You are on page 1of 7

1

บทที่ 7
จาวาสคริปต์ (JavaScript)

จาวาสคริปต์ (JavaScript) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับการเขียนโปรแกรมบนระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่ง


เป็นภาษาสคริปต์เชิงวัตถุ สามารถใช้ร่วมกับภาษา HTML เพื่อการสร้างและพัฒนาเว็บไซต์ ทาให้เว็บไซต์มีการ
เคลื่อนไหว สามารถตอบสนองผู้ใช้งานได้มากขึ้น ซึ่งมีวิธีการทางานในลักษณะการแปลความและดาเนินงานไปที
ละคาสั่ง เรียกว่า (Object Oriented Programming) ที่มีเป้าหมายในการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมในระบบ
อินเทอร์เน็ต สาหรับ ผู้เขียนภาษา HTML สามารถทางานข้ามแพลตฟอร์มได้ โดยทางานร่วมกับภาษา HTML
และภาษาจาวา (Java) ได้ทั้งฝั่งไคลเอนต์ (Client) และฝั่งเซิร์ฟเวอร์ (Server) ซึง่ มีลักษณะการเขียนแบบ โปร
โตไทพ (Prototyped-based Programming) ส่วนมากใช้ในหน้าเว็บเพื่อประมวลผลข้อมูลที่ฝั่งของผู้ใช้งาน แต่ก็
ยังมีใช้เพื่อเพิ่มเติมความสามารถในการเขียนสคริปต์โดยฝังอยู่ในโปรแกรมอื่นๆ
จาวาสคริปต์ (JavaScript) ถูกพัฒนาขึ้นโดย Netscape Communications Corporation โดยใช้ชื่อว่า
Live Script ออกมาพร้อมกับ Netscape Navigator 2.0 เพื่อใช้สร้างเว็บเพจโดยติดต่อกับเซิร์ฟเวอร์แบบ Live
Wire ต่อมาเน็ตสเคปจึงได้ร่วมมือกับ บริษัทซันไมโครซิสเต็มส์ปรับ ปรุงระบบของบราวเซอร์ เพื่อให้สามารถติดต่อ
ใช้งานกับภาษาจาวาได้ และได้ปรับปรุง LiveScript ใหม่ เมื่อ ปี 2538 แล้วตั้งชื่อใหม่ว่า JavaScript แล้วตั้งชื่อ
ใหม่ว่า JavaScript ซึ่งสามารถทาให้การสร้างเว็บเพจ มีลูกเล่นต่างๆ มากมาย และยังสามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้
อย่างทันที เช่น การใช้เมาส์คลิก หรือ การกรอกข้อความในฟอร์ม เป็นต้น
เนื่องจาก JavaScript ช่วยให้ผู้พัฒนาสามารถสร้างเว็บเพจได้ตรงกับความต้องการ และมีความน่าสนใจ
มากขึ้น ประกอบกับเป็นภาษาเปิด ที่ใครก็สามารถนาไปใช้ได้ ดังนั้นจึงได้ รับความนิยมเป็นอย่างสูง มีการใช้งาน
อย่างกว้างขวาง รวมทั้งได้ถูกกาหนดให้เป็นมาตรฐานโดย ECMA การทางานของ JavaScript จะต้องมีการแปล
ความคาสั่ ง ซึ่งขั้น ตอนนี้ จ ะถูกจั ดการโดยบราวเซอร์ (เรียกว่าเป็น client-side script) ดังนั้น JavaScript จึง
สามารถทางานได้ เฉพาะบนบราวเซอร์ที่สนับสนุน ซึ่งปัจจุบันบราวเซอร์เกือบทั้งหมดก็สนับสนุน JavaScript แล้ว
อย่างไรก็ดี สิ่งที่ต้องระวังคือ JavaScript มีการพัฒนาเป็นเวอร์ชั่นใหม่ๆออกมาด้วย ดังนั้นถ้านาโค้ดของเวอร์ชั่น
ใหม่ ไปรันบนบราวเซอร์รุ่นเก่าที่ยังไม่สนับสนุน ก็อาจจะทาให้เกิด error ได้
การทางานของจาวาสคริปต์
1. เขียนโปรแกรมแบบง่ายๆได้ โดยไม่ต้องพึ่งภาษาอื่น
2. มีคาสั่งที่ตอบสนองกับผู้ใช้งาน เช่น เมื่อผู้ใช้คลิกที่ปุ่ม หรือ Checkbox ก็สามารถสั่งให้เปิดหน้าใหม่ได้
ทาให้เว็บไซต์ของเรามีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้งานมากขึ้น ด้วยข้อดีของ JavaScript ทาให้เว็บไซต์ต่างๆ นาคาสั่งจาวา
สคริปต์ไปใช้
2

3. สามารถเขียนหรือเปลี่ยนแปลง HTML Element ได้ นั่นคือสามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบการแสดงผล


ของเว็บไซต์ได้ หรือหน้าแสดงเนื้อหาสามารถซ่อนหรือแสดงเนื้อหาได้แบบง่ายๆ
4. สามารถใช้ตรวจสอบข้อมูลได้ สังเกตว่าเมื่อเรากรอกข้อมูลบางเว็บไซต์ เช่น Email เมื่อเรากรอกข้อมูล
ผิดจะมีหน้าต่างฟ้องขึ้นมาว่าเรากรอกผิด หรือลืมกรอกอะไรบางอย่าง เป็นต้น
5. สามารถใช้ในการตรวจสอบผู้ใช้ได้ เช่น ตรวจสอบว่าผู้ใช้ ใช้เว็บบราวเซอร์อะไร
6. สร้าง Cookies (เก็บข้อมูลของผู้ใช้ในคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เอง) ได้

ข้อดีและข้อเสียของ JavaScript
การทางานของ JavaScript เกิดขึ้นบนบราวเซอร์ (เรียกว่าเป็น client-side script) ดังนั้นไม่ว่าคุณจะ
ใช้ เ ซิ ร์ ฟ เวอร์ อ ะไร หรื อ ที่ ไ หน ก็ ยั ง คงสามารถใช้ จ าวาสคริ ป ต์ ในเว็ บ เพจได้ ต่ า งกั บ ภาษาสคริ ป ต์ อื่ น เช่ น
Perl, PHP, หรือ ASP ซึ่งต้องแปลความและทางานที่ตัวเครื่องเซิร์ฟเวอร์ (เรียกว่า server-side script) ดังนั้นจึง
ต้องใช้บ นเซิร์ ฟเวอร์ ที่ส นั บ สนุ น ภาษาเหล่ านี้เท่านั้น อย่างไรก็ดี จากลั กษณะดังกล่ าวก็ทาให้ JavaScript มี
ข้อจากัด คือไม่สามารถรับและส่งข้อมูลต่างๆ กับเซิร์ฟเวอร์โดยตรง เช่น การอ่านไฟล์จากเซิร์ฟเวอร์ เพื่อนามา
แสดงบนเว็บเพจ หรือรั บข้อมูลจากผู้ชม เพื่อนาไปเก็บบนเซิร์ฟเวอร์ เป็นต้น ดังนั้นงานลักษณะนี้ จึงยังคงต้อง
อาศัยภาษา server-side script อยู่
ปั จจุ บั น มีการใช้จ าวาสคริ ป ต์ที่ฝั ง อยู่ ในเว็บเบราว์เซอร์ ในหลายรู ปแบบ เช่น ใช้เพื่อสร้างเนื้อ หาที่
เปลี่ยนแปลงเสมอภายในเว็บเพจ, ใช้เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ผู้ใช้กรอกก่อนนาเข้าระบบ, ใช้เพื่อ
เข้าถึงข้อมูลที่อยู่ภายใต้โครงสร้างแบบ Document Object Model (DOM) เป็นต้น
นอกจากนี้ จ าวาสคริ ป ต์ ยั ง ถู ก ฝั ง อยู่ ใ นแอปพลิ เ คชั น ต่ า งๆ นอกเหนื อ จากเว็ บ เบราว์ เ ซอร์ ไ ด้ อี ก ด้ ว ย
เช่น widget ของ Yahoo! เป็นต้น โดยรวมแล้วจาวาสคริปต์ถูกใช้เพื่อให้นักพัฒนาโปรแกรม สามารถเขียนสคริปต์
เพื่อสร้างคุณสมบัติพิเศษต่างๆ เพิ่มเติมจากที่มีอยู่บนแอปพลิเคชันดังเดิม โปรแกรมใดๆ ที่สนับสนุนจาวาสคริปต์
จะมีตัวขับเคลื่อนจาวาสคริปต์ (JavaScript Engine) ของตัวเอง เพื่อเรียกใช้งานโครงสร้างเชิงวัต ถุของโปรแกรม
หรือแอปพลิเคชันนั้นๆ

การเขียน JavaScript
การเขียนจาวาสคริปต์จะมีลักษณะการเขียนโค้ดคล้ายกับภาษาจาวาปกติ แต่จะใช้รูปแบบที่สั้นกว่าและ
ใช่ร่วมกับ tag <>
ตัวอย่างเริ่มต้น
เป็นตัวอย่างเริ่มต้นที่จะแสดงผลเป็นหน้าต่างโต้ตอบ (popup) บนเว็บเบราว์เซอร์ โดยที่จะต้อง Save file
เป็นนามสกุล .html และเปิดให้แสดงผลบนเว็บเบราว์เซอร์
3

การตรวจสอบความถูกต้องของโค้ดที่เขียนขึ้น เรียกว่า Debug คนที่เขียน JavaScript ส่วนใหญ่นิยมใช้


Firebug ซึ่งเป็น Add-On ที่อยู่ใน Firefox เมื่อได้ดาวน์โหลดมาแล้ว ก็สามารถ Debug ซึ่งเป็นการตรวจสอบโค้ด
ที่เขีย นขึ้น ได้ การประมวลผลชุดคาสั่งจาวาสคริปต์นั่น เรียกว่า การแปลผล (Interpreted) ถ้าเป็นการเขียน
โปรแกรมทั่วไปจะเป็นการประมวลผลชุดคาสั่ง ผ่านตัวประมวลผลของภาษานั้นๆ (Complier) ซึ่งอยู่ในรูปของ
ภาษาเครื่ อ ง (Machine code) จะท าหน้ า ที่ Compiled ชุ ด ค าสั่ ง ต่ า งๆ ส่ ง ไปยั ง ระบบปฏิ บั ติ ก าร เพื่ อ สั่ ง ให้
คอมพิวเตอร์ทางานตามโปรแกรมที่เขียนขึ้น ส่วนจาวาสคริปต์เป็นเพียงสคริปต์ที่ถูกเขียนขึ้น โดยจะถูกส่งไปยังเว็บ
เบราว์เซอร์ เพื่อทาการแปลคาสั่ง (Interpreted) และแสดงสิ่งที่ต้องการบนเว็บเบราว์เซอร์ต่อไป
การเขีย นจาวาสคริ ป ต์ให้ ความส าคั ญกั บตัว อัก ษรพิม พ์เล็ ก พิม พ์ ใหญ่ เช่นเดียวกับภาษาจาวา (Case
Sensitive) ก่อนการเขียนคาสั่งจาวาสคริปต์ นิยมเขียนในรูปแบบรหัสเทียม (pseudo code) ซึ่งเป็นการใช้ภาษา
พูดอธิบายขั้นตอน หรืออธิบายโค้ดคาสั่งด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย สั้นๆ ได้ใจความ จากนั้นค่อยมาเขียนโค้ดคาสั่งจาวา
สคริปต์ แบบละเอียดอีกครั้ง

ชุดคาสั่งและการใช้ Statement
คาสั่งที่เขียนขึ้นจะถูกจัดกกลุ่มเป็น Statements โดยในเบื้องต้น 1 Statements จะมีเพียง 1 บรรทัด
และในตอนท้ายของบรรทัดจะต้องปิดท้ายด้วยเครื่องหมาย Semi Colon (;) เพื่อเป็นการบอกว่าจบการทางาน
ของ Statement นั้น เหมือนในภาษาจาวา ในหนึ่งบรรทัดสามารถมีได้หลาย Statement โดยแต่ละ Statement
จะต้องปิดท้ายด้วย ; เสมอ แต่ไม่นิยมเขียนเช่นนั้น เพราะทาให้อ่านโค้ดได้ยาก แต่ถ้าหาก Statement ยาวเกิน 1
บรรทัด สามารถแยกเขียนเป็นหลายบรรทัดได้
การใส่ Comment
จะใช้การใส่สัญลักษณ์ // นาหน้าข้อความที่ต้องการใช้อธิบายคาสั่ง โดยใส่บรรทัดที่ต้องการหรือใส่ต่อ
ด้านหลังของ Statement เพื่ออธิบายคาสั่งก็ได้ ในกรณีที่ต้องใส่ comment หลายบรรทัด ใช้สัญลักษณ์ /* ตาม
ด้วยข้อความ และปิดท้ายด้วย */

//แสดงหน้าต่าง popup
alert("Hello World"); //แสดงผลคาว่า Hello World
4

การนาจาวาสคริปต์ไปใช้
ตาแหน่งของการใส่โค้ดคาสั่ง มีผลต่อการทางาน เพราะเว็บเบราว์เซอร์จะแปลคาสั่งจากบรรทัดบนไล่ลง
มาทีละบรรทัด ซึ่งการวางโค้ดในบรรทัดที่ต่างกัน ผลลัพธ์บนเว็บเพจก็อาจแตกต่างกันได้ เช่น ถ้าวางโค้ดในการ
แสดงหน้าต่าง ในส่วนของ Head จะไม่พบข้อความภายใน Body แต่ถ้าวางไว้ต่อท้ายจาก Body ก็จะเห็นข้อความ
ใน Body

การเขี ย น JavaScript เราอาจเขี ย นรวมอยู่ ใ นไฟล์ เ ดี ย วกั น กั บ HTML ได้ ซึ่ ง แตกต่ า งจากการเขี ย น
โปรแกรมภาษา Java ที่ต้อง เขียนแยกออกเป็นไฟล์ต่างหาก ไม่สามารถเขียนรวมอยู่ในไฟล์เดียวกับ HTML ได้
วิธีการเขียน JavaScript เพื่อสั่งให้เว็บเพจทางาน มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธี ดังนี้
- เขียนด้วยชุดคาสั่งและฟังก์ชันของ JavaScript เอง หรือ
- เขียนตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามการใช้งานจากชุดคาสั่งของ HTML เมื่อเริ่มใช้งาน โปรแกรมบราวเซอร์
จะอ่านข้อมูลจากส่วนบนของเพจ HTML และทางานไปตามลาดับจาก บนลงล่าง (top-down)
โดยเริ่ มที่ส่ ว น < HEAD >...< /HEAD > ก่อนจากนั้นจึงทางานในส่ ว น < BODY >...< /BODY > เป็น
ลาดับต่อมา การทางานของ JavaScript ดูไม่แตกต่างไปจาก HTML มากนัก แต่ HTML จะวางเลย์เอาต์โครงสร้าง
ของอ็อบเจ็กต์ภายใน และส่วนเชื่อมโยงกับเว็บเพจเท่านั้น ในขณะที่ JavaScript สามารถเพิ่มเติมส่วนของการ
เขียนโปรแกรมและลอจิกเข้าไป
การใช้งานภาษา JavaScript ควรมีความรู้พื้นฐานในเรื่อง HTML/XHTML มาก่อน เพราะการใช้งาน
JavaScript โดยทั่วๆ ไป จะเขียน code คาสั่งต่างๆ แทรกลงไปใน code ของ HTML
ตัวอย่าง code JavaScript
1) ตัวอย่างการใช้งานร่วมกับ code HTML เป็น ปุ่ม back กลับไปหน้าก่อนหน้านี้
<input type=”button” value=”Back to Previous Page” onClick=”javascript: history.go(-1)”>
.
2) ตัวอย่างการใช้งานร่วมกับ code HTML ปุ่ม close หน้าต่างปัจจุบัน
<input type=”button” value=”Close Window” onclick=”window.close()”>
5

การประกาศตัวแทน
ตัวแปร (Variable) ใช้เพื่อเก็บข้อมูล โดยที่ตัวแปรมีลักษณะคล้ายกล่องที่ใช้เก็บของ ซึ่งข้อมูลที่แต่ละตัว
แปรจะมีชื่อ โดยจะจองหน่วยความจาเพื่อใช้เก็บข้อมูล การประกาศตัวแปรในจาวาสคริปต์ จะใช้คาว่า var ตาม
ด้วยชื่อตัวแปร แล้วปิดท้าย Statement ด้วย ;

var name;
var Lastname;
var birthdate;

การตั้งชื่อตัวแปรจะไม่มีการเว้นวรรค สามารถใช้ ตัวอักษร ตัวเลข ขีดล่าง หรือ $ แต่ไม่สามารถนาหน้า


ชื่อของตัวแปรด้วยตัวเลขได้ ตัวแปรจะใช้หน่วยความจาน้อย ในการเก็บค่าต่างๆเอาไว้ ในการประกาศตัวแปรใหม่
ค่าที่อยู่ในตัวแปรจะเป็น Undefined แต่เมื่อมีการกาหนดค่าให้กับตัวแปร หน่วยความจาก็จะเก็บค่าที่กาหนดไว้
ให้กับตัวแปร เช่น

var Day;
Day = 7;

จากโค้ดข้างบนสามารถเขียนย่อได้ดังนี้

var Day = 7;

คาสงวน (Reserve word) เป็นคาที่มีความหมายเฉพาะตัวในภาษาจาวาสคริปต์ สงวนไม่ให้มีการตั้งชื่อ


ซ้ากับชื่อโปรแกรม, ฟังก์ชัน, ตัวแปร, ค่าคงที่ และคาสั่ง คาสงวน สามารถเรียกใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องมากาหนด
ความหมายใหม่แต่อย่างใด

ในการเขียนจาวาสคริปต์ไม่จาเป็นต้องประกาศตัวแปรด้วย var เนื่องจากจาวาสคริปต์ จะตรวจสอบเองว่า


ได้สร้างตัวแปรนี้เอาไว้แล้วหรือยัง หากยัง ก็จะประกาศตัวแปรให้โดยอัตโนมัติ แต่ในทางปฏิบัตินิยมใช่ คาว่า var
เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมทราบที่มาที่ไปของตัวแปร ป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นบางอย่างได้ และเนื่องจากจาวา
สคริปต์มีลักษณะเป็น Case Sensitive ดังนั้นการประกาศตัวแปร อักษรตัวใหญ่กับตัวเล็กจึงมีความหมายต่างกัน
6

การเลือกประเภทของตัวแปรอัตโนมัติ
ในจาวาสคริปต์ไม่จาเป็นต้องกาหนดชนิดของตัวแปร เช่น ไม่ต้องกาหนดเป็น Text หรือเป็น Integer
ตัวแปรในจาวาสคริปต์สามารถเก็บข้อมูลได้ทุกประเภท และสามารถปรับเปลี่ยนชนิดของข้อมูลภายหลังได้ การ
กาหนดค่าให้กับตัวแปร หากเป็นข้อความ ข้อมูลจะต้องอยู่ภายในเครื่องหมาย Double Quote “” หรือ Single
Quote ‘’ ก็ได้ ส่วนตัวเลขหรือค่าความจริง true, false ไม่ต้องอยู่ในเครื่องหมายดังกล่าว

ตัวแปรแบบอาร์เรย์
ตัวแปรแบบอาร์เรย์ (Array) หมายถึงตัวแปรซึ่งมีค่าได้หลายค่าโดยใช้ชื่ออ้างอิงเพียงชื่อเดียว ด้วยการใช้
หมายเลขลาดับเป็นตัวจาแนกความแตกต่างของค่าตังแปรแต่ละตัว ถ้าเราจะเรียกตัวแปรชนิดนี้ว่า "ตัวแปรชุด" ก็
เห็นจะไม่ผิดนัก ตัวแปรชนิดนี้มีประโยชน์มาก ลองคิดถึงค่าข้อมูลจานวน 100 ค่า ที่ต้องการเก็บไว้ในตัวแปร
จานวน 100 ตัว อาจทาให้ต้องกาหนดตัวแปรที่แตกต่างกันมากถึง 100 ชื่อ กรณีอย่างนี้ควรจะทาอย่างไรดี แต่
ด้วยการใช้คุณสมบัติอาร์เรย์ เราสามารถนาตัวแปรหลาย ๆ ตัวมาอยู่รวมเป็นชุดเดียวกันได้ และสามารถเรียกใช้ตัว
แปรทั้งหมดโดยระบุผ่านชื่อเพียงชื่อเดียวเท่านั้น ด้วยการระบุหมายเลขลาดับ หรือ ดัชนี(index) กากับตามหลังชื่อ
ตัวแปร ตัวแปรเพียงชื่อเดียวจึงมีความสามารถเทียบได้กับตัวแปรนับร้อยตัว พันตัว (ตัวที่ 1) ในตัวแปรแบบ
อาร์เรย์มีดัชนีเป็น 0 ส่วนตัวแปรต่อ ๆ ไปก็จะมีดัชนีเป็น 1,2,3,... ไปตามลาดับ เมื่อต้องการระบุชื่อตัวแปรแบบ
อาร์เรย์แต่ละตัว ก็จะใช้รูปแบบ name[0], name[1],... เรียงต่อกันไปเรื่อยๆ เราสามารถสร้างตัวแปรอาร์เรย์ใหม่
ด้วย myArray = new Array() ดังนี้
myArray[0] = 17;
myArray[1] = "Nun";
myArray[2] = "Stop";

ค่าคงที่
ค่าคงที่ (Literal หรือ Constant) หมายถึง ค่าของข้อมูลที่เมื่อกาหนดแล้วจะทาการเปลี่ยนแปลงค่าเป็นอย่าง
อื่นไม่ได้ ชนิดข้อมูลของค่าคงที่ได้แก่
เลขจานวนเต็ม (Integer) เป็นตัวเลขที่ไม่มีเศษทศนิยม สามารถเขียนให้อยู่ในแบบ เลขฐานสิบ (0-9),
เลขฐานสิ บ หก (0-9, A-F) หรื อ เลขฐานแปด (0-7) โดยการเขี ย นเลขฐานแปดให้ น าหน้ า ด้ ว ย O
(Octenary) ส่วนการเขียนเลขฐานสิบหกให้นาหน้าด้วย Ox หรือ OX (Hexadenary)
เลขจานวนจริง (Floating) ใช้รูปแบบการเขียนโดยประกอบไปด้วยตัวเลข จุดทศนิยมและตัวเลขยกกาลัง
E (Exponential) เช่น
o 5.00E2 จะหมายถึงค่า 5.00 คูณด้วย 10 ยกกาลัง 2 จะมีค่าเป็น 500
7

o 3.141E5 จะหมายถึงค่า 3.141 คูณด้วย 10 ยกกาลัง 5 จะมีค่าเป็น 314,1000


ค่าบูลีน (Boolean) เป็นค่าคงที่เชิงตรรกะ คือมีค่าเป็น จริง(True) และ เท็จ (False) เท่านั้น
ข้อความสตริ ง (String) เป็ น ค่าคงที่แบบข้อความที่อยู่ภ ายในเครื่องหมายคาพูด ("..." หรือ '...') เช่น
"มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา", 'อาจารย์วิภาดา เชี่ยวชาญ'
รหัสคาสั่งพิเศษ
รหั ส ค าสั่ ง พิ เ ศษ (Character escape code) เป็ น การก าหนดรหั ส เพื่ อ ควบคุ ม งานพิ ม พ์ ส ตริ ง โดยใช้
เครื่องหมาย \ (Backslash) นาหน้าตัวอักษรที่ต้องการกาหนดเป็นรหัส เพื่อให้กลายเป็นรหัสคาสั่งพิเศษ
รหัส Character escape code
\b หมายถึง ลบไปทางซ้าย (Back Space)
\f หมายถึง เลื่อนกระดาษไปอีก 1 หน้า (Form Feed)
\n หมายถึง ขึ้นบรรทัดใหม่ (New Line)
\r หมายถึง ตรวจสอบการกด Enter (Return) และการเลื่อนขึ้นบรรทัดใหม่ของหน้าระดาษ
\t หมายถึง เลื่อนตาแหน่งไปทางขวา 1 ช่วงแท็บ (Tab)
\\ หมายถึง เติมเครื่องหมาย \ (Backslash)
\" หมายถึง เติมเครื่องหมายคาพูด
ตัวอย่าง
ถ้าเราต้องการให้ตัวแปร yoyo เก็บข้อความ C:\JavaScript จะกาหนดดังนี้
yoyo = "C:\\JavaScript" ; จะได้ผลลัพธ์เป็น C:\JavaScript

You might also like