You are on page 1of 28

คู‹มือ

การขอรับอนุญาตปลูกกัญชา
สำหรับเกษตรกร
2 คู่มือการขอรับอนุญาตปลูกกัญชา

คู่มือการขอรับอนุญาตปลูกกัญชา ส�ำหรับเกษตรกร
ISBN: 978-974-244-416-7
จัดพิมพ์ โดย: กองควบคุมวัตถุเสพติด
ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
กระทรวงสาธารณสุข
พิมพ์ครั้งที่ 1: เดือนกันยายน 2563
พิมพ์จ�ำนวน: 1,000 เล่ม
พิมพ์ที่: ส�ำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์

คณะผู้จัดท�ำ:
1. นางขนิษฐา ตันติศิรินทร์
ผู้อ�ำนวยการกองควบคุมวัตถุเสพติด
2. นางสาวกรพินธุ์ ณ ระนอง
รักษาการผู้เชีย่ วชาญด้านระบาดวิทยาของวัตถุเสพติด
3. นางสาวศิริพร ฉวานนท์
เภสัชกรช�ำนาญการ
4. นางสาววิภา เต็งอภิชาต
เภสัชกรช�ำนาญการ
5. นางสาวกัญญารัตน์ เหล่าปิยะสกุล
เภสัชกรปฏิบัติการ
สำ�หรับเกษตรกร 3

ค�ำน�ำ

ด้ ว ยพระราชบั ญ ญั ติ ย าเสพติ ด ให้ โ ทษ (ฉบั บ ที่ 7)


พ.ศ. 2562 ซึ่งมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2562 ได้
เปิดให้สามารถน�ำกัญชาไปใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์และ
การศึกษาวิจัยได้ ส่งผลให้กลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ที่มีการจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจเพื่อสังคม
หรือสหกรณ์การเกษตร ซึง่ ด�ำเนินการภายใต้ความร่วมมือและ
ก�ำกับดูแลของหน่วยงานของรัฐฯ สามารถยื่นขอรับอนุญาต
ปลูกกัญชาได้ ดังนั้นเพื่อให้นโยบายการพัฒนากัญชาทางการ
แพทย์ของประเทศไทยเกิดประโยชน์สงู สุด โดยการส่งเสริมให้
ภาคเกษตรกรรมได้มีส่วนร่วมในการปลูกกัญชาอย่างถูกต้อง
ตามที่กฎหมายก�ำหนดและได้คุณภาพมาตรฐาน ผู้จัดท�ำจึงได้
จัดท�ำคู่มือการขอรับอนุญาตปลูกกัญชา ส�ำหรับเกษตรกร
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และใช้เป็นแนวทางในการปฏิบตั ิ
ของกลุ่มเกษตรกร ในการเป็นผู้ขอรับอนุญาตปลูกกัญชา
ต่อไป
4 คู่มือการขอรับอนุญาตปลูกกัญชา

สารบัญ
ค�ำน�ำ 3

สารบัญ 4

คุณสมบัติของเกษตรกรที่จะขออนุญาตปลูกกัญชา 5

ขั้นตอนการขอจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน 6

การขออนุญาตปลูกกัญชา 9

แผนการปลูกและการใช้ประโยชน์ 12

การเตรียมสถานที่ปลูกกัญชา 14

หน้าที่ของผู้รับอนุญาต 18

ค�ำถาม - ค�ำตอบ 20
สำ�หรับเกษตรกร 5

คุณสมบัติ
ของเกษตรกรที่จะ
ขออนุญาตปลูกกัญชา

เกษตรกร
สามารถขออนุญาตปลูกกัญชาได้ โดยการรวมกลุ่มกันจดทะเบียน
เป็นวิสาหกิจชุมชน/วิสาหกิจเพื่อสังคม/สหกรณ์การเกษตรและ
ขออนุญาตร่วมกับหน่วยงานของรัฐ

เกษตรกรรวมตัว
เป็นวิสาหกิจชุมชน หน่วยงานรัฐ
6 คู่มือการขอรับอนุญาตปลูกกัญชา

ขั้นตอน
การขอจดทะเบียน
เป็นวิสาหกิจชุมชน
เกษตรกรรวมกลุ่มกันขอจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน
เพื่อปลูกกัญชาได้หรือไม่?
ไม่ ได้ เพราะกัญชายังจัดเป็นยาเสพติดให้โทษ
ในประเภท 5

ถ้าเช่นนั้นต้องท�ำอย่างไร ?
1. เกษตรกรรวมตัวกันเพื่อจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน
ในกิจการอื่นที่ไม่ใช่เพื่อปลูกกัญชาโดยเฉพาะ

2. จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน
ด�ำเนินการในกิจการตามที่ยื่นขอ ณ ส�ำนักงานเกษตรอ�ำเภอในพื้นที่
เพื่อรับใบรับรองการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน
สำ�หรับเกษตรกร 7

3. วิสาหกิจชุมชนที่จดทะเบียนแล้วร่วมกับหน่วยงานของรัฐ
(ทีม่ หี น้าทีศ่ กึ ษาวิจยั หรือจัดการเรียนการสอนทางการแพทย์ เภสัชศาสตร์
วิทยาศาสตร์ หรือเกษตรศาสตร์ หรือมีหน้าทีใ่ ห้บริการทางการแพทย์
เภสัชกรรม หรือวิทยาศาสตร์ หรือมีหน้าทีใ่ ห้บริการทางเกษตรกรรม
เพือ่ ประโยชน์ทางการแพทย์หรือเภสัชกรรม หรือมีหน้าทีใ่ นการป้องกัน
ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติด)

4. ยื่นขออนุญาตผลิต (ปลูก)
ซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา

5. เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว น�ำใบอนุญาตให้ผลิต (ปลูก)


ซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา ยื่นขอเพิ่มกิจการ
วิสาหกิจชุมชน ณ ส�ำนักงานเกษตรอ�ำเภอ ทีว่ สิ าหกิจชุมชนจดทะเบียน
8 คู่มือการขอรับอนุญาตปลูกกัญชา

ไดŒ ไม‹ ไดŒ


หร�อ

ไขขอของใจ
ว�สาหกิจชุมชนปลูกกัญชาไดหร�อไม ?
พ.ร.บ. ยาเสพติดใหŒโทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 พ�ดถึงกัญชาอย‹างไรบŒาง
กัญชายังคงเปนยาเสพติดใหโทษในประเภท 5 ปลูกและขายไม‹ ไดŒ
เวนแตไดรับการอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

สามารถปลูกกัญชาไดŒ ในกรณีจำเปšนเพื่อประโยชนของทาง
ราชการการแพทย การรักษาผูปวย หรือการศึกษาวิจัยและพัฒนารวมถึง
การเกษตร พาณิชยกรรม วิทยาศาสตร หรืออุตสาหกรรมเพื่อประโยชน
ทางการแพทยดวยและตองไดรับอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการ
อาหารและยา โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดใหโทษ

การจดทะเบียนว�สาหกิจชุมชนผูŒปลูกกัญชาทำไดŒหร�อไม‹ ?

กรมสงเสริมการเกษตรรับจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน แตไมรบั จดทะเบียนวิสาหกิจ


ชุมชนทีต่ อ งการปลูกกัญชาโดยเฉพาะ เนือ่ งจากขัดตอประกาศของคณะกรรมการ
สงเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2560
แตถาวิสาหกิจชุมชนตองการปลูกกัญชา จะตองดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
1. ตองมีสญ
ั ญากับหนวยงานของรัฐหรือสถาบันอุดมศึกษาทีม่ หี นาทีศ่ กึ ษาวิจยั
หรือจัดการเรียนการสอนเพื่อประโยชนทางการแพทยหรือเภสัชศาสตร
และหนวยงานนั้นไดรับใบอนุญาตจาก อย.
2. นำสำเนาสัญญากับหนวยงานของรัฐหรือสถาบันอุดมศึกษา ยืน่ ขอเพิม่ กิจการ
วิสาหกิจชุมชน ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ ที่วิสาหกิจชุมชนจดทะเบียน

สอบถามเพ�ม� เติม: กลุม‹ กิจการคณะกรรมการและยุทธศาสตรสง‹ เสร�มว�สาหกิจชุมชน โทร. 02 940 7163


สำ�หรับเกษตรกร 9

การขออนุญาต
ปลูกกัญชา

ขั้นตอนการขออนุญาตปลูกกัญชา
1. ยืน่ ค�ำขอฯ พร้อมเอกสารหลักฐาน ทีส่ ำ� นักงานคณะกรรมการอาหารและยา
หรือส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ที่สถานที่ปลูกตั้งอยู่
2. ตรวจประเมินสถานที่ขออนุญาตปลูกกัญชา
3. เข้าประชุมของคณะกรรมการจังหวัดที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย
เพื่อให้ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาให้ความเห็น (กรณีพื้นที่ปลูกตั้งอยู่
ต่างจังหวัด)
4. เข้าที่ประชุมคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณากลั่นกรอง
5. เข้าที่ประชุมคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษเพื่อพิจารณา
ให้ความเห็นชอบ
6. ออกใบอนุญาต
10 คู่มือการขอรับอนุญาตปลูกกัญชา

กระบวนการในการพ�จารณาการอนุญาตผลิต (ปลูก)

กรณีสถานที่ขออนุญาตปลูกในกรุงเทพฯ

เลขาธิการ อย.
คณะอนุกรรมการฯ คณะกรรมการควบคุม พ�จารณาอนุญาต
เพ�่อกลั่นกรอง ยาเสพติดใหŒโทษ
ใหŒความเห็น พ�จารณาใหŒ
FDA ความเห็นชอบ xxxx

xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx

xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx

xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx


xxxxxxxxxxxxxxx

1. ยื่นคำขอและเอกสารประกอบคำขอ
ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
2. อย.ตรวจสอบเอกสารและสถานที่ขออนุญาตปลูก
ผูŒขออนุญาต

กรณีสถานที่ขออนุญาตปลูกในต‹างจังหวัด

เลขาธิการ อย.
คณะอนุกรรมการฯ คณะกรรมการควบคุม พ�จารณาอนุญาต
เพ�่อกลั่นกรอง ยาเสพติดใหŒโทษ
ใหŒความเห็น พ�จารณาใหŒ
FDA ความเห็นชอบ xxxx

xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx

xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx

xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx


xxxxxxxxxxxxxxx

ใหŒคำปร�กษา

สสจ. ขอความเห็นผูŒว‹าฯ

1. ยื่นคำขอและเอกสารประกอบ
คำขอ ณ สสจ. ในพ�้นที่ของสถานที่ปลูกตั้งอยู‹ ผูŒว‹าฯ ใหŒความเห็น
ผูŒขออนุญาต
2. สสจ. ตรวจสอบเอกสารและสถานที่ขออนุญาตปลูก ผ‹านการพ�จารณาจากผูŒว‹าราชการจังหวัด
3. ส‹งเร�่องต‹อใหŒ อย. โดยความเห็นจากคณะกรรมการที่ผูŒว‹าฯ แต‹งตั้ง หร�อ
คณะทำงานจาก ศอ.ปส.(จ)
สำ�หรับเกษตรกร 11

เอกสารประกอบการขออนุญาต
เอกสารของวิสาหกิจชุมชุน
1. หนังสือจดวิสาหกิจชุมชน
2. ส� ำ เนาทะเบียนบ้านของวิสาหกิจ ชุมชน (กรณี ส ถานที่ ปลู ก ตั้ ง อยู ่ ที่
วิสาหกิจชุมชน)
เอกสารอื่น ๆ
1. โครงการการปลู ก กั ญ ชาเพื่ อ ประโยชน์ ท างการแพทย์ ห รื อ เพื่ อ การ
ศึกษาวิจัย
2. มาตรการรักษาความปลอดภัย
3. ค�ำสัง่ ก�ำหนดรายชือ่ ผูท้ สี่ ามารถเข้า-ออกในพืน้ ทีเ่ พาะปลูกกัญชา พร้อม
แนบหนังสือรับรองตนเองว่าไม่มีประวัติหรือพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับ
ยาเสพติด
4. แนวทางการปฏิบัติงาน (SOP) การขนส่ง การท�ำลาย
5. ผลการสอบประวั ติ ก ารถู ก ด� ำ เนิ น คดี ใ นความผิ ด เกี่ ย วกั บ ยาเสพติ ด
ของผู้ด�ำเนินกิจการ ซึ่งตรวจสอบโดย ศูนย์ตรวจสอบประวัติบุคคล
กองทะเบียนประวัติอาชญากร ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ

ผูข้ ออนุญาตสามารถดาวน์ โหลดเอกสารการขออนุญาตปลูก


และศึกษาคู่มือแนวทางการพิจารณาอนุญาตให้ปลูกกัญชา
เพิ่มเติมได้ที่
12 คู่มือการขอรับอนุญาตปลูกกัญชา

แผนการปลูก
และการใช้ประโยชน์
การขออนุญาตปลูกกัญชา ผูข้ ออนุญาตต้องมีความชัดเจนว่า
จะปลูกจ�ำนวนเท่าไหร่ ได้ผลผลิตเท่าไหร่ และจะน�ำผลผลิตดังกล่าว
ไปจ� ำ หน่ า ยให้ กั บ ใคร (ปริ ม าณการปลู ก ต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ
แผนการผลิต แผนการจ�ำหน่าย และแผนการใช้ประโยชน์) โดยต้อง
ก�ำหนดผู้รับซื้อที่แน่ชัด (มี contract farming)
สำ�หรับเกษตรกร 13

OUTDOOR CULTIVATION

SEMI-OUTDOOR CULTIVATION

INDOOR CULTIVATION
14 คู่มือการขอรับอนุญาตปลูกกัญชา

การเตรียมสถานที่
ปลูกกัญชา
การจัดเตรียมสถานทีป่ ลูก สามารถด�ำเนินการปลูกได้ทงั้ ในรูปแบบ
การปลูกกัญชากลางแจ้ง (Outdoor Cultivation)
การปลูกกัญชาในโรงเรือน (Semi-Outdoor Cultivation)
การปลูกกัญชาในระบบปิด (Indoor Cultivation)
ซึ่งแต่ละรูปแบบมีข้อดี - ข้อด้อย แตกต่างกันไป ดังนี้

การปลูกกัญชากลางแจ้ง (Outdoor Cultivation)


ข้อดี ได้แก่
ต้นกัญชาสามารถได้รบั แสงธรรมชาติได้เต็มที่
ต้นทุนการด�ำเนินการต�่ำ
เหมาะกับกัญชาสายพันธุ์ไทย
ข้อด้อย ได้แก่
ไม่สามารถคุมศัตรูพืช แมลง หรือโรคพืชได้
ไม่สามารถคุมแสง อุณหภูมิ
การปลูกและเก็บเกี่ยวได้แค่ 1 ครั้งต่อปี
ได้ผลผลิตน้อยถ้าปลูกไม่ตรงตามฤดูกาล
สำ�หรับเกษตรกร 15

การปลูกกัญชาในโรงเรือน (Semi-Outdoor Cultivation)


ข้อดี ได้แก่
ต้นกัญชาสามารถได้รับแสงธรรมชาติได้เต็มที่
ต้นทุนการด�ำเนินการต�่ำกว่าการปลูกในระบบปิด
สามารถคุมสภาพแวดล้อมและศัตรูพืชได้บางส่วน
ข้อด้อย ได้แก่
สามารถควบคุมคุณภาพผลผลิตได้ แต่ตอ้ งใช้เทคนิคต่างๆ และ
อาศัยความเชี่ยวชาญ
การปลูกและเก็บเกี่ยวได้แค่ 2 ครั้งต่อปี
การปลูกกัญชาในระบบปิด (Indoor Cultivation)
ข้อดี ได้แก่
มีการควบคุมระยะเวลาในการให้แสง น�้ำ สารอาหาร
ได้ผลผลิต (ช่อดอก ใบ) ที่มีคุณภาพ ปริมาณสูง
สามารถคุมสภาพแวดล้อมและศัตรูพืชได้
วางแผนการปลูก และเก็บเกี่ยวได้ทั้งปี
ข้อด้อย ได้แก่
ต้นทุนการด�ำเนินการสูง
ผู้ปลูกต้องมีความเชี่ยวชาญ
ด้านเทคนิคการปลูก เช่น การควบคุมระบบแสง
ไฟเทียม ระบบน�้ำ ระบบอากาศ
18 คู่มือการขอรับอนุญาตปลูกกัญชา

หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
ภายหลังได้รับอนุญาตปลูกกัญชาแล้ว
มีหน้าที่ตามกฎหมายที่ต้องปฏิบัติ ดังนี้
จัดให้มกี ารแยกเก็บกัญชาเป็นสัดส่วนจากยาหรือวัตถุอนื่ และ
เก็บในที่ซึ่งมั่นคงแข็งแรงและมีกุญแจใส่ ไว้ หรือเครื่องป้องกัน
อย่างอื่นที่มีสภาพเท่าเทียมกัน

ในกรณีทกี่ ญ
ั ชา ถูกโจรกรรม สูญหาย หรือถูกท�ำลาย ต้องแจ้ง
เป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบโดยมิชักช้า

จัดให้มกี ารท�ำบัญชีรบั จ่ายยาเสพติดให้โทษ และเสนอรายงาน


ต่อเลขาธิการ อย. เป็นรายเดือนและรายปี บัญชีดังกล่าวให้
เก็บรักษาไว้และพร้อมที่จะแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ได้
ทุกเวลาในขณะเปิดท�ำการ ทั้งนี้ ภายในห้าปีนับแต่วันที่ลง
รายการครั้งสุดท้ายในบัญชีและรายงานให้เป็นไปตามแบบที่
คณะกรรมการก�ำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ปฏิบัติการอื่นตามที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง
สำ�หรับเกษตรกร 19

ค�ำว่า “ปลดล็อกกัญชา” หมายความว่าปัจจุบันกัญชา


หลุดจากการเป็นยาเสพติดให้โทษแล้วใช่หรือไม่

กรณีผู้ขอรับอนุญาตปลูกกัญชา
เกษตรกรสามารถปลูกกัญชา ตั้งอยู่ในพื้นที่ต่างจังหวัด
เพื่อน�ำไปใช้เป็นพืชเศรษฐกิจ ต้องยื่นขอรับอนุญาตที่ใด
ด้านต่างๆ เช่น ในอุตสาหกรรมอาหาร
เครื่องส�ำอาง ได้หรือไม่

การจัดท�ำป้ายแสดงว่าเป็น “สถานที่
ผลิตยาเสพติดให้โทษในประเภท 5” วิสาหกิจชุมชน ต้องผ่านการ
ป้ายดังกล่าวต้องมีขนาดเท่าไร จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนที่มี
วัตถุประสงค์เป็นผู้ปลูกกัญชาก่อน
จึงจะมีสิทธิ์ยื่นค�ำขอรับอนุญาต
ปลูกกัญชาได้ ใช่หรือไม่
20 คู่มือการขอรับอนุญาตปลูกกัญชา

Q&A

ค�ำถาม - ค�ำตอบ
ค�ำว่า “ปลดล็อกกัญชา” หมายความว่า ปัจจุบันกัญชา
หลุดจากการเป็นยาเสพติดให้โทษแล้วใช่หรือไม่
ค�ำตอบ ไม่ใช่ ปัจจุบนั กัญชายังคงจัดเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 โดย
ค�ำว่า “ปลดล็อกกัญชา” หมายถึง อนุญาตให้น�ำกัญชาไปใช้
ประโยชน์ในทางการแพทย์และเพื่อการศึกษาวิจัย ผู้ป่วยสามารถ
เสพกัญชาเพื่อรักษาโรคตามค�ำสั่งของแพทย์ได้

เกษตรกรสามารถปลูกกัญชาเพื่อน�ำไปใช้เป็นพืชเศรษฐกิจ
ด้านต่างๆ เช่น ในอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องส�ำอาง ได้หรือไม่
ค�ำตอบ ในปั จ จุ บั น ตามพระราชบั ญ ญั ติ ย าเสพติ ด ให้ โ ทษ (ฉบั บ ที่ 7)
พ.ศ. 2562 ยังคงควบคุมให้กญ ั ชาเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5
ซึ่งเปิดให้น�ำไปใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์และเพื่อการศึกษา
วิจัยได้เท่านั้น
สำ�หรับเกษตรกร 21

ภายหลังพ้นระยะเวลา 5 ปีแรก นับแต่วนั ที่ พรบ. ยาเสพติดให้โทษ


(ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 มีผลบังคับใช้ วิสาหกิจชุมชน/สหกรณ์การเกษตร
สามารถขออนุญาตปลูกกัญชา ได้ดว้ ยตนเอง โดยไม่ตอ้ งร่วมกับ
หน่วยงานอืน่ ๆ ใช่หรือไม่
ค�ำตอบ ไม่ได้ โดยภายหลังพ้นระยะเวลา 5 ปีดังกล่าว ในการขออนุญาต
ท่านต้องด�ำเนินการภายใต้ความร่วมมือและก�ำกับดูแลของผู้ขอ
อนุญาต ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐ หรือสถาบันอุดมศึกษาตาม
กฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่มีหน้าที่ศึกษาวิจัยและ
จัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับทางการแพทย์หรือเภสัชศาสตร์

วิสาหกิจชุมชน ต้องผ่านการจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนที่มี
วัตถุประสงค์เป็นผูป้ ลูกกัญชาก่อน จึงจะมีสทิ ธิย์ นื่ ค�ำขอรับอนุญาต
ปลูกกัญชาได้ ใช่หรือไม่
ค�ำตอบ ก่อนการยื่นขออนุญาตปลูกกัญชา กลุ่มเกษตรกรต้องรวมตัวกัน
ขอจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ในกิจการอื่นที่ไม่ใช่เพื่อปลูกกัญชา
โดยเฉพาะ แล้วจึงยื่นขออนุญาตปลูกกัญชา เมื่อได้รับอนุญาต
เรียบร้อยแล้วจึงค่อยไปยื่นขอเพิ่มกิจการวิสาหกิจชุมชนเกี่ยวกับ
การปลูกกัญชาต่อไป
22 คู่มือการขอรับอนุญาตปลูกกัญชา

กรณีผขู้ อรับอนุญาตปลูกกัญชา ตัง้ อยู่ในพืน้ ทีต่ า่ งจังหวัด ต้องยืน่


ขอรับอนุญาตที่ใด
ค�ำตอบ ขณะนี้ ก ารยื่ น ขออนุ ญ าตปลู ก กั ญ ชาให้ ด� ำ เนิ น การยื่ น เรื่ อ งที่
ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการอาหารและยา ทั้ ง นี้ ใ นอนาคตหาก
กฎกระทรวงฯ กัญชามีผลบังคับใช้ ผู้ขอรับอนุญาตปลูกกัญชา
ที่ มี พื้ น ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นต่ า งจั ง หวั ด ให้ ยื่ น ขออนุ ญ าตที่ ส� ำ นั ก งาน
สาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่

การจัดเตรียมพื้นที่ปลูก ต้องด�ำเนินการในพื้นที่ระบบปิด หรือ


โรงเรือนเพาะปลูกเท่านั้น ซึ่งจ�ำเป็นต้องใช้ต้นทุนในการลงทุนสูง
เป็นอุปสรรคให้เกษตรกรไม่สามารถด�ำเนินการขออนุญาตปลูก
กัญชาได้ ภาครัฐจะแก้ ไขปัญหานี้อย่างไร

ค�ำตอบ การขออนุญาตปลูกกัญชาสามารถด�ำเนินการได้ในพื้นที่รูปแบบ
ต่าง ๆ ไม่ได้จ�ำกัดเฉพาะการปลูกในระบบปิดหรือโรงเรือนที่
ต้องใช้ตน้ ทุนสูง แต่ยงั สามารถขออนุญาตปลูกในพืน้ ทีก่ ลางแจ้งได้
เพื่อเป็นการลดต้นทุนให้กับเกษตรกร แต่เกษตรกรจ�ำเป็นต้อง
ควบคุมการปลูก ป้องกันไม่ให้เกิดการรั่วไหลออกนอกระบบ และ
ผลผลิตที่ได้มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน
สำ�หรับเกษตรกร 23

การจั ด ท� ำ ป้ า ยแสดงว่ า เป็ น “สถานที่ ผ ลิ ต ยาเสพติ ด ให้ โ ทษ


ในประเภท 5” ป้ายดังกล่าวต้องมีขนาดเท่าไร

ค�ำตอบ ป้ายต้องมีขนาดไม่น้อยกว่า 10 x 60 ซม. และขนาดตัวอักษร


ไม่น้อยกว่า 3 ซม.

จริงหรือไม่ ที่ว่าสถานที่ปลูก ต้องจัดให้มีระบบกล้องวงจรปิด


ครอบคลุมพื้นที่ปลูก โดยจ�ำนวนกล้องวงจรปิดต้องมี ไม่น้อยกว่า
10 ตัว
ค�ำตอบ ไม่จริง ผู้อนุญาตไม่ได้มีการก�ำหนดจ�ำนวนกล้องวงจรปิดที่ต้อง
ติดตัง้ ว่าต้องมีจำ� นวนกีต่ วั เพียงแต่กำ� หนดว่าต้องติดตัง้ ให้ครอบคลุม
พื้ น ที่ ป ลูก ซึ่งจะมีจ�ำนวนเท่าไหร่ก็ขึ้นกั บขนาดและพื้ นที่ ปลู ก
แต่ละแห่ง

การสุ่มตรวจวิเคราะห์กัญชาที่ปลูกได้ ต้องด�ำเนินการอย่างไร

ค�ำตอบ ผู้รับอนุญาตปลูกกัญชาต้องจัดให้มีการวิเคราะห์กัญชาที่ปลูกขึ้น
เพื่อให้ได้คุณภาพมาตรฐาน โดยต้องมีการตรวจวิเคราะห์ทุกครั้ง
ที่ ไ ด้ ผ ลผลิ ต จากการปลู ก และมี ห ลั ก ฐานแสดงรายละเอี ย ด
ผลการตรวจวิเคราะห์ซึ่งต้องเก็บรักษาไว้
24 คู่มือการขอรับอนุญาตปลูกกัญชา

การตรวจวิเคราะห์เพือ่ หาสารปนเปือ้ น เช่น ยาฆ่าแมลง โลหะหนัก


หรือสารอืน่ ๆ ในกัญชาทีป่ ลูกได้ ต้องส่งตรวจที่ใด
ค�ำตอบ สามารถส่ ง ตรวจวิ เ คราะห์ ไ ด้ ที่ ก รมวิ ท ยาศาสตร์ ก ารแพทย์
หรื อ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รอง ISO/IEC17025 หรื อ
ห้องปฏิบัติการอื่นที่มีความสามารถในการทดสอบเทียบเท่ากัน

สถานที่ปลูกกัญชา สามารถด�ำเนินการในสถานที่ของเอกชน
ได้หรือไม่
ค�ำตอบ สามารถด� ำ เนิ น การได้ ทั้ ง นี้ ต้ อ งสามารถแสดงหนั ง สื อ แสดง
กรรมสิทธิ์ หรือสิทธิครอบครองของสถานที่ปลูกโดยชอบด้วย
กฎหมาย เช่น หนังสือให้ความยินยอมจาก ผู้ให้เช่า หรือผู้ให้ใช้
ที่ดิน ในกรณีขอเช่าหรือขอใช้ที่ดินของบุคคลอื่นในการเพาะปลูก

You might also like