You are on page 1of 21

ตัวชี้วดั การเพิ่ มผลผลิ ตเชิ งมูลค่าเพิ่ ม

ตัวชีว้ ดั การเพิม่ ผลผลิตเชิงมูลค่าเพิม่ ถือเป็ นเครือ่ งมือทีส่ าคัญในการตรวจวัดระดับการเพิม่ ผลผลิต


ประสิท ธิภ าพและประสิท ธิผ ลขององค์ ก ร ซึ่ ง องค์ ก รสามารถใช้เ ป็ น ข้อ มู ล ในการตัง้ เป้ าหมายเพื่อ
การปรับปรุงและเป็ นเครื่องมือที่ช่ว ยติดตามผลการดาเนินงานขององค์กร โดยตัวชี้วดั การเพิม่ ผลผลิต
เชิงมูลค่าเพิม่ ทัง้ 49 ตัว สามารถแบ่งได้เป็ น 5 กลุ่ม ได้แก่
1. ตัวชีว้ ดั มูลค่าเพิม่ (Value Added Indicators)
2. ตัวชีว้ ดั การจัดสรรมูลค่าเพิม่ (Value Added Distribution Indicators)
3. ตัวชีว้ ดั ค่าใช้จ่าย (Cost Indicators)
4. ตัวชีว้ ดั ประสิทธิภาพการใช้สนิ ทรัพย์ (Capital Utilization Indicators)
5. ตัวชีว้ ดั ความสามารถในการทากาไร (Profitability Indicators)

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 1
ตัวชี้วดั มูลค่าเพิ่ ม (Value Added Indicators)

ตัวชี้วดั ในกลุ่มนี้สาคัญทีส่ ุด เพราะเป็ น ตัววัดถึงประสิทธิภาพในการใช้ปจั จัยการผลิตของกิจการ


ซึง่ ได้แก่ ทุน และแรงงาน เพือ่ สร้างผลผลิตหรือมูลค่าเพิม่ ในกิจการ ประกอบด้วยตัวชีว้ ดั ทัง้ หมด 11 ตัว

ผลิ ตภาพรวม (Total Productivity)

ผลิตภาพรวม = มูลค่าเพิม่
สินทรัพย์ดาเนินงาน* + ค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

ผลิตภาพรวมแสดงถึง ความสามารถโดยรวมในการบริหารสิน ทรัพ ย์ทงั ้ หมดของกิจ การโดย


พิจารณาทัง้ 2 ปจั จัยหลักคือด้านสินทรัพย์ทุนและด้านแรงงาน การคานวณตัวชีว้ ดั นี้ในด้านแรงงานจะใช้
ค่าใช้จ่ายด้านแรงงานทัง้ หมด ส่วนในด้านสินทรัพย์ทุนจะใช้สนิ ทรัพย์ดาเนินงาน ซึง่ หมายถึงสินทรัพย์ท่ี
กิจการนามาใช้เพื่อด าเนินธุรกิจจริง ๆ ซึ่งจะไม่รวมเงินลงทุนในธุรกิจอื่นหรือในตลาดหลั กทรัพย์และ
สินทรัพย์ทย่ี งั ไม่กอ่ ให้เกิดรายได้ต่างๆ เช่น งานระหว่างก่อสร้างหรืออุปกรณ์ระหว่างติดตัง้ ตัวชีว้ ดั นี้แสดง
ให้เห็นว่า การบริหารสินทรัพย์ทงั ้ หมดของกิจการสามารถนามาสร้างให้เกิดมูลค่าเพิม่ ได้มากน้อยเพียงไร
หากค่ า ที่ค านวณได้ม ีค่ า น้ อ ยกว่ า ค่ า เฉลี่ย อุ ต สาหกรรม กิจ การจะต้อ งเร่ ง ปรับ ปรุ ง ประสิท ธิภ าพใน
การดาเนินงานรวมทัง้ การควบคุมต้นทุนต่างๆ ซึง่ จะต้องวิเคราะห์ในรายละเอียดต่อไป

ผลิ ตภาพแรงงาน (Labour Productivity)

ผลิตภาพแรงงาน = มูลค่าเพิม่
จานวนพนักงานทัง้ หมด*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

ผลิตภาพแรงงานคือ อัตราส่วนของมูลค่าเพิม่ ต่อจานวนพนักงาน ตามแนวคิดมูลค่าเพิม่ ตัวชีว้ ดั นี้


มีความสาคัญมากเพราะเป็ นตัวที่บอกถึงประสิทธิภาพของพนักงานแต่ละคนในการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้
กิจการ หากค่าทีค่ านวณได้มคี า่ น้อยแสดงว่า กิจการต้องปรับปรุงประสิทธิภาพในการทางานของพนักงาน
ซึง่ รวมถึงการปรับปรุงกระบวนการทางาน อย่างไรก็ตาม การวัดประสิทธิภาพของพนักงานด้วยตัวชีว้ ดั นี้
จะมีข ้อ จ ากัด เนื่ อ งจากในการสร้า งมู ล ค่ า เพิ่ม ไม่ ไ ด้ เ กิด จากป จั จัย ด้ า นพนั ก งานเพีย งอย่ า งเดี ย ว
ยังประกอบด้วยปจั จัยทุนและสภาพแวดล้อมอื่น ๆ (จานวนพนักงานคิดเทียบจากชัวโมงการท ่ างานโดย
1 คนเท่ากับชัวโมงการท
่ างาน 40 ชัวโมงต่
่ อสัปดาห์)

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 2
ผลิ ตภาพค่าจ้างแรงงาน (Wage Productivity)

ผลิตภาพค่าจ้างแรงงาน = มูลค่าเพิม่
ค่าใช้จ่ายด้านแรงงานพนักงาน

ผลิตภาพค่า จ้า งแรงงานคือ อัตราส่ ว นของมูล ค่ า เพิ่ม ต่อ ค่า ใช้จ่ า ยด้า นแรงงาน ตัว ชี้ว ัด นี้ ใ ช้
พิจารณาควบคู่กบั ผลิตภาพแรงงานโดยวัดประสิทธิภาพแรงงานในเชิงมูลค่ า ซึง่ แสดงให้เห็นว่าเงินทุก ๆ
1 บาททีก่ จิ การจ่ายเป็ นค่าจ้างแรงงานสามารถก่อให้เกิดมูลค่าเพิม่ ในกิจการได้เท่าไร จึงสามารถใช้เป็ น
ตัววัดความสามารถในการแข่งขันด้านต้นทุนแรงงานของกิจการด้วย

ผลิ ตภาพสิ นทรัพย์ดาเนิ นงาน (Operating Capital Productivity)

ผลิตภาพสินทรัพย์ดาเนินงาน = มูลค่าเพิม่
สินทรัพย์ดาเนินงาน*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

ผลิตภาพสินทรัพย์ดาเนินงาน คืออัตราส่วนของมูลค่าเพิม่ ต่อสินทรัพย์ทุนทีใ่ ช้ในการดาเนินงาน


แสดงถึงประสิทธิภาพในการบริหารสินทรัพย์ทุนทีใ่ ช้ดาเนินงานว่าสามารถสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กจิ การได้
เท่าไร ตัวชีว้ ดั นี้ยงั แสดงถึงประสิทธิภาพการจัดการด้านการลงทุนของกิจการว่ามีความเหมาะสมเพียงใด
อีกด้วย ถ้าค่าทีค่ านวณได้มคี า่ น้อยแสดงว่าขาดประสิทธิภาพในการบริหารสินทรัพย์ทนุ

ผลิ ตภาพสิ นทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets Productivity)

ประสิทธิภาพการลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน = มูลค่าเพิม่
สินทรัพย์หมุนเวียน (ทีใ่ ช้ในการดาเนินงาน)*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

ประสิทธิภาพการลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน คือ อัตราส่วนมูลค่าเพิม่ ต่อสินทรัพย์หมุนเวียนทีใ่ ช้


ในการดาเนินงาน แสดงถึงประสิทธิภาพการลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียนของกิจการ อาทิ การลงทุนใน
ลูกหนี้ การสต็อกวัตถุดบิ และสินค้าว่ามีประสิทธิภาพเพียงใด หากตัวชีว้ ดั มีคา่ น้อยแสดงว่ากิจการต้องเพิม่
ประสิทธิภาพการบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนให้ดขี น้ึ เช่น อาจมี การจัดเก็บสินค้าคงคลังมากเกินไป หรือ
การเรียกเก็บหนี้ได้ชา้ ซึง่ สาเหตุเหล่านี้จะส่งผลให้กจิ การมีภาระต้นทุนการดาเนินงานทีส่ งู ขึน้

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 3
ผลิ ตภาพสิ นทรัพย์ถาวร (Fixed Assets Productivity)

ประสิทธิภาพการลงทุนในสินทรัพย์ถาวร = มูลค่าเพิม่
สินทรัพย์ถาวร (ทีใ่ ช้ในการดาเนินงาน)*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

ประสิทธิภ าพการลงทุน ในสิน ทรัพ ย์ถาวร คือ อัตราส่ว นมูล ค่า เพิ่ม ต่ อสิน ทรัพ ย์ถาวรที่ใ ช้ใ น
การดาเนินงาน ซึง่ จะไม่รวมสินทรัพย์ถาวรทีอ่ ยูร่ ะหว่างก่อสร้างหรือระหว่างติดตัง้ เพื่อจะได้ค่าอัตราส่วนที่
ตรงกับความเป็ นจริง ตัวชี้วดั นี้แสดงถึงประสิทธิภาพการลงทุนในสินทรัพย์ถาวร ได้แก่ ทีด่ นิ อาคาร
โรงงาน เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ว่ามีประสิทธิภาพเพียงใด หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่ากิจการใช้สนิ ทรัพย์เหล่านี้
ให้เกิดประโยชน์หรือสร้างมูลค่าเพิม่ ได้เต็มทีห่ รือไม่ หากตัวชีว้ ดั มีค่าน้อยแสดงว่ากิจการมีการลงทุนใน
สินทรัพย์ถาวรมากเกินไป หรือบริหารสินทรัพย์ถาวรต่างๆ ได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ นอกจากนัน้ ตัวชีว้ ดั นี้
ยังสามารถวิเคราะห์แยกย่อยลงไปได้อกี 3 ตัวชี้วดั คือ ประสิทธิภาพการลงทุนในทีด่ นิ ประสิทธิภาพ
การลงทุนในอาคารโรงงาน และประสิทธิภาพการลงทุนในเครือ่ งจักรและอุปกรณ์

ผลิ ตภาพเครื่องจักรและอุปกรณ์ (Machinery Productivity)

ประสิทธิภาพการลงทุนในเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ = มูลค่าเพิม่


มูลค่าเครือ่ งจักรและอุปกรณ์*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

ประสิทธิภาพการลงทุนในเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ คือ อัตราส่วนมูลค่าเพิม่ ต่อ มูลค่าสินทรัพย์


ประเภทเครื่อ งจักรและอุป กรณ์ แสดงถึงการลงทุ น ในสิน ทรัพ ย์ป ระเภทเครื่อ งจักรอุ ป กรณ์ ว่ า มี
ความเหมาะสมเพียงใด หรือมีการใช้เครือ่ งจักรเต็มทีห่ รือไม่ หากตัวชีว้ ดั มีค่าน้อย แสดงว่าเครื่องจักร
ทีม่ อี ยู่นามาใช้ในการผลิตเพื่อสร้างมูลค่าเพิม่ ได้ต่ากว่าทีค่ วรจะเป็ น ในกรณีน้ีอาจเกิดจากการลงทุน
ในเครือ่ งจักรมากเกินกว่าการผลิตจริง หรือมีการจัดการเครื่องจักรไม่ดพี อ ตลอดจนการใช้เครื่องจักร
อุปกรณ์ไม่ถกู วิธจี งึ ทาให้ผลิตได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ อนึ่งการวัดประสิทธิภาพการลงทุนในเครื่องจักร
และอุปกรณ์ ต้องพิจารณาประกอบกับการหมุนเวียนของเครือ่ งจักรและอุปกรณ์

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 4
มูลค่าเพิ่ มต่อยอดขาย (Value Added to Sales)

มูลค่าเพิม่ ต่อยอดขาย = มูลค่าเพิม่


ยอดขาย

มูลค่าเพิม่ ต่อยอดขาย เป็ นอัตราส่วนทีบ่ อกว่าในยอดขาย 1 บาทของกิจการมีส่วนทีเ่ ป็ นมูลค่าเพิม่


อยูเ่ ท่าใด อัตราส่วนนี้จะขึน้ อยู่กบั ประเภทของสินค้าทีผ่ ลิตรวมทัง้ การวางตาแหน่ ง (Positioning) ของสินค้า
ด้วย ซึง่ การผลิตสินค้าทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ สูงจะส่งผลโดยตรงในเชิงบวกต่อความสามารถในการทากาไรของกิจการ
นอกจากนัน้ ยังแสดงถึงประสิทธิภาพการบริหารต้นทุนในการดาเนินงาน โดยกิจการทีม่ ตี น้ ทุนการดาเนินงาน
ต่ าจะส่งผลให้มูลค่าเพิม่ สู งขึ้น สาหรับกิจการทีม่ กี ารผลิตสินค้าใกล้เคียงกันหากกิจการใดมีมูลค่าเพิม่ ต่อ
ยอดขายต่ ากว่าจะเสียเปรียบในการแข่งขันเนื่องจากต้องขายสินค้าในปริมาณมากกว่าจึงจะได้มูลค่าเพิม่
เท่ากัน

ยอดขายต่อพนักงาน (Sales per Employee)

ยอดขายต่อพนักงาน = ยอดขาย
จานวนพนักงานทัง้ หมด*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

ยอดขายต่อพนักงาน เป็ นตัวชีว้ ดั ทีบ่ ่งบอกว่าพนักงาน 1 คน สามารถสร้างยอดขายให้กจิ การได้


มูลค่าเท่าไร โดยจะต้องพิจารณาควบคู่กบั ผลิตภาพแรงงาน ตามปกติอตั ราส่วนยอดขายต่อพนักงานกับ
ผลิตภาพแรงงานจะมีค่าไปในทิศทางเดียวกัน แต่หากไม่ได้เป็ นไปในทิศทางเดียวกันเมื่อเปรียบเทียบกับ
ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมจะต้องพิจารณาต่อไปว่ากิจการมีปญั หาในด้านใด เช่น หากกิจการมียอดขายต่อ
พนักงานสูง แต่มผี ลิตภาพแรงงานต่ าหมายความว่า กิจการมีปญั หาในการควบคุมต้นทุน โดยจะต้อง
พิจารณาประกอบกับการพิจารณาตัวชีว้ ดั อืน่ ๆ (จานวนพนักงานคิดเทียบจากชัวโมงการท
่ างานโดย 1 คน
เท่ากับชัวโมงการท
่ างาน 40 ชัวโมงต่
่ อสัปดาห์)

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 5
ความเข้มข้นของสิ นทรัพย์ดาเนิ นงาน (Operating Capital Intensity)

ความเข้มข้นของสินทรัพย์ดาเนินงาน = สินทรัพย์ดาเนินงาน*
จานวนพนักงานทัง้ หมด*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

สินทรัพย์ดาเนินงานต่อพนักงาน แสดงถึงความสัมพันธ์ของสินทรัพย์ทนุ ทีใ่ ช้ในการดาเนินงานต่อ


จานวนพนักงานว่ามีความเหมาะสมเพีย งใด โดยความเหมาะสมดังกล่าวจะขึ้นอยู่กบั ประเภทของ
อุตสาหกรรมด้วย เช่น อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นอุตสาหกรรมทีเ่ น้นทุนในการดาเนินงาน (Capital
Intensive Industry) ก็จะมีค่าของตัวชีว้ ดั นี้สงู กว่า อุตสาหกรรมสิง่ ทอทีจ่ ดั เป็ นอุตสาหกรรมทีเ่ น้นแรงงาน
ในการดาเนินงาน (Labor Intensive Industry) สาหรับในระดับกิจการการวิเคราะห์เปรียบเทียบกับค่าเฉลีย่
อุตสาหกรรมจะบอกได้ในระดับหนึ่งว่ากิจการมีการลงทุนทีม่ ากเกินไปหรือน้อยเกินไปหรือไม่ (จานวน
พนักงานคิดเทียบจากชัวโมงการท
่ างานโดย 1 คนเท่ากับชัวโมงการท่ างาน 40 ชัวโมงต่
่ อสัปดาห์)

ความเข้มข้นของสิ นทรัพย์ถาวร (Fixed Assets Intensity)

ความเข้มข้นของสินทรัพย์ถาวร = สินทรัพย์ถาวร (ทีใ่ ช้ในการดาเนินงาน)*


จานวนพนักงานทัง้ หมด*

*ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

อัตราส่วนการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรต่อพนักงาน แสดงถึง ความสัมพันธ์ของสินทรัพย์ถาวรทีใ่ ช้


ในการด าเนิ น งานต่อ จ านวนพนั กงาน โดยพิจ ารณาว่ า สัด ส่ว นสิน ทรัพ ย์ถาวรต่ อพนั กงาน 1 คนมี
ความเหมาะสมเพียงใด หากตัวชี้วดั นี้มคี ่าต่ ากว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมอาจต้องพิจารณาถึงเทคโนโลยี
การผลิตที่กิจการใช้อยู่ว่า ยังทัน สมัยหรือไม่ ตัว ชี้วดั นี้ใช้พ ิจารณาประกอบกับสินทรัพ ย์ดาเนินงานต่ อ
พนักงาน เพื่อพิจารณาในรายละเอียดว่าการลงทุนในสินทรัพย์ส่วนใดทีม่ มี ากหรือน้อยเกินไป (จานวน
พนักงานคิดเทียบจากชัวโมงการท
่ างานโดย 1 คนเท่ากับชัวโมงการท
่ างาน 40 ชัวโมงต่
่ อสัปดาห์)

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 6
ตัวชี้วดั การจัดสรรมูลค่าเพิ่ ม (Value Added Distribution Indicators)

ตัว ชี้ว ัด ในกลุ่ ม นี้ เ ป็ น ตัว วัด ถึงการกระจายส่ว นแบ่ ง มูล ค่ า เพิ่ม ในกิจ การไปยังส่ว นต่า ง ๆ ซึ่ง
ประกอบด้วยพนักงาน เจ้าของทุน เจ้าหนี้ รัฐบาล และสังคม ประกอบด้วยตัวชีว้ ดั ทัง้ หมด 7 ตัว

การจัดสรรมูลค่าเพิ่ มสู่พนักงาน (Labour Share)

การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สู่พนักงาน = ค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน


มูลค่าเพิม่

การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สู่พนักงาน คือ ส่วนแบ่งของพนักงานที่ได้รบั จากมูลค่าเพิม่ ทีเ่ กิดขึ้นใน


กิจการ หรือหมายถึง ค่าใช้จ่ายทีก่ จิ การจ่ายให้แก่พนักงานในรูปของเงินเดือน โบนัส และสวัสดิการต่างๆ
เทียบกับมูลค่าเพิม่ ที่พนักงานร่วมกันสร้างขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมจะบอกได้ว่า
กิจการให้ความสาคัญกับพนักงานมากน้อยเพียงใด โดยในทางทฤษฎีแล้วกิจการสามารถกาหนดตัวชีว้ ดั
นี้เป็ นเป้าหมายในการจ่ายผลตอบแทนพนักงานเพื่อกระตุน้ ให้พนักงานเกิดความรูส้ กึ มีส่วนร่วมและสร้าง
แรงจูงใจในการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กจิ การได้ อย่างไรก็ตามผลรวมของตัวชี้วดั การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สู่
พนักงาน (Labour Share) กับตัวชี้วดั การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สู่ส่วนทุน (Capital Share) จะต้องเท่ากับ
1 เสมอ

การจัดสรรมูลค่าเพิ่ มสู่ส่วนทุน (Capital Share)

การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สู่ส่วนทุน = กาไรจากการดาเนินงานก่อนดอกเบีย้ และภาษี


มูลค่าเพิม่

การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สู่ส่วนทุนคือ ส่วนแบ่งที่เจ้าของแหล่งทุนต่าง ๆ และรัฐบาลจะได้รบั จาก


มูลค่าเพิม่ ทีเ่ กิดขึน้ ในกิจการ ซึ่งเจ้าของแหล่งทุนได้แก่ เจ้าหนี้ เจ้าของกิจการและผูถ้ อื หุน้ ซึง่ จะได้รบั
ภายหลังจากจัดสรรส่วนของพนักงานแล้ว ตัวชีว้ ดั นี้จะรวมไปถึงส่วนทีก่ จิ การจะต้องจ่ายคืนให้รฐั บาลใน
รูปของภาษีและการจ่ายคืนให้สงั คมในรูปของเงินบริจาคต่าง ๆ ด้วย โดยทัวไปการจั ่ ดสรรมูลค่าเพิม่ สู่
ส่วนทุนจะมีคา่ มากกว่าการจัดสรรมูลค่าเพิม่ สูพ่ นักงาน ส่วนจะมากกว่ากันเท่าใดนัน้ ขึน้ อยูก่ บั นโยบายด้าน
ผลตอบแทนพนักงานของกิจการ อย่างไรก็ตามผลรวมของตัวชี้วดั การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สู่พนักงาน
(Labour Share) กับตัวชีว้ ดั การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สูส่ ว่ นทุน (Capital Share) จะต้องเท่ากับ 1 เสมอ

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 7
การจัดสรรมูลค่าเพิ่ มสู่เจ้าหนี้ (Interest Distribution)

การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สู่เจ้าหนี้ = ดอกเบีย้ จ่าย


มูลค่าเพิม่

การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สูเ่ จ้าหนี้เป็ นส่วนหนึ่งในตัวชีว้ ดั การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สู่ส่วนทุน ซึง่ มูลค่าเพิม่


ของกิจการภายหลังจากทีห่ กั ส่วนของพนักงานแล้ว จะต้องนามาจัดสรรให้กบั ส่วนของเจ้าหนี้เป็ นลาดับ
ถัดไป ดังนัน้ การบริหารหนี้จาเป็ นต้องควบคุมให้อยู่ในระดับเหมาะสมเพื่อไม่ ให้ภาระดอกเบี้ยมากเกินไป
จนอาจส่งผลกระทบต่อผลประกอบการของกิจการ

การจัดสรรมูลค่าเพิ่ มสู่รฐั บาล (Taxes Distribution)

การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สู่รฐั บาล = ภาษีจ่าย


มูลค่าเพิม่

การจัด สรรมูลค่าเพิม่ สู่ร ฐั บาลเป็ นส่ว นประกอบหนึ่งในตัวชี้ว ัดการจัดสรรมูลค่า เพิม่ สู่ส่วนทุน


แสดงถึงมูลค่าเพิม่ ทีจ่ ดั สรรสูร่ ฐั บาล ซึง่ จะอยูใ่ นรูปของภาษีต่างๆ ทัง้ ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลและภาษีอ่นื ๆ
ในฐานะทีร่ ฐั เป็ นผูส้ ร้างสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคต่างๆ ทีจ่ าเป็ นต่อการดาเนินธุรกิจ

การจัดสรรมูลค่าเพิ่ มสู่ผ้ถู ือหุ้น (Dividend Distribution)

การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สู่ผถู้ อื หุน้ = ั


เงินปนผล
มูลค่าเพิม่

การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สู่ผถู้ อื หุน้ เป็ นการจัดสรรมูลค่าเพิม่ ส่วนทีเ่ หลือไปให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ในรูปของ
เงินปนั ผล ตัวชีว้ ดั นี้นกั ลงทุนสามารถนาไปใช้พจิ ารณาการจะเข้ามาลงทุนในกิจการได้

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 8
การจัดสรรมูลค่าเพิ่ มสู่สงั คม (Social Donation Distribution)

การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สู่สงั คม = เงินบริจาคสาธารณะ


มูลค่าเพิม่

การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สู่สงั คม เป็ นการจัดสรรมูลค่าเพิม่ ส่วนทีเ่ หลือไปบริจาคเพื่อสังคม ส่วนใหญ่


เงินส่วนนี้จะมีมูลค่าไม่มากนักและในบางกิจการอาจจะไม่มกี ็ได้ ทัง้ นี้ข้นึ อยู่กบั นโยบายในการดาเนิ น
กิจการ

การจัดสรรมูลค่าเพิ่ มสู่กิจการ (Reserve Distribution)

การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สู่กจิ การ = เงินสารองของกิจการ


มูลค่าเพิม่

การจัดสรรมูลค่าเพิม่ สูก่ จิ การ เป็ นการจัดสรรมูลค่าเพิม่ ส่วนหนึ่งมาเพือ่ ลงทุนเพิม่ หรือรักษาอัตรา


การเจริญเติบโตในกิจการ อาทิ สารองไว้เพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่ หรือสารองไว้เพื่อเหตุการณ์ ทค่ี าดว่าจะ
เกิดขึน้ ในอนาคต เช่น หนี้สูญ การขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยน เป็ นต้น เงินทุนสารองมักจะแปรผกผันกับ
การจัดสรรเงินไปเพื่อการจ่ายปนั ผล กล่าวคือถ้าสารองในกิจการจานวนมากจะมีการจัดสรรเป็ นเงินปนั ผล
น้อย

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 9
ตัวชี้วดั ค่าใช้จ่าย (Cost Indicators)

ตัวชีว้ ดั กลุ่มนี้เป็ นกลุ่มตัวชีว้ ดั ทีใ่ ช้วดั ต้นทุนการผลิตและค่าใช้จ่ายต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในกิจการเทียบ


กับยอดขาย ซึง่ จะแสดงให้เห็นถึงผลการดาเนินงานของกิจการ ประกอบด้วยตัวชีว้ ดั ทัง้ หมด 13 ตัว

ต้นทุนรวมต่อยอดขาย (Total Cost to Sales)

ต้นทุนรวมต่อยอดขาย = ต้นทุนรวม
ยอดขาย

ต้นทุนรวมต่อยอดขาย เป็ นการเปรียบเทียบต้นทุนรวมกับ ยอดขายของกิจการ หากกิจการมี


ต้นทุนรวม (ซึง่ ประกอบด้วยต้นทุนขายและค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร) สูง ตัวชีว้ ดั นี้กจ็ ะมีค่าสูง ซึง่
แสดงว่าผลประกอบการหรือผลการดาเนินงานของกิจการอยู่ในระดับทีต่ ่า ดังนัน้ หากต้องการให้กจิ การมี
ผลการดาเนินงานทีด่ ขี น้ึ ทางเลือกหนึ่งก็คอื ต้องปรับปรุงการบริหารต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด อย่างไรก็ตามในการควบคุมต้นทุนและค่าใช้จ่าย กิจการจาเป็ นต้องระมัดระวังในส่วน
รายจ่ายทีอ่ าจส่งผลถึงคุณภาพผลิตภัณฑ์หรือยอดขาย เพราะการลดต้นทุนในส่วนดังกล่าว แม้ว่าจะทาให้
ค่าใช้จ่ายของกิจการลดลงได้ในระยะแรก แต่กอ็ าจส่งผลเสียในระยะยาวได้ โดยสามารถพิจารณาร่วมกับ
ตัวชีว้ ดั ค่าใช้จ่ายขายและบริหารต่อยอดขายและตัวชีว้ ดั ต้นทุนขายต่อยอดขายประกอบกัน

ค่าใช้จ่ายขายและบริ หารต่อยอดขาย (Selling and Administration Expense to Sales)

ค่าใช้จ่ายขายและบริหารต่อยอดขาย = ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
ยอดขาย

ค่าใช้จ่ายขายและบริหารต่อยอดขาย เป็ นการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารกับ


ยอดขายของกิจการ เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารของกิจการถือว่าเป็ นค่าใช้จ่ายหลักตัวหนึ่ง
ทีส่ ามารถควบคุมได้ ตัวอย่างเช่น ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการขาย ค่าเช่าสานักงาน ตลอดจนค่าน้ าค่าไฟ
ในสานักงาน เป็ นต้น ดังนัน้ หากตัวชี้วดั ตัวนี้มคี ่าน้อยแสดงถึงการทีก่ จิ การสามารถควบคุมค่า ใช้จ่ายได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ในทางตรงกันข้ามหากตัวชีว้ ดั มีคา่ สูงจะแสดงถึงจุดรัวไหลของค่
่ าใช้จ่าย ซึง่ จะส่งผล
ให้ผลประกอบการของกิจการต่าลงไปด้วย

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 10
ต้นทุนขายต่อยอดขาย (Cost of Sales to Sales)

ต้นทุนขายต่อยอดขาย = ต้นทุนขาย
ยอดขาย

ต้นทุนขายต่อยอดขายเป็ นการเปรียบเทียบต้นทุนขายกับยอดขายของกิจการ ทัง้ นี้เพราะต้นทุน


ขายถือเป็ นต้นทุนหลักในต้นทุนรวมของกิจการ ซึง่ ต้นทุนขายทีก่ จิ การสามารถควบคุมได้เช่น ค่าวัตถุดบิ
ค่าจ้างช่วง ค่าโสหุย้ การผลิตหรือค่าเสือ่ มราคาในโรงงาน เป็ นต้น หากตัวชีว้ ดั นี้มคี ่าต่าเมื่อเปรียบเทียบกับ
ค่าเฉลีย่ ของอุตสาหกรรม แสดงให้เห็นว่ากิจการมีการควบคุมและบริหารต้นทุนขายได้ดี แต่หากตัวชีว้ ดั
มีคา่ สูงแสดงว่ากิจการมีปญั หาในการบริหารต้นทุนซึง่ จะสะท้อนมาถึงผลประกอบการของกิจการด้วย

ต้นทุนวัตถุดิบต่อยอดขาย (Material Cost to Sales)

ต้นทุนวัตถุดบิ ต่อยอดขาย = ค่าวัตถุดบิ


ยอดขาย

ต้นทุนวัตถุดบิ ต่อยอดขายเป็ นการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายด้านวัตถุดบิ กับยอดขายของกิจการ ทัง้ นี้


ในอุตสาหกรรมการผลิต ค่าวัตถุดบิ ถือเป็ นต้นทุนผันแปรรายการสาคัญและมีผลกระทบต่อมูลค่าเพิม่ ของ
กิจการอย่า งมาก ดังนัน้ หากตัว ชี้วดั นี้มคี ่าสูงเมื่อเปรีย บเทียบกับค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม แสดงว่ า
กิจ การมีต้น ทุ น ด้า นวัต ถุ ดิบ สูง ซึ่ง อาจเกิด จากการบริห ารจัด การที่ไ ม่ ม ีป ระสิท ธิภ าพ เช่ น วัต ถุ ดิบ
ด้อยคุณภาพ การจัดเก็บทีไ่ ม่ถกู ต้องซึง่ ส่งผลให้เกิดการสูญเสียวัตถุดบิ ไปในกระบวนการผลิตจานวนมาก
หรืออาจเกิดจากความไม่มปี ระสิทธิภาพในกระบวนการผลิตเองก็ได้ แต่หากตัวชีว้ ดั มีค่ าต่าแสดงให้เห็น
ว่ากิจการมีการบริหารวัตถุดบิ และการบริหารกระบวนการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ

ต้นทุนพลังงานต่อยอดขาย (Energy Cost to Sales)

ต้นทุนพลังงานต่อยอดขาย = ค่าพลังงาน
ยอดขาย

ต้นทุนพลังงานต่อยอดขายเป็ นการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายด้านเชือ้ เพลิงหรือพลังงานทางตรง เช่น


ไฟฟ้ า น้ า มัน เตา และถ่ า นหิน กับ ยอดขายของกิจ การ ทัง้ นี้ ใ นอุ ตสาหกรรมหนัก จะพบว่ า ค่ า ใช้จ่ า ย
ด้านพลังงานเป็ นค่าใช้จ่ายทีค่ อ่ นข้างสูง และมีผลกระทบสูงต่อมูลค่าเพิม่ ของกิจการ ดังนัน้ หากตัวชีว้ ดั นี้ม ี
ค่าสูงเมื่อเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม แสดงว่ากิจการมีการใช้พลังงานอย่ างสิ้นเปลือง ซึ่ง
อาจเกิดจากการใช้เครื่องจักรอย่างไม่ถูกวิธกี ่อให้เกิดการสูญเสีย (waste) ในกระบวนการผลิต หรืออาจ
เกิดจากกระบวนการผลิตทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ ทาให้มงี านทีต่ อ้ งนากลับไปผลิตใหม่ (rework) จานวนมาก
กิจการก็จะมีตน้ ทุนพลังงานสูงขึน้

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 11
ต้นทุนการจ้างช่วงต่อยอดขาย (Subcontracting Cost to Sales)

ค่าจ้างช่วงต่อยอดขาย = ค่าจ้างช่วง
ยอดขาย

ต้นทุนการจ้างช่วงต่อยอดขาย เป็ นการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายทีก่ จิ การใช้ในการว่าจ้างให้บุคคล


หรือองค์กรภายนอกทาการผลิตให้ โดยเปรียบเทียบกับยอดขายของกิจการ หลายครัง้ ทีพ่ บว่าการจ้างช่วง
ต่อจะทาให้กจิ การมีตน้ ทุนการผลิตทีต่ ่ากว่า เนื่องจากไม่ตอ้ งลงทุนผลิตในส่วนนัน้ เองหรือได้ส่งต่อให้ผทู้ ม่ี ี
ความชานาญผลิตให้แทน อย่างไรก็ตามหากตัวชี้วดั นี้มคี ่าสูงมากกิจการอาจต้องพิจารณาว่าสามารถ
ลดต้นทุนส่วนนี้ลงโดยการผลิตเองแทนการจ้างผลิตได้หรือไม่ และถ้าทาการผลิตเองแล้วค่าใช้จ่ายทีล่ ดลง
จะคุม้ กับเงินทีต่ อ้ งลงทุนเพิม่ หรือไม่

ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริ มการขายต่อยอดขาย (Promotion Cost to Sales)

ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการขาย = ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการขาย
ยอดขาย

ค่า ใช้จ่ า ยในการส่ งเสริม การขายต่ อ ยอดขาย เป็ น การเปรีย บเทีย บค่ า ใช้จ่ า ยที่กิจ การใช้ใ น
การส่งเสริม การขายในรูป แบบต่า ง ๆ โดยเปรีย บเที ย บกับ ยอดขายของกิจ การ โดยทัวไปกิ ่ จ การที่ม ี
ตราสินค้าของตนเองจะมีต้นทุนในส่วนนี้ สูงกว่ ากิจการที่ร บั จ้า งผลิต เช่น เดียวกับในอุตสาหกรรมที่ม ี
การแข่งขันสูง และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกิจการทีม่ ลี กั ษณะเดียวกันหากกิจการใดมีต้นทุนในส่วนนี้
ต่ากว่าย่อมหมายถึงสามารถบริหารค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการขายได้มปี ระสิทธิภาพทาให้สามารถสร้าง
ยอดขายให้กจิ การได้ดี

ค่าขนส่งต่อยอดขาย (Transportation Cost to Sales)

ค่าขนส่ง = ค่าขนส่ง
ยอดขาย

ค่าขนส่งต่อยอดขาย เป็ นการรวมค่าขนส่งทัง้ 2 ประเภทของกิจการ ได้แก่ค่าขนส่งวัตถุดิ บที่


กิจการซื้อมาสาหรับการผลิตสินค้า และค่าขนส่งสินค้า สาเร็จรูป ทีก่ จิ การผลิต เสร็จแล้วไปยังลูกค้า โดย
เปรียบเทียบกับยอดขายของกิจการ ค่าขนส่งถือเป็ นต้นทุนทีส่ าคัญอีกตัวหนึ่งของภาคอุตสาหกรรมโดย
ป จั จุ บ ัน มัก ถู กเรีย กรวมอยู่ใ นต้น ทุน ด้า นโลจิส ติก ส์ หากกิจ การใดมีต้น ทุ น ในส่ว นนี้ สูง อาจพิจ ารณา
เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายระหว่างการดาเนินการเองกับผลักภาระด้านนี้ให้กบั บริษทั โลจิสติกส์ต่างๆ ทีม่ คี วาม
เชีย่ วชาญเฉพาะ

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 12
ค่าเสื่อมราคาสิ นทรัพย์ต่อยอดขาย (Depreciation Cost to Sales)

ค่าเสือ่ มราคาสินทรัพย์ต่อยอดขาย = ค่าเสือ่ มราคาสินทรัพย์*


ยอดขาย

ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์เป็ นค่าใช้จ่ายทางบัญชีทไ่ี ม่มกี ารจ่ายออกไปจริง เป็ นการเฉลีย่ ค่าใช้จ่าย


ของการลงทุนในการใช้สนิ ทรัพย์ตลอดอายุการใช้งาน จุดประสงค์ของการตัดค่าเสื่อมราคาเพื่อ ทยอย
ตัดค่าใช้จ่ายลงทุนก้อนใหญ่ ทัง้ นี้เพื่อลดผลกระทบต่อกาไรสุทธิของกิจการ ณ สิ้ นปี หากตัววัดนี้มคี ่าสูง
แสดงว่ากิจการมีภาระการตัดค่าเสื่อมราคา หรือมีการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรอยู่มาก หรืออยู่ในช่วงปี แรก
ๆ ของการลงทุนซึง่ อาจเป็ นสาเหตุหนึ่งทีท่ าให้กาไรจากการดาเนินงานของกิจการค่อนข้างน้อย เนื่องจาก
ต้องใช้ระยะเวลาในการสร้างรายได้ในอนาคต

ค่าใช้จ่ายด้านการวิ จยั ต่อยอดขาย (R&D Cost to Sales)

ค่าใช้จ่ายด้านการวิจยั ต่อยอดขาย = ค่าใช้จ่ายด้านการวิจยั


ยอดขาย

ค่า ใช้จ่ า ยด้า นการวิจ ัย ต่อยอดขาย เป็ น ตัว วัด หนึ่ ง ที่ส าคัญมากในป จั จุ บ ัน ไม่เ พีย งเฉพาะใน
กลุ่มอุตสาหกรรมทีเ่ ป็ นสินค้าไฮเทคเท่านัน้ แต่หมายรวมถึงทุกอุตสาหกรรมการผลิต เนื่องจากหากกิจการ
ไม่ได้ให้ความสาคัญกับการวิจยั และพัฒนาหมายความว่ากิจการเลือกแข่งขันโดยใช้ตน้ ทุนการผลิต ต่าเป็ น
จุดขาย กิจการทีม่ ตี วั วัดนี้สูงควรจะต้องมีมูลค่าเพิม่ ของสินค้าและบริการทีเ่ พิม่ ขึน้ และโดยทัวไปกิ ่ จการที่
สามารถสร้างสินค้าและบริการทีแ่ ตกต่างจากกิจการอืน่ มักมีอตั รากาไรจากการดาเนินงานทีส่ งู ด้วย อย่างไร
ก็ตามในทางบัญชีกจิ การส่วนใหญ่มกั ไม่แยกค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ออกมา ซึ่งทาให้การวัดผลตอบแทนจาก
การลงทุนทาได้ยากและค่าตัวชีว้ ดั นี้ในระดับภาพรวมอาจต่ากว่าความเป็ นจริง

ต้นทุนอื่นๆ ต่อยอดขาย (Other Costs to Sales)

ต้นทุนการผลิตอื่นๆ ต่อยอดขาย = ต้นทุนอืน่ ๆ


ยอดขาย

ต้นทุนอื่นๆ ต่อยอดขาย เป็ นต้นทุนอื่น ๆ ทัง้ จากต้นทุนการผลิตและค่าใช้จ่ายในการขายและ


บริห าร โดยเปรีย บเทีย บต้ น ทุ น อื่น ๆ กับ ยอดขายของกิจ การ ซึ่ง รายการต้ น ทุ น อื่น ๆ เป็ น ต้ น ทุ น
ทุ ก ประเภทที่ไ ม่ ไ ด้ แ สดงเป็ น ตัว ชี้ว ั ด เฉพาะไว้ ซึ่ง หากกิจ การมีต้น ทุ น อื่น ๆ มากกว่ า ค่ า เฉลี่ย ของ
อุตสาหกรรม จะส่งผลให้ความสามารถในการทากาไรของกิจการลดลง และหากกิจการมีสดั ส่วนตัวชี้วดั
ต้นทุนอื่นๆ ต่อยอดขายสูงมาก ต้องพิจารณารายละเอียดรายการค่าใช้จ่ายในส่วนนัน้ ว่าเป็ นค่าใช้จ่ายใด
ซึง่ ในระดับบริษทั อาจจาเป็ นต้องแสดงในรายการต้นทุนทางตรงเพือ่ จะได้ตรวจสอบและควบคุมได้ต่อไป

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 13
ค่าจ้างแรงงานต่อยอดขาย (Employees’ Income to Sales)

ค่าจ้างแรงงานต่อยอดขาย = ค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน
ยอดขาย

ค่า จ้า งแรงงานต่ อ ยอดขาย เป็ น การเปรีย บเทีย บค่ า ใช้จ่ า ยแรงงานกับ ยอดขายของกิจ การ
หากตัวชี้วดั นี้มคี ่าสูงเมื่อเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมแสดงให้เห็นว่า กิจการอาจมีการใช้
พนักงานในสัดส่วนทีม่ ากเกินไป หรือขาดประสิทธิภาพการบริหารแรงงานในการสร้างยอดขาย ซึง่ หาก
ค่าจ้างแรงงานเฉลีย่ ไม่ได้แตกต่างจากค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมมากนัก แสดงว่ากิจการมีปญั หาในการสร้าง
ยอดขาย จึงจาเป็ นต้องพิจารณาร่วมกับตัวชีว้ ดั ค่าจ้างแรงงานเฉลีย่ ด้วย

ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย (Average Wage)

ค่าจ้างแรงงานเฉลีย่ = ค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน
จานวนพนักงานทัง้ หมด*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

ค่าจ้างแรงงานเฉลีย่ แสดงถึง ค่าใช้จ่ายด้านแรงงานของกิจการต่อจานวนพนักงาน ตัวชีว้ ดั นี้ใช้ใน


การเปรียบเทียบความสามารถในการแข่งขันด้านต้นทุนแรงงานกับกิจการอื่น ซึ่งการทีก่ จิ การมีค่าจ้าง
แรงงานเฉลีย่ ต่ากว่าอุตสาหกรรมไม่ได้หมายความว่ากิจการจะมีกาไรในอัตราทีส่ งู กว่าเสมอไป ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่
กับการบริหารแรงงานให้สามารถสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั กิจการได้มากน้อยเพียงใดด้วย

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 14
ตัวชี้วดั ประสิ ทธิ ภาพการใช้สินทรัพย์ (Capital Utilization Indicators)

ตัวชี้วดั กลุ่มนี้เป็ นกลุ่มตัวชี้วดั ทีใ่ ช้วดั ความสามารถของธุรกิจในการบริหารสินทรัพย์ ต่างๆ เพื่อ


สร้างรายได้ให้กจิ การ โดยพิจารณาทัง้ สินทรัพย์หมุนเวียนและสินทรัพย์ถาวร ประกอบด้วยตัวชีว้ ดั ทัง้ หมด
10 ตัว

ประสิ ทธิ ภาพสิ นทรัพย์ดาเนิ นงาน (Operating Capital Utilization)

การหมุนเวียนของสินทรัพย์ดาเนินงาน = ยอดขาย
สินทรัพย์ดาเนินงาน*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

การหมุนเวียนของสินทรัพย์ดาเนินงาน เป็ นตัวชี้วดั ที่ช้ใี ห้เห็น ว่า สินทรัพย์ในการดาเนินงาน


ทัง้ หมดของกิจการสามารถสร้างรายได้ให้แก่กจิ การมากน้อยเพียงใด หากตัวชีว้ ดั นี้มคี า่ ต่ากว่าค่าเฉลีย่ ของ
อุตสาหกรรมแสดงว่า กิจการยังใช้สนิ ทรัพย์ในการดาเนินงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ซึง่ อาจเกิดจากการใช้
เครื่อ งจัก ร อาคาร ไม่ เ ต็ม ที่ มีก ารลงทุ น ในลู ก หนี้ ห รือ สิน ค้า คงเหลือ มากเกิน ไป หรือ อาจเกิ ด จาก
การวางแผนการผลิตทีไ่ ม่สอดคล้องกับแผนงานด้านการขายก็เป็ นได้

ประสิ ทธิ ภาพสิ นทรัพย์ถาวร (Fixed Assets Utilization)

การหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร = ยอดขาย
สินทรัพย์ถาวร (ทีใ่ ช้ในการดาเนินงาน)*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

การหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร เป็ นตัวชี้วดั ทีช่ ้ใี ห้เห็นว่า สินทรัพย์ดาเนินงานในส่วนที่เป็ น


สินทรัพย์ถาวรของกิจการสามารถสร้างรายได้ใ ห้แก่กจิ การได้ม ากน้ อยเพียงใด โดยที่สนิ ทรัพย์ถาวร
รายการสาคัญจะประกอบด้วยทีด่ นิ อาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์ ตัวชีว้ ดั ทีม่ คี ่าต่าอาจเป็ นผลมา
จากการที่กิจ การลงทุน ในอาคารโรงงานหรือเครื่องจักรอุป กรณ์ จ านวนมาก โดยที่ไม่ส ามารถใช้งาน
สินทรัพย์ถาวรเหล่านี้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ อย่างไรก็ดตี วั ชี้วดั นี้ควรพิจารณาประกอบกับตัวชี้วดั
ประสิทธิภาพการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรด้วย

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 15
ประสิ ทธิ ภาพสิ นทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets Utilization)

การหมุนเวียนของสินทรัพย์หมุนเวียน = ยอดขาย
สินทรัพย์หมุนเวียน (ทีใ่ ช้ในการดาเนินงาน)*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

การหมุนเวียนของสินทรัพย์หมุนเวียน เป็ นตัวชีว้ ดั ทีช่ ใ้ี ห้เห็นว่า สินทรัพย์ดาเนินงานในส่วนทีเ่ ป็ น


สิน ทรัพ ย์ห มุ น เวีย นของกิจ การสามารถสร้า งรายได้ใ ห้แ ก่ กิจ การมากน้ อ ยเพีย งใด โดยที่ส ิน ทรัพ ย์
หมุนเวียนรายการสาคัญจะประกอบด้วยสินค้าคงเหลือ และลูกหนี้ หากตั วชีว้ ดั มีค่าต่ าอาจเป็ นผลมาจาก
การทีก่ จิ การขายสินค้าเป็ นเงินเชือ่ จานวนมากทาให้มยี อดลูกหนี้มลู ค่าสูง หรือการจัดเก็บหนี้ของกิจการยัง
ไม่มปี ระสิทธิภาพ รวมทัง้ การสต็อกสินค้าคงเหลือจานวนมากซึง่ สินค้าเหล่านัน้ ยังไม่สามารถขายกลับมา
เป็ นรายได้ในทันที

การหมุนเวียนของลูกหนี้ การค้า (Account Receivable Turnover)

การหมุนเวียนของลูกหนี้การค้า = ยอดขาย
มูลค่าลูกหนี้การค้า*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

การหมุนเวียนของลูกหนี้การค้า เป็ นตัวชีว้ ดั ทีช่ ใ้ี ห้เห็นถึงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการลูกหนี้


การค้าของกิจการ ซึง่ จะรวมถึงนโยบายการจัดเก็บหนี้ดว้ ย หากตัวชีว้ ดั นี้มคี า่ ต่าแสดงว่า กิจการมีการขาย
สินค้าในลักษณะของเงินเชื่อเป็ นจานวนมาก หรือมีการจัดเก็บหนี้ท่ไี ม่มปี ระสิทธิภาพ นอกจากนัน้ หาก
ต้องการทราบระยะเวลาในการจัดเก็บหนี้ของกิจการก็สามารถนาตัวชีว้ ดั นี้ไปคานวณได้ดว้ ย

การหมุนเวียนของเจ้าหนี้ การค้า (Account Payable Turnover)

การหมุนเวียนของเจ้าหนี้การค้า = ยอดขาย
มูลค่าเจ้าหนี้การค้า*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

การหมุนเวียนของเจ้าหนี้การค้า เป็ นตัวชี้วดั ที่ต้องพิจารณาร่วมกับตัวชี้วดั การหมุนเวียนของ


ลูกหนี้การค้า โดยกิจการที่มกี ารบริหารจัดการทีด่ ีระยะเวลาที่ได้เครดิตจากเจ้าหนี้การค้าควรจะต้อง
มากกว่าระยะเวลาทีใ่ ห้เครดิตแก่ลูกหนี้การค้า เพื่อให้สามารถนาเงินมาหมุนเวียนเพิม่ สภาพคล่องให้กบั
กิจการ

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 16
การหมุนเวียนของสิ นค้าคงคลัง (Inventory Turnover)

การหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง = ต้นทุนขาย
มูลค่าสินค้าคงคลัง*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

การหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง เป็ นตัวชีว้ ดั ทีช่ ใ้ี ห้เห็นถึงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสินค้า


คงคลังของกิจการ หากตัวชี้วดั นี้มคี ่าต่ าแสดงว่า กิจการมีสนิ ค้าคงคลัง (ซึ่งประกอบด้วยวัตถุดบิ สินค้า
ระหว่างผลิต และสินค้าสาเร็จรูป ) อยู่เป็ นจานวนมาก ซึง่ สินค้าคงคลังเหล่านี้ไม่เพียงแต่ไม่สามารถสร้าง
รายได้ให้แก่กจิ การได้ แต่กจิ การยังต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บและดูแลรักษาอีกด้วย ตัวชีว้ ดั นี้สามารถ
นาไปวิเคราะห์แยกออกเป็ นส่วนๆ ได้อกี 3 ตัวชี้วดั ได้แก่ ตัวชี้วดั การหมุนเวียนของวัตถุดบิ ตัวชี้วดั
การหมุนเวียนของสินค้าระหว่างผลิต และตัวชีว้ ดั การหมุนเวียนของสินค้าสาเร็จรูป

การหมุนเวียนของวัตถุดิบ (Material Turnover)

การหมุนเวียนของวัตถุดบิ = ต้นทุนขาย
มูลค่าวัตถุดบิ *

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

การหมุนเวียนของวัตถุดบิ เป็ นตัวชีว้ ดั ทีช่ ใ้ี ห้เห็นถึงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการวัตถุดบิ ของ


กิจการ หากตัวชีว้ ดั นี้มคี า่ ต่าแสดงว่า กิจการมีการจัดเก็บ (สต็อก) วัตถุดบิ ไว้เป็ นจานวนมาก ซึง่ สะท้อนถึง
ความไม่ ม ีป ระสิท ธิภ าพในการวางแผนการผลิ ต อย่ า งไรก็ต าม การพิจ ารณาส่ ว นนี้ ค วรค านึ ง ถึ ง
แหล่งวัตถุดบิ ทีก่ จิ การสังซื่ ้อด้วย หากแหล่งวัตถุดบิ อยู่ไกลจากโรงงาน อาจมีความจาเป็ นต้องต้องสารอง
วัตถุดบิ ไว้เพือ่ การผลิตจานวนหนึ่งก็ได้

การหมุนเวียนของสิ นค้าระหว่างผลิ ต (Work in Process Turnover)

การหมุนเวียนของสินค้าระหว่างผลิต = ต้นทุนขาย
มูลค่าสินค้าระหว่างผลิต*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

การหมุนเวียนของสินค้าระหว่างผลิต เป็ นตัวชีว้ ดั ทีช่ ใ้ี ห้เห็นถึงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ


สินค้าระหว่างผลิตของกิจการ หากตัวชีว้ ดั นี้ม ีค่าต่าแสดงว่า กิจการมีการจัดเก็บ (สต็อก) สินค้าระหว่าง
ผลิตไว้เป็ นจานวนมาก แต่สนิ ค้าดังกล่าวยังไม่สามารถนาออกไปขายได้เนื่องจากยังผลิตไม่เสร็จ ถือเป็ น
ต้นทุนจมของกิจการ การทีก่ จิ การมีสนิ ค้าระหว่างผลิตจานวนมากอาจเป็ นผลมาจากการวางแผนการผลิต
ที่ไม่เหมาะสม กิจการจาเป็ นต้องปรับปรุงสายการผลิตให้มปี ระสิทธิภาพขึ้น โดยอาจนาเทคนิคต่างๆ
ทางการผลิตเข้ามาช่วย เช่น ระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just in Time) เพือ่ ลดต้นทุนจมในส่วนนี้ลง

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 17
การหมุนเวียนของสิ นค้าสาเร็จรูป (Finished Goods Turnover)

การหมุนเวียนของสินค้าสาเร็จรูป = ต้นทุนขาย
มูลค่าสินค้าสาเร็จรูป*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

การหมุนเวียนของสินค้าสาเร็จรูป เป็ นตัวชี้วดั ทีช่ ้ใี ห้เห็นถึงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ


สินค้าสาเร็จรูปของกิจการ หากตัวชีว้ ดั นี้มคี ่าต่าแสดงว่า กิจการมีการจัดเก็บ (สต็อก) สินค้าสาเร็จรูปไว้
เป็ นจานวนมาก แต่สนิ ค้านัน้ ยังไม่สามารถขายออกไปได้ในปจั จุบนั ซึง่ อาจมีสาเหตุมาจากสินค้าล้าสมัย
ไม่เป็ นทีต่ อ้ งการของตลาด หรือกิจการผลิตสารองไว้จานวนมากก่อนมีคาสังซื ่ อ้ ดังนัน้ จาเป็ นต้องพิจารณา
ให้เหมาะสมกับประเภทของผลิตภัณฑ์และระยะเวลาในกระบวนการผลิตด้วย เนื่องจากสินค้าสาเร็จรูปทีม่ ี
มากเกินไปถือเป็ นต้นทุนจม (Sunk Cost) ของกิจการ

สิ นทรัพย์ดาเนิ นงานต่อส่วนของเจ้าของ (Operating Capital to Equity Ratio)

สินทรัพย์ดาเนินงานต่อส่วนของเจ้าของ = สินทรัพย์ดาเนินงาน*
ส่วนของเจ้าของ

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

สินทรัพย์ดาเนินงานต่อส่วนของเจ้าของ เป็ นการวัดสัดส่วนของหนี้สนิ ทางอ้อม ซึง่ หากเขียนใน


อีกรูปแบบหนึ่งจะได้สดั ส่วนของหนี้สนิ ต่อส่วนของเจ้าของ (Debt to Equity) บวกหนึ่ง โดยสินทรัพย์
ดาเนินงานนัน้ จะไม่รวมเงินลงทุนในบริษทั อื่นหรือในตลาดหลักทรัพย์ รวมทัง้ งานระหว่างก่อสร้างและ
เครื่องจักรอุปกรณ์ระหว่างติดตัง้ ซึง่ หากพิจารณาแหล่งเงินทุน (Source of Fund) ในการจัดหาสินทรัพย์
ดาเนินงานจะมาจาก 2 แหล่งทีส่ าคัญคือ ส่วนของหนี้สนิ และส่วนของเจ้าของ ซึง่ ต้นทุนค่าเสียโอกาสของ
ส่วนของเจ้าของจะสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยทีจ่ ่ายให้กบั เจ้าหนี้ ตัววัดนี้ หากสูงหรือต่า ไม่สามารถระบุได้ว่า
ดีห รือ ไม่ ดี ต้อ งพิจ ารณาร่ ว มกับ สภาพคล่ อ งและความสามารถในการช าระหนี้ ด้ว ย ตัว วัด นี้ จึง เป็ น
ตัววัดเบือ้ งต้นทีจ่ ะแสดงให้เห็นว่ากิจการสามารถจัดการกับบริหารหนี้สนิ ได้ดเี พียงใด

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 18
ตัวชี้วดั ความสามารถในการทากาไร (Profitability Indicators)

ตัวชีว้ ดั กลุ่มนี้เป็ นกลุ่มตัวชีว้ ดั ทีใ่ ช้วดั ความสามารถของธุรกิจในการสร้างกาไรกลับคืนมาสูก่ จิ การ


ซึง่ จะชีถ้ งึ ความน่าสนใจในการลงทุนในธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง ประกอบด้วยตัวชีว้ ดั ทัง้ หมด 8 ตัว

กาไรก่อนดอกเบีย้ และภาษี ต่อสิ นทรัพย์ดาเนิ นงาน (Operating Capital Profit)

กาไรก่อนดอกเบีย้ และภาษีต่อสินทรัพย์ดาเนินงาน = กาไรจากการดาเนินงานก่อนดอกเบีย้ และภาษี


สินทรัพย์ดาเนินงาน*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

กาไรก่อนดอกเบี้ย และภาษีต่อสิน ทรัพ ย์ด าเนิ นงาน หมายถึง ผลตอบแทนจากการลงทุน ใน


สินทรัพย์ดาเนินงาน โดยเป็ นการดูว่าสินทรัพย์ทก่ี จิ การใช้ในการดาเนินงานสามารถสร้างกาไรได้คมุ้ ค่า
มากน้ อ ยเพีย งไร หากตัว ชี้ว ัด นี้ ม ีค่ า ต่ า กว่ า ค่ า เฉลี่ ย ของอุ ต สาหกรรมแ สดงว่ า สิน ทรัพ ย์ ท่ีใ ช้ ใ น
การดาเนินงานดังกล่าวไม่สามารถสร้างกาไรในอัตราทีเ่ หมาะสมกลับคืนมาให้แก่กจิ การ

กาไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี ต่อยอดขาย (Operating Profit to Sales)

กาไรก่อนดอกเบีย้ และภาษีต่อยอดขาย = กาไรจากการดาเนินงานก่อนดอกเบีย้ และภาษี


ยอดขาย

กาไรก่อนดอกเบี้ยและภาษีต่อยอดขาย เป็ นการวัดความสามารถในการทากาไรของกิจการ โดย


พิจารณาจากความสัมพันธ์ของยอดขายกับกาไรจากการดาเนินงานก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี โดยตัวชีว้ ดั
นี้จะพิจารณาร่วมกับตัวชีว้ ดั กาไรก่อนภาษีต่อยอดขาย

กาไรก่อนภาษี ต่อยอดขาย (Operating Profit before Taxes to Sales)

กาไรก่อนภาษีต่อยอดขาย = กาไรจากการดาเนินงานก่อนภาษี
ยอดขาย

กาไรก่อนภาษีต่อยอดขาย เป็ นการวัดความสามารถในการทากาไรของกิจการ โดยพิจารณาจาก


ความสัมพันธ์ของยอดขายกับกาไรจากการดาเนินงานหลังหักต้นทุนทางการเงิน (ดอกเบี้ยจ่าย) ตัวชีว้ ดั นี้
ควรพิจารณาร่วมกับตัวชี้วดั กาไรก่อนดอกเบี้ยและภาษีต่อยอดขาย โดยหากตัวชีว้ ดั นี้มคี ่าต่ า ในขณะที่
ตัวชีว้ ดั กาไรก่อนดอกเบีย้ และภาษีต่อยอดขายมีคา่ สูง แสดงว่ากิจการมีภาระดอกเบีย้ สูง ซึง่ อาจจะเกิดจาก
การใช้แหล่งเงินทุนผิดประเภท เช่น เงินกูน้ อกระบบ หรือการใช้เครดิตผิดประเภท เช่น การนาเงินเบิกเกิน
บัญชีมาใช้ลงทุนในสินทรัพย์ถาวร เป็ นต้น

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 19
กาไรสุทธิ ต่อยอดขาย (Net Operating Profit to Sales)

กาไรสุทธิต่อยอดขาย = กาไรสุทธิ
ยอดขาย

กาไรสุทธิต่อยอดขาย เป็ นการวัดความสามารถในการทากาไรของกิจการอีกตัววัดหนึ่งทีอ่ งค์กร


ส่วนใหญ่รจู้ กั กันดี โดยพิจารณาจากความสัมพันธ์ของยอดขายกับกาไรสุทธิ ซึง่ นารายได้จากการขายหรือ
การประกอบกิจการโดยตรงมาหักต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร โดยไม่รวมรายการทีไ่ ม่
เกีย่ วข้องกับการดาเนินงาน เช่น เงินบริจาคสาธารณะกุศล ดังนัน้ จึงเป็ นการวัดความสามารถในการทา
กาไรต่อหน่ วยทีข่ ายได้ ตัวชีว้ ดั นี้ ถ้าสูงจะดี อย่างไรก็ตามต้องระมัดระวัง เนื่องจากตัววัดนี้ ส่วนใหญ่จะ
เป็ นตัววัดทีเ่ ปรียบเทียบภายในกลุ่มบริษทั ทีม่ ลี กั ษณะการดาเนินงานคล้าย ๆ กัน หากกิจการมีลกั ษณะ
การดาเนินงานทีแ่ ตกต่างกันมาก โครงสร้างของค่าใช้จ่ายก็จะมีความแตกต่างกันมาก ดังนัน้ ตัววัดนี้เป็ น
ตัววัดทีเ่ หมาะสมกับการควบคุมต้นทุนภายในอุตสาหกรรมมากกว่าเปรียบเทียบระหว่างอุตสาหกรรม

กาไรสุทธิ ต่อสิ นทรัพย์ดาเนิ นงาน (Return on Operating Capital)

กาไรสุทธิต่อสินทรัพย์ดาเนินงาน = กาไรสุทธิจากการดาเนินงาน
สินทรัพย์ดาเนินงาน*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

กาไรสุทธิต่อสินทรัพย์ดาเนินงาน หมายถึง ผลตอบแทนที่กจิ การได้รบั จากลงทุนในสินทรัพย์


ดาเนินงานทัง้ หมด โดยผลตอบแทนดังกล่าวได้หกั ส่วนของเจ้าหนี้และรัฐบาลออกไปแล้ว ตัวชีว้ ดั นี้เป็ น
การวัดประสิทธิภาพในการบริหารงานของฝา่ ยจัดการ หากตัวชีว้ ดั นี้มคี ่าต่ากว่าค่าเฉลีย่ ของอุตสาหกรรม
แสดงว่า กิจการได้ใช้สนิ ทรัพย์ทล่ี งทุนไปอย่างไม่คมุ้ ค่าทาให้กจิ การและส่วนของเจ้าของได้รบั ผลตอบแทน
น้อย

กาไรสุทธิ ต่อส่วนของเจ้าของ (Return on Equity)

กาไรสุทธิจากการดาเนินงานต่อส่วนของเจ้าของ = กาไรสุทธิจากการดาเนินงาน
ส่วนของเจ้าของ

กาไรสุทธิต่อส่วนของเจ้าของ หมายถึง ผลตอบแทนที่ผถู้ อื หุน้ (ในส่วนของเจ้าของ) ได้รบั จาก


การลงทุนในกิจการ หากตัวชีว้ ดั นี้มคี ่าต่ากว่าค่าเฉลีย่ ของอุตสาหกรรมแสดงว่า ผูถ้ อื หุน้ ของกิจการได้รบั
ผลตอบแทนต่ า ซึ่งอาจเกิดจากการบริหารสัดส่วนการลงทุนทีไ่ ม่เหมาะสมเช่น การลงทุนใ นกิจการมี
การใช้ส่วนของทุนมากเกินไปในขณะทีใ่ ช้ส่วนของหนี้ น้อยเกินไป โดยอาจพิจารณาประกอบกับตัวชี้วดั
สินทรัพย์ดาเนินงานต่อส่วนของเจ้าของ (Operating Capital to Equity)

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 20
ส่วนของเจ้าของต่อสิ นทรัพย์ถาวร (Equity to Fixed Assets)

ส่วนของเจ้าของต่อสินทรัพย์ถาวร = ส่วนของเจ้าของ
สินทรัพย์ถาวร (ทีใ่ ช้ในการดาเนินงาน)*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

ส่วนของเจ้าของต่อสินทรัพย์ถาวร เป็ นตัวชีว้ ดั ทีแ่ สดงถึงการจัดสรรทุนของกิจการในการลงทุนใน


สินทรัพย์ถาวรว่ามีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด โดยปกติแล้ว ส่วนของเจ้าของจัดว่าเป็ นแหล่งเงินทุน
ระยะยาวของกิจการและมีความเสีย่ งต่า ดังนัน้ จึงควรนาส่วนของเจ้าของไปลงทุนในสินทรัพย์ถาวรสาหรับ
การประกอบกิจกรรมหลัก เพราะหากกิจการใช้แหล่งเงินทุนระยะสัน้ ไปลงทุนในสินทรัพย์ถาวรอาจเกิด
ความเสีย่ งทีก่ จิ การไม่สามารถชาระหนี้คนื ได้ในระยะเวลาทีก่ าหนด

สิ นทรัพย์ถาวรต่อสิ นทรัพย์ดาเนิ นงาน (Fixed Assets to Operating Capital)

ความเข้มข้นของสินทรัพย์ถาวร = สินทรัพย์ถาวร (ทีใ่ ช้ในการดาเนินงาน)*


สินทรัพย์ดาเนินงาน*

* ใช้ค่าเฉลีย่ ต้นงวดและปลายงวด

ความเข้ม ข้น ของสิน ทรัพย์ถาวร แสดงถึงสัด ส่ว นการลงทุนในสินทรัพ ย์ถาวรของกิจการว่า มี


มากน้อยเพียงใด เหมาะสมกับประเภทอุตสาหกรรมหรือไม่ ยกตัวอย่างเช่น ในอุตสาหกรรมหนัก ตัวชีว้ ดั นี้
มักมีคา่ สูง ในขณะทีอ่ ตุ สาหกรรมทีเ่ น้นการใช้แรงงานหรือธุรกิจค้าปลีกจะมีคา่ ของตัวชีว้ ดั นี้ต่ากว่า

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ งชาติ 21

You might also like