You are on page 1of 4

ชื่อ – สกุล นายอิทธิพล ศิริพงษ์เวคิน

ชัน
้ ม. ๕/..๗.. เลขที่..๑...

ใบงานที่ ๒
เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎีใหม่

๑. จงอธิบายความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง
เป็ นปรัชญาชีถ
้ ึงแนวการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุก
ระดับตัง้ แต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทัง้ ในการพัฒนา
และบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา
เศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์
๒. จงอธิบายความหมายของความพอประมาณ
การดำรงชีวิตให้เหมาะสม ซึ่งเราควรจะมีความพอประมาณทัง้ การ
หารายได้ และพอประมาณในการใช้จ่าย ความพอประมาณในการหาราย
ได้ คือ ทำงานหารายได้ด้วยช่องทางสุจริต ทำงานให้เต็มความสามารถ ไม่
เบียดเบียนผู้อ่ น
ื ส่วนความพอประมาณในการใช้จ่าย หมายถึง การใช้จ่าย
ให้เหมาะกับฐานะความเป็ นอยู่ ไม่ใช้จ่ายฟุ ่มเฟื อยหรือใช้จ่ายเกินตัว และ
ในขณะเดียวกัน ก็ใช้จ่ายในการดูแลตนเอง และครอบครัวอย่างเหมาะสม
ไม่อยู่อย่างลำบาก และฝื ดเคืองจนเกินไป
๓. จงอธิบายความหมายของการมีเหตุผล

การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนัน
้ จะต้องเป็ นไปอย่างมี
เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาด
ว่าจะเกิดขึน
้ จากการกระทำนัน
้ ๆ อย่างรอบคอบ

๔. จงอธิบายความหมายของการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ชื่อ – สกุล นายอิทธิพล ศิริพงษ์เวคิน

ชัน
้ ม. ๕/..๗.. เลขที่..๑...

การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ
ที่จะเกิดขึน
้ โดยคำนึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะ
เกิดขึน
้ ในอนาคต
๕. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์กับการดำเนิน
ชีวิตประจำวันได้อย่างไร
๑. ไม่ใช้จ่ายเกินตัว ไม่ลงทุนเกินขนาด คิดและวางแผนอย่างรอบคอบ
มีภูมิคุ้มกันไม่เสี่ยงเกินไป เช่น ทำบัญชีรายรับรายจ่ายเพื่อที่จะจัดการการ
ใช้จ่ายเงินได้อย่างเป็ นระบบ
๒. รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ ฟื้ นฟูทรัพยากรเพื่อให้
เกิดความยั่งยืนและคงอยู่ ชั่วลูกหลาน เช่น การใช้น้ำอย่างประหยัด ปิ ด
ไฟเมื่อไม่ใช้งาน ขึน
้ ลงชัน
้ เดียวใช้บันไดแทนลิฟท์

๖. จงอธิบายความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียงจะทำให้เกิดความพอเพียงตัง้ แต่ระดับบุคคล
ครอบครัว หมูบ
่ ้าน  ตำบล  อำเภอ จังหวัด และประเทศ ซึ่งจะนำมาสู่
ความเข้มแข็งและมีภูมิคุ้มกัน ทัง้ ด้านวัตถุนิยม บริโภคนิยม   เมื่อคนเข้ม
แข็งก็จะเป็ นจุดเริ่มต้นให้สังคมเข้มแข็งและขยายสู่รากฐานอันแข็งแรง
ของประเทศต่อไป
๗. ขัน
้ ตอนทฤษฎีใหม่มีกี่ขน
ั ้ ตอน จงอธิบายรายละเอียด

ขัน
้ ที่ 1 ทฤษฎีใหม่ขน
ั ้ ต้น คือการจัดสรรที่ดินระดับไร่นา ซึง่ มีการ
จัดการดินและน้ำเพื่อใช้ในการทำเกษตรขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด
โดยแบ่งพื้นที่ออกเป็ น 4 ส่วนตามอัตราส่วน 30 : 30 : 30 : 10
ชื่อ – สกุล นายอิทธิพล ศิริพงษ์เวคิน

ชัน
้ ม. ๕/..๗.. เลขที่..๑...

30 % เป็ นสระน้ำสำหรับกักเก็บไว้ใช้ในหน้าแล้ง ตลอดจนการเลีย


้ งสัตว์
น้ำ
30 % สำหรับปลูกข้าวในฤดูฝน เพื่อใช้เป็ นอาหารประจำครัวเรือน
30 % ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชสวน พืชผักและสมุนไพร ฯ เพื่อใช้
กินในชีวิตประจำวันและจำหน่าย
10 % เป็ นที่อยู่อาศัย ที่เลีย
้ งสัตว์ โรงเรือนอื่น ๆ ถนน คันดิน กองฟาง
โรงหมักปุ๋ย ลานตาก สวนไม้ดอกไม่ประดับ

ขัน
้ ที่ 2 ทฤษฎีใหม่ขน
ั ้ กลาง คือการรวมพลังกันเป็ นกลุ่มวิสาหกิจ
ชุมชนหรือสหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจในการดำเนินการในด้านต่าง ๆ ดังนี ้

1. การผลิต ร่วมมือกันตัง้ แต่เตรียมดิน หาพันธุ์ หาน้ำ เตรียมปุ๋ย


เพื่อเพาะปลูก
2. การตลาด เตรียมจำหน่ายเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด ปลูกเอง
แปรรูปเอง ขายเอง รวมตัวกันขายเพื่อให้ได้ราคาดี เป็ นการตัด
วงจรพ่อค้าคนกลางไปในตัว
3. ความเป็ นอยู่ เกษตรกรต้องมีความเป็ นอยู่ที่ดีสมฐานะ
4. สวัสดิการ แต่ละชุมชนควรจัดตัง้ กองทุนไว้ให้สมาชิกเมื่อจำเป็ น
เช่น การเจ็บป่ วยหรือเสียชีวิต
5. การศึกษา มีโรงเรียนในชุมชนเพื่อส่งเสริมการศึกษา นำ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสอดแทรกในการสอนและเน้นให้นักเรียน
ดำรงชีวิตด้วยการพึ่งพาตนเองให้ได้
6. สังคมและศาสนา ชุมชนควรเป็ นศูนย์กลางในการพัฒนาโดยมี
ศาสนาเป็ นเครื่องยึดเหนี่ยว
ชื่อ – สกุล นายอิทธิพล ศิริพงษ์เวคิน

ชัน
้ ม. ๕/..๗.. เลขที่..๑...

ขัน
้ ที่ 3 ทฤษฎีใหม่ขน
ั ้ ก้าวหน้า เมื่อผ่านพ้นไป 2 ขัน
้ แล้ว เกษตรกร
จะมีรายได้ทด
ี่ ีขน
ึ ้ มีฐานะความเป็ นอยู่ที่มั่นคงขึน
้ และมีการจัดหาแหล่ง
เงินทุนเข้ามาช่วยในกลุ่มสหกรณ์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกอีก
ด้วย เช่น เกษตรกรจำหน่ายข้าวได้ในราคาสูง เป็ นการขายตรงสู่มือผู้
บริโภคโดยไม่ผ่านคนกลาง ,เกษตกรซื้อเครื่องอุปโภค บริโภคได้ในราคา
ต่ำเพราะรวมกันซื้อมาก ๆ (รวมกลุ่มซื้อในนามสหกรณ์) เป็ นต้น

๘. จงอธิบายประโยชน์ของทฤษฎีใหม่

- ประชาชนพออยู่พอกินในระดับประหยัด เลีย
้ งตนเองได้ ไม่
อดอยาก ตามหลักปรัชญาของ "เศรษฐกิจพอเพียง"
- ในหน้าแล้งก็สามารถนำน้ำที่เก็บกักไว้ในสระมาปลูกพืชที่ใช้น้ำ
น้อย เช่น ถั่วต่างๆ ได้ โดยไม่ต้องอาศัยชลประทาน
- ในปี ที่ฝนตกตามฤดูกาล ก็สามารถสร้างรายได้ให้ร่ำรวยได้
- ในกรณีที่เกิดอุทกภัย ก็สามารถฟื้ นตัว และช่วยตัวเองได้ในระดับ
หนึ่ง โดยราชการไม่ต้องช่วยเหลือมากนัก

You might also like