You are on page 1of 78

บทที่ 3

คุณสมบัติเบื้องตนของกระบวนการแปรรูป
ทางวนผลิตภัณฑ และการวัดคุณคา
การใชประโยชนวนผลิตภัณฑ

Department of Forest Products

By: Kitipong Tangkit


บทนํา (Introduction)
การจะนําวัตถุดิบใดมาใชประโยชนตองคํานึงถึงสิ่งตางๆ ดังตอไปนี้
ความรูความเขาใจ ในวัตถุดิบนั้น
ความถูกตอง
ความเหมาะสม
ความมีประสิทธิภาพ และทราบถึง
วัตถุประสงคของการนํามาใชประโยชน เปนตน
บทนํา (Introduction) (ตอ)
สําหรับวัตถุดิบเพื่อการผลิตทางวนผลิตภัณฑนั้น สวนใหญไดมาจาก 2 ทาง คือ
1. ไดมาจากธรรมชาติ ซึ่งสวนมากจะเปนไม ซึ่งแตเดิมไมนั้นไดมาจากพืชที่ใหเนื้อไมที่
ขึ้นอยูในปา หรือทองที่ทั่วไป ซึ่งประเทศไทยจัดวาเปนปาโซนอบอุน มีความหลากหลายทางชีวภาพ
ของชนิดไมที่เหมาะสม และมีคุณสมบัติที่ดีในการนํามาใชประโยชนทางวนผลิตภัณฑไดหลากหลาย
ชนิดพันธุ
2. ไดม าจากการจัด การและสรางขึ้น อาจเรี ย กว า เปนการเลีย นแบบธรรมชาติ ซึ่ง
ปจจุบันไมเหลานี้ไดมาจากการจัดการปลูกสรางสวนปาขึ้นมาอยางเปนระบบเพื่อการนํามาใชประโยชน
ซึ่งตองมีการบริหารจัดการชนิดพันธุ จัดการพื้นที่ปลูก และจัดการสภาพแวดลอมใหเหมาะในการปลูก
เปนตน เพื่อใหไดเนื้อไมที่เหมาะสมตอการนําไปใชงานแตละประเภท หรืออาจเปนการรวมวัสดุที่ได
จากธรรมชาติ คื อ ไม กับวั ส ดุ ที่ ทํ า ขึ้ นมา เพื่ อ ทํ า ให ไ ม เ ดิ ม ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติที่ ไ มดี บางประการกับ มามี
คุณสมบัติที่ดีกวาเดิม เพื่อการใชประโยชน เชนไมอาบน้ํายา ไมอาบพลาสติก ไมอาบสารประกอบโพลี
เมอร ซึ่งอาจถือวาเปนวัสดุที่มนุษยทําขึ้นมาก็ได (Artificial Material) ซึ่งไมเหลานั้นถูกนํามาใช
ประโยชนทั้งทางตรง และทางออม ดังนี้
ดัดแปลงจาก : สุพิชญ ภาสบุตร , อุตสาหรรมปาไมขนาดยอม
วัตถุดิบเพื่อการใชประโยชนทางวนผลิตภัณฑ
1. ทางตรง เชน นํามาใชในรูปไมแปรรูป ทําดามเครื่องมือตางๆ ใชในการทําไมโครงสรางอาคาร
ทําไมเพื่อการกอสราง ทําไมแบบชนิดตางๆ

2. ทางออม เชน การนํามาแปรสภาพใหเปนเสนใย เพื่อการทํากระดาษ การทําแผนใยไมอัดความ


หนาแนนตางๆ ทําแผนใยไมอัดพลาสติก เปนตน ซึ่งมนุษยไดทําการเปลี่ยนสภาพขึ้นมาให
เปนอีกสภาพหนึ่งซึ่งนําไปใชประโยชนไดนอกเหนือจากธรรมชาติและการใชประโยชน
โดยตรง

ดัดแปลงจาก : สุพิชญ ภาสบุตร , อุตสาหรรมปาไมขนาดยอม


Chapter Content
เนื้อหาบทที่ 3 คุณสมบัติเบื้องตนของกระบวนการแปรรูปวนผลิตภัณฑ และ
การวัดคุณคาการใชประโยชนวนผลิตภัณฑ
1. ชนิดของวัตถุดิบ

2. ความเหมาะสมของวัตถุดิบแตละชนิด

3. การวัดและสงมอบคุณคาวนผลิตภัณฑ
การที่ เ ราจะนํ าไม ทั้ งจากธรรมชาติ หรื อ ที่ ม นุ ษย ส ร า งหรื อ บริ ห ารจัด การวัต ถุดิ บขึ้น มา มาใช
ประโยชนทางวนผลิตภัณฑ เราจําเปนตองมีความรูเกี่ยวกับไมบางประการ.............
นอกจากนี้ในปจจุบันชีวมวล (Biomass) ซึ่งก็รวมเนื้อไมอยูในความหมายนี้ดวย เริ่มทวีบทบาท
ของการใชประโยชนทางวนผลิตภัณฑมากยิ่งขึ้น ซึ่งก็หลีกหนีไมพนการที่เราตองทําความเขาใจ
ดวยเชนกัน

หมายเหตุ ชีวมวล คือ สารอินทรียทั่วๆไปจากธรรมชาติ ที่จะสะสมพลังงานเก็บเอาไวในตัวของมันเอง และ


สามารถนําพลังงานของมันที่เก็บสะสมเอาไวมาใชประโยชนได ตัวอยางของสารอินทรียเหลานี้ เชน เศษหญา
เศษไม เศษวัสดุเหลือใชจากการเกษตรหรือจากการอุตสาหกรรม เชน ขี้เลื่อย ขี้กบ ฟาง แกลบ ชานออย เปนตน
สารอินทรีย คือ สารที่มีธาตุคารบอน เปนองคประกอบหลัก และมีธาตุอื่นๆเปนองคประกอบรวม เชนธาตุ O ,
N , S , Cl และ Br เปนตน ซึ่งไดมาจากสิ่งมีชีวิต หรือไมมีชีวิตก็ได
สารอนินทรีย คือ สารที่ไมใชสารที่ประกอบดวยธาตุคารบอนและไฮโดรเจน แตจะมีธาตุที่เปนโลหะ มักไมมี
พันธะเชื่อมระหวางอะตอมของคารบอนและไฮโดรเจนและไดจากสิ่งไมมีชีวิต
3.1 ชนิดของวัตถุดิบ
Types of Raw Materials
Department of Forest Products

By: Kitipong Tangkit


ชนิดของวัตถุดิบ
Types of Raw Materials
เราอาจแบงชนิดของวัตถุดบิ ตามคุณสมบัติ หรือตามคุณภาพของวัตถุดิบ
หรือปจจัยแวดลอมอื่นๆ เพื่อการใชประโยชนในแตละวนผลิตภัณฑ หรือ
แตละอุตสาหกรรมการผลิตภัณฑ โดยมีหลักการคราวๆดังนี้
1. การประเมินจากคุณสมบัติของเนื้อไม
2. จากขนาดของตนไม
3. ความยากลําบากในการนําออกมาใชงาน
4. ปริมาณ ฯลฯ
1. การประเมินจากคุณสมบัติของเนื้อไม
Wood Properties
การนําไมมาใชประโยชน ขาดไมไดที่จะตองการศึกษาคุณสมบัติในดานตางๆของไม
ซึ่งไมแตละชนิดก็จะมีคุณสมบัติดังกลาวแตกตางกันออกไป ซึ่งการศึกษาคุณสมบัติจะชวยใหการ
ตัดสินใจในการนําไมมาใชประโยชนมีศักยภาพ คุณภาพ และไดคุณลักษณะผลิตภัณฑที่ตองการ
ทั้งยังเปนการชวยสรางความเขาใจในการปรับปรุงการออกแบบ การผลิต และการวางแผนการ
ผลิตที่สําคัญอีกดวย ดังนั้นเราตองทําความเขาใจในคุณสมบัติพื้นฐานของไมดังตอไปนี้
1.1. ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม (Wood Anatomy)
1.2. คุณสมบัติทางฟสิกสของเนื้อไม (Physical properties of wood)
1.3. คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม (Mechanical properties of wood)
1.4. คุณสมบัติทางเคมีของเนื้อไม (Chemical properties of wood)
1.1. ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
เนื้อไมมีลักษณะเปนของแข็งมีรูพรุน ประกอบดวยเซลลตางๆจํานวนมาก เมื่อตนไมยังเจริญเติบโตอยู
เซลลตางๆ ก็ทําหนาที่แตกตางกันออกไป เชนลําเลียงน้ําและแรธาตุ กักเก็บอาหาร หรือทําหนาที่ให
ความแข็งแรง
หากต น ไม ถู ก ตั ด ฟ น ออกมาใช ประโยชน แ ล ว เซลล ตา งๆเหล า นี้ ก็ หยุ ด ทํ า งานลงไป
คงเหลือไวแตเพียงโครง ซึ่งก็คือสวนของผนังเซลลซึ่งเปนองคประกอบของสวนใหญของเนื้อไม

ดัดแปลงจาก : ผศ.ดร. วิวัฒน หาญวงศจิรวัฒน , วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทางไมเบื้องตน


1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
ความหมายของเนื้อไม
ความหมายเนื้อไมแบงออกไดสองลักษณะ
1. เนื้อไมเปนวัตถุ คือ จัดเปนของแข็งที่มีรูพรุน (porous wood) ประกอบดวยสารพวกเซลลูโลส
(cellulose) และ ลิกนิน (lignin) รวมเรียกวา lignocellulosic substances
2. แบงออกโดยองคประกอบที่เปนเซลลของเนื้อไม ซึ่งมีชนิด ปริมาณ และการเรียงตัวแตกตางกัน
ออกไป โดยเนื้อไมก็คือ สวนของไซเลม (xylem) ในตนไมนั้นเอง
ซึ่งองคประกอบของเนื้อไมมีกําเนิดจากการแบงตัวของเซลลแมที่อยูในชั้นของแคม
เบียม ซึ่งหุมไซเลมอยูโดยรอบ มีการทําหนาที่แตกตางกันออกไป แตเมื่อเซลลหยุดทําหนาที่ หรือ
ตายก็จะเหลือเพียงแตโครง คือสวนของผนังเซลลซึ่งเปนองคประกอบสวนใหญของเนื้อไม และเมื่อ
รวมกับปริมาตรของชองวางภายในเซลล ก็จะเปนปริมาตรของเนื้อไมทั้งหมด

ดัดแปลงจาก : รศ.ดร. ธีระ วีณิน, การวิภาคของไม


1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
ลักษณะโครงสรางของเนื้อไมประกอบไปดวย

ไมใบแคบ ไมใบกวาง
softwood Hardwood

เนื้อไมตนฤดู เนื้อไมปลายฤดู
early wood or springwood late wood or summerwood
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy กระพี้และแกน (Sapwood and Heartwood)
• คุณสมบัติที่แตกตางระหวางกระพี้และแกน
– น้ําหนัก
– ความทนทาน
– การยอมใหของเหลวไหลผาน
สวนของวงรอบป (Tree Ring)
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy

 เนื้อไมที่เกิดในฤดูฝนหรือฤดูใบไมผลิ
 ความหนาแนนต่ํา
 เซลลขนาดใหญ
 โปรงและผนังบาง
 เรียกเนื้อไมตนฤดูวา (early wood หรือ springwood)
 เนื้อไมที่เกิดขึ้นปลายฤดูการเจริญเติบโต หรือฤดูรอน
 ความหนาแนนสูง
 มีเซลลแคบ
 ทึบและผนังหนา
 เรียกเนื้อไมปลายฤดูวา (late wood หรือ summerwood)
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
ลักษณะโครงสรางของเนื้อไม
• เสี้ยนไม (Grain) คือการเรียงตัวของเซลล โดยเฉพาะเซลลที่เรียงตัว
ตามยาว สังเกตไดจากดานตามยาวของเนื้อไม
– เสี้ยนตรง (straight grain) เซลลเรียงตัวกันตามยาวของลําตน
– เสี้ยนเกลียว (spiral grain) เซลลเรียงตัวบิดรอบแกนของลําตน
– เสี้ยนสน (interlock grain) เซลลเรียงตัวสลับทิศทางและสวนทางกัน
– เสี้ยนเปนคลื่น (curly or wavy grain) เซลลเรียงตัวเปนลอนคลายลูกคลื่น

• ทอยางน้ํามันไม (Resin canal)มีผลกระทบเมื่อ ยางน้ํามันในทอ


ของเทรคีดไปติดอยูที่ปลายคมมีด เชนใบมีดแบบ cutter head ทําให
ผิวหนาเวลาไสไมเกิดเปนรอยบุม
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
ลักษณะโครงสรางของเนื้อไม (ตอ)
• เวสเซล (Vessel) ไมปรากฏในไมตระกูลสน เปนเซลลที่มีปลายทะลุทั้ง
สองขาง มีลักษณะคลายทอสั้นๆ ตอกันเปนทอยาวติดตอกันไป ทําหนาที่
ลําเลียงน้ํา โดยเลี้ยงจากรากขึ้นสูเรือนยอด
– สิ่งสําคัญคือขนาดของเวสเซล ซึ่งแตกตางกันมากในไมใบกวางแตละ
ชนิด
• พอรเปนวง (Ring-porous wood)
พอร์
• แบบพอรกระจาย (Diffuse-porous) เวสเซล
• Semi-ring-porous
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
ลักษณะโครงสรางของเนื้อไม (ตอ)
• ความสําคัญของขนาดของเวสเซลตอการแปรรูปไสตกแตงไมดวย
เครื่องจักร
– ยกตัวอยางเชน Sample
• ความแข็งแรงของโมเลกุลในการยึดเกาะของแผนวีเนียร
• เวสเซลนอยจะมีความหนาแนนสูง มีความแข็งแรงมาก ทําใหแปรรูปไดยาก
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
ลักษณะโครงสรางของเนื้อไม (ตอ)
• ไฟเบอร (Fibre) เปนสวนประกอบหลักของเนือ้ ไม
– ซึ่งก็คือเนื้อเยื่อที่เปนเนื้อไมของไมจาํ พวกไมใบกวาง ซึ่งประกอบดวยไฟเบอร
– ไฟเบอรของไมใบกวางคลายกับ เทคคีดเสนใย (fibre tracheid) ในไมใบแคบ
– เปนเซลลที่เรียงตัวตามยาวมีปลายเรียวทั้งสองดาน และมีผนังหนา
– เสนใยของไมใบกวางคิดเปนเปอรเซ็นตของเนื้อไมมีความแปรผันอยูระหวาง 25-50
% แลวแตชนิดไม ซึ่งมีการนํามาใชทําเยื่อกระดาษ
– สวนความยาวของไฟเบอรนั้นมีความแปรผันตามชนิดไม แตพบวาในไมใบกวางมี
ความยาวของเสนใยสั้นกวาใน เทคคีดเสนใยในไมใบแคบ
– ลักษณะการเรียงตัวของไฟเบอรและ เวสเซลของไมใบกวางที่มีองศาที่แตกตางกัน
ออกไป ทําใหเกิดเปนลายของเนื้อไมขึ้นมา
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
คุณสมบัติและโครงสรางของเนื้อไมที่มีผลตอการแปรรูป

• Anisotropic คือ ลักษณะโครงสรางที่ไมเหมือนกันทั้งสามดานของไม


• ตางจาก Isotropic เชนจําพวกโลหะ ยกตัวอยางเชน อลูมิเนียม เหล็ก ซึ่งมี
ทั้งสามดานเหมือนกันหมด
• คุณสมบัติ anisotropic เปนสิ่งสําคัญที่จะมีผลกระทบตอการเกิด chip และ
chip information เพื่อใหเขาใจวาไมขณะแปรรูปนั้นเปนอยางไร
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
ระนาบที่สําคัญในระหวางการใชเครื่องจักรแปรรูปไม
• ดานหนาตัด cross section คือ ดานที่การกระทําตั้งฉากกับทิศทางการเรียงตัวของเสี้ยน
หรือดานที่ตัดขวางตั้งฉากกับลําตน
• ดานสัมผัส Tangential section คือ ดานที่ตัดตามยาว ในแนวตั้งฉากกับแถบเซลลรัศมี
• ดานนี้จึงเปนสวนโคงและตัง้ ฉากกับ cross section
• ดานรัศมี Radial section คือดานตัดตามยาว ในแนวของแถบเซลลรัศมี ซึ่งมีจุดศูนยกลาง
อยูที่ใจไม (pith) ทางดานรัศมี และดานเสนสัมผัสวงกลม tangential section และตั้ง
ฉากกับ
cross section เหมือนกัน
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
การตัดไมในระนาบตางๆ
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
การเรียงตัวของไฟเบอร (Fibre) ตอการทํางานของการ
แปรรูปและไสตกแตงไมดวยเครื่องจักร
• ปญหาจากการแปรรูปไสตกแตงไมดวยเครื่องจักร
1. Ribbon or strip figure เกิดจากการที่เสี้ยนของเนือ้ ไมนั้นกลับไปมา แบบ spiral
เมื่อเราตัดตามแนวรัศมี องศาที่สลับไปมาของการเรียงตัวของเซลลมีผลตอสมบัติ
ของบริเวณที่เกิดการสลับ ซึ่งในบริเวณดังกลาวจะมีสีแตกตางกันไป ทําใหเกิดเปน
ลักษณะที่เรียกวา ribbon figure
• เมื่อทําการไสตกแตงไมดวยเครื่องจักรอาจเกิดเสี้ยนกะเทาะขึ้นมา ถาปอนไม
ในทิศทางตรงกันขามกับการเรียงตัวของเสี้ยนหรือบริเวณนั้นเกิดการเรียงตัว
ของเสี้ยนไมแบบเปนริ้ว
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
2. Bird’s-eye figure คลายๆกับตานก หรือบางครั้งเสี้ยนเบี่ยงเบนจนมี
ลักษณะคลายเปนรูปโคนเกิดขึ้นเปนแหงๆของวงเจริญเติบโต
• เมื่อทําการปลอกไมบางตองระมัดระวัง เพื่ออาจทําใหใบมีดเกิดการดึงตัวได
• และเมื่อปลอกไมบางแลวจะเกิดเปนลักษณะลวดลายเปนรูปคลายตานกเกิดขึ้น
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
• 3. ลายคลื่นไม นิยมในการแปรรูปในไมเชิงพานิชเชน ไมmaple, ash เมื่อเราทํา
การผาในระนาบรัศมีในไมจะมีลักษณะคลื่นเฉพาะขึ้นมา
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
ชนิดของไมเชิงพาณิชย
• Softwoods ไมใบแคบ จําพวก conifer ไมจําพวกนี้ใบจะมีลักษณะเปนรูปเข็มหรือ
คลายเกล็ด (needle-like or scale like leave) เซลลที่พบสวนใหญคือ tracheid
ตามยาว ซึ่งมีอยูประมาณรอยละ 90 ของปริมาณเนื้อไมทั้งหมด เชน pines spruces
cedars, Douglas-fir
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
ชนิดของไมเชิงพาณิชย
• Hardwoods ไมใบกวาง เชน beech, maples, ashes, oaks,
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
Hardwoods & Softwoods
• ถาเปรียบเทียบระหวางไมใบกวางและไมใบแคบ จะพบวาไมใบกวางจะมี
ความสม่ํ า เสมอของโครงสร า งน อ ยกว า และไม ใ บกว า งจะมี ค วาม
สลับซับซอนของโครงสรางมากกวาไมใบแคบ
1.1 ลักษณะทางกายวิภาคของเนื้อไม
Wood Anatomy
• 3. ลายคลื่นไม นิยมในการแปรรูปในไมเชิงพานิชเชน ไมmaple, ash เมื่อ
เราทําการผาในระนาบรัศมีในไมจะมีลักษณะคลื่นเฉพาะขึ้นมา
1.2 คุณสมบัติทางฟสิกสของเนื้อไม
(Physical properties of wood) 1.2 คุณสมบัติทางฟสิกสของเนื้อไม
Physical properties of Wood
คุณสมบัติทางฟสกิ สทมี่ ีผลตอการแปรรูป และการนําไปใชงาน

• ความชื้น (Moisture content) เนื้อไมจะมีความแข็งแรงสูงขึ้นเมื่อความชื้นในไมลดลงจาก


ระดับจุดหมาด (Fiber saturation point, FSP) ถาความชื้นสูงกวาจุดหมาดแลว ความแข็งแรง
ของเนื้อไมจะไมแตกตางกัน
• อุณหภูมิ (Temperature) โดยปกติความรอนจะเกิดขึ้นในขณะแปรรูปไมเนื่องจากการเสียดสี
ระหวางเนื้อไมกับเครื่องมือ มีการใชอุณหภูมิเพื่อทําใหเนื้อไมมีความแข็งแรงต่ําลง เพื่อทําให
การแปรรูปไดงายขึ้น เชน การปอกหรือฝานไมบาง การดัดไมใหโคง เปนตน
• ความถวงจําเพาะ (Specific gravity) ไมที่มีความถวงจําเพาะสูงโดยทั่วไป จะแปรรูปตกแตง
ไมดวยเครื่องจักรไดยาก พลังงานที่ใชจะมากกวาไมที่มีความถวงจําเพาะต่ํา
คุณสมบัติทางฟสกิ สทมี่ ีผลตอการแปรรูป และการนําไปใชงาน

• ความแนน (Density) หมายถึง น้ําหนัก หรือมวล ของวัตถุตอหนวยปริมาตร


โดยความแนนของเนื้อไมเกิดจาก ความแตกตางในลักษณะโครงสราง และการ
มีสารแทรก ซึ่งโครงสรางของเนื้อไมก็เชน ไฟเบอร ทราคีต พาเรงคิมา และ
เวสเซลเปนตน ดังนั้นการมีสัดสวนของเซลลชนิดตางๆกันและไมเหมือนกัน จึง
ทําใหเกิดความแตกตางในความแนนของเนื้อไม
– ความแนนของเนื้อไมชนิดเดียวกันอาจมีความผันแปร ซึ่งเปนผลจากสิ่งแวดลอม ระยะการปลูกหรือ
เติบโต ถาเราปลูกตนไมอยางหนาแนน จะทําใหความแนนของเนื้อไมลดลง
1.2 คุณสมบัติทางฟสิกสของเนื้อไม
(Physical properties of wood)
คุณสมบัติทางฟสิกสที่มีผลตอการแปรรูป
• การหดตัวและการพองตัวของเนื้อไม
 เมื่อเรานําไมสดมาวางไวในบรรยากาศที่มีความชื้นในอากาศต่ํากวาความชื้นในเนื้อไม
ไมจะมีการคายน้ําจนกระทั่งไมมีความชื้นที่สมดุลกับบรรยากาศ
 การคายน้ําของเนื้อไมเริ่มตนจากการคายน้ําในชองเซลลเปนอันดับแรก จนกระทั่งไมมี
ความชื้นเทากับจุดหมาด หรือ ไมมีน้ําในชองเซลลเหลืออยูเลย แตมีน้ําอยูอยางอิ่มตัวใน
ผนั งเซลล การคายน้ํา ที่ ส ภาวะนี้ จะไมมี ผ ลกระทบอยา งใดตอ คุ ณ สมบัติของเนื้อ ไม
เพียงแตทําใหความชื้นในเนื้อไมลดลงเทานั้น
 เมื่อการคายน้าํ ดําเนินตอไป ไมจะสูญเสียน้ําในผนังเซลลเปนผลให ไมมีการหดตัว คือ มี
ขนาดและปริมาตรลดลง และการสูญเสียความชื้นเชนนี้มีผลกระทบตอคุณสมบัติตางๆ
ของเนื้อไม เชน
1.2 คุณสมบัติทางฟสิกสของเนื้อไม
(Physical properties of wood)
การสูญเสียความชื้น และผลกระทบตอ
คุณสมบัติตางๆของเนื้อไม
• ไมมีการหดตัว
• ทําใหมีขนาดและปริมาตรลดลง
• ความหนาแนนลดลง
• ความถวงจําเพาะเพิ่มขึ้น
1.2 คุณสมบัติทางฟสิกสของเนื้อไม
(Physical properties of wood)
การหดตัวของเนื้อไม
• การหดตัวของเนื้อไมเกิดขึ้นเมื่อไมสูญเสียความชื้นในผนังเซลล
• ซึ่งจะมีการหดตัวมากหรือนอย ขึ้นกับปจจัยหลายอยาง
– เชนขึ้นกับปริมาณน้ําที่สูญเสีย
– ขึ้นกับทิศทางตามลักษณะโครงสรางของเนื้อไม (ดานตามยาว ดานรัศมี ดานสัมผัส)
• การหดตัว ดานตามยาว มีคา การหดตัวประมาณ 0.1-0.3 %
• การหดตัว ดานรัศมี มีคาการหดตัวประมาณ 3.0-6.0%
• การหดตัว ดานสัมผัส มีคาการหดตัวประมาณ 6.0-12.0%
• การหดตัวที่ไมเทากันของเนื้อไมเมื่อสูญเสียความชื้นในผนังเซลล เปนผลทําใหไมที่
ผานการผึ่งหรืออบไมที่ไมดี ทําใหเกิดการ บิด โคง โกง งอ เปนตน
• ซึ่งทําใหเมื่อทําการแปรรูป ในลักษณะตางๆ ทําใหไมเกิดตําหนิที่แตกตางกันได
1.2 คุณสมบัติทางฟสิกสของเนื้อไม
(Physical properties of wood)
การเพิ่มขึ้นของความชื้น และผลกระทบตอ
คุณสมบัติตางๆของเนื้อไม
• ไมเกิดการพองตัว
• มีขนาดและปริมาตรเพิม่ ขึ้น
1.2 คุณสมบัติทางฟสิกสของเนื้อไม
(Physical properties of wood)
การแปรรูปไสตกแตงไมดวยเครื่องจักร
ในกรณีที่ชิ้นไมมีความชื้นมากหรือนอย
• ไมนั้นจะมีความแข็งแรงลดนอยลงเมื่อความชื้นนั้นเพิ่มมากขึ้น จากที่ระดับที่
เราเรียกวา อบแหงสนิท (Oven-dry)
• จนถึงระดับที่เรียกวาจุดหมาด (Fiber saturation point)
– ความแข็งแรงของเนือ้ ไมก็จะไมลดอีกตอไป หรือคงที่ตลอด
– หมายเหตุ จุดหมาด คือจุดที่ผนังเซลลเนื้อไมอมิ่ ตัว
ดวยน้ํา ปริมาณน้ําที่เพิ่มขึ้นในเนื้อไมเหนือ
จุดหมาด อยูในรูปของน้ําในชองเซลล
(free water) ซึ่งไมมีสวน
ในการเพิ่มปริมาตรของเนื้อไม
ความแข็งแรง
ความชื ้น
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood) 1.3 คุณสมบัติทางกลของเนือ้ ไม
Mechanical properties of Wood
กลศาสตร (Mechanics) เปนการศึกษากลสมบัติ ซึ่งก็คือการศึกษาพฤติกรรมของวัสดุภายใตแรงที่
กระทํา ในหลากหลายระดับ เชน ระดับโครงสราง ระดับพฤติกรรม และระดับคณิตศาสตร การที่ไม
เปนวัสดุที่มีความแตกตางกันทุกทิศทางที่เรียกวา Anisotropic material และเปนวัตถุที่มีคุณสมบัติ
ที่แตกตางกัน 3 ทิศทางที่ตั้งฉากซึ่งกันและกันของความสมดุลย ที่ตั้งฉากซึ่งกันและกัน ทําใหเกิด
คุณสมบัติที่แตกตางกันออกไปตามทิศทางของวัสดุ ที่เรียกวา Orthotropic material
การที่เราจะนําเนื้อไมไปใชงาน ใชประโยชนและผลิตเปนผลิตภัณฑในรูปแบบตางๆ
คุณสมบัติทางกลของเนื้อไมจึงเปนสิ่งที่ไมควรละเลยในการศึกษาหาความรู
ไมมีโครงสรางที่สลับซับซอน มีทิศทางการเรียงตัวของเสี้ยนหลากหลายรูปแบบ เราจึง
ตองทําการทดสอบคาทางกลของเนื้อไมกอนนําออกไปใชงานไมวาจะเปนแรงอัด แรงดึง แรงดัด แรง
เฉือน แรงบิด ฯลฯ

อางอิง : ผศ.ดร. บุญนํา เกี่ยวของ, สมบัติทางฟสิกสและเมคานิกสของไม


1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood) 1.3 คุณสมบัติทางกลของเนือ้ ไม(ตอ)
Mechanical properties of Wood
แรงที่จําเปนในการออกแบบ
1.3.1. ความแข็งแรงดัด
1.3.2. ความแข็งแรงดึงขนานเสี้ยน และตั้งฉากเสี้ยน
1.3.3. ความแข็งแรงเฉือนขนานเสี้ยน
1.3.4. ความแข็งแรงอัดขนานเสี้ยน
1.3.5. ความแข็งแรงอัดตั้งฉากเสี้ยน

ดัดแปลงจาก : ผศ.ดร. บุญนํา เกี่ยวของ, สมบัติทางฟสิกสและเมคานิกสของไม


1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood) 1.3.1. ความแข็งแรงและความแข็งตึงในการดัดสถิตย
Strength and Stiffness in Static Bending
การทดสอบการดัดมีประโยชนในการคํานวณออกแบบความแข็งแรงและการโกงขององคอาคารที่รับ
น้ําหนักตั้งฉากกับแกนเชน คาน (Beam) , ตง (Joist) , จันทัน (Rafter) , แป (Purlin) เปนตน
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood) 1.3.1. ความแข็งแรงและความแข็งตึงในการดัดสถิตย
Strength and Stiffness in Static Bending
การแตกหัก (Failures) ตัวอยางไมทดสอบที่รับแรงดัดจะเกิดความเคนอัดทาง
สวนบน ความเคนดึงทางสวนลางและความเคนเฉือนขึ้นตรงแนวแกนกลาง ตัวอยางไม
ไดรับน้ําหนักจนเกิดแตกหัก ซึ่งแบงออกเปน 6 แบบดังนี้
a. การแตกหักดวยแรงดึงโดยตรง เนื่องจากแรงดึงขนานเสี้ยน เกิดกับไมที่มีเสี้ยนตรง และ
ผึ่งอบแหงแลว
b. การแตกหักดวยแรงดึงขวางเสี้ยน เกิดขึ้นในตัวอยางไมที่เสี้ยนขวาง ตัวเลขที่ทดสอบใช
ไมได ตัวอยางใชไมได
c. การแตกหักดวยแรงดึงเสี้ยนประสาน เกิดจากไมขาดเนื่องจากแรงดึงขนานเสี้ยน แสดงวา
ไมเหนียว
d. การแตกหักดวยแรงดึงเสี้ยนเปราะ ไมเปราะอาจถูกเห็ดรา หรือไมเปราะตามธรรมชาติก็ได
e. การแตกหักดวยแรงอัด เกิดการยุบทางสวนบนของคาน ตัวอยางไมมีความชื้นสูง
f. การแตกหักดวยแรงฉือนตามแนวนอน เกิดในคานที่สั้นและมีความลึกมาก
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood)
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood) 1.3.2. ความเคน/ความแข็งแรงดึงขนานเสีย้ น และตั้งฉากเสี้ยน
Tensile Stress Parallel and Perpendicular to Grain
การทดสอบแรงดึง (Tension Test) มี 2 ชนิด คือ การดึงขนานเสี้ยน (Tensile Stress Parallel to Grain)
และการดึงตั้งฉากเสี้ยน (Tensile Stress Perpendicular to Grain) เปนการทดสอบเพื่อการใชประโยชน
ในการออกแบบโครงสรางของไมที่สําคัญอีกการทดสอบหนึ่ง
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood) 1.3.2.1. ความเคน/ความแข็งแรงดึงขนานเสีย้ น
Tensile Stress Parallel
การดึงในแนวขนานเสี้ยน ใชในการออกแบบโครงถัก (Truss) คานไมประกับ (Glued-Laminated Timber
Beam) และแผนผิวบางรับความเคน (Stressed-Skin panel) เปนตน
ในรูปภาพแสดงลักษณะไมที่แตกหักจากแรงดึง 4 ลักษณะ ดังนี้
a. Splintering tension
b. Combined tension and shear
c. Shear
d. Brittle tension
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood) 1.3.2.2. ความเคน/ความแข็งแรงดึงตั้งฉากเสีย้ น
Tensile Stress Perpendicular to Grain
การดึงในแนวตั้งฉากเสี้ยน มีความสําคัญในการออกแบบไมประกับโคง (Glued-Laminated Arch)
และขอตอไมที่ยดึ ดวยอุปกรณยึดทางกล (Mechanical Connected Timber Joint) เปนตน
a. Tension fail of earlywood
b. Shear along a growth ring การฉีกในแนววงป
c. Tension failure of wood ray
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood) 1.3.3. ความเคน/ความแข็งแรงเฉือนขนานเสีย้ น
Shearing Stress Parallel to Grain
ความแข็งแรงเฉือน มี 2 ลักษณะ คือ ความเคนเฉือนตั้งฉากเสี้ยน และความเคนเฉือนขนานเสี้ยน แต
ความเคนเฉือนตั้งฉากเสี้ยนของไมมีคาสูงมาก และไมเคยปรากฏวาโครงสรางไมเกิดพังเพราะแรงชนิดนี้
จึงทดสอบเฉพาะความเคนเฉือนขนานเสี้ยน เทานั้น เพราะเปนจุดออนของไม การออกแบบโครงสรางไม
จึงตองคํานึงถึงคานี้เปนอยางสูง
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood) 1.3.4. ความเคน/ความแข็งแรงอัดขนานเสีย้ น
Compressive Stress Parallel to Grain
การทดสอบการอัด (compression test) เปนคาคุณสมบัติทางกลของเนื้อไมที่จําเปนตอการ
นําไปใชงานอีกคาหนึ่ง โดยเราทําการทดสอบการอัด ได 2 วิธีคือ การอัดขนานเสี้ยน และการอัด
ตั้งฉากเสี้ยน
โดยในการใชงานไม คาความแข็งแรงหรือความเคนอัดขนานเสี้ยน เราจะพบเห็นได
เชน ไมทําเสา, โครงถัก, เสาเข็ม เปนตน โดยเราจะทําการทดสอบหาคาความเคนสูงสุดในการับ
แรงอัดขนานเสี้ยนของไมแตละชนิดกอนนําไปใชประโยชน หรือกอนการนําไปออกแบบ
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood)
รูปแบบการแตกหักเนื่องจากแรงอัด (Compress Failures) ขนานเสี้ยน
a. ยุบ (Crushing) เนื้อไมยุบตัวเปนแนวขนาน หรือเกือบขนาดกับดานหนาตัดเปนการแตกหักเนื่องจาก
แรงอัดที่แทจริง
b. แตกเปนลิ่ม (Wedge splitting) เนื้อไมยุบตัวผสมกับการแตกตามเสี้ยนเล็กนอย
c. เฉือน (Shearing) เนื้อไมยุบตัวมีแนวทํามุมกับหนาตัดเกิน 45 องศา เปนการแตกหักเนื่องจากการ
อัดของชนิดไมที่มีความตานทานตอแรงเฉือนขนาดเสี้ยนไดต่ํา
d. แตก ( Splitting) เนื้อไมแตกตามเสี้ยนตลาดความยาวของตัวอยางไม แสดงวาไมมีตําหนิหรือไมมี
ความชื้นนอยเกินไป (คาการทดสอบที่ไดตัดทิ้ง)
e. อัดและเฉือน (Crushing and Shearing) การแตกหักแบบนี้เนื่องจากตัวอยางไมมีเสี้ยนขวาง (คา
ทดสอบที่ไดตัดทิ้ง)
f. พอง (Brooming or end rolling) เปนการแตกหักที่ชี้ใหเห็นวาตัวอยางไมมีความชื้นสูงเกินไป
หรือ ตัดตัวอยางไมไมถูกตอง คาตัวแลขการทดสอบต่ํากวาความเปนจริง (คาการทดสอบที่ไดตัดทิ้ง)
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood)
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood)

จุดรับแรงอัดขนานเสี้ยน
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood) 1.3.5. ความเคน/ความแข็งแรงอัดตั้งฉากเสีย้ น
Compressive Stress Perpendicular to Grain
การทดสอบความเคนอัดตั้งฉากเสี้ยน เราจะพบเห็นไดทั่วไป เชน คาน (Beam) ซึ่งรองรับแรงอัด
ตั้งฉากเสี้ยนตรงบริเวณปลายทั้งสองขาง ซึ่งอาจจะรับแรงในสภาพการใชงานจริงแบบเต็มผิวหนา
หรือแบบไมเต็มผิวหนาก็ได ดังนั้นในการทดสอบจึงแบงเปนการทดสอบตามมาตรฐานยุโรป (กด
เต็มผิวหนาชิ้นตัวอยาง) หรือการทดสอบตามมาตรฐานอเมริกา (กดบนตัวอยางไมบางสวน)
ซึ่งเมื่อแรงอัดกระทํากับผิวหนาชิ้นตัวอยางทดสอบ ในแนวตั้งฉากเสี้ยน แรงอัดจะ
ทําใหไมเกิดการยุบตามแรงที่มากระทําซึ่งแบงไดเปน 3 กรณี

(ก). กรณีที่แรงอัดทํามุมตั้งฉากกับวงปไมจะเกิดการยุบตัวในเขตไมตนฤดู (earlywood)


(ข). กรณีที่แรงอัดทํามุมกับวงป เชนทํามุม 45, 30 หรือ 20 องศา จะเกิดการยุบตัวแบบเฉือนบริเวณไมตน
ฤดูเชนกัน
(ค). กรณีแรงอัดกระทําในแนวขนานกับวงป ไมจะยุบตัวเนื่องจากการโกงของวงป
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood) 1.3.5. ความเคน/ความแข็งแรงอัดตั้งฉากเสีย้ น
Compressive Stress Perpendicular to Grain

อางอิง : ผศ.ดร. บุญนํา เกี่ยวของ, สมบัติทางฟสิกสและเมคานิกสของไม


1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood) 1.3.5. ความเคน/ความแข็งแรงอัดตั้งฉากเสีย้ น(ตอ)
Compressive Stress Perpendicular to Grain
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood)
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood)
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood)
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood)
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood)
1.3 คุณสมบัติทางกลของเนื้อไม
(Mechanical properties of wood)
1.4 คุณสมบัติทางเคมีของเนื้อไม
(Chemical properties of wood) 1.4 คุณสมบัติทางเคมีของเนื้อไม
Chemical properties of Wood
ผนังเซลลของเนื้อไมประกอบดวยสารอินทรียที่สําคัญ 2 ชนิด
1. สารโพลีแซคคาไรด เชน Cellulose, Hemicellulose
เซลลูโลส เปนองคประกอบที่สําคัญของผนังเซลล ทั้งดาน ขนาดและสมบัติตางๆของเนื้อไม เชน การดูด
และคายน้ํา การยืดหดตัว เปนตน เซลลูโลสมีคุณสมบัติทนทานตอการกัดกรอนของกรดตางๆ
ความคงที่ของเซลลูโลสเปนคุณสมบัติที่สําคัญในการใชไม และเสนใย
เฮมิเซลลูโลส เปนองคประกอบที่ผนังเซลล ซึ่งละลายไดในดางและกรดที่เจือจาง เกิดเปนน้ําตาลและ
กรดน้ําตาล เฮมิเซลลูโลสแยกออกจากเนื้อไมไดโดยงาย เฮมิเซลลูโลสอยูรวมกับเซลลูโลสและ
ลิกนิน
2. ลิกนิน เปนสวนของสารผนังเซลล ซึ่งเปนลักษณะของพืชที่มีเนื้อไม มีคุณสมบัติออนตัวไดเมื่อถูกความรอน
มีการดูดและคายน้ํานอยกวาเซลลูโลสมาก โดยจะแทรกอยูตามชองวางระหวางเซลลูโลสในผนังเซลล และ
ชวยลดการเปลี่ยนแปลงทางขนาดเมื่อปริมาณความชื้นเปลี่ยนแปลงไป คุณสมบัติที่สําคัญของลิกนินคือ
ชวยเพิ่มความแข็งแรงใหกับผนังเซลล
อ้ างอิง : ผศ.ดร. วิวฒ
ั น์ หาญวงศ์จิรวัฒน์ , วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทางไม้ เบื ้องต้ น
1.4 คุณสมบัติทางเคมีของเนื้อไม
(Chemical properties of wood) 1.4 คุณสมบัติทางเคมีของเนื้อไม
Chemical properties of Wood
สารแทรก (Extractive) ในเนื้อไมประกอบดวยสารประกอบอินทรียหลายชนิด ซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ซึ่งกอใหเกิดคุณลักษณะที่แตกตางกันออกไปในแตละชนิดไม ทําใหคุณสมบัติของไม เชนกลิ่น สี เกิดเปน
ลักษณะประจําของไมนั้น ถาปราศจากสารแทรกไม ไมก็จะไมมีลักษณะเดนที่จะแสดงความแตกตางระหวาง
ชนิดไมไดเลย นอกจากนี้สารแทรกยังมีสวนชวยในการปองกันศัตรูทําลายไมตามธรรมชาติ เชน แมลง หรือ
เห็ดรา ในการเขาทําลายตนไมอีกดวย
นอกจากนี้สารแทรกยังเกี่ยวของโดยตรงกับการยอมใหของไหลผาน และคุณสมบัติทาง
ฟสิกสอื่นๆอีกเชน ความถวงจําเพาะ ความแข็ง ความตานทานตอแรงกด และสารแทรกที่สําคัญๆเชน แทน
นิน แอนโธไซยานิน ฟลาโวน คาแตซิน ลิกแนน หรือพวกยางไม น้ํามันไมเปนตน
ซึ่งประโยชนเชนเปนวัตถุดิบตั้งตนในการผลิตน้ํามันสน ชันสน ขี้ผึ้ง เปนตน
ปริมาณขี้เถา (Ash) องคประกอบสวนใหญของขี้เถาคือ แคลเซียม โปรแตสเซียม และแมกนีเซียม โดยพบ
มากกวารอยละ 70 นอกนั้นอาจเปนสารประกอบอื่นๆตามชนิดไมเชน ซิลิคอน เปนตน ซึ่งสารประกอบ
เหลานี้อาจสงผลตอความยากงายในการแปรรูปไมก็ได
1.4 คุณสมบัติทางเคมีของเนื้อไม
(Chemical properties of wood)

Cite : www.daflorestaaopapel.com
1.4 คุณสมบัติทางเคมีของเนื้อไม
(Chemical properties of wood) 1.4 คุณสมบัติทางเคมีของเนื้อไม
Chemical properties of Wood
แทนนิน ถูกคนพบครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1796 เรียกวา tannare ที่มาจากภาษาลาติน แปลวา เปลือกตนโอค
เปนสารประกอบจําพวกโพลีฟนอล (polyphenol) ที่ละลายไดในน้ํา และแอลกอฮอลใหสีเหลืองหรือสี
น้ําตาล มีน้ําหนักโมเลกุล 500-3000 ดาลตัน มีโครงสรางสลับซับซอน และแตกตางกันในแตละชนิดพืช
แทนนินทั่วไปจะมีสีเหลืองหรือน้ําตาล มีรสขม ฝาด พบไดในพืชทุกชนิดในสวนของเปลือก ใบ ผล ซึ่งพบ
ปริมาณมากในเปลือกไม

สารเทคโตควิโนน (tectoguinone) ซึ่งเปนสารที่เปนพิษตอปลวก มอดแมลง และเชื้อรา พบในเนื้อไมสัก


1.4 คุณสมบัติทางเคมีของเนื้อไม
(Chemical properties of wood) 1.4 คุณสมบัติทางเคมีของเนื้อไม
Chemical properties of Wood
ประโยชนแทนนิน
1. ใชสําหรับเปนสารฟอกหนังสัตว ทําใหโปรตีนตกตะกอน ทําใหหนังสัตวออนนุม ชวยเคลือบติดหนังสัตวทําใหไม
เนาเปอย ปองกันเชื้อจุลินทรีย
2. ใชเปนสวนผสมของยาภายใน และภายนอก
3. ใชผสมยาลดกรดเพื่อแตงรส รวมถึงมีฤทธิ์ชวยลดกรดไดดวย
4. ใชในอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม อาทิ เบียร ไวน ชา และกาแฟ เพื่อใหมีสีใส และมีรสขม ฝาด การปองกัน
การเหม็นหืน การปองกัน และตานเชื้อแบคทีเรียในอาหาร ปองกันการเนาเสีย
5. ใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑอาหารเสริม ชวยตานอนุมูลอิสระ และลดปริมาณคอเลสเตอรอลในเสนเลือด
6. ใชแทนนินเปนสารจับกับโปรตีน และไอออนของโลหะในกระบวนการผลิตอาหาร เครื่องดื่มเพื่อกําจัดกลิ่น รสที่
ไมตองการ และตกตะกอนโลหะที่เจือปน
7. ใชสําหรับผลิตกาวไมอัด เชน การใชโปรแอนโทรไชยานิดินแทนนินแทนสารฟนอลสังเคราะหในการผลิตไมอัด
9. ใชแทนนินจับกับเกลือของเหล็ก ไดสารประกอบสีน้ําเงินสําหรับผลิตเปนหมึกพิมพ สี และสียอม

Cite: http://www.siamchemi.com
1.4 คุณสมบัติทางเคมีของเนื้อไม
(Chemical properties of wood)
3.2 ความเหมาะสมของวัตถุดิบแตละชนิด

Department of Forest Products

Kitipong Tangkit

ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts


3.2. ความเหมาะสมของวัตถุดิบแตละชนิด
(The suitability of material) 3.2. ความเหมาะสมของวัตถุดิบแตละชนิด
The suitability of material
การใชไมนอกจากคํานึงถึงคุณสมบัติในดานตางๆแลว ยังตองคํานึงถึงปจจัยตางๆดังนี้
1. ขนาดของลํ า ต น จะต อ งมี ข นาดใหญ แ ละยาวพอที่ จ ะนํ า มาแปรรู ป เป น ไม ที่ ใ ช
ประโยชนตางๆได
2. ความยากลําบากในการปลูก หรือการขยายพันธุ ตลอดจนการขนสง การจัดการดาน
logistic and supply chain
3. ปริมาณที่เพียงพอตอการนําไปใชงาน และไมขาดแคลนในทองตลาด
3.2. ความเหมาะสมของวัตถุดิบแตละชนิด
(The suitability of material)
3.2. ความเหมาะสมของวัตถุดิบแตละชนิด
(The suitability of material)
3.2. ความเหมาะสมของวัตถุดิบแตละชนิด
(The suitability of material)
3.3 การวัดและสงมอบคุณคาวนผลิตภัณฑ

Department of Forest Products

Kitipong Tangkit
3.3. การวัดและสงมอบคุณคาวนผลิตภัณฑ
(Measuring and Delivering) 3.3.การวัดและสงมอบคุณคาวนผลิตภัณฑ
Measuring and delivering value forest products.
ปจจุบันการแขงขันในการผลิตสินคาใหมีความแตกตางหรือการใชคุณสมบัติหรือประโยชนเพิ่มเติมเขามาในตัวสินคา
เปนการสรางคุณคาเพิ่มใหกับลูกคา ซึ่งเราอาจจําแนกลักษณะของสินคาหรือผลิตภัณฑเปน 5 ระดับ
1. คุณประโยชนหลัก (The core benefit) เปนความตองการพื้นฐานที่ผูบริโภคไดรับจากสินคาหรือบริการ
2. ระดับสินคาทั่วไป (The Generic product level) เปนสินคาพื้นฐานทั่วไปซึ่งเปนคุณสมบัติที่จําเปนตอหนาที่
ของสินคาเทานั้น
3. ระดับสินคาคาดหวัง (The Expected product level) กลุมของคุณสมบัติในตัวสินคาที่ผูซื้อคาดหวังจะไดรับ
เมื่อซื้อสินคา
4. ระดับสินคาเพิ่มเติม ( The Augmented product level) คุณสมบัติผลประโยชนหรือบริการที่เพิ่มเติมเขา
มาในสินคาเพื่อสรางความแตกตางจากสินคาคูแขง
5. ระดับสินคาที่มีศักยภาพ (The Potential product level) เปนสิ่งที่เพิ่มเติมหรือการเปลี่ยนแปลงที่สินคาจะ
มีในอนาคต
3.3. การวัดและสงมอบคุณคาวนผลิตภัณฑ
(Measuring and Delivering) 3.3.การวัดและสงมอบคุณคาวนผลิตภัณฑ
Measuring and delivering value forest products.
ดังนั้นคุณสมบัติตางๆของสินคาที่ผูบริโภคจะไดรับ และจะเกิดความพึ่งพอใจในสินคาหรือผลิตภัณฑของเรา
โดยการใชคุณสมบัติตางๆของผลิตภัณฑที่มีอยูจริง จับตองไดที่เกี่ยวกับการใชเหตุผล (Rational) หรือเปนสิ่ง
ที่จับตองไมไดที่เกี่ยวกับอารมณ (Emotion) ซึ่งเปนสิ่งที่ผูสรางสินคาหรือบริการจะตองสื่อความหมายไปยัง
ผูบริโภคใหสําเร็จ คุณสมบัติหรือคุณลักษณะที่เดนชัดของผลิตภัณฑจะสามารถเชื่อมโยงไปยังคุณประโยชน (B
enefits) ทั้งตามหนาที่และตามอารมณของผลิตภัณฑนั้นๆได โดยเราสามารถวัดวาผลิตภัณฑของเรามีคุณคา
หรือไมไดดังนี้
1. วัดจากมุมมองดานการเงิน คือเราสามารถตั้งราคาไดสูงกวาตลาด หรือคูแขง และเราสามารถลดภาระ
คาใชจายในการสงเสริมการตลาดได
2. วัดจากมุมมองดานการตลาด คือเรามีสวนแบงทางการตลาดของสินคานั้นเพิ่มขึ้น มีชองทางการจัด
จําหนายหรือการไดรับการยอมรับจากชองทางการจัดจําหนายของเรา
3. วัดจากมุมมองดานทัศนคิตของผูบริโภค เชนการสนับสนุนสินคาหรือผลิตภัณฑของเรา พูดปากตอปาก
ทําใหสินคาหรือผลิตภัณฑของเราเปนที่รูจักมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะนําไปสูการรูจักในตราสินคาของเรานั้นเอง
3.3. การวัดและสงมอบคุณคาวนผลิตภัณฑ
(Measuring and Delivering) ตราสินคา
Brand
ความแข็งแกรงของตราสินคาเปนกุญแจหลักในการกอใหเกิดมูลคาตราสินคา ซึ่งจะทําใหเราสามารถอธิบาย
ถึงตราสินคาของเราไดอยางชัดเจน เราเรียกวา “คุณคาตราสินคาในมุมมองของผูบริโภค” โดยจะแสดงใน
ดานที่เปนคุณภาพของตราสินคา และจะนําไปสูการมีมูลคา
คุณคาตราสินคา (Brand Equity) ประกอบดวย
1. การตระหนักคาตราสินคา (Brand Awareness)
2. การรับรูคุณภาพ (Perceived Quality)
3. การเชื่อมโยงตราสินคา (Brand Association)
4. ความภักดี (Brand Loyalty)
5. เอกลักษณตราสินคา (Brand Identity)
3.3. การวัดและสงมอบคุณคาวนผลิตภัณฑ
(Measuring and Delivering)

You might also like