคราะหศักยภาพ
เป นขั้ น ตอนที่ ผู ผลิ ต และผู พั ฒนาผลิ ตภั ณ ฑต องดํ าเนิ นการเป น อั นดั บ แรกเพื่ อ
วิเคราะหขอมูลเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจที่จะทํา ไมวาจะเปนเรื่องของจุดเดน (S
= Strengths) จุดดอย (W = Weaknesses) โอกาส (O = Opportunities) และ
อุปสรรค (T = Threats) ซึ่งการวิเคราะหขอมูลในทั้ง 4 เรื่องจะชวยให
ผูประกอบการทราบขอมูลเชิงลึกเกี่ยวกับรายละเอียดของธุรกิจที่แทจริง อันจะ
นํามากําหนดกรอบและวางแผนทางธุ รกิ จให มีป ระสิทธิ ภาพมากยิ่ งขึ้ น ซึ่ง การ
วางแผนควรเปนการประชุมแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกันและระดมสมองตัดสินใจ
เพื่อใหไดกรอบนโยบายและแผนการที่ดีที่สุดนั่นเอง
วิเคราะหสภาพแวดล
์ อมทางธุ
้ รกิจ

หาพันธมิตร โอกาส รุกขยายงาน


ปรับปรุง เรงดํ
่ าเนินการ
จุดออน
่ สถานการณ ์ จุดแข็ง

ถอย ป้องกันตัว
อดทน อุปสรรค
หลบเลีย
่ งปรับ
จุดแข็ง (Strength)/ จุดออน (Weak)
• ใชขอมูลเทียบกับคูแขงขันวาเราเหนือกวาหรือดอยกวาอยางไร (สํารวจตัวเอง =
พิชัยสงครามซุนวู รูเรา)
• ขอมูลเชิงปริมาณ เชน ยอดขาย จํานวนพนักงาน ตนทุนการผลิต ปริมาณการผลิต
• ขอมูลเชิงคุณภาพ เชน ความสัมพันธของเรากับคนกลาง ความภักดีของลูกคาตอ
สินคาของเรา ความทันสมัยของเทคโนโลยี

(Internal Factors)
โอกาส (Opportunity)/ อุปสรรค (Treat)

• เปนการประเมินสถานการณผลกระทบการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น
ได ของสภาพแวดลอมทั่วไปของบริษัทฯ เชนฤดูกาล การเปลี่ยนแปลง
ในความต อ งการสิ น ค า ของลู ก ค า กฎหมายการเมื อ ง เป น ต น (ดู
สภาพแวดลอม)

(External Factors)
กลยุทธการตลาดและกลยุทธการบริหาร
หมายถึง การกําหนดเพื่อรักษาความไดเปรียบในการ
แขงขันอยางตอเนื่องในระดับสูงขึ้นเปนการกําหนดวา Business Portfolio
บริษัทจะตอสูใน
*ขอบเขตธุรกิจใด
เหตุผลที่บริษัทมีหลายๆธุรกิจ มี 2 เหตุผล

*ผสมผสานธุรกิจอยางไร 1.เพื่อขยายธุรกิจ
*จัดสรรทรัพยากรอยางไร 2.เพื่อกระจายความเสี่ยง

Business Portfolio ตองคํานึงถึง


1. จะประเมินคาความนาสนใจของธุรกิจนั้นอยางไร
2. บริษัทมีความสามารถในการสรางความไดเปรียบในการแขงขันใหแกธุรกิจนั้นไดหรือไม
3. Synergy ระหวางฝายธุรกิจ
2. การวางแผนในหลักการ (Conceptual Plan) ตอ

2.2 นําแผนที่ไดไปลงลึกในขั้นตอนปฏิบัติ
หลังจากกําหนดแผนธุรกิจจากขอมูลที่วิเคราะหแลว ขั้นตอมาก็คือการนําแผนที่
ไดมาลงรายละเอียดขั้นปฎิบัติเพื่อนําไปใชจริงเมื่อปลอยสินคาและบริการเขาสู
ตลาด ไมวาจะเป น การวางแผนเรื่ องการตลาด การแบ ง กลุ มลู กค า ราคา การ
โฆษณา กลยุ ท ธ ธุรกิจ บรรจุ ภั ณ ฑ ช องทางการจั ดจํ าหน าย การส ง สิ นค าแบบ
เรง ดวน สถานที่ จําหน าย ฯลฯ ซึ่ ง ขั้ น ตอนเหล านี้ ตองสอดรั บ กั บ การวิ เ คราะห
ศักยภาพตามขั้นตอนแรกเปนอยางดีดวย
กลไกแหงความสํ
่ าเร็จ“กงลอธุ
้ รกิจ” •การบริหารจัดการ
•แหลงวัตถุดิบ •งบลงทุนและบริหาร
•การบริการ,มาตรฐาน,บุคลากร •ระเบียบ กฎหมาย
•ความปลอดภัย,ความเชื่อถือในสินคาและบริการ
การบริหาร
และการจัดการ
สิ นค้าและบริการ

การตลาด
•ตลาดตางประเทศ
•ตลาดในประเทศ
2. การวางแผนในหลักการ (Conceptual Plan) ตอ
2.3 สรางเครือขาย
การทําธุรกิจในปจจุบันไมไดเรียบงายเหมือนอยางเชนในอดีตที่แคนําสินคาออกมา
วางขายก็จบ เพราะมีปจจัยหลายๆ อยางเขามาเกี่ยวของและสงผลกระทบดวย
โดยเฉพาะเรื่องเครือขายธุรกิจ ซึ่งธุรกิจที่เกิดใหมจะเดินไปขางหนาไมไดเลยหาก
ขาดเครือขายลูกคาและคู ธุรกิจที่ จะมารองรับ การดํ าเนินงานในอนาคต ดัง นั้ น
ผู ผ ลิ ต จึ ง ต อ งมี แ ผนเดิ น สายพบปะเครื อ ข า ยเหล า นั้ น ให ม ากยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ เชื่ อ ม
สัมพันธภาพระหวางกัน การพบปะพูดคุยกันแตละครั้งนั้นควรแสดงออกถึงความ
จริงใจและพูดคุยในเรื่องที่มีจุดยืนรวมกัน เพื่อตรวจสอบดูวาใครคือผูที่สามารถ
สนับสนุนและใหการชวยเหลือไดจริงๆ
2. การวางแผนในหลักการ (Conceptual Plan) ตอ
2.4 เขาใจลูกคา
การจะขายสินคาหรือบริการใหประสบความสําเร็จ ผูผลิตการตองเขาใจความคิด
ความตองการของลูกคาอยางแทจริง วาสําหรับพวกเขาแลวสิ่งไหนคือสิ่งที่ใชหรือ
ไมใช ขั้นตอนนี้เราตองลงลึกถึงรายละเอียดปลีกยอยสวนบุคคลหรือที่เรียกวาไลฟ
สไตลเลยทีเดียว ไมวาจะเปนเรื่องลักษณะการใชชีวิตประจําวัน งานอดิเรก อาชีพ
อายุ รายได การทํางาน โทรทัศนรายการโปรด เว็บไซตท่ีชอบ หนังสือที่อาน เพลง
ที่ ฟ ง ฯลฯ ซึ่ ง ข อ มู ล ส ว นบุ ค คลที่ ไ ด ม าเหล า นี้ จ ะช ว ยทํ า ให ผู ผ ลิ ต หรื อ ผู พั ฒ นา
ผลิตภัณฑเอาชนะใจลูกคาไดงายขึ้น ทั้งยังเปนสวนที่ทําใหเราเหนือกวาคูแขงอีก
ดวย
2. การวางแผนในหลักการ (Conceptual Plan) ตอ
2.5 มองภาพรวม
วิสัยทัศนคือสิ่งหนึ่งที่ผูผลิตและผูพัฒนาผลิตภัณฑทุกคนจําเปนตองมี คือตองรู
ตัวเองวาอีก 3 – 4 ปขางหนาธุรกิจจะมีแผนเดินไปในทิศทางใด ซึ่งอนาคตของ
ธุรกิจเปนสิ่ง ที่ ผูผลิตสามารถสร างสรรคและกํ าหนดขึ้ นมาเองได ไม ใช เ รื่องของ
โชคชะตาแตอยางใด ดังนั้นการมีเปาหมายและวางแผนธุรกิจเพื่อการเติบโตจึงเปน
หนึ่งโครงสรางสําคัญของการวางแผนทางธุรกิจ
3. การสํารวจวนผลิตภัณฑ
(Forest Products Survey)
3. การสํารวจวนผลิตภัณฑ (Forest Products Survey)
INCOME
การพัฒนา
ผลิตภัณฑ

Technology

ความสําเร็จของ Innovation
การเปลี่ยนแปลง ธุรกิจ สภาพแวดลอม
อยางรวดเร็ว เกิดจากอะไร? ทางการแขงขัน
มีปจจัยใดบาง?

กลยุทธตรา
สินคา และ
ผลิตภัณฑ
Positioning

• Product strategy จะแสดงวาองคการ • เราตองการรูวา?


พยายามที่จะแยกความแตกตางของตัวเอง
• ผูซื้อคาดหวังอะไรจากสินคาและบริการ
ระยะของตัวเอง จากคูแขงขันไดอยางไร
จากเรา
• สินคาและบริการของเรามีประโยชน
และโดดเดนกวาอยางไร
• สินคาและบริการของเรามีความพิเศษ
กวาอยางไร
Differentiation • สินคาและบริการของเรามีความนา
ดึงดูดกวาอยางไร
ตางจาก
• Levitt’s idea วัดจากคูแข
ใคร? ่ ง่

1. The core product

2. The expected product อะไรที่ตาง คุณภาพที่เหนือกวา


บาง
วัตถุดิบดีกวา
3. The augmented product
ประสิทธิภาพดีกวา
4. The potential product
คุณลักษณะใหมกวา
ไมใชสิ่งที่หาไดทั่วไป
ความคาดหวังของลูกคามีการเปลี่ยนแปลง

การแขงขันเปนตัวขับดันความคาดหวัง
ตนไมหนึ่งตน ทําอะไรไดบาง! ไมเปลี่ยนรูป
ไมกอสราง #แผนใยไมอดั ความ
เฟอรนิเจอร หนาแนนปานกลาง MDF
ไมพื้น / ไมปารเก #แผนใยไมอัดซีเมนต
ไมแปรรูป 50-60% ไมรองยก #แผนชิ้นไมอัดซีเมนต
โรงงานแปรรูปไม #เยื่อ / กระดาษ
ปกไม / เศษไม 30-35% ของเลนไม
ไมประกับ #แผนชิ้นไมอัด PB
ขี้เลื่อย 12-15% ไมดัดโคง #Bio-Oil
#แผนฝาฉนวน
โรงงานปอก / แผนชิ้นไมอัด OSB #แผนใยยิปซัม
ไมทํารั้ว #แผนเทียมไม Shera
สไลดแผนไม
ถาน / ฝน #ชิ้นไมสําหรับรมควัน
แผนไมบาง อาหาร
ไมหนึ่งทอน แผนไมอัด ไมพลาสติก #แผนใยไมอัดความ
ไมบางประกับ LVL น้ํามันดิน หนาแนนสูง HDF
แผนปดผิว พลังงาน - ถาน #ไสในประตูอัด
พลังงาน - ไฟฟา #ผลิตภัณฑเคมีจากไม
พลังงาน - ความรอน เชน น้ํามันกฤษณา
เศษไม /เปลือกไม 20-25% วัสดุเพาะเห็ด #ไมพลาสติก
โรงงานผลิตชิ้นไมสบ
ั ชิ้นไมสับ 70-75%
ตนไมหนึ่งตน ทําอะไรไดบาง! #แผนใยไมอัดความ
หนาแนนปานกลาง MD
F
ชิ้นไมสับ #แผนใยไมอัดซีเมนต
ตอ / รากไม
เฟอรนิเจอร #แผนชิ้นไมอัดซีเมนต
#เยื่อ / กระดาษ
งานหัตถกรรม #แผนชิ้นไมอัด PB
#Bio-Oil
กิ่ง / กาน / ใบ #แผนฝาฉนวน
#แผนใยยิปซัม
พลังงาน ไฟฟา #แผนเทียมไม Shera
พลังงาน ความรอน #ชิ้นไมสําหรับรมควัน
ผลิตภัณฑเคมีจากไม อาหาร
น้ํามันหอมระเหย #แผนใยไมอัดความ
ถาน,ฟน หนาแนนสูง HDF
อาหารสัตว #ไสในประตูอัด
#ผลิตภัณฑเคมีจากไม
โรงงานผลิตปุยชีวภาพ เชน น้ํามันกฤษณา
#ไมพลาสติก
เปลือกไม 15-20% วัสดุเพาะปลูก
4. การศึ กษาความเป็ นไปได้
(Feasibility Study)
4. การศึกษาความเปนไปได (Feasibility Study)
4.1 การศึกษากอนความเปนไปได (Prefeasibility Study)
วัตถุประสงค และขอบเขตการศึกษา
สรุปผล
พื้นฐานทางเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม
แหลงวัตถุดิบ
ตลาด
กําไรที่คาดหวัง
กฎหมายที่เกี่ยวของ
แลวนําผลที่ไดจากการศึกษากอนความเปนไปได ไปทําการศึกษาความเปนไปไดโดยละเอียด
4. การศึกษาความเปนไปได (Feasibility Study) (ตอ)
แหลงวัตถุดิบ
การวิจัยตลาด
การออกแบบ
เงินลงทุน
ตนทุนการผลิต
การวิเคราะหกําไร
5. ผลกระทบตอเศรษฐกิ
่ จ สั งคม
(Socio-economic Effects)
5. ผลกระทบตอเศรษฐกิจ สังคม (Socio-economic Effects)
การพัฒนา
การจางแรงงาน
การกระจายรายได
การพึ่งตนเอง
สมดุลการคา การลงทุน
พลังงานของประเทศ
การกระจายของประชากร
ความชํานาญของแรงงาน
ความเปนอยูและวิถีชีวิต
ผลพลอยไดจากสิ่งที่สรางขึ้น
6. ผลกระทบตอสิ
่ ่ งแวดลอม

(Environmental Effects)
6. ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Effects)
FSC และการรับรองทางปาไม (Forest Certification)
FSC (Forest Stewardship Council)

เปนองคกรเอกชนภายใตความรวม-มือของกลุมตางๆจากทั่วโลก อาทิ กลุมอนุรักษปา


ไม และสิ่งแวดลอม ผูคาไม ผูผลิตสินคาจากไม และองคกรผูใหการรับรองไม และ
ผลิตภัณฑจากไม เพื่อจัดทําระบบการใหการรับรองไมและผลิตภัณฑไม ซึ่งเปนการ
รับประกันวา ไมและผลิตภัณฑไมที่ไดรับการประทับเครื่องหมาย FSC เปนไมและ
ผลิตภัณฑที่ใชไมจากปาธรรมชาติหรือปาปลูกที่มีการจัดการปาอยางถูกตองตาม
หลักการที่เปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ คือมีการปลูกไมแบบยั่งยืน
ตัวอยางใบรับรอง FSC (การรับรองทางปาไม)
การรับรองทางปาไม (Forest Certification)

การรับรองทางปาไม (Forest Certification)


เปนเครื่องมือหรือวิธีการใหมที่มีผลกระทบโดยตรงตอวงการ
ปาไมทั่วโลก โดยการใชการตลาดเปนขอกําหนดในการจูงใจให
ปรั บ ปรุ ง วิ ธี ก ารจั ด การป า ไม โดยวิ ธี ก ารที่ ไ ด รั บ การยอมรั บ
แพร ห ลายและเพิ่ ม ขึ้ น อย า งรวดเร็ ว เพราะเป น การชั ก จู ง ให
กระทําตามโดยมิใชบังคับโดยกฎหมายหรือกฎระเบียบตางๆอยาง
ที่เคยปฏิบัติมาในอดีต และประการสําคัญวิธีการนี้สามารถชวย
ใหผูที่เกี่ยวของกับปาไม(Stake – holders) หันหนาเขาหากัน
เพื่อที่จะเดินไปตามหลักการของการพัฒนาแบบยั่งยืน
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Effects)
การรับรองปาไม (F.C) ไดมีการพัฒนาตอจากการประชุม UNCED (United Nation Conference on
Environment and Development) ที่เมือง Rio de Janeiro, ประเทศบราซิล เมื่อวันที่ 3 – 14
มิถุนายน ป 1992 ซึ่งมีขอสรุปรวมกันที่จะใหความสนใจ 3 ประการหลัก คือ

1.ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biological Diversity)

2.การเปลี่ยนแปลงของชั้นบรรยากาศ (Climate Change)

3.การตอสูกับการเปลี่ยนที่ดินที่อุดมสมบูรณใหเปนทะเลทรายหรือเพาะปลูกไมได
(Combat Desertification)

You might also like