You are on page 1of 133

อุณหพลศาสตร์

(Themodynamics)
อุณหภูมิและความร้อน
• อุณหภูมิเป็นสมบัติที่ใช้ในการบอก “ความ
ร้อน”หรือ “ความเย็น”ของวัตถุ
– ในการวัดอุณหภูมิของวัตถุ ต้องสร้างเครื่องวัด
อุณหภูมิ ที่เรียกว่า
เทอร์โมมิเตอร์(thermometer) มาสัมผัสกับวัตถุ
นั้น
– ทั้งเทอร์โมมิเตอร์และวัตถุอยู่ในสภาวะที่สมดุล
กัน(equilibrium condition)
• สมดุลความร้อน (thermal equilibrium)
อุณหภูมิและความร้อน
(Temperature and Heat)
• สมดุลความร้อน(thermal
equilibrium)
– กฎข้อทีศ
่ ูนย์ของเทอร์โมไดนามิกส์(The
Zeroth Law of Thermodynamics)
• “ ถ้าวัตถุ A และวัตถุ B ต่างก็อยู่ในสมดุลความร้อน
กับวัตถุ C แล้ววัตถุ A และวัตถุ B จะอยู่ในสมดุล
ความร้อนซึ่งกันและกันด้วย ”
อุณหภูมิและความร้อน
(Temperature and Heat)
–เทอร์โมมิเตอร์(thermometer)
• Liquid – in – Glass tube thermometer
อุณหภูมิและความร้อน
(Temperature and Heat)
– เทอร์โมมิเตอร์(thermometer)
• ขีดสเกลบนท่อ แบ่งเป็น 100 ช่วงเท่า
ๆ กัน
• จุดเยือกแข็งของนำำาบริสุทธิ์อยู่ที่ศน
ู ย์
และ ระดับที่อณ ุ หภูมิ ณ จุดเดือดของ
นำำาบริสุทธิอ
์ ยู่ที่ 100
• แต่ละช่วงเรียกว่า องศา(degree)
• สเกลนีเำ รียกว่า สเกลเซลเซียส
(Celsius temperature scale)
• หน่วยที่ใช้บอกอุณหภูมค ิ อ
ื องศา
อุณหภูมิและความร้อน
(Temperature and Heat)
–เทอร์โมมิเตอร์(thermometer)
• สเกลฟาเรนไฮต์(Fahrenheit Temperature
Scale)
• จุดเยือกแข็งของนำำาอยู่ที่ 32 องศาฟาเรนไฮต์
• จุดเดือดของนำำาอยูท
่ ี่ 212 องศาฟาเรนไฮต์
• จุดเยือกแข็งและจุดเดือดของนำำาจะอยู่ห่างกัน 180
องศาฟาเรนไฮต์
• จะได้ความสัมพันธ์ระหว่างสเกลฟาเรนไฮต์กับสเกล
เซลเซียส คือ
อุณหภูมิและความร้อน
(Temperature and Heat)
– อุณหภูมิในสเกลเคลวิน
หรือสเกลสัมบูรณ์(Kelvin
or Absolute
Temperature Scale )
• ถ้าเปลี่ยนชนิดของของเหลวจะ
ต้องเปลี่ยนสเกล บนท่อด้วย
ทำาให้มีความต้องการสเกลของ
อุณหภูมิที่ไม่ขึำนอยู่กับชนิดของ
สสาร
– จึงใช้เทอร์โมมิเตอร์แบบใช้
ก๊าซ(gas thermometer)
อุณหภูมิและความร้อน
(Temperature and Heat)
–อุณหภูมใิ นสเกลเคลวินหรือสเกล
สัมบูรณ์(Kelvin or Absolute
Temperature Scale )
• วัดความดันที่ 0 องศาเซลเซียส และ ที่
100 องศาเซลเซียส
• ความดันเป็น 0 ที่ - 273.15 องศา
เซลเซียส
อุณหภูมิและความร้อน
(Temperature and Heat)
–อุณหภูมใิ นสเกลเคลวินหรือสเกล
สัมบูรณ์(Kelvin or Absolute
Temperature Scale )
• ใช้ก๊าซต่างชนิดกัน ก็จะพบว่าความดันเป็น
ศูนย์ที่อณ
ุ หภูมิ - 273.15 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิและความร้อน
(Temperature and Heat)
–อุณหภูมใิ นสเกลเคลวินหรือสเกล
สัมบูรณ์(Kelvin or Absolute
Temperature Scale )
• อุณหภูมิเป็น 0 K ที่ความดันเป็น 0
• เรียกสเกลนีำว่า สเกลเคลวิน หรือ
สเกลสัมบูรณ์ (Absolute scale)
• 0 K = -273.15 องศาเซลเซียส นั่น
คือ
Example 1 Converting
Temperatures
• On a day when the temperature
reaches 50 °F, what is the
temperature in degrees Celsius and i
n kelvins?
– Solution
Example 2 Converting
Temperatures
• A pan of water is heated from 25 °C
to 80 °C. What is the change in its te
mperature on the Kelvin scale and on
the Fahrenheit scale?
– Solution
แบบฝึกหัด
• จงแปลงอุณหภูมิต่อไปนีำให้อยู่ในสเกล
เซลเซียส
– 32 ฟาเรนไฮต์
– 98.6 ฟาเรนไฮต์
– -40 ฟาเรนไฮต์
การขยายตัวตามอุณหภูมิหรือความ
ร้อน
(Thermal Expansion)
• การขยายตัวเชิงเส้น(Linear
Expansion)
• การขยายตัวเชิงพื้นที่ (Area
Expansion)
• การขยายตัวเชิงปริมาตร(Volume
Expansion)
การขยายตัวเชิงเส้น
(Linear Expansion)
• ความยาวที่เปลี่ยนไปของวัตถุ( )จะแปรผัน
ตรงกับอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป( )และความยาว
ตั้งต้น( ) เมื่อ

• หรือ
• โดยที่ คือสัมประสิทธ์การขยายตัวเชิง
เส้น
• มีหน่วยเป็น
ตารางแสดงตัวอย่างสัมประสิทธิ์การ
ขยายตัวเชิงเส้น
การขยายตัวเชิงพืำนที่
(Area Expansion)
• พื้นที่ที่เปลี่ยนไปของวัตถุจะแปรผัน
ตรงกับอุณหภูมิที่เปลี่ยนไปและ
พื้นที่ตงั้ ต้น
– วงแหวนเหล็กถูกเผาไฟ
– รัศมีของรูจะเพิ่มขึน
้ ในทุกทิศทุกทาง
∆A = γAi ∆T
การขยายตัวเชิงปริมาตร
(Volume Expansion)
• ปริมาตรที่เปลี่ยนไปของวัตถุ( ) จะแปรผัน
ตรงกับอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป( )และปริมาตร
ตั้งต้น( )

• คือสัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงปริมาตร
• โดยที่
การขยายตัวเชิงปริมาตร
(Volume Expansion)
• การหาค่า

• เมื่อ จะได้
ประโยชน์ : การขยายตัวตาม
อุณหภูมิหรือความร้อน
ประโยชน์ : การขยายตัวตาม
อุณหภูมิหรือความร้อน

• Bimetallic Strip
ตัวอย่าง
• รางรถไฟทำาด้วยเหล็กแต่ละท่อนยาว 30.0 เมตร
−6 0
α = 11
ในขณะทีอ × 10
่ ุณหภู/ มCิ 0 0C เมือ
่ และ
Y=20x1010 N/m2
– วันหนึ่งมีอากาศร้อนจัดวัดอุณหภูมิได้ 40 0C รางรถไฟแต่ละ
ท่อนจะยาวขึ้นจากเดิมกี่เมตร
– ถ้าการวางราง วางให้ชิดกันในวันทีม่ ีอากาศ 0 0C และตรึง
รางให้แน่นป้องกันไม่ให้เกิดการขยายตัวในวันทีม่ ีอุณหภูมิ
40 0C จะเกิดความเค้นเนือ ่ งจากความร้อนขึ้นในรางเท่าไร
ตัวอย่าง
• เติมนำำามันเต็มถังขนาด 40.0 L ซึ่งถังทำาจาก
เหล็ก ในขณะที่อณ ุ หภูมิ 200 C นำำามันจะล้นออก
−6  −1
มากจากถังเท่าใดถ้าตัง α
ำ ถังนำำามัsteel
นนีไ = ×
ำ ว้กลางแดดที
11 10 C ่
อุณβหภู
oil

= ิ
9 35
. 6 × 10C โดยไม่ปด
0 −4  C −1
ิ ฝา กำาหนดให้
และ
– ตอบ นำำามันล้นออกมา 560 cm3
ปริมาณของความร้อน
(Quantity of Heat)
• Heat is defined as the transfer of energy
across the boundary of a system due to a t
emperature difference between the system
and its surroundings.
• ความร้อน เป็นพลังงานรูปหนึ่งซึ่งถูกส่งผ่านจาก
ระบบหนึ่ง(ที่อณ ุ หภูมส ิ ูงกว่า) ไปยังอีกระบบหนึง

(ที่มอ
ี ุณหภูมติ ำ่ากว่า) อันเป็นผลเนื่องจากระบบทัำง
สองมีอณ ุ หภูมต ิ า
่ งกัน
หน่วยของความร้อน
• ในระบบ SI
หน่วยของความ
ร้อนคือ
จูล(Joules : J)
หน่วยของความร้อน(ต่อ)
• แคลอรี (calorie : cal)
– ปริมาณความร้อน 1 cal คือ
ปริมาณความร้อนที่ต้องใช้
ในการทำาให้นำ้า 1 กรัม มี
อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก 14.5
องศาเซลเซียส เป็น 15.5
องศาเซลเซียส ที่ความดัน
1 atm
• 1 cal = 4.186 J
หน่วยของความร้อน(ต่อ)
• หน่วยในระบบบริทิช (British Unit)
– British thermal unit(Btu)
– ปริมาณความร้อนที่ใช้ในการทำาให้นำ้าหนัก 1
ปอนด์มีอุณหภูมิเพิ่มจาก 63 องศาฟาเรนไฮต์
เป็น 64 องศาฟาเรนไฮต์
– 1 Btu = 778 ft.lb = 252 cal
ความจุความร้อนจำาเพาะ
(Specific Heat Capacity)
• แทนปริมาณความร้อน ที่ใช้ในการเพิ่ม
อุณหภูมิ
– ความจุความร้อน (heat capacity, C,)

– ความจุความร้อนจำาเพาะ (specific heat


capacity) หรือ ความร้อนจำาเพาะ (specific
heat)
ความจุความร้อนโมลาร์
(Molar Heat Capacity)
• บางครั้งสะดวกกว่าในการบอกปริมาณของสาร
โดยใช้ จำานวนโมล (mole) n แทนที่จะใช้
มวล(mass) m
• จากวิชาเคมี หนึ่งโมล มี 6.02x1023 โมเลกุล
• มวลโมลาร์(molar mass) หรือ มวล
โมเลกุล(molecular weight) M ของสารใด
ๆ คือมวลของสารหนึ่งโมล
–.
– เช่น มวลโมลาร์ ของนำ้า 18.0 g/mol หมายถึงนำ้า
1 โมลจะมีมวลเท่ากับ 18.0 g
ความจุความร้อนโมลาร์
(Molar Heat Capacity)
• จาก
– แทนค่าด้วย
– จะได้

– เมื่อ C = Mc
ความจุความร้อนจำาเพาะ
(Specific Heat Capacity)
• ถ้าระบบมีอุณหภูมิเพิ่ม
ำ :
ขึน
– Q และ T เป็นบวก
– พลังงานจะถ่ายโอนเข้าสู่ระบบ

• ถ้าระบบมีอุณหภูมิลดลง:
– Q และ T มีค่าเป็นลบ
– พลังงานจะถ่ายโอนออกจากระบบ
ตัวอย่างความจุความร้อนจำาเพาะ
Conservation of Energy:
Calorimetry
• กฎการอนุรักษ์พลังงาน
– หาอุณหภูมิผสม

– จากสมการ
ตัวอย่าง
แฝง
(Phase Changes and Latent
Heat)
• สถานะ(phase)
– ของแข็ง , ของเหลว , ก๊าซ
– การเปลี่ยนสถานะจากสถานะหนึ่งไปยังอีก
สถานะหนึ่งเรียกว่า phase change หรือ
phase transition
– การเปลี่ยนสถานะเกิดขึน ้ ณ อุณหภูมิหนึ่ง
(นั่นคือ อุณหภูมิไม่เปลีย
่ น)
– เช่นการละลายของนำ้าแข็ง
• ต้องใส่ความร้อนเข้าไปเพื่อเปลี่ยนสถานะของ
นำ้าจากของแข็งไปเป็นของเหลว ความร้อนทีใ่ ช้
นีเ้ รียกว่า ความร้อนแฝง(latent heat)
การเปลี่ยนสถานะและความร้อนแฝง
(Phase Changes and Latent
Heat)
• ความร้อนแฝง (latent heat)
– ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว(latent heat
of fusion)
– ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ(latent heat
of vaporization)
Sample Latent Heat Values
ตัวอย่าง
การส่งผ่านความร้อน
(Heat Transfer)

• การนำาความร้อน(conduction)
• การพาความร้อน(convection)
• การแผ่รังสี(radiation)
การนำาความร้อน(Conduction)

• การนำาความร้อนเป็นผล
เนื่องจากการชนระหว่าง
โมเลกุลหรืออะตอมในเนื้อ
สาร (molecular
collision)
– เกิดขึ้นระหว่างบริเวณที่มี
อุณหภูมิตา่ งกันเท่านัน

– ทิศทางของการไหลของความ
ร้อนจะต้องไปจากที่ที่มีอุณหภูมิ
สูงกว่าไปยังที่มีอณ
ุ หภูมิตำ่ากว่า
เสมอ
การนำาความร้อน(Conduction
)
• การนำาความร้อนในแท่งตัวนำา
• พิจารณาแท่งตัวนำาความร้อนที่มพ
ี ืำนที่หน้าตัด A
และยาว L

• ปริมาณความร้อน dQ ถูกส่งผ่านไปแท่งวัตถุนีำ
ภายในเวลา dt
– อัตราการไหลของความร้อนคือ dQ/dt
– อัตราการไหลของความร้อนนีำเรียกว่า กระแสความ
การนำาความร้อน(Conduction
)
• การนำาความร้อนในแท่งตัวนำา
– กระแสความร้อน

– เมือ
่ k คือ สภาพนำาความร้อน (thermal
conductivity)
– กระแสความร้อนมีหน่วยเป็น W/m.K
ตัวอย่างการนำาความร้อน
• เตาอบอาหารมีพืำนที่ผิวทัำงหมด 0.20 m2 และผนัง
หนา 1.5 cm ซึ่งมีสภาพนำาความร้อน 4x10-2 W/
m 0C จงหาว่าใน 30 นาที มีการสูญเสียความร้อน
เท่าไร เมือ
่ อุณหภูมใิ นเตาเป็น 2450C และ
ภายนอกเป็น 300C
การพาความร้อน(Convection)
• การพาความร้อนเกิดขึ้นในสสารหรือ
ตัวกลางที่เป็นของไหล โดยการเคลื่อนที่
ของมวล ของของไหลจากที่หนึ่งไปยัง
อีกที่หนึง่
– เครื่องทำาความร้อน(Radiator) ทำาให้หอ
้ ง
อบอุ่นด้วยการพาความร้อน
• อากาศเหนือเครื่องทำาความร้อนได้รับความ
ร้อน
– มีการขยายตัว ความหนาแน่นลดลง
– อากาสลอยตัวสูงขึำน (ตามหลักของการลอยตัว)
การแผ่รังสี(Radiation)
(Radiation)
• การแผ่รังสีเป็นการส่งผ่านความร้อนโดย
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
• วัตถุทุกชนิด(อุณหภูมิสูงกว่า 0K)
– จะแผ่รังสีออกมาในทุกช่วงความยาวคลื่น λmax
λmax
– แต่จะมีความยาวคลื่นค่าหนึง่ ที่พลังงานถูกแผ่ ออกมามากทีส ่ ุด
เรียกว่า ซึ่งความยาวคลื่นนีจ ้ ะขึ้นกับอุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมิ
ของวัตถุเพิ่มขึ้น ความยาวคลื่น จะลดลง
การแผ่รังสี(Radiation)
(Radiation)
• กระแสของความร้อน IH เนื่องจาการแผ่รังสี หรืออัตรา
การแผ่รังสีจากผิวของวัตถุที่มีพื้นที่ผิว A ซึง่ มีอุณหภูมิ
สัมบูรณ์ T จะอยู่ในรูป

σ
– คือค่าคงตัว เรียกว่า Stefan-Boltzmann
constant
–.
– สภาพแผ่รังสี (emissivity)
• ความสามารถในการแผ่รังสีของวัตถุ (ขึ้นอยู่กับชนิดและอุณหภูมิ)
• มีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1
ตัวอย่าง การแผ่รังสี
• หลอดไฟฟ้าดวงหนึ่งปกติจะทำางานโดยมีอุณหภูมิไส้
ถ้าให้หลอดไฟดวงนี้ทำางานที่ความต่างศักย์สูงกว่าจน
ทำาให้อณ
ุ หภูมิของไส้หลอดเพิ่มขึน้ เป็น จงหา
เปอร์เซ็นต์การเพิ่มขึ้นของพลังงานการแผ่รังสี
สมบัติทางความร้อนของสสาร
(Thermal Properties of Matter)
• ศัพท์ทางเทอร์โมไดนามิกส์
– สภาวะ (state)
– ระบบ (system)
– สิ่งแวดล้อม (surrounding)
– ขอบเขต (boundary)
สมบัติทางความร้อนของสสาร
(Thermal Properties of Matter)
• เทอร์โมไดนามิกส์เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปลงสภาวะ (state) ของระบบ
(system)
• พฤติกรรมหรือการเปลี่ยนแปลงสภาวะของระบบ
บรรยายโดยใช้ปริมาณ
– ปริมาณเชิงมหทรรศน์(macroscopic quantities)
• ความดัน ปริมาตร อุณหภูมิและมวลของระบบ
– ปริมาณเชิงจุลทรรศน์(microscopic quantities)
• มวล อัตราเร็ว พลังงานจลน์ และ โมเมนตัม ของแต่ละ
โมเลกุล
ก๊าซอุดมคติ (Ideal Gas)
• สำาหรับก๊าซ แรงที่ยึดเหนีย
่ วระหว่างอะตอมจะ
น้อยมาก ๆ
– สามารถจินตนาการได้วา่ ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
อะตอม
• แต่ละโมเลกุลเคลื่อนที่อย่างอิสระ
• การชนของโมเลกุลเป็นการชนแบบยืดหยุ่น
• สำาหรับก๊าซจะมีปริมาตรเท่ากับปริมาตรของ
ภาชนะที่บรรจุ
ก๊าซอุดมคติ
• สำาหรับก๊าซจะมีปริมาตรเท่ากับปริมาตรของ
ภาชนะที่บรรจุ
• สมการของก๊าซจะมีปริมาตร , V, เป็นตัวแปรที่
เกี่ยวข้องกับสมการ
– โดยพิจารณาการเปลี่ยนแปลงปริมาตรจากจุดเริ่มด้น
(∆V)
สมการสภาวะของก๊าซ

• โดยทั่วไปสมการสภาวะของก๊าซมวล m(
หรืออาจจะใช้จำานวนโมล) จะเกี่ยวข้องกับ
ปริมาตร ความดัน และ อุณหภูมิ (ตัวแปร
สภาวะ : state variables)
• สมการที่เกี่ยวข้องกับปริมาณเหล่านี้เรียกว่า
สมการสภาวะ (equation of state)
– ถ้าก๊าซมีความดันตำ่าสมการจะอยู่ในรูปแบบที่ง่าย
– นั่นคือถ้าก๊าซมีความดันตำ่า(ความหนาแน่นน้อย
)จะเป็นก๊าซอุดมคติ(ideal gas)
โมล(Mole)
• เพือ
่ ความสะดวกจะบอกจำานวนของก๊าซในเทอม
ของจำานวนโมล
• หนึง่ mole ของสสารบอกด้วยเลขอะโวกาโด
(Avogadro’s number) ซึ่งก็คือจำานวน
อนุภาคของสสาร(atoms or molecules)
– Avogadro’s number NA = 6.022 x 1023
โมล(Moles)

• จำานวนโมลหาได้จากมวลของสสาร: n = m /
M
– M คือมวลโมเลกุล
– m คือมวลของสสาร
– n คือจำานวนโมล
กฎของก๊าซ(Gas Laws)
1
• เมือ
่ ก๊าซมี อุณหภูมค
ความดันจะ แปรผกผัน
ิ งที่ Vα
กับปริมาตร (Boyle’s
P
law)
VαT
• เมือ
่ ก๊าซมี ความดันคงที่
ปริมาตรจะแปรผันตรงกับ PV
อุณหภูมิ (Charles ’s =k
law) T

• นำากฎของบอยส์และ
กฎของก๊าซอุดมคติ(Ideal Gas Law)

• การหาค่านิจของแก๊ส
– ที่ STP
• อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส(ประมาณ 273K) ณ ความดัน 1
บรรยากาศ(1.013x105 N/m2) ก๊าซทุกชนิด 1
โมล จะมีปริมาตร 22.4 ลูกบาศก์เดซิเมตร (22.4x10-3 m3)
– จะได้คา่ R = 8.314 J/mol ∙ K
–นั่นคือสมการของก๊าซอุดมคติ
• PV = nRT
กฎของก๊าซอุดมคติ(Ideal Gas Law) , ต่อ

• R คือค่าคงที่ เรียกว่าค่าคงตัวสากลของก๊าซ
– R = 8.314 J/mol ∙ K = 0.08214
(L ∙ atm)/mol ∙ K
• จากค่า R สามารถหาได้ว่าก๊าซ 1 mole ที่
ความดันบรรยากาศ และอุณหภูมิ 0o C มี
ปริมาตร 22.4 L
กฎของก๊าซอุดมคติ(Ideal Gas Law) , ต่อ
• กฎของก๊าซอุดมคติสามารถแสดงอยู่ในเทอม
ของจำานวนโมเลกุลทั้งหมด(N )
• PV = nRT = (N/NA) RT = NkBT
– kB is Boltzmann’s constant
– kB = 1.38 x 10-23 J/K
• โดยทั่วไปเรียก P, V, และ T ว่า ตัวแปรทาง
เทอร์โมไดนามิกส์ (thermodynamic
variables) ของก๊าซอุดมคติ
ตัวอย่าง หาจำานวนโมลของก๊าซที่บรรจุในภาชนะ
3
• ก๊าซอุดมคติมีปริมาตร 100 cm ที่ 200 C
และ100 Pa หาจำานวนโมลของก๊าซในภาชนะ
– Solution จากสมการ
ตัวอย่าง การให้ความร้อนต่อกระป๋องสเปรย์
3
ี วามดัน202 kPa และมีปริมาตร 125cm ที่ 22 C
0
• กระป๋องสเปรย์มค
ถึง 0 C
โยนเข้าไปในกองไฟ เมื่ออุณหภูมิของก๊าซขึ้น195 ความ
ดันของในกระป๋องมีค่าเท่าใด
– Solution
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ (The Kinetic
Theory of Gases)
• แบบจำาลองของก๊าซอุดมคติ
– มีโมเลกุลของก๊าซเป็นจำานวนมากโดยกำาหนดให้
เท่ากับ N โดยแต่ละโมเลกุลมีมวลเท่ากับ m
– โมเลกุลของก๊าซอยู่หา่ งกันมาก ซึง่ แสดงว่า
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลน้อยมากจนตัดทิ้งได้
– การชนกันของโมเลกุลทั้งหลายของก๊าซในอุดมคติ
เป็นการชนแบบยืดหยุ่น
– ความเร็วของแต่ละโมเลกุลไม่จำาเป็นต้องเท่ากัน
แต่ถอ
ื ว่ามีค่าคงตัวเมือ
่ เวลาผ่านไป
ความดัน และ พลังงานจลน์ (1)
• พิจารณาภาชนะรูป
ลูกบาศก์ที่ทุกด้านยาว d
ภายในบรรจุก๊าซ
• โมเลกุลมีองค์ประกอบ
ของความเร็วในแนวแกนvxi
x
• ชนแบบยืดหยุ่นด้วย
ความเร็ว
• ผนังออกแรงกระทำาต่อ
โมเลกุลของก๊าซ(กฎข้อ
ที่สองของนิวตัน)
ความดัน และ พลังงานจลน์ (2)
• พิจารณาการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของโมเลกุล

• ซึ่งการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมก็คือ การดล

• ช่วงเวลาที่โมเลกุลวิ่งเข้าชนผนังเดิมอีกครั้ง

• นัน
่ คือ
ความดัน และ พลังงานจลน์ (3)
• แรงเฉลี่ยที่ผนังกระทำาต่อโมเลกุล

• นัน
่ คือจะได้แรงเฉลี่ยที่โมเลกุลกระทำาต่อผนัง(
กฎข้อที่สามของนิวตัน)

• แรงเฉลี่ยของก๊าซทั้งหมด(Nโมเลกุล)ที่กระทำา
ต่อผนังภาชนะ

• แรงที่กระทำาต่อผนังภาชนะจะกระทำาในช่วงเวลา
ที่สน
ั้ มากจนถือได้ว่าแรงจะมีค่าคงที่นั่นคือ
ความดัน และ พลังงานจลน์ (4)
• พิจารณาค่าเฉลี่ยของ ( )

• นัน
่ คือ

• ความเร็วลัพธ์ของแต่ละโมเลกุลสามารถเขียนใน
รูปของผลรวมของความเร็วในส่วนประกอบย่อย
และ นัน ่ คือ
ความดัน และ พลังงานจลน์ (5)
• ในทำานองเดียวกัน ความเร็วกำาลังสองเฉลี่ย
เขียนได้เป็น

• เนือ v = v =ล
่ งจากโมเลกุ
x
2
y
2
v มีโอกาสวิ่งชนผนังทั้ง 3
z
2

ทิศทาง (x,y,z) ได้เท่า ๆ กัน ดังนั้น


• ดังนัน
้ จากสมการ

– จะได้
ความดัน และ พลังงานจลน์ (6)
• จัดรูปสมการจะได้

• ดังนัน
้ ความดันที่ผนังเขียนได้เป็น
ความดัน และ พลังงานจลน์ (8)
• การอธิบายพฤติกรรมของโมเลกุลด้วย
อุณหภูมิ
– จากสมการ และ
– จะได้

– หรือ

นี่คือพลังงานจลน์เฉลี่ยต่อหนี่งโมเลกุล
ความดัน และ พลังงานจลน์ (9)
• การอธิบายพฤติกรรมของโมเลกุลด้วย
อุณหภูมิ
– เนื่องจาก
– จะได้

ทฤษฎีก–ารแบ่
ทำานองเดี
งเท่าย วกันจะได้
ของพลั งงาน (theorem of equipartition
และ

พลังงานภายในของก๊
– ดังนั้นพลังงานจลน์ทั้งหมด(N โมเลกุ ล) าซ
อุดมคติขึำนกับอุณหภูมิ
ความดัน และ พลังงานจลน์ (10)
• รากที่สองของ เรียกว่า ความเร็วรากที่
สองของกำาลังสองเฉลี่ย (root-mean-
square velocity):

• ซึ่งก็คือความเร็วเฉลีย
่ ของโมเลกุล
v rms ≈ v ≈ v
ตัวอย่าง rms
พลังงานภายในของแก๊ส
• ในทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
1 2 3
– พลังงานจลน์ของการเคลืmv่อนที=่เฉลีk่ย
B
T
3 2 2
• หรือ KE t = k BT
2 3
N KE
– ดังนัำนพลังงานจลน์รวมของอนุ = าNk
ภาคเท่
t กับBT
2
– พลังงานจำานวนนีำเรียกว่า พลังงานภายใน (
เนื่องจากอุณหภูมิ)
3 3
Eint =U= Nk BT= nRT
2 2
พลังงานภายในของแก๊ส
• พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลต่าง ๆ เขียนได้เป็น
f
KE = k BT
2

• โดย f เป็นค่ายังผลของดีกรีของความอิสระ
(degree of freedom)
– f= 3 สำาหรับแก๊สโมเลกุลอะตอมเดี่ยว
– f= 5 สำาหรับแก๊สโมเลกุลอะตอมคู่
– F= 6 สำาหรับโมเลกุลหลายอะตอม
• สำาหรับพลังงานภายในเนือ ่ งจากอุณหภูมขิ องแก๊ส
เขียนได้U=N
เป็น f k T  = f Nk T= f nRT= f PV
B B
2  2 2 2
ตัวอย่าง : A Tank of Helium

• ถังบรรจุก๊าซฮีเลียมมีปริมาตร3.00 m3 และมี
ก๊าซฮีเลียมจำานวน 2 โมล ที่อุณหภูมิ 20.0
องศาเซลเซียส สมมติว่าก๊าซฮีเลียมเป็นก๊าซ
อุดมคติ
– (A) หาพลังงานจลน์ทั้งหมดของโมเลกุลของก๊าซ
– (B) พลังงานจลน์เฉลี่ยต่อโมเลกุล
เฉลย : A Tank of Helium

• Solution
– (A)

– (B)
งานและความร้อนในกระบวนการทางเท
อร์โมไดนามิกส์
Work and Heat in Thermodynamic Processes

• ตัวแปรสภาวะ
– สภาวะของระบบจะอธิบายด้วย ตัวแปรสภาวะ
(State variables)
• Pressure, temperature, volume, internal
energy
– กระบวนการทางเทอร์ไดนามิกส์
• สภาวะของระบบมีการเปลี่ยนแปลง ( ความดัน , อุณหภูมิ
, ปริมาตร หรือพลังงานภายใน มีการเปลียนแปลง)
งาน ทางเทอร์โมไดนามิกส์
• งานสามารถเกิดจากระบบที่
เคลื่อนที่ได้ เช่น ก๊าซ
• พิจารณาก๊าซที่บรรจุอยู่ในกระบอก
สูบที่มีลูกสูบสามารถเคลื่อนที่ได้
• ออกแรงกระทำาต่อก๊าซอย่างช้า ๆ
– การออกแรงกดอย่างช้า ๆ จะทำาให้
ระบบอยู่ในสมดุลความร้อน
– กระบวนแบบนี้เรียกว่า quasi-
static
งาน ทางเทอร์โมไดนามิกส์
• ถ้าลูกสูบทีพื้นที่หน้าตัด A และความดันก๊าซ
ภายในกระบอกสูบคือ p ดังนั้นก๊าซภายใน
กระบอกสูบจะดันลูกสูบด้วยแรง pA
• ลูกสูบถูกแรงภายนอกกระทำาด้วยแรง
ทำาให้เกิดการกระจัด
• งานที่กระทำาต่อก๊าซจะเป็น

• ดังนัน
้ งานที่กระทำาต่อก๊าซจะเป็น
งาน ทางเทอร์โมไดนามิกส์
• ถ้าก๊าซถูกกด จะเป็นลบงานที่กระทำาต่อก๊าซ
จะเป็นบวก
• ถ้าก๊าซขยายตัว จะเป็นบวกงานที่กระทำาต่อ
ก๊าซจะเป็นลบ
• ถ้าปริมาตรคงที่งานที่กระทำาต่อก๊าซจะเป็นศูนย์
• งานทั้งหมดที่กระทำาต่อก๊าซเมื่อทำาให้ปริมาตร
เปลี่ยนจาก เป็น หาได้จากการอินทิเกรต
สมการ จะได้
PV Diagrams (กราฟระหว่างความดัน
กับปริมาตร)
• เมื่อรู้ความดันและ
ปริมาตรในแต่ละช่วงของ
กระบวนการ
• สภาวะของก๊าซแต่ละช่วง
ถูกพล๊อตเป็นกราฟเรียก
ว่า PV diagram
• เส้นโค้งในกราฟเรียก
ว่า เส้นทาง(path)
PV Diagrams
(กราฟระหว่างความดันกับ
ปริมาตร) : ต่อ

แผนภาพนีำแสดงให้
เห็นว่าก๊าซถูกกด
อย่างช้า ๆ (quasi –
static process)
จากสภาวะ i ไปสู่
สภาวะ f งานที่ทำาต่อ
ก๊าซก็คือ พืำนทีใ่ ต้
กราฟ ซึ่งจะมีค่าเป็น
บวก
PV Diagrams
(กราฟระหว่างความดันกับ
ปริมาตร) : ต่อ
• พิจารณางานที่กระทำาต่อก๊าซในเส้นทางต่าง ๆ
กัน
– ถ้าในแต่ละกระบวนการจะมีสภาวะเริ่มต้นและสภาวะ
สุดท้ายเหมือนกัน
– งานที่กระทำาต่อก๊าซในแต่ละกระบวนการจะมีค่าแตก
ต่างกัน
– นั่นคืองานที่กระทำาต่อก๊าซจะขึ้นกับเส้นทาง(Path)
งานจาก PV Diagram ,
ภาพ(a)
• ปริมาตรของก๊าซถูกทำาให้
ลดลงจาก Vi ไปสู่ Vf
ด้วยความดันคงที่ Pi
• ต่อมาเพิ่มความดันจาก Pi
ไปสู่ Pf ด้วยการให้ความ
ร้อนที่ปริมาตรคงที่ Vf
• งานที่กระทำาต่อก๊าซด้วย
เส้นทางนีจ
ำ ะเป็น W = -Pi
(Vf – Vi)
งานจาก PV Diagram ,
ภาพ(b)
• ความดันของก๊าซถูก
ำ จาก Pi ไปสู่
ทำาให้เพิ่มขึน
Pf ที่ปริมาตรคงที่ Vi
• จากนัำนทำาให้ปริมาตรของ
ก๊าซลดลงจาก Vi ไปสู่Vf
ด้วยความดันคงที่ Pf
• ดังนัำนงานที่กระทำาต่อก๊าซ
ด้วยเส้นทางนีำจะเป็น W
= -Pf (Vf – Vi) ซึ่งจะมี
ค่ามากกว่ากระบวนการใน
ภาพ(a)
งานจาก PV Diagram ,
ภาพ(c)
• ความดันและ
ปริมาตรมีการ
เปลี่ยนแปลงอย่าง
ต่อเนื่อง
• งานจะมีคา่ อยู่
ระหว่าง
–Pf (Vf – Vi) และ
–Pi (Vf – Vi)
• ในการหาค่างานที่
เกิดขึน
้ ต้องรู้ฟังก์ชน

ของ P (V )
กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์
• กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์เป็นกรณีพิเศษของ
กฎการอนุรักษ์พลังงาน
– การถ่ายโอนพลังงานความร้อนจะทำาให้มีการ
เปลีย
่ นแปลงพลังงานภายใน และ งาน
• ถึงแม้วา่ Q และ W จะขึน ้ กับเส้นทาง(path) แต่ Q
+ W จะไม่ขน ึ้ กับเส้นทาง
• กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์คือ Eint = Q +
W
– ทุกปริมาณจะเป็นหน่วยเดียวกัน (พลังงาน)
• ถ้ามีการเปลี่ยนน้อย ๆ ในระบบ จะได้ dEint = dQ
กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนา
มิกส์
• Q เป็นบวก สำาหรับปริมาณความร้อนที่ไหลเข้าสู่
ระบบ
• Q เป็นลบ สำาหรับปริมาณความร้อนที่ไหลออก
จากระบบ
• W เป็นบวก สำาหรับงานที่ทำาต่อระบบ (โดยสิ่ง
แวดล้อม)
• W เป็นลบ สำาหรับงานที่ทำาโดยระบบ (หรือ
ระบบทำาต่อสิง่ แวดล้อม)
ระบบโดดเดี่ยว(Isolated
Systems)

• ระบบโดดเดีย
่ ว คือระบบที่ไม่มีอันตรกริยากับสิง่
แวดล้อม
– ไม่มีการถ่ายโอนพลังงานและมวลสารกับสิ่ง
แวดล้อม
– งานที่กระทำาต่อระบบจะเป็นศูนย์
– Q = W = 0, ดังนั้น Eint = 0
• พลังงานภายในของระบบโดดเดี่ยว จะคงที่
กระบวนการแบบวัฏจักร
(Cyclic Processes)
• เป็นกระบวนการทีส่ ภาวะตัง้ ต้นและสภาวะสุดท้าย
เป็นสภาวะเดียวกัน
– กระบวนการนี้จะไม่ได้เป็นระบบโดดเดีย
่ ว
– กระบวนการแบบวัฎจักรจะมีแผนภาพ PV เป็นโค้ง
ปิด
• พลังงานภายในจะเป็นศูนย์
• ∆Eint = 0, Q = -W
• ในกระบวนการแบบวัฎจักร งานทั้งหมดที่กระทำา
ต่อระบบต่อหนึ่งวัฎจักรจะเท่ากับพื้นที่ภายในที่ปิด
ล้อมด้วยเส้นทางของระบบในแผนภาพPV
กระบวนการแอเดียแบติก
(Adiabatic Process)
• กระบวนการแอเดียแบติกจะ
ไม่มีการส่งผ่านพลังงาน
ความร้อนเข้าหรือออกจาก
ระบบ
– Q=0
– นั่นคือ :
• ป้องกันการไหลของความร้อน
โดยการล้อมรอบผนังของระบบ
ด้วยวัสดุกันความร้อน
• หรือทำาให้ระบบเปลี่ยนสภาวะ
อย่างรวดเร็วโดยความร้อนไม่ทน

กระบวนการแอเดียแบติก(Adiabatic
Process),ต่อ
• เมื่อ Q = 0 จะได้ Eint = W
• ในกระบวนแอเดียบาติก ถ้าก๊าซถูกกด W
จะเป็นบวก ดังนั้น Eint จะเป็นบวก ซึ่งจะ
ทำาให้อุณหภูมิของก๊าซเพิม
่ ขึ้น
• ในกระบวนการแอเดียบาติก ถ้าก๊าซขยาย
ตัว ในทำานองเดียวกันจะทำาให้อุณหภูมิของ
ก๊าซลดลง
กระบวนการความดันคงตัว
(Isobaric Processes)
• กระบวนการความดันคงตัวเกิดขึ้นเมื่อ
ความดันของระบบมีค่าคงตัว
• โดยที่ค่าของความร้อนและงานจะไม่
เป็นศูนย์
• ค่าของงานคือ W = P (Vf – Vi) เมื่อ
P คือความดันที่มีค่าคงที่
กระบวนการปริมาตรคงตัว
(Isochoric Process หรือ
Isovolumetric Processes)
• เป็นกระบวนการที่ปริมาตรของระบบคงตัว คือ
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตร
• เมื่อปริมาตรไม่มีการเปลี่ยนแปลงจะทำาให้ W =
0
• ดังนัน
้ จากกฎข้อที่หนึ่งทางเทอร์โมไดนามิกส์ จะ
ได้ Eint = Q
• นัน
่ คือถ้าพลังงานความร้อนไหลเข้าระบบที่มี
ปริมาตรคงที่จะทำาให้พลังงานภายในเพิ่มขึ้น
กระบวนการไอโซเทอร์มัล
(Isothermal Process)
• เป็นกระบวนการที่อุณหภูมิของระบบมีค่าคงตัว
• เมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ นั่นคือ
Eint = 0
• ดังนัน
้ ,Q=-W
• นัน
่ คือพลังงานความร้อนทั้งหมดที่ระบบได้รับจะ
กลายไปเป็นงานที่ระบบทำา
กระบวนการไอโซเทอร์มัล (Isothermal
Process) , ต่อ

• แผนภาพ PV ด้านขวา
ก๊าซจะมีการขยายตัวด้วย
อุณหภูมิคงที่
• เส้นโค้งเป็นโค้ง
hyperbola
• เส้นโค้งนี้เรียกว่าเส้น
isotherm
กระบวนการไอโซเทอร์มัล (Isothermal
Process) , ต่อ
• จากเส้นโค้งของแผนภาพ PV ชีใ้ ห้เห็นว่า PV = ค่า
คงที่
– สมการจะเป็นสมการแบบ hyperbola
• พลังงานภายในของก๊าซอุดมคติจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ
เท่านั้น ดังVระบบจะเป็นVระบบแบบ quasi-static
f nRT V f dV
= − ∫= P
อ PV
นั่นคืW nRT −∫
dV =จะได้ dV = −nRT ∫
f

Vi Vi V Vi V

 Vi 
W = nRT ln  
Vf 
 
กระบวนการไอโซเทอร์มัล (Isothermal
Process) , สุดท้าย
• งานจะเท่ากับพื้นที่ใต้โค้งของโค้ง PV
– ซึง่ ก็คอ
ื พื้นที่ที่ถูกแรเงาในแผนภาพ PV
นั่นเอง
• ถ้าก๊าซขยายตัวดังนัน
้ Vf > Vi นั่น
คืองานที่กระทำาต่อระบบ(ก๊าซ) จะเป็น
ลบ
้ Vf < Vi นัน
• ถ้าก๊าซถูกกดดังนัน ่ คืองาน
ที่กระทำาต่อระบบ(ก๊าซ) จะเป็นบวก
pV-diagram และการเปลี่ยนสภาวะ
ทัง้ 4 แบบของแก๊สอุดมคติ
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ
Molar Specific Heat of an Ideal Gas
• ความจุความร้อนโมลาร์ที่ปริมาตรคงตัว (molar heat
capacity at constant volume)

• ความจุความร้อนโมลาร์ที่ความดันคงตัว (molar heat


capacity at constant pressure)

• คาดว่า(สมมติฐาน)
– Cp มากกว่า Cv
• เนื่องจากในกระบวนการ ความดัน
คงตัว ต้องใช้ความร้อนปริมาณหนึ่ง
ถูกใช้ในการทำางานโดยระบบ
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ
Molar Specific Heat of an Ideal Gas
• พิจารณากระบวนการที่ปริมาตรคงตัว
– จากกฎข้อที่หนึง
่ ทางเทอร์โมไดนามิกส์

– ดังนัำน

– หรือ
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ(ต่อ)
Molar Specific Heat of an Ideal Gas
• จาก

• และ

– จะได้
• สำาหรับก๊าซอุดมคติอะตอมเดี่ยว
5
CV = R
– ทำานองเดียวกัน จะได้
2
• สำาหรับก๊าซอุดมคติอะตอมคู่
6
CV = R
– ทำานองเดียวกันจะได้2
• สำาหรับก๊าซอุดมคติหลายอะตอม
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ(ต่อ)
Molar Specific Heat of an Ideal Gas
• จากนั้นพิจารณากระบวนการที่ความดันคงที่
– จากกฎข้อที่หนึ่งทางเทอร์โมไดนามิกส์จะได้

– จาก และ
– แทนค่าจะได้
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ(ต่อ)
Molar Specific Heat of an Ideal Gas
• เนือ
่ งจาก ดังนั้น
• นอกจากนั้นพิจารณาอัตราส่วน

(แก๊สอุดมคติ
อะตอมเดีย่ ว)
ตารางความจุความร้อนโมลาร์
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
กระบวนการแอเดียบาติกของก๊าซ
อุดมคติ
• pV-diagram แสดงการเปลี่ยนสภาวะแบบแด
เดียแบติกของก๊าซอุดมคติ
– จะได้สมการ
Proof That
for an Adiabatic Process
• จากกฎข้อที่หนึ่งทางเทอร์โมไดนามิกส์
• เมื่อ
PdV
• จะได้ dT=-
nCV
• จาก หาอนุพันธ์ทัำงสองข้าง
ของสมการได้

• แทนค่า ในสมการข้างต้น
และหารตลอดด้วย ได้
Proof That
for an Adiabatic Process
• อินทิเกรตสมการ
– ได้
– ดังนัำน หรือ
– ใช้ กฎของก๊าซอุดมคติจะได้

– ซึ่งจะได้งานที่ทำาโดยก๊าซอุดมคติใน
กระบวนการแอเดี
CV ยบาติก คื1อ
W= (p 2 V2 -p1V1 )= (p 2 V2 -p1V1 )
Rγ-1
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนา
มิกส์
(The Second Law of Thermodynamics)

• ทิศทางของกระบวนการทางเทอร์โมไดนามิกส์
(Directions of Thermodynamics
Process)
– กระบวนการทางเทอร์โมไดนามิกส์ทุกกระบวนการที่
เกิดขึำนเองในธรรมชาติเป็นแบบผันกลับไม่ได้ เรียกว่า
เป็น irreversible process
• นัน
่ คือกระบวนการที่เกิดขึำนจะเป็นไปในทิศทางเดียว
– การไหลของของความร้อนจะไหลจากวัตถุที่ร้อนกว่าไปยังวัตถุที่
เย็นกว่า
– ทิศทางของกระบวนการจะสัมพันธ์กับความไม่เป็น
ระเบียบ (disorder) ในสภาวะสุดท้าย
• การส่งผ่านความร้อนจะเกี่ยวข้องกับการเปลีย
่ นของพลังงาน
ของการเคลื่อนที่อย่างไม่เป็นระเบียบของโมเลกุล
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนา
มิกส์
(The Second Law of Thermodynamics)

• เครื่องจักรความร้อน (Heat Engines)

• ประสิทธิภาพ (thermal efficiency)


กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนา
มิกส์
(The Second Law of Thermodynamics)

• ตัวอย่างที่ 12 ถ้าเครื่องจักรความร้อนมี
3
ประสิทธิภาพ 20%
3.00×10 J และคายพลังงาน
ให้แก่นำ้าที่ใช้หล่อเย็นเครื่องจักร จงหางานที่
เครื่องจักรทำา

สำาหรับเครื่องจักร
ความร้อน
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนา
มิกส์
(The Second Law of Thermodynamics)

• เครื่องทำาความเย็น (Refrigerators)

• สัมประสิทธิ์ของการทำางาน (coefficient
of performance)
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนา
มิกส์
(The Second Law of Thermodynamics)

• ตัวอย่างที่ 13 เครื่องทำาความเย็นดึงเอาความร้อน
่ งได้ 3 เท่าของงานที่
จากที่ที่เย็นกว่าเข้ามาในเครือ
ทำาให้แก่เครื่อง
(ก) จงหาสัมประสิทธิ์ของการทำางานของเครื่อง
ทำาความเย็นนี้
(ข) จงหาอัตราส่วนของความร้อนที่เครื่องระบายออก
ต่อความร้อนที่เครื่องได้รับ
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนา
มิกส์
(The Second Law of Thermodynamics)

• ไม่มเี ครื่องจักรความร้อนใดที่มี
ประสิทธิภาพเป็น 100%
– “ ไม่มรี ะบบใดที่สามารถเปลี่ยนสภาวะแบบ
วัฏจักรโดยดึงความร้อนจากแหล่งให้ความ
ร้อนที่อุณหภูมห
ิ นึง
่ แล้วเปลี่ยนความร้อน
ทัำงหมดไปเป็นงานกล ”
• “ engine ” statement
– “ ไม่มร ี ะบบใดที่สามารถส่งผ่านความร้อนจาก
ที่ที่เย็นกว่าไปยังที่ที่ร้อนกว่าด้วยตนเองได้ ”
• “ refrigerator ” statement
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนา
มิกส์
(The Second Law of Thermodynamics)

• วัฎจักรคาร์โนต์
(The Carnot
Cycle)
– เครื่องจักรความร้อนใน
อุดมคติที่มี
ประสิทธิภาพสูงที่สุด
• โดยวิศวกรชาวฝรั่งเศส
Sadi Carnot
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนา
มิกส์
(The Second Law of Thermodynamics)

• วัฎจักรคาร์โนต์
– ทุกกระบวนการที่มกี ารส่งผ่าน
ความร้อน จะต้องเป็นกระบวน
การที่อณ
ุ หภูมข
ิ องระบบคงที่
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนา
มิกส์
(The Second Law of Thermodynamics)

• วัฎจักรคาร์โนต์
– แสดงวัฎจักรคาร์โนต์ที่มีกา๊ ซ
อุดมคติเป็น working
substance ประกอบด้วยขั้น
ตอนต่อไปนี้
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนา
มิกส์
(The Second Law of Thermodynamics)

• ประสิทธิภาพของเครื่องจักรความร้อน
คาร์โนต์
– โดยเริ่มจากการหาอัตราส่วน
•.

•.

• อัตราส่วนของความร้อนทัง้ สองนีค
้ ือ
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนา
มิกส์
(The Second Law of Thermodynamics)

• ประสิทธิภาพของเครื่องจักรความร้อน
คาร์โนต์
– สำาหรับกระบวนการแอเดียแบติกทั้งสองในวัฎจักร
คาร์โนต์
• จาก
• และ
– จับสองสมการนี้มาหารกัน จะได้
• จะได้ หรือ

• ดังนั้น
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนา
มิกส์
(The Second Law of Thermodynamics)

• เอนโทรปี (Entropy)
– กฎข้อที่สองก็สามารถเขียนออกมาให้อยู่ใน
รูปของความสัมพันธ์ของปริมาณที่เรียกว่า
เอนโทรปี (entropy) ได้
– เอนโทรปีเป็นปริมาณที่ใช้วัดความไม่เป็น
ระเบียบ (disorder)
• พิจารณา
– ก๊าซอุดมคติ เมือ
่ เราให้ความร้อน แก่ก๊าซ
แล้วปล่อยให้ก๊าซขยายตัวโดยที่อณ ุ หภูมิ
คงตัว
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนา
มิกส์
(The Second Law of Thermodynamics)

• เอนโทรปี (Entropy)
– ใช้สัดส่วนการเปลี่ยนของปริมาตร เป็นตัว
วัดการเพิ่มขึน
ำ ของความไม่เป็นระเบียบ
– จาก นัน
ำ แปรผันกับปริมาณ
– ใช้สัญลักษณ์ S แทนเอนโทรปีของระบบ

– ถ้ามีความร้อนปริมาณ Q ใส่เข้าไปในช่วง
กระบวนการไอโซเทอร์มัลแบบผันกลับได้ เอน
โทรปีของระบบจะเปลี่ยนไปทั้งสิ้น
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนา
มิกส์
(The Second Law of Thermodynamics)

• เอนโทรปีกับกฎข้อที่สอง (Entropy and


The Second Law)
– “ กระบวนการที่เกิดขึน ำ ได้เองในธรรมชาติจะ
เกิดขึำนในทิศทางที่ทำาให้เอนโทรปีรวมของ
ระบบมีคา ่ คงตัวหรือไม่กเ็ พิ่มขึน
ำ เท่านัน
ำ ”
แบบฝึกหัด
• พิสจ
ู น์วา่ สำาหรับก๊าซอุดมคติ
แบบฝึกหัด
ทดสอบ
• จงเติมเครื่องหมายในช่องว่าง
• เฉลย
ทดสอบ
• ในแต่ละเส้นทางเป็นกระบวนการแบบใด Q =
0 สำาหรับเส้นทาง B
ทดสอบ
1. ก๊าซอุดมคติจำานวน 1 โมลถูกทำาให้ขยายตัว
จากปริมาตร 3.0 ลิตรไปเป็น 10.0 ลิตร
ที่อุณหภูมิคงที่ 0.0 องศาเซลเซียส
1.1 จงหางานที่กระทำาต่อระบบ
1.2 จงหาความร้อนที่ไหลเข้าไปในระบบ
1.3 ถ้าก๊าซถูกอัดจนมีปริมาตรเท่าเดิมจงหางานที่
กระทำาต่อก๊าซนี้ในกระบวนการความดันคงที่
เฉลยข้อ 1.1
1.1
เฉลยข้อ 1.2
1.2
เฉลยข้อ 1.3
1.3

You might also like