You are on page 1of 46

การคํานวณแรงลมสถิตเทียบเทา โดยวิธีการอยางงาย

สําหรับอาคารสูงปานกลาง

รศ. ดร.วิโรจน บุญญภิญโญ


คณะวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต
ขอบขาย การใชมาตรฐาน
(ก) กําหนดวิธีการคํานวณคาของแรงลมและผลกระทบในรูปแบบตางๆ ของ
ลมที่มีตออาคาร เพื่อใชในการออกแบบระบบโครงสรางหลักของอาคาร
องค อาคาร และสว นประกอบอื่ นๆ ของอาคาร เชน ผนั งภายนอกตั ว
อาคาร หลังคา เปนตน
(ข) เปนขอกําหนดในขั้นต่ําสุดที่จําเปนตอการออกแบบอาคาร เพื่อใหอาคารมี
ความปลอดภัย และเพื่อจํากัดผลกระทบในรูปแบบตางๆ ของลมที่มีตอ
อาคารใหอยูในระดับที่ยอมรับได ตามเกณฑมาตรฐานสากล
(ค) นําไปใชในการออกแบบอาคารทั่วไป ตั้งแตอาคารเตี้ยจนถึงอาคารสูงที่มี
รู ป ทรงปกติ แต ม าตรฐานนี้ ไ ม ค รอบคลุ ม ถึ ง การออกแบบอาคารที่ มี
ลั ก ษณะพิ เ ศษ หรื อ โครงสร า งอื่ น ๆ ที่ อ าจมี ก ารตอบสนองต อ แรงลม
รุนแรงกวาปกติ เชน ปลองไฟที่มีความสูงชะลูด สะพานชวงยาว ฯลฯ
(ง) ไม ไ ด ค รอบคลุ ม สภาพภู มิ ป ระเทศที่ มี ลั ก ษณะพิ เ ศษ ที่ อ าจทํ า ให เ กิ ด
แรงลมที่สูงกวาปกติ เชน ชองลม ผลของอาคารขางเคียง ฯลฯ
ขอพิจารณาหลักของการออกแบบอาคารตานแรงลม
n ระบบโครงสรางหลักของอาคาร องคอาคาร และสวนประกอบอื่นของ
อาคาร ตองไดรับการออกแบบใหมีกําลัง (strength) และเสถียรภาพ
(stability) ที่สูงเพียงพอที่จะสามารถตานทางแรงลมหรือผลเนื่องจากแรงลม
ไดอยางปลอดภัย โดยไมเกิดความเสียหายใดๆ
n การโกงตัวดานขาง (lateral deflection) ของอาคารเนื่องจากแรงลมจะ
ตองมีคานอยเพียงพอที่จะไมกอใหเกิดความเสียหายแกองค
องคอาคารหลักและ
องคอาคารรอง
n การสั่นไหวของอาคาร ( building motion ) ที่เกิดจากแรงลม ทั้งใน
ทิศทางลมและทิศตั้งฉากกับทิศทางลม มีระดับต่ําเพียงพอที่จะไมทําใหผูใช
อาคารรูสึกไมสบาย หรือเกิดอาการวิงเวียน
รูปแบบการคํานวณแรงลมของมาตรฐานฉบับใหม
คาสัมประสิทธิ์ของหนวยแรงลม

p = I W qC e C g C p
คาประกอบความ
สําคัญของแรงลม
คาประกอบเนื่องจาก
หนวยแรงลมอางอิงเนื่องจาก ผลการกระโชกของลม
ความเร็วลม 1 rV 2
2
คาประกอบเนื่องจากสภาพภูมิประเทศ

แบบโลง (A) แบบชานเมือง (B) แบบศูนยกลางเมืองใหญ (C)


วิธีการคํานวณแรงลม 3 วิธี
1) วิธีการอยางงาย ( Simple Procedure ) ใชสําหรับ
ก) ระบบโครงสรางหลักตานแรงลม ของอาคารเตี้ยและอาคารสูงปานกลาง
ที่มีความสูงไมเกิน 80 ม. และมีความสู
ความสูงไมเกิน 3 เทาของความกวาง
ประสิทธิผลที่นอยที่สุด ยกเวน อาคารที่สั่นไหวงาย ไดแกอาคารที่มีน้ําหนัก
เบา และมีความถี่ธรรมชาติต่ํา และมีคุณสมบัติความหนวงของอาคารต่ํา

h < 80 ม
หรือ
h < 3W
ข) ผนังภายนอก (cladding) ของอาคารที่มีรูปทรงไมซับซอน ทุกประเภท
วิธีการคํานวณแรงลม 3 วิธี (ตอ)
2) วิธีการอยางละเอียด ( Detail Procedure ) ใชสําหรับ
ก) ระบบโครงสรางหลักตานแรงลม ของอาคาร
สูงเกิน 80 ม. หรือมีความสู
ความสูงเกิน 3 เทาของ
ความกวางประสิทธิผลที่นอยที่สุด h > 80 ม
หรือ
h > 3W

ข) อาคารที่สั่นไหวงาย ไดแก อาคารที่มีน้ําหนักเบา และความถี่


ธรรมชาติต่ํา และมีคุณสมบัติ ความหนวงของอาคารต่ํา
วิธีการคํานวณแรงลม 3 วิธี (ตอ)
3) วิธีการทดสอบในอุโมงคลม ( Wind Tunnel Procedure )
ใชสําหรับอาคารสูง อาคารรูปทรงซับซอน อาคารที่ตั้งอยูในสภาพภูมิ
ประเทศที่มีอาคารสูงอยูหนาแนน สะพานชวงยาว(สะพานขึง,
สะพานแขวน ) และหลังคาขนาดใหญ เปนตน ซึ่งวิธีการอยาง
ละเอียดในมาตรฐานไมสามารถใชได หรือในกรณีที่ตองการความ
ถูกตองสูง
หนวยแรงลมอางอิงเนื่องจากความเร็วลม (q)

1 2 1 r 2
q = rV นิวตัน/ม2 หรือ q = 2 ( )V กก/ม2
2
g
ความหนาแน นของมวลอากาศ = 1.25 กก / ม 3
r =
2
g = อัตราเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก = 9.81 ม/วินาที
V = ความเร็วลมอางอิง มีหนวยเปน ม/วินาที
คือ ความเร็วลมเฉลี่ยในชวง 1 ชั่วโมง ที่ความสูง 10 ม จากพื้นดิน
ในสภาพภูมิประเทศโลง สําหรับคาบเวลากลับ ( return period) 50 ป
3 2

1 2 แผนที่ความเร็วลมอางอิง

2
กลุมที่ 1 V = 25 เมตร ตอ วินาที
กลุมที่ 2 V = 27 เมตร ตอ วินาที
2 4 กลุมที่ 3 V = 29 เมตร ตอ วินาที
กลุมที่ 4 V = 30 เมตร ตอ วินาที
การจําแนกประเภทของอาคาร
ตามความสําคัญตอสาธารณชน
ประเภทของอาคาร ประเภท
ความสําคัญ
1. อาคารหรือสวนโครงสรางอื่นที่มีปจ จัยเสี่ยงอันตรายตอชีวิต นอย
มนุษยคอนขางนอยเมื่อเกิดการพังทลายของอาคารหรือสวน
โครงสรางนั้นๆ เชน
-อาคารที่เกี่ยวของกับการเกษตร
-อาคารชั่วคราว
-อาคารเก็บของเล็กๆ ซึ่งไมมีความสําคัญ
2. อาคารและสวนโครงสรางอื่นที่ไมจัดอยูในอาคารประเภท
ความสําคัญ นอย มาก และสูงมาก ปกติ
การจําแนกประเภทของอาคาร
ตามความสําคัญตอสาธารณชน
ประเภทของอาคาร ประเภท
ความสําคัญ
3.1 อาคารและสวนโครงสรางอื่นที่หากเกิดการพังทลาย จะเปนอันตรายตอ มาก
ชีวิตมนุษยและสาธารณชนอยางมาก เชน
-อาคารที่เปนที่ชุมนุมคนในพืน้ ทีห่ นึง่ ๆ มากกวา 300 คน
-โรงเรียนประถม และมัธยมศึกษาที่มีความจุมากกวา 250 คน
-มหาวิทยาลัย และวิทยาลัย ทีม่ ีความจุมากกวา 500 คน
-สถานรักษาพยาบาลที่มคี วามจุคนไขมากกวา 50 คน แตไมสามารถทําการรักษากรณีฉุกเฉินได
-เรือนจําและสถานกักกันนักโทษ
3.2 อาคารและสวนโครงสรางอื่นที่มีความจําเปนตอความเปนอยูของ
สาธารณชน และไมจัดอยูในประเภทความสําคัญสูงมาก เชน
-สถานีจายไฟฟา
-โรงผลิตน้ําประปา
-ศูนยสอื่ สาร
การจําแนกประเภทของอาคาร
ตามความสําคัญตอสาธารณชน
ประเภทของอาคาร ประเภท
ความสําคัญ
4. อาคารและสวนโครงสรางที่มีความจําเปนตอความเปนอยูของสาธารณชน สูงมาก
เปนอยางมาก เชน
- โรงพยาบาลที่สามารถทําการรักษากรณีฉุกเฉินได
- สถานีตํารวจ สถานีดับเพลิง และโรงเก็บรถฉุกเฉินตางๆ
- ศูนยบรรเทาสาธารณภัย
- สถานีสื่อสารตางๆ ที่ตอ งการการใหบริการอยางเรงดวนเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉิน
ขึ้น
- ถังเก็บน้ําและสถานีสูบจายน้ําที่มีความดันสูง
- อาคารหรือสวนโครงสรางในสวนของการผลิต การจัดการ การจัดเก็บ หรือ
การใชสารพิษ เชน เชื้อเพลิง หรือสารเคมี อันกอใหเกิดการระเบิดขึ้นได
คาประกอบความสําคัญของแรงลม
ประเภทของ คาประกอบความสําคัญของแรงลม
อาคาร
ตามความสําคัญ สภาวะจํากัด สภาวะจํากัด
ดานกําลัง ดานการใชงาน
นอย 0.8 0.75
ปกติ 1 0.75
มาก 1.15 0.75
สูงมาก 1.15 0.75
สภาวะจํากัดดานกําลัง เชนกําลังของโครงสราง หรือองคอาคาร
สภาวะจํากัดดานการใชงาน เชนการโกงตัวและการสัน่ ไหว เปนตน
คาประกอบเนื่องจากสภาพภูมิประเทศ (Ce)
เปนคาประกอบที่นํามาปรับแกคาหนวยแรงลม ใหแปรเปลี่ยนตาม
ก) ความสูงจากพื้นดิน และ ข) สภาพภูมิประเทศ
วิธีการอยางงาย คํานึงถึงสภาพภูมิประเทศเปน 2 แบบ
0.2 0 .3
æZö æZö
Ce = ç ÷ C e = 0.7ç ÷
è 10 ø è 12 ø

A B
แบบชายทะเล แบบโลง แบบชานเมือง แบบศูนยกลางเมืองใหญ
คาประกอบเนื่องจากสภาพภูมิประเทศ (Ce) (ตอ)
วิธีการอยางงาย
1. สภาพภูมิประเทศแบบ A คือสภาพภูมิประเทศแบบโลง ซึ่งมี
อาคาร ตนไม หรือสิ่งปลุกสรางอยูกระจัดกระจายหางๆกัน
หรือเปนบริเวณชายฝงทะเล
Ce = ( Z / 10 ) 0.2 โดยที่ Ce ตองมีคาไมนอยกวา 0.9
คาประกอบเนื่องจากสภาพภูมิประเทศ (Ce) (ตอ)
2. สภาพภูมิประเทศแบบ B คือสภาพภูมิประเทศแบบชานเมือง
หรือพื้นที่ที่มี ตนไมใหญหนาแนน หรือบริเวณศูนยกลางของ
เมืองขนาดเล็ก
Ce = 0.7( Z / 12 ) 0.30 โดยที่ Ce ตองมีคา ไมนอ ยกวา 0.7
สภาพภูมิประเทศใดๆ จะจัดอยูในสภาพ
ภูมิประเทศแบบ B ได ก็ตอเมื่อมีลักษณะ
ภูมิประเทศในลักษณะนั้นๆ สม่ําเสมอใน
ทิศทางตนลม เปนระยะทางไมต่ํากวา 1
กิโลเมตร หรือ 10 เทาของความสูงของ
อาคาร โดยใชคาที่มากกวา
คาประกอบเนื่องจากการกระโชกของลม (Cg)
คือคาอัตราสวนระหวาง ผลของแรงลมสูงสุด(เชิงสถิติ) ตอผลของแรงลม
เฉลี่ย เปนคาประกอบที่นํามาปรับคาหนวยแรงลม โดยรวมผลที่เกิดจาก

2) หนวยแรงลม
ผันผวน จากผล
ของระลอกลม
โดยรอบอาคาร
(wake-induced
pressures)
1) การแปรปรวนของความเร็ว 3) การตอบสนองดาน
ลม ( random wind gusts) ที่ พลศาสตรของอาคาร
พัดเขาหาอาคาร
คาประกอบเนื่องจากการกระโชกของลม (Cg) (ตอ)
วิธีการอยางงาย
ก. สําหรับหนวยแรงลมสถิตเทียบเทาที่กระทํากับพื้นผิวภายนอก
อาคาร ใหใชคาเทากับ 2.0 ในการออกแบบโครงสรางหลัก
ตานทานแรงลม ยกเวนปายและกําแพง ใหใชคาเทากับ 2.35
ข. สําหรับหนวยแรงลมสถิตเทียบเทาที่กระทํากับพื้นผิวภายนอก
อาคาร ใหใชคาเทากับ 2.5 ในการออกแบบผนังภายนอกอาคาร
(cladding) ที่มีขนาดเล็ก (ประมาณขนาดของหนาตาง)
ค. สําหรับหนวยแรงลมสถิตเทียบเทาที่กระทํากับพื้นผิวภายใน
อาคาร ใหใชคาเทากับ 2.0 หรือคาที่คํานวณจากสมการ
คาสัมประสิทธิ์ของหนวยแรงลม (Cp)
§ คาสัมประสิทธิ์ของหนวยแรงลมภายนอก ขึ้นอยูกับรูปทรงของอาคาร
ทิศทางลม และลักษณะการแปรเปลี่ยนของความเร็วลมตามความสูงอาคาร
คาสัมประสิทธิ์ของหนวยแรงลมที่กระทําภายนอกอาคาร สําหรับการ
ออกแบบผนังภายนอกอาคารและระบบโครงสรางหลักของอาคาร แบง
ออกเปน 3 หมวด ดังนี้
– ก. คาสัมประสิทธิ์ของหนวยแรงลมภายนอก สําหรับอาคารเตี้ยที่มีความสูงตอ
ความกวาง นอยกวา 1 และมีความสูงอางอิง (reference height) นอยกวา 23
เมตร คาสัมประสิทธิข์ องหนวยแรงลมไดถูกนํามารวมกับคาประกอบเนื่องจากผล
การกระโชกของลม ดังแสดงในรูปที่ ข.1 ถึง ข.8 ในภาคผนวก ข.1
– ข. คาสัมประสิทธิข์ องหนวยแรงลมภายนอก สําหรับอาคารสูง ดังแสดงในรูปที่
ข.9 ในภาคผนวก ข-2
– ค. คาสัมประสิทธิข์ องหนวยแรงลมภายนอก สําหรับโครงสรางพิเศษ ดังแสดงใน
รูปที่ ข.10 ถึง ข.18 ในภาคผนวก ข-3
การทดสอบดวยแบบจําลองแข็ง ในอุโมงคลม
เพื่อหาคาสัมประสิทธิ์ของหนวยแรงลมเฉลี่ยที่กระทํา
ภายนอกอาคาร ดวยการวัดความดันลม

n อาคารที่ศึกษามีลักษณะสม่ําเสมอ และมีอัตราสวนความกวาง ความลึก


และความสูง ที่เปนตัวแทนของอาคารเตี้ย สูงปานกลาง และสูง เทากับ
45:45:45 ม. (1:1:1), 45:45:90 ม. (1:1:2) และ 30:45:180 ม.
(1:1.5:4 ถึง 6) ตามลําดับ
คาสัมประสิทธิ์ของ
หนวยแรงลมเฉลี่ย
ที่กระทําภายนอกอาคาร
หลังคา ผนังดานทายลม

ลม

ผนังดานตนลม ผนังดานขาง
อาคารมีขนาด
กวาง: ลึก: สูง = 45:45:90 ม.
คาสัมประสิทธิ์ของหนวยแรงลม ที่กระทําภายนอกอาคาร (Cp)
CCpp==-0.7
-0.7
CCpp==-0.5
-0.5
ความสูงงออาางอิ
ความสู งอิงง ==HH ความสูงงออาางอิ
งอิงง
ความสู
==0.5
0.5HH
CCpp==0.8
0.8
ความสูงงออาางอิ
ความสู งอิงง
แปรเปลี่ย่ยนตามความสู
แปรเปลี นตามความสูงง
CCpp==-0.7
-0.7
ความสูงงออาางอิ
ความสู งอิงง
==HH
HH

ZZ

DD
W
W
คาสัมประสิทธิ์ของหนวยแรงลม
สําหรับอาคารที่มีความสูงมากกวาความกวาง
และมีหลังคาอยูในแนวราบ
*
( Cp Cp )

รูปหนาตัดดานขาง รูปดานบนของอาคาร
ของอาคาร
การรวมผลของแรงลมในทิศทางลม
ตั้งฉากกับทิศทางลม และการบิด
การรวมผลของแรงลมในทิศทางลม ตั้งฉากกับทิศทางลม และการบิด เพื่อ
คํานึงถึงการกระจายที่ไมสมมาตรของหนวยแรงลม และผลของลมกระทําที่
มุมปะทะตางๆ กับอาคาร ซึ่งบางกรณีมีผลมากกวาลมกระทําตั้งฉากกับ
อาคาร
การรวมผลของแรงลมในหัวขอนี้ ใชกับโครงสรางตอไปนี้
– อาคารสูงปานกลาง ตามที่กําหนดสําหรับวิธีการอยางงาย
– อาคารรูปทรงสี่เหลี่ยมที่มีความสมมาตรทางโครงสราง กลาวคือจุด
ศูนยกลางแรงเฉือน และจุดศูนยกลางมวลของแตละชั้นจะอยูใน
ตําแหนงเดียวกัน หรือหางกันเล็กนอย
การรวมผลของแรงลมในทิศทางลม ตั้งฉากกับทิศทางลม
และการบิด (ตอ)
การรวมผลของแรงลม (ตอ)
อาคารและองคอาคาร จะตองออกแบบใหสามารถรับแรงตางๆที่เกิดขึ้น
เนื่องจากการกระทําของแรงลมในรูปที่ ข.9 ในลักษณะตางๆดังตอไปนี้
ก. หนวยแรงลมกระทํารอยละ 100 เต็มพื้นผิวดานตนลมและทายลม โดยพิจารณา
แรงลมที่กระทําทีละทิศทางตามแกนหลักของอาคาร (แกน X และแกน Y) ตามรูป
ที่ 2.2(ก)
ข. หนวยแรงลมกระทํารอยละ 75 เต็มพื้นผิวดานตนลมและทายลม พรอมกับ
โมเมนตบิด ตามรูปที่ 2.2(ข) โดยพิจารณาหนวยแรงลมและโมเมนตบิดกระทําที
ละทิศทาง ตามแกนหลักของอาคาร
ค. หนวยแรงลมกระทําเหมือนขอ ก. แตกระทํารอยละ 75 เต็มพื้นผิวดานตนลมและ
ทายลม และพิจารณาหนวยแรงลมกระทําพรอมกันทั้ง 2 ทิศทางตามแกนหลักของ
อาคาร ตามรูปที่ 2.2(ค) ทั้งนี้เพื่อคํานึงถึงผลของลมทีก่ ระทําในทิศทางที่ไมอยูใน
แนวตั้งฉากกับผนังของอาคาร
ง. กระทําดวยแรงเหมือนขอ ข. แตกระทํารอยละ 75 เต็มพืน้ ผิวดานตนลมและทาย
ลม และพิจารณาหนวยแรงลมและโมเมนตบิดกระทําพรอมกันทั้ง 2 ทิศทาง ตาม
แกนหลักของอาคาร ตามรูปที่ 2.2(ง)
q: หัวขอ 2.3

โครงสรางรอง โครงสรางหลัก
และผนังภายนอก ตานทานแรงลม

ใช

แผนภาพขั้นตอน
H > 80 ม.

ไมใช

H/W > 3
ใช

ไมใช
อาคารที่สั่น
ไหวไดงาย
ใช
การคํานวณแรงลม
วิธีการอยางงาย
ไมใช
วิธีการอยางงาย วิธีการอยางละเอียด และการตอบสนอง
อาคารสูง
Ce:
หัวขอ 2.4
Ce:
หัวขอ 2.4

อาคารสูง
Ce:
หัวขอ 3.4
โดยวิธีการอยางงายและ
วิธีการอยางละเอียด
Cg : 2.5 ไมใช H < 23 ม.
H < 23 ม. และ ไมใช Cg : 2.0 Cg :
หัวขอ 2.5 H/Ds < 1 หัวขอ 2.5 หัวขอ 3.5

ใช ใช
Cp*: หัวขอ 2.6 Cp*: หัวขอ 3.6
Cp*: ภาคผนวก CpCg: ภาคผนวก CpCg: ภาคผนวก
ภาคผนวก ข-2 ภาคผนวก ข-2
ข-2 รูป ข.9 ข-1 รูป ข.2-ข.8 ข-1 รูป ข.1
รูป ข.9 รูป ข.9
หนวยแรงลมภายใน
Cgi: 2.0 หรือหัวขอ 2.5
p = IwqCeCgCp p = IwqCeCgCp p = IwqCeCgCp
Cpi: หัวขอ 2.6

p = IwqCeCgCp การรวมผลของแรงลม: การรวมผลของแรงลม:


และ pi = IwqCeCgiCpi หัวขอ 2.8 หัวขอ 4.5

การโกงตัวดานขาง
และการสั่นไหว:
หัวขอ 3.7, 3.8 และ 4.3
ตัวอยางการคํานวณ
ใหคํานวณหนวยแรงลมสําหรับออกแบบโครงสรางหลักของอาคารพักอาศัย
ที่มีขนาด 30x45 เมตร และสูง 80 เมตร โดยวิธีการอยางงาย ในกรณี
ดังตอไปนี้
ก. อาคารตั้งอยูบริเวณริมหาด จังหวัดภูเก็ต y

ข. ใหทําตารางหนวยแรงลมสถิตเทียบเทา x

สําหรับออกแบบโครงสรางหลักของอาคาร 80 ม.
สําหรับความเร็วลมอางอิงเทากับ 25, 27, 29
และ 30 ม./วินาที และสภาพภูมิประเทศ 45 ม. 30 ม.
แบบ A และ B
หนวยแรงลมสถิตเทียบเทาภายนอก
p = I W qC e C g C p
คาประกอบความสําคัญ
ของแรงลม = 1 (อาคารพักอาศัย) คาประกอบเนื่องจากสภาพภูมิประเทศ
0.2
æ zö
หนวยแรงลมอางอิง C eดานตนลม = ç ÷ = 0.63 z 0.2

è 10 ø
เนื่องจากความเร็วลม 0.2
1 æ H /2 ö
rV
2 C e ดานทายลม = ç ÷ = 1.32
2 è 10 ø

จังหวัดภูเก็ต
แบบโลง (A)
V = 27 ม./วินาที
P = I W qC e C g C p
คาประกอบเนื่องจาก
คาสัมประสิทธิ์ของหนวยแรงลม
ผลการกระโชกของลม = 2
C = -0.7

(สําหรับโครงสรางหลัก)
Cp p= -0.7 C = -0.5
ความสู งอางอิง = H Cp p= -0.5
ความสู งอางอิง = H ความสูงอ างอิง
ความสูงอ างอิง
= 0.5 H
= 0.5 H
C = 0.8
Cp p= 0.8
ความสู งอางอิง
ความสู งอางอิง
แปรเปลี่ยนตามความสูง
แปรเปลี่ยนตามความสูง
C = -0.7
Cp p= -0.7
ความสูงอางอิ ง
ความสูงอางอิ ง
=H
=H
H
H

Z
Z

D
W D
W
หนวยแรงลมสถิตเทียบเทา ดานตนลม และทายลม
หนวยแรงลมสถิตเทียบเทา ดานตนลม ทายลม
และรวมหนวยแรงลม
ความสูงจาก หนวยแรงลมดาน หนวยแรงลมดาน รวมหนวยแรงลม
พื้นดิน ตนลม ทายลม ดานตนลมและทาย
(เมตร) (นิวตัน/ม.2) (นิวตัน/ม.2) ลม (นิวตัน/ม.2)
0 – 10 729 - 601 1330
10 – 20 837 - 601 1439
20 – 30 908 - 601 1509
30 – 40 962 - 601 1563
40 – 60 1043 - 601 1644
60 – 80 1105 - 601 1706
หนวยแรงลมออกแบบ สําหรับโครงสรางหลักตานทานแรงลม
สําหรับความเร็วลมอางอิง 25 ม./วินาที
ความสูงจากพื้นดิน, หนวยแรงลม, นิวตัน/ม.2 (กก./ม.2)
เมตร สภาพภูมิประเทศแบบ A
0 - 10 1140 (115)
10 - 20 1235 (125)
20 - 40 1340 (135)
40 - 60 1410 (145)
60 - 80 1465 (150)
หนวยแรงลมออกแบบ สําหรับโครงสรางหลักตานทานแรงลม
สําหรับความเร็วลมอางอิง 27 ม./วินาที
ความสูงจากพื้นดิน, หนวยแรงลม, นิวตัน/ม.2 (กก./ม.2)
เมตร สภาพภูมิประเทศแบบ A สภาพภูมิประเทศแบบ B
0 - 10 1330 (135) 965 (100)
10 - 20 1440 (145) 1055 (110)
20 - 40 1565 (160) 1190 (120)
40 - 60 1645 (170) 1285 (130)
60 - 80 1705 (175) 1360 (140)
หนวยแรงลมออกแบบ สําหรับโครงสรางหลักตานทานแรงลม
สําหรับความเร็วลมอางอิง 29 ม./วินาที
ความสูงจากพื้นดิน, หนวยแรงลม, นิวตัน/ม.2 (กก./ม.2)
เมตร สภาพภูมิประเทศแบบ A สภาพภูมิประเทศแบบ B
0 - 10 1535 (155) 1115 (115)
10 - 20 1660 (170) 1215 (125)
20 - 40 1805 (185) 1375 (140)
40 - 60 1900 (195) 1480 (150)
60 - 80 1970 (200) 1570 (160)
หนวยแรงลมออกแบบ สําหรับโครงสรางหลักตานทานแรงลม
สําหรับความเร็วลมอางอิง 30 ม./วินาที
ความสูงจากพื้นดิน, หนวยแรงลม, นิวตัน/ม.2 (กก./ม.2)
เมตร สภาพภูมิประเทศแบบ A สภาพภูมิประเทศแบบ B
0 - 10 1640 (165) 1195 (120)
10 - 20 1775 (180) 1300 (135)
20 - 40 1930 (195) 1470 (150)
40 - 60 2030 (205) 1585 (160)
60 - 80 2105 (215) 1680 (170)
หมายเหตุการใชตาราง
§ หนวยแรงลมสถิตเทียบเทาไดรวมหนวยแรงลมดานตนลม และทายลม
มากระทําที่ดานตนลม
§ สามารถนํ า ตารางมาใช สํ า หรั บ ออกแบบหน ว ยแรงลมสถิ ต เที ย บเท า
สําหรับอาคารสูงปานกลางที่มีความสูงไมเกิน 80 ม. และมีความสูงไม
เกิน 3 เทาของความกวางประสิทธิผลที่นอยที่สุดได โดยใหคาที่ปลอดภัย
เนื่องจากแรงลมดานทายลมคิดที่ความสูง 80/2 = 40 ม. ทั้งนี้อาคาร
ดังกลาวตองมีความสูงมากกวาความกวาง
§ ในกรณีที่ประเภทของอาคารที่มีความสําคัญแตกตางไปจากที่กําหนด ให
ใชคาประกอบความสําคัญของแรงลมไปคูณคาที่ไดจากตาราง
คาสัมประสิทธิ์ของหนวยแรงลมสูงสุดที่กระทําภายนอกอาคาร
(จากผลการทดสอบรวมกับการคํานวณ)
C p ,max = C p ,mean + g peak (rms) ผนังดานทายลม
3.75

ลม

ผนังดานตนลม
หนวยแรงลมสถิตเทียบเทาที่กระทําภายนอกอาคาร

ผนังดานทายลม

ลม

กวาง: ลึก: สูง = 45:45:90 ม.


หนวยแรงลมสุทธิ ผนังดานตนลม
(V อางอิงเฉลี่ยใน 1 ชม = 25 ม/วินาที
สภาพภูมิประเทศแบบชานเมือง)
การเปรียบเทียบหนวยแรงลมตามมาตรฐาน ฉบับใหม
กับ
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
(กฎกระทรวงฯฉบับที่ 6 พ.ศ. 2527)
r B = 200 กก/ม3
r B = 200 กก/ม3 W = 34,326 ตัน
W = 21,870 ตัน
nD = 0.24 Hz
nD = 0.37 Hz 30.5 b = 0.015
b = 0.015
r B = 200 กก/ม3
W = 4,120 ตัน
30.5
nD = 0.63 Hz
30
b = 0.015 30

20 183 m
20 120 m
50 m

(1) 15 ชั้น (2) 34 ชั้น (3) 52 ชั้น


การเปรียบเทียบหนวยแรงลม(ตอ)
สรุป
มาตรฐานการคํานวณแรงลมสําหรับการออกแบบอาคาร
n ใชมาตรฐานNational Building Code of Canada 2005
ประกอบเปนหลักในการราง และประยุกตบางสวนของมาตรฐาน
ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศญี่ปุน

n ไดทําการวิจัยการทํามาตรฐานการคํานวณแรงลมสําหรับการ
ออกแบบอาคารในประเทศไทย
n ใชสภาพลมในประเทศไทย ในการทําแผนที่ความเร็วลมอางอิง
n ใช ผ ลการทดสอบแบบจํ า ลองในอุ โมงค ล มของประเทศไทย เพื่ อ
ตรวจสอบความถูกตอง ความเหมาะสม และการนําไปประยุกตใชงาน
n ใช ก ารตรวจวั ด อาคารจํ า นวนมากในประเทศไทย เพื่ อ หาความถี่
ธรรมชาติ และอัตราสวนความหนวงของอาคาร
สรุป (ตอ)
n ใหคาแรงลมในการคํานวณระบบโครงสรางหลักตานแรงลม และ
ผนังภายนอกอาคาร รวมทั้งใหคํานวณการโกงตัวทางดานขาง และ
การสั่นไหวของอาคาร

n มาตรฐานนี้สามารถนําไปใชในการออกแบบอาคารทั่วไป ตัง้ แต


อาคารเตี้ย จนถึงอาคารสูงที่มีรูปทรงปกติ และออกแบบโครงสราง
พิเศษแบบตาง ๆ
สรุป (ตอ)
n วิธีการอยางงาย ใชสําหรับอาคารที่มีความสูงไมเกิน 80 ม. และมี
ความสูงไมเกิน 3 เทาของความกวาง เปนวิธีท่งี ายมากในการ
คํานวณ มีความถูกตองและเหมาะสมกวากฎกระทรวงฯ ฉบับที่6
เนื่องจากไดพิจารณาถึง ความเร็วลมอางอิง และสภาพภูมิประเทศ
ของตําแหนงที่ตั้งอาคาร

You might also like