You are on page 1of 94

รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน

(ระหว่างวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๗ – ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๘)


กระทรวงศึกษาธิการ
บทสรุปผู้บริหาร
นโยบายที่ ๑
การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์
นโยบายที่ ๒
การรักษาความมั่นคงของรัฐและการต่างประเทศ
นโยบายที่ ๓
การลดความเหลื่อมลาของสังคม
และการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ
นโยบายที่ 4
การศึกษาและเรียนรู้ การทะนุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
นโยบายที่ ๖
การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ
นโยบายที่ ๗
การส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน
นโยบายที่ ๘
การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
การวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม
นโยบายที่ ๑๐
การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาล
และการป้องกันปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐ
ภาคผนวก
คำนำ
การขั บเคลื่ อนนโยบายสู่ การปฏิ บั ติ ของกระทรวงศึ กษาธิ การในรอบ ๙ เดื อน (ระหว่ างวั นที่
12 กั น ยายน 2557 – 12 มิ ถุ น ายน 2558) เป็ นการด าเนิ นงานภายใต้ นโยบายด้ านการศึ กษา
พลเรื อเอก ณรงค์ พิ พั ฒนาศั ย รั ฐมนตรี ว่ าการกระทรวงศึ กษาธิ การ ซึ่ งได้ มอบนโยบายการบริ หาร
กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เพื่ อ รองรั บ การขั บ เคลื่ อ นงานตามนโยบายของรั ฐ บาล ภายใต้ ก ารน าของ
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินต่อสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557
กระทรวงศึกษาธิการ โดยองค์กรหลักและหน่ วยงานในกากับ ได้ ร่วมจัดทาแผนปฏิบัติราชการ
ประจ าปี พ.ศ. 2558 ของกระทรวงศึกษาธิการขึ้น เพื่อ ใช้ เป็นกรอบแนวทางในการดาเนินงานติดตาม
ตรวจสอบและประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านตามนโยบายของคณะรั ฐ มนตรี และรั ฐ มนตรี ว่ า การ
กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งการดาเนินงานรอบ ๙ เดือนที่ผ่านมา ทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
ได้เร่งรัดขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ผ่านการดาเนินโครงการ กิจกรรมสาคัญต่าง ๆ ซึ่งความก้าวหน้า
ของการดาเนินงานภายใต้นโยบายรัฐบาล ดังที่ปรากฏในรายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาล
ในรอบ ๙ เดือน (ระหว่างวันที่ 12 กันยายน 2557 – 12 มิถุนายน 2558) ฉบับนี้
กระทรวงศึ กษาธิ ก าร หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า รายงานผลการด าเนิ นงานตามนโยบายรั ฐ บาล
ในรอบ ๙ เดื อน (ระหว่ างวั น ที่ 12 กั นยายน 2557 – 12 มิ ถุ นายน 2558) จะเป็ นฐานข้ อมู ล
ด้านการศึกษาที่สาคัญสาหรับหน่วยงานในสังกัดและส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ในการเร่งรัดขับเคลื่อนนโยบาย
รัฐบาลไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลภายในระยะเวลาที่กาหนดต่อไป

กระทรวงศึกษาธิการ
สำรบัญ
หน้า
คานา ก
บทสรุปผู้บริหาร ข
ผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
นโยบายที่ ๑ การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ ๑
นโยบายที่ ๒ การรักษาความมั่นคงของรัฐและการต่างประเทศ ๗
นโยบายที่ ๓ การลดความเหลื่อมล้าของสังคม และการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ ๒๑
นโยบายที่ 4 การศึกษาและเรียนรู้ การทะนุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ๒๔
นโยบายที่ ๖ การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ๕๒
นโยบายที่ ๗ การส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน ๕๕
นโยบายที่ ๘ การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ๖๒
การวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม
นโยบายที่ ๑๐ การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาล ๖๘
และการป้องกันปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐ
ภาคผนวก
หน่วยงานสนับสนุนข้อมูล ๗๔
คณะบรรณาธิการ ๗๕
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

บทสรุปผู้บริหาร
ตามที่คณะรัฐมนตรีภายใต้การนาของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบาย
การบริ หารราชการแผ่ นดินต่อสภานิ ติบัญญั ติแห่ งชาติ เมื่อวั นที่ 12 กันยายน 2557 กระทรวงศึกษาธิการ
โดยพลเรื อเอก ณรงค์ พิ พัฒนาศั ย รั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึ กษาธิ การ ได้มอบนโยบายการบริ หารงานของ
กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อรองรับการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล ซึ่งทุกหน่วยงานในสังกัดได้ร่วมกันจัดทาแผนปฏิบัติ
ราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 และเร่งรัดดาเนินการนานโยบายสู่การปฏิบัติให้บรรลุผลตามเปูาหมาย
ที่กาหนด โดยในการขับเคลื่อนดาเนินการด้านการศึกษาในรอบ ๙ เดือน (ระหว่างวันที่ 12 กันยายน 2557 –
12 มิถุนายน 2558) ของกระทรวงศึกษาธิการ มีความก้าวหน้าในการดาเนินงานที่สาคัญ ดังนี้
นโยบายที่ ๑ การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์
การเชิ ด ชู ส ถาบั น พระมหากษั ต ริ ย์ ด้ ว ยความจงรั ก ภั ก ดี แ ละปกปู อ งรั ก ษาพระบรมเดชานุ ภ าพ
เป็นหน้าที่สาคัญยิ่งของคนไทยทุกคน กระทรวงศึกษาธิการได้ดาเนินโครงการและกิจกรรมเพื่อเชิดชูสถาบัน
พระมหากษัตริย์ รวมทั้งเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจและโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ ทั้งในหน่วยงาน สถานศึกษา ครู คณาจารย์ นักเรียน ตลอดจนประชาชนได้เรียนรู้เข้าใจหลักการ
ทรงงาน สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานและการดารงชีวิต โดยมีผลดาเนินงานสาคัญ ดังนี้
๑. จั ด งานเพื่อเฉลิมพระเกียรติและถวายพระพรชัยมงคลพระบาทสมเด็ จพระเจ้าอยู่หัว
เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 87 พรรษา 5 ธันวาคม 2557
 จัดงาน “เทิดไท้พระผู้ทรงเป็นครูแห่งแผ่นดิน” ระหว่างวันที่ ๓ – ๕ ธันวาคม ๒๕๕๗
จัดงานมหกรรมดนตรีมัธยมศึกษา “Melodies of the KING” โดยจัดแสดงนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ
พระอั จ ฉริ ย ภาพในด้ านดนตรี ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว การแสดงวงดนตรี ไทย ดุ ริ ย างค์ ส ากล
การแสดงนาฏศิลป์ การแสดงดนตรีสากลประกอบการขับร้องเพลงประสานเสียง และการแสดงดนตรีลูกทุ่งของ
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาจากสถานศึกษาทั่วประเทศ มีผู้เข้าร่วมงานระมาณ ๑,๐๐๐ คน และร่วมจัดงานเฉลิม
พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 87 พรรษา
5 ธันวาคม 2557 “รักพ่อ” ระหว่างวันที่ 30 พฤศจิกายน – 6 ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง
โดยมีนักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ และประชาชน เข้าร่วมงานมากกว่า 10,000 คน
 จัดโครงการส่งเสริมพระพุทธศาสนาบรรพชาเฉลิมพระเกียรติถวายเป็นพระราชกุศล
87 พรรษา ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ เพื่อเป็นการแสดงถึงความจงรักภักดี และถวายเป็นพระราชกุศล
87 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ และส่งเสริมให้ลูกเสือยึดหลัก
ปฏิบัติตามคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ มีความซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
และมีจิตสาธารณะ จานวน 12 แห่งทั่วประเทศ มีลูกเสือจากสถานศึกษาทุกสังกัดเข้าร่วมทั้งสิ้น 1,083 คน
 จัดตั้งศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it Center) ภายใต้โครงการ “ปณิธานความดี
ปีมหามงคล” ในพื้นที่ 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 3 - 5 มีนาคม ๒๕58 มีสถานศึกษา
เข้ าร่ ว ม 24 แห่ ง ครู ผู้ ส อน นั กศึ กษา และเจ้า หน้ า ที่เ ข้า ร่ ว ม 1,500 คน และประชาชนเข้า รั บบริก าร
14,000 คน และต่างจั งหวัด ณ ศาลากลางจังหวัด 76 จังหวัด ระหว่างวันที่ 9 - 11 มี นาคม ๒๕58
มีสถานศึกษาเข้าร่วม 24 แห่ง ครูผู้สอน นักศึกษา และเจ้าหน้าที่เข้าร่วมงาน 33,406 คน


รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

๒. จั ด งานเฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ ส ยามบรมราชกุ ม ารี


เนื่องในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558
 ขอพระราชทานพระราชานุญาตจัดตั้ง “รางวัลสมเด็จเจ้าฟูามหาจักรี ” ดาเนินการ
คัดเลือกผู้สมควรได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟูามหาจักรี สาหรับประเทศไทย ซึ่งจะเข้ารับพระราชทาน
รางวัลในวันที่ 2 ตุลาคม ๒๕58 โดยมีการคัดเลือกและประกาศผลรางวัลฯ เรียบร้อยแล้ว จานวน 2 ประเภท
ประกอบด้วย 1) รางวัลครูยิ่งคุณ จานวน 14 คน และ 2) รางวัลครูขวัญศิษย์ จานวน 164 คน ซึ่งขณะนี้
อยู่ระหว่างการพิจารณาคัดเลือก อีก 2 ประเภท ประกอบด้วย 1) รางวัลสมเด็จเจ้าฟูามหาจักรี จานวน 1 คน
และ 2) รางวัลคุณากร จานวน 2 คน และเพื่อมอบให้แก่ครูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นผู้ซึ่งมีผลงาน
โดดเด่น และทุ่มเทอุทิศตนในการทางาน โครงการประกวดคลิปสั้น “เล่าเรื่องด้วยหัวใจจากศิษย์ถึงครู ” รูปแบบ
ของคลิ ปวีดีโอสั้ น ความยาวไม่เกิน 5 นาที เป็นการให้ กาลั งใจแก่ครู เพื่อเป็นส่ วนหนึ่งของการสร้างการ
เปลี่ยนแปลงชีวิต มีผู้ส่งผลงานทั้งสิ้น 105 ผลงาน จัดโครงการ “อาชีวะพัฒนา”เพื่อก่อสร้างอาคารเรียนฯ
ให้กับโรงเรียนโครงการกองทุน พัฒนาเด็กในท้องถิ่นทุรกันดาร (กพด.) ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ในพื้นที่ ๒๗ จังหวัดชายแดนที่มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านในช่วงปิดภาคเรียน
ฤดูร้อน พร้อมทั้งจัดงาน “วิศิษฏศิลปิน สรรพศิลป์สโมสร”
 จัดการประชุมวิชาการ “การพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร” เพื่อเฉลิ ม
พระเกียรติที่ทรงมีพระกรุณาธิคุณ ด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร
โดยกาหนดจุดเน้น “พระบารมีแผ่ไพศาล ถิ่นทุรกันดารเป็นสุข ” มีผู้เข้าร่วมงานการประชุมกว่า ๑,๕๐๐ คน
และจัดการประชุมวิชาการนานาชาติ “การพัฒนาเด็กและเยาวชน : โอกาสและความเสมอภาคไร้พรมแดน
เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” มีผู้เข้าร่วมการประชุมกว่า 1,000 คน
 จัดโครงการทุนการศึกษาเฉลิมราชกุมารี กระทรวงศึกษาธิการ ระยะที่ 2 จานวน
10 รุ่น รุ่นละ 600 ทุน รวมทั้งสิ้น 6,000 ทุน เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ
60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยจัดสรรให้ระดับ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
เป็นเงิน 25,000 บาทต่อปี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ เป็นเงิน 30,000 บาทต่อปี ระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูง และระดับปริญญาตรี เป็นเงิน 55,000 บาท และปรับอัตราเพิ่มทุนในระดับประกาศนียบัตร
วิ ช าชี พ ชั้ น สู ง และระดั บ ปริ ญ ญาตรี จากเดิ ม 30,000 บาท เป็ น 55,000 บาทต่ อ ปี ตามโครงการ
ทุนการศึกษาเฉลิมราชกุมารี เนื่องในโอกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระชนมายุ
48 พรรษา เมื่ อ ปี พ.ศ. 2546 ด้ ว ย ขณะนี้ อ ยู่ ร ะหว่ า งการด าเนิ น การน าเสนอรั ฐ มนตรี ว่ า การ
กระทรวงศึกษาธิการ พิจารณานาเสนอที่ประชุมคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ
๓. การขั บ เคลื่ อ นปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งและการส่ ง เสริ ม สนั บสนุ น โครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดาริ
 ออกประกาศกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เรื่ อ ง นโยบายการขั บ เคลื่ อ นปรั ช ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงภาคการศึกษา เพื่อปลูกฝังให้เด็ก เยาวชน และประชาชน มีคุณลักษณะ “อยู่อย่างพอเพียง”
 จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
ด้ า นการศึ ก ษา โดยบรรจุ ห ลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งไว้ ใ นหลั ก สู ต รการเรี ย นการสอนทุ ก ระดั บ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้และบริหารจัดการตามหลั กปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหรือสถานศึกษาพอเพียง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๖ จานวน ๑๔,๘๕๒ แห่ง จัดโครงการตลาดนัดเศรษฐกิจพอเพียงภาคการศึกษา

รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

เพื่อแสดงผลงานวิชาการของโรงเรียนที่น้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่สถานศึกษา เตรียมจัดตั้ง
ศูนย์การเรียนรู้การอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ในสถานศึกษาทุกสังกัดทั่วประเทศไทย จัดโครงการอบรมเรียนรู้
ตามรอยพระยุคลบาท ร่วมกับเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา 9 เครือข่าย จัดทาโครงการ “ค่ายเรียนรู้
และเผยแพร่โครงการพระราชดาริ”
 จั ด ตั้ ง “ศู น ย์ ค วามช านาญเฉพาะทาง”เพื่ อ เชื่ อ มโยงความรู้ จ ากโครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดาริ มาบูรณาการสู่หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษา โดยใช้พื้นที่
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริเป็นห้องเรียนรู้และฝึกปฏิบัติงาน ซึ่งได้ดาเนินการมาตั้งแต่ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2556 มีสถานศึกษาในโครงการ รวมทั้งสิ้น 23 แห่ง โดยเปิดรับนักศึกษาจากนักเรียนทุนพระราชทาน
และนักเรียนปกติทั่วไปเข้าศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
โดยเปิดเป็นห้องเรียนพิเศษสถานศึกษาละ 1 ห้องเรียน โดยให้ดาเนินการตามความชานาญเฉพาะทาง
ของสถานศึกษาแต่ละแห่ง ทั้งนี้ มีเปูาหมายสุดท้ายเพื่อช่วยให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและพึ่งพาตนเอง
ได้ในที่สุ ด อัน จะนาไปสู่ การพัฒ นาประเทศอย่างยั่งยืนในอนาคตต่อไป ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
ได้ดาเนินการโอนจัดสรรงบประมาณให้สถานศึกษาดาเนินกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว
นโยบายที่ ๒ การรักษาความมั่นคงของรัฐและการต่างประเทศ
การขั บ เคลื่ อ นนโยบายการรั ก ษาความมั่ น คงของรัฐ และการต่า งประเทศ กระทรวงศึ กษาธิก าร
ได้ขับเคลื่อนภารกิจใน ๓ ด้านที่สาคัญ คือ การปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในกลุ่มเด็กและเยาวชน
ในสถานศึกษา การแก้ไขปัญหาการใช้ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ควบคู่กับการพัฒนาการศึกษา
ที่ส อดคล้ องกั บ ความต้ อ งการของประชาชนในพื้ นที่ และการเสริ ม สร้ า งความร่ ว มมื อ และความสั ม พั น ธ์
ด้านการศึกษากับนานาประเทศ ดังนี้
๑. การสร้ า งภู มิ คุ้ ม กั น และป้ อ งกั น ยาเสพติ ด ในกลุ่ ม เด็ ก และเยาวชนในสถานศึ ก ษา
สถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อสร้างพื้นฐานการมีภูมิคุ้มกันยาเสพติดที่เข้มแข็ง
ตั้งแต่ระดับปฐมวัย รวมถึงเด็กและเยาวชนก่อนวัยเสี่ยงและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ดังนี้
 จัดโครงการรณรงค์ปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา โดยดาเนินการ
ดังนี้ ๑) สร้างภูมิคุ้มกันในระดับประถมศึกษา ในโรงเรียนที่มีการจัดการเรียนการสอนทุกแห่ง ในสังกัดภาครัฐ
และเอกชน จานวน ๓๒,๐๐๐ แห่ง โดยการเสริมสร้างความรู้ ทักษะชีวิต และใช้กิจกรรมที่สร้างภูมิระยะยาว
ได้แก่ ค่ายศาสนธรรม การพัฒนาหลักสูตรการสอน โดยเฉพาะการเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันใน
ระดับประถมศึกษาแต่ละชั้นปี ๒) ส่งเสริมการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้กับโรงเรียนและสถานศึกษา
เปูาหมายทุกแห่งทั่วประเทศ จานวน ๑๑,๘๐๐ แห่ง ที่เป็นสถานศึกษาขยายโอกาสมัธยมศึกษา อาชีวศึกษา
และอุดมศึกษาสังกัดภาครั ฐและเอกชน ๓) ส่งเสริมการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้ กับโรงเรียน
และสถานศึ ก ษาเปู า หมายทุ ก แห่ ง ทั่ ว ประเทศ ที่ เ ป็ น สถานศึ ก ษาขยายโอกาสมั ธ ยมศึ ก ษา อาชี ว ศึ ก ษา
และอุดมศึกษา สังกัดภาครัฐและเอกชน และ ๔) จัดการประชุมคณะทางานจัดทากิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต
สร้างภูมิคุ้มกันเพื่อจัดทาหลักสูตรการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดเยาวชนก่อนวัยเสี่ยงในสถานศึกษา


รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 ด าเนิ น โครงการรณรงค์ ปู อ งกั น และแก้ ไ ขปั ญ หา ยาเสพติ ด ในสถานศึ ก ษา


สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งทั่วประเทศ
 ดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การปูองกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด
โดยประเมินผลงานสถานศึกษาตามเกณฑ์ในระดับดีเด่นทั่วประเทศ ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ มีสถานศึกษา
ที่ผ่านเกณฑ์ จานวน ๓๔๔ แห่ง
 ดาเนินโครงการ “TO BE NUMBER ONE” ในสถานศึกษา สร้างสถานศึกษาต้นแบบ
การดาเนินงานห้องเรียนสีขาว และนาไปสู่ “สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข”
 ร่วมมือกับสานักงานคณะกรรมการปูองกันและปราบปรามยาเสพติด เพื่อมุ่งผนึก
กาลังดูแลเยาวชน ที่เน้นการปฏิบัติอย่างเป็ นรูปธรรม เข้มแข็ง จริงจัง ต่อเนื่อง ในการเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
ยาเสพติดที่เข้มแข็ง ตั้งแต่ปฐมวัย รวมถึงเด็กและเยาวชนก่อนวัยเสี่ยง และเยาวชนกลุ่มเสี่ยง
 จัดโครงการ “การปฏิรูปการศึกษากับการปูองกันแก้ไขปัญหาเหล้า บุหรี่ ในนักเรียน
และผู้ปกครอง” ร่วมมือกับสานักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า (สคล.) สานักงานกองทุนสนับสนุน การสร้าง
เสริมสุขภาพ (สสส.) เครือข่ายครูดีไม่มีอบายมุข และเครือข่ายโพธิสัตว์น้อยลูกขอพ่อแม่เลิกเหล้า โดยเริ่ม
ในภาคเรียนที่ 1/๒๕58 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้แก่นักเรียน โดยมีโรงเรียนนาร่อง 40 แห่งทั่วประเทศ
 จัดโครงการ “Thai Youth Initiative against Drugs” ครั้งที่ 4 ประจาปี พ.ศ. ๒๕58
ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการปูองกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงการต่างประเทศ และสมาคม
องค์กรพัฒ นาเอกชนเพื่อการปู องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดภาคพื้นเอเชีย - แปซิฟิค เพื่อเปิดโอกาส
ให้เยาวชนเข้ามามีส่ วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ในเรื่องของยาเสพติดและขับเคลื่อน
กิจกรรม/โครงการที่เป็นประโยชน์ในการปูองกัน เฝูาระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยดาเนินการระหว่าง
เดือนเมษายน – กันยายน ๒๕๕๘
๒. การแก้ไขปัญหาการใช้ความรุน แรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กระทรวงศึกษาธิการ
นายุทธศาสตร์เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนามาใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตรแบบสันติวิธี ส่งเสริมสันติสุข เสริมสร้าง
โอกาสทางการศึกษา เสริมสร้างขวัญกาลังใจ และช่วยเหลือเยียวยา ควบคู่กับการพัฒนาการศึกษาที่สอดคล้อง
กับความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ดังนี้
 ปรั บ โครงสร้ า งและระบบการบริ ห ารการศึ ก ษาให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยจั ด ตั้ ง
ศูน ย์ ป ระสานงานและบริ ห ารการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศปบ.จชต.) หรือ “กระทรวงศึกษาธิการ
ส่วนหน้า” ณ สานักงานศึกษาธิการภาค ๑๒ จังหวัดยะลา
 จัดโครงการ “รินน้าใจสู่น้องชาวใต้ ประจาปี 2558” เพื่อเสริมสร้างโอกาสและ
ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับนักเรียน นักศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยการจัดครู อาจารย์ และ
วิ ท ยากร ที่ มี ค วามรู้ แ ละมี ชื่ อ เสี ย งเป็ น ที่ ย อมรั บ ไปให้ ค วามรู้ แ ก่ นั ก เรี ย น ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6
และจัดตั้งศูนย์สอนเสริมระดับจังหวัด และระดับอาเภอใน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลา
สตูล และสงขลา (อาเภอนาทวี สะเดา จะนะ เทพา และสะบ้าย้อย) สนับสนุนการจัดการศึกษาของโรงเรียน
เอกชนพื้นที่เสี่ยงภัย โดยจัดสรรเงินอุดหนุนสถาบันศึกษาปอเนาะ สนับสนุนทุนอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษา
ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ การประเมินผลการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้


รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 จัด โครงการ “สานฝั นการกีฬาสู่ ระบบการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในพื้นที่


๔ จังหวัดชายแดนภาคใต้” เพื่อสร้างแรงจูงใจให้เกิดความรั กความสามัคคี โดยการนากีฬาเข้าสู่ระบบการศึกษา
โดยการจั ดมหกรรมกีฬาระดั บอ าเภอทุ กพื้นที่ ช่ วงปิ ดเทอมฤดู ร้อน ตั้ งแต่ เดื อนมี นาคม-พฤษภาคม ๒๕๕๘
การจัดตั้งโรงเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์-กีฬา ซึ่งปัจจุบันได้ดาเนินการแล้วในภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๘ ในระดับ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ณ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี อาเภอเมืองยะลา จังหวัด
ยะลา เป็นแห่งแรก มีผู้ผ่านการคัดเลือก 57 คน ทั้งนี้ นักเรียนจะได้รับทุนการศึกษา (ทุนภูมิทายาท) จานวน
40,000 บาท/คน/ปี ตลอดระยะเวลา 3 ปี โดยนักเรี ยนจะเรียนสายสามัญตามปกติทั่วไป แต่จะมีโปรแกรม
พิเศษเรีย นทางด้านกีฬาตามความถนัดของนักเรียนแต่ละคน ขณะนี้อยู่ระหว่างดาเนินการขยายผลไปยัง
โรงเรีย นรื อเสาะชนูป ถัมภ์ อาเภอรื อเสาะ จังหวัดนราธิว าส เป็นแห่ งที่ ๒ ซึ่งจะเร่งเปิดให้ทันภาคเรียนที่
๒/๒๕๕๘ ภายในเดือนตุลาคม ๒๕๕๘ และระยะยาว จะต่อยอดในการรับนักเรียนทีจ่ บการศึกษา มาเข้าศึกษา
ต่อโดยจะมอบทุนการศึกษาทั้งในมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน
 จั ด โครงการพั ฒ นารู ป แบบการใช้ อั ก ขระมลายู ย าวี ใ นจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้
จัดทาต้นฉบับบัญชีคาภาษามลายูยาวี ในระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนต้นปีที่ 1–6 และโรงเรียนมีกรอบคาศัพท์
ภาษามลายู อั ก ขระยาวี ที่ ส ามารถน าไปใช้ ส อนให้ เ ป็ น ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น และเป็ น ไปตามหลั ก สู ต ร
จัดทารูปเล่ม จานวน 120 หน้า เพื่อเป็นข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปใช้ประโยชน์ต่อไป โดยรวบรวม
คาศัพท์ไว้ทั้งหมด 1,521 คา
 เสริมสร้างขวัญกาลังใจ และช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความ
ไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยการมอบทุนการศึกษารายปีต่อเนื่อง การฟื้นฟูสถานศึกษาที่ได้รับ
ผลกระทบจากเหตุการณ์ลอบวางเพลิง
๓. การเสริมสร้างความร่วมมือและความสัมพันธ์ด้านการศึกษากับนานาประเทศ
 ให้การต้อนรับและหารือประเด็นความร่วมมือด้านการศึกษากับผู้แทนประเทศต่าง ๆ
เพื่อแลกเปลี่ยนความร่วมมือทางการศึกษา และนากลไกทางการทูตแบบบูรณาการมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
แก่การพัฒนาการศึกษาของประเทศไทย
 เป็นเจ้าภาพและเข้าร่วมการประชุมในเวทีระดับนานาชาติ เพื่อสร้างความร่วมมือ
ด้านการศึกษา แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และนาเสนอทิศทางการพัฒนาการศึกษา เช่น การได้รับเกียรติเป็น
เจ้าภาพจัดประชุมสภารัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asian Ministers of Education
Council Conference : SEAMEC) ครั้งที่ 48 ระหว่างวันที่ 6 - 9 พฤษภาคม ๒๕58 ณ จังหวัดชลบุรี เข้าร่วม
การประชุมรัฐมนตรีศึกษาเอเชีย – ยุโรป ครั้งที่ 5 ภายใต้หัวข้อหลัก “ASEM Education Collaboration for
Results” เมื่อวันที่ 27 - 28 เมษายน ๒๕58 ณ กรุงรีกา สาธารณรัฐลัตเวีย เข้าร่วมการประชุมระดับโลก
ว่าด้วยการศึกษา ระหว่างวันที่ 19 – 21 พฤษภาคม ๒๕58 ณ เมืองอินชอน สาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งถือเป็น
การประชุมที่ใหญ่ที่สุดในด้านการศึกษาที่จัดขึ้นทุก 10 - 15 ปี เป็นต้น


รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

นโยบายที่ ๓ การลดความเหลื่อมล้าของสังคม และการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ


ความเหลื่อมล้าในสังคมเป็นอีกสาเหตุหนึ่งของปัญหาความขัดแย้งและความเดือดร้อนของประชาชน
กระทรวงศึกษาธิการจึงเร่ง สร้างโอกาส อาชีพ และการมีรายได้ที่มั่นคง จัดระบบฝึกอาชีพเชิงพื้นที่เพื่อเพิ่ม
โอกาสคนพื้นที่ให้เข้าสู่อาชีพพื้นที่ จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสาหรับผู้สูงอายุ ดังนี้
๑. การจัดระบบฝึกอาชีพเชิงพื้นที่เพื่อเพิ่มโอกาสคนพื้นที่ให้เข้าสู่อาชีพพื้นที่
 จั ด กระบวนการเรี ย นการสอนใน กศน. ต าบล จ านวน 7,424 แห่ ง ในพื้ น ที่
5 ภูมิภาค ภายใต้โครงการ “หนึ่งคน... หนึ่งอาชีพ ” โดยจัดฝึกอบรมให้แก่ประชาชนที่สนใจใน 5 หลักสูตร
กลุ่มอาชีพ โดยมีผู้ต้องการเข้ารับการอบรม 256,329 คน
 จั ด โครงการอุ ด มศึ ก ษา สร้ า งความรู้ สร้ า งอาชี พ สร้ า งความสุ ข เพื่ อ ฝึ ก อาชี พ
ระยะสั้น ในพื้นที่ให้บริการของวิทยาลัยชุมชน 20 แห่ง โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย จานวน 75 กิจกรรม มีผู้สนใจ
บริการ 2,892 คน
 จัดศูนย์ฝึกอบรมอาชีพ เพื่อพัฒนาอาชีพประชาชนเป็นการส่งเสริมการฝึกอาชีพ
ให้กับประชาชนที่ไม่มีงานทา ผู้ถูกเลิกจ้างงาน ผู้กาลังอยู่ในข่ายถูกเลิกจ้าง ผู้สาเร็จการศึกษาที่ยังไม่มีงานทา
กลุ่มเกษตร กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส
 ให้มีโอกาสได้เรียนรู้และพัฒนาศักยภาพด้านทักษะวิชาชีพ สามารถต่อยอดความรู้
และเป็ น ทางเลื อกในการประกอบอาชีพได้ ในสถานศึกษาสั งกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีว ศึกษา
จานวน 288 แห่ง
๒. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ สตรี และเด็ก
 ร่วมมือกับกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (United Nations Population Fund -
UNFPA) ในการแก้ไขปัญหาคุณแม่วัยใส ทั้งนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้พัฒนาระบบการดูแลและช่วยเหลือ เด็ก
นักเรียนในทุกมิติ เช่น การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม การจัดให้มีการเรียนการสอนเพศศึกษา โดยอบรม
ผู้สอนให้รู้เรื่องเพศศึกษารอบด้าน การเสริมสร้างทักษะชีวิตให้แก่นักเรียน
 คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
จัดตั้งและพัฒนาการศึกษาในศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ มีทาหน้าที่ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ สังคม
เคราะห์ความต้องการ ปัญหาและแนวทางการแก้ไขเกี่ยวกับการจัดตั้งศูนย์ การเรียนเฉพาะความพิการ จัดทา
ข้อเสนอเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ แนวทางการจัดตั้งและการพัฒนาการศึกษาสาหรับคนพิการ กาหนดหลักเกณฑ์
และวิธีการในการจัดตั้งศูนย์ การเรียนเฉพาะความพิการ จัดทามาตรฐานและเกณฑ์การประเมินศูนย์การเรียน
เฉพาะความพิการ เพื่อการรับรองหรือเพิกถอนการรับรอง
 จั ด ประชุ ม สั ม มนาระดั บ ภู มิ ภ าค (อาเซี ย น+3) ร่ ว มกั บ ส านั ก งานยู เ นสโก
กรุงเทพมหานคร เพื่อระดมความคิดเห็นเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสังคมไทยที่กาลังจะเกิดขึ้น
ด้วยการส่งเสริมให้ศูนย์การเรียนชุมชนเข้ามามีบทบาทในการเชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างกลุ่มวัย โดยเน้น
ผู้สูงอายุเป็น สาคัญ และครอบคลุ มใน 3 มิติหลั ก ได้แก่ 1) มิติด้านสุ ขภาพ โดยให้ ผู้สู งอายุมีสุ ขภาพกาย
และสุ ข ภาพจิ ต ที่ ดี 2) มิ ติ ด้ า นสั ง คม ให้ ผู้ สู ง อายุ อ ยู่ ร่ ว มกั บ คนต่ า งวั ย ในครอบครั ว ได้ อ ย่ า งมี ค วามสุ ข
และ 3) มิติด้านเศรษฐกิจ การส่งเสริมอาชีพให้ผู้สูงอายุได้มีรายได้สามารถเลี้ยงตนเองได้ หรือพึ่งพิงครอบครัว
น้อยที่สุด

รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

๓. จั ด การศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ให้ กั บ ผู้ สู ง อายุ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง


จานวน ๒๗๗,๙๖๘ คน พร้อมทั้งดาเนิน โครงการเปิดโลกการเรียนรู้ให้กับผู้ สูงอายุในสั งคมพหุวัฒนธรรม
ผ่านการกิจกรรมสร้างเวทีปรองดองและสมานฉันท์ในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีผู้เข้าร่วม จานวน
4,239 คน
นโยบายที่ 4 การศึกษาและเรียนรู้ การทะนุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
การจั ด การศึ กษาเพื่อสร้ างคุณ ภาพของคนไทยให้ ส ามารถเรียนรู้ พัฒ นาตนได้เต็ม ตามศั กยภาพ
ประกอบอาชีพและดารงชีพได้โดยมีความใฝุรู้และมีทักษะที่เหมาะสม เป็นคนดีมีคุณธรรม สามารถดารงตนได้
อย่ างมีค วามสุ ข รู้ เ ท่า ทั น การเปลี่ ย นแปลงของสั งคมโลกบนพื้ น ฐานของความเป็ นไทย เป็ นภารกิ จหลั ก
ที่กระทรวงศึกษาธิการได้ดาเนินการมาอย่างต่อเนื่องในรอบ ๙ เดือนที่ผ่านมาภาพรวม พบว่า การขับเคลื่อน
แผนงาน โครงการของหน่วยงานตามนโยบายรัฐบาล ปรากฎผลความก้าวหน้าที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยเฉพาะ
งานตามนโยบายที่ เป็ น จุ ดเน้ น ส าคัญ ของรั ฐ บาล ทั้งในด้ านการพัฒ นาคุ ณภาพการศึก ษาและการเรี ยนรู้
การเสริ ม สร้ า งโอกาสทางการศึ ก ษา การผลิ ต และพั ฒ นาครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา การส่ ง เสริ ม
การอาชีวศึกษา มีการดาเนินงานที่สะท้อนให้เห็นถึงเปูาหมายในด้านผลผลิ ตของโครงการ รวมทั้งกระบวนการ
ดาเนินงานที่มีความก้าวหน้าโดยลาดับ นอกจากนี้ ส่วนราชการได้มีการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไป
ตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณที่กาหนด พร้องทั้งเร่งแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่ส่งผลต่อความล่าช้าในการดาเนิน
โครงการและการเบิกจ่ายงบประมาณ โดยมีความก้าวหน้าในการดาเนินงาน ดังนี้
๑. พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ ได้ดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยดาเนินการศึกษาวิเคราะห์สภาพและปัญหาการใช้หลักสูตร และการสอดแทรก
การเรี ยนการสอนวิ ชาประวั ติ ศาสตร์ และวิ ชาเพิ่ มเติ มหน้ าที่ พลเมื องในทุ กระดั บชั้ นการศึ กษา การปรั บปรุ ง
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test : O - NET) โดยมีประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การกาหนดวิชาในการสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O - NET) และยกเลิก
การสอบประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับเขตพื้นที่การศึกษา (Local Assessment System : LAS)
ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 2 และระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4 - 5 การแก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ของนักเรียน โดยเร่งรัดพัฒนาการอ่านออกเขียนได้
อ่านคล่องเขียนคล่องและสื่อสารได้ เปูาหมายการพัฒนานักเรียน “เด็กจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ต้องอ่านออกเขียน
ได้ โดยต้องมีการประเมินผลที่เป็นรูปธรรม” ด้วยการดาเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย และ
โครงการพลิกโฉมโรงเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ อ่านออกเขียนได้ใน ๑ ปี นอกจากนี้เพื่อลดการทางานของครูและ
นักเรียนที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพการเรียน ได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง แนวปฏิบัติในการลดภาระครู
และนักเรียน รวมทั้งการปรับขนาดห้องเรียนในระดับชั้นปฐมวัยและระดับชั้นประถมศึกษาเป็น 30 คน ต่อห้องเรียน
และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเป็น 40 คน ต่อห้องเรียน เป็นต้น
๒. เสริ มสร้ างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึ กษาให้ แก่ ผู้ ยากจนหรื อ ผู้ ด้ อยโอกาส
โดยดาเนิ นโครงการสนั บสนุ นค่าใช้จ่ ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับ ชั้นอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ซึ่งขณะนี้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน อยู่ระหว่างเสนอขอทบทวนอัตราเงินอุดหนุนรายหัวสาหรับ
นั กเรี ยนการศึ กษาขั้ นพื้ นฐาน การจั ดสรรงบประมาณสนั บสนุ นทุ นการศึ กษาต่ าง ๆ อาทิ กองทุ นเงิ นกู้ ยื ม
เพื่อการศึกษา (กยศ.) ปัจจุ บั นมีผู้ กู้ จ านวน 739,072 คน และกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้


รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

ในอนาคต (กรอ.) ปั จจุบั นมีผู้ กู้ จ านวน 67,026 คน สนับสนุนทุนการศึกษา (ค่าครองชีพ) ระดับอุดมศึกษา
(ปริญญาตรี) ให้แก่เยาวชนที่มีภูมิลาเนาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทุนละ ๔๐,๐๐๐ บาท/
ปีการศึกษา ขยายโครงการทุนการศึกษาเฉลิมราชกุมารีระยะที่ 2 จานวน 10 รุ่น รวมทั้งสิ้น 6,000 ทุน โดยเพิ่ม
อัตราเงินทุนในแต่ละระดับการศึกษา นอกจากนี้ ได้ขยายผลโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
เพื่อแก้ปัญหาในโรงเรียนขนาดเล็ก จานวน 15,369 แห่ง และดาเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกล
ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ เปู าหมายโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ จานวน 15,553 แห่ง รวมทั้งได้จัด
การศึกษาให้กับผู้ด้อยโอกาส โดยจัดทา (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาพื้นที่ชายแดน ชายฝั่งทะเล
และเกาะแก่ง (พ.ศ. 2559 - 2564) และจัดการศึกษาแก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร์หรือไม่มีสัญชาติไทย
๓. การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา โดยจัดให้มีโครงการปฏิรูปการเรียนรู้สู่ผู้เรียนเพื่อต้องการ
ส่งเสริมการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษารองรับนโยบายการปฏิรูปการศึกษา เป็นเวลา ๓ ปี
ต่อเนื่อง (พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐) ในโรงเรียนนาร่อง จานวน ๓๐๐ แห่ง และส่งเสริมภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษา โดยที่ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (กช.) มีมติเห็นชอบในหลักการแนวทางการปรับ
โครงสร้างการขอรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนเอกชนทุกประเภทอย่างยั่งยืน
รวมทั้งส่งเสริ มการจั ดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน โดยพัฒนาสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
คุณธรรม จริยธรรม การอบรมวิชาชีพในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับผู้บริหารสถานศึกษา ครู และนักเรียน
๔. ส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ ตลอดชี วิ ต ได้ จั ดบริ การการศึ กษาต่ อเนื่ องให้ กั บประชาชน จ านวน
363,128 คน ดาเนินโครงการจัดการความรู้ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน โดยมี กศน.ตาบล ที่ตั้งอยู่ในวัด
จ านวน ๒,๐๙๓ แห่ งจั ดกิจกรรมร่ วมกั บภาคี เครือข่ ายในพื้ นที่ ให้ กั บนั กศึกษา กศน. และประชาชนในพื้ นที่
จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสาหรับผู้สูงอายุ รวมทั้งสิ้น 321,262 คน จัดระบบฝึกอาชีพ
เชิงพื้นที่เพื่อเพิ่มโอกาสคนพื้นที่ให้เข้าสู่อาชีพพื้นที โดย กศน. ตาบล จานวน 7,424 แห่ง จัดฝึกอบรมอาชีพให้กับ
ประชาชนในโครงการ “หนึ่งคน หนึ่งอาชีพ” ใน 5 ภูมิภาค มีผู้เข้ารับการอบรมรวมทั้งสิ้น 256,329 คน นอกจากนี้
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จัดกิจกรรม “คืนความสุขให้เธอ...เยาวชน : สร้างระบบคิด ปลูกจิตวิทยาศาสตร์”
ในรูปแบบกิจกรรมค่ายทั้งประเภทไป – กลับ และพักค้างคืน มีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม จานวน 270,605 คน
จัดค่ายปิดภาคเรียนฤดูร้อน “MOE Summer Camp ๒๐๑๕” โดยบูรณาการร่วมกับกระทรวงต่าง ๆ เพื่อส่งเสริม
เด็กและเยาวชนให้มีการเรียนรู้ พัฒนาร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม และดาเนินโครงการสร้างประสบการณ์
แก่นักเรียน นักศึกษาในช่วงปิดภาคเรียนปีการศึกษา ๒๕๕๗ ระหว่างเดือนเมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๘
๕. ส่งเสริมการอาชีวศึกษา ปรับภาพลักษณ์ และเร่งผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อตอบสนอง
ความต้องการพัฒนาประเทศ โดยส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาผ่านโครงการเรียนร่วมหลักสูตร
อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิ ศึกษา) ในปีการศึกษา 2558 ขณะนี้มีผู้ เรียนสนใจสมัคร เข้าร่วม
โครงการแล้วจาก 588 สถานศึกษา จานวน 30,405 คน เกินจากเปูาหมาย 10,505 คน พัฒนาคุณภาพการเรียน
การสอนและทั กษะด้ านอาชี วศึกษา โดยจั ดการประกวด “สุ ดยอดนวั ตกรรมอาชี วศึ กษา เฉลิ มพระเกี ยรติ ”
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ และการแข่งขันหุ่นยนต์ยุวชนอาชีวศึกษาระดับชาติ ประจาปีการศึกษา
๒๕๕๗ การร่วมประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์ในงาน 26th International Invention & Innovation Exhibition
การพัฒนาผู้ บริหาร ครู โรงเรี ยนเอกชนอาชีวศึกษา ครูฝึกในสถานประกอบการ ในด้านต่าง ๆ ดาเนินการปรั บ
ภาพลั กษณ์ นั กเรี ยน นั กศึ กษาอาชี วศึ กษาโดยจั ดศู นย์ อาชี วะอาสา “ตรวจรถพร้ อมใช้ ปลอดภั ยแน่ นอน”
ในช่วงเทศกาลปีใหม่ ๒๕๕๘ และเทศกาลสงกรานต์ ดาเนินโครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน โครงการเตรียม

รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

ความพร้อมอาชีวศึกษา รุ่นที่ 2 ในส่วนของผลิตกาลังคนด้านอาชีวศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของการพัฒนา


ประเทศ ได้ดาเนินโครงการอาชีวศึกษามาตรฐานสากล โดยศึกษาจุดเด่นของประเทศต่าง ๆ มาปรับใช้เป็นรูปแบบ
การจั ดการเรี ยนการสอนในสถานศึ กษาอาชี วศึ กษา จั ดการศึ กษาหลั กสู ตรปริ ญญาตรี สายเทคโนโลยี หรื อ
สายปฏิบัติการในสถาบันการอาชีวศึกษา ในปี พ.ศ. 2556 จานวน 9 สถาบัน รวม 16 สาขาวิชา รวม 43 หลักสูตร
ซึง่ สานักงาน ก.พ. ได้มีมติรับรองคุณวุฒิผู้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ
พ.ศ. 2556 ดังกล่าวแล้ว ผลักดันการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี โดยจัดทาคู่มือสิทธิประโยชน์ทางภาษีให้กับสถาน
ประกอบการที่ร่วมจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ลงนามความร่วมมือจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ผลิตกาลังคนรองรับ
ภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม และภาคบริการของประเทศ โดยสถาบันการอาชีวศึกษา 18 แห่ง ร่วมกับ
หอการค้ากลุ่มจังหวัด 18 จังหวัด รวมทั้งสร้างหลักสูตรใหม่รองรับความต้องการของประเทศพร้อมก้าวสู่ AEC
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาร่วมกับหน่วยงานภาคเอกชน
๖. ผลิ ตและพั ฒนาครู และบุ คลากรทางการศึ กษา โดยจั ดท า (ร่ าง) ยุ ทธศาสตร์ การผลิ ต
และพัฒนาครู ดาเนินการจัดทารายละเอียดโครงการคุรุทายาทเพื่อนากลับมาดาเนินการใหม่ให้มีความเหมาะสม
ยิ่งขึ้น ให้ความเห็นชอบ (ร่าง) หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและ
เลื่อนเป็นวิทยฐานะชานาญการพิเศษและวิทยฐานะเชี่ยวชาญ ตามข้อตกลงในการพัฒนางาน รวมทั้งการแก้ไขปัญหา
หนี้สินครูร่วมกับธนาคารออมสิน ร่วมกันออกมาตรการช่วยเหลือข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ตั้งแต่ลด
ภาระการชาระหนี้ มีหนี้ค้างชาระ จนถึงขั้ นถูกฟูองร้องดาเนินคดี สาหรับมาตรการช่วยเหลือที่แบ่งเป็น 4 กลุ่ม
คือ ๑) ลูกหนี้วิกฤติรุนแรง 2) ลูกหนี้ใกล้วิกฤติที่มีหนี้ค้างชาระเกินกว่า 12 งวดติดต่อกัน 3) ลูกหนี้ที่ค้างชาระ
ไม่เกิน 12 งวดติดต่อกัน ๔) ลูกหนี้ปกติ ให้พักชาระเงินต้นไม่ เกิน 2 ปี โดยจะต้องลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ
ผ่านต้นสังกัดเพื่อรับรองจนถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2558
นโยบายที่ ๖ การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ
การสร้ า งพื้ น ฐานองค์ ค วามรู้ เ พื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถของผู้ ป ระกอบการวิ ส าหกิ จ ขนาดกลาง
และขนาดย่อมให้เข้มแข็ง สามารถแข็งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ กระทรวงศึกษาธิการจึงดาเนินการ ดังนี้
๑. จั ด ตั้ ง ศู น ย์ บ่ ม เพาะวิ ส าหกิ จ ปั จ จุ บั น มี ศู น ย์ บ่ ม เพาะวิ ส าหกิ จ ในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา
(University Business Incubator : UBI) จานวน 72 แห่ง สามารถสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ที่เข้ารับ
การบ่มเพาะที่อยู่ในศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา จานวน 248 ราย และเตรียมพัฒนาเป็นบริษัท
ธุรกิจเต็มรูปในอนาคต (Spin off Companies) จานวน 9 ราย โดยจะเริ่มโครงการเดือนมีนาคม ๒๕๕๘
ซึ่งจะมีการติดตามประเมินผลการดาเนินงานโครงการทุก 6 เดือน
๒. ส่งเสริ ม การเรี ยนรู้ ผ่า นระบบดิจิ ทัล พั ฒนาผู้เ รี ยน ครู และบุค ลากรทางการศึกษา
ให้ เข้าถึงและใช้ร ะบบดิจิ ทัล ให้ เกิดประโยชน์ โดยจัด โครงการบูรณาการร่ว ม 4 กระทรวง ประกอบด้ว ย
1) โครงการคลังความรู้ดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ 2) โครงการระบบข้อมูลดิจิทัล เพื่อการศึกษาเรียนรู้และมีงานทา
3) โครงการบูรณาการการเรียนรู้สู่อาชีพและวิชาชี พ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและมาตรฐานวิชาชีพสู่สากล
รองรับเศรษฐกิจดิจิทัลและประชาคมอาเซียน 2558 4) โครงการพัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์
ระบบเปิดสาหรับมหาชน และ 5) โครงการพัฒนาโครงข่ายสาหรับให้บริการอินเทอร์เน็ต


รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

๓. พัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาเพื่อรองรั บการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเ ศษ โดยเฉพาะ


บริเวณพื้นที่เขตชายแดน
 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก ดาเนินการตามความร่วมมือ
จัดการอาชีวศึกษาระหว่างวิทยาลัยการอาชีพแม่สอดกับสถานประกอบการในอาเภอแม่สอด ในด้านเสื้อผ้า
และเครื่องแต่งกาย ร่วมมือกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ และฝึกอบรมวิชาชีพระยะสั้น ให้กับประชาชน
ในพื้นที่จังหวัดตาก และกาหนดแนวทางความร่วมมือในการพัฒนาสถานศึกษาอาชีวศึกษาโดยจะขยายความร่วมมือ
ในด้านอาชีวศึกษาทั้ง ๒ ประเทศ การหารือเกี่ยวกับความร่วมมือในการพัฒนากาลังคนด้านอาชีวศึกษาให้กับนักลงทุน
ไทยที่ไปลงทุนในอุตสาหกรรมทวาย รวมทั้งฝึกอบรมวิชาชีพระยะสั้นให้กับผู้หนีภัยสงครามที่พานักในศูนย์พักพิง
ชั่วคราวบริเวณชายแดนไทย - เมียนมาร์
 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อาเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ดาเนินการพัฒนา
เยาวชนกัมพูชา จานวน 58 คน ด้านวิชาชีพ โดยวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสระแก้ว และวิทยาลัยเทคนิค
สระแก้ว และฝึกอบรมวิชาชีพให้กับประชาชนบริเวณชายแดน และสถานประกอบการไทยที่ไปลงทุนในจังหวัด
เสียมราฐ ราชอาณาจักรกัมพูชา
 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อาเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ดาเนินการจัดฝึกอบรม
วิชาชีพให้กับประชาชนกัมพูชา และคัดเลือกเยาวชนจากจังหวัดเกาะกง ราชอาณาจักรกัมพูชามาศึกษาต่อ
ในวิทยาลัยเทคนิคตราด วิทยาลัยสารพัดช่างตราด และวิทยาลัยการอาชีพบ่อไร่ และฝึกอบรมวิชาชีพระยะสั้น
บริเวณชายแดน
 เขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จพิ เ ศษ อ าเภอเมื อ ง จั ง หวัด มุ ก ดาหาร ด าเนิน การวางแผน
แลกเปลี่ ย นนั ก ศึ กษาและครู รวมทั้ง การฝึ ก งานในสถานประกอบการไทย ลาว เวีย ดนาม และระหว่ า ง
หน่ ว ยงานทั้ง 3 ประเทศ และจั ดกิจ กรรมนักศึกษา จานวน 30 คน นอกจากนี้ สถานศึกษาอาชีวศึกษา
ในจังหวัดมุกดาหาร สกลนคร นครพนม อุบลราชธานี อุดรธานี หนองคาย เชียงราย เชียงใหม่ ขอนแก่น
ร่วมมือกับสถานศึกษาอาชีวศึกษาทุกแขวงในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในสาขาที่มีความสนใจ
ให้ความร่วมมือในการฝึกอบรมครู
 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ดาเนินการในวิทยาลัยอาชีวศึกษา
สงขลา ขยายความร่วมมือกับสถานศึกษาอาชีวศึกษา บริเวณชายแดนไทย - มาเลเซีย เช่น Ipoh Polyteknic เป็นต้น
โดยมีการแลกเปลี่ยนการเยือนระหว่างผู้บริหาร ครู และนักศึกษา นอกจากนี้ ยังผลิต และพัฒนาคนด้าน
การโรงแรม สาหรับประชาชนในศูนย์บ่มเพาะของวิทยาลัย


รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

นโยบายที่ ๗ การส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน
กระทรวงศึ กษาธิ ก ารมี บ ทบาทส าคั ญในการเตรีย มความพร้ อมด้า นการพัฒ นาทรัพ ยากรมนุ ษ ย์
โดยการส่ งเสริ มและพัฒ นาความรู้ความสามารถนักเรียน นักศึกษา ผู้ บริห าร ครู บุคลากรทางการศึกษา
และประชาชน ส่งเสริมบทบาท และพัฒนาศักยภาพ ในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทักษะการเรียน
การสอนด้ า นภาษาอั ง กฤษ และภาษาประเทศเพื่ อ นบ้ า น รวมทั้ ง ขยายความร่ ว มมื อ ด้ า นการศึ ก ษา
และการประชุมที่สาคัญต่าง ๆ
๑. เตรียมความพร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งมีการดาเนินงานสาคัญต่าง ๆ ดังนี้
 จัดทาแผนยุทธศาสตร์อาเซียนด้านการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ (Post ๒๐๑๕)
(พ.ศ. 2558 – 2562) ขณะนี้อยู่ระหว่างดาเนินการจัดพิมพ์เอกสาร เพื่อเผยแพร่
 จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมอาเซียนศึกษาในสานักงานศึกษาธิก ารภาค ๑ – ๑๓ ทั่วประเทศ
เรียบร้อยแล้ว เพื่อประสานและขับเคลื่อนความเข้าใจ ส่งเสริมต้นแบบ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านทักษะการใช้
ภาษาอังกฤษ และภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียนให้กับนักเรียน นักศึกษา โรงเรียน สถานศึกษา ชุมชน
และประชาชนทั่วไป
 การพัฒนาทักษะการเรียนการสอนด้ านภาษาอังกฤษและภาษาประเทศเพื่อนบ้าน
ผ่านโครงการ และกิจกรรมสาคัญต่าง ๆ อาทิ โครงการ “การศึกษาไทย ก้าวไกลสู่อาเซียน” สัญจร ๔ ภูมิภาค
และกรุงเทพมหานคร พร้อมทั้งจัดโครงการ “สพฐ. ก้าวไกล นาการศึกษาไทยสู่อาเซียน” พัฒนาครูวิทยากร
แกนนาการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์เป็นภาษาอังกฤษ ร่วมมือกับสมาคมการพูดภาษาอังกฤษ
(ประเทศไทย) หรือ ESU Thailand และ British Council จัดการแข่งขันกล่าวสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ
ในที่ ชุ ม ชนระดั บ ชาติ ครั้ ง ที่ 15 ประจ าปี ๒๕58 จัด โครงการส่ ง เสริ ม การเรี ย นการสอนภาษาอั ง กฤษ
และภาษาของประเทศเพื่อนบ้าน พัฒนาศักยภาพและทักษะทางภาษาและการสื่อสารให้กับครูภาษาอังกฤษ
และครูวิชาชีพในสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาภาคภาษาอังกฤษ การแลกเปลี่ยนนักศึกษา
ครูอาสาสมัคร กับประเทศสมาชิกอาเซียน
๒. ส่งเสริมบทบาทและพัฒนาศักยภาพในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ โดยดาเนินการผ่านโครงการ
และกิจกรรมสาคัญต่าง ๆ
 พัฒนาหลักสูตรตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน เพื่อพัฒนาสมรรถนะกาลังคนสายอาชีพ
ตลอดจนเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ จัดกิจกรรมสัมมนา ภายใต้โครงการเสวนาวิชาการ
: การค้าและการพัฒนาที่อยู่ในความสนใจ โครงการพัฒนาแนวทางการเทียบเคียงกรอบคุณวุฒิแห่งชาติกับ
กรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน ขณะนี้มีการแต่งตั้งคณะทางานประสานความร่วมมือในการขับเคลื่อนกรอบ
คุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบั ติ และการแต่งตั้งคณะกรรมการกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เพื่อจัดทากรอบคุณ วุฒิ
แห่งชาติ ที่จะนาไปสู่การจัดทากรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (Task Force on ASEAN Qualifications Reference
Framework : TF-AQRF)
 สร้ างความร่ ว มมื อด้ านการศึ กษากั บประเทศสมาชิ กอาเซี ยนและประเทศอื่ น ๆ
พร้อมทั้งจัดทายุทธศาสตร์ความร่วมมือด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการดาเนิน
ความร่วมมือกับราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

นโยบายที่ ๘ การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา


และนวัตกรรม
กระทรวงศึกษาธิการให้ความสาคัญต่อการวิจัย การพัฒนาต่อยอด และการสร้างนวัตกรรมเพื่อนาไป
สู่การผลิตและบริการที่ทันสมัย โดยดาเนินการ ดังนี้
๑. ส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ส่งเสริมพัฒนา
การวิ จั ย และบริ ห ารจั ด การทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาด้ า นสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพการอาชี ว ศึ ก ษา
และสนับสนุนการดาเนินการวิจัยของสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์
๒. พัฒนาและขยายผลอัจฉริ ยภาพทางวิทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ ส าหรับเยาวชน
โดยคัดเลือกนักเรียนเข้าโครงการอัจฉริย ภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ประจาปีการศึกษา 2557
จานวน 4,430 คน
๓. พัฒนาและสนับสนุนการดาเนินงานศูนย์สะเต็มศึกษาแห่งชาติ
 พั ฒ นาและส่ ง เสริ ม การผลิ ต ครู ผู้ มี ค วามสามารถพิ เ ศษทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
คณิตศาสตร์ พัฒนากาลังคนด้านวิทยาศาสตร์ ระยะ 2 (ทุนเรียนดีวิทยาศาสตร์ แห่งประเทศไทย) พัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษาตามระบบสะเต็มศึกษา
 อบรมเชิงปฏิบัติการ “การจัดการศึกษาแบบบูรณาการด้วยวิธี STEM Education”
โรงเรียนเอกชน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้
 ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือโครงการสะเต็มศึกษา เพื่อการพัฒนาทูตสะเต็ม
ระหว่างสถาบันส่ งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับ Henkel Thailand Ltd., เพื่อการพัฒนา
“ทูตสะเต็ม สสวท.” และแนวทางการบริหารจัดการทูตสะเต็ม และจัดให้มีกิจกรรมโครงการยุวทูตความยั่งยืน
ในโรงเรียน (Sustainability Ambassador School Outreach Program) เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืนกับนักเรียน
 ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงโครงการ “Enjoy Science : สนุกวิทย์ พลังคิด เพื่ออนาคต”
เพื่อพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพทางการแข่งขันของประเทศอย่างยั่งยืน ด้วยการพัฒนาการศึกษาในสาขา
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์ หรือ STEM Education ทั้งในระบบการศึกษาสาย
สามัญและการศึกษาสายอาชีพ ครอบคลุมทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ เป็นระยะเวลา ๕ ปี
๔.ร่ ว มมื อ ด้ า นการวิ จั ย และพั ฒ นากั บ หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ อาทิ การพั ฒ นานั ก วิ จั ย
ด้านยุทโธปกรณ์กับกองทัพบก การทาวิจัยกับโรงรรยยนการึกกาาพิรึา รววกกับกาาวิทยาััยกิุุ ปรเรทึญยปปุนน
รววกกับกรเทรวงวิทยาึาสตร์แัเรทคโนโัยย ทดัองสร้างพื้นสนากอรนกปรเสงค์ด้วยยางธรรกชาติ
๕. พัฒนางานวิจัย ดาเนินงานในรู ปแบบ “ภาคีสถาบัน อุดมศึกษา/วิจัย เพื่อการวิจัย ”
ในปัจจุบันมีสถาบันอุดมศึกษา/วิจัย เข้าร่วมดาเนินการกับศูนย์ความเป็นเลิศทั้ง 11 ศูนย์ จานวน 23 สถาบัน
ประกอบด้ว ย 51 หน่ ว ยปฏิบั ติก ารวิจั ยหลั ก มี คณาจารย์/ นัก วิจั ยจากสถาบั นอุ ดมศึก ษา/วิ จัย เข้า ร่ว ม
ดาเนินการ 1,086 คน มีจานวนห้องปฏิบัติการวิจัย (Research Lab) รวม 163 ห้องปฏิบัติการ


รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

นโยบายที่ ๑๐ การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาล และการป้องกันปราบปรามการทุจริต


และประพฤติมิชอบในภาครัฐ
กระทรวงศึกษาธิการดาเนินการส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาล และการปูองกัน
ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐ ดังนี้
๑. การป้องกันการทุจริตคอรัปชั่น
 ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรการควบคุมการจัดทาโครงการที่มี
การจัดจ้างให้เอกชนผู้รับจัดงาน (Organizer) งานโฆษณาและงานประชาสัมพันธ์ ของทุกหน่วยงานในสังกัดและ
ในกากับของกระทรวงศึกษาธิการ ที่มีวงเงิน 1 ล้านบาท หรือมีก ลุ่มเปูาหมายจานวนตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป
ต้องเสนอขอความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการก่อนการจัดงาน
 ให้ ค วามรู้ กั บบุคลากร ในสถานศึ กษา สถาบั นการศึ กษา และหน่ วยงานในสั งกั ด
กระทรวงศึกษาธิการ
 ลงนามความร่วมมือกับส านักงานคณะกรรมการปูองกันและปราบปรามการทุจริ ต
แห่งชาติ ร่วมกันขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ชาติ เกี่ยวกับการปูองกันและปราบปรามการทุจริต
 สานักงานคณะกรรมการปูองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจาจังหวัด
มีส่วนร่วมกับโครงการขนาดใหญ่ของกระทรวงศึกษาธิการ
๒. จั ด โครงการเสริ ม สร้ า งคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมและธรรมาภิ บ าลในสถานศึ ก ษา
สถาบั นการศึ กษา และหน่ วยงานในสั งกัดกระทรวงศึ กษาธิการ อาทิ โครงการ “ข้ าราชการไทยไร้ ทุจริต ”
โครงการ “ส่งเสริมค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ” โครงการ “สพฐ.ใสสะอาด ปราศจากคอรัปชั่น ”
โครงการ“มหาวิทยาลัยโปร่งใส บัณฑิตไทยไม่โกง” โครงการ “โรงเรียนสุจริต” และจัดหลักสูตร “โตไป ไม่โกง”
๓. จั ดตั้ งศูน ย์รั บเรื่องราว ร้องเรี ยน ร้ องทุกข์ ให้บริ การประชาชนที่เกี่ยวข้องการศึกษา
ซึ่งประชาชนสามารถร้องเรียน ร้องทุกข์ เรื่องต่าง ๆ ผ่านหลากหลายช่องทาง เช่น Call Center 1579
หรือ www.1579.moe.go.th


รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

นโยบายที่ ๑
การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์
----------------------------
สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย์ เ ป็ น องค์ ป ระกอบส าคั ญ ของการปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตย
ตามประเพณีการปกครองของประเทศไทย กระทรวงศึกษาธิการจึงถือเป็นหน้าที่สาคัญยิ่งยวดในอันที่จะเชิดชู
สถาบันนี้ไว้ด้วยความจงรักภักดีและปกป้องรักษาพระบรมเดชานุภาพ ผ่านการจัด กิจกรรมเทิดพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ การเผยแพร่
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์และพระราชกรณียกิจเพื่อประชาชน การขับเคลื่อนปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงและการส่งเสริมสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ การส่งเสริมให้สถานศึกษา
และหน่วยงานทางการศึกษาเรียนรู้เข้าใจหลักการทรงงาน โดยมีความก้าวหน้าในการดาเนินงานที่สาคัญ ดังนี้
๑. จั ด งานเพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ แ ละถวายพระพรชั ย มงคลพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว
เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 87 พรรษา 5 ธันวาคม 2557
 จัดงาน “เทิดไท้พระผู้ทรงเป็นครู แห่งแผ่นดิน” ระหว่างวั นที่ ๓ – ๕ ธันวาคม ๒๕๕๗
จัดงานมหกรรมดนตรีมัธยมศึกษา “Melodies of the KING” โดยจัดแสดงนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ
พระอัจฉริยภาพในด้านดนตรี ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การแสดงวงดนตรีไทย ดุริยางค์สากล การแสดง
นาฏศิลป์ การแสดงดนตรีสากลประกอบการขับร้องเพลงประสานเสียง และการแสดงดนตรีลูกทุ่งของนักเรียนระดับ
มัธยมศึกษาจากสถานศึกษาทั่วประเทศ มีผู้เข้าร่วมงานทั้งสิ้น ๑,๐๐๐ คน
 ร่วมจัดงาน“รักพ่อ” เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเจ้าอยู่หัว เนื่องใน
โอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 87 พรรษา 5 ธันวาคม 2557 โดยมีนักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ ข้าราชการ
เจ้าหน้าที่ และประชาชน เข้าร่วมงานมากกว่า 10,000 คน
 จัดกิจกรรมคาราวานจิตอาสา เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ผ่านกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ในสถานที่ต่าง ๆ ได้แก่ วัด โรงพยาบาล สถานแรกรับเด็กอ่อน
บ้ านพั กคนชรา เป็ นต้ น แบ่ งออกเป็ น 5 จุ ด คื อ วั ดเบญจมบพิ ตร วั ดสระเกศ วั ดชนะสงคราม วัดราชาธิ วาส
และวัดนั กบุ ญฟรั งซิสเซเวียร์ สามเสน มี ผู้บริหาร ข้าราชการ และบุคลากรที่มีจิตอาสาเข้าร่วมกิจกรรม จานวน
285 คน และคาราวานรถยนต์ จานวน 33 คัน
 จัดพิธี ถวายสัตย์ปฏิ ญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน เนื่องในโอกาส
มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 87 พรรษา 5 ธันวาคม 2557 เพื่อร่วมแสดงพลังแห่งความสามัคคีน้อมนา
พระบรมราโชวาท มาเป็นแนวปฏิบัติในการประพฤติปฏิบัติของการเป็นข้าราชการที่ดี ตั้งใจทาความดี เพื่อแผ่นดิน
ถวายเป็นพระราชกุศล เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม ๒๕57 ณ บริเวณลานหน้ากระทรวงศึกษาธิการ
 จัดงานวันครู ครั้งที่ 59 ประจาปี พ.ศ. ๒๕58 “ครูดีศรีแผ่นดิน” เมื่อวันที่ 16 มกราคม
๒๕58 เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในฐานะที่พระองค์ทรงเป็น “พระผู้ทรงเป็นครูแห่งแผ่นดิน”
สมเด็จพระนางเจ้ าสิ ริ กิติ์ พระบรมราชินี นาถในฐานะที่พระองค์ทรงเป็น “พระผู้ ทรงเป็นครูและแม่แห่ งแผ่ นดิน”
และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่พระองค์ทรงให้ความสาคัญและความสนใจในเรื่องการเรียน
การสอน และทรงเจริญพระชนมายุ 60 พรรษา ๒ เมษายน ๒๕๕๘ รวมทั้งระลึกถึงพระคุณของครู ให้สังคมเล็งเห็นถึง


รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

ความสาคัญร่วมยกย่อง เชิดชูเกียรติคุณครู ซึ่งสอดคล้องกับคาขวัญวันครู “เกียรติครูยิ่งใหญ่ น้อมใจบูชา เลิศล้าคุณค่า


ศรัทธาพระคุณ”
 จัดโครงการ “ส่งเสริมพระพุทธศาสนาบรรพชาเฉลิมพระเกียรติถวายเป็นพระราชกุศล
87 พรรษา ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ” เพื่อเป็นการแสดงถึงความจงรักภักดี และถวายเป็นพระราชกุศล
87 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ และส่งเสริมให้ลูกเสือยึดหลักปฏิบัติตาม
คาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ มีความซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และมีจิตสาธารณะ
จานวน 12 แห่งทั่วประเทศ มีลูกเสือจากสถานศึกษาทุกสังกัดเข้าร่วมทั้งสิ้น 1,083 คน
 จัดศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it Center) ภายใต้โครงการปณิธานความดี ปีมหามงคล
ในพื้นที่ 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 3 - 5 มีนาคม ๒๕58 มีสถานศึกษาเข้าร่วม 24 แห่ง ครูผู้สอน
นักศึกษา และเจ้าหน้าที่เข้าร่วม 1,500 คน และประชาชนเข้ารับบริการ 14,000 คน และต่างจังหวัด ณ ศาลากลาง
จังหวัด 76 จังหวัด ระหว่ างวันที่ 9 - 11 มีนาคม ๒๕58 มีสถานศึกษาเข้ าร่วม 24 แห่ง ครูผู้ สอน นักศึกษา
และเจ้าหน้ าที่เข้าร่ วม 33,406 คน ให้บริ การเปลี่ ยนถ่ายน้ ามันเครื่องรถจักรยานยนต์ ฟรี ซ่ อมเครื่องใช้ไฟฟ้า
ในครัวเรือนฟรี และมีภาคเอกชน ร่วมมอบเงินจัดซื้อน้ามันเครื่อง และมอบน้ามันเครื่อง ได้แก่ สมาคมผู้ประกอบการ
รถจักรยานยนต์ไทย บริษัท เอ.พี.ฮอนด้า จากัด และ บริษัทไทยยามาฮ่า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด
 จัดโครงการ“เฉลิมพระเกียรติพ่อหลวงไทย ร่วมใจเพื่อเยาวชนและครอบครัว” โดยร่วมมือ
กับศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง จัดฝึกอบรมวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น ให้กับเด็กและเยาวชนที่ต้องหาว่ากระทา
ความผิดและอยู่ในการดูแลของศาล
๒. จั ดงานเฉลิ มพระเกี ยรติ สมเด็ จพระเทพรั ตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ มารี เนื่ องในโอกาส
ทรงเจริญพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558
 ขอพระราชทานพระราชานุญาตจัดตั้ง “รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี” ดาเนินการคัดเลือก
ผู้สมควรได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี สาหรับประเทศไทย ซึ่งจะเข้ารับพระราชทานรางวัลในวันที่
2 ตุลาคม ๒๕58 โดยมีการคัดเลื อกและประกาศผลรางวั ลฯ เรียบร้ อยแล้ ว จ านวน 2 ประเภท ประกอบด้วย
1) รางวัลครูยิ่งคุณ จานวน 14 คน และ 2) รางวัลครูขวัญศิษย์ จานวน 164 คน ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณา
คัดเลือก อีก 2 ประเภท ประกอบด้วย 1) รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี จานวน 1 คน และ 2) รางวัลคุณากร จานวน
2 คน และเพื่ อมอบให้ แก่ ครู ในภูมิ ภาคเอเชียตะวั นออกเฉี ยงใต้ เป็ นผู้ ซึ่ งมี ผลงานโดดเด่ น และทุ่มเทอุ ทิ ศตน
ในการทางาน จัดโครงการประกวดคลิปสั้น “เล่าเรื่องด้วยหัวใจจากศิษย์ถึงครู” รูปแบบลักษณะคลิปวีดีโอสั้นความยาว
ไม่เกิน 5 นาที เป็นการให้กาลังใจแก่ครู เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างการเปลี่ยนแปลงชีวิต มีผลงาน รวม 105 ชิ้น
 จัดโครงการ “อาชีวะพัฒนา” เพื่อก่อสร้างอาคารเรียนฯ ให้ กับโรงเรียนโครงการกองทุน
พัฒนาเด็กในท้องถิ่นทุรกันดาร (กพด.) ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพื้นที่ ๒๗ จังหวัด
ชายแดน ที่มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านในช่วงปิดภาคเรียนฤดูร้อน พร้อมทั้งจัดงาน “วิศิษฏศิลปิน สรรพศิลป์
สโมสร”
 จั ดโครงการศึ กษารู ปแบบการพั ฒนาศู นย์ การเรี ยนรู้ และรู ปแบบการผลิ ตสื่ อการเรี ยนรู้
ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน ตามโครงการพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี เพื่อรวบรวม (ร่าง) สื่อต้นแบบศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงจากโรงเรียน จานวน 8 แห่ง พัฒนาหนังสือ
เรี ยนอิเล็ กทรอนิ กส์ วิ ทยาศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ ใน 8 รายวิ ชา ได้ แก่ วิ ทยาศาสตร์ พื้ นฐานระดั บประถมศึ กษา
วิทยาศาสตร์พื้นฐานระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เคมี ชีววิทยา ฟิสิกส์ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ คณิ ตศาสตร์ระดับ

รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

มัธยมศึกษาตอนต้น และคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมทั้งพัฒนาชุดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์


คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษาสาหรับโรงเรียนขนาดเล็กที่มีครูไม่ครบชั้น “สื่อ 60 พรรษา เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี”
 ร่วมออกบูธในงานกาชาดประจาปี 2558 ภายใต้แนวคิด “ถวายพระพร องค์อุปนายิกา
60 พรรษา ปวงประชาสุขใจ” เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์อุปนายิกา
ผู้อานวยการสภากาชาดไทย เนื่องในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่
30 มีนาคม – 7 เมษายน ๒๕58 อาทิ การจัดแสดงนิทรรศการ การร่ วมลงนามถวายพระพรสมเด็จพระเทพ
รั ตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ มารี ออนไลน์ ผลิ ตภั ณฑ์ ศู นย์ ฝึ กอาชี พชุ มชน กศน. ทั่ วประเทศ เช่ น ผ้ าไหม
เครื่องปั้นดินเผาประดิษฐ์ ชุดเครื่องกระเบื้อง เบญจรงค์ เครื่องสาน งานฝีมือผ้า เครื่องจักสานย่านลิเภา เครื่องดนตรีไม้
หลากหลายชนิดผ้าบาติก และอื่น ๆ ซึ่งรายได้ทั้งหมดทูลเกล้าฯ ถวายแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี โดยเสด็จพระราชกุศลตาม พระราชอัธยาศัย
 จั ดโครงการ “บรรพชาอุ ปสมบทหมู่ เฉลิ มพระเกี ยรติ สมเด็ จพระเทพรั ตนราชสุ ดาฯ
สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุ 60 พรรษา” จานวน 129 รูป เพื่อเป็นการปลูกฝั ง
คุณธรรม จริ ยธรรม ให้ แก่ ผู้ เข้ ารั บการบรรพชาอุปสมบท ให้สามารถน าไปบูรณาการการจั ดการเรียนการสอน
อาชีวศึกษา ตลอดจนพัฒนางานในหน้ าที่ พัฒนาตนเองและพัฒนาสั งคมชุมชน รวมทั้งร่วมอนุรักษ์และสื บสาน
วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ไทย
 จัดโครงการ “ค่ายอินฟินิต มอบความรู้คู่ความดีไม่มีสิ้นสุด” โดยดาเนินการจัดค่ายบาเพ็ญ
ประโยชน์ จานวน 60 ค่าย เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาส
ทรงเจริญพระชนมายุ 60 พรรษา
 จัดโครงการ “ทุนการศึกษาเฉลิมราชกุมารี กระทรวงศึกษาธิการ ระยะที่ 2” จานวน 10 รุ่น
รุ่นละ 600 ทุน รวมทั้งสิ้น 6,000 ทุน เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 60 พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยจัดสรรให้ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นเงิน 25,000
บาทต่อปี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ เป็นเงิน 30,000 บาทต่อปี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับ
ปริญญาตรี เป็นเงิน 55,000 บาท และปรับอัตราเพิ่มทุนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับปริญญาตรี
จากเดิม 30,000 บาท เป็น 55,000 บาทต่อปี ตามโครงการทุนการศึกษาเฉลิมราชกุมารี เนื่องในโอกาสที่สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระชนมายุ 48 พรรษา เมื่อปี พ.ศ. 2546 ด้วย ขณะนี้อยู่ระหว่าง
การดาเนินการนาเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ พิจารณานาเสนอที่ประชุมคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ
 จัดการประชุมวิชาการ “การพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร” เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
ที่ทรงมีพระกรุณาธิคุณด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร โดยกาหนดจุดเน้น
“พระบารมีแผ่ไพศาล ถิ่นทุรกันดารเป็นสุข” โดยมีการนาเสนอผลงานแนวปฏิบัติที่ดี ในการพัฒนาเด็กและเยาวชน
ในถิ่นทุ รกั นดารตามแนวพระราชด าริ ๕ ด้ าน ดังนี้ ด้ านโภชนาการและสุ ขอนามัย ด้านอาชีพ ด้านการศึกษา
ด้านการอนุรักษ์วัฒนธรรม ด้านการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระองค์
ที่ทรงงานด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทย มีผู้เข้าร่วมงานการประชุมกว่า ๑,๕๐๐ คน และจัดการประชุม
วิชาการนานาชาติ “การพั ฒนาเด็ กและเยาวชน : โอกาสและความเสมอภาคไร้ พรมแดนเฉลิ มพระเกี ยรติ
สมเด็ จพระเทพรั ตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ มารี ” เพื่ อให้ ครู ผู้ ปฏิบั ติ งานจากองค์ กรภาคีเครื อข่ ายทั้ งใน
และต่างประเทศ ได้มีโอกาสมาแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ รวมทั้งเกิดความร่วมมือในการแสวงหารูปแบบ


รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

การพัฒนาเด็กและเยาวชน โดยมีผู้แทนระดับรัฐมนตรีและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการจาก 14 ประเทศ


รวมทั้งผู้แทนระดับสูงจากประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศในภูมิภาคเข้าร่วมการประชุมกว่า 1,000 คน
 จัดโครงการ “ซีพีเอฟ อิ่ม สุข ปลูกอนาคต” 60 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 60 พรรษา ร่วมกับบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) ร่วมสร้าง
โภชนาการที่ดีและส่งเสริมการเข้าถึงอาหารแก่เด็กนักเรียนทั่วประเทศกว่า 14,000 คน ในพื้นที่ 67 แห่ง
ทั่วประเทศ โดยคัดเลือกโรงเรียนที่มีศักยภาพรอบโรงงานและฟาร์มของบริษัท ปลูกความรู้และจิตสานึก ถ่ายทอด
แนวทางการผลิต อาทิ การปลูกผัก เลี้ยงปลา เพื่อส่งเสริมการบริโภคที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ถูกหลักโภชนาการ
ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พร้อมพัฒนาสู่แหล่งเรียนรู้ต้นแบบในโรงเรียนและชุมชนในอนาคต ดาเนินการ
ภายใต้แผนงาน 5 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2558 - 2562 โดยในปีที่ 1 (พ.ศ. 2558) จะมุ่งเน้นการปลูกความรู้
และจิตสานึก (Learning) ผ่านการถ่ายทอดแนวทางการผลิตอาหารและการบริโภคเพื่อสุขภาพที่ดีปีที่ 2 - 3
(พ.ศ. 2559 - 2560) ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Sharing) ระหว่างโรงเรียนที่ดาเนินโครงการถึงแนว
ทางการบริหารโครงการและจัดการผลผลิตให้เกิดความยั่งยืน และในปีที่ 4 - 5 (พ.ศ. 2561 - 2562) จะพัฒนา
สู่เครือข่าย (Networking) โดยสนับสนุนโรงเรียนที่ประสบความสาเร็จในการดาเนินโครงการ ตลอดจนมีศักยภาพ
และขีดความสามารถ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบในโรงเรียนและชุมชน ได้แก่ ภาคตะวันออก จานวน 14 แห่ง
ภาคกลาง จานวน 26 แห่ง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 13 แห่ง ภาคตะวันตก จานวน 2 แห่ง ภาคเหนือ
จานวน 2 แห่ง และภาคใต้ จานวน 10 แห่ง
๓. ขั บ เคลื่ อ นปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง และการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น โครงการอั น เนื่ อ ง
มาจากพระราชดาริ
 ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ภาคการศึกษา เพื่อปลูกฝังให้เด็ก เยาวชน และประชาชน มีคุณลักษณะ “อยู่อย่างพอเพียง”
 จัดตั้ งศูนย์ขับเคลื่อนการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
โดยบรรจุปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไว้ในหลักสูตรการเรียนการสอนทุกระดับ และฝึกอบรมสร้างความเข้าใจให้แก่
ผู้ บริ หาร ครู ศึ กษานิ เทศก์ มี ความรู้ ความเข้ าใจสามารถถ่ ายทอดไปสู่ นั กเรี ยน น าไปสู่ การปฏิ บั ติ พร้ อมทั้ ง
มีการประเมินตามเกณฑ์คุณภาพสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และบริหารจัดการตามปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง หรือสถานศึกษาพอเพียง ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๖ จานวน ๑๔,๘๕๒ แห่ง
 จั ดโครงการ “อนุ รั กษ์ พั นธุ กรรมพื ชอั นเนื่ องมาจากพระราชด าริ ” โดยเตรี ยมจั ดตั้ ง
ศูนย์การเรียนรู้การอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ในสถานศึกษา แบ่งเป็น สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาละ ๑ แห่ง สานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดละ ๑ แห่ง สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจัดตั้งเครือข่ายเชิงประเด็น
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ จานวน ๙ เครือข่าย ครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่วประเทศ สานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา จังหวัดละ ๑ แห่ง สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัดละ ๑ แห่ง พร้อมทั้ง
สนั บสนุ นให้ องค์ การบริ หารส่ วนต าบล/เทศบาล ในพื้ นที่ ที่มี โรงเรี ยนสมาชิกสวนพฤษศาสตร์ให้ เข้าร่ ว มสนอง
พระราชดาริ ในงานสารวจและจัดทาฐานทรัพยกรท้องถิ่นพร้อมทั้งจัดทาเว็บไซต์ www.rspg.or.th เพื่อประชาสัมพันธ์
การดาเนินงานสนองพระราชดาริฯ โครงการอบรมเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท ร่วมกับเครือข่ายเพื่อการพัฒนา
อุดมศึกษา 9 เครือข่าย จัดทาโครงการ “ค่ายเรียนรู้และเผยแพร่โครงการพระราชดาริ”


รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 จัดโครงการอบรมเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท เพื่อให้ผู้เข้าร่วมเกิดการเรียนรู้นาแนวทาง
ไปประพฤติปฏิบัติเป็นข้าราชการที่ดี มีผู้เข้าร่วม จานวน ๗๐ คน
 ร่ วมกั บมู ล นิ ธิ บิ๊ กซี จั ดการเรี ยนการสอนที่ มุ่ งเน้ นการปฏิ บั ติ เพื่ อสร้ างทั กษะอาชี พ
การบู รณาการปรั ชญาเศรษฐกิ จพอเพี ยงสู่ การปฏิ บั ติ ในแต่ ละรายวิ ชา โดยมี สถานศึ กษาในสั งกั ดส่ งโครงการ
เข้าร่วมประกวดกว่า 60 แห่ง และคณะกรรมการตัดสินฯ พิจารณาคัดเลือก เหลือ 9 แห่ง เพื่อรับทุนสนับสนุน
สถานศึกษาละ 70,000 บาท
 จัดโครงการ “เสริมสร้างอุดมการณ์ รักชาติ และสถาบันพระมหากษัตริ ย์ ” ร่วมกับศูนย์
ประสานงานโครงการพัฒนาตามพระราชดาริ เพื่อเป็นการปลูกจิตสานึก สร้างความเข้าใจ ให้ความรู้และสร้างภูมิคุ้มกัน
ให้กับเยาวชนระดับอุดมศึกษา เพื่อให้มีความเข้าใจในความเป็นมาของประวัติศาสตร์ชาติไทย และพระมหากรุณาธิคุณ
ที่ได้พระราชทานแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ให้กับนักศึกษา
บุ คลากร และอาจารย์ในมหาวิทยาลั ย สังกั ดส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งในปีการศึกษา ๒๕57
ศูนย์ประสานงานโครงการพัฒนาตามพระราชดาริ มีเป้าหมายดาเนินโครงการในสถาบันอุดมศึกษา จานวน 10 แห่ง
 จัดตั้ง “ศูนย์ความชานาญเฉพาะทาง” เพื่อเชื่อมโยงความรู้จากโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริมาบูรณาการสู่หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษา โดยใช้พื้นที่โครงการอันเนื่ องมาจาก
พระราชดาริเป็นห้องเรียนรู้และฝึกปฏิบัติงาน ซึ่งได้ดาเนินการมาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 มีสถานศึกษา
ในโครงการ รวมทั้งสิ้น 23 แห่ง โดยเปิดรับนักศึกษาจากนักเรียนทุนพระราชทานและนักเรียนปกติทั่วไปเข้าศึกษา
ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง โดยเปิดเป็นห้องเรียนพิเศษสถานศึกษาละ
1 ห้ องเรี ยน โดยให้ดาเนิ นการตามความช านาญเฉพาะทางของสถานศึกษาแต่ละแห่ง ทั้งนี้ มีเป้าหมายสุ ดท้าย
เพื่อช่วยให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและพึ่งพาตนเองได้ในที่สุด อันจะนาไปสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
ในอนาคตต่อไป ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ได้ดาเนินการโอนจัดสรรงบประมาณให้สถานศึกษาดาเนินกิจกรรม
เรียบร้อยแล้ว


รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

นโยบายที่ ๒
การรักษาความมั่นคงของรัฐและการต่างประเทศ
----------------------------
การมีส่วนร่วมในการรักษาความมั่นคงของรัฐ กระทรวงศึกษาธิการเป็นหนึ่งในหน่วยงานสาคัญที่ขับเคลื่อน
งานตามนโยบายสู่ ก ารปฏิ บั ติ โดยเฉพาะในด้ า นการป้ อ งกั น และแก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด ในสถานศึ ก ษา
การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อเสริมสร้างโอกาสและเพิ่มคุณภาพทางการศึกษาให้กับผู้ เรียน
พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนความร่วมมือระหว่าง
ประเทศ ซึ่งมีการดาเนินงาน ดังนี้
๑. สร้ างภูมิ คุ้ มกั นและปู องกั นยาเสพติ ดในกลุ่ มเด็ กและเยาวชนในสถานศึ กษาสถาบันอุดมศึกษา
รวมทั้ งร่ วมมื อกั บหน่ วยงานต่ าง ๆ เพื่ อสร้ างพื้ นฐานการมี ภู มิ คุ้ มกั นยาเสพติ ดที่ เข้ มแข็ ง ตั้ งแต่ ระดั บปฐมวั ย
รวมถึงเด็กและเยาวชนก่อนวัยเสี่ยงและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ดังนี้
 จัดโครงการรณรงค์ปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา โดยดาเนินการดังนี้
 สร้างภูมิคุ้มกันในระดับประถมศึกษา ในโรงเรียนที่มีการจัดการเรียนการสอนทุกแห่งสังกัด
ภาครัฐและเอกชน จานวน ๓๒,๐๐๐ แห่ง โดยการเสริมสร้างความรู้ ทักษะชีวิต และใช้กิจกรรมที่สร้างภูมิระยะยาว
ได้แก่ ค่ายศาสนธรรม การพัฒนาหลักสูตรการสอน โดยเฉพาะการเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันในระดับ
ประถมศึกษาแต่ละชั้นปี
 ส่งเสริมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้กับโรงเรียนและสถานศึกษาเป้าหมาย
ทุกแห่งทั่วประเทศ จานวน ๑๑,๘๐๐ แห่ง ที่เป็นสถานศึกษาขยายโอกาสมัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา
สังกัดภาครัฐและเอกชน
 ส่งเสริมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้กับโรงเรียนและสถานศึกษาเป้าหมาย
ทุกแห่งทั่วประเทศ ที่เป็นสถานศึกษาขยายโอกาสมัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา สังกัดภาครัฐและเอกชน
 จัดการประชุมคณะทางานจัดทากิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตสร้างภู มิคุ้มกันเพื่อจัดทา
หลักสูตรการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดเยาวชนก่อนวัยเสี่ยงในสถานศึกษา
 จัดโครงการรณรงค์ปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาสถาบันอุดมศึกษา
ทุกแห่งทัว่ ประเทศ โดยดาเนินการ ดังนี้
 จั ดท าแผนสนั บสนุ นการขั บเคลื่ อนงานด้ านการป้ องกั นและแก้ ไขปั ญหายาเสพติ ด
ในสถาบันอุดมศึกษา โดยมีแผนการดาเนินงานให้ การสนับสนุนเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา 9 เครือข่าย
และจัดการประชุมสัมมนาโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2558 เพื่อชี้แจงนโยบายและบูรณาการจัดทาแผนงานโครงการระหว่างสถาบันแม่ข่าย 9 เครือข่าย ร่วมกับ
สานักงาน ปปส.ภาค/กทม.
 ร่วมกับศูนย์อานวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ศอ.ปส.) กทม. จัดประชุมจัดทา
แผนงานบู รณาการด้านการป้ องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยให้การสนับสนุนงบประมาณจัดตั้งกองลู กเสื อ
ต้านยาเสพติดในโรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลั ยในพื้นที่กรุงเทพฯ โรงเรียนละ 10,000 บาท จากงบประมาณ
สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด


รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 สนับสนุนเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา 9 เครือข่าย จัดโครงการรณรงค์ป้องกัน


และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา จานวน 140 โครงการ
 จั ดโครงการพั ฒนาศั กยภาพเจ้ าหน้ าที่ ผู้ ปฏิ บั ติ งานด้ านการปู องกั นและแก้ ไขปั ญหา
ยาเสพติด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 หลักสูตร “พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและ
นักศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ” เป้าหมายผู้เข้าร่วมการอบรม จานวน 500 คน โดยดาเนินการอบรม จานวน 5 รุ่น
 ด าเนิ น งานตามยุ ทธศาสตร์ การป้ องกั นกลุ่ ม ผู้ มี โ อกาสเข้ าไปเกี่ ยวข้ องกั บยาเสพติ ด
โดยประเมินผลงานสถานศึกษาตามเกณฑ์ในระดับดีเด่นทั่วประเทศ ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ มีสถานศึกษาที่ผ่านเกณฑ์
จานวน ๓๔๔ แห่ง
 จัดโครงการ “TO BE NUMBER ONE” ในสถานศึกษา สร้างสถานศึกษาต้นแบบดาเนินงาน
ห้องเรี ยนสีขาว และนาไปสู่ “สถานศึกษาสี ขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข” ภายใต้มาตรการ 5 ด้าน ดังนี้
1) ด้านการป้องกัน 2) ด้านการค้นหา 3) ด้านการบาบัดรักษา 4) ด้านการเฝ้าระวัง และ 5) ด้านการบริหารจัดการ
และกลยุทธ์ 4 ต้อง 2 ไม่ ดังนี้ ต้องมียุทธศาสตร์ ต้องมีแผนงาน ต้องมีระบบข้อมูล ต้องมีเครือข่าย ไม่ปกปิด
และไม่ไล่ออก
 จั ดโครงการ “การปฏิรู ปการศึ กษากั บการปูองกั นแก้ ไขปั ญหาเหล้ า บุ หรี่ ในนั กเรี ยน
และผู้ปกครอง” ร่วมมือกับสานักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า (สคล.) สานักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริม
สุขภาพ (สสส.) เครือข่ายครู ดีไม่มีอบายมุข และเครือข่ายโพธิสั ตว์น้อยลูกขอพ่อแม่เลิกเหล้ า เริ่มในภาคเรียนที่
1/๒๕58 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้แก่นักเรียน โดยมีโรงเรียนนาร่อง 40 แห่งทั่วประเทศ
 จัดโครงการ “Thai Youth Initiative against Drugs” ครั้งที่ 4 ประจาปี พ.ศ. ๒๕58
ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงการต่างประเทศ และสมาคมองค์กรพัฒนา
เอกชนเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดภาคพื้นเอเชีย - แปซิฟิค เพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วม
ในการแสดงความคิดเห็นอย่ างสร้างสรรค์ในเรื่องของยาเสพติดและขับเคลื่อนกิจกรรม โครงการที่เป็นประโยชน์
ในการป้องกัน เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยดาเนินการระหว่างเดือนเมษายน – กันยายน ๒๕๕๘
๒. แก้ ไขปั ญหาการใช้ ความรุ นแรงในจั งหวั ดชายแดนภาคใต้ น้ อมน ายุ ทธศาสตร์ เข้ าใจ เข้ าถึ ง
และพัฒนา มาใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตรแบบสันติวิธี ส่งเสริมสันติสุข เสริมสร้างโอกาสทางการศึกษา เสริมสร้างขวัญ
กาลังใจ และช่วยเหลือเยียวยา ควบคู่กับการพัฒนาการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ดังนี้
 ด้านพัฒนาคุณภาพการศึกษา
 ปรั บ โครงสร้ า งและระบบการบริ ห ารการศึ ก ษาให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยจั ด ตั้ ง
ศูนย์ประสานงาน และบริหารการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศปบ.จชต.) หรือ“กระทรวงศึกษาธิการส่วนหน้า”
ณ สานักงานศึกษาธิการภาค ๑๒ จังหวัดยะลา เพื่อให้การพัฒนาการศึกษาและการดาเนินงานทุกหน่วยในพื้นที่
ให้ มี เอกภาพและบู รณาการงานของกระทรวงศึ กษาธิ การ มุ่ งให้ เกิ ดผลสั มฤทธิ์ พั ฒนางานการศึ กษาในพื้ นที่
ให้มีประสิทธิภาพนาไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนและความสันติสุขอย่างยั่งยืน
 จั ดโครงการพั ฒนาการศึ กษาในเขตพั ฒนาพิ เศษเฉพาะกิ จจั งหวัดชายแดนภาคใต้
โดยดาเนินการ ดังนี้
 พัฒนาโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในโครงการตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ให้มีคุณภาพ จานวน ๑๕ แห่ง จัดสรรเงินอุดหนุนพัฒนาคุณภาพการศึกษา


รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ครูโรงเรียนเอกชน แบ่งออกเป็น ครู จานวน 8,989 คน คนละ 2,500 บาทต่อเดือน


ข้าราชการ จานวน 142 คน และพนักงานราชการ จานวน 607 คน คนละ 1,000 บาทต่อเดือน
 จัดโครงการ “รินน้าใจสู่น้องชาวใต้ ประจาปี 2558” เพื่อสอนเสริมพิเศษโดยจัดครู
อาจารย์ และวิทยากร ที่มีความรู้และมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับไปให้ความรู้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โดยจัดตั้งศูนย์สอนเสริมระดับจังหวัด และระดับอาเภอใน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลา สตูล
และสงขลา (อาเภอนาทวี สะเดา จะนะ เทพา และสะบ้าย้อย) และอบรมพัฒนาครูผู้สอน ส่วนวิชาที่จัดการสอนเสริม
ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย วิทยาศาสตร์ทั่วไป ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
สังคมศึกษา และการแนะแนวการศึกษา
 จั ด โครงการสนั บ สนุ น การจั ด การศึ ก ษาของโรงเรี ย นเอกชนพื้ น ที่ เ สี่ ย งภั ย
โดยจั ดสรรเงินอุดหนุนให้ แก่สถาบันศึกษาปอเนาะ โดยแบ่งเป็นค่าบริหารจัดการสถาบันศึกษาปอเนาะ จานวน
๓๗๓ แห่ง แห่งละ ๑,๐๐๐ บาทต่อเดือน และค่าตอบแทนโต๊ะครู ผู้ช่วยโต๊ะครู จานวน ๑,๑๔๖ คน คนละ๒,๐๐๐ บาท
ต่อเดือน จัดสรรเงินเป็นค่าตอบแทนและค่าบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของศูนย์การศึกษา
อิสลามประจามัสยิด (ตาดีกา) ใน ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ จาแนกเป็นค่าตอบแทนผู้สอน จานวน ๑๑,๘๘๘ คน
คนละ ๓,๐๐๐ บาท ค่าบริหารจัดการ ๒,๐๗๑ ศูนย์ ศูนย์ละ ๒,๐๐๐ บาทต่อเดือน อุดหนุนโครงสร้างด้านกายภาพ
โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามและสถาบันศึกษาปอเนาะ อุดหนุนโครงสร้างพื้นฐานด้านกายภาพแก่โรงเรียนเอกชน
สอนศาสนาอิสลาม ขนาดเล็ก ในจังหวัดนราธิวาส ๑๐ แห่ง ปัตตานี ๑๐ แห่ง ยะลา ๕ แห่ง รวม ๒๕ แห่ง จานวน
๓๕๐,๐๐๐ บาท อุดหนุนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามควบคู่วิชาสามัญสาหรับครูผู้สอนศาสนา (ประเภทโรงเรียน
ในระบบ) จั ดสรรเงินเป็ นค่าตอบแทนครูสอนศาสนาใน ๓ จังหวัดชายแดนใต้ (จังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส)
เพื่ออุดหนุนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามควบคู่วิชาสามัญสาหรับครูผู้สอนศาสนา (ประเภทโรงเรียนในระบบ)
จานวน ๑๖๓ แห่ง ผู้สอนศาสนา ๖๔๔ คน คนละ ๒,๐๐๐ บาทต่อเดือน อุดหนุนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
ที่สอนศาสนาอย่างเดียว (ประเภทโรงเรียนนอกระบบ) จัดสรรเงินค่าตอบแทนครูสอนศาสนา ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้
(จังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส) เพื่ออุดหนุนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามที่สอนศาสนาอย่างเดียว (ประเภท
โรงเรี ยนนอกระบบ) จ านวน ๒๔ แห่ ง แห่ งละ ๑,๐๐๐ บาทต่ อเดื อน และครู ผู้ สอนศาสนา จ านวน ๗๓ คน
คนละ ๒,๐๐๐ บาทต่อเดือน อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้สอนศูนย์การศึกษาอิสลามประจามัสยิด (ตาดีกา)
โดยจัดกิจกรรมทั้งหมด 4 รุ่น ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 482 คน อบรมผู้สอนอิสลามศึกษาศูนย์การศึกษาอิสลามประจา
มัสยิ ด (ตาดี กา) จ านวน 378 คน เพื่ อพัฒนาพัฒนาศักยภาพการจั ดการเรียนรู้อิสลามศึกษา รวมทั้งมีเทคนิ ค
และกระบวนการจัดการเรียนรู้อิสลามศึกษา เพื่อยกกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาระดับชาติด้านอิสลามศึกษา (I-NET)
 จัดโครงการแก้ปัญหาการอ่านออกเขียนได้ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยพัฒนา
ชุดนวัตกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย หลักสูตร 350 ชั่งโมง อ่านออกเขียนได้ จานวน 1 หลักสูตร เพื่อให้เป็น
หลักสูตรต้นแบบในการสอนภาษาไทย ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และพัฒนาครูเพื่อเตรียมความพร้อมด้าน
การสอนภาษาไทย จานวน 4 หลักสูตร ในช่วงปิดภาคเรียน พร้อมทั้งจัดทาคู่มือการสอนปรับควมรู้พื้นฐานภาษาไทย
สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เพื่อเข้าศึกษาต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนา
อิสลามในจังหวัดนราธิวาส ยะลา ปัตตานี และ 4 อาเภอของจังหวัดสงขลา ได้แก่ อาเภอจะนะ เทพา นาทวี สะบ้าย้อย
พร้ อมแบบฝึ กหั ดและแบบทดสอบนั กเรี ยนพร้ อมทั้ งจั ดท าข้ อสอบปรั บความรู้ พื้ นฐาน วิ ชาภาษาไทยช่ วงปิ ด
ภาคการศึกษา โดยทาการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน จานวน 22,363 คน และประเมินผลโครงการเพื่อจัดทา
ข้อมูลไปแก้ไขและพัฒนาในปีการศึกษาต่อไป

๑๐
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 จั ด โครงการพั ฒนารู ปแบบการใช้ อั กขระมลายู ยาวี ใ นจั งหวั ดชายแดนภาคใต้


จัดทาต้นฉบับบัญชีคาภาษามลายูยาวี ในระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนต้นปีที่ 1 - 6 และโรงเรียนมีกรอบคาศัพท์ภาษา
มลายูอักขระยาวีที่สามารถนาไปใช้สอนให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันและเป็นไปตามหลักสูตร จัดทารูปเล่ม จานวน
120 หน้า เพื่อเป็นข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปใช้ประโยชน์ต่อไป โดยรวบรวมคาศัพท์ไว้ทั้งหมด 1,521 คา
ซึ่งขณะนี้ดาเนินการเรียบร้อยแล้ว แยกเป็นระดับชั้นปี ดังนี้ ปีที่ 1 มีจานวนคาภาษามลายูยาวี จานวน 166 คา
ปีที่ 2 มีจานวนคาภาษามลายูยาวี จานวน 250 คา ปีที่ 3 มีจานวนคาภาษามลายูยาวี จานวน 410 คา ปีที่ 4
มีจานวนคาภาษามลายูยาวี จานวน 167 คา ปีที่ 5 มีจานวนคาภาษามลายูยาวี จานวน 315 คา ปีที่ 6 มีจานวน
คาภาษามลายูยาวี จานวน 213 คา ขณะนี้อยู่ระหว่างดาเนินการจัดทาบรรณาธิการและตรวจสอบความถูกต้อง
ด้ านภาษา โดยมี การแต่ งตั้ งผู้ ทรงคุ ณวุ ฒิ เพื่ อช่ วยตรวจสอบ ต้ นฉบั บร่ างที่ ตรวจสอบเสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ ว
และจะดาเนินการเผยแพร่ในเบื้องต้นผ่านเว็บไซต์และจัดส่งไฟล์ในรูปแบบ CD ROM เพื่อเผยแพร่ให้สถานศึกษา
นาไปใช้ต่อไป
 จั ดโครงการพั ฒนารู ปแบบการจั ดการศึ กษาในเขตพั ฒนาพิ เศษเฉพาะกิ จจั งหวั ด
ชายแดนภาคใต้ โดยจัดสรรงบประมาณให้ดาเนินการตามแผนงาน โครงการ ได้แก่ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ในพื้นที่ การพัฒนาสภาพแวดล้อม ได้แก่ การก่อสร้างรั้ว และถนนภายในโรงเรียน การก่อสร้างอาคารเรียน พัฒนา
หมู่บ้านครูแบบยั่งยืน การรักษาความปลอดภัยครูและสถานศึกษา ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนอิสลามศึกษา
ในโรงเรียนของรัฐในจังหวัดชายแดนภาคใต้
 ส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อให้คนชายแดนใต้ทุกช่วงวัย เพื่อให้ได้รับโอกาสทางการศึกษา
อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพทั้งด้านภาษา การเปิดโลกทัศน์ เกษตรธรรมชาติ กีฬาสายสัมพันธ์ การฝึกอาชีพ การพัฒนา
ศักยภาพครู พนักงานราชการ และบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนติดตามและประสานแผนการดาเนินงานให้บรรลุผล
สาเร็จภายใต้โครงการสาคัญ ดังนี้ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาพาสันติสุข มีผู้รับบริการ จานวน 3,031 คน
โครงการเปิดโลกการเรียนรู้ให้ผู้สูงอายุในสังคมพหุวัฒนธรรม มีผู้รับบริการ จานวน 4,239 คน โครงการส่งเสริม
การเรียนรู้เยาวชนคนรักษ์ถิ่น มีผู้รับบริการ จานวน 300 คน โครงการสตรีไทยหัวใจแกร่ง มีผู้รับบริการ จานวน
438 คน โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สู่สถาบันปอเนาะ มีผู้รับบริการ จานวน 5,828 คน โครงการส่งเสริมการเรียนรู้
เกษตรธรรมชาติสู่ การพัฒนาที่ยั่ งยื น มีผู้ รับบริการ จานวน 759 คน การพัฒนาศักยภาพครู พนักงานราชการ
และบุ คลากรทางการศึ กษา กศน. มี ผู้ รั บบริ การ จ านวน 675 คน โครงการฝึ กอาชี พจั งหวั ดชายแดนภาคใต้
ตามแนวทางโรงเรียนพระดาบส มีผู้รับบริการ จานวน 120 คน โครงการติดตามและประสานแผนการดาเนินการ
จัดกิจกรรม กศน. มีการประชุมชี้แจงการดาเนินงาน จานวน 4 ครั้ง และโครงการกีฬาสายสัมพันธ์เครือข่ายเยาวชน
นอกโรงเรียนสร้างสันติสุข มีผู้รับบริการ จานวน 1,028 คน
 จัดหลักสูตรมาตรฐานอิสลามศึกษา ระดับตอนต้น (อิบติดาอียะห์ ปีพุทธศักราช....)
ซึ่งสานักงานศึกษาธิการภาค 12 ร่วมกับศูนย์ประสานงานชมรมตาดีกา 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้จัดทาหลักสูตร
ศูนย์การศึกษาอิสลามประจามัสยิด (ตาดีกา) ขึ้น ขณะนี้อยู่ระหว่างที่สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
นาเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการลงนาม เพื่อประกาศใช้หลักสูตร

๑๑
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 การเสริมสร้างโอกาสทางการศึกษา
 จัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมในโรงเรียนขนาดเล็ก จานวน 365 แห่ง
ขณะนี้อยู่ระหว่างการขยายไปสู่โรงเรียนขนาดกลาง จานวน 782 แห่ง
 จั ดสรรทุ นการศึ กษาระดั บปริ ญญาเอก เพื่ อผลิ ตและพั ฒนาอาจารย์ และบุ คลากร
ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐบาลที่ตั้งอยู่ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 5 จังหวัด ในสาขาที่รองรับ
การพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจสามฝ่ าย ประกอบด้วย อินโดนี เซีย มาเลเซี ย และไทย จ านวน 30 ทุน โดยมีผล
การดาเนินการ ดังนี้ จัดสรรทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอก จานวน 270 ทุน จาแนกเป็นผู้รับทุนที่อยู่ระหว่างศึกษา
จานวน 227 ทุน ผู้รับทุนที่สาเร็จการศึกษา จานวน 43 ทุน ประกอบด้วย ผู้รับทุนหลักสูตรปริญญาเอกในประเทศ
จานวน 19 ราย ผู้รับทุนหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในและต่างประเทศ จานวน 19 ราย ผู้รับทุนหลักสูตรปริญญาเอก
ต่างประเทศ จานวน 5 ราย และอยู่ระหว่างจัดสรรทุนโครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากร สาหรับสถาบันอุดมศึกษา
ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจาปี 2558 จานวน 30 ทุน
 สนับสนุนทุนอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยสนับสนุน
ทุนการศึกษา (ค่าครองชีพ) ระดับอุดมศึกษา (ปริญญาตรี) ให้แก่เยาวชนที่มีภูมิลาเนาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
จังหวัดชายแดนภาคใต้ ทุนละ 40,000 บาท/ปีการศึกษา โดยมีการดาเนินการกิจกรรม ดังนี้
 กลุ่ มที่ ๑ นั กเรี ยนที่ ไม่ สามารถสอบเข้ าศึ กษาในสถาบั น อุ ดมศึ กษา โดยขอรั บ
การสนับสนุนที่นั่งเป็นกรณีพิเศษจากสถาบันอุดมศึกษา จานวน 69 แห่ง มอบทุนค่าเล่าเรียนตลอดหลักสูตร จานวน
1,108 คน และส านั กงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาร่วมกับมหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ด าเนิ นการรั บสมั ครและคั ดเลื อกผู้ รั บทุ น จ านวน 319 คน และกลุ่ มที่ ๒ นั กเรี ยนที่ สามารถสอบเข้ าศึ กษา
ในสถาบันอุดมศึกษา มีนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกและได้รับทุนแล้ว จานวน 125 คน ทั้งนี้ ได้โอนเงินทุนการศึกษา
ให้แก่ผู้รับทุนผ่านสถาบันอุดมศึกษาเรียบร้อยแล้ว จานวน 1,2๔๐ คน
 จัดโครงการปัจฉิมนิเทศเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่อาชีพในพื้นที่ และสร้างเครือข่าย
ผู้รับทุนโครงการทุนอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ สาหรับนักศึกษาทุนฯ รุ่นที่ 3 รุ่นที่ 4 และรุ่นที่
5 ที่จะสาเร็จการศึกษาในปี การศึกษา 2557 โดยมีผู้รับทุนที่เข้าร่วมโครงการดังกล่าว จานวนทั้งสิ้ น 363 คน
จากสถาบันอุดมศึกษา 70 แห่ง
 รับสมัครนิสิต นักศึกษาที่มีภูมิลาเนาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ 5 จังหวัดชายแดน
ภาคใต้ ที่กาลังศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕57 ที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ และมีความประพฤติดี
มีผลการเรียนดี และศึกษาในสาขาวิชาขาดแคลนของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมีผู้สมัครขอรับทุนที่มีคุณสมบัติ
ตามประกาศรับสมัครและมีสิทธิสอบสัมภาษณ์ จานวน 605 คน ทั้งนี้ ได้ประกาศรายชื่อผู้ได้รับทุนเรียบร้อยแล้ว
เมื่อเดือนเมษายน ๒๕๕๘
 จั ดโครงการพั ฒนาผู้ บริ หารโรงเรี ยนและครู โรงเรี ยนเอกชน สถาบั นศึกษาปอเนาะ
ศูนย์การศึกษาอิสลามประจามัสยิด (ตาดีกา) เข้าศึกษาต่อหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตบริหารและประกาศนียบัตร
บัณฑิตวิชาชีพครู ในมหาวิทยาลัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
แก่ครูในพื้นที่ เข้าศึกษาหลักสูตรต่อประกาศนียบัตรบัณฑิตบริหารและประกาศนียบัตรวิชาชีพครูในมหาวิทยาลัย
ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยร่วมมือกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ และมหาวิทยาลัยทักษิณ

๑๒
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 จั ดกิ จกรรมค่ ายนั กเรี ยนทุ นอาชี วศึ กษาจั งหวั ดชายแดนภาคใต้ เพื่ อสร้ างความรู้
ความเข้าใจแก่นักเรียนทุนอาชีวศึกษาในการอยู่ร่วมกันภายใต้วัฒนธรรมที่หลากหลาย สร้างความสมานฉันท์ เทิดทูน
พระมหากษัตริย์ และส านึกรักบ้านเกิด ตลอดจนสร้างความรัก ความสามัคคีในกลุ่มนักเรียนทุน เพื่อประโยชน์
ทางวิชาการ และความร่วมมือช่วยเหลือกันต่อไปในอนาคต ทั้งนี้ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้จัดสรร
ทุนการศึกษาระดับประกาศนี ยบั ตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ให้ กับนั กเรียนกลุ่ มพิเศษ
ในเขตอาเภอห่างไกลในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มากว่า 5 ปีแล้ว โดยในปี พ.ศ. 2558 ได้มีการคัดเลือกผู้รับทุน
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ จานวน 300 คน แบ่งเป็นทุนไป - กลับในพื้นที่ และทุนพักประจา (จัดหอพัก) ทุนละ
29,000 บาท ทุนต่างพื้นที่ ทุนละ 35,000 บาท และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จานวน 100 คน แบ่งเป็น
ทุนไป - กลับในพื้นที่ และทุนต่างพื้นที่ ทุนละ 40,000 คน เข้าศึกษาในสถานศึกษาอาชีวศึกษาในพื้นที่พิเศษจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ 15 แห่ง และทุนต่างพื้นที่อีก 4 แห่ง ได้แก่ วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการแม่เมาะ วิทยาลัย
เทคโนโลยีและการต่อเรือนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี และวิทยาลัยเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์พังงา
ทั้งนี้ ได้มีพิธีปิดและมอบทุนการศึกษาฯ เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ๒๕58
 เสริมสร้างขวัญกาลังใจ และช่วยเหลือเยียวยา
 ฟื้นฟูสถานศึกษาที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ลอบวางเพลิง โดยจัดสรรงบประมาณ
จ านวน 23 ล้ านบาท เพื่อก่อสร้ างอาคารเรี ยนถาวรใหม่ จ านวน 5 หลั ง ให้ แก่ สถานศึ กษาที่ได้รั บผลกระทบ
จากเหตุ การณ์ลอบวางเพลิ ง ณ อาเภอทุ่งยางแดง และอาเภอมายอ จังหวัดปัตตานี โดยมีทหารช่างกองทัพบก
เป็นกาลังหลักในการก่อสร้าง และนักเรียน นักศึกษาอาชีวศึกษาที่มีจิตอาสาไปช่วยสร้างอาคารเรียน รวมทั้งจัดหาสื่อ
อุปกรณ์
 มอบทุนการศึกษารายปีต่อเนื่องเพื่อช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนของครอบครัว
ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ กาหนดให้ช่วยเหลื อทายาทผู้ที่ได้รับผลกระทบฯ กรณีที่เสียชีวิต
บาดเจ็บสาหัส และทุพพลภาพให้ได้รับการช่วยเหลือทุนการศึกษาตามระบบชั้นการศึกษา ได้แก่ โดยแบ่งเป็นระดับ
การศึกษานอกระบบและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5,000 บาทต่อคน ระดับอนุบาลและประถมศึกษา 6,000 บาทต่อคน
ระดับมัธยมศึกษา 10,000 บาทต่อคน และระดับอุดมศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง อนุปริญญา และปริญญาตรี
20,000 บาทต่อคน กาหนดให้การช่วยเหลือทุนการศึกษาดังกล่าว ตั้งแต่เข้ารับการศึกษาไปจนจบการศึกษาระดับ
ปริญญาตรีภายในประเทศ และมีอายุไม่เกิน 25 ปี และได้มอบหมายให้ผู้อานวยการศูนย์ประสานงานและบริหาร
การศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศปบ.จชต.) เป็นหัวหน้าคณะทางาน ทั้งนี้ มีพิธีมอบทุนการศึกษารายปีต่อเนื่อง
ให้ กับทายาทผู้ ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จานวน ๒๗๖ ทุน
มอบทุนการศึกษารายปีต่อเนื่องให้กับทายาท ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ ซึ่งมีภูมิลาเนาอาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และจังหวัดใกล้เคียง เช่น ชลบุรี ราชบุรี เพชรบุรี
ประจวบคีรีขันธ์ จานวน 121 คน
 จัดงานราลึกคุรุวีรชนชายแดนใต้ ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม ๒๕58 โดยมีผู้บริหาร
กระทรวงศึกษาธิการ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เข้าร่วมพิธี
ณ กองพลทหารราบที่ 15 ตาบลบ่อทอง อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ซึ่งการจัดงานครั้งนี้ประธานสมาพันธ์ครู
3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จัดขึ้นเพื่อร่วมอุทิศส่วนกุศลและราลึกถึงคุณงามความดีของข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาที่เสียชีวิตจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ จานวน 179 คน และเพื่อสร้างความรัก
ความสามัคคี เสริมสร้างขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติงานของครูในพื้นที่

๑๓
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 ยกระดับความสามารถและอัจฉริยภาพทางด้านกีฬา
 จั ดโครงการ “สานฝั นการกี ฬาสู่ ระบบการศึ กษาจั งหวั ดชายแดนภาคใต้ ในพื้ นที่
๔ จังหวัดชายแดนภาคใต้” เพื่อสร้างแรงจูงใจให้เกิดความรักความสามัคคีโดยดาเนินการ แบ่งออกเป็น ๓ ระยะ ดังนี้
๑) ระยะสั้น จัดมหกรรมกีฬาระดับอาเภอทุกพื้นที่ช่วงปิดเทอมฤดูร้อน ตั้งแต่เดือนมีนาคม - พฤษภาคม ๒๕๕๘
๒) ระยะกลาง จัดตั้งโรงเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ - กีฬา ซึ่งปัจจุบันได้ดาเนินการแล้วในภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๘
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ณ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี อาเภอเมืองยะลา
จังหวัดยะลา เป็นแห่งแรก มีผู้ผ่านการคัดเลือก 57 คน ทั้งนี้ นักเรียนจะได้รับทุนการศึกษา (ทุนภูมิทายาท) จานวน
40,000 บาทต่อคนต่อปี ตลอดระยะเวลา 3 ปี ขณะนี้อยู่ระหว่างดาเนินการขยายผล ณ โรงเรียนรือเสาะชนูปถัมภ์
อาเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส เป็นแห่งที่ ๒ ซึ่งจะเร่งเปิดให้ทันภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๘ ภายในเดือนตุลาคม ๒๕๕๘
และ ๓) ระยะยาว จะดาเนิ นการต่อยอดในการรับนั กเรียนที่จบการศึกษา มาเข้าศึกษาต่ อระดับอุดมศึกษาและ
มอบทุนการศึกษาทั้งในมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน
 จัดการแข่งขัน “ฟุตบอล กศน.คัพ 5 จังหวัดชายแดนใต้” และกีฬาพื้นบ้านในระดับ
ตาบล อาเภอ และจังหวัด และระดับกลุ่มสานักงาน กศน.จังหวัด ระหว่างเดือนธันวาคม ๒๕57 – เมษายน ๒๕58
โดยมีพิธีปิดการแข่งขันฯ เมื่อวันที่ 24 เมษายน ๒๕58 และจัดการแข่งขันกีฬา “โครงการสานฝันการกีฬา สู่ระบบ
การศึกษาจังหวัดชายแดนใต้” ระหว่างเดือนมีนาคม – เมษายน ๒๕58 โดยมีพิธีปิดการแข่งขันฯ เมื่อวันที่
27 เมษายน ๒๕58
๓. เสริมสร้างความร่วมมือและความสัมพันธ์ด้านการศึกษากับนานาประเทศ
 ให้ การต้ อนรั บและหารื อประเด็ นความร่ วมมื อด้ านการศึ กษากั บผู้ แทนประเทศต่ าง ๆ
เพื่อแลกเปลี่ยนความร่วมมือทางการศึกษา และนากลไกทางการทูตแบบบูรณาการมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
แก่การพัฒนาการศึกษาของประเทศไทย
 ให้การต้อนรับนายหลี บุนค้า (H.E. Mr. Ly Bounkham) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว ในโอกาสเข้ารับตาแหน่งหน้าที่ใหม่ ในการนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ได้เสนอให้มีการทบทวนเพื่อปรับปรุงแก้ไขบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการศึกษาไทย – ลาว
 ให้การต้อนรับนางฉั่ว ซิ่ว ซาน (H.E. Mrs. Chua Siew San) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐ
สิงคโปร์ ประจ าประเทศไทย ในโอกาสเข้าเยี่ยมคารวะและหารือประเด็นความร่วมมือด้ านการศึ กษา ในการนี้
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการไทยได้เสนอขยายความร่วมมือโรงเรียนคู่พัฒนา (Partner Schools) ซึ่งปัจจุบัน
มีอยู่ ฝ่ายละ ๑๐ แห่ง นอกจากนี้ เอกอัครราชทูตประจาสิงคโปร์ประจาประเทศไทยได้เรียนเชิญรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการเดินทางไปเยือน Institute of Technical Education เพื่อศึกษารูปแบบแนวทางและการดาเนินงาน
 ให้การต้อนรับนายชิเกะกะซุ ซะโตะ (H.E. Mr. Shigekazu Sato) เอกอัครราชทูตญี่ปุน
ประจาประเทศไทย ในโอกาสเข้าเยี่ยมคารวะและหารือความร่วมมือด้านการศึกษา ในการนี้ เอกอัครราชทูตญี่ปุ่น
ประจาประเทศไทยขอความร่วมมือในการสนับสนุนการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยญี่ปุ่นที่เข้ามาจัดตั้งสานักงาน
ในประเทศไทย ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการยินดีให้การสนับสนุนดังกล่าว
 ให้การต้อนรับนายหนิง ฟูุขุย (H.E. Mr. Ning Fukui) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐ
ประชาชนจีนประจาประเทศไทย ในโอกาสเข้าเยี่ยมคารวะและหารือความร่วมมือด้านการศึกษากับรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึ กษาธิการ ทั้งนี้ ประเทศไทยได้ รั บการสนั บสนุ นจากจี นในการส่ งครูอาสาสมั ครชาวจี นจานวนมาก
มาสอนภาษาจีนในสถานศึกษาของไทยอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนช่วยลดปัญหาในการจัดหาครูที่มีความรู้ด้านภาษาจีน
๑๔
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

มาสอนได้มาก ถึงแม้ว่าในปี พ.ศ. ๒๕57 จะมีการส่งครูอาสาสมัครชาวจีนเข้ามาในประเทศไทยกว่า 1,800 คน


แต่ก็ยังไม่เพียงพอต่อจานวนสถานศึกษาที่ต้องการเปิดสอนภาษาจีน เนื่องจากมีนักเรียนให้ความสนใจเรียนภาษาจีน
เป็นจานวนมาก นอกจากนี้ เอกอัครราชทูตฯ มีความเห็นสอดคล้องว่า ควรเร่งการผลิตและพัฒนาบุคลากรที่มีความรู้
ทีเ่ กี่ยวข้องกับการสร้างรถไฟรางคู่ ไปพร้อมกับการดาเนินการสร้างรถไฟรางคู่
 ให้การต้อนรับนายมาร์ก แอนดรูว์ เจฟฟรีย์ เคนต์ (H.E. Mr. Mark Andrew Geoffrey
Kent) เอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจาประเทศไทย และผู้แทนจากสถาบันบริติช เคานซิล ในโอกาสเข้าเยี่ยม
คารวะและหารือความร่วมมือด้านการศึกษา ในการนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้เสนอให้มีการพิจารณา
เรื่องการขยายระยะเวลาในการเป็นครูผู้ช่วยสอน (Thailand English Teaching Program) และคัดเลือกนักศึกษา
ที่จะเข้าร่วมโครงการฯ โดยเน้นนักศึกษาที่กาลังศึกษาหรือจบการศึกษาในสาขาศึกษาศาสตร์ ครุศาสตร์ และการสอน
เป็นหลัก
 ให้ การต้ อนรั บนายนี มา ซั งเกย์ เชนโป (H.E. Ngeema Sangay Chenpo)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและทรัพยากรมนุษย์ของราชอาณาจักรภูฏาน ในโอกาสเข้าเยี่ยมคารวะและหารือ
ความร่วมมือด้านการศึกษา ทั้งนี้ กระทรวงแรงงานและทรัพยากรมนุษย์ของภูฏาน และกระทรวงศึกษาธิการไทย
มีการด าเนิ นความร่ วมมื อด้ านการศึ กษา โดยเฉพาะการแลกเปลี่ ยนครูผู้ สอนและมีความร่ วมมื อกั บส านั กงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ขณะนี้ มีครูอาสาสมัครชาวภูฏานมาสอนภาษาอังกฤษในสถาบันอาชีวศึกษา จานวน
160 คน
 ให้การต้อนรับนางจอสลิน เอส. บาทูน-การ์เซีย (H.E. Mrs. Jocelyn S. Batoon -
Garcia) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ประจาประเทศไทย ในโอกาสพ้นวาระการดารงตาแหน่งและหารือ
ความร่วมมือด้านการศึกษา โดยเฉพาะเรื่องบันทึกข้อตกลงด้านการแลกเปลี่ยนครูไทย - ฟิลิปปินส์
 ให้การต้อนรับนายซีมอน โรเดด (H.E. Mr. Simon Roded) เอกอัครราชทูตรัฐอิสราเอล
ประจ าประเทศไทย ในโอกาสเข้าเยี่ ยมคารวะและหารือความร่ วมมื อด้ านการศึ กษา ในการนี้ รั ฐมนตรี ว่ าการ
กระทรวงศึ กษาธิ การ ให้ ความเห็ นต่ อข้ อเสนอการรั บประกั นการมี งานท าของผู้ ที่ ได้ รั บทุ นของอิ สราเอล
หากเป็นทุนการศึกษาแบบไม่มีเงื่อนไข ผู้จบการศึกษาจะมีอิสระในการเลือกทางานกับภาครัฐหรือเอกชนได้
 ให้การต้อนรับนายเปเตอร์ ยาค็อบ (H.E. Mr. Peter Jakab) เอกอัครราชทูตฮังการี
ประจาประเทศไทย ในโอกาสเข้าเยี่ยมคารวะและหารือความร่วมมือด้านการศึกษา ทั้งนี้ รัฐบาลฮังการีให้การสนับสนุน
ทุนการศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโท รวมทั้งเสนอให้มีการบรรจุภาษาฮังการีเป็นวิชาเอกในสถาบันอุดมศึกษา
ของไทย
 ให้การต้อนรับนายมุน ซงโม (H.E. Mr. Mun Song Mo) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) ประจาประเทศไทย ในโอกาสเข้าเยี่ยมคารวะและหารือความร่วมมือ
ด้านการศึกษา ซึ่งระบบการศึกษาระหว่างสองประเทศมีความคล้ายคลึงกัน ได้แก่ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี
โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ยังมีนักศึกษาจากเกาหลีเหนือเดินทางเข้ามาเรียนในมหาวิทยาลัยไทย แต่ยังมีจานวนน้อย
ในการนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ขอให้เอกอัครราชทูตฯ ช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้รัฐบาลเกาหลีเหนือส่ง
นักศึกษามาเรียนในประเทศไทยให้มากขึ้น
 ให้การต้อนรับศาสตราจารย์ ดร. ฟาม วู ลุน (H.E. Prof. Dr. Pham Vu Luan)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิ การและฝึกอบรมแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม และอดีตประธานสภา
รัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asian Ministers of Education Council : SEAMEC)
ในโอกาสเดินทางเยือนประเทศไทย เพื่อเยี่ยมชมศูนย์ระดับภูมิภาคขององค์การซีมีโอ จานวน 3 แห่ง ได้แก่ ศูนย์ระดับ
๑๕
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

ภูมิภาคว่าด้วยการอุดมศึกษาและการพัฒนา (SEAMEO Regional Centre for Higher Education and Development :


RIHED) ศูนย์ระดับภูมิภาคว่าด้วยเวชศาสตร์เขตร้อนและสาธารณสุข (SEAMEO Regional Tropical Medicine and
Public Health Network : TROPMED) และศูนย์ระดับภูมิภาคว่าด้วยโบราณคดีและวิจิตรศิลป์ของซีมีโอ (SEAMEO
Regional Centre for Archaeology and Fine Arts : SPAFA)
 ให้การต้อนรับ ดร.กวาง โจ คิม (Dr. Gwang - Jo Kim) ผู้อานวยการยูเนสโก กรุงเทพฯ
เนื่องในโอกาสเข้าเยี่ยมคารวะและหารือเกี่ยวกับการซ่อมแซมอาคารที่ตั้งของสานักงานยูเนสโก กรุงเทพฯ และการจัด
ประชุมโลกด้านการศึกษา (World Education Forum) ณ สาธารณรัฐเกาหลี
 ให้การต้อนรับนายลุยส์ มานูเอล บาไรรา เดอ โซซา (H.E. Mr. Luis Manuel Barreira
de Sousa) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐโปรตุเกสประจาประเทศไทย เนื่องในโอกาสเข้าเยี่ยมคารวะและหารือ
ความร่วมมือด้านการศึกษา โดยเอกอัครราชทูตฯ ต้องการให้มีการส่ งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน โดยเฉพาะ
ในระดับอุดมศึกษาที่ต้องการให้มีการสนับสนุนการเรียนการสอนภาษาโปรตุเกสในประเทศไทยให้มากขึ้น การสร้าง
เครือข่าย และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของอธิการบดี คณบดีมหาวิทยาลัยของทั้ง ๒ ประเทศ
 ให้การต้อนรับนายชอน แจ-มัน (H.E. Mr. Jeon Jaeman) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐ
เกาหลี (เกาหลีใต้) ประจาประเทศไทย เนื่องในโอกาสเข้าเยี่ยมคารวะและหารือความร่วมมือด้านการศึกษา สาหรับ
การจัดทาบันทึกข้อตกลงระหว่างกระทรวงศึกษาธิการของเกาหลีใต้กับกระทรวงศึกษาธิการไทย ซึ่งขณะนี้ฝ่ายไทยได้
ส่งร่างบันทึกข้อตกลงดังกล่าวไปที่กระทรวงการต่างประเทศเพื่อตรวจสอบเนื้อหาและความถูกต้อง หากกระทรวง
การต่างประเทศไม่มีข้อขัดข้องก็จะนาเสนอที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนดาเนินการ
ในขั้นต่อไป
 ให้การต้อนรับนายเบร็นดัน รอเจอรส์ (H.E. Mr. Brendan Rogers) เอกอัครราชทูต
สาธารณัฐไอร์ แลนด์ ประจาประเทศไทย เนื่ องในโอกาสเข้าเยี่ยมคารวะและหารื อความร่วมมือด้านการศึกษา
และลงนามในบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านการศึกษาระหว่างกระทรวงศึกษาธิการแห่งราชอาณาจักรไทย
และกระทรวงศึ กษาธิ การและทั กษะของไอร์ แลนด์ เพื่ อแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู้ ด้ านวิ ชาการ และความเชี่ ยวชาญ
ด้ านการศึ กษาในสาขาต่ าง ๆ ภายใต้ ข้ อตกลงที่ ระบุ ไว้ ในบั นทึ กความเข้ าใจ อาทิ การฝึ กอบรมภาษาอั งกฤษ
การแลกเปลี่ยนครู คณาจารย์ นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนนักวิจัย การรับรองคุณภาพทางการศึกษา และการเทียบโอน
หน่วยกิตในระดับอุดมศึกษา การจัดโครงการฝึกอบรมเทคโนโลยีสารสนเทศ และการศึกษาผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
ซึ่งครอบคลุมการศึกษาเฉพาะทางด้านต่าง ๆ
 ให้การต้อนรับนายฮาร์ช วาร์ตัน ชริงลา (H.E. Mr. Marsh Vardhan Shringla)
เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอินเดียประจาประเทศไทย ได้เข้าเยี่ยมคารวะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ในโอกาสเข้ารับตาแหน่งใหม่และหารือความร่วมมือด้านการศึกษา โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้กล่าวถึง
ในประเด็นของความร่วมมือด้านการศึกษาได้มีความร่วมมือหลายลักษณะ เช่น การให้ทุนการศึกษาของรัฐบาลอินเดีย
ปีละ 40 ทุน การแลกเปลี่ยนระหว่างอาจารย์ และนักศึกษาระหว่างสองประเทศ การจัดตั้งศูนย์อินเดียศึกษา
ในมหาวิทยาลั ยของไทย ซึ่ งนั บว่าเป็ นเรื่องน่ายิ นดี และเป็นประโยชน์ ต่อการกระชับความสัมพั นธ์ระหว่ างกั น
นอกจากนี้ ยังมีการลงนามในบันทึกความตกลงด้านการศึกษาไทย - อินเดีย ถือเป็นอีกช่องทางหนึ่งของการแสวงหา
ความร่วมมือระหว่างกัน ซึ่งมีโครงการความร่วมมือระดับทวิภาคีกับประเทศไทยอยู่หลายโครงการ นอกจากนี้ รัฐบาล
อินเดียจะเชิญนายกรัฐมนตรีของไทยไปเยือนสาธารณรัฐอินเดียในช่วงปลายปี พ.ศ. 2558 หรือต้นปี พ.ศ. 2559
ดังนั้น หากกระทรวงศึกษาธิการของไทยและอินเดียจะจัดประชุมคณะทางานร่วม (Joint Working Group) ช่วงก่อน
เวลาดั งกล่าวได้ก็จะเป็ นประโยชน์ ต่อการจั ดเตรียมประเด็นส าหรั บผู้นาทั้ง ๒ ประเทศที่จะได้หยิ บยกขึ้นหารือ
๑๖
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

เพื่อสานต่อความร่วมมือระหว่างกันต่อไป และเห็นด้วยที่ทั้ง ๒ ประเทศจะได้พิจารณาจัดประชุมคณะทางานร่วม


ด้านการศึกษาในโอกาสอันใกล้นี้ เพื่อที่จะหารือเกี่ยวกับการขยายความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งการส่งเสริมและดูแล
นักเรียนไทย ในอินเดียและนักเรียนอินเดียในประเทศไทยให้ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ จะได้เสนอช่วงเวลาที่เหมาะสมให้สถาน
เอกอัครราชทูตอินเดียทราบต่อไป
 ให้การต้อนรับนายรูเบ็น เลฟเวอร์มอร์ (H.E. Mr. Reuben Levermore) เอกอัครราชทูต
นิ วซี แลนด์ ประจ าประเทศไทย ได้ เข้ าเยี่ ยมคารวะและหารื อความร่ วมมื อด้ านการศึ กษากั บรั ฐมนตรี ว่ าการ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยดาเนินความสัมพันธ์ร่วมกันมาอย่างยาวนานในหลายด้าน ทั้งนี้ รัฐบาลนิวซีแลนด์ได้ให้
การสนับสนุนด้านการศึกษาแก่ไทยมาอย่างต่อเนื่องผ่านกรอบความตกลงด้านการศึกษาที่ได้ลงนามร่วมกันมาแล้ว
จานวน 2 ฉบับ อาทิ โครงการแลกเปลี่ยนด้านภาษาและวัฒนธรรมของนักเรียนไทย และนิวซีแลนด์ การมอบทุนศึกษา
ต่อปริญญาโทด้านการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ ๒ให้แก่ครูไทย รวมถึงการจัดการประชุมคณะทางานร่วมด้าน
การศึกษา (Joint Working Group) ซึ่งได้จัดขึ้นมาแล้ว จานวน 2 ครั้ง โดยได้ผลัดกันเป็นเจ้าภาพ และครั้งนี้
กระทรวงศึกษาธิการไทยจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมดังกล่าว ซึ่งขณะนี้มีจานวนนักเรียนนั กศึกษาไทยกาลังศึกษา
อยู่ในประเทศนิวซีแลนด์ ในทุกระดับการศึกษา จานวนกว่า 3,000 คน และกระทรวงศึกษาธิการกาลัง เร่งดาเนินการ
ปฏิรูปการศึกษาทุกระดับให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยพยายามที่จะดาเนินการให้ประสบผลสาเร็จ และจะเน้นการ
ปฏิรู ปที่ตัวนักเรียนและการเรี ยนการสอนในห้องเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับอาชีวศึกษาเพื่อผลิ ตบุคลากร
ป้อนเข้าสู่ตลาดอุตสาหกรรม
 หารื อร่ วมกั บรั ฐมนตรี ว่ าการกระทรวงศึ กษาธิ การของประเทศสมาชิ กอาเซี ยน
ประกอบด้วย
 หารือร่วมกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและการอุดมศึกษามาเลเซีย
โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย ได้กล่าวถึง การอาชีวศึกษาของไทย ที่เน้นความร่วมมือกับภาคเอกชน
ที ท าให้ เกิ ดความก้ าวหน้ า การผลิ ตคนให้ เป็ นไปตามความต้ องการของภาคเอกชน ในลั กษณะ cooperate
programme ในการนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและการอุดมศึกษามาเลเซีย ได้ยืนยันท่าทีของมาเลเซีย
ที่จะร่วมมือกับประเทศไทย ทั้งในกรอบความร่วมมือทวิภาคี ความร่วมมือภายใต้กรอบ SEAMEO และความร่วมมือ
ภายใต้กรอบ UNESCO ในการพัฒนาการศึกษาเพื่อประโยชน์ร่วมกันต่อไป
 หารื อ ร่ ว มกั บ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารสาธารณรั ฐ สิ ง คโปร์
โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการสาธารณรัฐสิงคโปร์ ได้กล่าวถึงแนวทางความร่วมมือทางด้านการศึกษากับไทย
ในการสนับสนุนให้โรงเรียนของสิงคโปร์ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับประเทศในอาเซียนมากขึ้น ในการนี้รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการไทย ได้กล่าวถึงประเด็นเร่งด่วนด้านการศึกษาที่รัฐบาลให้ความสาคัญ คือ การแก้ปัญหาความ
เหลื่อมล้าทางการศึกษา การขาดโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ซึ่งขณะนี้กระทรวงศึกษาธิการของไทยแก้ปัญหา
โดยการใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมที่จะส่งสัญญาณจากโรงเรียนที่มีความพร้อมไปสู่โรงเรียนในชนบทให้ได้เรียน
ร่ วมกั น อี กปัญหาหนึ่ ง คือ การพัฒนาครูให้ มีคุ ณภาพสู ง ซึ่ งอาจจะต้ องเริ่มตั้งแต่การผลิ ตครู ในกรณีดังกล่าว
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการสิงคโปร์ ได้แลกเปลี่ ยนประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหาความเหลื่ อมล้ าทาง
การศึกษาโดยการส่งเสริมให้เด็กใช้ Internet ในการเรียนอย่างทั่วถึง ในด้านการผลิตครู สิงคโปร์มีสถาบันผลิตครู
คือ NIE เพื่อผลิ ตครู ที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ระบบที่มีอยู่คือครูต้นแบบและครูแห่งชาติ โดยครูต้นแบบของ
สถานศึกษาจะได้รับการพัฒนาเป็นครูแห่งชาติ ในขณะที่ครูแห่งชาติ จะทางานพัฒนาการศึกษาได้ทั่วประเทศ ซึ่งเป็น
ที่ยอมรับในระดับชาติ โรงเรียนจะต้องจัดสรรเวลาสาหรับการสนทนาหารือกันของครูอย่างน้อย 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
เพื่อยกระดับการศึกษาของสถานศึกษา นอกจากนี้ผู้บริหารการศึกษาก็จะต้องได้รับการพัฒนาด้วย ทั้งนี้ สิงคโปร์ยินดี
๑๗
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

ทีจ่ ะร่วมมือแลกเปลี่ยนกับประเทศไทย หากประเทศไทยสนใจในเรื่องดังกล่าว ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ


ของไทย เห็นควรที่จะให้มีการหารือร่วมกันในระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสของทั้ง ๒ ประเทศ
 หารื อกั บรั ฐมนตรี ว่ าการกระทรวงศึ กษาธิ การและวั ฒนธรรมสาธารณรั ฐ
อินโดนีเซีย สาหรับประเด็นความร่วมมือด้านการศึกษา มีการแลกเปลี่ยนระหว่างโรงเรียนคู่พัฒนา (Sister schools)
การให้ ทุนการศึกษา แก่นั กเรียนไทยไปเรี ยนที่ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
และวัฒนธรรมสาธารณรัฐอินโดนีเซีย กล่าวว่า การให้ทุนของรัฐบาลอินโดนีเซียเป็นเสมือนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ อยากขยายความร่วมมือระดับมัธยมศึกษาโดยเฉพาะการอาชีวศึกษา ให้เกิดความร่วมมือ
ระหว่างกันมากขึ้นทางด้านการท่องเที่ยวและการเกษตร รวมทั้งการแลกเปลี่ยนครูในสาขาดังกล่าว ในเรื่องการสอน
ภาษาบาฮาซาอินโดนีเซียในสถานศึกษาของไทย อินโดนีเซีย มีความพร้อมที่จะช่วยเหลือในเรื่องดังกล่าว นอกจากนี้
เห็นว่าควรมีการรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านวิชาชีพระหว่างกันในอาเซียน สาหรับการต่อยอดของความร่วมมือ
ในฐานะสมาชิกซีมีโอ ควรมีการเสริมสร้ างสมรรถนะการทางานร่วมกันด้านดิจิ ทัล ซีมีโอควรจะมีเวทีที่จะหารือ
ในการเตรี ยมความพร้อมและลดช่ องว่างทางการศึกษา หาทางสิ่ งเสริ มครูให้ มีความพร้อมในการเรียนรู้ ดิจิ ทั ล
นอกเหนือจากการสอนหนังสือในห้องเรียน การพัฒนาครูด้านดิจิทัลรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการไทย กล่าวว่า
ทุกประเทศที่มีโอกาสหารือกันต่างกล่าวถึงการพัฒนาเด็กให้เรียนรู้ด้านอาชีวมากขึ้น เพื่อผลิตคนให้ทันต่อการพัฒนา
ของประเทศ การพัฒนาของซีมีโอจึงควรสร้างความมั่นใจที่จะส่งเสริมการเรียนด้านอาชีวศึกษาให้มากขึ้น ส่วนเรื่อง
การเรียนด้วยดิจิทัลต้องยอมรับว่าการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีสาหรับพื้นที่ห่างไกลนับว่ามีความสาคัญ ซึ่งในเรื่องนี้
กระทรวงศึกษาธิการของไทยพยายามใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการเรียนการสอน และการพัฒนาครู จึงเห็นด้วย
ที่ต่อไปซีมีโอควรมีเวทีหารือรายละเอียดเกี่ยวกับการนาดิจิตอบไปใช้ในการเรียนการสอนสาหรับประเทศใหม่ ๆ
มากขึ้น โดยควรเป็นเรื่องที่เจ้าหน้าที่ระดับสูงควรนาไปหารือกัน
 หารือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการสาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์ – เลสเต
โดยในอนาคตสาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์ – เลสเต กาลังจัดตั้งโรงเรียนโพลีเทคนิค แต่ยังขาดบุคลากรจึงมีความ
สนใจที่จะขอความร่วมมือจากประเทศไทย โดยจะทาเป็นข้อเสนอส่งผ่านสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ติมอร์ – เลสเต ประจาประเทศไทย อย่างเป็นทางการต่อไป ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย เห็นควรให้
มีการหารือระหว่างเจ้าหน้าที่ระดับสูง โดยมอบหมายให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และรองปลัดกระทงศึกษาธิการเป็น
ผู้รับผิดชอบโดยตรง
 ให้การต้อนรับนายอิสมาเอ็ล ฮาซนีดาร์ (Mr. Ismail Haznedar) นายกยุวสมาคม
นานาชาติ (Junior Chamber International : JCI) เนื่องในโอกาสเข้าเยี่ยมคารวะและหารือความร่วมมือด้าน
การศึกษาสาหรับยุวสมาคมแห่งประเทศไทย (JCI Thailand) มีการดาเนินการแบ่งเป็น 4 สาขาหลัก ได้แก่ กรุงเทพฯ
สมุทรปราการ สมุทรสงคราม และหาดใหญ่ ในอดีต JCI Thailand มีมากกว่า 60 สาขา แต่ปัจจุบันลดลงเหลือเพียง
4 สาขา และมีจานวนสมาชิกกว่า 80 คน เนื่องจากปัญหาการขาดช่วงของสมาชิก กล่าวคือ ผู้ที่มีอายุมากกว่า 40 ปี
จะถือเป็นผู้เกษียณจากการเป็นสมาชิก ทาให้จานวนสมาชิกลดลง และไม่สามารถหาผู้ที่มีอายุระหว่าง 18 - 40 ปี
เข้ามาเป็นสมาชิ กได้ในทันที ขณะนี้ JCI Thailand อยู่ระหว่ างการดาเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่ าว โอกาสนี้
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้กาลั งใจและเอาใจช่วย JCI ในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งรัฐบาล
และกระทรวงศึกษาธิการก็มีความยินดีที่จะให้การสนับสนุนกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ การสร้างเยาวชน
ให้มีจิตอาสา มีความรักชาติ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม

๑๘
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 ให้การต้อนรับมาดามสวี หลิน (H.E. Madam Xu Lin) ผู้อานวยการใหญ่สถาบันขงจื่อ


และผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ (ฮั่นปั้น) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน
ในโอกาสเข้าเยี่ยมคารวะและหารือความร่วมมือด้านการศึกษา ในส่วนของการจัดทากรอบความร่วมมือระหว่าง
สานักงานฮั่นปั้นและกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยความร่วมมือด้านการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนฉบับใหม่
จะช่วยขยายความร่วมมือด้านการศึกษาระหว่างไทยกับจีนได้มากขึ้น ประเทศไทยจะได้รับประโยชน์จากการดาเนินงาน
ภายใต้กรอบความร่วมมือดังกล่าวอีกมาก ขณะนี้อยู่ระหว่างรอการพิจารณาจากกระทรวงการต่างประเทศ เพื่อนาเสนอ
คณะรัฐมนตรี สาหรับกรอบความร่วมมือฉบับเดิม ซึ่งใช้มาเกือบ 10 ปี ก็จะได้มีการจัดทากรอบความร่วมมือฯ
ฉบั บใหม่ ซึ่งส านั กงานฮั่นปั้ นได้เสนอร่ างกรอบความร่วมมือฯ ฉบับใหม่ให้กระทรวงศึกษาธิการของจีนให้ความ
เห็นชอบแล้ว กรอบความร่วมมือฯ ฉบับใหม่นี้ จะเกี่ยวกับการดาเนินงานที่เป็นระบบมากขึ้นในเรื่องการจัดส่งครู
อาสาสมัครชาวจีนมาสอนในสถานศึกษาของไทย การฝึกอบรมครูประจาการสาหรับครูภาษาจีน การพัฒนาหลักสูตร
และตาราเรียนภาษาจีน
 เป็ นเจ้ าภาพและเข้ าร่ วมการประชุ มในเวที ระดั บนานาชาติ เพื่ อสร้ างความร่ วมมื อ
ด้านการศึกษา แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และนาเสนอทิศทางการพัฒนาการศึกษา
 เจ้าภาพจัดประชุมสภารัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asian
Ministers of Education Council Conference : SEAMEC) ครั้งที่ 48 ระหว่างวันที่ 6 - 9 พฤษภาคม ๒๕58
ณ จังหวัดชลบุรี โอกาสนี้ รั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทยรับตาแหน่ งประธานสภารัฐมนตรีศึกษา
แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asian Ministers of Education Council : SEAMEC) คนใหม่ด้วย
สาหรับการประชุมดังกล่าวจัดขึ้นเป็นประจาทุก ๆ 2 ปี เพื่อเป็นเวทีในการกาหนดนโยบายภายใต้กรอบความร่วมมือ
ซี มี โอ รั บทราบความก้ าวหน้ า ผลส าเร็ จ และปั ญหาอุ ปสรรคของกิ จกรรม และโครงการขององค์ การซี มี โอ
และศูนย์ ระดับภูมิภาคของซีมีโอ พิจารณาอนุมัติงบประมาณค่าใช้จ่ายของสานักงานเลขาธิการซีมีโอ พร้อมทั้ง
พิจารณาแนวทางในการพัฒนาความร่วมมือทางการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมระหว่างประเทศสมาชิกซีมีโอ
เพื่อให้ เกิ ดประโยชน์ สู งสุ ดทางด้านการศึกษาในภูมิภาค โดยมี ผู้ เข้ าร่วมประชุม ประกอบด้ วย รัฐมนตรีว่ าการ
กระทรวงศึกษาธิการและผู้แทนจากประเทศสมาชิกซีมีโอ สมาชิกสมทบ หน่วยงานที่เป็นสมาชิกสมทบ ศูนย์เครือข่าย
ระดับภูมิภาคของซีมีโอ สานักงานเลขาธิการซีมีโอ รวมทั้งเจ้าหน้าที่และผู้สังเกตการณ์จากองค์การระหว่างประเทศ
และองค์กรที่เป็นหุ้นส่วนความร่วมมือ จานวน 210 คน
 เป็นเจ้าภาพจัดประชุมทางวิชาการในระดับอาเซียน “Teaching Profession in
ASEAN” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างสานักงานเลขาธิการคุรุสภา องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม
แห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization : UNESCO) องค์การรัฐมนตรี
ศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asian Ministers of Education Organization : SEAMEO) และสภา
คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ ครุศาสตร์ แห่งประเทศไทย เพื่อแลกเปลี่ยนทางวิชาการในเรื่องวิธีการพัฒนาวิชาชีพครู
 เป็ นเจ้ าภาพจั ดประชุ มเจ้ าหน้ าที่ อาวุ โสขององค์ การรั ฐมนตรี ศึ กษาแห่ งเอเชี ย
ตะวันออกเฉียงใต้ (SEAMEO) ครั้งที่ 37 (37th SEAMEO High Officials Meeting) ระหว่างวันที่ 25 – 27
พฤศจิกายน ๒๕57 โดยมีผู้แทนอาวุโสระดับสูงจากประเทศสมาชิกซีมีโอ ผู้แทนระดับภูมิภาคของซีมีโอ ผู้แทนสมาชิก
สมทบและผู้แทนจากองค์กรระหว่างประเทศเข้าร่วม จานวน 100 คน เพื่อเป็นเวทีกาหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติ
เพื่อพัฒนาการศึกษา และกาหนดแนวทางในการประสานความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกเพื่อพัฒนาการศึกษา
วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
๑๙
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 เข้าร่วมการประชุมรัฐมนตรีศึกษาเอเชีย – ยุโรป ครั้งที่ 5 ภายใต้หัวข้อหลัก “ASEM


Education Collaboration for Results” เมื่อวันที่ 27 - 28 เมษายน ๒๕58 ณ กรุงรีกา สาธารณรัฐลัตเวีย
เพื่อหารือความร่วมมือในสาขาที่เป็น Policy Areas และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และนาเสนอทิศทางการพัฒนา
การศึกษา โดยมีผู้แทนประเทศสมาชิกจากภูมิภาคเอเชียและยุโรป เข้าร่วมการประชุม 46 ประเทศ และ 11 องค์กร
ระหว่างประเทศ จานวน 196 คน
 เข้ าร่วมการประชุมระดับโลกว่าด้วยการศึกษา ระหว่างวั นที่ 19 – 21 พฤษภาคม
๒๕58 ณ เมืองอินชอน สาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งถือเป็นการประชุมที่ใหญ่ที่สุดในด้านการศึกษาที่จัดขึ้นทุก 10 - 15 ปี
เป็นต้น เพื่อประเมินผลความก้าวหน้าในการดาเนินการตามเป้าหมายว่าด้วยการศึกษาเพื่อปวงชน สาหรับการประชุม
ครั้งนี้ เป็นการทบทวนการดาเนินงานด้านการพัฒนาการศึกษาเพื่อกาหนดแนวทางการดาเนินงานในอีก 15 ปี
ข้างหน้า ทั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมการประชุมจาก 195 ประเทศ จานวน 1,500 คน
 เข้าร่วมประชุมระดับโลกของยูเนสโกว่าด้วยการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งจัดขึ้น
ภายใต้หัวข้อ “Today for Tomorrow” ณ เมืองนาโกยา ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 10 - 12 พฤศจิกายน ๒๕57
โดยมีผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการเข้าร่วมประชุมกับผู้เข้าร่วมประชุมกว่า 190 ประเทศทั่วโลก เพื่อผลักดันการ
ดาเนินงานเรื่องการศึกษาเพื่อพัฒนาให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาของสหประชาชาติภายหลังปี ๒๕58
 เข้ าร่ วมประชุ มคณะท างานร่ วมด้านการศึ กษาไทย – บรู ไนดารุ สซาลาม ครั้ งที่ ๒
เมื่อวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ณ ประเทศบรูไนดารุสซาลาม เพื่อติดตามการดาเนินกิจกรรมด้านการศึกษาในช่วงที่
ผ่านมาของทั้งสองฝ่าย และได้พิจารณาแนวทางความร่วมมือในระยะต่อไปด้วย ทั้งนี้ ทั้งสองฝ่ายเห็นพ้องที่จะดาเนิน
โครงการในช่วงต่อไป ๖ โครงการ ดังนี้ โครงการเสริมสร้างศักยภาพสาหรับผู้บริหารการศึกษา โครงการเสวนานโยบาย
การศึกษาระหว่างไทยและบรูไนดารุสซาลาม โครงการความร่วมมือระหว่างโรงเรียนทวิภาษา โครงการค่ายเยาวชน
เพื่อสร้างผู้น าเยาวชนสาหรับสภานั กเรี ยน โครงการแลกเปลี่ยนเพื่อสร้างเครือข่ายระหว่างวิ ทยาลั ยอาชีวศึกษา
และโครงการแลกเปลี่ยนเพื่อสร้างเครือข่ายในการจัดเก็บข้อมูลทางการศึกษา

๒๐
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

นโยบายที่ ๓
การลดความเหลื่อมล้าของสังคม และการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ
----------------------------
กระทรวงศึกษาธิการได้ขับเคลื่ อนการดาเนินงานเพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิ ต
ให้ กั บประชาชนอย่างต่อเนื่ อง ภายใต้ การบู รณาการความร่ วมมื อกั บหน่ วยงานในสั งกั ดและหน่ วยงานภายนอก
กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีการดาเนินงาน ดังนี้
๑. จัดระบบฝึกอาชีพเชิงพื้นที่เพื่อเพิ่มโอกาสคนพื้นที่ให้เข้าสู่อาชีพพื้นที่
 จั ดกระบวนการเรี ยนการสอนใน กศน. ต าบล ภายใต้ โครงการ “หนึ่ งคน...หนึ่ งอาชี พ”
จานวน 7,424 แห่ง พื้นที่ 5 ภูมิภาค โดยสารวจและฝึกอบรมให้แก่ประชาชนที่สนใจ 5 หลักสูตรกลุ่มอาชีพ ได้แก่
หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม หลักสูตรกลุ่มอาชีพอุตสาหกรรม หลักสูตรกลุ่มอาชีพความคิดสร้างสรรค์ หลักสูตรกลุ่ม
อาชีพพาณิชยกรรมและบริการ และหลักสูตรกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง โดยมีผู้ต้องการเข้ารับการอบรม 256,329 คน
 จัดโครงการอุดมศึกษา สร้างความรู้ สร้างอาชีพ สร้างความสุข เพื่อฝึกอาชีพระยะสั้นในพื้นที่
ให้บริการของวิทยาลัยชุมชน 20 แห่ง โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย จานวน 75 กิจกรรม มีผู้สนใจบริการ 2,892 คน
 จัดศูนย์ฝึกอบรมอาชีพในสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาอาชีพประชาชน เป็นการส่งเสริม
การฝึกอาชีพให้กับประชาชนที่ไม่มีงานทา ผู้ถูกเลิกจ้างงาน ผู้กาลังอยู่ในข่ายถูกเลิกจ้าง ผู้สาเร็จการศึกษาที่ยังไม่มีงาน
ทา กลุ่มเกษตร กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ให้มีโอกาสได้เรียนรู้และพัฒนาศักยภาพด้านทักษะวิชาชีพ สามารถ
ต่อยอดความรู้และเป็นทางเลือกในการประกอบอาชีพได้ สถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ได้ดาเนินกิจกรรมฝึกอบรมอาชีพโดยมีกลุ่มเป้าหมาย จานวน 10,725 คน ในสถานศึกษา 288 แห่ง
๒. พัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ สตรี และเด็ก
 แก้ไขปัญหาคุณแม่วัยใส ร่วมมือกับกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (United Nations
Population Fund - UNFPA) ทั้งนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้พัฒนาระบบการดูแลและช่วยเหลือเด็กนักเรียนในทุกมิติ
เช่น การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม การจัดให้มีการเรียนการสอนเพศศึกษา โดยอบรมผู้สอนให้รู้เรื่องเพศศึกษารอบ
ด้าน การเสริมสร้างทักษะชีวิตให้แก่นักเรียน
 แต่ งตั้งคณะอนุกรรมการจั ดตั้ งและพั ฒนาการศึกษาในศู นย์การเรี ยนเฉพาะความพิ การ
ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ โดยมีปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน
อนุกรรมการ มีทาหน้าที่ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ สังคมเคราะห์ความต้องการ ปัญหาและแนวทางการแก้ไขเกี่ยวกับการ
จัดตั้งศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ จัดทาข้อเสนอเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ แนวทางการจัดตั้งและการพัฒนาการศึกษา
สาหรับคนพิการ กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดตั้งศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ จัดทามาตรฐานและเกณฑ์
การประเมินศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ เพื่อการรับรองหรือเพิกถอนการรับรอง ขณะนี้อยู่ระหว่างดาเนินการ
ยก (ร่าง) กฎกระทรวงเกี่ยวกับการจัดตั้งศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการและการบริ หารจัดการต่าง ๆ เพื่อเสนอให้ที่
ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ ประมาณต้นเดือนสิงหาคม ๒๕๕๘
 จัดประชุมสัมมนาระดับภูมิภาค (อาเซียน+3) ร่วมกับส านักงานยูเนสโก กรุงเทพมหานคร
เพื่ อระดมความคิ ดเห็ นเพื่ อรั บมื อกั บการเปลี่ ยนแปลงโครงสร้ างสั งคมไทยที่ ก าลั งจะเกิ ดขึ้ นด้ วยการส่ งเสริ มให้
ศู นย์ การเรี ยนชุ มชนเข้ ามามี บทบาทในการเชื่ อมโยงการเรี ยนรู้ ระหว่ างกลุ่ มวั ย โดยเน้ นผู้ สู งอายุ เป็ นส าคั ญ
และครอบคลุมใน 3 มิติหลัก ได้แก่ 1) มิติด้านสุขภาพ โดยให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 2) มิติด้านสังคม
๒๒
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

ให้ผู้สูงอายุอยู่ร่วมกับคนต่างวัยในครอบครัวได้อย่างมีความสุข และ 3) มิติด้านเศรษฐกิจ การส่งเสริมอาชีพให้ผู้สูงอายุ


ได้มีรายได้สามารถเลี้ยงตนเองได้ หรือพึ่งพิงครอบครัวน้อยที่สุด
 อบรมเชิ งปฏิ บั ติ การ ผู้ บริ หาร ครู และบุ คลากรที่ เกี่ ยวข้ องกั บการจั ดการศึ กษาพิ เศษ
เรื่อง การจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล IEP (นักเรียนพิการ) และการประเมินความสามารถพื้นฐาน
และประเมินความต้องการจาเป็นรายบุคคล เพื่อพัฒนาศักยภาพให้มีความรู้ ความสามารถ ส่งผลให้การจัดการศึกษา
พิเศษให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผู้ เข้าร่วมอบรม 204 คน อบรมเชิงปฏิบัติการผู้บริหาร ครู และบุคลากรทาง
การศึกษา เทคนิคการสอนเสริมนักเรียนพิการ เรื่อง การจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล IEP (นักเรียนพิการ)
และการประเมินความสามารถพื้นฐานและประเมินความต้องการจาเป็น รายบุคคล เพื่อพัฒนาศักยภาพ ให้มีความรู้
ความสามารถ ส่งผลให้การจัดการศึกษาพิเศษให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผู้เข้าร่วมอบรม 210 คน
 จัดโครงการ ETV เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อช่วยครูผู้สอน และผู้เรียนสามารถเรียนรู้
ด้วยตนเอง โดยผลิ ตรายการ 3 รายวิ ชาที่ ยาก ได้แก่ วิชาคณิ ตศาสตร์ วิ ทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ในระดั บ
มัธยมศึกษาตอนปลาย และจัดรายการออกอากาศในพื้นที่ครอบคลุมทุกจังหวัดทั่วประเทศมีจุดบริการ 4,597 จุด
และมีผู้รับชม จานวน 172,175 คน ที่มีคุณภาพ มีความยากง่ายที่เหมาะสม มีการนิเทศติดตาม การจัดกระบวนการ
เรียนรู้และปัญหาในการออกอากาศ และรายงานผล การจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้สื่อ ETV ช่วยสอน เพื่อเป็นข้อมูล
ในการช่วยพัฒนา/ปรับปรุ ง และการพัฒนาความรู้ความเข้าใจของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่ อ ETV
ช่วยสอน
 จัดโครงการ “บ้านหนังสืออัจฉริยะ” ขณะนี้ได้ดาเนินการให้กับบ้านหนังสืออัจฉริยะ จานวน
41,800 แห่ง จากจานวนหมู่บ้าน/ชุมชน ที่มีอยู่ทั้งสิ้น จานวน 77,280 แห่ง เพื่อเป็นการเพิ่ม และขยายช่องทาง
ให้ประชาชนในทุกหมู่บ้าน/ชุมชนทั่วประเทศ สามารถเข้าถึงแห่งข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนองค์ความรู้ต่าง ๆ ได้อย่างทั่วถึง
และเท่าเทียมกัน โดยเฉพาะ ผู้ที่อยู่ในถิ่นทุรกันดาร
๓. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง จานวน ๒๗๗,๙๖๘ คน
พร้อมทั้งดาเนินโครงการเปิดโลกการเรียนรู้ให้กับผู้สูงอายุในสังคมพหุวัฒนธรรม ผ่านการกิจกรรมสร้างเวทีปรองดอง
และสมานฉันท์ในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีผู้เข้าร่วม จานวน 4,239 คน

๒๓
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

นโยบายที่ 4
การศึกษาและเรียนรู้ การทะนุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
----------------------------
รัฐบาลให้ความสาคัญกับพัฒนาเด็ก เยาวชน และประชาชนไทยให้มีคุณภาพ สามารถเรียนรู้ พัฒนาตนเอง
ได้ตามศักยภาพ ประกอบอาชีพและดารงชีวิตได้โดยมีความใฝ่รู้และทักษะที่เหมาะสม ตลอดทั้งเป็นคนดีมีคุณธรรม
กระทรวงศึกษาธิการได้นาแนวนโยบายรัฐบาลสู่การปฏิบัติโดยได้เร่งรัดดาเนินการในเรื่องสาคัญ ดังนี้
๑. พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้
 ปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและตารางการเรียนการสอน ให้ยืดหยุ่น
โดยดาเนินการ ดังนี้
 ศึกษาวิเคราะห์ ข้อมูลสภาพและปัญหาการนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ผ่านระบบออนไลน์จากสถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงาน
งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียนตารวจตะเวนชายแดน และสานัก
การศึกษา กรุงเทพมหานคร วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตรการปฏิบัติจากโรงเรียนนาร่องจากเอกสาร
ประชุมเสวนารับฟังความคิดเห็นสภาพและปัญหาเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ใน ๑๒ จุด ครอบคลุม ๔ ภูมิภาค
 ปรั บตารางการเรียนการสอนให้ ยืดหยุ่ น โดยจั ดท าคาชี้แจงเกี่ยวกับการจั ดโครงสร้าง
และเวลาเรียนและการจัดการเรียนรู้ระดับประถมศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ขณะนี้อยู่ระหว่างการปรับปรุงแก้ไขต้นฉบับ
 จัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์และวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง โดยดาเนินการ ดังนี้
 พัฒนาแกนนาในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง
จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา 225 เขตพื้นที่การศึกษา
4 รุ่น จานวน 1,200 คน
 จั ดท าเอกสารแนวทางการจั ดการเรี ยนรู้ ประวั ติ ศาสตร์ เพื่ อสร้ างส านึ กความเป็ นไทย
แนวทางการจัดการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง และจัดทาเอกสารการสอนประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์ไทย
หลากหลายวิธีเรียน เอกสารการสอนเพื่อนคู่คิด มิตรคู่ครู แนวทางการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ เผยแพร่ 32,000
แห่ง รวมทั้งอยู่ระหว่างการจัดทาเอกสารการเรียนรู้ผ่านแหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ และติดตามการจัดการเรียน
การสอนวิชาประวัติศาสตร์และวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง
 พั ฒ นาครู ส อนประวั ติ ศาสตร์ และวิ ช าเพิ่ มเติ มหน้ าที่ พลเมื องให้ ครู ทุ กสอนวิ ช า
ประวัติศาสตร์ วิชาหน้าที่พลเมือง และครูสังคมศึกษาทุกโรงเรียน รวม 60,000 คน
 ปรั บสาระวิชาหลั กสู ตร กศน.ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 รายวิ ชาประวัติศาสตร์ ศาสนา
และหน้าที่พลเมือง โดยเพิ่มเนื้อหาสาระวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยทั้ง 3 ระดับ คือ ระดับชั้นประถมศึกษา มัธยมศึกษา
ตอนต้นและตอนปลาย ส่วนวิชาหน้าที่พลเมืองได้ ปรับเพิ่มสาระในเรื่องค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ พร้อมทั้ง
ได้พัฒนาสื่อประกอบการเรียนการสอน และปรับตัวชี้วัดของหลักสูตรให้สอดรับกับสาระวิชาที่ปรับเพิ่มให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
 ปรับปรุงการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational
Test : O - NET) โดยดาเนินการออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การกาหนดวิชาในการสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O - NET) เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2558 ซึ่งได้ปรับลดการสอบจาก 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
๒๕
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

เหลือ 5 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ตั้งแต่ปี การศึกษา 2558 เป็นต้นไป ขณะนี้สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่ งชาติ


(องค์การมหาชน) (สทศ.) ได้กาหนดแนวทางดาเนินการต่อเนื่องในเรื่องดังกล่าว โดยแจ้งประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง การกาหนดวิชาในการสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O - NET) ไปยังหน่วยงานต้นสังกัด ทั้งหมด
4 กระทรวงหรื อเที ยบเท่ า จ านวน 10 หน่ วยงาน เพื่ อประชาสั มพั นธ์ ไปยั งสถานศึ กษาที่ มี นั กเรี ยนเข้ าสอบ
และผู้เกี่ยวข้องได้ทราบและปฏิบัติตามประกาศ จัดประชุมชี้แจงศูนย์สอบ O - NET ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งเป็นหน่วยงานกลางที่ทาหน้าที่บริหารการทดสอบ O - NET ให้เป็นตามมาตรฐาน
การทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ โดยเฉพาะเกี่ยวกับความโปร่งใสและยุติธรรม และประชาสัมพันธ์การสอบ O - NET
ปีการศึกษา 2558 โดยจะส่งแผ่นพับประชาสัมพันธ์การสอบไปยังสถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้
ระบบการส่ งข้ อมู ลของผู้ เข้ าสอบ โดยจะเปิ ดให้ สถานศึ กษาด าเนิ นการ ส่ งข้ อมู ลนั กเรี ยนในแต่ ละระดั บชั้ น
ผ่านเว็บไซต์ สทศ. (www.niets.or.th) ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม - 31 สิงหาคม 2558
 เร่งรัดพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่องและสื่อสารได้ มีเป้าหมายในการพัฒนา
นักเรียน “เด็กจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ต้องอ่านออกเขียนได้ โดยต้องมีการประเมินผลที่เป็นรูปธรรม” สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงกาหนดเป็นนโยบายสาคัญให้นักเรียนทุกระดับชั้น อ่านออกเขียนได้ อ่านคล่อง
เขียนคล่องและสื่อสารได้ เพื่อเป็นการวางรากฐานสาคัญในการเรียนรู้ระดับสูงต่อไป โดยดาเนินการดังนี้
 โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย
 ประกาศนโยบายปี ๒๕๕๘ เป็นปีปลอดนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ โดยแต่งตั้ง
คณะกรรมการเร่งรัดพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง จัดให้มีการประกาศนโยบายโดยประชุมทางไกล
ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาทุกเขต เมื่อวันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๕๘ จัดสรรงบประมาณ
สนับสนุนให้เขตพื้นที่การศึกษายกระดับผลสัมฤทธิ์ภาษาไทย
 พั ฒนานั กเรี ยนอ่ านออกเขี ยนได้ อ่ านคล่ องเขี ยนคล่ อง จั ดประชุ มสั มมนา
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของทุกเขตและประสานแผนการทางานการพัฒนา
คุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ดาเนินการสังเคราะห์สื่อ วิธีสอน และนวัตกรรมการแก้ไขปัญหานักเรียนอ่านไม่ออก
เขียนไม่ได้ เพื่อเผยแพร่ทุกเขตพื้นที่การศึกษาภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๘
 สนั บสนุ นส านั กงานเขตพื้ นที่ การศึ กษาในโครงการจั ดการเรี ยนรู้ ภาษาไทย
โดยนาภาษาถิ่นร่วมจัดการเรียนรู้ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๔ จัดการแข่งขันทักษะภาษาไทย กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย จัดประชุมสัมมนาวิทยากรหลักเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนวรรณคดี และวรรณกรรมไทย ติดตาม
การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยโดยใช้ภาษาถิ่นร่วมจัดการเรียนรู้ ติดตามการอ่านออกเขียนได้อ่านคล่อง ๔ ภูมิภาค
โรงเรี ยนที่มี ผลสัมฤทธิ์การเรี ยนภาษาไทยต่ากว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ จัดประชุมคณะทางานจัดทาหนังสื อเสริม
ประสบการณ์ การอ่ าน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ เพื่ อเฉลิ มพระเกียรติ สมเด็ จพระเทพรัตนราชสุ ดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ ๕ รอบ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ จัดพิมพ์หนังสือรวมพระราชนิพนธ์สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี แจกโรงเรียนทั่วประเทศ คัดเลือกผู้ อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ศึกษานิเทศก์และโรงเรียนส่งเสริมและพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย เพื่อรับโล่รางวัลเนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ
ปี ๒๕๕๘ จั ด พิ ม พ์ ห นั ง สื อ คู่ มื อ การด าเนิ น งาน อ่ า นออกเขี ย นได้ อ่ า นคล่ อ งเขี ย นคล่ อ งและสื่ อ สารได้
แจกโรงเรียนในสังกัดทั่วประเทศ

๒๖
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 โครงการพลิ กโฉมโรงเรี ยนระดั บชั้ นประถมศึ กษาปี ที่ ๑ อ่ านออกเขี ยนได้ ใน ๑ ปี


มีกิจกรรมสาคัญที่อยูร่ ะหว่างดาเนินการ ดังนี้
 ดาเนินโครงการพลิ กโฉมโรงเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ อ่านออกเขียนได้
ใน ๑ ปี ตามแนวทางพัฒนาการทางสมอง (Brain – based – Learning : BBL) มีการอบรมทางไกลผ่านระบบ DLTV
และ DLIT โดยสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาทุกเขต จัดอบรมพร้อมกันทั่วประเทศ โดยมีวิทยากรต้นทาง
อบรม ณ มหาวิทยาลั ยเทคโนโลยี ราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ วังไกลกังวล จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผู้ เข้าร่วมประชุ ม
ประกอบด้วย ผู้ อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาทุกเขต รองผู้ อานวยการสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาที่รับผิดชอบงานวิชาการ ผู้อานวยการกลุ่ม
 นิเทศและติดตามประเมินผลของเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบสาระ
การเรี ยนรู้ ภาษาไทยทุกเขต ผู้บริ หารโรงเรียนทุกโรงเรียนทุกเขตพื้นที่การศึกษา ครูผู้ สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
ทุกโรงเรียน รวม ๖๑,๕๐๐ คน รับสัญญาณดาวเทียม โครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมด้วยระบบ DLTV ช่อง ๑๔
ระหว่างวันที่ ๒๓ – ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ นอกจากนี้ ดาเนินการคัดเลือกโรงเรียนแกนนา โครงการพลิกโฉมโรงเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ อ่านออกเขียนได้ใน ๑ ปี ร้อยละ ๖ ของโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา โดยมีเกณฑ์
การคัดเลือก คือ โรงเรียนต้องสมัครใจเข้าร่วมโครงการและพร้อมที่จะดาเนินการตามแนวทางที่กาหนด ผู้บริหารโรงเรียน
ครู และบุ คลากรทุ กฝ่ าย มี ความเห็ นร่ วมกั นที่ จะปรั บเปลี่ ยนโรงเรี ยน ตามแนวทางพั ฒนาการทางสมอง (BBL)
อย่างไม่มีเงื่อนไข และโรงเรียนต้องพร้อมที่จะสร้างเครือข่ายดาเนินการในเรื่องนี้ โดยการจัดประชุม ๔ ภูมิภาค ๕ จุด
มีผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และมัธยมศึกษาที่มีโรงเรียน
ประถมศึกษาทุกเขต รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาที่รับผิดชอบงานวิชาการ ผู้อานวยการ
กลุ่ มนิ เทศติดตามและประเมินผลของส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ศึกษานิเทศก์กลุ่ มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ผู้อานวยการโรงเรียนและครูชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ของโรงเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการ จานวน ๕,๖๐๐ คน ระหว่าง
เดือนพฤษภาคม - มิถุนายน ๒๕๕๘
 ยกเลิ ก การสอบประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานระดั บ เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา
(Local Assessment System : LAS) ขณะนี้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้แจ้งให้เขตพื้นที่
การศึ กษารั บทราบเกี่ ยวกั บการยกเลิ กการสอบประเมิ นคุ ณภาพการศึ กษาขั้ นพื้ นฐานระดั บเขตพื้ นที่ การศึ กษา
(Local Assessment System : LAS) ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 5 ระดับ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 2 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 5 พร้อมทั้งแจ้งผ่านทางระบบ Examination Process
Communication Channel : EPCC ซึ่งเป็นระบบสื่อสารการประเมินกับเขตพื้นที่การศึกษา
 พัฒนาระบบการประเมินผลระหว่ างเรี ยน (Formative Assessment) ประกอบด้ วย
4 กิจกรรม ได้แก่ ๑) พัฒนาคลังข้อสอบมาตรฐาน (Item Banks) ๒) พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอบออนไลน์
(Online Testing System) ๓) พัฒนาศักยภาพครูในการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลในชั้นเรียน เช่น การสร้างแบบ
สอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ การประเมินความสามารถด้านการคิด
ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างดาเนินการ ทั้งนี้ ได้จัดอบรมครูและศึกษานิเทศก์ไปแล้วในเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2558
จานวน 1,000 คน และ ๔) จัดทาเอกสารส่งเสริมและพัฒนาการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน
 แนวทางการลดภาระครูและนักเรียน ได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง แนวปฏิบัติ
ในการลดภาระครู และนั กเรี ยน ณ วั นที่ 25 พฤษภาคม 2558 เพื่ อลดภาระการท างานของครู และนั กเรี ยน
ซึ่งลดผลกระทบต่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา

๒๗
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

ขั้นพื้นฐาน เพื่อให้ครูมีเวลาในการจัดการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้น โดยกระทรวงศึกษาธิการได้จัดระเบียบโครงการความ


ร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในส่วนที่ไม่ใช่กิจกรรมการเรียนการสอน และจัดทาแนวทางการดาเนินงานในการจัด
โครงการ กิจกรรมของโรงเรียนกับหน่วยงานภายนอก ทั้งนี้ โครงการ กิจกรรมที่เพิ่มภาระงานของครูและส่งผลกระทบ
ต่อการจัดการเรียนการสอน ให้นาเสนอทีป่ ระชุมสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานพิจารณา ก่อนดาเนินการ
ทุกครั้ง
 ปรั บขนาดห้ องเรี ยน ในระดั บปฐมวั ยและระดั บประถมศึ กษาเป็ น 30 คน ต่ อห้ องเรี ยน
และระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายเป็น 40 คนต่อห้องเรียน กาหนดกรอบการดาเนินงานเป็นระยะเวลา 5 ปี
เพื่ อลดขนาดห้ องเรี ยนของโรงเรี ยนขนาดใหญ่ และขนาดใหญ่ พิ เศษ และเพิ่ มขนาดห้ องเรียนโรงเรี ยนขนาดเล็ ก
ซึ่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้สารวจข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนปรับขนาดห้องเรียน
ในปีการศึกษา 2557 และมีแนวทางการขับเคลื่อนเพื่อปรับขนาดห้องเรียนให้เหมาะสม คือ วางแผนการปรับขนาด
ห้องเรียนให้เหมาะสมและใกล้เคียงกันมากขึ้นใน 5 ปี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษายกระดับและพัฒนาคุณภาพโรงเรียน
ขนาดเล็ กเดิมให้เป็นโรงเรียนขนาดกลาง ปรับลดขนาดห้ องเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่และขนาดใหญ่พิเศษให้เป็น
โรงเรียนขนาดกลาง ประสานสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา และสานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึ กษา ในการปรั บเกณฑ์นั กเรี ยนต่อห้ องเรียน รวมทั้งประชาสั มพันธ์และสร้ างค่ านิยมใหม่ให้ ผู้ ปกครอง
และนักเรียนเชื่อมั่นโรงเรียนดีใกล้บ้าน และสร้างค่านิยมใหม่ให้ผู้บริหารโรงเรียน ครู และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน
ยอมรับที่จะปรับขนาดโรงเรียนให้เหมาะสม
 ความก้าวหน้าในการดาเนินงานตามนโยบายของคณะกรรมการพัฒนานโยบายการศึกษา
โดยที่ประชุมคณะกรรมการฯ ได้มีมติรับทราบการดาเนินการ ดังนี้
 การศึกษาข้อเสนอแนะต่อการปฏิรูปการศึกษาไทยของสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย
(Thailand Development Research Institute : TDRI) และระบบจัดการศึกษาของประเทศต่าง ๆ ขณะนี้อยู่ระหว่าง
ศึกษาระบบการศึกษา ของประเทศต่าง ๆ จากเอกสารของ OECD เกี่ยวกับจุดเด่นของแต่ละประเทศ เพื่อจัดทา
บทวิเคราะห์ที่สามารถนามาประยุกต์ใช้กับบริบทของประเทศไทย
 จัดทา (ร่าง) วิสัยทัศน์และกรอบทิศทางการพัฒนาการศึกษาระยะเวลา ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๙-
๒๕๖๓) กาหนดวิสัยทัศน์และเป้าหมายภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ คนไทยต้องมีการศึกษาเฉลี่ยสูงขึ้น อ่านออกเขียนได้
เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ มีค่านิ ยมหลั กของคนไทย รักการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มีอาชีพเมื่อส าเร็จ
การศึกษา และระบบการศึกษาไทยเป็นระบบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ ที่ประชุมมอบหมาย
ให้ มีการจั ดทาวิสัยทัศน์ และกรอบทิศทางการพัฒนาการศึกษาและกาหนดขอบเขต กิจกรรมตามแผนงาน รวมถึง
ผลสัมฤทธิ์ที่จะได้รับระยะสั้นภายในระยะเวลา ๑ ปี ตามแผนงานของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) รวมทั้งแผน
ระยะยาวเวลา ๕ ปี ให้แล้วเสร็จ และนาเสนอให้คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบต่อไป
 จัดงาน “มิติใหม่การศึกษา เดินหน้าประเทศไทย” ระหว่างวันที่ ๒๑ – ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘
โดยมี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานเปิดงาน เพื่อเป็นการสร้างการรับรู้ด้านการศึกษาสู่สังคม
ซึ่งปัจจุบันได้เร่งดาเนินการแก้ไขปัญหาด้านการศึกษาควบคู่กับการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบการศึกษาไทย
ในระยะยาว มีรู ปแบบการจั ดงาน คือ เป็นนิทรรศการที่บูรณาการงานขององค์กรหลั กเข้าด้วยกันตามงานส าคัญ
ที่ดาเนิ นการ และจั ดเวทีสั มมนาทางวิ ชาการ ภาพรวมของการจัดงานครั้งนี้ แสดงให้เห็ นถึงเป้าหมายส าคัญของ
การพัฒนาการศึกษา เพื่อเป็นรากฐานในการพัฒนาคน สังคม และประเทศชาติให้มีศักยภาพในการแข่งขัน นาไปสู่ความ
มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนตามวิสัยทัศน์ของประเทศไทย ในปี ค.ศ. 2015 - 2020

๒๘
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 ส่งเสริมค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ โดยดาเนินการ ดังนี้


 จัดทาแผนยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนนโยบายค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ
จัดทาแนวปฏิบัติเกี่ยวกับค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ ผนวกค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ ในการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ กาหนดจุดเน้นในแต่ละระดับชั้น และวิธีการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับวัยและศักยภาพผู้เรียน จัดทาแนวทาง
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ และตัวอย่างรายชื่อโรงเรียน
ที่ดาเนินกิจกรรมที่เสริมสร้างค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ อย่างเป็นรูปธรรม สามารถเป็นแบบอย่างกับโรงเรียนทั่วไปได้
ของเขตพื้นที่การศึกษา
 จัดกิจกรรมในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อส่งเสริมค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ
ให้กบั เด็ก เยาวชนและประชาชน ได้แก่
 ประชาสั มพันธ์การส่ งเสริมค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ โดยจัดทาป้าย
โปสเตอร์ และติดตั้งเพื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ จานวน ๒๕,๐๐๐ แห่ง รวมทั้งประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อเว็ปไซต์ของหน่วยงาน
จัดเวทีเสวนาในพื้นที่ จานวน ๒,๔๑๓ แห่ง ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จานวน ๓๑๒,๑๕๔ คน
 จัดกิจกรรมค่ายคุณธรรมทั่วประเทศ (ค่ายละ ๗๐ คน) โดยดาเนินการ ๓ ระยะ
ดังนี้ ระยะที่ ๑ ดาเนินการตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม ๒๕๕๗ ระยะที่ ๒ ดาเนินการเมื่อเดือนมกราคม ๒๕๕๘
และระยะที่ ๓ ดาเนินการเมื่อเดือนเมษายน ๒๕๕๘
 จัดกิจกรรม “ค่ายเยาวชนคนรุ่นใหม่ใฝ่ค่านิยม” จานวน ๔๓,๒๔๔ คน ซึ่งได้จัด
กิจกรรมค่ายแล้ว จานวน ๑๔ รุ่น จากเป้าหมาย ๑๖ รุ่น มีผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน ๒,๙๑๒ คน
 จัดกิจกรรมประกวดด้านการพูด การร้องเพลง การเขียนเรียงความ และการผลิต
คลิปวีดิโอ ซึ่งการประกวดได้เสร็จสิ้นเมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๘ ผู้ชนะเลิศที่มีศักยภาพในด้านและสามารถนาความรู้
ประสบการณ์ไปพัฒนาตนเองได้อย่างสร้างสรรค์
 จัดทาโครงการส่งเสริมความเป็นพลเมืองผ่านทักษะการอ่านคากลอน “ค่านิยมหลัก
ของคนไทย ๑๒ ประการ” สาหรับผู้เรียนประถมศึกษา โดยจัดสัมมนาครูอาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการทั่วประเทศ จานวน
๙๓ คน เพื่อทบทวนการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองที่ถูกต้องตามอักขระวิธี สู่ผู้เรียนในสถานศึกษา
 จัดกิจกรรมพัฒนาเสริมสร้างค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ให้กับผู้บริหาร
ครูผู้สอน และนักเรียนโรงเรียนเอกชน รวม ๑๕,๘๗๕ คน ร่วมมือระหว่างสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กั บส านั กงานปลั ดส านั กนายกรั ฐมนตรี ในการจั ดท าภาพยนตร์ สั้ น “ไทยนิ ยม” จ านวน ๑๒ ตอน โดยฉายใน
โรงภาพยนตร์ให้ได้ชมฟรีทั่วประเทศ
 เสริมสร้างความเป็นไทยและเป็นพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย โดยเตรียมจัดค่ายแกนนา
ค่ายสร้างสรรค์พัฒนาคุณภาพเด็กไทย : การเสริมสร้าง ความเป็นพลเมือง ดารงตนอย่างไทยในวิถีประชาธิปไตย และค่าย
นั กเรี ยน : ค่ ายสร้ างสรรค์ พั ฒนาคุ ณภาพเด็ กไทย : การเสริ มสร้ างความเป็ นพลเมื อง ด ารงตนอย่ างไทยในวิ ถี
ประชาธิปไตย ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการจัดทาเอกสารหลักสูตรและแนวทางการจัดค่ายสร้างสรรค์พัฒนาศักยภาพเด็กไทย
: การเสริมสร้างความเป็นไทยและเป็นพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
 พัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลแก่ผู้เรียนอาชีวศึกษา
โดยจัดทาเกณฑ์การประเมินและแบบประเมินด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลตามค่านิยมหลักของคนไทย
๑๒ ประการ เพื่อใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมผู้เรียนเพื่อการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา รวมทั้งสิ้น ๓๒๕ สถานศึกษา โดยจัดทาเครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูลตามมาตรฐาน
การอาชีวศึกษาที่ ๖ ด้านการปลูกฝังจิตสานึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมืองและพลโลก พ.ศ. ๒๕๕๕ พร้อมทั้ง
๒๙
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

สร้างความเข้าใจและแนวทางการนิเทศสถานศึกษาให้กับบุคลากรเครือข่ายการนิเทศด้านการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา จานวน ๑๕๐ คน
 จัดการเรียนการสอนธรรมศึกษาในสถานศึกษา พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ในหลักสูตร “การบูรณาการคุณธรรมจริยธรรมในการจัดการเรียนรู้” เพื่อส่งเสริมค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ
ระยะที่ ๑ จานวน ๑๐ รุ่น มีผู้เข้ารับการอบรม จานวน ๑๐,๒๙๗ คน ระยะ 2 จานวน 2 รุ่น มีผู้เข้ารับการอบรม จานวน
3,041 คน และรุ่ นพิเศษสาหรับบุ คลากรส่วนกลาง สังกัดส านักงานปลั ดกระทรวงศึกษาธิการ จานวน ๓๐๗ คน
รวมทั้งสิ้น ๑3,๖๔5 คน คุรุสภาเขตพื้นที่การศึกษาจัดหลักสูตรอบรมผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา เพื่อเสริมสร้าง
ศีลธรรม คุณธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ขณะนี้มีผู้ผ่านการพัฒนาแล้วไม่น้อยกว่า
11,000 คน รวมทั้งฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ และลูกเสือ “ช่อสะอาด” เป้าหมายจานวน ๔๐๐ คน
๒. เสริมสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้แก่ผู้ยากจนหรือด้อยโอกาส
 โครงการสนั บสนุ นค่ าใช้ จ่ ายในการจั ดการศึ กษาตั้ งแต่ ระดั บอนุ บาลจนจบการศึ กษา
ขั้นพื้นฐาน จัดสรรงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน ๑,๒๓๓,๕๖๙,๙๙๕ บาท
ให้ กั บผู้ เรี ยนในสถานศึ กษาสั งกั ดองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ น ภาคเรี ยนที่ ๒/๒๕๕๗ จ านวน ๖๘๗,๓๐๓ คน
และจัดสรรงบประมาณ จานวน ๘๔,๙๙๘,๑๕๔,๙๐๐ บาท ให้กับผู้เรียนในสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๗ และภาคเรี ยนที่ ๑/๒๕๕๘ จ านวน ๑๑,๕๙๑,๖๒๗ คน ความก้ าวหน้ าในการด าเนิ นการ
ขณะนี้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาลังเสนอขอทบทวนอัตราเงินอุดหนุนรายหัวสาหรับนักเรียน
ซึ่งมี ๕ รายการ คือ ค่าเล่าเรียน ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเครื่องแบบนักเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน และรวมไปถึงเงินช่วยเหลือเด็กยากจน เงินค่าใช้จ่ายสาหรับนักเรียนพักนอนที่โรงเรียน เนื่องด้วยภาวะสภาพ
เศรษฐกิจได้เปลี่ยนไป ประกอบกับสถานศึกษาในปัจจุบันต้องรับภาระค่าสาธารณูปโภคที่สูงขึ้น ขณะนี้ได้ยกร่างอัตรา
เงินอุดหนุ นดังกล่ าวเสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ ว โดยจะนาเสนอขอความเห็ นชอบจากรั ฐมนตรี ว่าการกรทรวงศึกษาธิการ
และคณะรัฐมนตรีต่อไป
 กองทุ น เงิ น กู้ ยื ม เพื่ อ การศึ ก ษา คณะรั กษาความสงบแห่ ง ชาติ ลงมติ เ มื่ อ วั น ที่
๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เห็นชอบให้ขยายเวลาการดาเนินงานโครงการกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้
ในอนาคต (กรอ.) ต่ อไปในปี การศึ กษา ๒๕๕๘ และในปี การศึ กษาต่ อ ๆ ไป จนกว่ ากฎหมายใหม่ จะแล้ วเสร็ จ
และมีผลบังคับใช้ และให้กระทรวงการคลังรับความเห็นของสานักงบประมาณและสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติไปพิจารณาดาเนิ นการต่อไปด้ วย ทั้ งนี้ ให้ ฝ่ ายสังคมจิ ตวิทยาร่ วมกั บฝ่ ายกฎหมาย
และกระบวนการยุ ติ ธรรมพิ จารณาก าหนดแนวทางการแก้ ไขปั ญหากองทุ นเงิ นให้ กู้ ยื ม เพื่ อการศึ กษาทั้ งระบบ
ให้มีประสิทธิภาพ โดยให้มีการกู้และส่งคืนเงินอย่างรัดกุม เหมาะสม รวมทั้งไม่เกิดปัญหาความซ้าซ้อนในการกู้ยืม
และให้นาเรื่องนี้เสนอสภาปฏิรูปแห่งชาติ ด้านการศึกษาที่จะจัดตั้งขึ้นตามแนวทางปฏิรูปประเทศของคณะรักษาความ
สงบแห่งชาติในระยะที่ ๒ เพื่อพิจารณาต่อไป โดยมีผลการดาเนินงาน ดังนี้
 กองทุ นเงิ นให้ กู้ ยื มเพื่ อการศึ กษา (กยศ.) ได้ รั บการจั ดสรรงบประมาณ จ านวน
๑๔,๓๙๔.๐๐ ล้ านบาท กองทุนสมทบ (เงิ นนอกงบประมาณ) ๒๒,๒๒๙.๓๒ ล้ านบาท รวมเป็นเงิ นให้ กู้ยื มทั้งสิ้ น
๓๖,๖๒๓.๓๒ ล้านบาท มีการใช้จ่ายเงินให้กู้ยืมไปแล้ว ๑๙,๙๑๑.๗๗ ล้านบาท ปัจจุบันมีผู้กู้ จานวน 739,072 ราย
เป็นเงิน 29,448.59 ล้านบาท จากสถานศึกษา 4,141 แห่ง

๓๐
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 กองทุ นเงิ นกู้ ยื มเพื่ อการศึ กษาที่ ผู กกั บรายได้ ในอนาคต (กรอ.) ได้ รั บการจั ดสรร
งบประมาณ ๒,๐๐๐.๐๐ ล้านบาท กองทุนสมทบ (เงินนอกงบประมาณ) ๖,๖๒๙.๗๖ ล้านบาท รวมเป็นเงินให้กู้ยืม
จานวน ๘,๖๒๙.๗๖ ล้านบาท มีการใช้จ่ายเงินให้กู้ยืมไปแล้ว ๓,๕๖๙.๓๐ ล้านบาท ปัจจุบันมีผู้กู้ จานวน 67,026 ราย
เป็นเงิน 4,453.45 ล้านบาท จากสถานศึกษา 292 แห่ง
 กองทุนได้ดาเนินการยกร่างพระราชบัญญัติกองทุนเพื่อการศึกษา พ.ศ. .... เพื่อควบรวม
กองทุ น กยศ. และกองทุ น กรอ. โดยน าส่ วนดี ของทั้ งสองกองทุ นมารวมกั นเรี ยบร้ อยแล้ ว ขณะนี้ อยู่ ระหว่ าง
กระทรวงการคลังดาเนินการนาเสนอร่างพระราชบัญญัติกองทุนเพื่อการศึกษา พ.ศ. .... ต่อสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ส าหรั บปั ญหาอุ ปสรรค พบว่ า มี หนี้ ค้ างช าระสู ง โดยมี แนวทางการแก้ ไข คื อ ปรั บปรุ งมาตรการในการติ ดตาม
ทุนการศึกษาคืนอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อไม่ให้กองทุนต้องเป็นภาระแก่งบประมาณแผ่นดิน
 ขยายผลโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning
Television : DLTV) เพื่อแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็ก จานวน 15,369 แห่ง ที่ขาดแคลนครู ครูไม่ครบชั้นครูสอนไม่ตรง
สาขาวิชาเอก จากการนิเทศและติดตามประเมินผลโครงการฯ ผ่านระบบออนไลน์ พบว่า โรงเรียนประเมินตนเองผ่าน
ร้อยละ 99.87 และจากการประเมินของศึกษานิเทศก์ ผ่านร้อยละ 97.38 และสวนดุสิตโพล สารวจความคิดเห็น
ของประชาชนทั่วไป ผู้ปกครองและครู พบว่า 1) โครงการมีประโยชน์ร้อยละ 98.45 2) ผลที่ได้รับจากโครงการฯ ร้อยละ
78.02 3) ความพึงพอใจ ร้อยละ 98.45 และล่าสุด คือรายงานผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) พบว่า ผลค่าคะแนน
เฉลี่ยรวมของโรงเรียนขนาดเล็กสูงกว่าค่าเฉลี่ ยรวมของโรงเรียนขนาดกลาง นอกจากนี้ ได้ดาเนินโครงการขยายผล
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในโรงเรียนเอกชน โดยจัดสรรเงินอุดหนุนให้โรงเรียนเอกชนประเภทการกุศลที่ยื่น
ขอรับเงินอุดหนุน จานวน 25 แห่ง (พฤศจิกายน 2557 – สิงหาคม 2558) รวมทั้งจัดสรรเงินอุดหนุนเพื่อพัฒนา
คุณภาพการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศให้ กับโรงเรียนเอกชนที่ยื่นขอรับเงินอุดหนุน จานวน 2,050 แห่ ง
(พฤศจิกายน 2557 – กันยายน2558)
 โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance Learning
Information Technology : DLIT) เป็นการต่อยอดจากโครงการพัฒนาคุณภาพศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)
โดยคัดเลือกครูจากโรงเรียนที่มีการแข่งขันสูงและโรงเรียนที่มีความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นโรงเรียนต้นทาง
ในการถ่ายทอดสดการสอนของผู้ไปยังโรงเรียนปลายทางที่มีความพร้อมสามารถจัดการเรียนกาสอนตามโรงเรียนต้นทาง
ได้และโรงเรียนที่ยังไม่พร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจัดการเรียนการสอนได้ด้วยระบบเรียกดูตามความต้องการ
เป้าหมายโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ จานวน 15,553 แห่ง ซึ่งมีการเปิดระบบ DLTV ไปเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน
2558 ซึ่งจะสามารถทาให้โรงเรียนสังกัด สพฐ. กว่า 3๐,๐๐๐ แห่ง ได้รับการพัฒนาผ่านกิจกรรม 5 รูปแบบ ได้แก่
ห้องเรียนต้นแบบ คลังสื่อการสอน ห้องสมุดดิจิทัล คลังข้อสอบ และการพัฒนาวิชาชีพครู ซึ่งจะเชื่อมโยงกับการพัฒนา
คุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยยึดถือภารกิจและพื้นที่ปฏิบัติงานเป็นฐาน หรือ “ระบบ TEPE Online”
(Teachers and Educational Personnels Enhancement Based on Mission and Functional Areas as Majors)
หลั งจากจั ดหาสื่ อ อุปกรณ์ และวางระบบเรียบร้ อยแล้ ว สถานศึกษาจะสามารถน าเนื้อหาและสื่ อดิ จิทั ลไปใช้ ใน
การจัดการเรียนการสอนได้ทั้งออนไลน์และออฟไลน์
 จัดการศึกษาทางไกลให้กับประชาชนที่มีพร้อมจะเรียนในรูปแบบการพบกลุ่มหรือการเรียน
ในระบบ เพื่ อส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ ด้ วยตนเองตามความสามารถความสนใจ ความพอใจ และศั กยภาพของตนเอง
โดยดาเนินการประชาสัมพันธ์ รั บสมัครและจัดการเรียนการสอนให้ กับนักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
และมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยวิธีเรียนแบบทางไกล ในภาคเรียนที่ 2/2557 จานวน 4,639 คน และภาคเรียนที่
1/2558 จ านวน 3,200 คน ในแต่ละภาคเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเสริม จานวน 3 ครั้งต่อภาคเรียน
๓๑
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

ในระหว่างเรียนหากนักศึกษาประสบปัญหาสามารถขอรับคาปรึกษาได้จากครูแนะแนวตลอดภาคเรียน ซึ่งรูปแบบ
ดังกล่าวจะช่วยสร้างโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้ให้กับประชาชนลดข้อจากัดของการศึกษาในระบบโรงเรียน
 จัดทา (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาพื้นที่ชายแดน ชายฝั่งทะเลและเกาะแก่ง
(พ.ศ. 2559 - 2564) กระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ๑) ยุทธศาสตร์จัดและให้บริการ
การศึกษาแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ๒) ส่งเสริมการศึกษาวิจัยด้านการเสริมสร้าง
ความมั่นคง และการเรียนรู้ในการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี ๓) ส่งเสริมการธารงรักษาศิลปวัฒนธรรม ประเพณี
อันดีงาม การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วิถีชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น และ ๔) ส่งเสริมอาชีพ เพื่อหารายได้
จากการมีงานทาที่มั่นคง และสามารถดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 จัดการศึกษาแก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร์หรือไม่มีสัญชาติไทย โดยจัดประชุมการ
จัดการศึกษาแก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร์หรือไม่มีสัญชาติไทย เพื่อพิจารณาแนวทางการจัดการศึกษา
แก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร์หรือไม่มีสัญชาติไทย และการจัดการศึกษาของศูนย์การเรียนเด็กต่างด้าว
ในประเทศไทย โดยแต่ งตั้ งคณะกรรมการและคณะท างานในบางประเด็น ได้ แก่ ระบบข้ อมูลตั วเลข 13 หลั ก
ของผู้ไม่มีสัญชาติไทย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง และการศึกษาวิจัยเพื่อให้เกิดการแก้ปัญหา โดยมีผู้แทนจากหน่ วยงาน
ภายใน และหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย กระทรวงแรงงาน กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ สภาทนายความ
และมูลนิธิสร้างสรรค์เด็ก
๓. การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
 โครงการปฏิรูปการเรียนรู้สู่ผู้เรียน (Education Reform Lab & Coaching Lab) เพื่อต้องการ
ส่งเสริมการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษารองรับนโยบายการปฏิรูปการศึกษา เป็นเวลา ๓ ปีต่อเนื่อง
(พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๖๐) โดยมีสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๒๐ เขต เป็นหน่วยงานนาร่อง ครอบคลุมโรงเรียนนาร่อง
เขตละ ๑๕ แห่ง รวมกลุ่มโรงเรียนนาร่อง จานวน ๓๐๐ แห่ง ซึ่งมีความก้าวหน้าในการดาเนินการ ดังนี้ จัดสัมมนา
เชิงปฏิบัติการการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน (Reform Lab) และปฏิรูปการเรียนรู้สู่ผู้เรียน (Coaching Lab)
โดยสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ทั้ง ๒๐ เขต ร่วมกันเลือกประเด็นปัญหาสาคัญที่ต้องการแก้ไขและนาไปสู่การพัฒนา
และจัดทาแผนปรับปรุงคุณภาพโรงเรียน (School Improvement Plan) จัดส่งให้กับสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ สพฐ. ได้จัดทาแนวปฏิบัติโครงการปฏิรูปการเรียนรู้
สู่ผู้เรียนเพื่อการส่งเสริมการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษารองรับนโยบายการปฏิรูปการศึกษาสาหรับ
ให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๒๐ เขต โรงเรียนนาร่องและส่วนราชการที่เกี่ยวข้องนาไปเป็นแนวปฏิบัติ รวมทั้ ง
จัดให้มีทีมโค้ชสนับสนุนการติดตั้ง Coaching System และกระบวนการนิเทศโรงเรียนทั้ง ๒๐ สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา ซึ่งได้ดาเนินการตั้งแต่ปลายเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ เป็นต้นไป นอกจากนี้ เมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๘
กระทรวงศึกษาธิการได้มีคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการอานวยการโครงการปฏิรูปการเรียนรู้สู่ผู้เรียน และมีการประชุม
คณะกรรมการอ านวยการโครงการปฏิ รู ปการเรี ยนรู้ สู่ ผู้ เรี ยนครั้ งที่ ๑/๒๕๕๘ เมื่ อวั นที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๕๘
เพื่อรับทราบความก้าวหน้าการดาเนินงานโครงการ และพิจารณา แนวทางการขับเคลื่อนการดาเนินงานระยะต่อไป

๓๒
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 ส่งเสริมภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
 แนวทางการให้ เ งิ น อุ ด หนุ น การจั ด การศึ กษาขั้ น พื้ น ฐานของโรงเรี ย นเอกชน
โดยที่ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (กช.) ครั้งที่ ๑/๒๕๕๘ มีมติเห็นชอบในหลักการแนวทางการปรับ
โครงสร้างการขอรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนเอกชนทุกประเภทอย่างยั่งยืน
เป็น ๒ ระยะ โดยระยะที่ ๑ ปรับโครงสร้างเงินอุดหนุนรายบุคคลนักเรียนโรงเรียนเอกชนที่รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล
กว่า ๓.๙๐๐ โรงเรียนไปสู่การอุดหนุนด้านอุปสงค์หรือคูปองการศึกษาในอนาคตเท่ากันทุกระดับคือ ร้อยละ ๗๐
และระยะที่ ๒ ปรับเงินอุดหนุนรายบุคคลนักเรียนโรงเรียนเอกชนเพิ่มขึ้นจากอัตราร้อยละ ๗๐ อีกร้อยละ ๑๐ ต่อปี
เพื่อนาไปสู่อัตราร้อยละ ๑๐๐ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๘ คณะรัฐมนตรี อนุมัติหลักการเพิ่มเติมจากมติ
คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๓๙ ช่วยเหลือนักเรียนในรูปบัตรค่าเล่าเรียนหรือการอุดหนุนรายบุคคล
นักเรียนโรงเรียนเอกชนในอัตราร้อยละ ๑๐๐ ของค่าใช้จ่ายรายบุคคลนักเรียนภาครัฐเพิ่มเติมให้แก่นักเรียนประเภท
อาชีวศึกษาที่จัดการเรียนการสอนโรงเรียนการกุศลหรือการศึ กษาสงเคราะห์ที่ไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษา
จากนักเรียน ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๘ เป็นต้นไป ทั้งนี้ได้แต่งตั้งคณะทางานศึกษา แนวทางการให้การอุดหนุนของรัฐ
ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนเอกชน โดยมีปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน ซึ่งที่ประชุ มมีมติ
เห็ น ชอบก าหนดแนวทางการให้ ก ารอุ ดหนุ น ของรั ฐ ในการจั ดการศึ ก ษาขั้ นพื้ นฐานของโรงเรี ย นเอกชน
และคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ได้มีมติเห็นชอบในหลักการของแนวทางดังกล่าวเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์
2558 โดยให้นาเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป
 (ร่ าง) ประกาศคณะกรรมการส่ งเสริ มการศึ กษาเอกชน เรื่ อง หลั กเกณฑ์ วิ ธี ก าร
และเงื่อนไขการกู้ยืมเงินจากกองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบ พ.ศ. .... ที่ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
(กช.) ครั้งที่ 3/2558 ได้ให้ความเห็นชอบร่างประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขการกู้ยืมเงินจากกองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบ พ.ศ. .... เนื่องจากประกาศเดิมที่ใช้มาตั้งแต่ปี 2557 นั้น
ได้ให้การกู้ยื มเงินเฉพาะด้านการก่อสร้างหรือการซ่อมแซมอาคารเรียน อาคารประกอบ และการจั ดซื้ออุปกรณ์
การเรียนการสอนตามหลักสูตรเท่านั้น แต่ร่างประกาศฉบับใหม่จะเป็นช่วยเหลือโรงเรียนเอกชนเพิ่มขึ้น โดยสามารถ
กู้ยืมเงินเพื่อนาไปใช้จ่ายในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนได้ อันจะส่งผลให้โรงเรียนเอกชน
ทั่วประเทศมีคุณภาพและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการปรับปรุงร่างประกาศดังกล่าวก็เพื่อให้มีความเหมาะสม
และสอดคล้องกับระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน
และการบริหารกองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบ พ.ศ. 2556 อีกด้วย
นอกจากนี้ ที่ประชุมได้เห็นชอบ (ร่าง) ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยืมเงินจากกองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบ สาหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา
อิสลามภาคใต้ พ.ศ. .... ซึ่งมีหลักเกณฑ์เดียวกัน เพียงแต่เป็นเงินยืม ปลอดดอกเบี้ยสาหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา
อิสลามที่เปิ ดสอนวิชาศาสนาควบคู่ วิชาสามัญที่แปรสภาพมาจากโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม (ปอเนาะ)
และได้รับเงินอุดหนุนรายบุคคลใน 14 จังหวัดภาคใต้
 ส่ ง เสริ ม การจั ด การศึ ก ษาของสถานศึ ก ษาเอกชน โดยพั ฒ นาสาระการเรี ย นรู้
ด้ านคณิ ตศาสตร์ วิ ทยาศาสตร์ คุ ณธรรม จริ ยธรรม การอบรมวิ ชาชี พให้ กั บนั กเรี ยน บุ คลากรทางการศึ กษา
และผู้บริหารโรงเรียนเอกชน จานวน ๕๕,๐๘๑ คน โรงเรียนเอกชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการสนับสนุน
การพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา อาทิ การพัฒนาคุณภาพครู และการจัดการเรียนการสอน ๒,๖๓๒ แห่ง
รวมทั้งให้การอุดหนุนเป็นเงินค่าอาหารเสริม (นม) นักเรียน โรงเรียนเอกชน จานวน ๑,๕๙๖,๑๑๑ คน ๓,๑๘๑ แห่ง
และอุดหนุนเป็นเงินค่าอาหารกลางวันนักเรียน จานวน ๔๐๕,๐๘๙ คน ๑,๙๗๕ แห่ง
๓๓
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

๔. ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
 จัดบริการการศึกษาต่อเนื่องให้กับประชาชน โดยมีประชาชนกลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเรียน
ในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง จานวน 363,128 คน จัดกิจกรรมส่ งเสริมการเรียนรู้ตามอัธยาศัย
ในรูปแบบของห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสืออัจฉริยะ สื่ อ ETV แหล่งเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ทั่วประเทศ
รวม 2,588,110 คน ดาเนินโครงการจัดการความรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน โดยสานักงาน กศน.
ได้สารวจข้อมูล กศน.ตาบล ที่ตั้งอยู่ในวัดซึ่งมีจานวน ๒,๐๙๓ แห่งและมอบนโยบายให้จัดกิจกรรม กศน. โดยนาภาคี
เครือข่ายในพื้นที่ ได้แก่ วัด โรงเรียน ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม
เพื่อให้ บริ การแก่ นั กศึกษา กศน. และประชาชนในพื้ นที่ได้ตามเป้าหมายอย่ างมี ประสิ ทธิ ภาพ นั กศึกษา กศน.
และประชาชน ที่เข้าร่วมกิจกรรมเกิดการเรียนรู้สามารถพัฒนาตนเองและยังนาความรู้ที่ได้รับ ไปพัฒนาชุมชนในพื้นที่
 จั ดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยส าหรั บผู้สู งอายุ โดยด าเนินการ
จัดการศึกษานอกระบบ มีผู้สูงอายุเข้ารับบริการ รวม 321,262 คน จาแนกเป็นส่งเสริมการรู้หนังสือ 12,296 คน
จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ระดับชั้นประถมศึกษาถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย) 27,929 คน จัดการศึกษา
ต่อเนื่อง (การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต และการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา
สังคมและชุมชน) จานวน 281,037 คน และจัดการศึกษาตามอัธยาศัย อาทิ การบริการห้ องสมุดประชาชน
การบริหารบ้านหนังสืออัจฉริยะ การบริหารวิทยุและโทรทัศน์เพื่อการศึกษา มีผู้รับบริการ รวม 256,706 คน
 จัดระบบฝึกอาชีพเชิงพื้นที่เพื่อเพิ่มโอกาสคนพื้นที่ให้เข้าสู่อาชีพพื้นที่ โดย กศน. ตาบล
จานวน 7,424 แห่ง ดาเนินการฝึกอบรมอาชีพให้กับประชาชนใน โครงการ “หนึ่งคน หนึ่งอาชีพ” โดยการสารวจ
ผู้สนใจเข้ารับการอบรมและอาชีพที่ต้องการเข้ารับการอบรม ซึ่งมี 5 หลักสูตรกลุ่มอาชีพ ได้แก่ หลักสูตรกลุ่มอาชีพ
เกษตรกรรม หลักสูตรกลุ่มอาชีพอุตสาหกรรม หลักสูตรกลุ่มอาชี พพาณิชยกรรมและบริการ หลักสูตรกลุ่มอาชีพ
ความคิดสร้างสรรค์ และหลั กสู ตรกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง และจัดอบรมอาชีพให้กับประชาชนตามแผนการอบรม
ทั้ง 5 ภูมิภาค ผู้เข้ารับการอบรม รวม 256,329 คน และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๗ เห็นชอบ
ให้สานักงาน กศน. ดาเนินการฝึกอบรมอาชีพนอกภาคเกษตรให้กับประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง และถูกลด
การส่งน้าเพื่อการเพาะปลูก ข้าวนาปรังในพื้นที่ลุ่มน้าเจ้าพระยา และลุ่มน้าแม่กลอง ในพื้นที่ 14 จังหวัด จานวน
๑,๕๐๕ คน ๗๕ หลักสูตร โดยเริ่มดาเนินการเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๗ - เมษายน ๒๕๕๘ ส่งผลให้ผู้เข้าร่วมอบรม
อาชีพ มีความรู้และทักษะด้านอาชีพ และมีความพอเพียงในการดาเนินชีวิต ทาให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
 ฝึกวิชาชีพระยะสั้น สานักงานคณะกรรมการการส่งเสริมการศึกษาเอกชนได้ดาเนินการ ดังนี้
จัดอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นตามความต้องการของตลาดแรงงาน ได้แก่ หลั กสูตรวิชาเสริมสวย ตัดผมชาย
หลักสูตรวิชาการทาอาหารไทย หลักสูตรวิชาการทาขนม เบเกอร์รี่ หลักสูตรวิชาการผสมเครื่องดื่มนานาชาติ หลักสูตร
วิชาการนวดไทยเพื่อสุขภาพ ฯลฯ ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนนอกระบบศูนย์ฝึกวิชาชีพระยะสั้น ได้แก่ กลุ่มโรงเรียน
สอนเสริมสวย กลุ่มโรงเรียนสอนประกอบการทาอาหาร อาหารว่าง เครื่องดื่ม เบเกอร์รี่ กลุ่มโรงเรียนสอน ตัดเย็บ
เสื้ อผ้ า กลุ่ มโรงเรี ยนสอนการนวดไทยเพื่อสุ ขภาพ กลุ่มโรงเรี ยนสอนวิชาช่างประเภทต่าง ๆ กลุ่ มโรงเรียนสอน
ภาษาต่างประเทศ รวมทั้งพัฒนาทักษะผู้เรียนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น การแข่งขันทักษะวิชาชีพเสริมสวย แต่งหน้า
เจ้าสาว เกล้าผม การตัด ซอยผมฟรีสไตล์ ชาย – หญิง

๓๔
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 โครงการอุดมศึกษา สร้างความรู้ สร้างอาชีพ สร้างความสุข วิทยาลัยชุมชนจัดฝึกอบรมอาชีพ


ระยะสั้ นในพื้นที่ให้ บริการของวิทยาลั ยชุมชนทั้ ง 20 แห่ง โดยไม่คิดค่ าใช้จ่ายตามโครงการมอบของขวัญให้ แก่
ประชาชนในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2558 โดยแบ่งประเภทของกิจกรรม ได้แก่ การทาอาหาร การทาของใช้ ของที่ระลึก
การเกษตร การดูแลผู้สูงอายุ งานฝีมือ และด้านภาษา รวมทั้ง 75 กิจกรรม โดยมีผู้รับบริการรวมทั้งสิ้น 2,892 คน
 จัดกิจกรรม/โครงการต่างๆ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับเด็กและเยาวชน
 ส านั กงาน กศน. โดยศู นย์ วิ ทยาศาสตร์ เพื่ อการศึ กษาจั ดกิ จกรรมสร้ างความคิ ด
ปลูกจิตส านึกวิทยาศาสตร์ ให้กับเด็กและเยาวชน ได้แก่ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ขอนแก่น นครราชสี มา สระแก้ว ตรั ง ฯลฯ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ านวน 6,530 คน จัดมหกรรมวิทยาศาสตร์
เพื่ อคนชายแดนใต้ จ านวน 3 วัน มี ผู้ เข้ าร่ วมกิ จกรรมวันละ 3,00๐ คน นอกจากนี้ ร่ วมกับหน่วยงานต่ าง ๆ
เช่น อพวช. ปปส. และ กฟผ. เป็นต้น จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม สนับสนุนและเสริมสร้างความคิด ปลูกจิตวิทยาศาสตร์
ให้ กับนั กเรียน นั กศึกษาและประชาชน ได้แก่ จัดนิทรรศการชั่วคราว เรื่อง พระมหากษัตริย์ไทยกับการพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชื่อมโยงกับคณิตศาสตร์ จัดนิทรรศการ “ดาราศาสตร์ บันดาลใจ” ร่วมกับ อพวช.
จัดสร้างศูนย์เรียนรู้วิทยาศาสตร์กับการต้านยาเสพติด (Sceince and Anti – drug Learning Center) ร่วมกับ
สานักงาน ปปส. จัดนิทรรศการดาราศาสตร์ (อพวช.) นิทรรศการดาวเทียม (สทอภ.) และนิทรรศการเชื่อมโยงหอดูดาว
ในประเทศและต่างประเทศ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อการศึกษาร้อยเอ็ด ร่วมกับสถาบันวิจัยดาราศาสตร์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และร่วมมือกับองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติจัดกิจกรรมประกวด
โครงงานวิทยาศาสตร์ด้านธรรมชาติวิทยา ในระดับภูมิภาคศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ๖ แห่ง ในช่วงเดือนมีนาคม
๒๕๕๘ และประกวดระดับประเทศ ณ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ในช่วงปลายเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๘
รวมทั้ง สสวท. ได้ร่วมกับสถาบันเกอเธ่และองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) จัดงานเทศกาล
ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ ครั้งที่ 10 (Science Film Festival - SFF 2014) โดยมีเครือข่ายพันธมิตร
ที่ร่วมเป็ นศูนย์จั ดฉายทั่วประเทศรวม 19 แห่ง สนับสนุนการเผยแพร่ความรู้ด้านธรรมชาติ วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี โดยการนาเสนอผ่านสื่อภาพยนตร์ เพื่อแสดงให้เห็นว่าการสื่อสารและการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็น
เรื่องสนุก นอกจากนี้ เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ยังเปรียบเสมือนเวทีเพื่อการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากหลาย
วัฒนธรรม ซึ่งทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนมุมมองของโลกแห่งการเรียนรู้ มีผู้เข้าร่วมงาน 257,972 คน
 จัดค่ายปิดภาคเรียนฤดูร้อน “MOE Summer Camp ๒๐๑๕” โดยบูรณาการร่วมกับ
กระทรวงต่าง ๆ ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวัฒนธรรม
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กองทัพบก กองทัพอากาศ และกองทัพเรือ เพื่อส่งเสริมเด็กและเยาวชนให้มีการเรียนรู้
พัฒนาร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม โดยมีกิจกรรม รวมทั้งสิ้น ๒๙๙ กิจกรรม เป้าหมายการให้บริการ จานวน
๗๒๕,๓๑๘ คน ประกอบด้วยกิจกรรม ๓ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ ๑ ค่ายฝึกอบรม จานวน ๕๗ กิจกรรม มีกลุ่มเป้าหมาย
๖๒๒,๕๓๐ คน กลุ่มที่ ๒ ค่ายพักแรม จานวน ๖๔ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย ๒๑,๘๕๙ คน กลุ่มที่ ๓ ค่ายวิชาการ
จานวน ๑๖๕ กิจกรรม มีกลุ่มเป้าหมาย ๘๐,๙๒๙ คน และกลุ่มอื่น ๆ โดยจัดกิจกรรมในลักษณะจิตอาสา การสร้าง
ประสบการณ์แก่นักเรียน นักศึกษาในช่วงปิดภาคเรียน รวมทั้งให้บริการแหล่งเรียนรู้ จานวน ๑๒๔ แห่ง โดยเป็น
ศูนย์การเรียนรู้ ๑๑๒ แห่ง และพิพิธภัณฑ์ จานวน ๑๒ แห่ง ขณะนี้อยู่ระหว่างดาเนินการติดตามประเมินผลโครงการ
สาหรับการจัดกิจกรรมโดยกลุ่มศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จานวน 19 แห่ง ในภาพรวม พบว่า มีการจัดกิจกรรม
โครงการ จ านวน 41 กิ จกรรม/โครงการ จากเป้ าหมาย จ านวน 56 กิ จกรรม/โครงการ คิ ดเป็ นร้ อยละ 73

๓๕
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

และมีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ จานวน 9,289 แห่ง จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จานวน 7,011 คน คิดเป็น


ร้อยละ 132
 ปรับความรู้พื้นฐานวิชาภาษาไทยให้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนเข้าเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน –
15 พฤษภาคม 2558 รวม 22,363 คน และโครงการค่ายเสริมทักษะวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ นักเรียน
มีความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มีผู้เข้าร่วมโครงการ 115 คน ระหว่างวันที่ 6 – 28 เมษายน
2558 ณ โรงเรียนพีระยานาวินคลองหินวิทยา จังหวัดยะลา
 โครงการสร้างประสบการณ์แก่นักเรียน นักศึกษาในช่วงปิดภาคเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗
ระหว่างเดือนเมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๘ โดยมีเป้าหมาย คือ นักเรียน นักศึกษาที่มีอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ๗,๓๒๖ คน
ใช้ งบประมาณด าเนิ นการ ๓๓,๘๐๐,๐๐๐ ล้ านบาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ ายในการด าเนิ นโครงการและค่าตอบแทน
ที่เหมาะสม โดยฝึกประสบการณ์การทางาน ณ ที่ตั้งของส่วนราชการและสถานศึกษาในสังกัด สพฐ., สอศ., สกอ., สป.
ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค รวมทั้งโรงพยาบาล และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ
 จั ดการศึ ก ษาสายอาชี พ แก่ เ ด็ กพิ เศษ ส านั กงานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ กษา
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และพัฒนาเยาวชน (สสค.) และมูลนิธิ
เครือข่ายครอบครัว ร่วมดาเนินการนาร่องในสถานศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครด้วยกระบวนการวิจัยถอดบทเรียน
จากการดาเนินงานที่ผ่านมา ศึกษาเอกสารวรรณกรรมต่าง ๆ การสนทนากลุ่ม และการนิเทศติดตามการประเมินผล
รวมถึงดาเนินการคู่ขนานในเรื่องของการวิจัยเชิงระบบในการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาในเชิงนโยบายแก่เด็ก
พิเศษและผู้ พิการควบคู่ไปด้วย โดยมีสถานศึกษานาร่องจัดอาชีวศึกษาแก่ เด็กพิเศษ ได้แก่ วิทยาลัยสารพัดช่าง
นครหลวง วิ ทยาลั ยสารพั ดช่ างพระนคร วิ ทยาลั ยสารพั ดช่ างสี่ พระยา วิ ทยาลั ยสารพั ดช่ างธนบุ รี นอกจากนี้
ยังมีวิทยาลัยสารพัดช่างเชียงใหม่ วิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล ร่วมเป็นเครือข่ายแบ่งปันประสบการณ์การจั ดการ
เรียนการสอนแก่เด็กพิเศษและนักศึกษาพิการด้วย
 โครงการความร่วมมือการส่งเสริมการผลิตและพัฒนาชาวนาไทยรุ่นใหม่ โดยความร่วมมือ
ระหว่างสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และมูลนิธิข้าวไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อปลูกจิตสานึกและ
บ่มเพาะแนวคิดให้เยาวชนไทยตระหนักถึงความสาคัญของข้าวต่อวัฒนธรรมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย
สนับสนุนและส่งเสริมให้เยาวชนลูกหลานชาวนาเรียนรู้เทคโนโลยีและการจัดการที่ทันสมัย เพื่อเป็นชาวนารุ่นใหม่
ที่ มี ความรู้ ความสามารถเพื่ อช่ วยสร้ างภาพลั กษณ์ และปรั บปรุ งวิ ถี ชี วิ ตของชาวนาไทย ในยุ คใหม่ ให้ ยิ่ งขึ้ น
ซึ่งดาเนิ นการโดยมีวิทยาลั ยเกษตรและเทคโนโลยี ๔๔ แห่ง และวิทยาลั ยเทคโนโลยีและการจั ดการ ๒ แห่ ง
และมีนักเรียน นักศึกษา เยาวชน และผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ จานวน ๒,๐๐๐ คน
 พั ฒ นาและยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ทหารกองประจ าการ ประมาณ ๕๕,๒๘๓ นาย
โดยจัดกิจกรรมแนะแนวเพื่อสร้างความเข้าใจพื้นฐานให้นักศึกษาใหม่ที่เป็นทหารกองประจาการผลัดที่ ๒ พร้อมกัน
ทั่วประเทศ มอบสื่อและอุปกรณ์การเรียนให้กับนักศึกษาทุกคน จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้ นฐาน
ทุ กระดั บให้ กั บทหารกองประจ าการทุ กภาคเรี ยน จั ดมุ มเรี ยนรู้ มุ มสื่ อ แบบเรี ยน ฉบั บพกพาส าหรั บทหาร
กองประจาการหรือศูนย์การเรียนในหน่วยทหาร จานวน ๔๑๐ หน่วย โดยเริ่มดาเนินการตั้งแต่ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๗
จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพให้กับทหารกองประจาการก่อนปลดประจาการในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๗ – เมษายน
๒๕๕๘ ให้มีอาชีพ ๑ นาย ๑ อาชีพ จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพให้กับแม่บ้านทหาร รวมทั้งพัฒนาศักยภาพครูผู้สอน
ให้มีความพร้อมในการจัดการเรียนการสอน

๓๖
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

๕. ส่งเสริ มการอาชีวศึกษา ปรับภาพลักษณ์ และเร่งผลิตและพั ฒนากาลังคน เพื่อตอบสนองความ


ต้องการพัฒนาประเทศ
 ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
 จัดโครงการเรี ยนร่ วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
ในปีการศึกษา 2558 โดยมีแนวทางการจัดการศึกษา 2 รูปแบบ ได้แก่
 รูปแบบที่ 1 รับสมัครผู้สาเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อเรียนต่อ
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 ในโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเรียนสายสามัญ
ควบคู่กับการเรียนอาชีวะตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
 รูปแบบที่ 2 รับสมัครผู้สาเร็จการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อเรียนต่อ
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ในโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยลงทะเบียนเรียน
รายวิชาเตรียมวิชาชีพกับสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3
ก่อนจากนั้นเรียนวิชาชีพในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 แบบทวิภาคี ทั้งนี้ การดาเนินการทั้ง 2 รูปแบบ
เมื่อนักเรียนจบการศึกษาจะได้รับ 2 วุฒิการศึกษา และ 2 ประสบการณ์ ทั้งสายสามัญและวิชาชีพการเรียนในระบบนี้
ผู้เรียนสามารถอยู่ในระบบทวิภาคี คือ มีเวลาฝึกประสบการณ์ในอาชีพตั้งแต่ 1 ปี ขึ้นไป เน้นให้เด็กมีรายได้ระหว่าง
เรียน เมื่อจบแล้วมีงานทา โดยร่วมกับสถานประกอบการ ผลการรับสมัคร ณ วันที่ 15 พฤษภาคม 2558 (จะสิ้นสุด
การรับสมัครภายหลังการเปิดภาคเรียน 1 สัปดาห์) พบว่า มีผู้เรียนสนใจสมัครเข้าร่วมโครงการแล้วจาก 588 แห่ง
จานวน 30,405 คน เกินจากเป้าหมาย 10,505 คน แยกเป็นสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จานวน 29,696 คน และสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีกลุ่มนาร่อง
23 จังหวัด จานวน 709 คน
 ส าหรั บ ส านั กงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้ นพื้ นฐานได้ ได้ จั ดท าเอกสาร
การจั ดการศึ กษาโครงการเรี ยนร่ วมหลั กสู ตรอาชี ว ศึ กษาและมั ธยมศึ กษาตอนปลายในสถานศึ กษาสั งกั ด
เพื่อให้สถานศึกษาในสังกัดมีแนวทางในการจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ควบคู่ไปกับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ และมีแนวทาง
ในการเทียบโอนผลการเรียนเพื่อลดภาระการเรียนของนักเรียน และนักเรียนสามารถเรียนจบการศึกษา และได้รับวุฒิ
ประกาศนียบัตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยใช้เวลาเรียนไม่น้อยกว่า ๓ ปี พร้อมทั้ง
มีการประชุ มสร้ างความเข้าใจการจัดการศึกษาเรียนร่วมหลั กสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลายให้กับ
สถานศึกษาที่มีความสนใจเข้าร่วมโครงการ
 ส าหรั บ สถานศึ ก ษา กศน. ที่ ด าเนิ นการร่ ว มกั บ ส านั กงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษาจัดการศึกษา 11 สาขาวิชาในภาคเรียนที่ 1/2558 มีจานวน 25 แห่ง ในพื้นที่ 23 จังหวัด ได้แก่
กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี ตราด ระยอง เชียงราย สมุทรปราการ เชียงใหม่ ตาก พิษณุโลก นครราชสีมา กาฬสินธุ์
ขอนแก่น บุรีรัมย์ มุกดาหาร สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย เพชรบูรณ์ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ระนอง สงขลา
จานวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ รวม 709 คน
 จัดทาโครงการขยายอาชีวะอาเภอ : อาเภอชั้นหนึ่งและพื้นที่ที่จาเป็น โดยสานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้จัดทาโครงการขยายอาชีวะอาเภอ : อาเภอชั้นหนึ่งและพื้นที่ที่จาเป็น จานวน ๗ แห่ง
ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘ ได้ดาเนินการจัดสรรงบประมาณตามความจาเป็นของสถานศึกษา จัดทาคาสั่งแต่งตั้ง
ผู้ประสานงานการจัดตั้งสถานศึกษาอาชีวศึกษา ประชุมติดตาม กากับ ดูแล ให้คาแนะนาการดาเนินโครงการฯ
แก่สถานศึกษา รวมถึงพิจารณาให้การสนับสนุนทรัพยากรต่าง ๆ ตามความจาเป็นอย่างต่อเนื่อง ให้การสนับสนุน
๓๗
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

งบประมาณตามความจาเป็นและเหมาะสม เร่งรัดการดาเนินการก่อสร้าง และการเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามรายการ


ที่ได้รั บ รวมถึงเอกสาร/หลักฐานการมีสิ ทธิ์ ในพื้นที่ก่อสร้างสถานศึกษา แลขอความเห็นชอบพิจารณาแต่งตั้งผู้
ประสานงานการจัดตั้งสถานศึกษาโครงการ “ขยายอาชีวะอาเภอ” กรณีพิเศษ
 จั ด ท าโครงการจั ด การเรี ย นการสอนในโรงเรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษาในโครงการ
กองทุนการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้น้อมนาพระราชกระแสมาปฏิบัติ ซึ่งสอดคล้องกับ
นโยบายเรื่องการจัดการศึกษาตามรอยพระยุคลบาท โดยมอบหมายให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาในพื้นที่นาร่อง ๙ แห่ง
ประสานโรงเรียนมัธยมซึ่งได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการกองทุนการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ขยายโอกาสทางการศึกษาด้านวิชาชีพให้แก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษา ระยะแรกดาเนินการในพื้นที่ ๔ จังหวัด ได้แก่
จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสระแก้ว และจังหวัดสุพรรณบุรี
 ส่ งเสริ มและพั ฒนาโรงเรี ยนเอกชนอาชี วศึ กษาให้ มี คุ ณภาพสู่ มาตรฐานสากล
โดยผลักดันโรงเรียนอาชีวะเอกชนสู่มาตรฐานสากล โดยที่ประชุมกระทรวงศึกษาธิการให้ความเห็นชอบร่างมาตรฐาน
และเกณฑ์คุณภาพสู่มาตรฐานสากลสาหรับสถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา โดยกาหนดมาตรฐานและเกณฑ์
ประเมิน ประกอบไปด้วย ๓ มาตรฐาน ๑๕ ตัวบ่งชี้ และจัดให้มีการอบรมคณะกรรมการตรวจประเมินสถานศึกษา
เอกชนประเภทอาชีวศึกษา ให้มีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายการจัดการศึกษา บริบทของสถานศึกษาเอกชนประเภท
อาชีวศึกษา วิธีการและขั้นตอนการประเมินสถานศึกษาเอกชนอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพสู่มาตรฐานสากล มาตรฐาน
และเกณฑ์คุณภาพสู่ สากลส าหรั บสถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา ผู้ เข้ารับการอบรม จ านวน ๓๕ คน
จาก ๑๔ สถาบัน
 พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
 ปรั บหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง (ปวส.) ใหม่ โดยจัดพิมพ์คู่มือการใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ และหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗ ให้สถานศึกษานาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน รวมถึงเพื่อชี้แจง
สร้างความเข้าใจในการนา ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพบรรลุตามหลักการและจุดหมายของ
หลักสูตรและเป็นไปตามนโยบายการจัดการอาชีวศึกษา
 พัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบโครงการเป็นฐาน (Project-Based Learning
: PjBL) โดยใช้ใบช่วยสอนและการประเมินตามสภาพจริง ซึ่งเป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนหนึ่งที่ส่งเสริม
การเรียนรู้ตลอดชีวิต ใช้ทักษะกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องแสวงหาความรู้ ใช้กระบวนการคิด และพัฒนาทักษะ
ในการแก้ปัญหา เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๕ ซึ่งเน้นการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ และพระราชบัญญัติ
การอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑
 ยกระดับคุณภาพการใช้ภาษาไทย โดยคัดเลือกนักเรียนระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพ (ปวช.) ที่มีผลการเรียนในรายวิชาภาษาไทยที่ได้เกรด 1 หรืออ่อนมาก มาอบรมแบบเข้มด้วยหลักสูตรเร่งรัด
ใน 2 เดือน ในปีการศึกษา 2558 ได้พัฒนาภาษาไทยให้แก่นักเรียน นักศึกษาทุกคนรวมถึงนักเรียน นักศึกษา
ที่เข้าใหม่ระดับระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ ๑ เพื่อเป็นการปูพื้นฐานการเรียนวิชาต่าง ๆ พร้อมทั้ง
ดาเนิ นการพัฒนาพัฒนาคุ ณภาพการจั ดการเรียนรู้ภาษาไทยขึ้นเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการจั ดการเรียนรู้
ภาษาไทยให้แก่ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย และพัฒนาชุดการเรียนรู้รายวิชา ภาษาไทย สังคมศึกษาและทักษะชีวิต จานวน
๘ รายวิชา พร้อมทั้งพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน สาหรับผู้มีงานทาในรายวิชาหมวดทักษะชีวิต ตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖
๓๘
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 จั ดการเรี ยนการสอนภาษาต่ างประเทศในหลั กสู ตร English Program


และ Mini English Program ขณะนี้ดาเนินการในสถานศึกษาอาชีวศึกษา 127 แห่ง 27 สาขา มีผู้เรียน จานวน
6,100 คน นอกจากนี้พัฒนาศักยภาพนักเรียนด้านการใช้ภาษาจีน โดยดาเนินโครงการ Chinese Summer Camp
๔ ศูนย์ ประกอบด้วย วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี สุราษฎร์ธานี ลาปาง และวิทยาลัยเทคนิคยโสธร
 ดาเนินโครงการ “อาชีวะสร้างผู้ประกอบการใหม่แบบครบวงจร” มีทีมธุรกิจ
นั กเรี ยนนั กศึ กษา ที่ ผ่ านการคั ดเลื อกเข้ ารอบสุ ดท้ าย ๒๐ ที ม จาก ๑๐๐ ที ม และส านั กงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษาร่วมกับสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติจัดกิจกรรมเพื่อสร้างและพัฒนาศักยภาพขีดความสามารถ
ด้านการวิจัยและพัฒนาการประดิษฐ์คิดค้นของครูและนักศึกษา เพื่อก้าวสู่การเป็นนักวิจัยและนักประดิษฐ์คิดค้นที่ดี
มีคุณภาพ มีผู้เข้าร่วม รวม ๖๐๐ คน
 ส่งเสริมทักษะด้านอาชีวศึกษา ผ่านการจัดการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้
- ประกวด “สุดยอดนวัตกรรมอาชีวศึกษา เฉลิมพระเกียรติ ” การประกวด
สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ และการแข่งขันหุ่นยนต์ยุวชนอาชีวศึกษาระดับชาติ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗ เมื่อวันที่
๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ประกอบด้วย สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ จานวน ๒๒๐ ผลงาน ซึ่งจาแนกเป็น ๑๑ ประเภท
การแข่งขันหุ่นยนต์ยุวชนอาชีวศึกษา จากโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนทั่วประเทศ จานวน ๒๐ ทีม และประกวด
การนาเสนอผลงานเป็นภาษาอังกฤษ จานวน ๒๐ ผลงาน จัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
และนิ ทรรศการเทิ ดพระเกี ยรติ สมเด็ จพระเทพรั ตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ มารี เนื่ องในวโรกาสที่จะทรงมี
พระชนมพรรษาครบ ๕ รอบ การสาธิตการแข่งขันหุ่นยนต์ยุวชนอาชีวศึกษา ตลอดจนนิทรรศการด้านเทคโนโลยี
การเรียนการสอนและการฝึกอบรม ๑๐๘ อาชีพทาเงิน
- ส่ งที มนั กศึ กษาอาชี วะเป็ น ตั วแทนประเทศไทยเข้ าร่ วมการประกวดผลงาน
th
สิ่งประดิษฐ์ในงาน 26 International Invention & Innovation Exhibition เมื่อระหว่างวันที่ 21 – 23
พฤษภาคม 2558 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย มีผลงานเข้าประกวด 1,000 ผลงาน จาก 20 ประเทศ
โดยสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 3 แห่ง สามารถคว้ารางวัล ดังนี้ เครื่องทาลายกระจก
รถยนต์กรณีรถยนต์ตกน้าของวิทยาลัยสารพัดช่างอุบลราชธานี ได้รับรางวัลเหรียญทอง และรางวัลพิเศษจากฮ่องกง
(International Best Invention Award of Hongkong) อุปกรณ์เข้าขอบยางมุ้งลวดของวิทยาลัยเทคนิคพิษณุโลก
ได้รับรางวัลเหรียญทอง และรางวัลพิเศษจากประเทศซาอุดีอาระเบีย และ Cooking Engine ของวิทยาลัยเทคนิค
หนองคาย ได้รับรางวัลเหรียญทอง และรางวัลพิเศษจากอินโดนีเซีย
 พัฒนาผู้ บริ หาร ครู โรงเรียนเอกชนอาชีวศึกษา ครู ฝึกในสถานประกอบการ
ในด้านต่าง ๆ อาทิ พัฒนาครูฝึกในสถานประกอบการในหลักสูตร In-company Trainers จานวน ๔๒๖ คน ภายใต้
ความร่ วมมื อหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้ องและประเทศเพื่ อนบ้ านอี ก ๕ ประเทศ อาทิ พม่ า ลาว กั มพู ชา เวี ยดนาม
และฟิลิปปินส์ พัฒนาครูอาชีวศึกษาในสถานศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี โดยเป้าหมายปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๘ มีสถานศึกษาอาชีวศึกษา จานวน ๓๑๐ แห่ง จัดส่งเข้าฝึ กงานในสถานประกอบการในภาคฤดูร้อน
ครอบคลุ มทุ กประเภทและสาขาวิชา จ านวน ๑,๐๑๐ คน และพั ฒนาบุ คลากรอาชี วศึ กษากลุ่ มอาชีพยานยนต์
และชิ้นส่วน เพื่อพัฒนาทักษะความเชี่ยวชาญของกลุ่มครูผู้สอน ที่เรียกว่า “ครูช่างสร้างชาติ” รุ่นที่ ๒ ให้กับครูผู้สอน
ในสาขาวิชา ช่างเชื่อม ช่างกลโรงงาน ช่างแม่พิมพ์และช่างแมคคาทรอนิกส์ จานวน ๒๘ คน จาก ๑๕ สถานศึกษา
โดยฝึกอบรบภาคทฤษฎีในหลักสู ตรนั กบริหารระดับต้น ณ ส านักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
และภาคปฏิบัติในรูปแบบ One the Job Training ในสถานประกอบการกลุ่มยานยนต์และชิ้นส่วน สถาบันพัฒนาฝีมือ
แรงงาน และสถาบันไทยเยอรมัน
๓๙
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 ปรับภาพลักษณ์นักเรียน นักศึกษาอาชีวศึกษา
 จั ดกิจกรรมให้บริ การประชาชน ในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ จัดศูนย์อาชีวะอาสา
“ตรวจรถพร้อมใช้ ปลอดภัยแน่นอน” ในช่วงเทศกาลปีใหม่ ๒๕๕๘ จานวน ๒๕๐ จุดบริการ มีรถเข้ารับบริการ
จานวน ๔๐,๓๑๗ คัน นักเรียน นักศึกษาที่ออกให้บริการ จานวน ๒๑,๐๐๐ คน จัดโครงการอาชีวะอาสา เทศกาล
สงกรานต์ ๒๕๕๘ จานวน ๒๕๐ ศูนย์ มีรถเข้ารับบริการ 37,384 คัน จัดโครงการอาชีวะพัฒนา โดยออกค่ายอาสา
พัฒนาเพื่อซ่อม/สร้างอาคารอเนกประสงค์ ศูนย์การเรียนรู้ และหอพักนอนให้กับโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร
๒๗ จังหวัด มีผลการดาเนินงาน ดังนี้ สิ่งปลูกสร้างในโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขึ้นพื้นฐาน
จานวน ๒๒ หลัง โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน จานวน ๓๐ หลัง และโรงเรียนในกองทุนการศึกษา จานวน ๘ หลัง
จัดกิจกรรม “อาชีวะเอกชน สร้างคน สร้างชาติ” โดยนักเรียนจากสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน จานวน ๓๑,๒๖๙
คน จากสถานศึกษา 193 แห่ง ร่วมกิจกรรมจิตอาสาบริการชุมชนในพื้นที่ ๕ ภูมิภาค และสถานศึกษาอาชีวศึกษา
จานวน ๔ แห่ง ร่วมกับแอ็ดดร้า ประเทศไทย (ADRA Thailand) พัฒนาวิชาชีพแก่ผู้ที่พานักในศูนย์พักพิงชั่วคราว
ชายแดนไทย – เมียนมาร์
 จัดตั้งศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในจังหวัด
นราธิวาส โดยการซ่อม ตรวจเช็คสภาพยานพาหนะ จานวน ๑๓๓ คัน และบริการน้าดื่ม จานวน ๕,๓๔๐ ขวด ร่วมกับ
เทศบาลเมืองสุไหง - โกลก ระหว่างวันที่ ๑๙ – ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๗ จานวน ๓ ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์อาเภอสุไหง - โกลก
ศูนย์อาเภอสุไหงปาดี และศูนย์อาเภอแว้ง นอกจากนี้ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ มีกิจกรรมการให้บริการศูนย์ซ่อมสร้าง
เพื่อชุมชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลและเทศบาล จานวน ๗๒๐ แห่งทั่วประเทศ
 ดาเนินโครงการเตรียมความพร้อมอาชีวศึกษา รุ่น 2 สานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา (สอศ.) ร่ วมกับหลายหน่วยงาน ได้แก่ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)
กรมกิจการพลเรือนทหารเรือ หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง และโรงเรียน
ชุมพลทหารเรือ กองทัพเรือ ดาเนินการระหว่างวันที่ 20 เมษายน – 9 พฤษภาคม 2558 มีนักเรียนเข้าฝึกอบรม
จากสถานศึกษาสังกัด สอศ. จานวน 9 แห่ง จานวนนักศึกษา 466 คน และสังกัด สช. จานวน 1 แห่งจานวนนักเรียน
16 คน รวมสถานศึกษาทั้งสิ้น 10 แห่ง รวมนักเรียนนักศึกษาทั้งสิ้น 482 คน อบรม ณ หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน
หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง และโรงเรียนชุมพลทหารเรือ ผลจากการฝึกอบรมพบว่า นักเรียนที่เข้า
ร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ ทักษะพื้นฐานวิชาชีพ ฝึกระเบียบวินัย พัฒนาจิตใจให้มีความเข้มแข็ง
อดทนอดกลั้น และเกิดความรักสามัคคีในหมู่คณะ เชื่อมั่นว่าหลักสูตรการฝึกอบรมดังกล่าวจะสามารถปรับเปลี่ยน
ทัศนคติและค่านิยมของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ และทาให้ผู้ปกครองเกิดความภาคภูมิใจต่อบุตรหลานของตนเอง
 จัดกิจกรรม “THE HERO POWER CAMP” อบรมนักเรียน นักศึกษาอาชีวศึกษา
เอกชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และจังหวัดใกล้เคียง จานวน 143 คน ในระหว่างวันที่ 21 – 25 ธันวาคม
2557 ณ นครริมขอบฟ้าเมืองโบราณ จังหวัดสมุทรปราการ ให้มีความเป็นผู้นาในเชิงสร้างสรรค์ เพื่อเสริมสร้าง
คุณธรรมจริ ยธรรม และปลู กฝั งความคิดให้ มีความรู้ ความเข้ าใจ ทัศนคติ ที่ดีต่ อการเป็นผู้ นาในเชิ งสร้ างสรรค์
มีจิตสาธารณะ นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าผลประโยชน์ส่วนตน เคารพความคิดเห็นของผู้อื่น ตามค่านิยมหลัก
๑๒ ประการของคนไทย นาไปสู่การสร้างทรัพยากรมนุษย์ของชาติให้มีประสิทธิภาพ อันเป็นกลไกสาคัญ ในการพัฒนา
ประเทศให้มีคุณภาพต่อไป

๔๐
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 จัด “ค่ายสานสัมพันธ์ อาชีวศึกษา” อบรมนักเรียน นักศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน


เพื่อสร้างจิตสานึ กที่ดีในด้านคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย สามารถนาความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจาก
การอบรม ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิตได้ ตลอดจนเพื่อสร้างทัศนคติที่ดี เกี่ยวกับความสามัคคี ปรองดอง สมานฉันท์
รักในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และเทิดทูนพระคุณบิดา มารดา และครู อาจารย์ ผู้เข้าอบรม 57 คน
ระหว่างวันที่ 16 – 20 กุมภาพันธ์ 2558 ณ ฐานทัพเรือสัตหีบ จังหวัดชลบุรี จาก 5 สถาบันคู่ขัดแย้ง
 ผลิตกาลังคนด้านอาชีวศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของการพัฒนาประเทศ
 โครงการอาชีวศึกษามาตรฐานสากล ดาเนินการการศึกษาจุดเด่นของประเทศ
ต่าง ๆ มาปรับใช้เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาอาชีวศึกษา ให้มีมาตรฐานและสามารถผลิต
กาลังคนที่มีคุณภาพตามมาตรฐานนานาประเทศ ในสาขาที่เป็นความต้องการ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้แก่
อาชีวศึกษาไทย – เยอรมัน อาชีวศึกษาไทย – สิงคโปร์ อาชีวศึกษาไทย – จีน อาชีวศึกษาไทย – ญี่ปุ่น รวมทั้ง
อาชีวศึกษาไทย –อังกฤษ โดยมีสถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ๒๕ แห่ง
 จัดการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการในสถาบัน
การอาชีวศึกษาในปี พ.ศ. 2556 จานวน 9 สถาบัน รวม 16 สาขาวิชา รวม 43 หลักสูตร โดยสานักงานข้าราชการ
พลเรือน และสานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้มติรับรองคุณวุฒิผู้สาเร็จการศึกษา
ตามหลักสูตรปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2556 ดังกล่าวแล้ว ส่งผลให้ผู้สาเร็จการศึกษา
สามารถสมัครเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนและสอบบรรจุ เป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้
นอกจากนี้ในปี พ.ศ. 2557 มีการเปิดหลักสูตรปริญญาตรีสายปฏิบัติการรวมทั้งหมด 80 หลักสูตร ขณะนี้อยู่ระหว่าง
ทาเรื่องขอรับรองคุณวุฒิเช่นเดี่ยวกัน
 จั ดอาชี วศึ กษาระบบทวิ ภาคี โดยส านั กงานคณะกรรมการการอาชี วศึ กษา
มีผลการดาเนินการ ดังนี้
- ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระดับ
ทวิภาคี มีสถานศึกษานาร่อง อาทิ กลุ่มอุตสาหกรรม ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคบ้ านค่าย วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด
กลุ่มธุรกิจและการบริการ ได้แก่ วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ วิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต กลุ่มธุรกิจ
อาหาร ได้แก่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่ ฯลฯ
- จัดทาคู่มือสิทธิประโยชน์ทางภาษีให้กับสถานประกอบการที่ร่วมจัดอาชีวศึกษา
ระบบทวิภาคี เพื่อเป็นแนวทางสาหรับสถานศึกษาและสถานประกอบการที่จะใช้เป็นหลักการจัดการอาชีวศึกษาระบบ
ทวิภาคีได้มาตรฐานและมีคุณภาพ โดยสามารถยื่นลดหย่อนภาษีได้ ๒๐๐ % อีกทั้งยังดาเนินการจัดทาหลักเกณฑ์
การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยภารณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภารณ์เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติแก่สถาน
ประกอบการที่รวมจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี สร้างแรงจูงใจ ส่งเสริม สนับสนุนให้มีสถานประกอบการเพิ่มขึ้น
โดยในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ มีสถานประกอบการเข้าร่วมจัดการศึกษาทวิภาคี จานวน 8,090 แห่ง และในปี พ.ศ. 2558
มีสถานประกอบการเข้าร่วมจัดการศึกษาทวิภาคี จานวน 11,612 แห่ง
- ปรั บปรุ งแก้ไขคาสั่ งคณะอนุกรรมการร่ วมภาครั ฐและเอกชน เพื่ อสนั บสนุ น
การทางานของคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชน (กรอ.อศ.) เป็น ๑๙ กลุ่มอาชีพ และเนื่องจากยังไม่ครอบคลุม
กลุ่มอาชีพและสภาอุตสาหกรรม จึงอยู่ระหว่างดาเนินการจัดตั้งคณะอนุกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพิ่มเติมอีก
๔ กลุ่มอาชีพ

๔๑
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

- ลงนามความร่ ว มมื อจั ดอาชี ว ศึ ก ษาระบบทวิ ภ าคี ผลิ ตก าลั ง คนรองรั บ


ภาคอุ ตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม และภาคบริ การของประเทศ โดยสถาบั นการอาชี วศึ กษา 18 แห่ ง จั บคู่
กั บหอการค้ ากลุ่ มจั งหวั ด 18 จั งหวั ด เพื่ อสร้ างเครื อข่ ายความร่ วมมื อในการส่ งนั กเรี ยน นั กศึ กษา ระดั บ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เข้าฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ที่ต้องการให้ผลิตกาลังคนสายอาชีพเพิ่มขึ้น
- สร้างหลักสูตรใหม่ รองรับความต้องการของประเทศพร้อมก้าวสู่ AEC สานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ร่วมกับหน่วยงานภาคเอกชน จัดทาหลักสูตรอาชีวศึกษาเพื่อรองรับความต้องการ
กาลังคน ได้แก่ ๑) จัดทาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาเทคนิคกายอุปกรณ์ ร่วมกับมูลนิธิ
ขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี ๒) จัดทาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชา
เทคนิ คพลั งงาน ร่ วมกับกลุ่ มอุตสาหกรรมน้ ามั นและพลั งงาน สอนน าร่องใน ๕ วิ ทยาลั ย คื อ วิ ทยาลั ยเทคนิ ค
มหาสารคาม วิทยาลัยเทคนิคพิษณุโลก วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ วิทยาลัยเทคนิคลพบุรี และวิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
๓) จัดทาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ ร่วมกับบริษัท เดนโซ่
(ประเทศไทย) จ ากัด และสถาบั นไทย - เยอรมั น พัฒนาหลั กสู ตร โดยเปิ ดสอนในสถานศึกษาสั งกั ดส านั กงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา จานวน ๑๔ แห่งทัว่ ประเทศ ๔) จัดทาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
สาขาวิชาช่างอากาศยาน ร่วมกับบริษัท การบินไทย จากัด (มหาชน) ฝ่ายช่างอากาศยานประจาสถานีภูเก็ต ศูนย์ฝึก
การบินพลเรือน ในรูปแบบทวิภาคี คือ เรียนรายวิชาภาคทฤษฎี ณ วิทยาลัยเทคนิคถลาง และรายวิชาภาคปฏิบัติใน
สถานประกอบการ ได้แก่ บริษัท การบินไทย จากัด (มหาชน) ฝ่ายช่างท่าอากาศยานประจาสถานีภูเก็ต ศูนย์ฝึกการบิน
พลเรือน และ ๕) จัดทาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาการจัดการด้านความปลอดภัย ร่วมกับ
บริษัท เอเชียซิเคียวริตี้ เมเนจเม้นท์ จากัด และบริษัท กัทส์ อินเวติเกชั่น จากัด โดยจัดการเรียนการสอนในระบบ
เทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เพื่อพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ในสถานประกอบการให้มีสมรรถนะวิชาชีพ
ด้านการรักษาความปลอดภัยตามมาตรฐานสากลและก้าวหน้าในตาแหน่งงานที่สูงขึ้น
- ประเภทโรงเรียนอาชีวศึกษา ดาเนินโครงการสร้างเสริมประสบการณ์อาชีวศึกษา
และสร้างรายได้ระหว่างเรียนโรงเรียนเอกชน โดยจัดอบรมเชิงปฏิบัติครูฝึกครูนิเทศก์ เรื่องการจัดการอาชีวศึกษาระบบ
ทวิภาคีในสถานประกอบการ มีผู้เข้าอบรม จานวน ๑๒๗ คน จัดกิจกรรมศูนย์บริการวิชาชีพในภูมิภาค มีครูเข้าร่วม
กิจกรรม จานวน ๒๕๒ คน และนักเรียน นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม จานวน ๒,๔๖๑ คน สร้างเสริมรายได้ระหว่างเรียน
ให้แก่นักเรียน นักศึกษาโรงเรียนเอกชนในระบบ มีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม จานวน ๑,๑๕๖ คน
- ประเภทโรงเรียนนอกระบบ ดาเนินการจัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพในโรงเรียนนอกระบบ
ประเภทวิชาชีพ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ จานวน ๔๒ ศูนย์ ประกอบด้วยส่วนภูมิภาค จานวน ๓๓ ศูนย์
และส่วนกลาง จานวน ๙ ศูนย์
 พัฒนากาลังคนระดับอุดมศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถตรงตามความต้องการ
และทิศทางในการพัฒนาประเทศ ได้ดาเนินการดังนี้
- จั ดทาข้อมูลสนั บสนุนเชิงนโยบาย โดยอยู่ระหว่างการจัดท าข้ อมู ลการผลิ ต
กาลังคนสาขาต่างๆ ทั้งในและนอกสั งกัด เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดทาแผนการผลิ ตกาลั งคนระดับอุดมศึกษา
ของประเทศ (แผน Supply Side) รวมทั้งใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนผลิตและพัฒนากาลังคนให้สอดคล้องกับนโยบาย
รัฐบาลและเป็นข้อมูลประกอบการจัดทาโครงการต่าง ๆ
- จั ด ท ามาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ส าขาต่ า ง ๆ ที่ เ ที ย บเคี ย งได้ กั บ นานาประเทศ
เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เป็นแหล่งอ้างอิงในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรอย่างมีมาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐาน
๔๒
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

คุณวุฒิสาขาคอมพิวเตอร์ สาขาโลจิสติกส์ สาขาพยาบาลศาสตร์ สาขาการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาบัญชี สาขา


วิศวกรรมศาสตร์ สาขาครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์ สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ฯลฯ ซึ่งสอดคล้องกับข้อตกลง
ยอมรับร่วมกันของสมาชิกอาเซียนใน ๘ สาขาอาชีพ ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล นักบัญชี สถาปนิก วิศวกร
และนักสารวจ ตลอดจนบุ คลากรวิ ชาชีพท่องเที่ยว ทั้งนี้ มี ๒ สาขาวิชาที่จะประกาศใช้ คือ สาขาเภสัชศาสตร์
และสาขาสิ่งแวดล้อม
- การทบทวนปรับปรุ งมาตรฐานการอุดมศึ กษาและเกณฑ์มาตรฐานหลั กสู ตร
ระดับอุดมศึกษา โดยแบ่งกลุ่มหลักสูตรเป็น ๒ Track คือ สายวิชาการ และสายวิชาชีพหรือปฏิบัติการ ที่มุ่งเน้น
ให้บัณฑิตมีความรอบรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เน้นความรู้ สมรรถนะและทักษะด้านวิชาชีพตามข้อกาหนด
ของมาตรฐานวิชาชีพ หรือมีสมรรถนะและทักษะด้านการปฏิบัติเชิงเทคนิคในศาสตร์สาขาวิชานั้น ๆ ผ่านการฝึกงาน
ในสถานประกอบการ หรือการจั ด สหกิจศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการร่ วมมือระหว่างอุดมศึกษากับภาคธุรกิ จ
และภาคอุ ตสาหกรรม สร้ างบั ณฑิ ตที่ สามารถท างานได้ ดี ภายใต้ สภาพการท างานที่ เป็ นนานาชาติ นอกจากนี้
มีการกาหนดคุณสมบัติผู้เข้าศึกษาของหลักสูตรต่อเนื่อง จะต้องเป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูงหรื อเทียบเท่า หรื อระดับอนุปริ ญญา (๓ ปี) หรื อเทียบเท่า ในสาขาวิ ชาที่ตรงกับสาขาวิชาที่จะเข้าศึกษา
เพื่อรองรับนักศึกษาที่มีความสามารถและทักษะด้านการปฏิบัติในระดับ ปวส. หรืออนุปริญญา ที่ประสงค์จะศึกษาต่อ
รวมทั้ง สนับสนุนให้มีบุคลากรที่มีประสบการณ์จากหน่วยงานร่วมผลิตที่มีความร่วมมือ มาร่วมทาหน้าที่อาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้ สาหรับการทบทวนปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรดังกล่าว สานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา ได้มีการพิจารณาเรื่องนี้เป็นวาระพิเศษ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2558 และจะได้มีการทบทวนอีกครั้ง
ในวันที่ 8 กรกฎาคม 2558
 ยกระดั บ สถาบั น การศึ ก ษาทางด้ า นวิ ช าชี พ ส านั ก งานคณะกรรมการ
การอาชี วศึ กษาได้ มี การประชุ มร่ วมกั บผู้ แทนหน่ วยงานต่ าง ๆ ซึ่ งแต่ ละหน่ วยงานได้ รายงานความก้ าวหน้ า
ในการดาเนินการ ดังนี้
- จัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีกรอบการ
ดาเนิ นงานตามมาตรฐานคุ ณวุ ฒิ วิ ชาชี พและประกาศกระทรวงศึ กษาธิ การ การจั ดกลุ่ มสถาบั นการศึ กษาเป็ น
4 กลุ่ม ประกอบด้วย ๑) กลุ่ม ก : วิทยาลัยชุมชน ๒) กลุ่ม ข : สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี ๓) กลุ่ม ค : สถาบัน
เฉพาะทาง และ ๔) กลุ่ม ง : สถาบันที่เน้นการวิจัยขั้นสูง รวมทั้งการผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับ
ปริญญาเอก ทั้งนี้ สถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่งจะเป็นผู้เลือกประเภทหรือกลุ่มสถาบันเองตามปรัชญา วัตถุประสงค์
และพันธกิจที่ได้กาหนดไว้ ซึ่งปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่งได้จัดการเรียนการสอนตามกลุ่มสถาบันที่เลือก
สาหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ผลิตครูเดิมใช้ระยะเวลาการศึกษา 4 ปี ได้ปรับใหม่ให้เป็น 5 ปี โดยในปีที่ 5 ผู้เรียน
จะต้ องฝึ กสอนอยู่ ในสถานศึ กษา ส่ ว นหลั กสู ตรระดั บปริ ญญาตรี ด้ านการท่ องเที่ ยว ได้ ก าหนดให้ เรี ยน
ภาษาต่างประเทศเพื่องานอาชีพอย่างน้อย 15 หน่วยกิต
- กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้สนับสนุนการผลิตกาลังคนด้วยโครงการ
นาร่องความร่วมมือสถานศึกษาและสถานประกอบการจานวน ๘ แห่งในระบบ Work Integrated Learning (WIL)
และสานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) มีโครงการรถไฟฟ้า
ความเร็ ว สู งและระบบรางที่ ต้ องเตรี ยมผลิ ตก าลั งร่ วมกั บสถาบั นการศึ กษาระดั บอุ ดมศึ กษาผลิ ตบั ณฑิ ต
ด้านวิศวกรรมศาสตร์ จานวนมากกว่า ๒ หมื่นคนขึ้นไป
- สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ได้มีมาตรการสิทธิประโยชน์
ทางภาษีเพิ่มเติมตามคุณค่าของโครงการ (Merit-based Incentives) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อจูงใจและกระตุ้นให้มี
๔๓
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

การลงทุนหรือการใช้จ่ายในกิจกรรมที่จะเป็นประโยชน์ต่อประเทศหรืออุตสาหกรรมโดยรวมมากขึ้น โดยครอบคลุม
ตั้งแต่การวิจัยพัฒนา การสนับสนุนกองทุนด้านการพัฒนาเทคโนโลยี ค่าธรรมเนียมการใช้สิทธิเทคโนโลยีที่พัฒนาจาก
แหล่งในประเทศ การฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีขั้นสูง การพัฒนาผู้ผลิตวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนในประเทศ (Local Supplier)
ที่มีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๑ และ การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ทั้งนี้ หากนักลงทุน
ทั้งไทยและต่างประเทศมีการลงทุนหรือการใช้จ่ายตามหลักการของมาตรการสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพิ่มเติมตามคุณค่า
ของโครงการ (Merit-based Incentives) จะได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติมเป็นจานวนปีที่
เพิ่มขึ้น สูงสุด ๓ ปี แต่เมื่อนามารวมกับสิทธิประโยชน์พื้นฐานที่ได้รับอยู่เดิม จะต้องไม่เกิน ๘ ปี รวมทั้ง ให้นามูลค่า
การลงทุนหรือการใช้จ่ายในกิจกรรมดังกล่าว มาเพิ่มวงเงินภาษีนิติบุคคลที่จะได้รับยกเว้นเพิ่มเติมเป็นสัดส่วนร้อยละ
๑๐๐ ยกเว้นการลงทุ นหรื อค่ าใช้ จ่ ายในการวิ จัยพั ฒนาจะได้ รับวงเงิ นเพิ่มขึ้ น ร้ อยละ ๒๐๐ โดยมี หลั กเกณฑ์
และเงื่อนไขตามรายละเอียดของประกาศ สกท.ที่ 2/2557 ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2557
- กระทรวงอุตสาหกรรม รายงานข้อมูลผลการศึกษาตามโครงการจัดทายุทธศาสตร์
การผลิตและพัฒนากาลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ๕ สาขาหลัก คือ ยานยนต์
และชิ้นส่วน ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อาหาร เครื่องจักรกล สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ซึ่งคาดการณ์ในระยะยาว มีความ
ต้องการกาลังคนปี พ.ศ. ๒๕๖๕ สูงถึง ๔๘.๙ ล้านคน
- สภาหอการค้ า ไทยได้ จั ด ท าข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ระดั บ นโยบายกั บ
กระทรวงศึกษาธิการ และได้จัดทาข้อตกลงระดับปฏิบัติการเป็นพื้นที่กลุ่มจังหวัดที่มีหอการค้าตั้งอยู่จานวน ๑๘ กลุ่ม
โดยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้ยืนยันความต้องการกาลังคนของผู้ประกอบการที่เป็นสมาชิกเน้น ๕ สาขาหลัก
คือ ช่างกล ช่างเชื่อมโลหะ แม่พิมพ์ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และแมคคาทรอนิกส์ นอกจากนี้ ได้หารือถึงแนวทาง
การดาเนินงานเพื่อบรรลุตามข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี โดยความร่วมมือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการกาหนด
มาตรการจู งใจผู้ ประกอบการกลุ่ มต่าง ๆ ให้ เข้าร่วมส่งเสริมสนั บสนุนการผลิตและพัฒนากาลั งคนของประเทศ
โดยเฉพาะการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และการจัดสหกิจศึกษา
- ผลการรับผู้เรียนระดับอาชีวศึกษาในปีการศึกษา 2558 ขณะนี้สถานศึกษา
ต่ าง ๆ ในสั งกั ดส านั กงานคณะกรรมการการอาชี วศึ กษา (สอศ.) ได้ รั บผู้ เรี ยนเข้ าศึ กษาต่ อระดั บอาชี วศึ กษา
(สิ้นสุดการลงทะเบียนวันที่ 15 มิถุนายน 2558) ทั้งระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) รวมทั้งสิ้น 318,537 คน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา 86,052 คน โดยแบ่งเป็น 2 ระดับ ดังนี้
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) รับผู้เรียนเพิ่มขึ้น จานวน 53,386 คน แยกเป็น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
(ปวช.) (ปกติ ) 21,981 คน และระดั บประกาศนี ยบั ตรวิ ชาชี พ (ปวช.) (ทวิ ศึ กษา) 31,405 คน และระดั บ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) รับผู้เรียนเพิ่มขึ้น จานวน 32,666 คน ทั้งนี้ ปัจจัยความสาเร็จซึ่งมีผลทาให้
เพิ่มปริมาณผู้เรียนในปีนี้ คือ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้งยุทธศาสตร์และกลยุทธ์
ของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา คือ การสร้างภาพลักษณ์อาชีวะสร้างชาติและฝี มือชนคนสร้างชาติ
การคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ ของอาชีวศึกษา อาทิ การจัดระบบทวิภาคี ทวิศึกษา Pre.VET R-Innovation ตลอดจน
องค์กรเครือข่ายต่าง ๆ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วม โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชน
เพื่อพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษา (กรอ.อศ.) ที่ได้เข้ามามีบทบาทสาคัญต่อการอาชีวศึกษา
 การจัดการศึกษาในวิทยาลัยชุมชน ผู้รับบริการการศึกษาระดับอนุปริญญา ระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ที่กาลังศึกษาอยู่ ณ ภาคการศึกษา
2/๒๕57 รวม 11,385 คน เปิดสอนในสาขาวิชา ได้แก่ การศึกษาปฐมวัย การปกครองท้องถิ่น สาธารณสุขชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุชุมชน การโรงแรม การจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน การบริหารการพัฒนาท้องถิ่น
๔๔
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

อย่างยั่งยืน ธุรกิจระหว่างประเทศในกลุ่มอินโดจีน ฯลฯ รวมทั้งมีผู้รับบริการหลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสร้าง


ประสบการณ์ด้านอาชีพและคุณภาพชีวิต รวมทั้งสิ้น 24,750 คน/61 ชุมชน ดาเนินการภายใต้ 1) โครงการจัดการ
ความรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน มีผู้รับบริการ 9,989 คน/61 ชุมชน 2) กิจกรรมพัฒนาทักษะและ
เสริมสร้างประสบการณ์ด้านอาชีพ และด้านคุณภาพชีวิต จานวน 14,761 คน ตัวอย่างหลักสูตร เช่น หลักสูตรภาษา
กัมพูชาเพื่อการสื่อสาร หลักสูตรการเพาะเห็ดโคนญี่ปุ่น หลักสูตรการนวดเท้าเพื่อสุขภาพ หลักสูตรการใช้งานโปรแกรม
สานักงานเบื้องต้น เป็นต้น
๖. ผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
 พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครู
 จัดทา (ร่าง) ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนาครู แต่งตั้งคณะอนุกรรมการปฏิรูประบบ
การผลิตและพัฒนาครู เพื่อทาหน้าที่ในการกาหนดนโยบายการผลิต การพัฒนา รวมทั้งระบบบริหารงานบุคคลของครู
และบุคลากรทางการศึกษาที่สอดคล้องกับกรอบการปฏิรูปการศึกษา รวมถึงสนับสนุนการดาเนินงานปฏิรูปการศึกษา
ของคณะกรรมการอานวยการปฏิรูปการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งได้มีมติแต่งตั้งคณะทางาน ๒ ชุด ประกอบด้วย
๑) คณะทางานด้านปฏิรูประบบการผลิตครู และ ๒) คณะทางานด้านปฏิรูประบบการพัฒนาครู พร้อมจัดประชุม
ปฏิบัติการคณะทางานทั้ง ๒ คณะ เพื่อจัดทารายละเอียดกิจกรรม โครงการ รวมถึงตัวชี้วัดในแต่ละยุทธศาสตร์
และมาตรการ โดยมีความก้าวหน้าในการดาเนินงานภาพรวมที่สาคัญ ได้แก่
 (ร่าง) ยุทธศาสตร์ การผลิตและพัฒนาครู ที่ประชุมคณะกรรมการอานวยการ
ปฏิรูปการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ครั้งที่ ๕/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๘ มีมติเห็นชอบในหลักการ (ร่าง)
ยุ ท ธศาสตร์ ก ารผลิ ต และพั ฒ นาครู ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ๕ ยุ ท ธศาสตร์ ๑๘ มาตรการ และมอบหมาย
ให้คณะอนุกรรมการปฏิรูประบบการผลิตและพัฒนาครูจัดทารายละเอียดแนวปฏิบัติ/แผนปฏิบัติการ เพื่อมานาเสนอ
คณะกรรมการอานวยการฯ อีกครั้ง จากนั้นสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้นาเสนอ (ร่าง) ยุทธศาสตร์ฯ ดังกล่าว
ในการประชุมสภาการศึกษา ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๘ ซึ่งที่ประชุมได้พิจารณาให้ความ
เห็นชอบในหลักการเช่นกัน นอกจากนี้ได้มีการประชุมรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน
2558 โดยมีการจัดทาโครงการเพื่อรองรับยุทธศาสตร์ดังกล่าว ดังนี้
- ยกร่ างโครงการด้านการผลิ ตครู ได้ แก่ โครงการคุ รุ ทายาท เป็ นการน าร่ อง
การผลิ ตครู ระบบจ ากั ดรั บ (ระบบปิ ด) ให้ กั บส านั กงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้ นพื้ นฐาน และส านั กงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยดึงดูดคนดี คนเก่ง เข้ามาศึกษาวิชาชีพครู ด้วยหลักสูตรและกระบวนการที่เน้น
การปฏิบัติและการฝึกอบรมที่เข้มข้น และเมื่อสาเร็จการศึกษาเป็นครูที่มี ความรู้ทางวิชาการ เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
และมีอุดมการณ์ในวิชาชีพครู จะได้รับการบรรจุเข้ารับราชการ เป็นข้าราชการครูในภูมิลาเนาของตนเอง เพื่อเป็น
การพัฒนาชุมชนท้องถิ่น และลดปัญหาเรื่องการโยกย้าย จานวน 68,000 คน แบ่งเป็น 1) กลุ่มนิสิตนักศึกษาครู
ที่กาลังศึกษา เพื่อให้มีครูที่มีคุณภาพเข้าสู่ระบบการศึกษาอย่างต่อเนื่องทุกปีโดยมีการดาเนินงาน 5 รุ่น จานวน
10,000 คน 2) กลุ่มผู้ เข้าเรียนวิชาชีพครูใหม่ ผลิตครูจานวน 10 รุ่น ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2558-2567 รวม
58,000 คน งบประมาณสนับสนุนการดาเนินงาน ในวงเงิน 8,106 ล้านบาท ได้แก่ ทุนการศึกษา 3,451 ล้านบาท
งบพัฒนาศักยภาพและทักษะความเป็นครู จานวน 4,260 ล้านบาท งบการบริหารโครงการ จานวน 395 ล้านบาท
ขณะนี้ อยู่ระหว่ างการประสานงานส านั กงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่ งเป็นฝ่าย
เลขานุการ เพื่อนาเสนอโครงการคุรุทายาท (พ.ศ. 2558 - 2572) ต่อคณะกรรมการนโยบายและพัฒนาการศึกษา
(Super Broad) พิจารณาและให้ข้อเสนอแนะก่อนเสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป
๔๕
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

- ยกร่างโครงการด้านการพัฒนาครู ได้แก่ โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการ


ศึกษาประจาการระบบเครือข่ายเชิงพื้นที่ เนื่องจากคณะอนุกรรมการปฏิรูประบบการผลิตและพัฒนาครูได้มีมติในการ
ประชุ มครั้ งที่ ๓/๒๕๕๘ เมื่ อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ให้คณะทางานด้านปฏิรู ประบบการพัฒนาครู จัดท า
รายละเอียดโครงการด้านการพัฒนาครู ประกอบด้วย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม สมรรถนะที่ต้องการให้เกิดจากการ
พัฒนา การจัดตั้งเครือข่ายสถาบัน การบริหารจัดการเครือข่าย ฯลฯ คณะทางานฯ จึงได้ประชุมปฏิบัติการจัดทา
โครงการฯ เมื่ อวั นที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เพื่ อจั ดท ารายละเอี ยดโครงการดั งกล่ าว และขณะนี้ อยู่ ระหว่ าง
การปรับแก้ในรายละเอียดตามความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากที่ประชุม จากนั้นจะได้นาเสนอต่อคณะอนุกรรมการ
ปฏิ รู ประบบการผลิ ตและพั ฒนาครู เพื่ อพิ จารณาก่ อนน าเสนอคณะกรรมการอ านวยการปฏิ รู ปการศึ กษา
กระทรวงศึกษาธิการพิจารณาในลาดับต่อไป
 จัดประชุมสัมมนา เรื่ อง การปฏิ รูประบบการผลิตและพัฒนาครู ในอนาคต :
ปัญหาและการแสวงหาแนวทางการแก้ไข เพื่อระดมความคิดเห็ นจากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหารสถาบันการศึกษา
ระดั บอุ ดมศึ กษา คณะศึ กษาศาสตร์ ครุ ศาสตร์ และผู้ เกี่ ยวข้ องกับการผลิ ตครู ในสถาบันอุ ดมศึ กษา เมื่ อวั นที่
๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ เพื่อให้ได้แนวทางแก้ไขปัญหาและการปฏิรูประบบผลิตและพัฒนาครูนาเสนอในที่ประชุม
กระทรวงศึกษาธิการ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ โดยที่ประชุมเห็นด้วยในหลักการตามที่เสนอ
และมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปพิจารณาในแต่ละประเด็นและจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงาน
และผู้ที่เกี่ยวข้อง
 ส่งเสริมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
 วางแผนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็นระบบ
ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการพัฒนาปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติมกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
- ปรั บปรุ งหลั กเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสอบแข่งขันบรรจุ บุคคลเข้ ารั บ
ราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา ๓๘ ค. (๒)
- ปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา ๓๘
ค. (๒) ในสายงานนิติการ ให้ได้รับเงินเพิ่มสาหรับตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ตาแหน่งนิติกร (พ.ต.ก.) และ (๑.๓) แก้ไข
กฎ ก.ค.ศ. การจั ดประเภทตาแหน่ ง ระดับตาแหน่งการให้ได้รับเงินเดือน และเงินประจาตาแหน่งของบุคลากร
ทางการศึกษาอื่นตามมาตรา ๓๘ ค. (๒) (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยเป็นไป เพื่อให้ได้รับสิทธิประโยชน์ไม่เกิดความ
เหลื่อมล้า สอดคล้องกับแนวทางที่ ก.พ. กาหนด
 พัฒนาระบบการพัฒนาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา โดยการออก
หลั กเกณฑ์ ได้ แก่ หลั กเกณฑ์ และวิ ธี การเตรี ยมความพร้ อมและพั ฒนาอย่ างเข้ ม หลั กเกณฑ์ และวิ ธีการพัฒนา
ผู้ใต้บังคับบัญชา หลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการและผู้อานวยการ สถานศึกษา
หลั กเกณฑ์ และวิธี การพั ฒนาก่ อนแต่ งตั้ งให้ มี หรื อเลื่ อนเป็ นวิ ทยฐานะช านาญการพิ เศษและวิ ทยฐานะเชี่ ยวชาญ
และระเบียบ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการส่งเสริมสนับสนุนให้ไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน และปฏิบัติงานวิจัยและพัฒนา ฯลฯ
 ปรับปรุงหลักเกณฑ์การพิจารณากาหนดตาแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
ในสถาบันอุดมศึกษา ขณะนี้อยู่ระหว่างดาเนินการ ปรับปรุงมาตรฐานภาระงานทางวิชาการของผู้ดารงตาแหน่ง
อาจารย์ ผู้ ช่ วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ โดยอยู่ ระหว่ างน าเสนอรั ฐมนตรี ว่ าการ
กระทรวงศึกษาธิการ ลงนามในประกาศ และขณะนี้อยู่ระหว่างกระบวนการคัดเลือกผู้รับทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอก
ภายใต้โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับในสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้

๔๖
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 รับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษา เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา จานวน ๑๐๒ หลักสูตร รับรองความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยการเทียบโอน จานวน
๗,๐๕๒ ราย ออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ จานวน ๕๗,๖๓๖ ราย และต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ จานวน
๒๓๓,๖๕๘ ราย และดาเนินการสืบสวน สอบสวน การประพฤติผิดจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
จานวน ๓๙ เรื่อง นอกจากนี้ ได้ดาเนินการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของวิชาชีพ ให้แก่ผู้ประกอบ
วิชาชีพทางการศึกษา ตามหลักสูตรที่กาหนด ขณะนี้มีผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาได้รับการพัฒนาแล้วไม่น้อยกว่า
๑๑,๐๐๐ คน
 จัดการประชุมวิชาการ “สานพลังเรียนรู้ครูนักปฏิบัติ : คืนความสุขสู่ผู้เรียน”
ภายใต้ความร่วมมือระหว่ างส านั กงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส.) ส านักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (สป.ศธ.) สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.)
และมูลนิธิสถาบันวิจัยระบบการศึกษา (IRES) เมื่อวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นจุดเริ่มต้น
ของเวที ส าหรั บครู นั กปฏิ บั ติ ที่ กระจายอยู่ ทั่ วประเทศ ให้ ได้ แลกเปลี่ ยนเรี ยนรู้ ประสบการณ์ จากการท างาน
เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการเตรียมการปฏิรูปการศึกษาทั้งในระดับพื้นที่ โรงเรียน จนถึงระดับห้องเรียน
 แก้ไขปัญหาขาดแคลนครู
 รับรองคุณวุฒิและปริญญาที่เป็นสาขาขาดแคลนตามความต้องการของหน่วย
ผู้ใช้ โดยคณะกรรมการคุรุสภาเห็นชอบให้ผู้ที่มีคุณวุฒิสาขาขาดแคลนด้านอาชีวศึกษาสามารถขอหนังสืออนุญาต
ให้ปฏิบัติการสอนโดยไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูจากคุรุสภา มีอายุ ๙๐ วัน เพื่อใช้ในการสมัครสอบครูผู้ช่วยได้
จานวน ๙๘ สาขา สาหรับในส่วนของ สพฐ. ได้อนุมัติ จานวน ๑๐ สาขา โดยมีการจัดทาเป็นประกาศคณะกรรมการ
คุรุสภา เรื่องกาหนดประเภทวิชาและสาขาขาดแคลน ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
นอกจากนี้ ได้มีการจัดทาประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่องบุคคลผู้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องมีใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพควบคุมเป็นการชั่วคราว จานวน 130 รายและผู้มีคุณวุฒิสาขาขาดแคลน กลุ่มวิชากายภาพบาบัด จานวน
178 ราย และดาเนินการปรับปรุงข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๗ เพื่อให้มีความ
เหมาะสมยิ่งขึ้น โดยจัดทาข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๘
 ประกาศใช้ หลั กเกณฑ์ เ พื่ อแก้ ไ ขปั ญ หาการขาดแคลนครู โดยประกาศ
ใช้หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุแต่งตั้งเข้ารับราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตาแหน่งครูผู้ช่วย
ที่มีเหตุ พิเศษ ประกาศใช้หลักเกณฑ์และวิธีการโอนพนักงานส่วนท้องถิ่นและข้าราชการอื่นมาบรรจุและแต่งตั้ง
เป็ นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสายงานการสอน นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาระบบเกณฑ์มาตรฐาน
อัตรากาลังในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับอาชีวศึกษา โดยจะดาเนินการวิเคราะห์และจัดทาข้อมูล
เพื่อเสนอ อ.ก.ค.ศ.วิสามัญเกี่ยวกับการพัฒนานโยบายและระบบบริหารงานบุคคล โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
การบริหารอัตรากาลังฯ ใน ๓ ภูมิภาค
 ออกประกาศคณะกรรมการคุ รุ สภา เรื่ อง การรั บรองหลั กสู ตรอบรมความรู้
เพื่อประกอบการขอรั บใบอนุ ญาตประกอบวิ ชาชีพครู ของชาวต่างประเทศ และประกาศคณะกรรมการคุรุ สภา
เรื่ อง การรั บรองการปฏิ บั ติ การสอนในสถานศึ กษาเพื่ อประกอบการขอรั บใบอนุ ญาตประกอบวิ ชาชี พครู ของ
ชาวต่างประเทศ

๔๗
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 จั ด สรรทุ น ศึ ก ษาต่ อ ระดั บ ปริ ญ ญาเอก เพื่ อ ผลิ ต และพั ฒ นาอาจารย์


ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐให้มีคุณวุฒิปริญญาเอกในสาขาวิชาที่ขาดแคลน ๑๖ สาขา จานวน ๕,๓๔๒ ทุน ขณะนี้
มีผู้ รั บทุนที่ส าเร็ จการศึกษา จ านวน ๓,๘๓๕ คน และอยู่ระหว่ างศึกษาต่อด้วยทุนส่วนตัว จ านวน ๑,๔๒๔ คน
และจัดสรรทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอก เพื่อผลิตและพัฒนาอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาให้มีคุณวุฒิปริญญาเอก
เพิ่มขึ้น จานวน ๑,๒๕๙ ทุน ขณะนี้มีผู้รับทุนที่สาเร็จการศึกษาจานวน ๗๕๖ ราย และอยู่ระหว่างศึกษาต่อด้วยทุน
รัฐบาล จานวน ๒๒ คน และศึกษาต่อด้วยทุนส่วนตัว จานวน ๔๖๑ คน
 ส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพข้าราชการ
 การแก้ไขปัญหาหนี้สินครู กระทรวงศึกษาธิการร่วมกับธนาคารออมสิน ได้กาหนด
มาตรการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยแบ่งลูกหนี้และแนวทางการแก้ไขออกเป็น ๔ กลุ่ม ดังนี้
- กลุ่ มลู กหนี้ วิ กฤตรุ นแรง คื อ ลู กหนี้ ที่ อยู่ ระหว่ างการถู กฟ้ องถู กด าเนิ นคดี
หรือถูกบังคับคดี ขาดความสามารถในการชาระหนี้จากสาเหตุที่จาเป็น หรือเป็นลูกหนี้ที่มีทรัพย์สินน้อยกว่าหนี้สิน
ให้ชะลอการฟ้องดาเนินคดี หรือการบังคับคดีไม่เกิน 3 ปี (ต้องมีระยะเวลาฟ้องคดีเหลือไม่น้อยกว่า 2 ปี) พักชาระ
ดอกเบี้ยไม่เกิน 3 ปี แต่ให้ชาระหนี้เงินต้น เมื่อครบ 3 ปี ให้นาดอกเบี้ยที่พักไว้เฉลี่ยจ่ายคืนรวมกันเงินงวดต่อไป
- กลุ่มลูกหนี้ใกล้ วิกฤต คือ ลูกหนี้ที่มีหนี้ ค้างช าระเกินกว่ า 12 งวดติ ดต่อกัน
(ก่อนวันที่ 1 มิถุนายน 2558) ให้พักชาระดอกเบี้ยไม่เกินครึ่งหนึ่ง เป็นเวลาไม่เกิน 2 ปี แต่ให้ ชาระหนี้เงินต้น
และดอกเบี้ยส่วนที่เหลือ เมื่อครบ 2 ปี ให้นาดอกเบี้ยที่พักไว้เฉลี่ยจ่ายคืนรวมกับเงินงวดต่อไป
- ลูกหนี้ที่มีหนี้ค้างชาระไม่เกิน 12 งวดติดต่อกัน สามารถปรับปรุงโครงสร้างหนี้
ตามมาตรการของธนาคารออมสิน
- ลูกหนี้ปกติ คือ ลูกหนี้ที่ยังไม่ได้ผิดนัดชาระหนี้ และสามารถบริหารจัดการหนี้
ได้ให้พักชาระเงินต้นไม่เกิน 2 ปี แต่ให้ชาระดอกเบี้ย
ส านั กงานคณะกรรมการข้ าราชการครู และบุ คลากรทางการศึ กษา (ก.ค.ศ.)
ได้มีหนังสือถึงส่วนราชการและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทาง
การศึกษา รวมทั้งข้าราชการบานาญในสังกัด ที่เป็นลูกหนี้กับธนาคารออมสิน และประสงค์เข้าร่วมมาตรการดังกล่าว
สามารถยื่ นค าขอลงทะเบี ยนที่ ผ่ านการรั บรองจากผู้ บั งคั บบั ญชา ได้ ที่ ธนาคารออมสิ นทุ กสาขา ภายในวั นที่
31 กรกฎาคม 2558 สาหรับลูกหนี้ กลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 จะต้องแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ตามแบบที่
กาหนด ทั้งนี้สามารถดาวน์โหลดแบบคาขอลงทะเบียน และแบบแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ได้ที่เว็บไซต์
ของสานักงาน ก.ค.ศ. www.otepc.go.th และ เว็บไซต์ของธนาคารออมสิน www.gab.or.th
 ประเมินวิทยฐานะครู สานักงาน ก.ค.ศ. ได้ประกาศใช้หลักเกณฑ์หลักเกณฑ์และ
วิ ธี การให้ ข้ าราชการครู และบุ คลากรทางการศึ กษามี วิ ทยฐานะหรื อเลื่ อนเป็ นวิ ทยฐานะช านาญการพิ เศษ
และวิทยฐานะเชี่ยวชาญตามข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยกาหนดให้ผู้เข้ารับการประเมินต้องผ่านการทดสอบความรู้
ความสามารถและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพจากส่วนราชการต้นสั งกัด และต้องมีข้อเสนอในการพัฒนางาน
ตามหน้ าที่ และความรั บผิ ดชอบ ซึ่ งสามารถยกระดั บคุ ณภาพผู้ เรี ยนและคุ ณภาพการศึ กษาได้ ตามนโยบาย
ของกระทรวงศึกษาธิการ ผู้ที่มีคุณสมบัติตามหลั กเกณฑ์จะต้องพัฒนางานตามข้อตกลง เป็นระยะเวลา 2 - 3 ปี
โดยเริ่ มพัฒนางานตามข้อตกลงในปี การศึกษา 2559 ซึ่ งส่ วนราชการได้จั ดส่ งรายละเอี ยดการทดสอบความรู้
ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพเพื่อให้ สานักงาน ก.ค.ศ. พิจารณาให้ความเห็นชอบ
โดยสานักงาน ก.ค.ศ. ต้องพิจารณาเห็นชอบรายละเอียดการทดสอบและประเมินฯ พร้อมทั้งแจ้งคู่มือการประเมิน
4 สายงาน ให้ส่วนราชการ และหน่วยงานการศึกษาเพื่อถือปฏิบัติ ภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2558
๔๘
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 ปรั บปรุ งหลั กเกณฑ์ การย้ ายครู ได้ จั ดประชุ ม อ.ก.ค.ศ.วิ สามั ญเฉพาะกิ จ
เพื่อปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการย้ายข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยในเบื้องต้นที่ประชุม ได้พิจารณา
แนวทางการปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการย้ายข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึ กษา สายงานการสอน สรุปได้
ดังนี้ ควรนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพฤติกรรมและคุณลักษณะของนักเรียนย้อนหลัง ๒ ปีติดต่อกัน มาเป็นเกณฑ์
ในการพิจารณาย้ายและควรกาหนดให้ยื่นคาร้องขอย้ายได้ปีละ ๑ ครั้ง ในระหว่างวันที่ ๑ – ๑๕ กรกฎาคม ทั้งนี้
คาร้องขอย้ายดังกล่าว ให้ใช้พิจารณาย้ายได้ถึงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ของปีถัดไป ทั้งนี้ สานักงาน ก.ค.ศ. จะได้นาเสนอ
อ.ก.ค.ศ.วิสามัญเฉพาะกิจฯ เพื่อพิจารณาปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการย้ายข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ทั้งระบบ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการต่อไป
 ปรับปรุ งพระราชบัญญัติเงินเดือนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
โดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้พิจารณาเห็นชอบเรียบร้อยแล้ว การปรับเพิ่มเงินเดือนครู โดยคานึงถึงค่าครองชีพ
ที่เปลี่ยนแปลงไป ค่าตอบแทนภาคเอกชน ฐานการคลังของประเทศ
 พัฒนาคุณภาพชีวิตครูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการสร้างวินัย
ทางการเงินเพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความตระหนักในการพัฒนาอาชีพของตนเอง ตามหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง โดยจัดอบรม จานวน ๕ ครั้ง ใน ๔ ภูมิภาค มีผู้เข้าอบรมทั้งสิ้น ๓,๑๒๓ คน
 ส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
 พัฒนาครู และบุ คลากรทางการศึ กษา โดยยึ ดถื อภารกิ จและพื้ นที่ ปฏิ บั ติ งาน
เป็นฐาน ด้วยระบบ TEPE Online (Teachers and Educational Personnels Enhancement Based on Mission
and Functional Areas as Majors) ดาเนินการด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย เพื่อประหยัดเวลาของครู
และบุคลากรทางการศึกษา ประหยัดงบประมาณของส่วนราชการ กลุ่มเป้าหมายหลักของระบบ TEPE Online ได้แก่
ครู ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สังกัด สพฐ. จานวน ๔๐,๐๐๐ คน
รวมถึ งครู และบุ คลากรทางการศึ กษา ในสั งกั ดอื่ นของกระทรวงศึ กษาธิ การที่ จะมี การเชื่ อมโยงเข้ าสู่ ระบบนี้
ทั้งนี้ ข้าราชการครูสายผู้สอน สายผู้ บริ หารสถานศึกษา รวมถึงพนักงานราชการ ลู กจ้างชั่วคราวที่ปฎิบัติหน้าที่
ทาการสอนทุกคนในโรงเรียน สามารถสมัครเป็นสมาชิกลงทะเบียนเข้ารับการพัฒนาที่ www.tepeonline.org รายงาน
ต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) เขต ๑ ทุกวันที่ ๑๐ ของเดือน
 สร้างโอกาสทางการศึกษาผ่านรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา (ETV) โดยผลิต
รายการ TV รายวิชาที่มีเนื้อหายากของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๓ วิชา คือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และภาษาอังกฤษ เพื่อใช้เป็นสื่อเสริมในการเรียนรู้ของผู้สอนและผู้เรียน โดยผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
ดังกล่าว จะได้รับความรู้เพิ่มเติมจากสื่อ ETV และ Youtube เผยแพร่สื่อดังกล่าวผ่านทางช่องสัญญาณ ETV
ทั่วประเทศ ๗๗ จังหวัด รวม ๔,๕๙๗ จุด มีผู้รับชมรวมทั้งสิ้น ๑๗๒,๑๗๕ คน นอกจากนี้ ในช่วงปิดภาคเรียน
ฤดูร้อนได้ดาเนินการตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ โดยจัดบริการ “ETV ติว Summer” วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์
เคมี ชีววิทยา วิทยาศาสตร์ทั่วไป และภาษาไทยผ่านสื่อ ดังนี้ ๑) ช่องสัญญาณดาวเทียมระบบ Ku-Band, True,
GMMZ, DTV, Sunbox และ PSI ๒) เคเบิลทีวีท้องถิ่น ๓) ทางเว็ปไซต์ etvthai.tv ๔) ผ่านระบบปฏิบัติการ Android
และ ๕) ผ่านระบบสมาร์ทโฟน
 โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา (MoE NET) มีการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ปรับเปลี่ยนสื่อให้กับหน่วยงาน และสถานศึกษาสามารถเข้าถึงและใช้ระบบเครือข่ายได้อย่างรวดเร็วขึ้น จานวน
๓๕,๐๐๐ แห่ง และมีการติดตั้งระบบ MOENet Wi-Fi ให้กับทุกหน่วยงานภายในกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเข้าถึงระบบ
เครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๔๙
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 โครงการเครื อ ข่ า ยเทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ การ ศึ ก ษา (UniNet)


มีสถาบันการศึกษา วิทยาเขต ศูนย์ที่ได้รับบริการ จานวน 10,727 แห่ง ทั่วประเทศ และสามารถใช้งานได้อย่าง
ต่อเนื่องร้อยละ 98 โดยการจัดสรรทรัพยากรเครือข่ายและทรัพยากรการศึกษาที่จาเป็นเพื่อการศึกษาวิจัย อาทิ
จัดสรรช่องสื่อสัญญาณอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อบริการภายในประเทศและต่างประเทศ บริการอุปกรณ์เชื่อมโยง
เครือข่ายสาหรับเครือข่ายแกนหลัก (Backbone) สนับสนุนระบบถ่ายทอดสัญญาณ การประชุม สัมมนาวิชาการผ่าน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
 โครงการเครือข่ายห้องสมุดมหาวิทยาลัยไทย ขณะนี้มีฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ที่ให้บริการ จานวน 14 ฐาน มีบทความในฐานข้อมูลที่เข้าถึงจานวน 25,321,074 เรื่อง และจานวนความถี่การเข้า
ใช้บริการ จานวน 29,283,292 ครั้ง
 โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สนับสนุนการแบ่งปันทรัพยากรในระหว่าง
สถาบันอุดมศึกษาและระดับอื่นๆ เพื่อการช่วยผลักดันการยกระดับคุณภาพการศึกษาไทยด้วยการเปิดใช้เนื้อหาที่มี
โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและได้ขยายผลสู่การศึกษาระดับพื้นฐานด้วยการจัดทาระบบกลางในการจัดเก็บ รวบรวมข้อมูล
ที่สามารถแลกเปลี่ยนกันได้ อาทิ Contents, Free Software แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ออนไลน์แบบเปิดสาหรับ
มหาชน ในรายวิชาต่างๆ เพื่อการใช้ทรัพยากรร่วมกันและยกระดับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียน
การสอนในมหาวิทยาลัย
 โครงการพั ฒ นาและขยายบริ ก ารของศู น ย์ เ รี ย นรู้ ดิ จิ ทั ล ระดั บ ชาติ
ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (IPST Learning Space) ที่เชื่อมโยงในระดับประเทศและนานาชาติ
สสวท. เล็งเห็นความจาเป็นที่จะต้องเร่งแก้ปัญหาคุณภาพและช่องว่างทางการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยี จึงได้พัฒนาศูนย์เรียนรู้ดิจิทัลระดับชาติทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีขึ้น โดยได้พัฒนา
ระบบต่าง ๆ ได้แก่ ระบบโรงเรียน ระบบอบรมครู ระบบคลังสื่อดิจิทัล ระบบการสอบออนไลน์ ระบบเรียนรู้ร่วมกัน
และระบบสานักพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ที่รวบรวมสื่อการเรียนรู้ที่มีมาตรฐาน คัดกรอง
คุณภาพและความถูกต้องโดยผู้เชี่ยวชาญให้สอดคล้องกับหลักสูตรในโรงเรียนอย่างครบครัน สนับสนุนการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ระหว่างนักเรียน ครู ผู้ปกครอง ผู้บริหารโรงเรียน ประชาชนทั่วไป นักวิชาการและผู้เชี่ยนชาญด้านวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสร้างโอกาสในการเข้าถึงการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
ที่มีคุณภาพอย่างเป็นระบบ
 ความคืบหน้าด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 ขณะนี้มีกฎหมายที่อยู่ระหว่างดาเนินการ จานวน 16 ฉบับ ดังนี้
- ฉบับที่ ๑ (ร่าง) พระราชบัญญัติกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน
ประถมศึกษา (ฉบับที่ ...) พ.ศ. .... ขณะนี้ปรับแก้ไขร่างเสร็จเรียบร้อยแล้ว และได้นาเข้าที่ประชุมคณะกรรมการกองทุน
เพื่อโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2558
- ฉบั บที่ ๒ (ร่าง) พระราชบั ญญั ติการอุ ดมศึ กษา พ.ศ. .... ขณะนี้ อยู่ ระหว่ าง
ปรับปรุงแก้ไขร่างตามข้อสังเกตของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
- ฉบับที่ ๓ (ร่าง) พระราชบัญญัติบริหารงานบุคคลในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. ....
ขณะนี้ได้ปรับแก้ไขร่างตามมติ ก.พ.อ. แล้ว และอยู่ระหว่างรับฟังความคิดเห็น
- ฉบับที่ ๔ (ร่าง) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
(ฉบับที่ ...) พ.ศ. ....

๕๐
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

- ฉบับที่ ๕ (ร่าง) พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน (ฉบับที่ ...) พ.ศ. ....


- ฉบับที่ ๖ (ร่าง) พระราชบัญญัติการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. ....
- ฉบั บที่ ๗ (ร่าง) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ขณะนี้ (ร่าง) พระราชบัญญัติ ฉบับที่ ๔ – ๗ ก.พ.ร. สป. เตรียมนาเสนอร่างพระราชบัญญัตเข้าที่
ประชุม ก.พ.ร. กระทรวง ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2558
- ฉบั บ ที่ ๘ (ร่ า ง) พระราชบั ญ ญั ติ มหาวิ ท ยาลั ย กาฬสิ น ธุ์ พ.ศ. ....
ขณะนี้สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) รับหลักการในวาระแรกแล้ว อยู่ระหว่างรอบรรจุเข้าพิจารณา ในวาระสอง
- ฉบับที่ ๙ (ร่าง) พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ....
- ฉบับที่ ๑๐ (ร่าง) พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. ....
- ฉบับที่ ๑๑ (ร่าง) พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. ....
- ฉบับที่ ๑๒ (ร่าง) พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. .... ขณะนี้ (ร่าง)
พระราชบัญญัติ ฉบับที่ ๘ – ๑๒ สภานิติบัญญัติแห่งชาติเห็นชอบเป็นกฎหมายแล้ว อยู่ระหว่างทูลเกล้าฯ เพื่อบังคับ
ใช้ต่อไป
- ฉบั บที่ ๑๓ (ร่ าง) พระราชบั ญญั ติ กองทุ นสนั บสนุ นการเสริ มสร้ างคุ ณภาพ
การเรียนรู้ พ.ศ. ....
- ฉบั บที่ ๑๔ (ร่ าง) พระราชบัญญั ติ สถาบั นเทคโนโลยีเพื่อการศึ กษา พ.ศ. ....
ขณะนี้ (ร่าง) พระราชบัญญัติ ฉบับที่ ๑๓ – ๑๔ อยู่ระหว่างปรับแก้ตามมติคณะกรรมการกลั่นกรองการจัดตั้งทุน
หมุนเวียนของกระทรวงการคลัง
- ฉบับที่ ๑๕ (ร่าง) พระราชบัญญัติกองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากร
ทางการศึกษา พ.ศ. ... ขณะนี้ได้นา (ร่าง) ที่ปรับปรุงแก้ไปรับฟังความคิดเห็นเรียบร้อยแล้ว และนาเสนอปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการให้ความเห็นชอบ
- ฉบับที่ ๑๖ (ร่าง) พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ...) พ.ศ. ...
 ส่งเสริ มความรู้ด้านกฎหมายพื้นฐานต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตให้แก่
ประชาชน โดยดาเนินการ ดังนี้
- เผยแพร่ ความรู้ ด้ านกฎหมายผ่ านทางสถานี วิ ทยุ โทรทั ศน์ เพื่ อการศึ กษา
กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) ดังนี้ ร่วมมือกับสานักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายจัดทารายการโทรทัศน์ ที่มีเนื้อหา
เกี่ยวกับกระบวนการจัดทากฎหมายประชาชน ได้แก่ กฎหมายการปฏิรูปที่ดิน การปฏิรูปสวัสดิการร่างกฎหมาย
ผู้สูงอายุ เป็นต้น ออกอากาศทุกวันพฤหัสบดี เวลา ๑๕.๓๐ – ๑๖.๐๐ น. ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ร่วมมือกับ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เผยแพร่รายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา “รายการกฎหมายเพื่อประชาชน” ออกอากาศ
ทุกวันอาทิตย์ เวลา ๑๘.๓๐ – ๑๙.๐๐ น. ร่วมมือกับสภาทนายความจัดรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา
รายการ “ที่นี่ ๙๒” ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย ในชีวิตประจาวัน ทุกวันอังคารเว้นอังคาร นอกจากนี้ อยู่ระหว่าง
จัดทาคู่มือการบังคับคดี เพื่อแพร่แก่สถาบันอุดมศึกษาและผู้ที่สนใจ
- ผลิ ตรายการโทรทั ศน์ “สกอ.ก้ าวหน้า อุ ดมศึ กษาก้ าวไกล” ทางสถานี วิ ทยุ
โทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง ๑๑ โดยออกอากาศทุกวันพฤหัสบดีที่ ๒ และ ๔ ของเดือน เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๓.๕๕ น.
ต่อเนื่ องกันทั้งสิ้ น ๑๒ ครั้ง ซึ่ งส านั กงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้เตรียมการเกี่ยวกับการนาเสนอสาระ
เพื่อให้ความรู้กับประชาชน เกี่ยวกับกฎหมายอุดมศึกษาไว้แล้ว

๕๑
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

นโยบายที่ ๖
การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ
----------------------------
การศึ ก ษาเป็ น กลไกส าคั ญในการเพิ่ มขี ดความสามารถและศั กยภาพทางเศรษฐกิจ ของประเทศ
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ดาเนินการเพิ่มองค์ความรู้ให้ผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ได้ ซึ่ง
ดาเนินงาน ดังนี้
๑. เพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
 จัดตั้งศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ ปัจจุบันมีศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา (University
Business Incubator : UBI) จานวน 72 แห่ง สามารถสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ที่เข้ารับการบ่มเพาะที่อยู่ในศูนย์
บ่มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา จานวน 248 ราย และเตรียมพัฒนาเป็นบริษัทธุรกิจเต็มรูปในอนาคต (Spin off
Companies) จานวน 9 ราย โดยจะเริ่มโครงการเดือนมีนาคม ๒๕๕๘ ซึ่งจะมีการติดตามประเมินผลการดาเนินงาน
โครงการทุก 6 เดือน
๒. ส่งเสริมภาคเศรษฐกิจดิจิทัลและวางรากฐานของเศรษฐกิจดิจิทัล
 ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล พัฒนาผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้เข้าถึง
และใช้ระบบดิจิทัลให้เกิดประโยชน์ โดยจัดโครงการบูรณาการร่วม 4 กระทรวง ประกอบด้วย
 โครงการคลังความรู้ดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้
 โครงการระบบข้อมูลดิจิทัล เพื่อการศึกษาเรียนรู้และมีงานทา
 โครงการบูรณาการการเรียนรู้สู่อาชีพและวิชาชีพ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและมาตรฐาน
วิชาชีพสู่สากลรองรับเศรษฐกิจดิจิทัลและประชาคมอาเซียน 2558
 โครงการพัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์ระบบเปิดสาหรับมหาชน
 โครงการพัฒนาโครงข่ายสาหรับให้บริการอินเทอร์เน็ต
๓. พัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาเพื่อรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่
เขตชายแดน ประกอบด้วย
 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก
 ด าเนิ นการตามความร่ วมมื อจั ดการอาชี วศึ กษาระหว่ างวิ ทยาลั ยการอาชี พแม่ สอด
กับสถานประกอบการในอาเภอแม่สอด ในด้านเสื้อผ้า และเครื่องแต่งกาย ร่วมมือกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
และฝึ กอบรมวิชาชีพระยะสั้ น ให้กับประชาชนในพื้นที่ จังหวัดตาก และกาหนดแนวทางความร่วมมือในการพัฒนา
สถานศึกษาอาชีวศึกษาโดยจะขยายความร่วมมือในด้านอาชีวศึกษาทั้ง ๒ ประเทศ การหารือเกี่ยวกับความร่วมมือ
ในการพัฒนากาลังคนด้านอาชีวศึกษาให้กับนักลงทุนไทยที่ไปลงทุนในอุตสาหกรรมทวาย รวมทั้งฝึกอบรมวิชาชีพ
ระยะสั้นให้กับผู้หนีภัยสงครามที่พานักในศูนย์พักพิงชั่วคราวบริเวณชายแดนไทย – เมียนมาร์
 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อาเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว
 ด าเนิ นการพั ฒนาเยาวชนกั มพู ชา จ านวน 58 คน ด้ านวิ ชาชี พ โดยวิ ทยาลั ยเกษตร
และเทคโนโลยี สระแก้ ว และวิ ทยาลั ยเทคนิ คสระแก้ ว และฝึ กอบรมวิ ชาชี พให้ กั บประชาชนบริ เวณชายแดน
และสถานประกอบการไทยที่ไปลงทุนในจังหวัดเสียมราฐ ราชอาณาจักรกัมพูชา

๕๓
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อาเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด


 ดาเนินการจัดฝึกอบรมวิชาชีพให้กับประชาชนกัมพูชา และคัดเลือกเยาวชนจากจังหวัด
เกาะกง ราชอาณาจักรกัมพูชา มาศึกษาต่อในวิทยาลัยเทคนิคตราด วิทยาลัยสารพัดช่างตราด และวิทยาลัยการอาชีพ
บ่อไร่ และฝึกอบรมวิชาชีพระยะสั้นบริเวณชายแดน
 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อาเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร
 ดาเนินการวางแผนแลกเปลี่ยนนักศึกษาและครู รวมทั้งการฝึกงานในสถานประกอบการ
ไทย ลาว เวียดนาม และระหว่ างหน่ วยงานทั้ง 3 ประเทศ และจัดกิจกรรมนักศึ กษา จ านวน 30 คน นอกจากนี้
สถานศึกษาอาชีวศึกษาในจังหวัดมุกดาหาร สกลนคร นครพนม อุบลราชธานี อุดรธานี หนองคาย เชียงราย เชียงใหม่
ขอนแก่นร่วมมือกับสถานศึกษาอาชีวศึกษาทุกแขวงในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในสาขาที่มีความสนใจ
ให้ความร่วมมือในการฝึกอบรมครู
 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
 ดาเนินการในวิทยาลัยอาชีวศึกษาสงขลา ขยายความร่วมมือกับสถานศึกษาอาชีวศึกษา
บริเวณชายแดนไทย - มาเลเซีย เช่น Ipoh Polyteknic เป็นต้น โดยจะดาเนินการการแลกเปลี่ยนการเยือนระหว่าง
ผู้ บริ หาร ครู และนั กศึ กษา นอกจากนี้ ยั งผลิ ต และพัฒนาคนด้ านการโรงแรม ส าหรั บประชาชนในศู นย์บ่มเพาะ
ของวิทยาลัย

๕๔
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

นโยบายที่ ๗
การส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน
----------------------------
การรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายในปี ๒๕๕๘ จะเกิดประโยชน์แก่ประเทศไทยเป็นอย่างมาก
หากประเทศไทยเตรี ยมการในเรื่ องต่ าง ๆ ให้ พร้ อมเพื่ อการเข้ าสู่ ประชาคมอาเซี ยนให้ เกิ ดประโยชน์ สู งสุ ด
ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน กระทรวงศึกษาธิการถือว่ามีบทบาทสาคัญในการเตรียมการด้านทรัพยากร
มนุษย์ จึงได้ดาเนินการด้านพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ การพัฒนาความรู้ความสามารถนักเรียน นักศึกษา ผู้บริหาร
ครู บุคลากรทางการศึกษา และประชาชน ส่งเสริมบทบาทและพัฒนาศักยภาพ ในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนา
ทักษะการเรี ยนการสอนด้านภาษาอังกฤษและภาษาประเทศเพื่อนบ้าน รวมทั้งขยายความร่วมมือด้านการศึกษา
และการประชุมที่สาคัญต่าง ๆ เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยมีผลการดาเนินงาน ดังนี้
๑. เตรียมความพร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งมีการดาเนินงานสาคัญ ดังนี้
 จัดทาแผนยุทธศาสตร์อาเซียนด้านการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ (Post ๒๐๑๕)
(พ.ศ. 2558 – 2562) ขณะนี้อยู่ระหว่างดาเนินการจัดพิมพ์เอกสาร เพื่อเผยแพร่
 จั ดตั้ งศู นย์ ส่ งเสริ มอาเซี ยนศึ กษาในส านั กงานศึ กษาธิ การภาค ๑ – ๑๓ เพื่ อประสาน
และขับเคลื่อนความเข้าใจ ส่งเสริมต้นแบบ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ และภาษาของประเทศ
สมาชิกอาเซียนให้กับนักเรียน นักศึกษา โรงเรียน สถานศึกษา ชุมชน และประชาชนทั่วไป ขณะนี้ดาเนินงานขับเคลื่อน
ศูนย์อาเซียนศึกษาภาค 1 - 13 ดังนี้
 อบรมพัฒนาผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา เพื่อส่งเสริมการใช้หลักสูตรแกนกลาง
อาเซียน หรื อ ASEAN Curriculum Sourcebook ไปสู่การปฏิบัติ จานวนศูนย์ละ 150 คน รวม 1,950 คน
ซึ่งหลักสูตรนี้ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมรัฐมนตรีศึกษาอาเซียนให้แจกจ่ายไปยังโรงเรียนต่าง ๆ ทั่วอาเซียนแล้ว ตั้งแต่
วันที่ 4 กรกฎาคม ๒๕55 เพื่อเป็นแม่บทให้กับ “ครู” ทั่วอาเซียนในการให้การศึกษาเกี่ยวกับอาเซียนแก่เยาวชน
ในทิศทางเดียวกัน ซึ่งจากผลการสารวจ พบว่า ครูที่รับผิดชอบการสอนอาเซียนศึกษามีอุปสรรคในการนาหลักสูตร
ดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติ
 รวบรวมข้อมูล องค์ความรู้ ด้านอาเซียนศึกษา เพื่อให้ศูนย์อาเซียนศึกษาภาค 1 – 13
เป็น Resource Center ให้กับสถานศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕58 จะดาเนินการ รวบรวม
ข้อมูล องค์ความรู้ ด้านอาชีวะ ทั้งในระดับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับหลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพขั้นสู ง (ปวส.) เพื่อให้ การผลิตอัตรากาลังสอดคล้องกับความต้องการตลาดแรงงานของประชาคมอาเซียน
ซึ่งคณะกรรมการฯ ประจาศูนย์ จะเป็นผู้ออกแบบนวัตกรรม และเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ตามบริบทพื้นที่
 รวบรวมผลงานนวัตกรรม เพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่ประชาคมอาเซียน จากสถานศึกษาในพื้นที่
รับผิดชอบของศูนย์อาเซียนศึกษาภาค 1 – 13 ซึ่งระยะเวลาการดาเนินงานรวบรวมนวัตกรรมของแต่ละศูนย์ฯ
จะดาเนินการภายในเดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม ๒๕58

๕๖
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

๒. พั ฒนาทั กษะการเรี ยนการสอนด้ านภาษาอั งกฤษและภาษาประเทศเพื่ อนบ้ าน ผ่ านโครงการ


และกิจกรรมสาคัญต่าง ๆ ดังนี้
 จัดโครงการ “การศึกษาไทย ก้าวไกลสู่อาเซียน” สัญจร ๔ ภูมิภาค และกรุงเทพมหานคร
โดยได้ดาเนินการ ดังนี้ ครั้งที่ 1 พิธีเปิดโครงการ และรอบภาคกลางและกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 26 – 27
มกราคม ๒๕58 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน 800 คน ครั้งที่ 2 รอบภาคเหนือ ระหว่างวันที่ 5 – 6 กุมภาพันธ์
๒๕58 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน 350 คน ครั้งที่ 3 รอบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างวันที่ 14 – 15
กุมภาพันธ์ ๒๕58 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน 400 คน ครั้งที่ 4 รอบภาคใต้ ระหว่างวันที่ 28 กุมภาพันธ์ –
1 มีนาคม ๒๕58 มี ผู้ เข้าร่ วมโครงการ จานวน 350 คน ทั้งนี้ มีพิธีปิดโครงการ และมอบรางวัลให้ผู้ ชนะเลิ ศ
ในกิจกรรมภายใต้โครงการฯ เมื่อวันที่ 23 มีนาคม ๒๕58 โดยในการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศมีผู้แทนระดับภูมิภาค
เข้าประกวดและแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ โดยเป็นผู้แทนจากภาคกลางและกรุงเทพมหานคร 90 คน ภาคเหนือ 90 คน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 92 คน และภาคใต้ 94 คน รวม 366 คน
 จัดโครงการ “สพฐ. ก้าวไกล นาการศึกษาไทยสู่อาเซียน” เพื่อขับเคลื่อนการจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐานภายหลังเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕58 โดยมีผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บริหาร
โรงเรียน ศึกษานิเทศก์ ครู และบุคลากรทางการศึกษา เข้าร่วมโครงการ รวม 150 คน
 พัฒนาครูวิทยากรแกนนาการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์เป็นภาษาอังกฤษ
เพื่อเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ (English Bilingual Education : EBE) ซึ่งเป็นโครงการ
ความร่วมมือกับมูลนิธิเทมาเส็ก พัฒนาครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มที่ 1 จานวน 25 คน ณ สาธารณรัฐสิงคโปร์
 จัดการแข่งขันกล่าวสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษในที่ชุมชนระดับชาติ ครั้งที่ 15 ประจาปี
๒๕58 ร่วมมือกับสมาคมการพูดภาษาอังกฤษ (ประเทศไทย) หรือ ESU Thailand และ บริติช เคานซิล เมื่อวันที่
13 กุมภาพันธ์ ๒๕58 ดาเนินการแข่งขันรอบรองชนะเลิศ ในหัวข้อ “To be Ignorant of the Past is to Remain
a Child” มีเยาวชนที่เข้าร่วมแข่งขันอายุ 16 ปีขึ้นไป และไม่เกิน 20 ปี จานวน 93 คน สาหรับรอบชิงชนะเลิศ
ดาเนินการแข่งขันในวันที่ 13 มีนาคม ๒๕58 ในหัวข้อ “Culture is not a Luxury, But a Necessity” โดยมีผู้เข้า
แข่ งขั น จ านวน 12 คน ทั้ งนี้ ผู้ ชนะเลิ ศการแข่ งขั นในระดั บชาติ จ านวน 1 คน (ระดั บมั ธยมศึ กษาหรื อ
ระดับอุดมศึกษา) จะได้รับการเสนอชื่อเป็นผู้แทนประเทศไทย เข้าร่วมแข่งขันกล่าวสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษในที่ชุมชน
ระดับนานาชาติ (International Public Speaking Competition : IPSC) ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ระหว่าง
วันที่ 11 - 15 พฤษภาคม ๒๕58
 อบรมภาษาอั งกฤษเชิ งปฏิ บัติ การส าหรั บผู้บริ หาร ครู และข้ าราชการ ส านักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จานวน 2 หลักสูตร รวม 347 คน ดังนี้
 หลักสูตรที่ 1 อบรมภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติการหลักสูตร ความรู้เรื่องกรอบอ้างอิง
ความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เป็นสากล (Common European Framework of Reference for Language : CEFR)
และภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English for Communication in Education : ECE) สาหรับผู้บริหารและครูผู้สอน
วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ และวิชาอื่น ๆ ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาและอาชีวศึกษา ยกเว้นครูผู้สอน
ภาษาอังกฤษ ผู้เข้าร่วมอบรม จานวน 125 คน
 หลักสูตรที่ 2 ความรู้เรื่องกรอบอ้างอิงความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เป็นสากล
(Common European Framework of Reference for Language : CEFR) ในรูปแบบมุ่งที่เน้นการโต้ตอบในชั้นเรียน
(Communicative Language Teaching : CLT) สาหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา
๕๗
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

และระดับอาชีวศึกษา เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการสื่อสาร รวมทั้งสามารถนาความรู้ ที่ ได้รับจาก


การอบรมไปใช้ในการสื่อสารและนาไปพัฒนาการเรียนการสอนได้ ผู้เข้าร่วมอบรม จานวน 64 คน
 อบรมภาษาเพื่อนบ้าน (พม่า บาฮาซา และเวียดนาม) เชิงปฏิบัติการสาหรับผู้บริหาร ครู
และบุคลากรทางการศึกษาเอกชน จัดฝึกอบรม 3 หลักสูตร รวม 224 คน ดังนี้
 หลั กสู ตรที่ 1 การฝึ กอบรมเชิ งปฏิ บั ติ การภาษาพม่ าเพื่ อการสื่ อสาร จ านวน
30 ชั่วโมง ให้กับผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเอกชน ผู้เข้าร่วมอบรม จานวน 72 คน
 หลั ก สู ต รที่ 2 การฝึ ก อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารภาษาบาฮาซาเพื่ อ การสื่ อ สาร
ให้กับผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเอกชน ผู้เข้าร่วมอบรม จานวน 80 คน
 หลักสูตรที่ 3 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการภาษาเวียดนามเพื่อการสื่อสาร จานวน
30 ชั่วโมงให้กับผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเอกชน ผู้เข้าร่วมอบรม จานวน 70 คน
 เข้าร่วมโครงการ ASEAN International Mobility for Students (AIMS) Programme
เพื่อแลกเปลี่ยนสองทางในประเทศสมาชิกอาเซียนและขยายครอบคลุมถึงการแลกเปลี่ยนกับประเทศญี่ปุ่นในฐานะ
อาเซียน+3 การแลกเปลี่ยนภายใต้โครงการ AIMS กาหนดให้มีการถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างกันอย่างน้อย 9 หน่วยกิต
ประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไทย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ บรูไนดารุสซาลาม
และประเทศในกลุ่มอาเซียน+3 คือ ญี่ปุ่น เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนใน 10 สาขาวิชา ประเทศสมาชิกจะส่ ง
นักศึกษาเข้าร่วมโครงการปีละประมาณ 80 คน
 จัดโครงการทดสอบทักษะการใช้ภาษาอาเซียนเพื่อการสื่อสาร สานักงานศึกษาธิการภาค
1 - 13 เพื่อให้เป็นการส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษา มีเวทีในการทดสอบทักษะความสามารถ ทักษะด้านการใช้ภาษา
อาเซียนเพื่อการสื่อสาร และพัฒนาระดับคุณภาพการใช้ภาษาอาเซียน เพื่อการสื่อสารของนักเรียน นักศึกษาให้เป็น
ไปตามมาตรฐานสากล และส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอน โดยเน้นการใช้ภาษาอาเซียนเพื่อการสื่อสาร
อย่างเป็นระบบ โดยแบ่งระดับการทดสอบภาษา ดังนี้ ระดับประถมศึกษา 1 - 2 ภาษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
2 - 3 ภาษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2 - 3 ภาษา และระดับอุดมศึกษา 3 - 4 ภาษา สานักงานศึกษาธิการ
ภาค 1-13 ได้ดาเนินการสารวจการจัดการเรียนการสอนด้านภาษาต่างประเทศจากหน่วยงานทางการศึกษาในพื้นที่
รับผิดชอบ และประชุมหน่วยงานทางการศึกษา เพื่อร่วมกันคัดเลือกภาษาที่จะใช้ในการทดสอบ เพิ่มจากภาษาพื้นฐาน
ที่กาหนดไว้ คือ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ โดยให้เหมาะสมกับบริบท ในพื้นที่ ซึ่งขณะนี้ สานักงานศึกษาธิการ
ภาค 1 - 13 ได้ จั ดประชุ มพิ จารณาประเด็ นดั งกล่ าวแล้ ว โดยมี กลุ่ มเป้าหมายผู้ สนใจเข้าร่วมทดสอบ จ านวน
ศึกษาธิการภาคละ 60 คน รวม 780 คน โดยการสอบทดสอบ แบ่งออกเป็น 2 รอบ ดังนี้
 รอบแรก คัดเลือกพื้นฐาน ให้ผู้ทดสอบ พูดนาเสนอตนเอง ครอบครัว โรงเรียน ชุมชน
จังหวัด
 รอบที่ 2 ทดสอบวัดระดับ จะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ๑) ผู้เข้าทดสอบ พูดนาเสนอ
ครอบครัวของฉัน จังหวัดของฉัน อาชีพในฝันและประชาคมอาเซียน และ ๒) กรรมการสัมภาษณ์เกี่ยวกับประเด็น
ที่นาเสนอจากผู้เข้ารับการทดสอบ
 จั ดการประชุ มสั มมนา เรื่ อง “นวั ตกรรมการสอนภาษาอั งกฤษในศตวรรษที่ 21”
เพื่อให้ครูผู้สอนภาษาอังกฤษได้เข้าใจแนวทางการสอนแนวใหม่ และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ความคิดเห็นด้านการเรียน
การสอนภาษาอังกฤษมีครูผู้สอนภาษาอังกฤษ ระดับอุดมศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ รวม 200 คน

๕๘
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 พัฒนา กศน. เข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยมุ่งเน้นในการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากร


ทางการศึกษา พัฒนาหลักสูตรตามมาตรฐานฝีมือแรงงานเพื่อพัฒนาสมรรถนะกาลังคนสายอาชีพ ตลอดจนเสริมสร้าง
เครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ ภายใต้ภารกิจ ดังนี้ จัดทาคู่มือกระบวนการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและคู่ มืออบรมครู
อย่างละ 1 ฉบับ ประชุมชี้แจงบรรณารักษ์ เจ้าหน้าที่ห้องสมุดเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมอาเซียนในห้องสมุด จานวน 1
ครั้ง ผลิตรายการวิทยุเพื่อการศึกษาเสริมความรู้เรื่องอาเซียน จานวน 207 รายการ เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ สานักงาน
กศน. เผยแพร่นโยบายส่งเสริมการเรียนการสอน เรื่องอาเซียนใน กศน. อาเภอ 928 แห่ง อบรมภาษาอาเซียน ผ่าน
ระบบการศึกษาทางไกล ผู้เข้าร่วมอบรมอย่างน้อย 100 คน จัดกิจกรรมการศึกษาอาเซียนในสถานศึกษาขึ้นตรง
จานวน 19 แห่ง จัดทาหลักสูตรอาเซียน จานวน 32 หลักสูตร เตรียมการจัดศูนย์การเรียนในประเทศสมาชิกอาเซียน
จานวน 4 แห่ง
๓. ส่ งเสริ มบทบาทและพั ฒนาศั กยภาพในการแข่ งขั นทางเศรษฐกิ จ โดยด าเนิ นการผ่ านโครงการ
และกิจกรรมสาคัญต่าง ๆ ดังนี้
 พัฒนาหลักสูตรตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน เพื่อพัฒนาสมรรถนะกาลังคนสายอาชีพ ตลอดจน
เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ จัดกิจกรรมสัมมนา ภายใต้โครงการเสวนาวิชาการ : การค้าและการ
พัฒนาที่อยู่ในความสนใจ โครงการพัฒนาแนวทางการเทียบเคียงกรอบคุณวุฒิแห่งชาติกับกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน
ขณะนี้มีการแต่งตั้งคณะทางานประสานความร่วมมือในการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติและการ
แต่งตั้งคณะกรรมการกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เพื่อจัดทากรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ที่จะนาไปสู่การจัดทากรอบคุณวุฒิ
อ้างอิงอาเซียน (Task Force on ASEAN Qualifications Reference Framework : TF-AQRF)
 จัดกิจกรรมสัมมนาภายใต้โครงการเสวนาวิชาการ : การค้าและการพัฒนาที่อยู่ในความสนใจ
๕ กิจกรรม ดังนี้
 จัดเสวนาวิชาการ เรื่อง “มาตรฐานแรงงาน : เพื่อการค้าและการพัฒนาที่ยั่งยืน” ๔ ครั้ง
 จัดเสวนาระดมความคิดเห็น เรื่อง “เดินหน้ายกระดับมาตรฐานการผลิตข้าวไทย : โอกาส
อุตสาหกรรมเกษตรไทยสู่ตลาดโลกอย่างยั่งยืน”
 จัดสัมมนาเรื่อง “ประโยชน์จากการเปิดเสรีด้านการค้าบริการที่ผู้ประกอบการไทยควรรู้”
 จัดงานเสวนา “เปิดประตูการค้าการลงทุน : เขตเศรษฐกิจพิเศษ ปี ๒๕59”
 จั ดสั มมนาวิ ช าการ “ยุ ทธศาสตร์ การค้ าและการพั ฒ นาอุ ตสาหกรรมไฟฟ้ าและ
อิเล็กทรอนิกส์ไทยในตลาดโลก
 จั ดกิ จ กรรมสั มมนาภายใต้ โ ครงการสั มมนาเตรี ยมความพร้ อมของผู้ เรี ยนเพื่ อรองรั บ
การเคลื่อนย้ายแรงงานในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 6 ครั้ง
 จัดกิจกรรมภายใต้โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการค้าการลงทุนและการพัฒนาที่ยั่งยืน ๒ ครั้ง
 จัดฝึกอบรมภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพบุคลากรภาครัฐและเอกชนเพื่ออานวยความสะดวก
ทางการค้าและการพัฒนาโลจิสติกส์ ๕ รุ่น
 จัดฝึกอบรมภายใต้โครงการพัฒนาทักษะการเจรจาธุรกิจระหว่างประเทศ ๑๐ รุ่น

๕๙
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

๔. ขยายความร่วมมือด้านการศึกษาและการประชุมที่สาคัญต่างๆ
 ความร่วมมือด้านการศึกษา
 จัดทายุทธศาสตร์ความร่วมมือด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทาง
ในการดาเนินความร่วมมือกับประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม ของสานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
และสถาบันอุดมศึกษา
 แลกเปลี่ยนเยาวชนในโครงการ JENESYS 2.0 ร่วมมือกับประเทศญี่ปุ่นในการจัดส่ง
อาสาสมัครชาวญี่ปุ่น จานวน 29 คน มาเป็นครูช่วยสอนในสถานศึกษา 29 แห่ง ร่วมกับครูชาวไทย เพื่อไปเรียนรู้
วัฒนธรรมญี่ปุ่น ร่วมมือกับประเทศจีนในการจัดส่งครูอาสาสมัครชาวจีนมาปฏิบัติงานในประเทศไทย รวม 270 คน
และทุนการศึกษาระหว่างกัน ปีละ 7 ทุน
 จัดโครงการทุนการศึกษาด้านการสอนภาษาต่างประเทศที่สอง ร่วมมือกับสถาบันภาษา
ในประเทศมาเลเซียและสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ จัดส่งผู้รับทุนของเพื่อผลิ ตครูในสาขาวิชาที่ขาดแคลน
เข้ารับการอบรมภาษา วัฒนธรรมและเทคนิคการสอนมาเลย์และเมียนมาร์ตามมาตรฐานของเจ้าของภาษา
 มอบทุนการศึ กษาระดับมั ธยมศึกษา ปี ละ 60 ทุน ร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิ การ
มาเลเซีย เป็นเวลา 6 ปี จานวน 360 ทุน แลกเปลี่ยนครู คณาจารย์และเจ้าหน้าที่ด้านการอาชีวศึกษา จัดค่ายลูกเสือ
เยาวชนไทย - มาเลเซีย และนาเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาไทย – มาเลเซีย
 ร่วมจัดการศึกษาให้กับโรงเรียนพระราชทานวิทยาลัยกาปงเฌอเตียล ราชอาณาจักร
กั มพู ชา ซึ่ งเป็ นสถานศึ กษาในโครงการพระราชทานในสมเด็ จพระเทพรั ตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ มารี
ให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาหลักสูตร ตาราเรียน วัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้เป็น
ต้นแบบในการจัดการศึกษาที่มีการจัดการเรียนการสอนสายสามัญศึกษาและสายอาชีวศึกษา ได้จัดกิจกรรมพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอนแก่ครูและนักเรียนวิทยาลัยกาปงเฌอเตียล ดังนี้ การพัฒนาหลักสูตร การจัดทาแผนการเรียนรู้
ตารา สื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอน และการนิเทศการจัดการเรียน การสอนอาชีวศึกษา
 ลงนามความร่ วมมื อด้ า นส่ งเสริ มการเรี ยนการสอนภาษาจี น ร่ วมกั บส านั กงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ (Hanban) โดยได้รับการส่งเสริมสนับสนุนการเรียน
การสอนภาษาจีนจากสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีน และสานักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีน
นานาชาติ (Hanban) จัดครูไปสอนโรงเรียนเอกชนทั่วราชอาณาจักร ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕46 จนถึงปัจจุบัน 13 รุ่น
โดยปีการศึกษา ๒๕57 มีครูอาสาสมัครจีน จานวน 625 คน
 จั ดโครงการครู ผู้ช่วยสอนภาษาญี่ปุ่น รุ่ นที่ 2 มี กาหนดจะเดิ นทางมาปฏิบั ติหน้าที่
ในโรงเรียน 41 แห่งทั่วประเทศระหว่างวันที่ 19 พฤษภาคม ๒๕58 – มีนาคม ๒๕59 รวมระยะเวลา 10 เดือน
จานวน 41 คน
 จัดโครงการผู้ช่วยสอนภาษาฝรั่งเศส ประจาปี 2558 ภายใต้โครงการ “Teaching in
Thailand Project” ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจาประเทศไทย โดยนานักศึกษาที่กาลังศึกษาระดับ
ปริญญาโท วิชาเอกด้านการสอนภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาต่างประเทศจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในสาธารณรัฐฝรั่งเศส
มาเป็นอาสาสมัครช่วยสอนภาษาฝรั่งเศสในสถานศึกษาของไทย ระยะเวลา 9 สัปดาห์ เพื่อช่วยพัฒนาทักษะภาษา
ฝรั่งเศสของครูและนักเรียนของไทย ตลอดจนเป็นแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและกระชับความสัมพันธ์ ปฏิบัติหน้าที่
ในสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา
เอกชน จานวน 15 แห่ง โดยอาสาสมัครจากฝรั่งเศสมาเป็นผู้ช่วยสอนภาษาฝรั่งเศส จานวน 15 คน

๖๐
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 จัดโครงการ “Thailand English Teaching Programme 2015” ร่วมกับบริติช


เคานซิล โดยนานักศึกษาจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในสหราชอาณาจักร ซึ่งอยู่ในช่วงปิดภาคเรียนเดินทางมาเป็นผู้ช่วย
สอนภาษาอังกฤษ จานวน 142 คน โดยจะเข้าปฏิบัติหน้าที่ในการสถานศึกษาของไทย จานวน 92 แห่ง

๖๑
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

นโยบายที่ ๘
การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
การวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม
----------------------------
กระทรวงศึกษาธิ การได้ ส่ งเสริ มระบบการเรียนการสอนที่ เชื่อมโยงระหว่ างวิ ทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยี การผลิตกาลังคนในสาขาที่ขาดคแลน การเชื่อมโยงระหว่างการเรียนรู้กับการทางาน รวมทั้งการส่งเสริม
การวิ จั ย และพัฒนานวัตกรรมเพื่อเป็ นโครงสร้างพื้นฐานทางปัญหาที่ส าคัญในการต่ อยอดสู่การใช้เชิ งพาณิชย์
ของภาคอุตสาหกรรม ซึ่งมีการดาเนินงาน ดังนี้
๑. ส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ
 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ 9 แห่ง จัดส่ง Performance Agreement (PA) สาหรับงบประมาณ
ประจาปี 2558 ขณะนี้อยู่ระหว่างการดาเนินงานวิจัยเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายของโครงการฯ
 มหาวิทยาลัยภายใต้โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา 70 แห่ง ส่งข้อเสนอโครงการวิจัย
รวม 1,438 โครงการ โดยผู้ ทรงคุ ณวุ ฒิ และคณะกรรมการได้ พิ จารณาและประกาศผลผู้ ได้ รั บการจั ดสรรทุ น
โครงการวิจัย ประจาปี พ.ศ. 2558 รวม 542 โครงการ
 จัดโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2559 เพื่อให้ผลลัพธ์ที่ได้เกิดประโยชน์สูงสุด และความคุ้มค่ากับงบประมาณที่หากได้รับการ
จัดสรรงบประมาณ เพื่อพัฒนาบุคลากร และงานวิจัยในรูปแบบเครือข่ายกลุ่มวิจัยเชิงบูรณาการของมหาวิทยาลัย
ภายใต้โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ตอบสนองต่อนโยบายของรัฐบาล
และสั งคม ชุมชน ท้องถิ่น ประชาชน และองค์กรทุกภาคส่ วนได้รับประโยชน์จากผลงานวิจัยที่เกิดขึ้น พร้อมทั้ง
การสร้ างบุ คลากรที่ มี คุ ณภาพสู ง เพื่ อเตรี ยมความพร้ อมสู่ การเป็ นน าของประชาคมอาเซี ยนและการแข่ งขั น
กับมหาวิทยาลัยระดับโลกต่อไป
 สนับสนุนการดาเนินการวิจัยของสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ซึ่งขณะนี้ดาเนินการโครงการวิจัย
ต่อเนื่อง จานวน 40 โครงการ และโครงการวิจัยใหม่ จานวน 12 โครงการ มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์
ระดับนานาชาติแล้ว จานวน 24 เรื่อง นาเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการ จานวน 3๘ เรื่อง
๒. พัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
 บู ร ณาการการยกระดั บ การพั ฒ นาและส่ ง เสริ ม นั ก เรี ย นที่ มี ค วามสามารถพิ เ ศษ
ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับสู่มาตรฐานสากล โดยดาเนินการพัฒนาและส่งเสริมผู้มี
ความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ ดังนี้
 พัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.)
โดยสอบข้อเขียนสาหรับผู้รับทุนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 สอบสัมภาษณ์ สอบความคิดสร้างสรรค์และสอบภาคปฏิบัติ
เรียบร้อยแล้ว และได้ประกาศผลซึ่งมีผู้ได้รับทุน จานวน 100 คน ขณะนี้อยู่ระหว่างคัดเลือกผู้รับทุนระดับปริญญาตรี
โดยศูนย์มหาวิทยาลัยของโครงการฯ
 พัฒนาและขยายผลอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สาหรับเยาวชน
ซึ่งมีนักเรียนสมัครสอบเข้าแข่งขัน จานวน 131,740 คน และดาเนินการคัดเลือกนักเรียนเข้าโครงการอัจฉริยภาพ
ทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ประจาปีการศึกษา 2557 จานวน 4,430 คน
๖๓
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 อบรมคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่าง
ประเทศ ประจาปี พ.ศ. 2558 เพื่อพัฒนาความสามารถทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
 เตรียมจัดการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ครั้งที่ 56 ปี พ.ศ. 2558
ระหว่างวันที่ 4 – 16 กรกฎาคม ๒๕58 โดยมีหน่วยงานที่ร่วมมือกันเป็นเจ้าภาพจัดงาน ประกอบด้วย มูลนิธิส่งเสริม
โอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) สมาคมคณิตศาสตร์
แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 สนั บสนุ นทุนการศึ กษาให้ ผู้ มีความสามารถพิ เศษทางวิ ทยาศาสตร์ คณิ ตศาสตร์
และเทคโนโลยี จานวน 1,687 ทุน แยกเป็นทุนพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(ทุน พสวท.) จ านวน 1,500 ทุน และทุนโอลิ มปิกวิชาการ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้ าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ จานวน 187 ทุน
 การพั ฒ นาและส่ ง เสริ ม การผลิ ต ครู ผู้ มี ค วามสามารถพิ เ ศษทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
คณิตศาสตร์ (สควค.) โดยดาเนินการสรรหาผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิ ตศาสตร์เข้ารับ
ทุนระดับปริญญาโททางการศึกษา พัฒนาและส่งเสริมศักยภาพผู้รับทุนให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดการ
เรียน การสอนนักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ดังนี้
 คัดเลือกผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เข้าเป็นนักศึกษา
ทุนโครงการ สควค. ระดับปริญญาโททางการศึกษา ประเภท Premium ปีการศึกษา 2558 โดยดาเนินการ
ประกาศผลผู้ผ่านการสอบข้อเขียนเรียบร้อยแล้ว
 สนั บ สนุ น ทุ น ส่ ง เสริ ม การผลิ ต ครู ที่ มี ค วามสามารถพิ เ ศษทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
คณิตศาสตร์ (ทุน สควค.) จานวน 1,116 ทุน
 พัฒนากาลังคนด้านวิทยาศาสตร์ ระยะ 2 (ทุนเรียนดีวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย)
เพื่อผลิตอาจารย์ นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัยที่มีความสามารถสูงเพื่อพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ที่ใช้ความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยรับนักศึกษาทุนระดับปริญญาตรี – ปริญญาเอก สาหรับปีการศึกษา 2557
เข้าร่วมโครงการ ฯ จานวน 167 คน
 จั ด ส่งคณะนักเรี ยนไทยไปเข้ า ร่ วมการประชุมนานาชาตินั กวิทยาศาสตร์ รุ่ น เยาว์
(International Conference of Young Sciencetists : ICYS) ครั้งที่ 22 หรือ ICYS 2015 ระหว่าง
วันที่ 19 - 25 เมษายน ๒๕58 ณ เมืองอิซเมียร์ สาธารณรัฐตุรกี มีประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขันจาก
23 ประเทศ และสังเกตการณ์ 2 ประเทศ ผลปรากฏว่า นักเรียนไทยสามารถคว้ารางวัลการนาเสนอผลงาน
จากงาน ICYS 2015 ประกอบด้วย เหรียญทอง 2 รางวัล สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เหรียญเงิน
1 รางวัล สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ เหรียญทองแดง 2 รางวัล สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ รางวัลโปสเตอร์
ยอดเยี่ยม 1 รางวัล สาขาคณิตศาสตร์

๖๔
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 จัดกิจกรรม “คืนความสุขให้เธอ...เยาวชน” ภายใต้แนวคิด วิทยาศาสตร์นาชาติยั่งยืน


โดยความร่ ว มมือระหว่างกระทรวงศึกษาธิ การ และกระทรวงวิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี ระหว่ างวัน ที่
17 ธันวาคม ๒๕57 - 10 มกราคม ๒๕58 ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา 19 แห่ง ประกอบด้วย
 จัดนิทรรศการ “ดาราศาสตร์ บันดาลใจ” และกิจกรรม “สนุกวิทย์ สนุกคิด ”
ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสต ร์
และเทคโนโลยี 10 หน่วยงาน เริ่มดาเนินการจัดนิทรรศการตั้งแต่วันที่ 17 ธันวาคม ๒๕57 - 10 มกราคม
๒๕58 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 270,605 คน
 ประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ด้า นธรรมชาติวิทยา ช่ว งเดือนมีนาคม ๒๕58
จัดประกวดระดับภูมิภาค ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา 6 แห่ง คือ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาเอกมัย
ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ การศึ ก ษาล าปาง ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ การศึ ก ษากาญจนบุ รี ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์
เพื่อการศึกษานครราชสีมา ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสระแก้ว ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาตรัง
๓. พัฒนาและสนับสนุนการดาเนิน งานศูน ย์สะเต็มศึกษาแห่งชาติ ศูนย์สะเต็มศึกษาภาคและ
โรงเรียนเครือข่าย สะเต็มศึกษา
 อบรมเชิงปฏิบัติการ “การจัดการศึกษาแบบบูรณาการด้วยวิธี STEM Education” โรงเรียน
เอกชน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้กับผู้บริหาร และหัวหน้าฝ่ายวิชาการโรงเรียนเอกชน 5 จังหวัดชายแดน
ภาคใต้ สามารถจัดการศึกษาที่บูร ณาการความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และความรู้
ทางด้านคณิตศาสตร์ เพื่อให้นักเรียนสามารถนาความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตและประกอบอาชีพ
ในอนาคตได้และมีวิสัยทัศน์ การเป็นผู้นาทางวิชาการ มีความรู้ความเข้าใจ และกลวิธีในการจัดการเรียนรู้
เพื่อปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนของครูในโรงเรียนเอกชน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จานวน 370 คน
 ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือโครงการสะเต็มศึกษา เพื่อการพัฒนาทูตสะเต็มระหว่าง
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับ Henkel Thailand Ltd., เพื่อการพัฒนา “ทูตสะเต็ม สสวท.”
และแนวทางการบริหารจัดการทูตสะเต็ม และจัดให้มีกิจกรรมโครงการยุวทูตความยั่งยืนในโรงเรียน (Sustainability
Ambassador School Outreach Program) เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืน
กับนักเรียน
 จัดโครงการ “Enjoy Science : สนุกวิทย์ พลังคิดเพื่ออนาคต” เพื่อพัฒนาและส่งเสริม
ศักยภาพทางการแข่งขันของประเทศอย่างยั่งยืน ด้วยการพัฒนาการศึกษาในสาขาวิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี
(Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) คณิตศาสตร์ (Mathematics) หรือ STEM Education ทั้งในระบบ
การศึกษาสายสามัญและการศึกษาสายอาชีพ ครอบคลุมทั่วทุกภูมิภาคของประเทศเป็นระยะเวลา ๕ ปี
 เตรียมจัดงาน “สนุกกับสะเต็มจัดเต็ม 4 ภาค” เพื่อให้ทุกภาคส่วนในระบบสะเต็มศึกษาเข้าใจ
หน้าที่และบทบาท เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้ครู ผู้ปกครองและทุกภาคส่วน
ตระหนักเห็นคุณค่าของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีตามแนวทางของสะเต็มศึกษา โดยจะจัดขึ้น
4 ภูมิภาคของประเทศไทย ดังนี้ ภาคกลาง ระหว่างวันที่ 3 - 5 สิงหาคม ๒๕58 จัดที่ศูนย์สะเต็มศึกษาโรงเรียน
พระปฐมวิทยาลัย ภาคเหนือ ระหว่างวันที่ 6 - 8 สิงหาคม ๒๕58 จัดที่ศูนย์สะเต็มศึกษาโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
ภาคอีสาน ระหว่างวันที่ 13 - 15 สิงหาคม ๒๕58 จัดที่ศูนย์สะเต็มศึกษาโรงเรียนสุรนารีวิทยา ภาคใต้ ระหว่างวันที่
26 - 28 สิงหาคม ๒๕58 จัดที่ศูนย์สะเต็มศึกษาโรงเรียนเบญจมราชูทิศนครศรีธรรมราช

๖๕
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 จัดโครงการนาร่องทดลองใช้งานศูนย์เรียนรู้ดิจิทัลระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยี (Ipst Learning Space) โดยเริ่มจากระบบโรงเรียน คัดเลือกโรงเรียนที่มีความพร้อม จานวน
11 แห่ง เข้าร่วมโครงการและนาระบบโรงเรียนไปใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการหลักสูตรการศึกษา
แผนการจัดการเรียนรู้ และข้อสอบภายในโรงเรียนผ่านระบบออนไลน์ประกอบด้วย 1) โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย
2) โรงเรียนควนเนียงวิทยา 3) โรงเรียนเสาไห้ “วิมลวิทยานุกูล” 4) โรงเรียนเทพศิรินทร์ พุแค 5) โรงเรียนอุตรดิตถ์
ดรุณี 6) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์ 7) โรงเรียนปทุมคงคา 8) โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 9) โรงเรียน
รัตนโกสินทร์สมโภชบางเขน 10) โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ และ 11) โรงเรียนกมลาไสย
๔. ความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนา
 พัฒนานักวิจัยด้านยุทโธปกรณ์กับกองทัพบก โดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ลงนาม
บันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือในการส่งเสริมและสนับสนุน การพัฒนานักวิจัยด้านยุทโธปกรณ์กับกองทัพบก โดย
จัดสรรงบประมาณประจาปี พ.ศ. ๒๕57 จานวน 30 ล้านบาท เพื่อสนับสนุนงานวิจัยด้านยุทโธปกรณ์ จานวน 14
โครงการ จากสถาบันอุดมศึกษา 8 แห่ง ซึง่ ได้จัดทาคาของบประมาณประจาปี พ.ศ. ๒๕59 สาหรับสนับสนุนงานวิจัย
ด้านยุทโธปกรณ์ จานวน 50 ล้านบาท และจะเปิดรับข้อเสนอโครงการจากนักวิจัยทั้งประเทศประมาณเดือนสิงหาคม
2559
 จั ดโครงการ “การจั ดการศึกษาแบบบูรณาการเพื่อส่งเสริ มสุขภาพนั กเรียน กรณีโรงเรียน
ต้นแบบการส่งเสริมสุขภาพในแถบลุ่มน้าโขง” โดยสานักงานศึกษาธิการภาค ๙ ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการวิจัย
แห่ งชาติ ก าหนดการวิ จั ยการจั ดการศึ กษาแบบบู รณาการเพื่ อส่ งเสริ มสุ ขภาพนักเรียน กรณีโรงเรี ยนต้ นแบบ
การส่งเสริมสุขภาพในแถบลุ่มน้าโขง ซึ่งเป็นการศึกษากระบวนการส่งเสริมสุขภาพอย่างเป็นองค์รวม ของโรงเรียน
ต้ น แบบการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพนั กเรี ย น(โรงเรี ย นต้ นแบบการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ หมายถึ ง โรงเรี ยนในสั ง กั ด
กระทรวงศึกษาธิการ ที่ผ่านการประเมินรับรองมาตรฐานด้านการส่งเสริม สุขภาพระดับเพชรในระดับเขตอนามัย
(ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี) และระดับกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข) ในแถบลุ่มน้าโขง (จังหวัดนครพนม
มุกดาหาร อานาจเจริญ และอุบลราชธานี) การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
พฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนของโรงเรียน ต้นแบบการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนลักษณะความร่วมมือของชุมชน
กับโรงเรียน ในการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนของโรงเรียนต้นแบบการส่งเสริมสุขภาพ นักเรียน และศึกษารูปแบบ
การพัฒนาสู่ความสาเร็จและยั่งยืนในการ ส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียนของโรงเรียนต้นแบบการส่งเสริม สุขภาพ
นักเรียน ขณะนี้อยู่ระหว่างการออกเก็บข้อมูลในพื้นที่ ซึ่งจะออกเก็บข้อมูลด้านการสาธารณสุข ด้านการศึกษาในพื้นที่
จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุ ขภาพตาบล (รพ.สต.) และกาหนดการประชุมคณะนักวิจัย จ านวน 8 ครั้ง ขณะนี้
ได้ดาเนินการไปแล้ว 4 ครั้ง ประกอบด้วยคณะนักวิจัยในโครงการ จานวน 9 คน และนักวิจัยพื้นที่โรงเรียนละ 3 คน
ประกอบด้วย ครูฝ่ายวิชาการ ครูฝ่ายอนามัย และผู้บริหาร) กาหนดกลุ่มผู้ให้ ข้อมูลอีกโรงเรียนละ 3 คน โดยใน
เบื้องต้นหลังจากออกเก็บข้อมูลแล้วจะนาเสนอข้อมูลเป็นบทความวิจัย ในช่วงเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน ๒๕58
 จั ดทาวิจั ยกั บโรงเรี ยนการศึกษาพิ เศษ ร่ วมกับมหาวิทยาลัยกิฟุ ประเทศญี่ปุ่น ตามกรอบ
ความร่วมมือการทาวิจัยกับโรงเรียนการศึกษาพิเศษประเทศไทย เพื่อเป็นการเปรียบเทียบการจัดการเรียนการสอน
ผู้ที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ในการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทาในอาชีพด้านการเกษตรระหว่างการศึกษาพิเศษ
ทั้ง 2 ประเทศ โดยมุ่งเน้นการยกระดับความเป็นมืออาชีพของผู้บริหาร ครูผู้สอน และบุคลากรในสถานศึกษาที่เปิด
สอนให้กับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ โดยมีสถานศึกษาเข้าร่วม 5 แห่ง ประกอบด้วย 1) โรงเรียนลพบุรีปัญญานุกูล

๖๖
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

จังหวัดลพบุรี 2) โรงเรียนพิษณุโลกปัญญานุกูล จังหวัดพิษณุโลก 3) โรงเรียนฉะเชิงเทรานุกูล จังหวัดฉะเชิงเทรา


4) โรงเรียนพิจิตรปัญญานุกูล จังหวัดพิจิตร 5) โรงเรียนสงขลาพัฒนาปัญญา จังหวัดสงขลา
 จัดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาวิจัยร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
เพื่อใช้ประโยชน์ ทรั พยากรเครือข่ายเพื่อศึกษา โดยสนับสนุนหมายเลขอินเทอร์เน็ต จานวน 128 Class C
หรือ 32,768 หมายเลข ให้กับสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาใช้งานในเครือข่าย UniNet สาหรับบริการ
เชื่อมต่อเครือข่ายกับสถาบันการศึกษา เพื่อดาเนินกิจกรรมทางด้านการศึกษาวิจัยและช่วยให้การพัฒนาเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตไปสู่โรงเรียน และชุมชนห่างไกลเป็นไปได้อย่างไม่ติดขัด
 พัฒนางานวิจัยดาเนินงานในรูปแบบ “ภาคีสถาบันอุดมศึกษา/วิจัย เพื่อการวิจัย” ในปัจจุบัน
มีสถาบันอุดมศึกษา/วิจัย เข้าร่วมดาเนินการกับศูนย์ความเป็นเลิศทั้ง 11 ศูนย์ จานวน 23 สถาบัน ประกอบด้วย
51 หน่วยปฏิบัติการวิจัยหลัก มีคณาจารย์/นักวิจัยจากสถาบันอุดมศึกษา/วิจัย เข้าร่วมดาเนินการ 1,086 คน
มีจานวนห้องปฏิบัติการวิจัย (Research Lab) รวม 163 ห้องปฏิบัติการ
๕. การใช้ประโยชน์จากงานวิจัยและพัฒนา
 ทดลองการทาพื้นสนามอเนกประสงค์ด้วยยางธรรมชาติ โดยร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี เป็นผู้สนับสนุนงบประมาณในการดาเนินการทั้งหมด ณ โรงเรียนเทพศิรินทร์ ขนาด 1,300 ตารางเมตร
ทั้ งนี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ เสนอของบกลางรายการส ารองจ่ ายเพื่ อกรณี ฉุ กเฉิ นหรื อจ าเป็ นให้ แก่
กระทรวงศึกษาธิการ จานวน 259.24 ล้านบาท เพื่อสร้างสนามฟุตซอลและสนามเด็กเล่นในสถานศึกษาสังกัด
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมีสถานศึกษาเป้าหมาย จานวน 370 แห่ง

๖๗
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

นโยบายที่ ๑๐
การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาล
และการป้องกันปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐ
----------------------------
กระทรวงศึ กษาธิ การด าเนิ นการส่ งเสริ มการบริ หารราชการแผ่ นดิ นที่ มี ธรรมาภิ บาล และการป้ องกั น
ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐ โดยการใช้มาตรการทางกฎหมาย และการป้องกันการทุจริต
คอรัปชั่น การปลูกฝังค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล รวมทั้งการรักษาศักดิ์ศรีของความเป็นข้าราชการ
และความซื่อสัตย์สุจริต ควบคู่กับการบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันและปราบปรามการทุจริต
และประพฤติมิชอบของข้าราชการ และเจ้าหน้าที่อย่างเคร่งครัด พร้อมทั้งการให้บริการประชาชน เรื่อง ร้องเรียน
ร้องทุกข์ของประชาชนที่เกี่ยวข้องการศึกษา โดยมีผลการดาเนินงาน ดังนี้
๑. การใช้มาตรการทางกฎหมาย และการป้องกันการทุจริตคอรัปชั่น
 กาหนดแนวทางการป้องกันการทุจริต 2 แนวทาง ดังนี้
 การป้องกันปัญหาโดยให้ความรู้กับบุคลากร ในสถาบันการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานและสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ทาบันทึกความเข้าใจ
(MOU) ร่วมกันขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ชาติ เกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ด้วยกระบวนการ
จัดการโดยการวางระบบการคัดเลือกบุคลากรโดยจัดสอบกฎหมายเกี่ยวกับการทุจริต
 ให้สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจาจังหวัดมี
ส่วนร่วมกับโครงการขนาดใหญ่
 ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรการควบคุมการจัดทาโครงการที่มี การจัดจ้าง
ให้เอกชนผู้รับจัดงาน (Organizer) งานโฆษณาและงานประชาสัมพันธ์ ของทุกหน่วยงานในสังกัดและในกากับ
ของกระทรวงศึกษาธิการ ที่มีวงเงิน 1 ล้านบาท หรือมีกลุ่มเป้าหมายจานวนตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป ต้องเสนอ
ขอความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการก่อนการจัดงาน
 จั ด ตั้ ง ศู น ย์ รั บ เรื่ อ งราว ร้ อ งเรี ย น ร้ อ งทุ ก ข์ ใ ห้ บ ริ ก ารประชาชนที่ เ กี่ ย วข้ อ งการศึ ก ษา
ซึ่งประชาชนสามารถร้องเรียน ร้องทุกข์ เรื่องต่างๆ ผ่านหลากหลายช่องทาง เช่น Call Center 1579
หรือ www.1579.moe.go.th จัดตั้งศูนย์รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการรับนักเรียนและช่วยเหลือนักเรียน
ที่ตกหล่นไม่มีที่เรียนที่สายด่วน สพฐ. หมายเลข 0 2280 5530
๒. ปลูกฝังค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล
 จั ด โครงการเสริ มสร้ า งคุ ณ ธรรม จริ ยธรรมและธรรมาภิ บาลในสถานศึ กษา “ป้ องกั น
การทุจริต” โรงเรียนสุจริต โดยดาเนินการประชุม/อบรม จานวน 8 หลักสูตร ดังนี้
 อบรมหลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง สาหรับผู้บริหารสถานศึกษาโครงการโรงเรียนสุจริต
(สจว.สพฐ.) จานวน 2 รุ่น
 ประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารโครงการเสริ ม สร้ า งคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมและธรรมมาภิ บ าล
ในสถานศึกษา “โรงเรียนสุจริต” มีศึกษานิเทศก์ /นักวิชาการศึกษา ที่รับผิดชอบโครงการในระดับสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งสิ้น 225 คน

๖๙
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 ประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารโครงการเสริ ม สร้ า งคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมและธรรมาภิ บ าล


ในสถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต”(ภายใต้ชื่อเขตสุจริต) มีเขตสุจริตต้นแบบ จานวน 10 เขต และเขตสุจริต
คู่พัฒนา จานวน 10 เขต รวมทั้งสิ้น จานวน 20 เขต
 ประชุมเชิงปฏิบั ติการจัดทาเกณฑ์ม าตรฐานโรงเรียนสุ จริต เพื่อจัดทาเกณฑ์มาตรฐาน
โรงเรี ย นสุ จ ริ ต เพื่ อใช้ เป็ น แนวมาตรฐานการปฏิ บั ติ ส าหรั บโรงเรี ยนต้ นแบบและเครื อข่ ายโรงเรี ยนสุ จริ ต
ที่เข้าร่วมโครงการ
 อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen) ร่วมกับสถาบันพระปกเกล้า
โดยคัดเลื อกโรงเรี ยนสุ จริ ตที่เข้าร่ วมโครงการ เข้ารั บการอบรมเพื่ อสร้างความเข้าใจและตระหนักรู้ในเรื่อง
การสร้างสานึกพลเมืองและร่วมกันจัดทาแผนเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณสาหรับดาเนินกิจกรรมสร้าง
สานึกพลเมือง
 อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างพลังเครือข่าย ป.ป.ช.(สพฐ.) ระดับจังหวัด ให้ความรู้กับผู้ดารงตาแหน่ง
ป.ป.ช.(สพฐ.) ระดับจังหวัด ในส่วนของบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบ แนวทางการดาเนินงาน และประสาน
ความร่วมมือ โดยการวางแผนงานร่วมกับเจ้าหน้าที่สานักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต
แห่งชาติประจาจังหวัด ของสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
 ประชุมเชิงปฏิบัติการ 100 เรื่องวิจัยรูปแบบการพัฒนาสถานศึกษาโครงการโรงเรียนสุจริต
โดยจัดอบรมให้ความรู้เพิ่มเติมให้กับ 100 โรงเรียนเครือข่ายที่เข้าร่วมกิจกรรมวิจัย และ 24 โรงเรียนต้นแบบ
และคู่ พั ฒ นา เพื่ อ จั ด ท าเค้ าโครงร่ า งงานวิ จั ย และให้ ข้ อ เสนอแนะในการด าเนิ น งานวิ จั ยให้ กั บ โรงเรี ย น
ในกลุ่มเป้าหมาย
 ประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารโครงการเสริ ม สร้ า งคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมและธรรมาภิ บ าล
ในสถานศึ กษา “ป้ องกั นการทุ จริ ต ” กิ จกรรมการเรี ยนรู้บริ ษั ทสร้างการดี เพื่ อมอบนโยบาย แนวทางการ
ดาเนินงาน องค์ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้บริษัทสร้างการดี ให้กับผู้บริหารโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ
โรงเรียนสุจริตต้นแบบ จานวน 225 โรงเรียน
 จั ดโครงการเสริ มสร้ างคุ ณธรรม จริ ยธรรมและธรรมาภิ บาลเน้ น “มหาวิ ทยาลั ยโปร่ งใส
บัณฑิตไทย ไม่โกง” เมื่อวันที่ 8 มกราคม ๒๕๕๘ เพื่อสนับสนุนเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา 9 เครือข่าย
โดยนาหลักความโปร่งใสมาใช้ในการบริหารจัดการและดูแลมหาวิทยาลัย รวมทั้งวางรากฐานแห่งความซื่อสัตย์
สุจริตให้กับนิสิตนักศึกษา และบัณฑิตยุคใหม่ เป็นบัณฑิตไทยไม่โกง ไม่ทุจริตคอรัปชั่นในทุกรูปแบบ
 อบรมค่ านิ ยมหลั กของคนไทย 12 ประการ ส าหรั บผู้ บริ หารและครู โรงเรี ยนเอกชน
เพื่อปลู กฝั งค่านิ ยมที่ดีในจิ ตใจสร้ างสรรค์ประเทศไทย ให้ เข้มแข็ง และปลู กฝั งจิตส านึกที่ดีในด้านคุณธรรม
จริยธรรม การเสียสละความสุขส่วนตัวเพื่อประโยชน์ส่วนร่วม ทั่วประเทศ จานวน 4 รุ่น จานวน 1,571 คน
จัดอบรม เพื่อพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาของสานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัด และโรงเรียน
เอกชนในระบบ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อเสริมสร้างผู้ เรียนให้มีค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ
ผู้เข้าร่วมอบรม 399 คน
 อบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือสามัญ ระดับผู้น าขั้นความรู้ ชั้นสูง (A.T.C) เพื่อให้ เป็นผู้ มี
คุณธรรม จริยธรรม มีความซื่อสัตย์ มีระเบียบวินัย มีจิตอาสาสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีโดยใช้กระบวนการลูกเสือ
สามารถนาความรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาลูกเสือในสถานศึกษา ตลอดจนปรับใช้ในการดาเนินชีวิต
ได้อย่างเหมาะสม รวม 119 คน

๗๐
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

 จั ดโครงการฝึกอบรมผู้อบรมผู้ บังคั บบัญชาลู กเสื อและลูกเสือ “ช่อสะอาด” ร่ วมกั บ


สานักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เพื่อพัฒนาและเสริมสร้าง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
ลู กเสื อ เนตรนารี ให้ มี ความรู้ ความเข้ าใจ ทั ศนคติ ค่ านิ ยม ในเรื่ องความซื่ อสั ตย์ สุ จริ ต และสนั บสนุ นให้
ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ลูกเสือ เนตรนารี นาความรู้ แนวคิด ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริตไปใช้ในชีวิตประจาวัน ดังนี้
 วันที่ 29 - 31 มีนาคม ๒๕58 ณ ศูนย์พัฒนาบุคลากรทางการลูกเสือ ยุวกาชาดและ
กิจกรรมเยาวชน "ผิน แจ่มวิชาสอน" จานวน 74 คน เป็นการอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ เพื่อเป็นวิทยากรแกนนา
ผู้เข้าร่วมมาจาก 4 ภาค ๆ ละ 20 คน จากนั้นนามาขยายผล จัดอบรมลูกเสือ 4 รุ่นๆ ละ 100 คน
 วันที่ 3 - 5 มิถุนายน ๒๕58 อบรมลูกเสือประเภทสามัญรุ่นใหญ่ ณ ค่ายลูกเสือ
จังหวัดกระบี่
 วันที่ 5 - 6 มิถุนายน ๒๕58 อบรมลูกเสือประเภทลูกเสือสารอง ณ ค่ายลูกเสือ
จังหวัดอุบลราชธานี
 วันที่ 18 - 20 มิถุนายน ๒๕58 อบรมลูกเสือสามัญ ณ ค่ายทีปังกรรัศมีโชติ จังหวัด
สมุทรสาคร
 วันที่ 8 - 10 กรกฎาคม ๒๕58 ประเภทลูกเสือวิสามัญ ณ ศูนย์พัฒนาบุคลากร
ทางการลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจกรรมเยาวชน จังหวัดเชียงราย
 จัดโครงการ “THE HERO POWER CAMP” เพื่ออบรมนักเรียน นักศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน
ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และจังหวัดใกล้เคียง ให้มีความเป็นผู้นาในเชิงสร้างสรรค์ เสริมสร้างคุณธรรม
จริ ยธรรม และปลู กฝั งความคิ ดให้ มี ความรู้ ความเข้ าใจ ทั ศนคติ ที่ ดี ต่ อการเป็ นผู้ น า มี จิ ตสาธารณะนึ กถึ ง
ผลประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าผลประโยชน์ส่วนตน ตามค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการของคนไทย นาไปสู่
การสร้างทรัพยากรมนุษย์ของชาติให้มีประสิทธิภาพ อันเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาประเทศ ให้มีคุณภาพต่อไป
ผู้เข้าร่วมอบรม 150 คน
 จัดโครงการ “ค่ายเยาวชนคนรุ่ นใหม่ใฝ่ค่านิยม” เพื่อให้ นักเรียน นักศึกษามีคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์มีคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นไทย ศรัทธาและเชื่อมั่นประชาธิปไตยห่างไกลยาเสพติด มีจิตอาสา
และดาเนินตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ผู้เข้าร่วม
2,912 คน
 จัดโครงการ “สพฐ. ใสสะอาด ปราศจากคอรัปชั่น” ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๒๒๕ เขต และผู้อานวยการสานัก
ส่วนกลาง ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต เนื่องจากต้องการสร้าง
ความตระหนักรู้ และส่งเสริมให้บุคลากรร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่น
ซึ่งได้กาหนดแนวทางการแก้ไขปั ญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ
ของหน่วยงานภาครัฐ ตลอดจนการนาเครื่องมือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ
หน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA) ไปใช้ประเมินหน่วยงานในสังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันปราบปรามการทุจริต
ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2556 – 2560) นอกจากนี้ยังดาเนินการจัดนิทรรศการโครงการ “สพฐ. ใสสะอาดปราศจาก

๗๑
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

คอรัปชั่น” “ภูมิภาคสัญจร” ใน 5 ภูมิภาค ทั่วประเทศ ระหว่างเดือนเมษายน – มิถุนายน ๒๕58 และประเมิน


โรงเรียนทุกเขตทุกโรงเรียน ซึ่งจะเริ่มวันที่ 1 ตุลาคม ๒๕58
 จัดโครงการ “ข้าราชการไทยไร้ทุจริต ” เพื่อให้ความรู้ ปลุกจิตสานึกในการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตให้กับบุคลากร เพื่อปลุกจิตสานึกในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตให้กับบุคลากร
และร่วมเป็นเครือข่ายภาครัฐต่อต้านการทุจริต มีผู้เข้าร่วม 120 คน
 จั ด โครงการ “ส่ ง เสริ ม ค่ า นิ ย มหลั ก ของคนไทย ๑๒ ประการ” โดยส านั ก งาน กศน.
ได้ดาเนินการตั้งแต่เดือนตุลาคม ๒๕57 – มีนาคม ๒๕58 โดยมีผลการดาเนินงาน ดังนี้
 ประชาสั ม พั น ธ์ ก ารส่ ง เสริ ม ค่ า นิ ย มหลั ก ของคนไทย ๑๒ ประการ โดยจั ด ท าป้ า ย
โปสเตอร์ และติ ดตั้ง เพื่ อประชาสั มพั นธ์ จานวน 25,000 แห่ ง รวมทั้ง ประชาสั มพันธ์ผ่ านสื่ อเว็ปไซต์ ของ
หน่วยงาน
 จัดเวทีเสวนาในพื้นที่ จานวน 2,413 แห่ง ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จานวน 312,154 คน
 หลักสูตร กศน. ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 รายวิชาประวัติศาสตร์ ศาสนาและหน้าที่พลเมือง
 จัดกิจกรรมค่ายคุณธรรม ทั่วประเทศ (ค่ายละ 70 คน) โดยดาเนิ นการ 3 ระยะ ดังนี้
ระยะที่ 1 ดาเนินการตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม ๒๕57 ระยะที่ 2 ดาเนินการเดือนมกราคม ๒๕๕๘
และระยะที่ 3 จะดาเนินการเดือนเมษายน 2558
 จัดหลักสูตร “โตไป ไม่โกง” ร่วมมือกับคณะกรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ (คตช.)
โดยส่งครูผู้สอนระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เข้ารับการอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมของ
ครูผู้สอน ให้เข้าใจเนื้อหา และการใช้สื่อการเรียนการสอนของหลักสูตรดังกล่าว ณ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร
ศาสตร์ ระหว่างวันที่ 2 - 3 กรกฎาคม ๒๕58 และจะมีการเสวนาภายใต้หัวข้อ “รวมพลังขับเคลื่อน เพื่อสร้าง
จิตสานึกและคุณค่าความดี ” เนื่องจากในปีการศึกษา 2558 จะมีการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร “โตไป
ไม่โกง” ระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยจัดให้มีการเรียนการสอน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
ทั้งนี้ จะเริ่มดาเนินการโครงการอบรมครูระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนจานวน 2 รุ่น
และจัดจะอบรมครูระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 อีก 1 รุ่น ซึ่งหลักสูตรนี้จะเป็นการมุ่งเน้นไปที่ตัวนักเรียน
โดยตรง โดยเริ่มปลูกผังค่านิยม “โตไป ไม่โกง”

๗๒
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

หน่วยงานสนับสนุนข้อมูล
๑. สานักงานรัฐมนตรี
๒. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
๓. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
๔. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๕. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
๖. สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
๗. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
๘. สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๙. สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
๑๐. สานักงานเลขาธิการคุรุสภา
๑๑. สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
๑๒. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๑๓. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
๑๔. สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน)
๑๕. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
๑๖. สานักงานลูกเสือแห่งชาติ

๗๔
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
กระทรวงศึกษาธิการ

คณะบรรณาธิการ
๑. นางนิตย์ โรจน์รัตนวาณิชย์ ผู้ช่วยปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
๒. นายเชิดศักดิ์ ศรีศักดิ์วิชัย ผู้อานวยการสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.
๓. นายวัฒนชัย จันทร์วีนุกูล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ
๔. นางสาวปทุมพร อยู่คง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ
๕. นายสรินท์ ศรีสมพันธุ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ
๖. นางเจนจิรา ธัชศฤงคารสกุล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ
๗. นางสัมพันธ์ แจ่มหอม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
๘. นางสาวพรมนันท์ เตียวเจริญชัย นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
๙. นายศุภกิตติ์ ยอดพิจิตร นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

๗๕
รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในรอบ ๙ เดือน
(ระหว่างวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๗ – ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๘)
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

You might also like