You are on page 1of 12

“แปรงแห้ง” กันเถอะ

รศ.ทญ.ดร. สุดาดวง กฤษฎาพงษ์


คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

“Spit don’t rinse” เป็นข้อความสั้นๆ ที่ปรากฏอยู่


ในคาแนะนาเรื่ องการแปรงฟันโดยองค์ กรสุ ขภาพแห่ งชาติ /
มลรัฐของหลายประเทศทั่วโลกในขณะนี้ อาทิ สหราชอาณาจักร
ไอร์แลนด์ สก็อตแลนด์ ออสเตรเลีย แปลเป็นภาษาไทยทางการ
ว่า “ถ่ม” ภาษาเข้าใจง่ายเรียก “ถุย” และ “ไม่ต้องบ้วนน้า”
(หรือน้ายาบ้วนปากตาม) นี่คือ บทสรุปล่าสุดเรื่องการแปรงฟัน
เพื่อป้องกันฟันผุ ซึง่ อาจเรียกสั้นว่า “แปรงแห้ง”

แห้งทั้งก่อนและหลังแปรง
บางท่านเอาแปรงไปจุ่มน้าก่อนแปรงฟัน พอแปรงเปียก
น้าในปากก็เยอะ ยาสีฟันก็จะเจือจางอย่างรวดเร็ว กลายเป็น
ฟองฟู ฟ่ อ งทั่ ว ปาก (เสมื อ นการตี ฟ องผงซั ก ฟอกในกะละมั ง
ซักผ้า) แล้วฟองก็จะไหลย้วยเป็นแนวลงตามแขนจนถึงข้อศอก
สิ่งที่ตามมาคือรีบวิ่งไปที่อ่าง ยืนก้มหน้าก้มตา มุด ๆ บ้วนออก
อย่างรวดเร็ว พฤติกรรมดังกล่าวนอกจากทาให้การแปรงฟัน
แลดูน่าอับอาย แล้วยังทาให้ไม่ส ามารถแปรงฟันได้นานถึง 2
นาที ตามที่ควรจะเป็น ... แปรงฟันอย่างสง่า ไม่ย้วย ไม่ต้องมุด
หน้ากับอ่าง โดยใส่แปรงเข้าปากแบบแห้งๆ ท่านจะพบว่าฟอง
จะยังคงเกาะตัวอยู่ในปากได้ดีกว่า และสามารถแปรงได้นาน
ซึ่งหมายถึงฟลูออไรด์ทางานป้องกันฟันผุได้ดีขึ้นนั่นเอง
เมื่อแปรงเสร็จ 2 นาที ถุยฟองทิ้ง ให้น้าลายชะล้างคราบฟองที่เหลือ เพียงไม่กี่วินาทีระหว่างที่ล้างรอบริมีีปากด้าน
นอก น้าลายก็จะไหลออกมา ก็ถุยทิ้งอีกครั้ง ถ้าไม่สบายปากอาจใช้ลิ้นกวาดคราบฟองที่เหลือตามกระพุ้งแก้ม/ริ มีีปากด้านใน
และดูดกระพุ้งแก้ม การขยับกระพุ้งแก้มและลิ้นกวาดไปรอบปากจะกระตุ้นให้มีน้าลายเพิ่มมากขึ้น อาจแปรงลิ้นเบาๆ จาก
โคนลิ้นไปทางปลายลิ้นเพื่อลากเอาฟองที่ตกค้างบนลิ้นออก ถุยทิ้งอีกครั้ง เป็นอันเรียบร้อย ไม่ได้เหลือฟองยาสีฟันตกค้าง
มากมาย หลังจากแปรงแห้งเสร็จแล้ว อย่าเพิ่งกินอาหาร/ดื่มน้า อย่างน้อยครึ่งชั่วโมง เพื่อเก็บฟลูออไรด์ไว้ในปาก

วารสารทันตภูธร 34 ฉบับที่ 1: มกราคม 2559


กับความฉงนของทั้งทันตแพทย์และประชาชนทาให้เกิดการ
ประชุมระหว่างนักวิชาการในสาขาในปี ค.ศ. 2012 เพื่อ
รวบรวมหลักฐานงานวิจัยทั้งหมดแล้วสร้างบทสรุปร่วมกัน
“Spit don’t rinse” หรือ “ถุยทิ้ง ไม่ต้องบ้วนน้า” เป็น
ข้อสรุปเอกฉันท์ในงานประชุมดังกล่าว

ประโยชน์ของยาสีฟันฟลูออไรด์ในการป้องกันฟันผุ
เป็นที่แน่นอนอย่างไม่ต้องสงสัย งานวิจัยเรื่องการบ้วนน้า
หลังแปรงฟันมีหลายรูปแบบ ทั้งที่วัดปริมาณฟลูออไรด์ที่
คงเหลืออยู่ในปาก ติดตามผลระยะยาวแล้วส่องกล้องขยาย
ตรวจดูลักษณะการสูญเสียแร่ธาตุบนผิวฟัน ตลอดจนการ
เศษอาหาร ขี้ฟัน จะกินลงไปไหม ตรวจฟันผุที่เกิดขึ้นจริงในปาก ผลสรุปล้วนสอดคล้องกัน
สาหรับเศษอาหารที่ติดอยู่ ควรกาจัดทิ้งออกก่อน คือ บ้วนน้าเยอะฟันผุเยอะ บ้วนน้าน้อยฟันผุน้ อย ไม่บ้วน
เริ่มแปรงฟัน เช่น บ้วนน้าแรงๆ ใช้ไม้จิ้มฟันหรือไหมขัดฟัน เลยฟันผุน้อยที่สุด โดยปริมาณน้าที่ใช้ในการบ้วนปากมีผล
อย่างไรก็ดี ผู้ที่การสบฟันเป็นปกติ ไม่ได้มีฟันซ้อนเก หรือมี กับการเกิดฟันผุ แต่ระยะเวลาที่บ้วนทิ้งไม่มีผล
ช่องว่างระหว่างซี่ฟัน มักจะไม่มีเศษอาหารติด เพราะจะถูก
กาจัดออกโดยกลไกทาความสะอาดตามธรรมชาติของลิ้น งานวิ จั ย ระยะยาวในคนที่ โ ด่ ง ดั ง มากในปี
และกระพุ้งแก้ม หากใช้ไหมขัดฟัน แนะนาให้ใช้ก่อนแปรง ค.ศ. 1992 ในประเทศสหราชอาณาจักร พบว่าเด็กที่แปรง
ฟัน เพื่อเปิ ดผิ ว ฟัน ออกให้สั มผัสกับฟลูออไรด์จากยาสีฟัน ฟันแล้วบ้วนปากโดยเอาปากไปจ่อกับก๊ อกน้า (น้าไม่ค่อย
มากขึ้น ใช้เสร็จก็บ้วนน้าทิ้งไป เข้าไปในปาก) มีฟันผุน้อยกว่าเด็กที่บ้วนปากจากแก้วน้า
นอกจากนั้นยังมีงานวิจัยเปรียบเทียบสองโรงเรียน โรงเรียน
ที่มาของคาแนะนาแปรงแห้ง 1-6 หนึ่งเด็กถูกควบคุมให้ “ถุยทิ้ง ไม่ต้องบ้วนน้า” ระหว่างการ
กว่าที่องค์กรสุขภาพต่าง ๆ จะประกาศคาแนะนา แปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่โรงเรียน อีกโรงเรียนเด็ก
เรื่ อ งนี้ จ ะออกมาอย่ า งเป็ น ทางการนั้น มี ง านวิ จั ย ต่ า ง ๆ บ้วนน้าตามปกติ 3 ปี ผ่านไป เด็กในโรงเรียนที่ “ถุยทิ้ง ไม่
เกิ ด ขึ้ น มากมายเริ่ ม ตั้ ง แต่ ห ลั ง ปี ค.ศ. 1980 เป็ น ต้ น มา ต้ อ งบ้ ว นน้ า” มี ฟั น ผุ เ กิ ด ขึ้ น น้ อ ยกว่ า (ความกั ง วลเรื่ อ ง
องค์ ค วามรู้ เ รื่ อ งนี้ เ ริ่ ม ตกผลึ ก หลั ง ปี ค.ศ. 2010 ที่ มี ร าย อันตรายเพราะยาสี ฟันที่เหลื อในปาก ของการแปรงแห้ ง
งานวิจัยทบทวนวรรณกรรม แล้วสรุปออกมาเป็นคาแนะนา หมดไป เพราะหากมีโอกาสอันตรายจริง งานวิจัยนี้คงไม่
สาหรับประชาชน กระแสความสนใจที่เพิ่มมากขึ้น พร้อมๆ สามารถเกิดขึ้นได้ในประเทศที่กฎเกณฑ์ด้านความปลอดภัย
ของอาสาสมัครในงานวิจัยเข้มงวดมาก)
วารสารทันตภูธร 35 ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ปลอดภัยไหม Cosmetic Ingredient Review (CIR) ที่ เ ป็ น องค์ ก รอิ ส ระ
บางท่านอาจมีความกังวลถึงอันตรายของสารเคมี เป็นกลาง ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญหลายสาขา ทาหน้าที่
ในยาสีฟันที่อาจตกค้างในช่องปากแล้วกินเข้าไปหากไม่บ้วน ประเมินความปลอดภัยของส่วนประกอบทุกอย่างที่อนุญาต
น้ าออกให้ ห มด สารเคมี ที่ ก ล่ า วถึ ง กั น มากที่ สุ ด ได้ แ ก่ ให้ ใส่ ในเครื่องส าอางค์ CIR ประเมินความปลอดภัยของ
Sodium Lauryl Sulfate (SLS) ซึ่งเป็นสารลดแรงตึงผิวที่ SLS ไว้ ตั้ ง แต่ ปี ค.ศ. 1983 แล้ ว ทบทวนอี ก ครั้ ง ในปี
นิยมใช้ในเครื่องสาอางค์ชนิดต่าง ๆ ค.ศ. 2002 หลังจากมีข่าวลือในอินเทอร์เน็ทถึงอันตรายของ
ส่ ว นประกอบต่าง ๆ ของเครื่องส าอางค์ รวมถึง SLS ผลการทบทวนในปี ค.ศ. 2002 ยืนยันตามข้อสรุปเดิม
ยาสีฟัน จะถูกควบคุม ทั้งชนิดและปริมาณที่ใช้ให้ปลอดภัย SLS ไม่ใช่สารก่อมะเร็ง งานวิจัยในปัจจุบันยังคง
ต่ อ ผู้ บ ริ โ ภค ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ใ ช้ ใ นช่ อ งปาก จะถู ก ก าหนด ยืนยันถึงความปลอดภัยของ SLS ที่ใช้ตามปริมาณที่กาหนด
ปริ ม าณที่ เ ผื่ อ การกิ น ลงไปแล้ ว โดยไม่ เ ป็ น อั น ตรายต่ อ อันตรายจากการบริโภค SLS ไม่ได้เกิดจากลักษณะการใช้
ร่างกาย ข้อกาหนดของประเทศไทยอ้างอิงตามนานาชาติ ผลิตภัณฑ์ตามปกติ แต่เป็นการบริโภคเข้าไปในปริมาณมาก
ได้ แ ก่ ยุ โ รป สหรั ฐ อเมริ ก า และกลุ่ ม ประเทศอาเซี ย น ที่ เ ป็ น อุ บั ติ เ หตุ เช่ น กรณี ข องเด็ ก เล็ ก ซึ่ ง อั น ตรายที่ เกิด
แหล่งที่มาที่สาคัญของข้อกาหนดของประเทศต่าง ๆ คือ US ขึ้นอยู่ในระดับต่า ปริมาณ SLS ที่ใส่ในเครื่องสาอางค์ได้ถูก

วารสารทันตภูธร 36 ฉบับที่ 1: มกราคม 2559


กาหนดไว้ที่ไม่เกิน 15% สาหรับเครื่องสาอางค์โ ดยทั่ว ไป ทั่วประชากรไทย (และประชากรโลก) ผลการสารวจสุขภาพ
(เช่น สบู่ แชมพู) แต่ในยาสีฟันนั้น มีเพียง 0.5-2% เท่านั้น ช่องปากแห่งชาติครั้งล่าสุด (พ.ศ. 2555) พบว่า 87% ของ
(โดยเฉลี่ย 1.5%) จะเห็นว่าในยาสีฟันมีปริ มาณของ SLS ประชากรไทยวัยผู้ใหญ่มีฟันผุ และโดยเฉลี่ยแต่ละคนมีฟันผุ
น้อยมาก เมื่อคานวณเทียบกับปริมาณที่ก่อให้เกิดอันตราย คนละ 6 ซี่ ตั ว เลขฟั น ผุ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น ตามอายุ ที่ ม ากขึ้ น
พบว่าอันตรายอาจเกิดได้ หากบริโภคยาสีฟันเข้าไปมากกว่า กล่าวคือ 52% ในเด็ก 12 ปี มีฟันผุ (เฉลี่ยคนละ 1.3 ซี่) ,
3 กิ โ ลกรั ม หรื อ บริ โ ภคสะสมต่ อ เนื่ อ งทุ ก วั น วั น ละครึ่ ง 62% ในเด็ก 15 ปี (คนละ 2 ซี่), 97% ในวัย 60 ปี (คนละ
กิโ ลกรั ม ดังนั้น หน่ว ยงานที่ประเมิน ความปลอดภัย ของ 15 ซี่) และ 100% ในวัย 80 ปี (คนละ 24.4 ซี่) ถ้าคานวณ
SLS จึงสรุปว่าการนา SLS มาใช้ในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ไม่เป็น ง่ายๆ โดยเอาวัยผู้ใหญ่ที่อยู่ตรงกลางเป็นตัวแทนทั้งหมด
อันตรายต่อสุขภาพแต่อย่างใด ฟันผุ คนละ 6 ซี่ คูณประชากร 70 ล้ านคน เท่ากับ ฟันผุ
สาหรับการแพ้และระคายเคืองในช่องปาก พบว่า 420 ล้ า นซี่ ทั้ ง ประเทศ รั ก ษาอย่ า งไรก็ ไ ม่ มี วั น หมด
SLS ทาให้ เกิดการแพ้ได้ห ากมีความเข้มข้นมากกว่า 2% ถึงรักษาไป ไม่นานนักฟันก็ผุซ้า ต้องมารื้ออุดใหม่ รูใหญ่
และทาทิ้งไว้เป็นเวลานาน (มากกว่า 1 ชั่วโมง) ยาสีฟันมี กว่าเดิม นานเข้า ก็ต้องรักษารากฟัน ถอนฟัน ใส่ฟันปลอม
SLS ไม่เกิน 2% และถูกเจือจางเมื่อผสมกับน้าลาย หลังจาก หรือรากเทียม แต่ละครั้งที่ต้องรักษาฟันซี่เดิมซ้าใหม่ จะใช้
แปรงเสร็ จ แล้ ว ยาสี ฟันส่ ว นใหญ่จ ะถู ก ถุย ทิ้ง ไป คราบที่ เวลานานขึ้ น ต้ อ งการการรั ก ษาที่ ซั บ ซ้ อ นมากขึ้ น ใช้
หลงเหลื อ จะถู ก ชะล้ า งอย่ า งต่ อ เนื่ อ งโดยน้ าลาย ความ ทันตแพทย์เฉพาะทางมากขึ้น ดังนั้น ผลิตทันตแพทย์เท่าไร
เข้มข้นที่เหลืออยู่ในช่องปากจึงน้อยมากจนไม่สร้างความ ก็ แ ก้ ปั ญ หาโรคฟั น ผุ ที่ ม ากมายมหาศาลนี้ ไ ม่ ไ ด้ เปรี ย บ
กังวลว่า SLS จะทาให้เกิดการแพ้หรือระคายเคือง อย่างไรก็ เหมือนการทางานอยู่ที่ปลายน้า ที่โรคฟันผุและฟันผุซ้าไหล
ดี การแพ้สารเคมีใดๆ อาจเกิดขึ้นได้เฉพาะคน ซึ่งผู้ที่แพ้สาร ลงมาจากต้นน้าเรื่อยๆ ไม่มีวันหมดสิ้น
ใดๆ ควรที่จะอ่านฉลากและหลี กเลี่ ย งผลิ ตภั ณ ฑ์ ที่ มี ส าร สาเหตุที่สาคัญที่สุดของฟันผุ และฟันผุซ้าซาก คือ
นั้นๆ การบริ โ ภคน้ าตาล องค์ ก ารอนามั ย โลกแนะน าล่ า สุ ด
CIR ระบุว่าข่าวลือของ SLS เป็น Internet hoax (ค.ศ. 2015) ควรบริโภคน้าตาลไม่เกินวันละ 25 กรัม หรือ
(เรื่ อ งหลอกลวงทางอิ น เตอร์ เ น็ ต ) โดยธุ ร กิ จ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ 6 ช้อนชา แต่คนไทยบริโภคน้าตาลวันละ 104 กรัม หรือ
ธรรมชาติ นอกจากนั้นยังพบว่าการสืบค้นทางอินเตอร์เน็ ต 26 ช้ อ นชา สู ง มากกว่ า 4 เท่ า ของปริ ม าณที่ แ นะน า
มักจะพบข้อมูลจากภาคธุรกิจก่อน ดังนั้นการดูแหล่งที่มา อย่ า งนี้ แ ล้ ว จึ ง ไม่ ส งสั ย เลยที่ ค นไทยมี ฟั น ผุ กั น ถ้ ว นหน้ า
ของข้อมูลจึงมีความสาคัญ เลือกข้อมูลจากองค์กรทางการที่ และถือว่าคนไทยโดยทั่วไปมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ
น่ า เชื่ อ ถื อ ถึ ง แม้ ว่ า องค์ ค วามรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ อ าจ จึงควรแปรงแห้งนั่นเอง
เปลี่ยนไปได้ในอนาคต แต่ข้อมูลด้านวิชาการที่ทันสมัยที่สุด ดังนั้นการแปรงแห้งจึงเป็นวิธีที่แนะนาสาหรับคน
ในปัจจุบันน่าจะเป็นคาตอบที่ดีที่สุด ทั่วไป โดยเฉพาะคนที่มีฟันผุมาก (ไม่ควรบ้วนน้าเลยเป็น
อย่างยิ่ง) การแปรงแห้งอาจไม่จาเป็นสาหรับบางคนที่ไม่มี
ใครควรแปรงแห้ง ฟันผุหรือใม่กินน้าตาลเลย
การแปรงแห้ ง เป็ น ค าแนะน าโดยรวมส าหรั บ
ประชาชนทั่วไป ทั้งนี้เพราะโรคฟันผุเป็นโรคที่แพร่ระบาด
วารสารทันตภูธร 37 ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
น้ายาบ้วนปากที่ดีที่สุด แปรงฟัน ซึ่งทั้งสองวิธีนี้ปริมาณฟลูออไรด์จะลดลงจากการ
น้ายาบ้วนปากที่ดีที่สุด คือ คราบยาสีฟันที่เหลือใน ไม่บ้วนน้าเลยเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ในขณะที่ การบ้วนน้า
ปาก (หลังจากถุยฟองทิ้ง) รวมกับน้าลาย และอาจมีน้าเพียง 3 ครั้งอย่างรวดเร็วภายในเวลา 2 วินาที โดยใช้ปริมาณน้า
1 จิบ (5 มิลลิลิตร หรือ 1 ช้อนชา) กลั้วให้ทั่วปาก แล้ว ตามปกติ ปริมาณฟลูออไรด์ลดฮวบลงทันที
บ้วนทิ้ง ในบรรดาวิ ธี ก ารต่ า งๆ ของการได้ รั บ ฟลู อ อไรด์
ประโยชน์ของน้ายาบ้วนปาก คือ ฟลูออไรด์ที่จ ะ ประสิ ท ธิ ภ าพในการป้ อ งกั น ฟั น ผุ ไ ม่ ไ ด้ แ ตกต่ า งกั น แต่
ช่วยป้องกันฟันผุ (สาหรับส่วนประกอบอย่างอื่น ไม่จาเป็น ยาสี ฟั น ฟลู อ อไรด์ ถื อ เป็ น วิ ธี ที่ ดี แ ละคุ้ ม ค่ า ที่ สุ ด เพราะ
และไม่ใช่ข้อบ่งใช้สาหรับคนทั่วไป) การใช้น้ายาบ้วนปาก สามารถท าได้ ด้ ว ยตนเอง สอดแทรกเข้ า ในวิ ธี ป ฏิ บั ติ
หลังแปรงฟันช่วยเพิ่มปริมาณฟลูออไรด์ในช่องปากได้เป็น ตามปกติในการดูแลอนามัยส่วนบุคคล และราคาถูก
อย่ า งดี และจึ ง ช่ ว ยป้ อ งกั น ฟั น ผุ ไ ด้ แต่ ค วามเป็ น จริ ง ที่ ดังนั้นคาแนะนาให้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์จึงเป็น
เกิดขึ้นคือ ฟลูออไรด์ในยาสีฟันถูกล้างออกไปจนหมดจาก คาแนะนาพื้นฐานสาหรับทุกคน การใช้ฟลูออไรด์เฉพาะที่
การบ้วนน้า แล้วถูกแทนที่ด้วยฟลูออไรด์จากน้ายาบ้วนปาก วิธีอื่นๆนั้น เหมาะสาหรับเฉพาะผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด
ดั ง นั้ น ประโยชน์ ข องฟลู อ อไรด์ ใ นยาสี ฟั น ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ฟั น ผุ สู ง (ส าหรั บ ฟลู อ อไรด์ ใ นรู ป แบบรั บ ประทานนั้ น
เคลือบเกาะผิวฟันได้ดีกว่าจึงสูญเปล่า ปัจจุบันไม่แนะนาให้ใช้แล้ว) ถ้าใช้น้ายาบ้วนปาก แนะนา
คราบยาสีฟันที่เกาะอยู่ตามผิวฟัน ผสมกับน้าลาย ให้ใช้ระหว่างวัน เช่น หลังรับประทานอาหารกลางวัน (หาก
ในปาก และหากมีน้าด้วยให้เพียงจิบเล็กน้อย คือน้ายาบ้วน ไม่ ไ ด้ แ ปรงฟั น ) เพื่ อ เพิ่ ม ความถี่ ข องฟลู อ อไรด์ ที่ ไ ด้ รั บ
ปากฟลู อ อไรด์ ชั้ น เลิ ศ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ กาะผิ ว ฟั น ได้ ดี กว่า อย่างไรก็ตาม ให้การแปรงแห้งอย่างน้อย 2 ครั้งต่อวัน เป็น
น้ายาบ้วนปากด้วยซ้า งานวิจัยพบว่า การจิบน้าเข้าไปเพียง ข้อปฎิบัติพื้นฐาน
เล็กน้อย (5 มิลลิลิตร หรือ 1 ช้อนชา) ผสมกับคราบยาสีฟัน ไม่ ว่ า จะแปรงแห้ ง หรื อ ใช้ น้ ายาบ้ ว นปาก ก็ ไ ม่
ที่เหลือในปากและน้าลายแล้วบ้วนทิ้ง และแม้ว่าจะยังคง แนะนาให้ บ้ว นน้าตามทั้ งสิ้ น เพื่อคงฟลู อ อไรด์ ไว้ ใ นปาก
บ้วนทิ้งอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 60 วินาที ปริมาณฟลูออไรด์ เศษคราบยาสี ฟั น หรื อ น้ ายาบ้ ว นปากที่ เ หลื อ อยู่ เ พี ย ง
ในปากจะเหลื อ อยู่เ ท่า กับ การใช้น้ ายาบ้ว นปากตามหลั ง เล็กน้อยไม่เป็นอันตรายแต่อย่างใด
วารสารทันตภูธร 38 ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
แปรงฟันยืนยันผลตรงกันว่าการแปรงแห้งมีประสิทธิภาพใน
การป้องกันฟันผุที่มากกว่าการบ้วนน้าหลังแปรง
ประโยชน์ของการแปรงแห้งที่ชัดเจนกว่าการแปรง
บ่อย สามารถอธิบายได้จากปริมาณฟลูออไรด์ในช่องปาก
กล่ า วคื อ หากไม่ บ้ ว นน้ า ฟลู อ อไรด์ จ ะเข้ ม ข้ น มากใน
ช่วงเวลาครึ่งชั่วโมงแรกหลังแปรงฟัน ซึ่งปริมาณฟลูออไรด์
ที่เข้มข้นมากนี้จะมีประสิท ธิภาพอย่างมากในการซ่อมแซม
ผิวฟัน ในขณะที่การบ้วนน้าตามปกติ จะเจือจางฟลูออไรด์
ไปทันที บ้วนน้า 1 ครั้ง ปริมาณฟลูออไรด์ที่คงอยู่ในปาก
ไม่แปรงแห้ง แต่แปรงบ่อยขึ้นแทนได้ไหม
ลดลง 1-2 เท่า, บ้วน 2 ครั้ง ลดลง 4-5 เท่า เมื่อเทียบกับ
กรณีนี้จะกล่าวถึงเฉพาะประโยชน์ ของการแปรง
การไม่บ้ว นน้าเลย ดังนั้น ถึงแม้จ ะแปรงบ่อย แต่บ้ว นน้า
ฟัน ในการป้ องกัน ฟัน ผุ ซึ่งมาจากการได้รับ ฟลู อ อไรด์ ใ น
หลั ง แปรง ผิ ว ฟั น ก็ จ ะไม่ ไ ด้ รั บ ฟลู อ อไรด์ ที่ เ ข้ ม ข้ น เลย
ยาสีฟันเป็นหลัก ไม่ได้หมายรวมถึงประเด็นความสะอาด
(ยกเว้นในขณะที่กาลั งแปรงฟัน) แปรงแห้งจึงไม่สามารถ
หรือการกาจัดคราบจุลินทรีย์ (plaque) ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับ
ชดเชยได้ด้วยการแปรงบ่อย นอกจากนั้น การแปรงบ่อย
การเหงือกอักเสบและหินน้าลายมากกว่าโรคฟันผุ
เกินไป (เช่น 4-5 ครั้งขึ้นไปต่อวัน) ยังทาให้เกิดฟันสึกได้
แปรงฟั น บ่ อ ยขึ้ น ด้ ว ยยาสี ฟั น ที่ มี ฟ ลู อ อไรด์ จึ ง
หมายถึงฟันได้รั บ ฟลู ออไรด์บ่ อยขึ้น งานวิจั ย ที่รวบรวม
แปรงฟันตอนไหนดี
ค าแนะน าเรื่ อ งการแปรงฟั น จากแหล่ ง ข้ อ มู ล ต่ า งๆ ที่
“หลั ง อาหารเช้ า และสิ่ ง สุ ด ท้ า ยก่ อ นเข้ า นอน”
น่าเชื่อถือ เช่น จากรายงานวิจัย ตารา องค์กรด้านสุขภาพ
การทิ้ ง ระยะเวลาหลั ง แปรงฟั น ไว้ ใ ห้ น านที่ สุ ด โดยไม่ กิ น
พบว่า แหล่งข้อมูลโดยส่วนมาก (42 จาก 43 แหล่งข้อมูล)
อาหารหรือดื่มน้าใดๆ เป็นการเพิ่มระยะเวลาที่ฟลูออไรด์
แนะนาว่าแปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ในขณะที่มีเพียง
ทางานซ่อมแซมและเสริมสร้างผิวฟันนั่นเอง
แหล่งข้อมูลเดียวเท่านั้นที่แนะนาให้แปรงฟันวันละ 3 ครั้ง
ปริมาณฟลูออไรด์ในช่องปากจะสูงมากหลังแปรง
งานวิจัยทบทวนวรรณกรรมล่าสุดสรุปชัดเจนว่าการแปรง
ฟันเสร็จ แต่จะลดฮวบลงทันที (12-15 เท่า ) เมื่อกิน/ดื่ ม
2 ครั้ ง ต่ อ วั น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการป้ อ งกั น ฟั น ผุ เ พิ่ ม ขึ้ น
แต่หากปล่อยทิ้งไว้ปริมาณฟลูออไรด์จะค่อยๆ ลดลงภายใน
14% เทียบกับการแปรง 1 ครั้งต่อวัน อย่างไรก็ดีงานวิจัย
ครึ่งชั่วโมงแรก หลังจากนั้นฟลูออไรด์ที่หลงเหลืออยู่ในช่อง
ย่อยบางเรื่องพบว่าผู้ที่แปรง 3 ครั้ง มีฟันผุน้อยกว่าผู้ที่แปรง
ปากจะลดลงอย่างช้าๆ และใช้เวลาอีกหลายชั่วโมงกว่าจะ
2 ครั้ง แต่งานวิจัยบางเรื่องกลับพบว่าแปรง 2 หรือ 3 ครั้ง
หมดไป ดังนั้นครึ่งชั่วโมงแรกหลังแปรงฟันจึงเป็นช่วงเวลา
ฟันผุไม่แตกต่างกัน
ที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด ที่ จ ะคงระดับ ฟลู อ อไรด์ ให้ สู ง ไว้ เพื่ อ ให้ เ กิ ด
ดั ง นั้ น ในปั จ จุ บั น จึ ง ยั ง ไม่ มี ห ลั ก ฐ านทาง
กลไกการซ่อมแซมผิวฟันอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด
วิทยาศาสตร์เพียงพอที่จะสนับสนุนว่า การแปรงฟันวันละ
ดังนั้นหากการแปรงฟันเป็นสิ่งสุดท้ายก่อนเข้านอน
3 ครั้ง มีประสิทธิภาพในการป้ องกันผุดีกว่าแปรง 2 ครั้ง
โดยไม่กิน/ดื่มหลังจากแปรงฟันเสร็จ ฟลูออไรด์จะทางาน
ในขณะที่ งานวิจัยทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการบ้วนน้าหลั ง
ซ่อมแซมผิวฟันอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งคืน
วารสารทันตภูธร 39 ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
หลั งตื่น นอนตอนเช้า อาจบ้ว นปากด้ว ยน้าเปล่ า
เพื่อให้รู้สึกสบายขึ้น ดื่มน้าหลังตื่นนอน น้าลายจะเริ่มหลั่ง
เมื่อช่องปากขยับและปรับสภาพสมดุลจนกลิ่นปากหมดไป
หากแปรงฟันทันทีหลังตื่นนอน แล้วดื่มน้าหรือรับประทาน
อาหารเช้ า หลั งจากแปรงฟั น ไม่ ถึ ง ครึ่ ง ชั่ว โมง จะสู ญ เสี ย
ประโยชน์ ของฟลู ออไรด์ที่ควรจะได้รับ จากการแปรงฟั น
ตอนเช้ า ไปอย่ า งมาก ในทางตรงกั น ข้ า ม หากแปรงฟัน
หลั ง จากรั บ ประทานอาหารเช้ า จะมี โอกาสทิ้ ง ช่ ว ง
ระยะเวลาที่ฟลูออไรด์ออกฤทธิ์ซ่อมแซมผิวฟันได้นานกว่า
อย่ า งไรก็ ดี ค าแนะน านี้ ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นได้ ใ นแต่ ล ะ
บุ ค คล ที่ มี ล าดั บ กิ จ วั ต รประจ าวั น ในตอนเช้ า ที่ แ ตกต่ า ง
ออกไป
อย่าลืมแปรงด้วยวิธี “แปรงแห้ง” เพราะฟลูออไรด์
ในช่องปากจะลดฮวบลงทันทีหากกิน ดื่ม หรือบ้วนน้าตาม

บทสรุปการแปรงฟันเพื่อป้องกันฟันผุ
เอกสารอ้างอิง
1. แปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง 1) Pitts N, Duckworth RM, Marsh P, Mutti B, Parnell C,
2. ใช้ยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์ Zero D. Post-brushing rinsing for the control of dental caries:
3. แปรงนานอย่างน้อย 2 นาที exploration of the available evidence to establish what advice we
should give our patients. Br Dent J. 2012 Apr 13;212(7):315-20.
4. “แปรงแห้ง” ถุยทิ้ง ไม่ต้องบ้วนน้า 2) Parnell C, O'Mullane D. After-brush rinsing protocols,
(หรือเพียง 1 จิบเล็กๆ) frequency of toothpaste use: fluoride and other active ingredients.
Monogr Oral Sci. 2013;23:140-53.
5. ไม่กินหรือดื่ม หลังแปรงเสร็จอย่างน้อยครึ่งชั่วโมง 3) Sjögren K, Birkhed D. Factors related to fluoride
retention after toothbrushing and possible connection to caries
การทางานด้านสุขภาพควรที่จะอยู่บนพื้นฐานของ activity. Caries Res.1993;27(6):474-7.
4) Sjögren K, Birkhed D. Effect of various post-brushing
องค์ ค วามรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ที่ ดี ที่ สุ ด ในปั จ จุ บั น ไม่ ใ ช่ activities on salivary fluoride concentration after toothbrushing with
ความคิ ด ความเชื่ อ หรื อ ความเคยชิ น แบบเดิ ม ๆ การ a sodium fluoride dentifrice. Caries Res. 1994;28(2):127-31.
5) Chestnutt IG, Schäfer F, Jacobson AP, Stephen KW.
เปลี่ยนแปลงอาศัยระยะเวลา ถ้ าเปลี่ยนมา “แปรงแห้ง” The influence of toothbrushing frequency and post-brushing rinsing
ในอนาคต คนไทยจะมีฟันผุน้อยลง  on caries experience in a caries clinical trial. Community Dent Oral
Epidemiol. 1998 Dec;26(6):406-11.
6) The Challenge of Oral Disease- A call for global action.
The Oral Health Atlas. 2nd ed. Geneva: FDI World Dental
Federation; 2015 [cited 2015 December 23]. Available from:
http://www.fdiworldental.org/media/77552/complete_oh_atlas.pdf

วารสารทันตภูธร 40 ฉบับที่ 1: มกราคม 2559


การพัฒนา“ระบบการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศึกษา”
โดย ทพญ.จินดา พรหมทา
โรงพยาบาลจอมพระ จังหวัดสุรินทร์

หลังจากที่ประชุมร่ วมกันกับคณะครู อนามัยและ ในการท างานอนามั ย โรงเรี ยน จะพบว่ า มี


ทีมงานทันตบุคลาการใน อาเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ โรงเรี ยนอยู่ ก ลุ่ ม หนึ่ ง ที่ มี ค วามตั ง้ ใจท าได้ ดี ป ระสบ
เมื่อต้ นปี การศึกษา 2558 ที่ผา่ นมา ได้ วิเคราะห์กนั ถึงการ ความสาเร็ จ เรี ยกว่าเป็ นเกรด A ของอาเภอ แต่ก็จ ะมี
แก้ ปั ญ หาฟั นผุ และปั ญ หาการท ากิ จ กรรมส่ ง เสริ ม โรงเรี ยนอีกจานวนหนึง่ ที่ไม่ประสบความสาเร็จ ไม่มีระบบ
ทันตสุขภาพ ว่ามีเรื่ องอะไรที่สาคัญเร่งด่วนที่สดุ และเป็ น การแปรงฟั นสักที ทุกอาเภอก็อาจจะคล้ ายๆกันแบบนี ้
สิ่ ง ที่ จ ะท าให้ เด็ ก นัก เรี ย นประถมศึ ก ษามี สุ ข นิ สั ย ที่ ดี
เมื่อครู อนามัยและทันตบุคลากรอาเภอจอมพระ
รักการดูแลทันตสุขภาพของตนเอง เราพบข้ อสรุปว่าสิ่ งนี ้
ตกลงร่ วมกันว่าปี นี ้ เราจะ “ยกเครื่ อง” การทบทวนเรื่ อง
เป็ นสิ่ ง ที่ สาคัญ คือ “ระบบการแปรงฟั นหลั ง อาหาร
ระบบการแปรงฟั น ใน โรงเรี ย นอย่ า งไร ให้ ยั่ง ยื น จะ
กลางวันในโรงเรียนประถมศึกษา”
ทบทวนและศึ ก ษาเรื่ อ งการจัด ระบบการแปรงฟั น ใน

วารสารทันตภูธร 41 ฉบับที่ 1: มกราคม 2559


โรงเรี ยนกันอย่างไรที่จ ะทาให้ นักเรี ยนเห็นความส าคัญ ครู อ นามัย ที่ ท างานที่ ล้ มเหลว คุณ ครู ไ ด้ เ รี ย นรู้ ความ
ของการแปรงฟั น ต้ องมาวิเคราะห์แยกแยะว่า ผิดพลาด เราได้ ข้อสรุ ปจากเพื่อนครู ในการแก้ ปัญหาใน
การทางานเพื่อให้ “ระบบการแปรงฟั น” ในโรงเรี ยนเกิดขึ ้น
“การจัดการระบบการแปรงฟั นในโรงเรี ยน
ให้ ได้ มีข้อสรุปดังนี ้ค่ะ
ประถมศึกษา” ประกอบด้ วยเรื่องอะไรบ้ าง

เป้าหมายของ “การจัดระบบแปรงฟั น” คือ การ  อย่าหวังพึ่งครู ประจาชัน้ เราต้ องพัฒนาผู้นา


ทาให้ เด็กนักเรี ยนทุกๆคนในโรงเรี ยน แปรงฟั นหลังอาหาร นักเรี ยนเป็ นทีมทางานให้ กบั ครูอนามัย
 ต้ องทาให้ เด็กๆในโรงเรี ยนมี ส่วนร่ วมในการ
กลางวัน หรื อการแปรงฟั นก่อนขึ ้นห้ องเรี ยนในภาคบ่าย
จัด ระบบการแปรงฟั น ในโรงเรี ย น ระหว่ า ง ประธาน
เป้าหมายของ “การแปรงฟั น” คือ ให้ ฟันได้ สมั ผัส นักเรี ยน สภานักเรี ยน หัวหน้ าห้ องเรี ยน
ฟลูอ อไรด์ นานครบ 2-3 นาที เ พื่ อ ให้ ฟั น แข็ ง แรง และ  ต้ อ งจัด ระบบการจัด การ การประสานงาน
แปรงฟั น ให้ สะอาดเพื่ อ เอาแผ่ น คราบจุลิ น ทรี ย์ ที่ เ ป็ น ทีมงานในโรงเรี ยนให้ ชดั เจน
สาเหตุของเหงือกอักเสบ และฟั นออกไปให้ มากที่สดุ  วิ ธี ก ารสอนต้ องง่ า ย และเป็ นล าดั บ ขั น้
ต้ องสร้ างแรงจู ง ใจ กระตุ้ นให้ เด็ ก เข้ าใจและเห็ น
เพราะอะไรเด็ก ๆจึง ไม่ ช อบ ไม่อ ยากแปรงฟั น ความสาคัญการแปรงฟั นด้ วยวิธีที่ เข้ าใจง่าย อธิบายไม่
ค าตอบที่ ไ ด้ . ....เด็ ก ไม่ เ ห็ น ความส าคัญ ......เด็ ก ไม่ ร้ ู ซับซ้ อน เข้ าใจได้ ตงแต่
ั ้ เด็ก ป.1 ถึง ม.3
ประโยชน์ไม่ร้ ูว่าจะแปรงทาไม ...... เด็กขี ้เกียจแปรงฟั น  ต้ องมีวิธีการ กระตุ้นสร้ างให้ ทีมงานในแต่ละ
..... เด็กไม่ร้ ูวิธีแปรง รู้สกึ ว่ามันยากในการจับแปรง ไม่มี โรงเรี ยนกระตือรื อร้ นในการทางาน มีการสร้ างแรงจูงใจที่
ใครบอกให้ แปรงฟั น นี่คือเหตุผลของเด็ กๆจากการที่ได้ เหมาะสม
สัมภาษณ์เด็กๆนะคะ...  ต้ องมีแหล่งสนับสนุนงบประมาณที่เหมาะสม
ที่สามารถให้ การสนับสนุนการทางานของโรงเรี ยนได้ ใน
ทีนี ้...จะทาอย่างไรให้ โรงเรี ยนประถมศึกษาใน ระยะยาวต่ อ เนื่ อ ง เน้ นการใช้ ทรั พ ยากรในพื น้ ที่
อาเภอจอมพระ มีกิจกรรมแปรงฟั นหลังอาหารกลางวัน มุง่ เป้าหมายไปที่งบกองทุนสุขภาพตาบล
อย่างมีประสิทธิภาพ ภาพฝันร่วมกันคือ เด็กๆกระตือรื อร้ น
มีทศั นคติที่ดีเห็นประโยชน์ในการแปรงฟั น รู้ การปฏิบตั ิ
ตนที่ถกู ต้ อง รู้ขนตอน
ั้ รู้วิธีการแปรงฟั น

จากการประชุ ม กลุ่ ม และการสั ม ภาษณ์ ค รู


อนามัย ที่ร่วมกันทางานแบบการลองผิดลองถูก ทังจาก

การทางานของครู อนามัยที่ประสบความสาเร็ จ และจาก

วารสารทันตภูธร 42 ฉบับที่ 1: มกราคม 2559


จากข้ อสรุ ป ดัง กล่าว จึง ทาให้ เ กิ ดการวางแผนการ ระยะที่ 1 ในช่ วงภาคการเรียนที่ 1
ท างานแบ่ ง เป็ นขัน้ ตอนต่ า ง หลัง จากการประชุ ม ครู น้ องๆทั น ตาภิ บ าลประจ าต าบล ทุ ก ต าบล
อนามัย และที ม ทางานทันตบุค ลากร จึง ออกแบบการ (มีทงหมด
ั้ 9 ตาบล) กาหนดนัดหมายกับครูอนามัยเพื่อจะ
พั ฒ นาระบบการแปรงฟั นหลั ง อาหารกลางวั น แบ่ ง จัดอบรมผู้นาทันตสุขภาพแต่ละตาบล แต่ละตาบลจะมี
ออกเป็ น 3 ระยะ ด้ วยกัน จ านวนผู้น านัก เรี ย นตามสัด ส่ ว นนัก เรี ย นที่ มี ใ นแต่ล ะ
โรงเรี ยน การจัดอบรมน้ องๆทันตาภิ บาลในอาเภอก็จะ
ร ะ ย ะ ที่ 1 การพั ฒ นาผู้ น านั ก เรี ยนส่ ง เสริ ม บริ หารจัดการช่วยเหลือกันในการจัดกิจกรรมแต่ละตาบล
ทันตสุขภาพ โดยการจัดการอบรม ผู้นานักเรี ยนแต่ล ะ
ครูอนามัยแต่ละตาบลก็ช่วยน้ องทันตาภิบาลในการอบรม
ตาบล (ในช่วงภาคเรี ยนที่ 1) ในช่วงภาคเรี ยนที่ 1ให้ แต่
โดยมาช่วยในฐานความรู้ ในการอบรม จากนัน้ เขาก็ นัด
ละโรงเรี ย นออกแบบกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม ทัน ตสุข ภาพใน
หมายวางแผนการรักษาและจัดการงานบริ การในโรงเรี ยน
โรงเรี ยน เน้ นกิจกรรมการแปรงฟั นหลังอาหารกลางวัน
ระยะที่ 2 การติดตามระบบการจัดการในโรงเรี ยน ต่อไป
ประถมศึกษา และ สร้ างการประชาสัมพันธ์การแปรงฟั น
แบบแห้ ง (บ้ วนน ้าเพียงจิบเล็ก 1 ครัง้ ) ให้ เห็นความสาคัญ
การเก็ บฟลูออไรด์ไ ว้ ในช่องปาก อย่างน้ อย ครึ่ ง ชั่วโมง
เพื่อป้องกันฟั นผุ (ภาคการเรี ยนที่ 2)
ระยะที่ 3 การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาทีมงาน
ผู้น านัก เรี ย น และกระตุ้น ให้ เ กิ ด การพัฒ นาที่ ยั่ง ยื น ใน
อนาคต (เมื่อสอบภาคการเรี ยนที่ 2 เสร็ จ) ก่อนปิ ดภาค
เรี ยน ปลายปี

ระยะที่ 2 และ ระยะที่ 3 ในช่ วงภาคเรียนที่ 2


นัดตรวจเยี่ยมนิเทศโรงเรี ยนทุกแห่ง (จะไปกัน
2 คน น้ องทันตาภิบาลที่รับผิดชอบตาบลนันและผู้ ้ เขียน)
ซึง่ เป็ นกิจกรรมช่วงเวลาที่สาคัญที่สดุ ในการจัดระบบการ
แปรงฟั นในโรงเรี ยน โดย มี 2 ภารกิจที่ลงไปทา คือ
(1) ภารกิจติดตามดูวา่ เกิดระบบตามที่วางแผนไว้ หรื อไม่
(2) ภารกิจการสอนการแปรงฟั นแห้ ง หรื อ แปรงแห้ ง
มีรายละเอียดดังนี ้

วารสารทันตภูธร 43 ฉบับที่ 1: มกราคม 2559


(1) ภารกิจติดตามดูว่าเกิดระบบเหล่ านีห้ รื อไม่ มีหลายแบบมาก ร้ องเพลงมาชส์ประจาโรงเรี ยน ท่อง
(1.1) การมี ส่ ว นร่ วมของ ประธานนั ก เรี ยน อาขยานประโยค 3 ส่ ว น(ภาษาอั ง กฤษ) อาขยาน
สภานักเรี ยน หัวหน้ าห้ อง ผู้นานักเรี ยน ภาษาไทย ร้ องเพลงชาติ (2รอบ) จะเป็ นการตกลงร่วมกัน
(1.2) การจัด การองค์ ก ร และการประสานงาน ในโรงเรี ย นและซ้ อ มร้ องเพลง ซ้ อ มนับ เลข ว่ า ต้ อ งมี
ผู้เกี่ยวข้ องการแปรงฟั นเป็ นอย่างไร
จังหวะอย่างไรจึงจะพอดี 2 นาทีกว่าๆ
ถ้ าหากไม่มี ระบบการจัด การดัง กล่าว ผู้เยี่ ย ม
นิ เ ทศงานจะแนะน าให้ จัด ให้ มี เกิ ด ขึน้ ซึ่ง พบว่า แต่ล ะ
โรงเรี ยนจะบริ บทที่แตกต่างกัน ผู้นิเทศงานต้ องศึกษาว่า
มี การประสานงานกันภายในองค์กรในโรงเรี ยนอย่างไร
สภานักเรี ยนมีบทบาทอย่างไร ผู้นาฯและหัวหน้ าห้ อง มี
บทบาทอย่ า งไร มี ก ารใช้ แ บบฟอร์ ม การบัน ทึก แบบใด
ที่ อ าเภอจอมพระ มี แ บบบัน ทึก อยู่ 3 แบบที่ เ ป็ น Best
practice ที่ครูอนามัย แบ่งปันกันใช้ ในอาเภอฯ

สิ่ ง สาคัญ คือต้ องให้ ผ้ ูเกี่ ยวข้ องมีสิทธิ ที่จะเลือก


(2) ภารกิจสอนการแปรงฟั นแบบแห้ ง (แปรงแห้ ง)
วิ ธี ก ารด าเนิ น การ ในขัน้ ตอนและกิ จ กรรมต่ า งๆของ
ควรง่ายในการจดจาเฉพาะประเด็นสาคัญ เน้ น
โรงเรี ยน เช่น กิจกรรมการแปรงฟั นนาน 2 นาที แต่ละ การแปรงฟั นนาน 2 นาที แปรงฟั นแบบแห้ ง ถุยฟองออก
โรงเรี ยนจะใช้ วิ ธี การอย่ า งไรที่ ส ามารถท าได้ โดย ให้ หมด และ บ้ วนน ้าครัง้ เดียว (เพียง 1จิบเล็ก)
สอดคล้ องเหมาะสมกับบริ บทของโรงเรี ยน บางโรงเรี ยนมี (2.1) เพื่ อเก็ บฟลูออไรด์ไ ว้ ในช่องปากอย่า งน้ อ
การเปิ ดเสียงเพลง เด็กจะเลือกเพลงมาเปิ ดขณะแปรงฟั น ครึ่งชัว่ โมง
ซึ่ ง มี 2 เพลงที่ ย อดฮิ ต ติ ด ชาร์ ต ทั น ตบุ ค ลากรน าไป (2.2) เพื่ อ เก็ บ ฟลูอ อไรด์ ใ นช่ อ งปาก 3 ชั่ว โมง
เผยแพร่ กัน คือเพลง “เรามาแปรงฟั น” ของกรมอนามัย เวลาขึ ้นห้ องเรี ยนภาคบ่าย
อีกเพลงคือเพลง “แปรงฟั น 12 ส่วน” ของคณะทันตแพทย์ (2.3) เพื่อเก็บฟลูออไรด์ในช่องปากนาน 8 ชัว่ โมง
จุฬาฯ โรงเรี ยนเหล่านี ้ส่วนใหญ่จะมีระบบการแปรงฟั นที่ดี ภายหลังการแปรงฟั นก่อนนอน
เวลา 2 นาทีก็จะแป๊ บ..ตามความยาวของเสียงเพลง เรื่ อ ง....การสอนการแปรงฟั น ต้ อ งแปลกใหม่
น่าแปลกใจ..ชวนให้ สงสัย น่าติดตาม น่าสนใจ ต้ องสรุ ป
ส่วนพวกโรงเรี ยนที่ไม่มีเสียงเพลงแปรงฟั น เรา
การใช้ ภาษาที่สนๆ
ั ้ เข้ าใจง่าย โดยให้ ทอ่ งจาก่อน แล้ วจึง
ต้ องทาให้ นกั เรี ยนให้ รับรู้ว่าเวลานาน 2 นาที นานแค่ไหน
มาทาความเข้ าใจอธิบายอีกครัง้ ขอเล่าประสบการณ์ให้
เขาก็จะเลือกวิธีการที่เหมาะสมกับเขา มีวิธีที่หลากหลาย
ฟั ง ถึงวิธีการสอนการแปรงฟั นแบบแห้ ง แนวใหม่คะ่
มี วิ ธี ก ารนับ เลข มี วิ ธี ร้ องเพลง หรื อ ท่ อ งบทอาขยาน
วารสารทันตภูธร 44 ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ข้ อความที่ให้ เด็กท่องทาความเข้ าใจ มีดงั ต่อไปนี ้ การแปรงฟั นแบบแห้ ง..น่ า สนใจมากนะคะ
 วันนี ้คุณหมอสอนเรื่ องอะไร = การแปรงฟั นแบบแห้ ง ผู้ที่พดู ถึงเรื่ องนี ้อย่างจริงจังที่ผ้ เู ขียนได้ ยินครัง้ แรกคือท่าน
 ทาอย่างไร = ก่อนแปรงก็แห้ ง, หลังแปรงก็แห้ ง อาจารย์ ประทีป (รศ.ทพ.ประทีป พันธุมวนิช ) เมื่อนาน
 แปรงนาน 2 นาที (ให้ ชูนิ ้ว 2 นิ ้ว) มาแล้ ว แต่ที่มาโด่งดังในยุคปั จจุบนั นี ้ เพราะท่านอาจารย์
 เมื่อแปรงเสร็ จ ถุยฟองออกให้ หมด / จนปากแห้ ง / สุ ด าดวง (รศ.ทพญ.ดร. สุ ด าดวง กฤษฎาพงษ์ จาก
แห้ ง แห้ ง แห้ ง ภาควิ ช าทั น ตกรรมชุ ม ชน คณะทั น ตแพทย์ จุ ฬ าฯ)
 (ให้ ชูนิ ้ว 1 นิ ้ว) เช็ดฟองออกจากปาก (ให้ ใช้ นิ ้วปาด
เป็ นผู้ เผยแพร่ ข้ อมู ล การแปรงฟั นแบบแห้ ง ออกสื่ อ
จากมุมปากข้ างหนึง่ ถึง มุมปากอีกข้ างหนึง่ แล้ ว ให้ ชู นิ ้ว
สาธารณะแขนงต่างๆมากมาย รวมทังในวารสารทั
้ นตภูธร
1 นิ ้ว) บ้ วนน ้า 1 ครัง้
ฉบับนี ้ด้ วย ช่วงนี ้เราเลยต้ องเกาะกระแสสถานการณ์..ที่ดี
 (ใช้ นิว้ 1 นิว้ ชีไ้ ปที่ปากตัวเอง) เก็บ ฟลูออไรด์ไว้ ใน
ที่สดุ ในการประชาสัมพันธ์ให้ ประชาชน มาสนใจเรื่ องการ
ปาก อย่างน้ อย ครึ่ง ชัว่ โมง
 (ชูนิ ้ว 3 นิ ้ว) อย่างดี 3 ชัว่ โมง แปรงฟั นแบบแห้ ง กันค่ะ.... ผู้เขียนจึงขอเป็ นนักฉกฉวย
 (ชูนิ ้ว ขึ ้น 8 นิ ้ว) ดีที่สดุ 8 ชัว่ โมง สถานการณ์...ตัวจริง..ที่นาเรื่ องนี ้มาสอนเด็กๆๆ ในอาเภอ
จอมพระ..
หลัง จาก ให้ นักเรี ยนท่อง สัก 3 รอบ ให้ แข่ง กัน
เพราะคุณ ค่า ชี วิ ต มนุษ ย์ คื อ การเรี ย นรู้ และได้
ระหว่างชัน้ เรี ย น ว่าใครจะจ าได้ ม ากกว่า กัน จนเด็ก ๆ
พัฒนาไปด้ วยกัน แล้ วความสุขก็จะบังเกิด เรื่ องเล่าของ
งงๆๆ งงจนได้ ที่แล้ ว จึงค่อยๆเฉลย ทีละข้ อ ว่ามันคืออะไร
ผู้เขียนและของทันตบุคลากรทุกๆคนก็ ยังมีอีกมากมาย
สาคัญอย่างไร เกี่ยวข้ องสัมพันธ์กนั อย่างไร แต่ตอกย ้าถึง
ไว้ มีโอกาสจะเล่าให้ ฟังอีกนะคะ 
ประโยชน์ ใ นการเก็ บ ฟลู อ อไรด์ ไ ว้ ในช่ อ งปาก และ
ช่ ว งเวลาที่ ส าคัญ ที่ สุด คื อ ก่ อ นนอน ซึ่ ง จะเป็ น เวลาที่
สาคัญที่สดุ เพราะเก็บฟลูออไรด์ได้ นานที่สดุ ด้ วย

วารสารทันตภูธร 45 ฉบับที่ 1: มกราคม 2559

You might also like