You are on page 1of 326

พระราชบัญญัติ

ให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
พุทธศักราช ๒๔๗๗
                  
 
ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
(ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร
ลงวันที่ ๗ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๗๗)
อนุวัตน์จาตุรนต์
อาทิตย์ทิพอาภา
เจ้าพระยายมราช
ตราไว้ ณ วันที่ ๑๕ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๗๘
เป็ นปี ที่ ๒ ในรัชกาลปั จจุบัน
 
โดยที่ส ภาผู้แ ทนราษฎรลงมติว ่า สมควรที่จ ะยกเลิก บรรดา
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ ณ บัดนี ้ และให้ใช้ประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งแทน
 
จึ่งมีพระบรมราชโองการให้ตราพระราชบัญญัติขน
ึ ้ ไว้โ ดยคำ
แนะนำและยินยอมของสภาผู้แทนราษฎร ดั่งต่อไปนี ้
 
มาตรา ๑  พระราชบัญญัตินใี ้ ห้เรียกว่า “พระราชบัญญัติให้ใช้
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง พุทธศักราช ๒๔๗๗”
 
มาตรา ๒ [๑]  ให้ใช้พระราชบัญ ญัต ินต
ี ้ งั ้ แต่วันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๓  ให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งตามที่
ได้ต ราไว้ต ่อ ท้า ย พระราชบัญ ญัต ิน ต
ี ้ งั ้ แต่ว ัน ที่ ๑ ตุล าคม พุท ธศัก ราช
๒๔๗๘ เป็ นต้นไป
บทบัญญัติในประมวลกฎหมายนีใ้ ห้ใช้ในศาลทั่วไปตลอดราช
อาณาจักร ยกเว้นแต่ในศาลพิเศษที่มีข้อบังคับ สำหรับ ศาลนัน
้ และถ้า มี
กฎหมายให้ใช้ธรรมเนียมประเพณีหรือกฎหมายทางศาสนาในศาลใด ให้
ศาลนัน
้ ยกธรรมเนียมประเพณีหรือกฎหมายนัน
้ ๆ มาใช้แทนบทบัญญัติ
แห่ง ประมวลกฎหมายนี ้ เว้น แต่ค ค
ู่ วามจะได้ต กลงกัน ให้ใ ช้ป ระมวล
กฎหมายนี ้
บทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี ้ ให้ใช้บังคับแก่คดีค วามทัง้
ปวงซึ่งค้างชำระอยู่ในศาลเมื่อวันใช้ประมวลกฎหมายนี ้ หรือที่ได้ย่ น
ื ต่อ
ศาลภายหลังวันนัน
้ ไม่ว่ามูลคดีจะได้เกิดขึน
้ ก่อนหรือหลังวันใช้นน
ั้
 
มาตรา ๔  ตัง้ แต่วันใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
นีส
้ ืบ ไป ให้ย กเลิก บรรดากฎหมาย กฎ และข้อ บัง คับ อื่น ๆ ในส่ว นที่ม ี
บัญ ญัต ิไ ว้แ ล้ว ในประมวลกฎหมายนี ้ หรือ ซึ่ง แย้ง กับ บทแห่ง ประมวล
กฎหมายนี ้
 
มาตรา ๕[๒]  ให้รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรมมีอำนาจออก
กฎกระทรวง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในเรื่องต่อไปนี ้
(๑) จัดวางระเบียบทางธุรการในเรื่อ งเจ้า พนัก งานบัง คับ คดี
รวมทัง้ การกำ หนดค่า ธรรมเนีย ม นอกจากที่ร ะบุไ ว้ใ นตาราง ๕ ท้า ย
ประมวลกฎหมายนี ้ ตลอดจนการชดใช้ค่าใช้จ่ายให้บุคคลเหล่านัน

(๒) จัดวางระเบียบทางธุรการในเรื่องการยึดและอายัด และ
การจำหน่ายทรัพย์สินเป็ นตัวเงินโดยวิธีขายทอดตลาดหรือโดยวิธีอ่ น
ื และ
ในเรื่องวิธีการบังคับคดีทางอื่น ๆ ที่เจ้าพนักงานบังคับคดีจะพึงปฏิบัติ
กฎกระทรวงนัน
้ เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้
ใช้บังคับได้
 
มาตรา ๖[๓]  ให้ประธานศาลฎีกาโดยความเห็นชอบของคณะ
กรรมการบริห ารศาลยุต ิธ รรมมีอำ นาจออกข้อ บัง คับ ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในเรื่องต่อไปนี ้
(๑) การแต่งตัง้ การระบุตัว และการสาบานของล่าม ผูแ
้ ปล
และผู้เชี่ยวชาญการกำหนดจำนวนค่าป่ วยการ และการชดใช้ค่าใช้จ่ายให้
บุคคลเหล่านัน

(๑/๑)[๔ ] การกำหนดจำนวนค่า ป่ วยการ ค่า พาหนะเดิน ทาง
และค่าเช่าทีพ
่ ก
ั ของพยานที่ศาลเรียกมา
(๒) จัดวางระเบียบทางธุรการในเรื่องเจ้าพนักงานศาล รวมทัง้
การกำหนดค่า ธรรมเนีย มนอกจากที่ร ะบุไ ว้ใ นตาราง ๕ ท้า ยประมวล
กฎหมายนี ้ ตลอดจนการชดใช้ค่าใช้จ่ายให้บุคคลเหล่านัน

(๓) จัดวางระเบียบทางธุรการในเรื่องการเก็บ รัก ษาและการ
ทำลายสารบบความ สารบบคำพิพากษา สมุดคำพิพากษา และสารบบอื่น
ๆ ของศาล ตลอดจนสำนวนความทัง้ หลาย
(๔) จัด วางระเบีย บทางธุร การในเรื่อ งการยื่น เอกสารต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่ของศาล เพื่อยื่นต่อศาลหรือเพื่อส่งให้แก่ค ค
ู่ วามหรือ
บุคคลผู้ใดผูห
้ นึ่ง และในเรื่อ งการขอร้อ งด้วยวาจาเพื่อ ให้ศ าลพิจารณา
และชีข
้ าดตัดสินคดีมโนสาเร่
(๕) จัดวางระเบียบทางธุรการในเรื่องที่ค ู่ความฝ่ ายหนึ่งจะส่ง
ต้นฉบับเอกสารไปยังอีกฝ่ ายหนึ่ง
ข้อบังคับนัน
้ เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้
บังคับได้
 
 
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
นายพันเอก พระยาพหลพล
พยุหเสนา
นายกรัฐมนตรี

สารบาญ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
                  
 
                                                                                       
           มาตรา
ภาค ๑ บททั่วไป
ลักษณะ ๑ บทวิเคราะห์
ศัพท์                                                                        ๑
ลักษณะ ๒ ศาล
หมวด ๑ เขตอำนาจ
ศาล                                                          ๒-๑๐
หมวด ๒ การคัดค้านผู้
พิพากษา                                                ๑๑-๑๔
หมวด ๓ อำนาจและหน้าที่ของ
ศาล                                            ๑๕-๓๔
หมวด ๔ การนั่ง
พิจารณา                                                       ๓๕-๔๕
หมวด ๕ รายงานและสำนวน
ความ                                             ๔๖-๕๔
ลักษณะ ๓ คู่
ความ                                                                             ๕
๕-๖๖
ลักษณะ ๔ การยื่นและส่งคำคู่ความและ
เอกสาร                                       ๖๗-๘๓ อัฏฐ
ลักษณะ ๕ พยานหลักฐาน
หมวด ๑ หลัก
ทั่วไป                                                            ๘๔-๑๐๕
หมวด ๒ ว่าด้วยการมาศาลของพยานและการซักถาม
พยาน               ๑๐๖-๑๒๑
หมวด ๓ การนำพยานเอกสารมา
สืบ                                   ๑๒๒-๑๒๗ ทวิ
หมวด ๔ การตรวจและการแต่งตัง้ ผูเ้ ชี่ยวชาญโดย
ศาล                     ๑๒๘-๑๓๐
ลักษณะ ๖ คำพิพากษาและคำสั่ง
หมวด ๑ หลักทั่วไปว่าด้วยการชีข
้ าดตัดสิน
คดี                              ๑๓๑-๑๓๙
หมวด ๒ ข้อความและผลแห่งคำพิพากษาและคำ
สั่ง                       ๑๔๐-๑๔๘
หมวด ๓ ค่าฤชาธรรมเนียม
ส่วนที่ ๑ การกำหนดและการชำระค่าฤชาธรรมเนียม
และการยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล                           
 ๑๔๙-๑๖๐
ส่วนที่ ๒ ความรับผิดชัน
้ ที่สุดในค่าฤชา
ธรรมเนียม                  ๑๖๑-๑๖๙/๓
 
ภาค ๒ วิธีพิจารณาในศาลชัน
้ ต้น
ลักษณะ ๑ วิธีพิจารณาสามัญในศาลชัน

ต้น                                               ๑๗๐-๑๘๘
ลักษณะ ๒ วิธีพิจารณาวิสามัญในศาลชัน
้ ต้น
หมวด ๑ วิธีพิจารณาคดี
มโนสาเร่                                           ๑๘๙-๑๙๖
หมวด ๒ การพิจารณาโดยขาดนัด
ส่วนที่ ๑ การขาดนัดยื่นคำ
ให้การ                                   ๑๙๗-๑๙๙ ฉ
ส่วนที่ ๒ การขาดนัด
พิจารณา                                          ๒๐๐-๒๐๙
หมวด ๓
อนุญาโตตุลาการ                                                  ๒๑๐-๒๒๒
หมวด ๔ การดำเนินคดีแบบ
กลุ่ม[๕]                                                                 
ส่วนที่ ๑ บท
ทั่วไป                                                   ๒๒๒/๑-๒๒๒/๗
ส่วนที่ ๒ การขออนุญาตให้ดำเนินคดีแบบ
กลุ่ม                   ๒๒๒/๘-๒๒๒/๑๓
ส่วนที่ ๓ การพิจารณาคดีแบบ
กลุ่ม                             ๒๒๒/๑๔-๒๒๒/๓๔
ส่วนที่ ๔ คำพิพากษาและการบังคับ
คดี                         ๒๒๒/๓๕-๒๒๒/๔๔
ส่วนที่ ๕ อุทธรณ์และ
ฎีกา                                       ๒๒๒/๔๕-๒๒๒/๔๘
ส่วนที่ ๖ ค่า
ธรรมเนียม                                                     ๒๒๒/๔๙
 
ภาค ๓ อุทธรณ์และฎีกา
ลักษณะ ๑
อุทธรณ์                                                                          ๒
๒๓-๒๔๖
ลักษณะ ๒
ฎีกา                                                                             ๒๔
๗-๒๕๒
 
ภาค ๔ วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาและการบังคับตามคำพิพากษา
หรือคำสั่ง
ลักษณะ ๑ วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษา
หมวด ๑ หลัก
ทั่วไป                                                           ๒๕๓-๒๖๕
หมวด ๒ คำขอในเหตุ
ฉุกเฉิน                                                  ๒๖๖-๒๗๐
ลักษณะ ๒ การบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสัง่ [๖]
หมวด ๑ หลัก
ทั่วไป                                                                      
ส่วนที่ ๑ ศาลที่มีอำนาจในการบังคับ
คดี                                        ๒๗๑
ส่วนที่ ๒ คำ
บังคับ                                                         ๒๗๒-๒๗๓
ส่วนที่ ๓ การขอบังคับ
คดี                                                 ๒๗๔-๒๗๕
ส่วนที่ ๔ การพิจารณาคำขอบังคับ
คดี                                           ๒๗๖
ส่วนที่ ๕ การขอให้ศาลไต่สวนเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สิน
ของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา                                 
         ๒๗๗
ส่วนที่ ๖ อำนาจทั่วไปของเจ้าพนักงานบังคับ
คดี                         ๒๗๘-๒๘๖
ส่วนที่ ๗ ผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับ
คดี                                  ๒๘๗-๒๘๘
ส่วนที่ ๘ การงดการบังคับ
คดี                                             ๒๘๙-๒๙๑
ส่วนที่ ๙ การถอนการบังคับ
คดี                                           ๒๙๒-๒๙๔
ส่วนที่ ๑๐ การเพิกถอนหรือแก้ไขการบังคับคดีที่ผิด
ระเบียบ                  ๒๙๕
หมวด ๒ การบังคับคดีในกรณีที่เป็ นหนี ้
เงิน                                             
ส่วนที่ ๑ อำนาจของเจ้าพนักงานบังคับ
คดี                               ๒๙๖-๓๐๐
ส่วนที่ ๒ ทรัพย์สินที่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับ
คดี              ๓๐๑-๓๐๒
ส่วนที่ ๓ การยึด
ทรัพย์สิน                                                 ๓๐๓-๓๑๕
ส่วนที่ ๔ การอายัดสิทธิเรียก
ร้อง                                         ๓๑๖-๓๒๐
ส่วนที่ ๕ การขอให้ศาลบังคับบุคคลภายนอกชำระหนี ้
ตามสิทธิเรียกร้อง                                            
        ๓๒๑
ส่วนที่ ๖ สิทธิของบุคคลภายนอกและผู้มีส่วนได้เสีย
เกี่ยวกับทรัพย์สินที่ถูกบังคับคดี                            
   ๓๒๒-๓๒๕
ส่วนที่ ๗ การขอเฉลี่ยและการเข้าดำเนินการบังคับคดีต่อ
ไป            ๓๒๖-๓๓๐
ส่วนที่ ๘ การขายหรือ
จำหน่าย                                           ๓๓๑-๓๓๕
ส่วนที่ ๙ การตัง้ ผู้จัดการอสังหาริมทรัพย์หรือการประกอบ
กิจการ
แทนการขายหรือจำหน่าย                                  
         ๓๓๖
ส่วนที่ ๑๐ การทำบัญชีส่วน
เฉลี่ย                                         ๓๓๗-๓๔๔
ส่วนที่ ๑๑ เงินค้าง
จ่าย                                                          ๓๔๕
หมวด ๓ การบังคับคดีในกรณีที่ให้ส่งคืนหรือส่งมอบทรัพย์
เฉพาะสิ่ง       ๓๔๖-๓๔๙
หมวด ๔ การบังคับคดีในกรณีที่ให้ขับ
ไล่                                            ๓๕๐
ส่วนที่ ๑ การบังคับคดีในกรณีที่ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
ต้องออกไปจากอสังหาริมทรัพย์ ที่อยู่อาศัย
หรือทรัพย์ที่ครอบครอง                                     
  ๓๕๑-๓๕๔
ส่วนที่ ๒ การบังคับคดีในกรณีที่ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
ต้องรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง ไม้ยืนต้น ไม้ล้มลุกหรือธัญ
ชาติ
หรือขนย้ายทรัพย์สิน ออกไปจากอสังหาริมทรัพย์
ที่อยู่อาศัย หรือทรัพย์ที่ครอบ
ครอง                                 ๓๕๕
หมวด ๕ การบังคับคดีในกรณีที่ให้กระทำการหรืองดเว้นกระทำ
การ              ๓๕๖
ส่วนที่ ๑ การบังคับคดีในกรณีที่ให้กระทำ
การ                           ๓๕๗-๓๕๘
ส่วนที่ ๒ การบังคับคดีในกรณีที่ให้งดเว้นกระทำ
การ                           ๓๕๙
หมวด ๖ การบังคับคดีในกรณีได้มาซึ่งทรัพย์สินที่มี
ทะเบียน                       ๓๖๐
หมวด ๗ การบังคับคดีในกรณีที่ขอให้ศาลสั่งจับกุม
และกักขังลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา                              
   ๓๖๑-๓๖๕
หมวด ๘ การบังคับในกรณีมีการประกันใน
ศาล                              ๓๖๖-๓๖๗
 
 

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
                  
 
ภาค ๑
บททั่วไป
                  
 
ลักษณะ ๑
บทวิเคราะห์ศพ
ั ท์
                  
 
มาตรา ๑  ในประมวลกฎหมายนี ้ ถ้า ข้อ ความมิไ ด้แ สดงให้
เห็นเป็ นอย่างอื่น
(๑) “ศาล” หมายความว่า ศาลยุตธิ รรมหรือผูพ
้ พ
ิ ากษาทีม
่ อำ
ี นาจ
พิจารณาพิพากษาคดีแพ่ง
(๒) “คดี” หมายความว่า กระบวนพิจ ารณานับ ตัง้ แต่เ สนอ
คำฟ้ องต่อศาลเพื่อขอให้รับรอง คุ้มครองบังคับตามหรือเพื่อการใช้ซึ่งสิทธิ
หรือหน้าที่
(๓) “คำฟ้ อง” หมายความว่า กระบวนพิจารณาใด ๆ ที่โจทก์
ได้เสนอข้อหาต่อศาลไม่ว่าจะได้เสนอด้วยวาจาหรือ ทำเป็ นหนังสือ ไม่ว่า
จะได้เ สนอต่อ ศาลชัน
้ ต้น หรือ ชัน
้ อุท ธรณ์ห รือ ฎีก า ไม่ว ่า จะได้เ สนอใน
ขณะที่เริ่มคดีโดยคำฟ้ องหรือคำร้องขอหรือเสนอในภายหลังโดยคำฟ้ อง
เพิ่มเติมหรือแก้ไข หรือฟ้ องแย้งหรือโดยสอดเข้ามาในคดีไม่ว่าด้วยสมัคร
ใจ หรือถูกบังคับ หรือโดยมีคำขอให้พิจารณาใหม่
(๔) “คำให้การ” หมายความว่า กระบวนพิจารณาใด ๆ ซึง่ คู่
ความฝ่ ายหนึง่ ยกข้อต่อสู้เ ป็ นข้อ แก้คำ ฟ้ องตามที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นประมวล
กฎหมายนี ้ นอกจากคำแถลงการณ์
(๕) “คำคู่ความ” หมายความว่า บรรดาคำฟ้ อง คำให้การหรือ
คำร้องทัง้ หลายที่ย่ น
ื ต่อศาลเพื่อตัง้ ประเด็นระหว่างคูค
่ วาม
(๖) “คำแถลงการณ์” หมายความว่า คำแถลงด้วยวาจาหรือ
เป็ นหนังสือ ซึ่งคู่ความฝ่ ายหนึ่งกระทำหรือยื่นต่อศาล ด้วยมุ่งหมายที่จะ
เสนอความเห็นต่อศาลในข้อความในประเด็นที่ได้ยกขึน
้ อ้างในคำคู่ความ
หรือในปั ญหาข้อใดที่ศาลจะพึงมีคำสั่งหรือคำพิพากษา ซึ่งในข้อเหล่านีค
้ ู่
ความฝ่ ายนัน
้ เพีย งแต่แ สดง หรือ กล่า วทบทวนหรือ ยืน ยัน หรือ อธิบ าย
ข้อความแห่งคำพยานหลักฐาน และปั ญหาข้อกฎหมายและข้อเท็จจริงทัง้
ปวง คำแถลงการณ์อาจรวมอยู่ในคำคู่ความ
(๗) “กระบวนพิจ ารณา” หมายความว่า การกระทำ ใด ๆ
ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายนีอ
้ ันเกี่ยวด้วยคดีซึ่งได้กระทำไปโดย
คูค
่ วามในคดีนน
ั ้ หรือโดยศาล หรือตามคำสั่งของศาลไม่ว่าการนัน
้ จะเป็ น
โดยคู่ความฝ่ ายใดทำต่อศาลหรือต่อคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง หรือศาลทำต่อคู่
ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง หรือ ทุก ฝ่ าย และรวมถึง การส่ง คำ คูค
่ วามและ
เอกสารอื่น ๆ ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายนี ้
(๘) “การพิจารณา” หมายความว่า กระบวนพิจารณาทัง้ หมด
ในศาลใดศาลหนึ่ง ก่อ นศาลนัน
้ ชีข
้ าดตัด สิน หรือ จำ หน่า ยคดีโ ดยคำ
พิพากษาหรือคำสั่ง
(๙) “การนั่งพิจารณา” หมายความว่า การที่ศาลออกนัง่ เกี่ยว
กับการพิจารณาคดีเ ช่น ชีส
้ องสถาน สืบพยาน ทำการไต่ส วน ฟั งคำขอ
ต่าง ๆ และฟั งคำแถลงการณ์ด้วยวาจา
(๑๐) “วันสืบพยาน” หมายความว่า วันที่ศาลเริ่มต้น ทำการ
สืบพยาน
(๑๑) “คู่ค วาม” หมายความว่า บุค คลผู้ย่ น
ื คำฟ้ อง หรือ ถูก
ฟ้ องต่อศาล และเพื่อประโยชน์แห่งการดำเนินกระบวนพิจารณาให้รวมถึง
บุคคลผู้มีส ิทธิก ระทำการแทนบุค คลนัน
้ ๆ ตามกฎหมาย หรือ ในฐานะ
ทนายความ
(๑๒) “บุคคลผู้ไร้ความสามารถ” หมายความว่า บุคคลใด ๆ
ซึ่ง ไม่ม ีค วามสามารถตามกฎหมายหรือ ความสามารถถ ูก จำ กัด โดย
บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยความสามารถ
(๑๓) “ผู้แ ทนโดยชอบธรรม” หมายความว่า บุค คลซึ่ง ตาม
กฎหมายมีสิทธิที่จะทำการแทนบุคคลผูไ้ ร้ความสามารถหรือเป็ นบุคคลที่
จะต้องให้คำอนุญาต หรือให้ความยินยอมแก่ผู้ไร้ความสามารถในอันที่จะ
กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง
(๑๔)[๗] เจ้าพนักงานบังคับคดี หมายความว่า เจ้าพนักงานใน
สัง กัด กรมบัง คับ คดีห รือ พนัก งานอื่น ผ ู้ม ีอำ นาจตามบทบัญ ญัต ิแ ห่ง
กฎหมายที่ใช้อยู่ ในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไว้ในภาค ๔ แห่ง
ประมวลกฎหมายนี ้ เพื่อคุ้มครองสิทธิของคู่ความในระหว่างการพิจารณา
หรือเพื่อบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสัง่ และให้หมายความรวมถึงบุคคล
ที่ได้รับมอบหมายจากเจ้าพนักงานบังคับคดีให้ปฏิบัติการแทน
 
ลักษณะ ๒
ศาล
                  
 
หมวด ๑
เขตอำนาจศาล
                  
 
มาตรา ๒  ห้ามมิให้เสนอคำฟ้ องต่อศาลใด เว้นแต่
(๑) เมื่อได้พิจารณาถึงสภาพแห่งคำฟ้ องและชัน
้ ของศาลแล้ว
ปรากฏว่า ศาล นัน
้ มีอำ นาจที่จ ะพ ิจ ารณ าพ ิพ าก ษาคดีน น
ั ้ ได้ต าม
บทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยพระธรรมนูญศาลยุติธรรม และ
(๒) เมื่อได้พจ
ิ ารณาถึงคำฟ้ องแล้ว ปรากฏว่าคดีนน
ั ้ อยูใ่ นเขต
ศาลนัน
้ ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้ ว่าด้วยศาลทีจ
่ ะรับ คำฟ้ อง
และตามบทบัญญัตแ
ิ ห่งกฎหมายทีกำ
่ หนดเขตศาลด้วย
 
มาตรา ๓[๘]  เพื่อประโยชน์ในการเสนอคำฟ้ อง
(๑) ในกรณีที่ม ูล คดีเ กิด ขึน
้ ในเรือ ไทยหรือ อากาศยานไทยที่
อยู่นอกราชอาณาจักร ให้ศาลแพ่งเป็ นศาลที่มีเขตอำนาจ
(๒) ในกรณีที่จำเลยไม่มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักร
(ก) ถ้า จำเลยเคยมีภ ูมิลำ เนาอยู่ ณ ที่ใดในราชอาณาจัก ร
ภายในกำ หนดสองปี ก่อ นวัน ที่ม ีก ารเสนอคำ ฟ้ อง ให้ถ ือ ว่า ที่น น
ั ้ เป็ น
ภูมิลำเนาของจำเลย
(ข) ถ้าจำเลยประกอบหรือเคยประกอบกิจการทัง้ หมดหรือ
แต่บางส่วนในราชอาณาจักรไม่ว่าโดยตนเองหรือตัวแทน หรือโดยมีบุคคล
หนึ่งบุคคลใดเป็ นผู้ติดต่อในการประกอบกิจการนัน
้ ในราชอาณาจักร ให้
ถือ ว่า สถานที่ท ี่ใ ช้ห รือ เคยใช้ป ระกอบกิจ การหรือ ติด ต่อ ดัง กล่า ว หรือ
สถานที่อ ัน เป็ นถิ่น ที่อ ยู่ข องตัว แทนหรือ ของผู้ต ิด ต่อ ในวัน ที่ม ีก ารเสนอ
คำฟ้ องหรือภายในกำหนดสองปี ก่อนนัน
้ เป็ นภูมิลำเนาของจำเลย
 
มาตรา ๔[๙]  เว้นแต่จะมีบทบัญญัติเป็ นอย่างอื่น
(๑) คำฟ้ อง ให้เสนอต่อศาลที่จำเลยมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล
หรือต่อศาลที่มูลคดีเกิดขึน
้ ในเขตศาลไม่ว่าจำเลยจะมีภูมิลำเนาอยู่ในราช
อาณาจักรหรือไม่
(๒) คำร้องขอ ให้เสนอต่อศาลที่มูลคดีเกิดขึน
้ ในเขตศาล หรือ
ต่อศาลที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล
 
มาตรา ๔ ทวิ[๑๐]  คำฟ้ องเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์ หรือสิทธิ
ห ร ือ ป ร ะ โ ย ช น ์อ ัน เ ก ี่ย ว ด ้ว ย อ ส ัง ห า ร ิม ท ร ัพ ย ์ ใ ห ้เ ส น อ ต ่อ ศ า ล ท ี่
อสังหาริมทรัพย์นน
ั ้ ตัง้ อยู่ในเขตศาล ไม่ว่าจำเลยจะมีภูมิลำ เนาอยู่ในราช
อาณาจักรหรือไม่ หรือต่อศาลที่จำเลยมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล
 
มาตรา ๔ ตรี[๑๑]  คำฟ้ องอื่นนอกจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๔
ทวิ ซึ่งจำเลยมิได้มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักรและมูลคดีมิได้เกิดขึน
้ ใน
ราชอาณาจัก ร ถ้า โจทก์เ ป็ นผู้ม ส
ี ัญ ชาติไ ทยหรือ มีภ ูม ิลำ เนาอยู่ใ นราช
อาณาจักร ให้เสนอต่อศาลแพ่งหรือต่อศาลที่โจทก์มีภ ูมิลำ เนาอยู่ในเขต
ศาล
คำฟ้ องตามวรรคหนึ่ง ถ้าจำเลยมีทรัพย์สินที่อาจถูกบังคับคดี
ได้อยู่ในราชอาณาจักร ไม่ว่าจะเป็ นการชั่วคราวหรือถาวร โจทก์จะเสนอ
คำฟ้ องต่อศาลที่ทรัพย์สินนัน
้ อยู่ในเขตศาลก็ได้
 
มาตรา ๔ จัตวา [๑๒]  คำร้องขอแต่งตัง้ ผู้จัดการมรดก ให้เสนอ
ต่อศาลที่เจ้ามรดกมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาลในขณะถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่เจ้ามรดกไม่มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักร ให้เสนอ
ต่อศาลที่ทรัพย์มรดกอยู่ในเขตศาล
 
มาตรา ๔ เบญจ [๑๓]  คำร้องขอเพิกถอนมติของทีป
่ ระชุมหรือที่
ประชุมใหญ่ของนิตบ
ิ ค
ุ คล คำร้องขอเลิกนิติบุคคล คำร้องขอตัง้ หรือถอนผู้
ชำระบัญชีของนิติบุคคล หรือคำร้องขออื่นใดเกี่ยวกับนิติบุคคล ให้เสนอ
ต่อศาลที่นิติบุคคลนัน
้ มีสำนักงานแห่งใหญ่อยู่ในเขตศาล
 
มาตรา ๔ ฉ [๑ ๔ ]  คำ ร้อ งขอเกี่ย วกับ ทรัพ ย์ส ิน ที่อ ยู่ใ นราช
อาณาจักรก็ดี คำร้องขอที่หากศาลมีคำ สั่งตามคำร้องขอนัน
้ จะเป็ นผลให้
ต้องจัด การหรือเลิกจัดการทรัพย์สิน ที่อ ยู่ในราชอาณาจัก รก็ดี ซึ่ง มูล คดี
มิได้เกิดขึน
้ ในราชอาณาจักรและผู้ร้องไม่มีภูมิลำ เนาอยู่ในราชอาณาจักร
ให้เสนอต่อศาลที่ทรัพย์สินดังกล่าวอยู่ในเขตศาล
 
มาตรา ๕[๑๕]  คำฟ้ องหรือคำร้องขอซึ่งอาจเสนอต่อศาลได้สอง
ศาลหรือกว่านัน
้ ไม่ว่าจะเป็ นเพราะภูมิลำเนาของบุคคลก็ดี เพราะที่ตงั ้ ของ
ทรัพย์สินก็ดี เพราะสถานที่ที่เกิดมูลคดีก็ดี หรือเพราะมีข้อหาหลายข้อก็ดี
ถ้า มูล ความแห่ง คดีเ กี่ย วข้อ งกัน โจทก์ห รือ ผู้ร ้อ งจะเสนอคำ ฟ้ องหรือ
คำร้องขอต่อศาลใดศาลหนึ่งเช่นว่านัน
้ ก็ได้
 
มาตรา ๖[๑๖]  ก่อนยื่นคำให้การ จำเลยชอบที่จะยื่นคำร้องต่อ
ศาลที่โ จทก์ไ ด้ย่ น
ื คำฟ้ องไว้ข อให้โ อนคดีไ ปยัง ศาลอื่น ที่ม ีเ ขตอำนาจได้
คำร้องนัน
้ จำเลยต้องแสดงเหตุที่ยกขึน
้ อ้างอิงว่าการพิจารณาคดีต่อไปใน
ศาลนัน
้ จะไม่สะดวก หรือ จำเลยอาจไม่ได้รับความยุติธรรมเมื่อศาลเห็น
สมควร ศาลจะมีคำสั่งอนุญาตตามคำร้องนัน
้ ก็ได้
ห้ามมิให้ศาลออกคำสั่งอนุญาตตามวรรคหนึ่ง เว้นแต่ศาลที่จะ
รับโอนคดีไปนัน
้ ได้ยินยอมเสียก่อน ถ้าศาลที่จะรับโอนคดีไม่ยินยอม ก็ให้
ศาลที่จะโอนคดีนน
ั ้ ส่งเรื่องให้อ ธิบ ดีผ ู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ชข
ี ้ าด คำสัง่
ของอธิบดีผู้พพ
ิ ากษาศาลอุทธรณ์ให้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๖/๑[๑๗]  คดีที่ย่ น
ื ฟ้ องไว้ต่อศาลชัน
้ ต้นซึ่งไม่ใช่ศาลแพ่ง
ก่อนวันชีส
้ องสถาน หรือก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่าเจ็ดวันในกรณีที่ไม่มี
การชีส
้ องสถาน หากศาลที่คดีนน
ั ้ อยู่ระหว่างพิจารณาเห็นว่าผลของคดีดัง
กล่าวอาจกระทบต่อการอนุรักษ์หรือการบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
หรือ สิ่ง แวดล้อ มการคุ้ม ครองผู้บ ริโ ภคเป็ นส่ว นรวม หรือ ประโยชน์
สาธารณะอย่า งอื่น ที่สำ คัญ และการโอนคดีไ ปยัง ศาลแพ่ง จะทำให้ก าร
พิจ ารณาพิพ ากษาคดีเ ป็ นไปอย่า งมีป ระสิท ธิภ าพยิ่ง ขึน
้ ก็ใ ห้ศ าลแจ้ง คู่
ความทราบและทำความเห็นเสนอประธานศาลอุทธรณ์เพื่อมีคำสั่งให้โอน
คดีนน
ั ้ ไปยังศาลแพ่งได้ คำสั่งของประธานศาลอุทธรณ์ให้เป็ นที่สุด
การโอนคดีต ามวรรคหนึ่ง ไม่ก ระทบกระเทือ นถึง กระบวน
พิจ ารณาที่ไ ด้ดำ เนิน การไปก่อ นที่จ ะมีคำ สั่ง ให้โ อนคดี และให้ถ ือ ว่า
บรรดากระบวนพิจารณาที่ได้ดำเนินการไปแล้วนัน
้ เป็ นกระบวนพิจารณา
ของศาลแพ่ง ด้วย เว้น แต่ศาลแพ่งจะมีคำ สั่งเป็ นอย่า งอื่น เพื่อ ประโยชน์
แห่งความยุติธรรม
 
มาตรา ๗[๑๘]  บทบัญญัติในมาตรา ๔ มาตรา ๔ ทวิ มาตรา ๔
ตรี มาตรา ๔ จัตวา มาตรา ๔ เบญจ มาตรา ๔ ฉ มาตรา ๕ มาตรา ๖
และมาตรา ๖/๑ ต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งบทบัญญัติดังต่อไปนี ้
(๑) คำฟ้ องหรือคำร้องขอที่เสนอภายหลังเกี่ยวเนื่องกับคดีที่
ค้างพิจารณาอยู่ในศาลใดให้เสนอต่อศาลนัน

(๒)[๑๙] คำฟ้ องหรือคำร้องขอที่เสนอเกี่ยวเนื่องกับการบังคับคดี
ตามคำพิพากษาหรือคำสัง่ ของศาลซึ่งคำฟ้ องหรือคำร้องขอนัน
้ จำต้องมีคำ
วินิจฉัยของศาลก่อนที่การบังคับคดีจะได้ดำเนินไปได้โดยครบถ้วนและถูก
ต้องนัน
้ ให้เสนอต่อศาลที่กำหนดไว้ในมาตรา ๒๗๑
(๓) คำร้องตามมาตรา ๑๐๑ ถ้าได้เสนอคำฟ้ องหรือคำร้องขอ
ต่อ ศาลใดแล้ว ให้เ สนอต่อ ศาลนัน
้ ในกรณีท ี่ย ัง ไม่ไ ด้เ สนอคำฟ้ องหรือ
คำร้อ งขอต่อศาลใด ถ้าพยานหลัก ฐานซึ่ง จะเรียกมาสืบ หรือ บุคคลหรือ
ทรัพย์หรือสถานที่ที่จะต้องตรวจอยู่ในเขตศาลใด ให้เสนอต่อศาลนัน

(๔) คำร้องที่เสนอให้ศาลถอนคืนหรือเปลี่ยนแปลงคำสั่งหรือ
การอนุญาตที่ศาลได้ให้ไว้ก็ดีคำ ร้องที่เสนอให้ศาลถอดถอนบุคคลใดจาก
ฐานะที่ศาลได้แต่งตัง้ ไว้ก็ดี คำร้องที่เสนอให้ศาลมีคำ สั่งใดที่เกี่ยวกับการ
ถอนคืนหรือเปลี่ยนแปลงคำสั่งหรือการอนุญาตหรือที่เกี่ยวกับการแต่งตัง้
เช่นว่านัน
้ ก็ดีคำร้องขอหรือคำร้องอื่นใดที่เสนอเกี่ยวเนื่องกับคดีที่ศาลได้มี
คำพิพ ากษาหรือ คำสั่งไปแล้วก็ดี ให้เสนอต่อศาลในคดีที่ไ ด้มีคำ สัง่ การ
อนุญาต การแต่งตัง้ หรือคำพิพากษานัน

 
มาตรา ๘  ถ้า คดีส องเรื่อ งซึ่ง มีป ระเด็น อย่า งเดีย วกัน หรือ
เกี่ยวเนื่องใกล้ชิดกันอยู่ในระหว่างพิจารณาของศาลชัน
้ ต้นที่มีเขตอำนาจ
สองศาลต่างกัน และศาลทัง้ สองนัน
้ ได้ยกคำร้องทัง้ หลายที่ได้ย่ ืน ต่อ ศาล
ขอให้คดีทัง้ สองได้พิจารณาพิพากษารวมในศาลเดียวกันนัน
้ เสียตราบใด
ที่ศาลใดศาลหนึ่งยังมิได้พิพากษาคดีนัน
้ ๆ คูค
่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งจะยื่น
คำขอโดยทำเป็ นคำร้องต่ออธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ เพื่อขอให้มีคำสั่ง
ให้ศาลใดศาลหนึ่ง จำหน่ายคดีซึ่งอยู่ในระหว่างพิจารณานัน
้ ออกเสียจาก
สารบบความ หรือให้โอนคดีไปยังอีกศาลหนึ่งก็ได้แล้วแต่กรณี
คำสัง่ ใด ๆ ของอธิบดีผ ู้พพ
ิ ากษาศาลอุทธรณ์เช่นว่านีใ้ ห้เ ป็ น
ที่สุด
 
มาตรา ๙  ในกรณีดัง กล่า วในมาตราก่อ นนัน
้ ถ้าศาลใดศาล
หนึ่งได้พิพากษาคดีแล้ว และได้มีการยื่นอุทธรณ์คัดค้านคำพิพากษานัน
้ คู่
ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งอาจยื่นคำขอโดยทำเป็ นคำร้องต่อศาลอุทธรณ์ ขอให้
มีคำสัง่ ให้งดการพิจารณาคดีชน
ั ้ อุทธรณ์นน
ั ้ ไว้ก่อนจนกว่าอีกศาลหนึ่งจะ
ได้พิพากษาคดีอีกเรื่องหนึง่ เสร็จแล้วก็ได้ และถ้าได้มีการอุทธรณ์คดีเรื่อง
หลังนีก
้ ็ให้ศาลอุทธรณ์รวมวินิจฉัยคดีทงั ้ สองนัน
้ โดยคำพิพากษาเดียวกัน
ถ้าคดีเรื่องหลังนัน
้ ไม่มีอุทธรณ์ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งมาตรา ๑๔๖
 
มาตรา ๑๐  ถ้าไม่อาจดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลชัน
้ ต้นที่
มีเขตศาลเหนือคดีนน
ั้ ได้ โดยเหตุสุดวิสัย คูค
่ วามฝ่ ายที่เสียหายหรืออาจเสีย
หายเพราะการนัน
้ จะยื่นคำขอฝ่ ายเดียวโดยทำเป็ นคำร้องต่อศาลชัน
้ ต้น ซึง่
ตนมีภม
ู ลำ
ิ เนาหรืออยูใ่ นเขตศาลในขณะนัน
้ ก็ได้ และให้ศาลนัน
้ มีอำนาจทำ
คำสัง่ อย่างใดอย่างหนึ่งตามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
 
หมวด ๒
การคัดค้านผู้พพ
ิ ากษา
                  
 
มาตรา ๑๑  เมื่อคดีถึงศาล ผูพ
้ ิพากษาคนหนึ่งคนใดในศาลนัน

อาจถูกคัดค้านได้ในเหตุใดเหตุหนึ่งดังต่อไปนี ้
(๑) ถ้าผู้พิพากษานัน
้ มีผลประโยชน์ได้เสียเกี่ยวข้องอยู่ในคดี
นัน

(๒) ถ้าเป็ นญาติเกี่ยวข้องกับคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง คือว่าเป็ น
บุพการี หรือผูส
้ ืบสันดานไม่ว่าชัน
้ ใด ๆ หรือเป็ นพี่น้องหรือลูกพี่ลก
ู น้องนับ
ได้เพียงภายในสามชัน
้ หรือเป็ นญาติเกี่ยวพันทางแต่งงานนับได้เพียงสอง
ชัน

(๓) ถ้าเป็ นผู้ที่ได้ถูกอ้างเป็ นพยานโดยที่ได้ร้ไู ด้เห็นเหตุการณ์
หรือโดยเป็ นผู้เชี่ยวชาญมีความรู้เป็ นพิเศษเกี่ยวข้องกับคดีนน
ั้
(๔) ถ้าได้เป็ นหรือเป็ นผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้แทนหรือได้
เป็ นทนายความของคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมาแล้ว
(๕) ถ้าได้เป็ นผู้พิพากษานั่งพิจารณาคดีเดียวกันนัน
้ ในศาลอื่น
มาแล้ว หรือเป็ นอนุญาโตตุลาการมาแล้ว
(๖) ถ้ามีคดีอีกเรื่องหนึ่งอยู่ในระหว่างพิจารณาซึ่งผู้พิพากษา
นัน
้ เอง หรือภริยา หรือญาติทางสืบสายโลหิตตรงขึน
้ ไป หรือตรงลงมาของผู้
พิพากษานัน
้ ฝ่ ายหนึง่ พิพาทกับคูค
่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่  หรือภริยา หรือญาติ
ทางสืบสายโลหิตตรงขึน
้ ไปหรือตรงลงมาของคูค
่ วามฝ่ ายนัน
้ อีกฝ่ ายหนึ่ง
(๗) ถ ้า ผ ู้พ ิพ า กษ าน ัน
้ เ ป็ น เ จ ้า ห น ีห
้ ร ือ ล ูก ห น ี ้ ห ร ือ เ ป็ น
นายจ้างของคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง
 
มาตรา ๑๒  เมื่อ ศาลใดมีผ พ
ู้ ิพ ากษาแต่เ พีย งคนเดีย ว ผู้
พิพากษานัน
้ อาจถูกคัดค้านด้วยเหตุใดเหตุหนึ่งตามที่กำ หนดไว้ในมาตรา
ก่อนนัน
้ ได้ หรือด้วยเหตุประการอื่นอันมีสภาพร้ายแรงซึ่งอาจทำให้การ
พิจารณาหรือพิพากษาคดีเสียความยุติธรรมไป
 
มาตรา ๑๓  ถ้า มีเ หตุท ี่จ ะคัด ค้า นได้อ ย่า งใดอย่า งหนึ่ง ดัง ที่
กล่าวไว้ในสองมาตราก่อนเกิดขึน
้ แก่ผพ
ู้ ิพากษาคนใดที่นั่งในศาล
(๑) ผูพ
้ ิพากษานัน
้ เองจะยื่น คำบอกกล่าวต่อศาลแสดงเหตุที่
ตนอาจถูกคัดค้าน แล้วขอถอนตัวออกจากการนั่งพิจารณาคดีนน
ั ้ ก็ได้
(๒) คูค
่ วามที่เ กี่ย วข้อ งอาจยกข้อ คัด ค้า นขึน
้ อ้า งโดยทำเป็ น
คำร้องยื่นต่อศาลแต่ถ้าตนได้ทราบเหตุที่พึงคัดค้านได้ก่อนวันสืบพยาน ก็
ให้ย่ น
ื คำร้องคัดค้านเสียก่อนวันสืบพยานนัน
้ หรือถ้าทราบเหตุที่พึงคัดค้าน
ได้ในระหว่างพิจารณา ก็ให้ย่ น
ื คำร้องคัดค้านไม่ช้ากว่าวันนัดสืบพยานครัง้
ต่อไป แต่ต้องก่อนเริ่มสืบพยานเช่นว่านัน

เมื่อได้ย่ น
ื คำร้องดังกล่าวแล้ว ให้ศาลงดกระบวนพิจารณาทัง้
ปวงไว้ก่อนจนกว่าจะได้มคำ
ี ชีข
้ าดในเรื่องทีค
่ ด
ั ค้านนัน
้ แล้ว แต่ความข้อนีม
้ ิ
ให้ใ ช้แ ก่ก ระบวนพิจ ารณาซึง่ จะต้อ งดำเนิน โดยมิชก
ั ช้า   อนึ่ง กระบวน
พิจารณาทัง้ หลายที่ได้ดำเนินไปก่อนได้ย่ น
ื คำร้องคัดค้านก็ดี และกระบวน
พิจารณาทัง้ หลายในคดีที่จะต้องดำเนินโดยมิชักช้า แม้ถึงว่าจะได้ดำ เนิน
ไปภายหลังที่ได้ย่ น
ื คำร้องคัดค้านก็ดี เหล่านีย
้ ่อมสมบูรณ์ไม่เสียไป เพราะ
เหตุที่ศาลมีคำ สั่ง ยอมฟั งคำคัดค้า น เว้นแต่ศาลจะได้กำ หนดไว้ในคำสั่ง
เป็ นอย่างอื่น
ถ้า ศาลใดมีผ ู้พ ิพ ากษาคนเดีย ว และผู้พ ิพ ากษาคนนั น
้ ถูก
คัด ค้า น หรือ ถ้า ศาลใดมี ผพ
ู้ ิพากษาหลายคน และผูพ
้ ิพากษาทัง้ หมดถูก
คัดค้าน ให้ศาลซึ่งมีอำนาจสูงกว่าศาลนัน
้ ตามลำดับเป็ นผู้ชข
ี ้ าดคำคัดค้าน
ถ้า ศาลใดมีผ ู้พ ิพ ากษาหลายคน และผูพ
้ พ
ิ ากษาที่ม ิไ ด้ถ ูก
คัดค้านรวมทัง้ ข้าหลวงยุติธรรม ถ้าได้นงั่ พิจารณาด้วยมี จำ นวนครบที่จะ
เป็ นองค์คณะและมีเสียงข้างมากตามที่กฎหมายต้อ งการ ให้ศ าลเช่น ว่า
นัน
้ เป็ นผู้ช ีข
้ าดคำคัดค้า น แต่ใ นกรณีท ี่อ ยู่ใ นอำนาจของผู้พ ิพ ากษาคน
เดีย วจะชีข
้ าดคำ คัด ค้า น ห้า มมิใ ห้ผ พ
ู้ ิพ ากษาคนนัน
้ มีคำ สั่ง ให้ย กคำ
คัดค้าน โดยผู้พพ
ิ ากษาอีกคนหนึง่ หรือข้าหลวงยุติธรรมมิได้เห็นพ้องด้วย
ถ้า ศาลใดมีผ ู้พ ิพ ากษาหลายคน และผูพ
้ พ
ิ ากษาที่ม ิไ ด้ถ ูก
คัดค้าน แม้จะนับรวมข้าหลวงยุติธรรมเข้า ด้วย ยัง มี จำ นวนไม่ครบที่จะ
เป็ นองค์ค ณะและมีเ สีย งข้า งมากตามที่ก ฎหมายต้อ งการ หรือ ถ้า ผ ู้
พิพ ากษาคนเดียวไม่ส ามารถมี คำ สั่ง ให้ยกคำคัด ค้า นเสียด้วยความเห็น
พ้อ งของผู้พ ิพ ากษาอีกคนหนึ่ง หรือข้าหลวงยุติธรรมตามที่บัญญัติไว้ใน
วรรคก่อ น ให้ศ าลซึ่ง มีอำ นาจสูง กว่า ศาลนัน
้ ตามลำดับ เป็ นผู้ช ข
ี ้ าดคำ
คัดค้าน
 
มาตรา ๑๔  เมื่อได้มีการร้องคัดค้านขึน
้ และผู้พพ
ิ ากษาที่ถูก
คัดค้านไม่ยอมถอนตัวออกจากการนั่งพิจารณาคดี ให้ศาลฟั งคำแถลงของ
คำคู่ความฝ่ ายที่เกี่ยวข้องและของผู้พิพากษาที่ถ ูกคัดค้าน กับ ทำการสืบ
พยานหลักฐานที่บุคคลเหล่านัน
้ ได้นำมาและพยานหลักฐานอื่นตามที่เห็น
สมควร แล้วออกคำสั่งยอมรับหรือยกเสียซึ่ง คำคัดค้านนัน
้ คำสั่งเช่นว่านี ้
ให้เป็ นที่สุด
เมื่อ ศาลที่ผ ู้พ ิพ ากษาแห่ง ศาลนัน
้ เองถูก คัด ค้า น จะต้อ ง
วิน ิจ ฉัย ชีข
้ าดคำคัดค้า นห้ามมิให้ผพ
ู้ พ
ิ ากษาที่ถูกคัดค้านนัน
้ นั่งหรือออก
เสียงกับผู้พพ
ิ ากษาอื่น ๆ ในการพิจารณาและชีข
้ าดคำคัดค้านนัน

ถ้าผู้พิพากษาคนใดได้ขอถอนตัวออกจากการนั่งพิจารณาคดีก็
ดี หรือศาลได้ยอมรับ คำคัดค้านผูพ
้ ิพากษาคนใดก็ดี ให้ผ ู้พพ
ิ ากษาคนอื่น
ทำการแทนตามบทบัญญัติในพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
 
หมวด ๓
อำนาจและหน้าที่ของศาล
                  
 
มาตรา ๑๕  ห้ามมิให้ศาลใช้อำนาจนอกเขตศาล เว้นแต่
(๑) ถ้าบุคคลผู้ที่จะถูกซักถามหรือถูกตรวจ หรือบุคคลผู้เป็ น
เจ้าของทรัพย์หรือสถานที่ซึ่งจะถูกตรวจมิได้ยกเรื่องเขตศาลขึน
้ คัดค้าน
ศาลจะทำการซักถามหรือตรวจดังว่านัน
้ นอกเขตศาลก็ได้
(๒) ศาลจะออกหมายเรียกคู่ความหรือบุคคลนอกเขตศาลก็ได้
ส่วนการที่จะนำบทบัญญัติมาตรา ๓๑, ๓๓, ๑๐๘, ๑๐๙ และ ๑๑๑ แห่ง
ประมวลกฎหมายนีแ
้ ละมาตรา ๑๔๗ แห่งกฎหมายลักษณะอาญามาใช้
บังคับได้นน
ั ้ ต้องให้ศาลซึ่งมีอำนาจในเขตศาลนัน
้ สลักหลังหมายเสียก่อน
(๓)[๒ ๐ ] หมายบัง คับ คดีแ ละหมายของศาลที่อ อกให้จ ับ และ
กักขังบุคคลผู้ใดตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี ้ อาจบังคับได้ไม่ว่า
ในที่ใด ๆ
ในกรณีที่มีการบังคับคดีนอกเขตศาลที่มีอำ นาจในการบังคับ
คดี ให้บงั คับตามมาตรา ๒๗๑ วรรคสาม วรรคสี่ และวรรคห้า[๒๑]
คดีที่ศาลแพ่งได้รับไว้พิจารณาพิพากษาตามพระธรรมนูญศาล
ยุติธรรมหรือที่ได้โอนไปยังศาลแพ่งตามมาตรา ๖/๑ ให้ศาลแพ่งมีอำนาจ
ดำเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ นอกเขตศาลได้ตามที่เห็นสมควร[๒๒]
 
มาตรา ๑๖  ถ้าจะต้องทำการซักถาม หรือตรวจ หรือ ดำเนิน
กระบวนพิจารณาใด ๆ
(๑) โดยศาลชัน
้ ต้นศาลใด นอกเขตศาลนัน
้ หรือ
(๒) โดยศาลแพ่งหรือศาลอาญา นอกเขตจังหวัดพระนครและ
ธนบุรีหรือโดยศาลอุทธรณ์หรือฎีกา
ให้ศาลที่กล่าวแล้วมีอำ นาจที่จะแต่งตัง้ ศาลอื่นที่เป็ นศาลชัน

ต้นให้ทำการซักถามหรือตรวจภายในบังคับบทบัญญัติมาตรา ๑๐๒ หรือ
ดำเนินกระบวนพิจารณาแทนได้
 
มาตรา ๑๗  คดีที่ได้ย่ น
ื ฟ้ องไว้ต่อศาลนัน
้ ให้ศาลดำเนินการ
ไปตามลำดับเลขหมายสำนวนในสารบบความ เว้นแต่ศาลจะกำหนดเป็ น
อย่างอื่นเมื่อมีเหตุผลพิเศษ
 
มาตรา ๑๘  ให้ศาลมีอำ นาจที่จะตรวจคำคู่ค วามที่พนักงาน
เจ้าหน้าที่ของศาลได้รับไว้เพื่อยื่นต่อศาล หรือส่งให้แก่ค ค
ู่ วาม หรือบุคคล
ใด ๆ
ถ้าศาลเห็นว่าคำคู่ความที่ได้ย่ น
ื ไว้ดังกล่าวแล้วนัน
้ อ่านไม่ออก
หรืออ่านไม่เข้าใจหรือเขียนฟุ ่มเฟื อยเกินไป หรือไม่มีรายการ ไม่มีลายมือ
ชื่อ ไม่แนบเอกสารต่าง ๆ ตามที่กฎหมายต้องการ หรือมิได้ ชำระหรือวาง
ค่าธรรมเนียมศาลโดยถูกต้องครบถ้วน ศาลจะมีคำสั่งให้คืนคำคู่ความนัน

ไปให้ทำมาใหม่ หรือแก้ไขเพิ่มเติม หรือชำระหรือวางค่าธรรมเนียมศาลให้
ถูกต้องครบถ้วน ภายในระยะเวลาและกำหนดเงื่อนไขใด ๆ ตลอดจนเรื่อง
ค่าฤชาธรรมเนียมตามที่ศาลเห็นสมควรก็ได้ ถ้ามิได้ปฏิบัติตามข้อ กำหนด
ของศาลในระยะเวลาหรือเงื่อนไขที่กำ หนดไว้ก็ให้มีคำ สั่งไม่รับคำคู่ความ
นัน
้ [๒๓]
ถ้าศาลเห็นว่าคำคูค
่ วามที่ได้นำมายื่นดังกล่าวข้างต้น มิได้เป็ น
ไปตามเงื่อนไขแห่งกฎหมายที่บังคับไว้ นอกจากที่กล่าวมาในวรรคก่อน
และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเห็นว่าสิทธิของคู่ความหรือบุคคลซึ่งยื่น คำคู่
ความนัน
้ ได้ถูกจำกัดห้ามโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมายเรื่องเขตอำนาจศาล
ก็ให้ศาลมีคำสั่งไม่รับหรือคืนคำคูค
่ วามนัน
้ ไปเพื่อยื่นต่อศาลที่มีเขตอำนาจ
ถ้า ไม่ม ีข ้อ ขัด ข้อ งดัง กล่า วแล้ว ก็ใ ห้ศ าลจดแจ้ง แสดงการ
รับคำคู่ความนั น
้ ไว้บนคำคู่ความนัน
้ เองหรือในที่อ่ น

คำสั่ง ของศาลที่ไ ม่ร ับ หรือ ให้ค ืน คำคู่ค วามตามมาตรานี ้ ให้
อุทธรณ์และฎีกาได้ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๒๗, ๒๒๘ และ ๒๔๗
 
มาตรา ๑๙  ศาลมีอำนาจสัง่ ได้ตามทีเ่ ห็นสมควรให้คค
ู่ วามทุก
ฝ่ าย หรือฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ มาศาลด้วยตนเอง ถึงแม้วา่ คูค
่ วามนัน
้ ๆ จะได้มี
ทนายความว่าต่างแก้ตา่ งอยูแ
่ ล้วก็ดี  อนึง่ ถ้าศาลเห็นว่า การที่ค ู่ความมา
ศาลด้ว ยตนเองอาจยัง ให้เ กิด ความตกลงหรือ การประนีป ระนอมยอม
ความดัง ที่บ ัญ ญัติไ ว้ในมาตราต่อ ไปนี ้ ก็ใ ห้ศ าลสั่ง ให้ค ู่ค วามมาศาลด้วย
ตนเอง
 
มาตรา ๒๐[๒๔]  ไม่ว่าการพิจารณาคดีจะได้ดำเนินไปแล้วเพียง
ใ ด ใ ห ้ศ า ล ม ีอำ น า จ ท ี่จ ะ ไ ก ล ่เ ก ล ี่ย ใ ห ้ค ู่ค ว า ม ไ ด ้ต ก ล ง ก ัน ห ร ือ
ประนีประนอมยอมความกันในข้อที่พิพาทนัน

 
มาตรา ๒๐ ทวิ[๒๕]  เพื่อ ประโยชน์ในการไกล่เ กลี่ย เมื่อ ศาล
เห็นสมควรหรือเมื่อคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งร้องขอ ศาลจะสั่งให้ดำเนินการ
เป็ นการลับเฉพาะต่อหน้าตัวความทุกฝ่ ายหรือฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งโดยจะให้มี
ทนายความอยู่ด้วยหรือไม่ก็ได้
เมื่อ ศาลเห็น สมควรหรือ เมื่อ คู่ค วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง ร้อ งขอ
ศาลอาจแต่งตัง้ บุคคลหรือคณะบุคคลเป็ นผูป
้ ระนีประนอม เพื่อช่วยเหลือ
ศาลในการไกล่เกลีย
่ ให้คค
ู่ วามได้ประนีประนอมกัน
หลักเกณฑ์และวิธีการในการไกล่เกลี่ยของศาล การแต่งตัง้ ผู้
ประนีประนอม รวมทัง้ อำนาจหน้าที่ของผู้ประนีประนอม ให้เป็ นไปตามที่
กำหนดไว้ใ นข้อ กำหนดของประธานศาลฎีก าโดยความเห็น ชอบของที่
ประชุมใหญ่ของศาลฎีกา[๒๖]
ข้อ กำ หนดของประธานศาลฎีก าตามวรรคสาม เมื่อ ได้
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้[๒๗]
 
มาตรา ๒๐ ตรี[๒๘]  ก่อนยื่นฟ้ องคดี บุคคลที่จะเป็ นคู่ความอาจ
ยื่นคำร้องต่อศาลที่มีเขตอำนาจหากมีการฟ้ องคดีนัน
้ เพื่อขอให้ศาลแต่ง
ตัง้ ผู้ป ระนีป ระนอมทำ หน้า ที่ไ กล่เ กลี่ย ให้ค ู่ก รณีท ี ่ เ กี ่ ย วข้ อ งได้ ต กลง
หรื อ ประนีป ระนอมยอมความกั น ในข้ อ ที ่ พ ิ พ าท โดยคำร้ อ งนั น
้ ให้ ร ะบุ
ชื่ อ และภูมิลำเนาของคู่กรณีที่เกี่ยวข้อง รวมทัง้ รายละเอียดของข้อพิพาท
เมื่อศาลเห็นสมควร ให้ศาลรับคำร้องนัน
้ ไว้แล้วดำเนินการสอบถามความ
สมัครใจของคูก
่ รณีอก
ี ฝ่ ายหนึง่ ในการเข้าร่วมการไกล่เกลีย
่  หากคู่กรณีอีก
ฝ่ ายหนึ่ง ยิน ยอมเข้า ร่ว มการไกล่เ กลี่ย ให้ศ าลมี อำ นาจเรีย กคู่ก รณีท ี่
เกี่ยวข้อ งมาศาลด้วยตนเองโดยคูก
่ รณีจะมีทนายความมาด้วยหรือไม่กไ็ ด้
และแต่งตัง้ ผูป
้ ระนีประนอมดำเนินการไกล่เกลีย
่ ต่อ ไปโดยให้นำ ความใน
มาตรา ๒๐ ทวิม าใช้บ ัง คับ โดยอนุโ ลม ถ้า คู่ก รณีท ี่เ กี่ย วข้อ งสามารถ
ตกลงหรือ ประนีป ระนอมยอมความกัน ได้ใ ห้ผ ู้ป ระนีป ระนอมเสนอข้อ
ตกลงหรือสัญญาประนีประนอมยอมความต่อศาล หากศาลพิจารณาแล้ว
เห็นว่าข้อตกลงหรือสัญญาประนีประนอมยอมความเป็ นไปตามเจตนาของ
คูก
่ รณี หลักแห่งความสุจริต เป็ นธรรม และไม่ฝ่าฝื นต่อกฎหมาย ก็ให้คก
ู่ รณี
ลงลายมือชื่อในข้อตกลงหรือสัญญาประนีประนอมยอมความนัน

ในวัน ทำข้อตกลงหรือ สัญ ญาประนีป ระนอมยอมความตาม
วรรคหนึ่ง คู่ส ัญ ญาอาจร้องขอให้ศาลมีคำพิพากษาตามยอม พร้อมแสดง
เหตุผลความจำเป็ นต่อศาล หากศาลเห็นว่ากรณีม ีค วามจำเป็ นที่ส มควร
จะมีคำ พิพ ากษาไปในเวลานั น
้ ก็ใ ห้ศ าลมี คำ พิพ ากษาไปตามข้อ ตกลง
หรือสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวได้โดยให้นำ ความในมาตรา
๑๓๘ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
การขอและการดำเนินการตามมาตรานี ้ ไม่ต้องเสียค่าขึน
้ ศาล
คำสัง่ ของศาลที่ออกตามความในมาตรานีใ้ ห้เป็ นที่สุด
เมื่อศาลมีคำ สั่งแต่งตัง้ ผู้ประนีประนอมแล้วแต่การไกล่เกลี่ย
สิน
้ สุดลงโดยไม่เป็ นผล หากปรากฏว่าอายุความครบกำหนดไปแล้วหลัง
จากยื่น คำร้อ งหรือ จะครบกำหนดภายในหกสิบ วัน นับ แต่ว ัน ที่ก ารไกล่
เกลี่ยสิน
้ สุดลง ให้อายุความขยายออกไปอีกหกสิบวันนับแต่วันที่การไกล่
เกลี่ยสิน
้ สุดลง
 
มาตรา ๒๑  เมื่อ คู่ค วามฝ่ ายใดเสนอคำขอหรือ คำแถลงต่อ
ศาล
(๑) ถ้าประมวลกฎหมายนีม
้ ิได้บัญญัติว่า คำขอหรือคำแถลง
จะต้องทำเป็ นคำร้องหรือเป็ นหนังสือ ก็ให้ศาลมีอำนาจที่จะยอมรับคำขอ
หรือคำแถลงที่คู่ความได้ทำในศาลด้วยวาจาได้ แต่ศาลต้องจดข้อความนัน

ลงไว้ใ นรายงาน หรือ จะกำหนดให้ค ู่ค วามฝ่ ายนัน
้ ยื่น คำขอโดยทำเป็ น
คำร้อง หรือยื่นคำแถลงเป็ นหนังสือก็ได้ แล้วแต่ศาลจะเห็นสมควร
(๒) ถ้า ประมวลกฎหมายนีม
้ ิไ ด้บ ัญ ญัต ิไ ว้ว ่า คำขออัน ใดจะ
ทำได้แต่ฝ่ายเดียวห้ามมิให้ศาลทำคำสั่งในเรื่องนัน
้ ๆ โดยมิให้ค ู่ความอีก
ฝ่ ายหนึ่งหรือคู่ความอื่น ๆ มีโอกาสคัดค้านก่อน  แต่ทงั ้ นี ้ ต้องอยู่ในบังคับ
แห่งบทบัญญัติของประมวลกฎหมายนีว้ ่าด้วยการขาดนัด
(๓) ถ้าประมวลกฎหมายนีบ
้ ัญญัติไว้ว่า คำขออันใดอาจทำได้
แต่ฝ่ายเดียวแล้ว ให้ศาลมีอำ นาจที่จะฟั งคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งหรือคู่ความ
อื่น ๆ ก่อ นออกคำสั่ง ในเรื่อ งนัน
้ ๆ ได้ เว้น แต่ใ นกรณี ที่คำ ขอนัน
้ เป็ น
เรื่อ งขอหมายเรีย กให้ใ ห้ก าร หรือ เพื่อ ยึด หรือ อายัด ทรัพ ย์ส ิน ก่อ นคำ
พิพากษาหรือเพื่อให้ออกหมายบังคับ หรือเพื่อจับหรือกักขังจำเลยหรือลูก
หนีต
้ ามคำพิพากษา
(๔) ถ้าประมวลกฎหมายนีม
้ ิได้บัญญัติไว้ว่าศาลต้องออกคำสั่ง
อนุญาตตามคำขอที่ได้เสนอต่อศาลนัน
้ โดยไม่ต้องทำการไต่สวนแล้ว ก็ให้
ศาลมีอำนาจทำการไต่สวนได้ตามที่เห็นสมควรก่อนมีคำสั่งตามคำขอนัน

ในกรณีเรื่องใดที่ศาลอาจออกคำสั่งได้เองหรือต่อเมื่อคูค
่ วามมี
คำขอ ให้ใช้บทบัญญัติอนุมาตรา (๒), (๓) และ (๔) แห่งมาตรานีบ
้ ังคับ
ในกรณีเรื่องใดที่ค ู่ความไม่มีอำ นาจขอให้ศาลมีคำ สัง่ แต่หาก
ศาลอาจมีคำ สั่ง ในกรณีเ รื่อ งนัน
้ ได้เ อง ให้ศ าลมีอำ นาจภายในบัง คับ
บทบัญ ญัต ิแ ห่ง มาตรา ๑๐๓ และ ๑๘๑ (๒) ที่จ ะงดฟั งคู่ค วามหรือ งด
ทำการไต่สวนก่อนออกคำสั่งได้
 
มาตรา ๒๒  กำหนดระยะเวลาทัง้ ปวงไม่วา่ ทีก
่ ฎหมายกำหนดไว้
หรือทีศ
่ าลเป็ นผูกำ
้ หนดก็ดี เพื่อให้ดำเนินหรือมิให้ดำเนินกระบวนพิจารณา
ใด ๆ ก่อนสิน
้ ระยะเวลานัน
้ ให้ศาลคำนวณตามบทบัญญัติแห่งประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยระยะเวลา
 
มาตรา ๒๓  เมื่อศาลเห็นสมควรหรือมีค ู่ความฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง
ได้ย่ น
ื คำขอโดยทำเป็ นคำร้อง ให้ศาลมีอำนาจที่จะออกคำสั่งขยายหรือย่น
ระยะเวลาตามที่กำหนดไว้ในประมวลกฎหมายนีห
้ รือตามที่ศาลได้กำหนด
ไว้ หรือ ระยะเวลาที่เ กี่ย วด้ว ยวิธ ีพ ิจ ารณาความแพ่ง อัน กำ หนดไว้ใ น
กฎหมายอื่น เพื่อให้ดำเนินหรือมิให้ดำเนินกระบวนวิธีพิจารณาใด ๆ ก่อน
สิน
้ ระยะเวลานัน
้ แต่ก ารขยายหรือ ย่น เวลาเช่น ว่า นีใ้ ห้พ ึง ทำได้ต ่อ เมื่อ มี
พฤติก ารณ์พ ิเ ศษ และศาลได้ม ีคำ สั่ง หรือ คู่ค วามมีคำ ขอขึน
้ มาก่อ นสิน

ระยะเวลานัน
้ เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย
 
มาตรา ๒๔  เมื่อคู่ความฝ่ ายใดยกปั ญหาข้อกฎหมายขึน
้ อ้าง
ซึง่ ถ้าหากได้วินิจฉัยให้เป็ นคุณแก่ฝ่ายนัน
้ แล้ว จะไม่ต้องมีการพิจารณาคดี
ต่อไปอีก หรือไม่ต้องพิจารณาประเด็น สำคัญแห่งคดีบางข้อ หรือถึงแม้จะ
ดำเนินการพิจารณาประเด็นข้อสำคัญแห่งคดีไป ก็ไม่ทำให้ได้ความชัดขึน
้ อีก
แล้ว เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมีคำขอ ให้ศาลมี
อำนาจที่จ ะมีคำ สั่ง ให้มีผ ลว่า ก่อ นดำเนิน การพิจ ารณาต่อ ไป ศาลจะได้
พิจารณาปั ญหาข้อกฎหมายเช่นว่านีแ
้ ล้ววินิจฉัยชีข
้ าดเบื้องต้นในปั ญหา
นัน

ถ้าศาลเห็นว่าคำวินิจฉัยชีข
้ าดเช่นว่านีจ
้ ะทำให้คดีเสร็จไปได้
ทัง้ เรื่องหรือเฉพาะแต่ประเด็นแห่งคดีบางข้อ ศาลจะวินิจฉัยชีข
้ าดปั ญหา
ที่กล่าวแล้วและพิพากษาคดีเรื่องนัน
้ หรือเฉพาะแต่ประเด็นที่เกี่ยวข้องไป
โดยคำพิพากษาหรือคำสั่งฉบับเดียวกันก็ได้
คำสั่งใด ๆ ของศาลที่ได้ออกตามมาตรานี ้ ให้อุทธรณ์และฎีกา
ได้ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๒๗, ๒๒๘ และ ๒๔๗
 
มาตรา ๒๕  ถ้าคูค
่ วามฝ่ ายใดยื่น คำขอโดยทำเป็ นคำร้อ งให้
ศาลสัง่ กำหนดวิธีการอย่างใด ๆ ที่บัญญัติไว้ในภาค ๔ เพื่อคุ้มครองสิทธิ
ของคูค
่ วามในระหว่างการพิจารณา หรือเพื่อบังคับตามคำพิพากษาหรือ
คำสัง่ ให้ศาลมีคำสั่งอนุญาตหรือยกคำขอนัน
้ เสียโดยไม่ชักช้า
ถ้า ในเวลาที่ย่ น
ื คำขอนัน
้ ศาลจะชีข
้ าดคดีไ ด้อ ยู่แ ล้ว ศาลจะ
วินิจฉัยคำขอนัน
้ ในคำพิพากษา หรือในคำสั่งชีข
้ าดคดีก็ได้
 
มาตรา ๒๖  ถ้าศาลได้ต งั ้ ข้อ ถาม หรือ ออกคำสัง่ หรือ ชีข
้ าด
เกี่ยวด้วยการดำเนินคดีเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งในคดี
เรื่องนัน
้ คัดค้านข้อถามหรือคำสั่งหรือคำชีข
้ าดนัน
้ ว่าไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ก่อนที่ศาลจะดำเนินคดีต่อไป ให้ศาลจดข้อถามหรือ คำสั่งหรือคำชีข
้ าดที่
ถูกคัดค้านและสภาพแห่งการคัดค้านลงไว้ในรายงาน แต่ส่วนเหตุผลที่ผ ู้
คัดค้านยกขึน
้ อ้างอิงนัน
้ ให้ศาลใช้ดุลพินิจจดลงไว้ในรายงาน หรือ กำหนด
ให้คค
ู่ วามฝ่ ายที่คัดค้านยื่นคำแถลงเป็ นหนังสือเพื่อรวมไว้ในสำนวน
 
มาตรา ๒๗  ในกรณีที่มิได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งประมวล
กฎหมายนีใ้ นข้อที่มุ่งหมายจะยังให้การเป็ นไปด้วยความยุติธรรม หรือที่
เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนในเรื่องการเขียน และการยื่น
หรือ การส่ง คำคู่ค วามหรือ เอกสารอื่น ๆ หรือ ในการพิจ ารณาคดี การ
พิจารณาพยานหลักฐาน หรือการบังคับคดี เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคู่
ความฝ่ ายที่เสียหายเนื่องจากการที่มิได้ปฏิบัติเช่นว่านัน
้ ยื่น คำขอโดยทำ
เป็ นคำร้อง ให้ศาลมีอำนาจที่จะสั่งให้เพิกถอนการพิจารณาที่ผิดระเบียบ
นัน
้ เสียทัง้ หมดหรือบางส่วน หรือสั่งแก้ไขหรือมีคำ สั่งในเรื่องนัน
้ อย่างใด
อย่างหนึ่ง ตามที่ศาลเห็นสมควร
ข้อค้านเรื่องผิดระเบียบนัน
้ คูค
่ วามฝ่ ายทีเ่ สียหายอาจยกขึน

กล่าวได้ไม่วา่ ในเวลาใด ๆ ก่อนมีคำพิพากษา แต่ต้องไม่ช้ากว่าแปดวันนับ
แต่วันที่คู่ความฝ่ ายนัน
้ ได้ทราบข้อความหรือพฤติการณ์อันเป็ นมูลแห่งข้อ
อ้างนัน
้ แต่ทงั ้ นีค
้ ู่ความฝ่ ายนัน
้ ต้องมิได้ดำเนินการอันใดขึน
้ ใหม่หลังจากที่
ได้ทราบเรื่องผิดระเบียบแล้ว หรือต้องมิได้ให้สัตยาบันแก่การผิดระเบียบ
นัน
้ ๆ
ถ้าศาลสั่งให้เพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบใด ๆ อัน
มิใช่เรื่องที่คู่ความละเลยไม่ดำเนินกระบวนพิจารณาเรื่องนัน
้ ภายในระยะ
เวลาซึง่ กฎหมายหรือศาลกำหนดไว้ เพียงเท่านีไ้ ม่เป็ นการตัดสิทธิค ู่ความ
ฝ่ ายนัน
้ ในอันที่จะดำเนินกระบวนพิจารณานัน
้ ๆ ใหม่ให้ถ ูก ต้องตามที่
กฎหมายบังคับ
 
มาตรา ๒๘  ถ้า มีค ดีห ลายเรื่อ งค้า งพิจ ารณาอย ู่ใ นศาล
เดียวกันหรือในศาลชัน
้ ต้น สองศาลต่า งกัน และคู่ค วามทัง้ หมด หรือ แต่
บางฝ่ ายเป็ นคู่ความรายเดียวกัน กับทัง้ การพิจารณาคดีเหล่านัน
้ ถ้าได้รวม
กันแล้ว จะเป็ นการสะดวก หากศาลนัน
้ หรือศาลหนึง่ ศาลใดเหล่านัน
้ เห็น
สมควรให้พิจารณาคดีรวมกัน หรือหากคู่ความทัง้ หมดหรือแต่บางฝ่ ายมี
คำขอให้พิจารณาคดีรวมกันโดยแถลงไว้ในคำให้การหรือทำเป็ นคำร้องไม่
ว่าในเวลาใด ๆ ก่อนมีคำ พิพากษา เมื่อศาลได้ฟังคูค
่ วามทุกฝ่ ายแห่งคดี
นัน
้ ๆ แล้ว ถ้าศาลเป็ นทีพ
่ อใจว่า คดีเ หล่า นัน
้ เกี่ย วเนื่อ งกัน ก็ให้ศ าลมี
อำนาจออกคำสั่งให้พิจารณาคดีเหล่านัน
้ รวมกัน
ถ้าจะโอนคดีมาจากอีกศาลหนึ่งหรือโอนคดีไปยังอีกศาลหนึ่ง
ที่มีเขตอำนาจเหนือคดีน ั น
้ ศาลจะมี คำ สั่งก่อ นที่ได้รับ ความยิน ยอมของ
อีก ศาลหนึ่ง นั น
้ ไม่ไ ด้ แต่ถ ้า ศาลที่จ ะรับ โอนคดีไ ม่ย ิน ยอม  ก็ใ ห้ศ าลที่
จะโอนคดีน ั น
้ ส่งเรื่ องให้อธิบ ดีผ ู้พ ิพ ากษาศาลอุท ธรณ์ช ี ข
้ าด คำสั่ง ของ
อธิบดีผ ู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ให้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๒๙  ถ้าคดีที่ฟ้องกันนัน
้ มีข้อหาหลายข้อด้วยกันและ
ศาลเห็นว่าข้อหาข้อหนึง่ ข้อใดเหล่านัน
้ มิได้เกี่ยวข้องกันกับข้ออื่น ๆ เมื่อ
ศาลเห็น สมควร หรือ เมื่อ คู่ค วามผู้ม ีส ่ว นได้เ สีย ได้ย่ ืน คำขอโดยทำเป็ น
คำ ร้อ งให้ศ าลมีคำ สั่ง ให้แ ยกคดีเ สีย โดยเร็ว ถ้า โจทก์ป ระสงค์จ ะให้
พิจารณาข้อหาเช่นว่านัน
้ ต่อไป ก็ให้ศาลดำเนินการพิจารณาคดีไปเสมือน
หนึ่งว่าเป็ นคดีอีกเรื่องหนึ่งต่างหาก โดยมีเงื่อนไขที่ศาลจะกำหนดไว้ตามที่
เห็นสมควร
ถ้าคดีที่ฟ้องกันนัน
้ มีข้อหาหลายข้อ และศาลเห็นว่าหากแยก
พิจารณาข้อหาทัง้ หมดหรือข้อ ใดข้อ หนึ่ง ออกจากกัน แล้ว จะทำให้ก าร
พิจารณาข้อหาเหล่านัน
้ สะดวก ไม่ว่าเวลาใด ๆ ก่อ นมี คำ พิพากษา เมื่อ
ศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคูค
่ วามผู้มีส่วนได้เสียยื่นคำขอโดยทำเป็ นคำร้อง
และเมื่อศาลได้ฟังคู่ความทุกฝ่ ายแล้ว ให้ศาลมีอำ นาจสั่งแยกข้อหาเหล่า
นัน
้ ทัง้ หมดหรือแต่ข้อใดข้อหนึ่งออกพิจารณาต่างหากเป็ นเรื่อง ๆ ไป
 
มาตรา ๓๐  ให้ศาลมีอำ นาจออกข้อ กำหนดใด ๆ แก่คค
ู่ วาม
ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ หรือแก่บค
ุ คลภายนอกทีอ
่ ยูต
่ อ
่ หน้าศาลตามทีเ่ ห็น จำเป็ น
เพื่อรักษาความเรียบร้อยในบริเวณศาล และเพื่อให้กระบวนพิจารณาดำเนิน
ไปตามเทีย
่ งธรรมและรวดเร็ว อำนาจเช่นว่านี ้ ให้รวมถึงการสัง่ ห้ามคูค
่ วามมิ
ให้ดำ เนินกระบวนพิจารณาในทางก่อความรำคาญ หรือในทางประวิงให้
ชักช้าหรือในทางฟุ ม
่ เฟื อยเกินสมควร
 
มาตรา ๓๑[๒๙]  ผู้ใดกระทำการอย่างใด ๆ ดังกล่าวต่อไปนี ้ ให้
ถือว่ากระทำผิดฐานละเมิดอำนาจศาล
(๑) ขัดขืน ไม่ป ฏิบ ัต ิต ามข้อ กำหนดของศาลตามมาตราก่อ น
อัน ว่า ด้ว ยการรัก ษาความเรีย บร้อ ย หรือ ประพฤติต นไม่เ รีย บร้อ ยใน
บริเวณศาล
(๒)[๓๐] เมื่อได้มีคำ ร้องและได้รับอนุญาตจากศาลให้ยกเว้นค่า
ธรรมเนียมศาลตามมาตรา ๑๕๖/๑ แล้ว ปรากฏว่าได้แ สดงข้อเท็จจริง
หรือเสนอพยานหลักฐานอันเป็ นเท็จต่อศาลในการไต่สวนคำร้องขอยกเว้น
ค่าธรรมเนียมศาล
(๓) เมื่อรู้ว่าจะมีการส่งคำคูค
่ วามหรือส่งเอกสารอื่น ๆ ถึงตน
แล้ว จงใจไปเสีย ให้พ ้น หรือ หาทางหลีก เลี่ย งที่จ ะไม่ร ับ คำคู่ค วามหรือ
เอกสารนัน
้ โดยสถานอื่น
(๔) ตรวจเอกสารทัง้ หมด หรือ ฉบับ ใดฉบับ หนึ่ง ซึ่ง อยู่ใ น
สำ นวนความ หรือ คัด เอาสำ เนาเอกสารเหล่า นัน
้ ไป โดยฝ่ าฝื นต่อ
บทบัญญัติ มาตรา ๕๔
(๕)[๓๑] ขัดขืนไม่มาศาล เมื่อศาลได้มีคำสั่งตามมาตรา ๑๙ หรือ
เมื่อมีหมายเรียกลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือบุคคลอื่นตามมาตรา ๒๗๗
 
มาตรา ๓๒  ผู้ใ ดเป็ นผู้ป ระพัน ธ์ บรรณาธิก าร หรือ ผูพ
้ ิม พ์
โฆษณาซึ่งหนังสือพิมพ์ หรือสิ่งพิมพ์อันออกโฆษณาต่อประชาชน ไม่ว่า
บุคคลเหล่านัน
้ จะได้ร้ถ
ู ึงซึ่งข้อความหรือการออกโฆษณาแห่งหนังสือพิมพ์
หรือสิ่งพิมพ์เช่นว่านัน
้ หรือไม่ ให้ถือว่าได้กระทำผิดฐานละเมิดอำนาจศาล
ในกรณีอย่างใดอย่างหนึ่งในสองอย่างดังจะกล่าวต่อไปนี ้
(๑) ไม่ว่าเวลาใด ๆ ถ้าหนังสือพิมพ์หรือสิ่งพิมพ์เช่นว่ามานัน

ได้กล่าวหรือแสดงไม่ว่าโดยวิธีใด ๆ ซึ่งข้อความหรือความเห็นอันเป็ นการ
เปิ ดเผยข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์อ่ น
ื ๆ แห่งคดี หรือกระบวนพิจารณาใด
ๆ แห่งคดี ซึง่ เพื่อความเหมาะสมหรือเพื่อคุ้มครองสาธารณประโยชน์ ศาล
ได้ม ีคำ สัง่ ห้า มการออกโฆษณาสิ่ง เหล่า นัน
้ ไม่ว ่า โดยวิธ ีเ พีย งแต่ส ั่ง ให้
พิจารณาโดยไม่เปิ ดเผยหรือโดยวิธีห้ามการออกโฆษณาโดยชัดแจ้ง
(๒) ถ้าหนังสือพิมพ์หรือสิ่งพิมพ์ ได้กล่าวหรือแสดงไม่ว่าโดย
วิธีใด ๆ ในระหว่างการพิจารณาแห่งคดีไปจนมีคำ พิพากษาเป็ นที่สุด ซึ่ง
ข้อความหรือความเห็น โดยประสงค์จะให้มีอ ิทธิพ ลเหนือ ความรู้ส ึก ของ
ประชาชน หรือเหนือศาลหรือเหนือคูค
่ วามหรือเหนือพยานแห่งคดีซึ่งพอ
เห็นได้ว่าจะทำให้การพิจารณาคดีเสียความยุติธรรมไป เช่น
ก. เป็ นการแสดงผิดจากข้อเท็จจริงแห่งคดี หรือ
ข. เป็ นรายงานหรือย่อเรื่องหรือวิภาค ซึ่งกระบวนพิจารณา
แห่งคดีอย่างไม่เป็ นกลางและไม่ถูกต้อง หรือ
ค. เป็ นการวิภาคโดยไม่เ ป็ นธรรม ซึ่งการดำเนิน คดีข องคู่
ความ หรือ คำพยานหลัก ฐาน หรือ นิส ัย ความประพฤติข องคูค
่ วามหรือ
พยาน รวมทัง้ การแถลงข้อ ความอัน เป็ นการเสื่อ มเสียต่อ ชื่อ เสีย งของคู่
ความหรือพยาน แม้ถึงว่าข้อความเหล่านัน
้ จะเป็ นความจริง หรือ
ง. เป็ นการชักจูงให้เกิดมีคำพยานเท็จ
เพื่อ ประโยชน์แ ห่ง มาตรานี ้ ให้นำ วิเ คราะห์ศ ัพ ท์ท งั ้ ปวงใน
มาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการพิมพ์ พุทธศักราช ๒๔๗๖ มาใช้บังคับ
 
มาตรา ๓๓  ถ้าคู่ค วามฝ่ ายใดหรือ บุค คลใดกระทำความผิด
ฐานละเมิด อำนาจศาลใด ให้ศาลนัน
้ มีอำ นาจสั่งลงโทษโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง
หรือทัง้ สองวิธีดังจะกล่าวต่อไปนี ้ คือ
(ก) ไล่ออกจากบริเวณศาล หรือ
(ข) ให้ลงโทษจำคุก หรือปรับ หรือทัง้ จำทัง้ ปรับ
การไล่ออกจากบริเวณศาลนัน
้ ให้กระทำได้ชั่วระยะเวลาที่ศาล
นั่งพิจารณาหรือภายในระยะเวลาใด ๆ ก็ไ ด้ต ามที่ศ าลเห็นสมควร เมื่อ
จำเป็ นจะเรียกให้ตำรวจช่วยจัดการก็ได้
ในกรณีกำ หนดโทษจำคุก และปรับ นัน
้ ให้จำ คุก ได้ไ ม่เ กิน หก
เดือนหรือปรับไม่เกินห้าร้อยบาท
 
มาตรา ๓๔  ถ้าจะต้องดำเนินกระบวนพิจารณาทัง้ เรื่องหรือ
แต่บ างส่ว น โดยทางอาศัย หรือ โดยร้อ งขอต่อ เจ้า หน้า ที่ใ นเมือ งต่า ง
ประเทศ เมื่อไม่มีข ้อตกลงระหว่า งประเทศอย่า งใดอย่า งหนึ่ง  หรือไม่มี
กฎหมายบัญญัติไว้สำ หรับเรื่องนัน
้ แล้ว ให้ศาลปฏิบัติตามหลักทั่วไปแห่ง
กฎหมายระหว่างประเทศ
 
มาตรา ๓๔/๑[๓๒]  เพื่อให้การพิจารณาพิพากษาคดีเป็ นไปโดย
สะดวก รวดเร็ว และเที่ยงธรรมหรือ เพื่อ ความเหมาะสมสำหรับ คดีบ าง
ประเภท ให้ป ระธานศาลฎีก าโดยความเห็น ชอบของที่ป ระชุมใหญ่ศ าล
ฎีกามีอำนาจออกข้อกำหนดเกี่ยวกับการฟ้ องคดี การสืบพยานและการรับ
ฟั งพยานหลักฐานการวินิจฉัยคดี ตลอดจนการดำเนินกระบวนพิจารณา
ใด ๆ ได้ตามความจำเป็ น
ข้อ กำหนดตามวรรคหนึ่ง เมื่อ ประกาศในราชกิจ จานุเ บกษา
แล้วให้ใช้บังคับได้
 
หมวด ๔
การนั่งพิจารณา
                  
 
มาตรา ๓๕  ถ้าประมวลกฎหมายนีม
้ ิได้บัญญัติไว้เป็ นอย่างอื่น
การนั่งพิจารณาคดีที่ย่ น
ื ไว้ต่อศาลใดจะต้องกระทำในศาลนัน
้ ในวันที่ศาล
เปิ ดทำ การและตามเวลาทำ งานที่ศ าลได้กำ หนดไว้ แต่ใ นกรณีม ีเ หตุ
ฉุก เฉิน หรือ เป็ นการจำ เป็ นศาลจะมีคำ สัง่ กำ หนดการนั่ง พิจ ารณา ณ
สถานที่อ่ น
ื หรือในวันหยุดงาน หรือในเวลาใด ๆ ก็ได้
ให้ผ พ
ู้ ิพ ากษาและเจ้า พนัก งานศาลซึง่ ปฏิบ ัต ิง านในวัน หยุด
งาน หรือในเวลาใด ๆนอกเวลาทำการปกติได้รับค่าตอบแทนเป็ นพิเศษ
ตามระเบีย บที่ก ระทรวงยุต ิธ รรมกำหนด โดยได้ร ับ ความเห็น ชอบจาก
กระทรวงการคลัง[๓๓]
 
มาตรา ๓๖  การนั่งพิจารณาคดีจะต้องกระทำในศาลต่อหน้า
คูค
่ วามที่มาศาลและโดยเปิ ดเผย เว้นแต่
(๑) ในคดีเรื่องใดที่มีความจำเป็ นเพื่อรักษาความเรียบร้อยใน
ศาล เมื่อ ศาลได้ข ับ ไล่ค ค
ู่ วามฝ่ ายใดออกไปเสีย จากบริเ วณศาลโดยที่
ประพฤติไม่สมควร ศาลจะดำเนินการนั่งพิจารณาคดีต่อไปลับหลังคู่ความ
ฝ่ ายนัน
้ ก็ได้
(๒) ในคดีเ รื่อ งใด เพื่อ ความเหมาะสม หรือ เพื่อ ค ุ้ม ครอง
สาธารณประโยชน์ ถ้าศาลเห็นสมควรจะห้ามมิให้มีการเปิ ดเผยซึ่งข้อเท็จ
จริง หรือพฤติการณ์ต่าง ๆ ทัง้ หมด หรือแต่บางส่วนแห่งคดีซึ่งปรากฏจาก
คำคู่ความหรือคำแถลงการณ์ของคู่ความหรือจากคำพยานหลักฐานที่ได้
สืบมาแล้วศาลจะมีคำสัง่ ดังต่อไปนีก
้ ็ได้
(ก) ห้ามประชาชนมิให้เข้าฟั งการพิจารณาทัง้ หมดหรือแต่
บางส่วน แล้วดำเนินการพิจารณาไปโดยไม่เปิ ดเผย หรือ
(ข) ห้ามมิให้ออกโฆษณาข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ต่าง ๆ
เช่นว่านัน

ในบรรดาคดีทงั ้ ปวงที่ฟ้องขอหย่าหรือฟ้ องชายชู้หรือฟ้ องให้
รับรองบุตร ให้ศาลห้ามมิให้มีการเปิ ดเผยซึ่งข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ใด
ๆ ที่ศาลเห็นเป็ นการไม่สมควร หรือพอจะเห็นได้ว่าจะทำให้เกิดการเสีย
หายอันไม่เป็ นธรรมแก่คู่ความหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
ไม่ว่าศาลจะได้มีคำสั่งตามอนุมาตรา (๒) นีห
้ รือไม่ คำสั่งหรือ
คำพิพากษาชีข
้ าดคดีของศาลนัน
้ ต้องอ่า นในศาลโดยเปิ ดเผย และมิให้
ถือว่าการออกโฆษณาทัง้ หมดหรือแต่บางส่วนแห่ง คำพิพากษา นัน
้ หรือย่อ
เรื่องแห่งคำพิพากษาโดยเป็ นกลางและถูกต้องนัน
้ เป็ นผิดกฎหมาย
 
มาตรา ๓๗  ให้ศาลดำเนินการนั่งพิจารณาคดีติดต่อกันไปเท่า
ที่ส ามารถจะทำ ได้โ ดยไม่ต ้อ งเลื่อ นจนกว่า จะเสร็จ การพิจ ารณาและ
พิพากษาคดี
 
มาตรา ๓๘  ถ้าในวัน ที่กำ หนดนัด นั่ง พิจารณาศาลไม่มีเ วลา
พอที่จะดำเนินการนั่งพิจารณา เนื่องจากกิจธุระของศาล ศาลจะมี คำ สั่ง
ให้เลื่อนการนั่งพิจารณาไปในวันอื่นตามที่เห็นสมควรก็ได้
 
มาตรา ๓๙  ถ้าการที่จะชีข
้ าดตัดสินคดีเรื่องใดที่ค้างพิจารณา
อยู่ในศาลใดจำต้องอาศัยทัง้ หมดหรือแต่บางส่วนซึ่งคำชีข
้ าดตัดสินบางข้อ
ที่ศ าลนัน
้ เองหรือ ศาลอื่น จะต้อ งกระทำเสีย ก่อ น หรือ จำต้อ งรอให้เ จ้า
พนักงานฝ่ ายธุรการวินิจฉัยชีข
้ าดในข้อเช่นนัน
้ เสียก่อน หรือถ้าปรากฏว่า
ได้มีการกระทำผิดอาญาเกิดขึน
้ ซึง่ อาจมีการฟ้ องร้องอันอาจกระทำให้การ
ชีข
้ าดตัดสินคดีที่พิจารณาอยู่นน
ั ้ เปลี่ยนแปลงไป หรือในกรณีอ่ น
ื ใดซึ่งศาล
เห็นว่าถ้าได้เลื่อนการพิจารณาไปจัก ทำให้ความยุติธรรมดำเนินไปด้วยดี
เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคู่ความที่เกี่ยวข้องร้องขอ ศาลจะมีคำสั่งเลื่อน
การนั่งพิจารณาต่อไปจนกว่าจะได้มีการพิพากษาหรือชีข
้ าดในข้อนัน
้ ๆ
แล้วหรือภายในระยะเวลาใด ๆ ตามที่ศาลเห็นสมควรก็ได้
ถ้าศาลมีคำ สั่ง ให้เ ลื่อ นการนั่ง พิจารณาดัง กล่า วแล้วโดยไม่มี
กำหนด เมื่อศาลเห็นสมควรหรือคู่ความที่เกี่ยวข้องร้องขอ ศาลจะมีคำสั่ง
ให้เริ่มการนั่งพิจารณาต่อไปในวันใด ๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได้
 
มาตรา ๔๐[๓๔]  เมื่อศาลได้กำหนดวันนั่งพิจารณาและแจ้งให้ค ู่
ความทราบแล้ว ถ้าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งจะขอเลื่อนการนั่งพิจารณา คู่
ความฝ่ ายนัน
้ ต้องเสนอคำขอเข้า มาก่อ นหรือ ในวัน นัด และแสดงเหตุผล
แห่งการขอเลื่อนนัน
้ ในกรณีเ ช่น ว่า นี ้ ห้า มมิให้ศ าลมีคำ สั่ง อนุญ าตตาม
คำขอ เว้นแต่การขอเลื่อนการนั่งพิจารณานัน
้ มีเหตุ จำ เป็ นอันไม่อาจก้าว
ล่วงเสียได้ และหากศาลไม่อนุญาตจะทำให้เสียความยุติธรรม
เมื่อศาลจะสัง่ ให้เลื่อนการนัง่ พิจารณา ศาลอาจสัง่ ให้คค
ู่ วามฝ่ าย
นัน
้ เสียค่าป่ วยการพยานซึง่ มาศาลตามหมายเรียกและเสียค่าใช้จ่ายในการ
ที่คู่ความฝ่ ายอื่นมาศาล เช่น ค่า พาหนะเดินทางและค่า เช่าทีพ
่ ักของตัว
ความ ทนายความ หรือพยาน เป็ นต้น ตามจำนวนที่ศาลเห็นสมควร ถ้าคู่
ความฝ่ ายที่ข อเลื่อ นคดีไ ม่ชำ ระค่า ป่ วยการหรือ ค่า ใช้จ ่า ยตามที่ศ าล
กำหนด ให้ศาลยกคำขอเลื่อนคดีนน
ั ้ เสีย
ค่าป่ วยการหรือค่าใช้จ่ายที่จ่ายตามวรรคสองให้ตกเป็ นพับ
คำขอเลื่อนคดีตามวรรคหนึ่ง ถ้าไม่ได้เสนอต่อ หน้า ศาลด้วย
วาจา ก็ให้ทำเป็ นคำร้องและจะทำฝ่ ายเดียวโดยได้รับอนุญาตจากศาลก็ได้
 
มาตรา ๔๑[๓๕]  ถ้ามีการขอเลื่อนการนั่งพิจารณาโดยอ้างว่าตัว
ความผู้แ ทนทนายความ พยาน หรือ บุค คลอื่น ที่ถ ูก เรีย กให้ม าศาลไม่
สามารถมาศาลได้เพราะป่ วยเจ็บ เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคู่ความฝ่ าย
ใดฝ่ ายหนึ่งมีคำขอฝ่ ายเดียว ศาลจะมีคำสั่งตัง้ เจ้าพนักงานไปทำการตรวจ
ก็ได้ และถ้าสามารถหาแพทย์ได้ก็ให้ตงั ้ แพทย์ไปตรวจด้วย ถ้าผู้ที่ศาลตัง้
ให้ไปตรวจได้รายงานโดยสาบานตนหรือกล่าวคำปฏิญาณแล้ว และศาล
เชื่อว่าอาการของผู้ที่อ้างว่าป่ วยนัน
้ ไม่ร้ายแรงถึงกับจะมาศาลไม่ได้ ให้ศาล
ดำเนินกระบวนพิจารณาตามบทบัญ ญัต ิแห่ง ประมวลกฎหมายนีว้ ่าด้วย
การขาดนัดหรือการไม่มาศาลของบุคคลที่อ้างว่าป่ วยนัน
้ แล้วแต่กรณี
ศาลอาจสัง่ ให้คู่ความฝ่ ายที่ขอให้ไปตรวจตามวรรคหนึ่ง หรือคู่
ความใดไปกับผู้ที่ศาลตัง้ ให้ไปตรวจ คูค
่ วามนัน
้ จะมอบให้ผ ู้ใดไปแทนตน
ก็ได้
ค่า พาหนะและค่า ป่ วยการของเจ้า พนัก งานและแพทย์ ให้
ถือว่าเป็ นค่าฤชาธรรมเนียม และให้นำมาตรา ๑๖๖ มาใช้บังคับ
 
มาตรา ๔๒  ถ้าคูค
่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งในคดีที่ค้างพิจารณาอยู่
ในศาลได้มรณะเสียก่อนศาลพิพากษาคดี ให้ศาลเลื่อนการนั่งพิจารณาไป
จนกว่า ทายาทของผู้มรณะหรือ ผู้จัด การทรัพ ย์ม รดกของผู้ม รณะ หรือ
บุค คลอื่ น ใดที่ป กครองทรัพ ย์มรดกไว้ จะได้เ ข้า มาเป็ นคู่ค วามแทนที่ผ ู้
ม รณ ะ  โดยมีคำ ขอเข้า มาเอง หรือ โดยที่ศ าลหมายเรีย กให้เ ข้า มา
เนื่องจากคูค
่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมีคำขอฝ่ ายเดียว คำขอเช่นว่านีจ
้ ะต้องยื่น
ภายในกำหนดหนึ่งปี นับแต่วันที่คู่ความฝ่ ายนัน
้ มรณะ
ถ้าไม่มีคำ ขอของบุคคลดังกล่าวมาแล้ว หรือไม่มีคำ ขอของคู่
ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งภายในเวลาที่กำ หนดไว้ ให้ศาลมีคำ สั่งจำหน่ายคดี
เรื่องนัน
้ เสียจากสารบบความ
 
มาตรา ๔๓  ถ้าทายาทของผู้มรณะ หรือผู้จัดการทรัพย์มรดก
ของผู้มรณะ หรือบุคคลอื่นใดทีป
่ กครองทรัพย์มรดก ประสงค์จะขอเข้ามา
เป็ นคูค
่ วามแทน ก็ให้ย่ น
ื คำขอโดยทำเป็ นคำร้องต่อศาลเพื่อการนัน

ในกรณีเช่นนี ้ เมื่อศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคู่ความฝ่ ายใดฝ่ าย
หนึ่ง มีคำ ขอศาลอาจสั่ง ให้ผ ู้ท ี่จ ะเข้า มาเป็ นคู่ค วามแทนนัน
้ แสดงพยาน
หลักฐานสนับสนุนคำขอเช่นว่านัน
้ ได้เมื่อได้แสดงพยานหลักฐานดังกล่าว
นัน
้ แล้ว ให้ศาลมีคำสัง่ อนุญาตหรือไม่อนุญาตในการทีจ
่ ะเข้ามาเป็ นคูค
่ วาม
แทน
 
มาตรา ๔๔  คำสัง่ ให้หมายเรียกบุคคลใดเข้ามาแทนผู้มรณะ
นัน
้ จะต้องกำหนดระยะเวลาพอสมควรเพื่อให้บุคคลนัน
้ มีโอกาสคัดค้าน
ในศาลว่า ตนมิไ ด้เ ป็ นทายาทของผู้ม รณะ หรือ มิไ ด้เ ป็ นผู้จ ัด การทรัพ ย์
มรดกหรือผู้ปกครองทรัพย์มรดกนัน

ทายาท ผู้จัดการทรัพย์มรดก หรือบุคคลผู้ถูกเรียกไม่จำ ต้อง
ปฏิบัติตามหมายเช่นว่านัน
้ ก่อนระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้เพื่อการ
ยอมรับฐานะนัน
้ ได้ล่วงพ้นไปแล้ว
ถ้าบุคคลที่ถูกศาลหมายเรียกนัน
้ ยินยอมรับเข้ามาเป็ นคู่ความ
แทนผู้มรณะ ให้ศาลจดรายงานพิสดารไว้และดำเนินคดีต่อไป
ถ้าบุค คลนัน
้ ไม่ยิน ยอมหรือ ไม่มาศาล ให้ศ าลทำการไต่ส วน
ตามที่เห็นสมควร ถ้าศาลเห็นว่าหมายเรียกนัน
้ มีเหตุผลฟั งได้ ก็ให้ออกคำ
สั่งตัง้ บุคคลผู้ถูกเรียกเป็ นคู่ความแทนผู้มรณะแล้วดำเนินคดีต่อไป ถ้าศาล
เห็นว่าข้อคัดค้านของบุคคลผู้ถูกเรียกมีเหตุผลฟั งได้ ก็ให้ศาลสัง่ เพิกถอน
หมายเรียกนัน
้ เสีย และถ้าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งไม่สามารถเรียกทายาท
อันแท้จริงหรือผู้จัดการทรัพย์มรดกหรือบุคคลที่ปกครองทรัพย์มรดกของ
ผู้มรณะเข้ามาเป็ นคู่ความแทนผู้มรณะได้ภายในกำหนดเวลาหนึ่งปี ก็ให้
ศาลมีคำสั่งตามที่เห็นสมควรเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
 
มาตรา ๔๕  ถ้าปรากฏต่อศาลว่าคูค
่ วามฝ่ ายหนึ่งตกเป็ นผูไ้ ร้
ความสามารถก็ดี หรือผู้แทนโดยชอบธรรมของคู่ความฝ่ ายที่เป็ นผู้ไร้ความ
สามารถได้ม รณะหรือ หมดอำ นาจเป็ นผู้แ ทนก็ด ี ให้ศ าลเลื่อ นการนั่ง
พิจารณาไปภายในระยะเวลาอัน สมควรเพื่อ ผู้แ ทนโดยชอบธรรมหรือ ผู้
แทนโดยชอบธรรมคนใหม่จะได้แจ้งให้ทราบถึงการได้รับแต่งตัง้ ของตน
โดยยื่น คำขอเป็ นคำร้องต่อศาลเพื่อการนัน
้ ถ้ามิได้ย่ น
ื คำขอดังกล่า วมา
แล้วให้นำมาตรา ๕๖ มาใช้บังคับ
ถ้า ผู้แ ทนหรือ ทนายความของคู่ค วามได้ม รณะ หรือ หมด
อำนาจเป็ นผู้แทน ให้ศาลเลื่อนการนั่งพิจารณาไปจนกว่าตัวความจะได้ย่ น

คำร้อ งต่อศาลแจ้ง ให้ทราบถึง การที่ได้แ ต่ง ตัง้ ผู้แ ทนหรือ ทนายความขึน

ใหม่ หรือคู่ความฝ่ ายนัน
้ มีความประสงค์จะมาว่าคดีด้วยตนเอง แต่ถ้าศาล
เห็นสมควร หรือเมื่อคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งมีคำขอฝ่ ายเดียว ให้ศาลมีอำนาจ
สั่งกำหนดระยะเวลาไว้พอสมควร เพื่อให้ตัวความมีโอกาสแจ้งให้ทราบถึง
การแต่งตัง้ หรือความประสงค์ของตนนัน
้ ก็ได้ในกรณีเช่นว่านี ้ ถ้าตัวความ
มิได้แจ้งให้ทราบภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ ศาลจะมีคำสัง่ ให้เริ่มการนั่ง
พิจารณาต่อไปในวันใด ๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได้
บทบัญญัติแห่งวรรคก่อนนัน
้ ให้นำมาใช้บังคับแก่กรณีที่ผู้แทน
โดยชอบธรรมของผู้ไร้ความสามารถหมดอำนาจลง เพราะเหตุที่บุคคลนัน

ได้มีความสามารถขึน
้ แล้วด้วยโดยอนุโลม
 
หมวด ๕
รายงานและสำนวนความ
                  
 
มาตรา ๔๖  บรรดากระบวนพิจารณาเกี่ยวด้วยการพิจารณา
และการชีข
้ าดตัดสินคดีแพ่งทัง้ หลายซึง่ ศาลเป็ นผู้ทำ นัน
้ ให้ทำ เป็ นภาษา
ไทย
บรรดาคำคู่ความและเอกสารหรือแผ่นกระดาษไม่ว่าอย่างใด
ๆ ที่คู่ความหรือศาลหรือเจ้าพนักงานศาลได้ทำขึน
้ ซึ่งประกอบเป็ นสำนวน
ของคดีนน
ั ้ ให้เขียนเป็ นหนังสือไทยและเขียนด้วยหมึกหรือดีดพิมพ์หรือตี
พิมพ์ ถ้ามีผิดตกที่ใดห้ามมิให้ขูดลบออก แต่ให้ขีดฆ่าเสียแล้วเขียนลงใหม่
และผู้เขียนต้องลงชื่อไว้ที่ริมกระดาษ ถ้ามีข้อความตกเติมให้ผ ู้ตกเติมลง
ลายมือชื่อ หรือลงชื่อย่อไว้เป็ นสำคัญ
ถ้าต้นฉบับเอกสารหรือแผ่นกระดาษไม่ว่าอย่างใด ๆ ที่ส่งต่อ
ศาลได้ทำ ขึน
้ เป็ นภาษาต่างประเทศ ให้ศ าลสั่ง คูค
่ วามฝ่ ายที่ส ่ง ให้ทำ คำ
แปลทัง้ ฉบับหรือเฉพาะแต่ส่วนสำคัญ โดยมีคำรับรองมายื่นเพื่อแนบไว้กับ
ต้นฉบับ
ถ้าคู่ความฝ่ ายใดหรือบุคคลใดที่มาศาลไม่เข้าใจภาษาไทยหรือ
เป็ นใบ้ห รือ หูห นวกและอ่า นเขีย นหนัง สือ ไม่ไ ด้ ให้ใ ห้ค ู่ค วามฝ่ ายที่
เกี่ยวข้องจัดหาล่าม
 
มาตรา ๔๗  ถ้าคู่ความหรือบุคคลใดยื่นใบมอบอำนาจต่อศาล
ให้ศาลมีอำ นาจที่จะสั่ง ให้ค ู่ความหรือบุคคลนัน
้ ให้ถ ้อยคำสาบานตัวว่า
เป็ นใบมอบอำนาจอันแท้จริง
ถ้าศาลมีเหตุอันควรสงสัยว่า ใบมอบอำนาจที่ย่ น
ื นัน
้ จะไม่ใช่
ใบมอบอำนาจอันแท้จริงก็ดี หรือเมื่อคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งยื่น คำร้องแสดง
เหตุอันควรสงสัยว่าใบมอบอำนาจนัน
้ จะมิใช่ใบมอบอำนาจอันแท้จริงก็ดี
ให้ศ าลมีอำ นาจที่จ ะสั่ง ให้ค ค
ู่ วามหรือ บุค คลที่เ กี่ย วข้อ งนัน
้ ยื่น ใบมอบ
อำนาจตามที่บัญญัติไว้ต่อไปนี ้
ถ้าใบมอบอำนาจนัน
้ ได้ทำ ในราชอาณาจักรสยามต้องให้นาย
อำเภอเป็ นพยาน ถ้า ได้ทำ ในเมือ งต่า งประเทศที่ม ีก งสุล สยาม ต้อ งให้
กงสุลนัน
้ เป็ นพยาน ถ้าได้ทำในเมืองต่างประเทศที่ไม่มีกงสุลสยาม ต้องให้
บุคคลเหล่านีเ้ ป็ นพยานคือเจ้าพนักงานโนตารีปับลิกหรือแมยิสเตร็ด หรือ
บุคคลอื่นซึ่งกฎหมายแห่งท้องถิ่นตัง้ ให้เป็ นผู้มีอำนาจเป็ นพยานในเอกสาร
เช่นว่านี ้ และต้องมีใบสำคัญของรัฐบาลต่างประเทศที่เกี่ยวข้องแสดงว่า
บุคคลที่เป็ นพยานนัน
้ เป็ นผู้มีอำนาจกระทำการได้
บทบัญ ญัติแ ห่ง มาตรานีใ้ ห้ใช้บ ัง คับ แก่ใบสำคัญ และเอกสาร
อื่น ๆ ทำนองเช่นว่ามานี ้ ซึ่งคูค
่ วามจะต้องยื่นต่อศาล
 
มาตรา ๔๘  ในคดีทุกเรื่อง ให้เป็ นหน้าที่ของศาลต้องจดแจ้ง
รายงานการนั่งพิจารณาหรือกระบวนพิจารณาอื่น ๆ ของศาลไว้ทุกครัง้
รายงานนัน
้ ต้องมีรายการต่อไปนี ้
(๑) เลขคดี
(๒) ชื่อคูค
่ วาม
(๓) สถานที่ วัน และเวลาที่ศาลนั่งพิจารณาหรือดำเนิน
กระบวนพิจารณา
(๔) ข้อความโดยย่อเกี่ยวด้วยเรื่องที่กระทำและรายการข้อ
สำคัญอื่น ๆ
(๕) ลายมือชื่อผู้พพ
ิ ากษา
เมื่อมีกฎหมายบัญญัติไว้หรือเมื่อศาลเห็นเป็ นการจำเป็ นก็ให้
ศาลจดบัน ทึก (โดยจดรวมไว้ใ นรายงานพิส ดารหรือ อีก ส่ว นหนึ่ง ต่า ง
หาก) ซึ่ง คำแถลงหรือ คำคัด ค้า นในข้อ สำคัญ ข้อ ตกลง คำชีข
้ าด คำสั่ง
หรือการอื่น ๆ หรือกระบวนพิจารณาที่ ทำ ด้วยวาจาตามบทบัญญัติแห่ง
ประมวลกฎหมายนี ้
 
มาตรา ๔๙  ในส่วนที่เกี่ยวด้วยคำแถลงหรือคำคัดค้านของคู่
ความ หรือคำให้การของพยานหรือผู้เชี่ยวชาญหรือข้อตกลงในการสละ
สิทธิของคู่ความนัน
้ ให้ถือว่ารายงานของศาลเป็ นพยานหลักฐานเบื้องต้น
ได้ต่อเมื่อศาลได้อ่านให้คู่ความหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องฟั งและได้จดลงไว้ซึ่ง
ข้อแก้ไขเพิ่มเติมตามที่ขอร้องหรือที่ชแ
ี ้ จงใหม่ ทัง้ คู่ความหรือบุคคลนัน
้ ๆ
ได้ลงลายมือชื่อไว้เป็ นสำคัญ
 
มาตรา ๕๐  ถ้า คู่ค วามฝ่ ายใด หรือ บุค คลใดจะต้อ งลง
ลายมือชื่อในรายงานใดเพื่อแสดงรับรู้รายงานนัน
้ หรือจะต้องลงลายมือ
ชื่อในเอกสารใดเพื่อรับรองการอ่านหรือการส่งเอกสารเช่นว่านัน

(๑) การลงลายมือ พิมพ์นว
ิ ้ มือ แกงได หรือเครื่องหมายอย่าง
อื่นที่ได้ทำต่อหน้าศาลนัน
้ ไม่จำต้องมีลายมือชื่อของพยานสองคนรับรอง
(๒) ถ้าคู่ความ หรือบุคคลที่จะต้องลงลายมือชื่อในรายงานดัง
กล่าวแล้ว ลงลายมือชื่อไม่ได้ หรือไม่ยอมลงลายมือชื่อ ให้ศาลทำรายงาน
จดแจ้งเหตุที่ไม่มีลายมือชื่อเช่นนัน
้ ไว้แทนการลงลายมือชื่อ
 
มาตรา ๕๑  ให้เป็ นหน้าที่ของศาลที่จะปฏิบัติดังนี ้
(๑) ลงทะเบียนคดีในสารบบความของศาลตามลำดับที่รับไว้
กล่าวคือ ตามวันและเวลาที่ย่ น
ื หรือเสนอคำฟ้ องเพื่อเริ่มคดีต่อศาล ตามที่
บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายนี ้
(๒) ลงทะเบี ย นคำ พิ พ ากษา หรื อ คำ สั ่ ง ชี ้ข าดคดี ท ั ้ง หมด
ของศาลในสารบบคำพิ พ ากษา
(๓) รวบรวมรายงานและเอกสารที ่ ส ่ ง ต่ อ ศาลหรื อ ศาลทำ
ขึ ้น กั บ คำ สั ่ ง และคำ พิ พ ากษาของศาล ไว้ใ นสำ นวนความเรื่อ งนัน

แล้วเก็บรักษาไว้ในที่ปลอดภัย
(๔) คัด สำเนาคำพิพ ากษา คำสั่ง ชีข
้ าดคดี แล้ว เก็บ รัก ษาไว้
เรียงตามลำดับและในที่ปลอดภัย
(๕) เก็บรักษาสารบบและสมุดของศาล เช่นสารบบความและ
สารบบคำพิพากษาไว้ในที่ปลอดภัย
การจัดทำสารบบความหรือสารบบคำพิพากษา การรวบรวม
เอกสารในสำนวนความ และการเก็บรักษาสำเนาคำพิพากษาหรือ คำสั่ง
ชีข
้ าดคดีตามวรรคหนึ่ง (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕) อาจกระทำในรูปแบบ
ข ้อ ม ูล อ ิเ ล ็ก ท ร อ น ิก ส ์ก ็ไ ด ้ แ ล ะ ใ ห ถ
้ ือ ว ่า ส ิ่ง พ ิม พ ์อ อ ก ข อ ง ข ้อ ม ูล
อิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวที่รับรองโดยวิธีการที่ศาลกำหนดเป็ นสำเนาสารบบ
ความหรือ สารบบคำพิพ ากษา หรือ เป็ นสำเนาเอกสารในสำนวนความ
แล้วแต่กรณี และให้ใช้แทนต้นฉบับได้  ทัง้ นี ้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
กำหนดไว้ใ นข้อ กำหนดของประธานศาลฎีก าโดยความเห็น ชอบของที่
ประชุมใหญ่ศาลฎีกา และเมื่อข้อกำหนดนัน
้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
แล้วให้ใช้บังคับได้[๓๖]
 
มาตรา ๕๒  เมื่อคำพิพากษาหรือคำสัง่ อันเป็ นเด็ดขาดถึงที่สุด
แล้ว เรื่อ งใดได้ม ีก ารปฏิบ ัต ิต าม หรือ บัง คับ ไปแล้ว หรือ ระยะเวลาที่
กำหนดไว้เพื่อการบังคับนัน
้ ได้ล่วงพ้นไปแล้ว ให้ศาลที่เก็บ สำนวนนัน
้ ไว้
จัดส่งสำนวนนัน
้ ไปยังกระทรวงยุติธรรม เพื่อเก็บรักษาไว้หรือจัดการตาม
กฎกระทรวงว่าด้วยการนัน

 
มาตรา ๕๓  ถ้ารายงาน คำพิพากษา คำสั่งหรือเอกสารอื่นใด
ที่รวมไว้ในสำนวนความซึ่ง ยัง อยู่ในระหว่า งพิจารณา หรือ รอการบัง คับ
ของศาลสูญหายไป หรือบุบสลายทัง้ หมดหรือแต่บางส่วน เป็ นการขัดข้อง
ต่อการชีข
้ าดตัดสินหรือบังคับคดีเมื่อศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคูค
่ วามฝ่ าย
ที่เกี่ยวข้องยื่น คำขอโดยทำเป็ นคำร้อง ให้ศาลสัง่ คู่ความหรือบุคคลผู้ถือ
เอกสารนัน
้ นำสำเนาที่รับรองถูกต้องมาส่งต่อศาล ถ้าหากสำเนาเช่นว่า
นัน
้ ทัง้ หมดหรือ บางส่ว นหาไม่ไ ด้ ให้ศ าลมีคำ สั่ง ให้พ ิจ ารณาคดีน น
ั ้ ใหม่
หรือมีคำสั่งอย่างอื่นตามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
 
มาตรา ๕๔  คู่ความก็ดี หรือพยานในส่วนที่เกี่ยวกับคำให้การ
ของตนในคดีน น
ั ้ ก็ด ีห รือ บุค คลภายนอกผู้ม ีส ่ว นได้เ สีย โดยชอบหรือ มี
เหตุผลอันสมควรก็ดี อาจร้องขออนุญาตต่อศาลไม่ว่าเวลาใดในระหว่าง
หรือภายหลังการพิจารณาเพื่อตรวจเอกสารทัง้ หมดหรือแต่บ างฉบับใน
สำนวนเรื่องนัน
้ หรือขอคัดสำเนา หรือขอให้จ่าศาลคัดสำเนาและรับรอง
แต่ทงั ้ นี ้
(๑) ห้ามมิให้อนุญ าตเช่นว่านัน
้ แก่บค
ุ คลอื่น นอกจากคู่ค วาม
หรือพยานในคดีที่พิจารณาโดยไม่เปิ ดเผย หรือในคดีที่ศาลได้มี คำสั่งห้าม
การตรวจหรือคัดสำเนาเอกสารในสำนวนทัง้ หมดหรือบางฉบับเพื่อรักษา
ความสงบเรียบร้อยหรือผลประโยชน์ทั่วไปของประชาชน ถึงแม้ผ ู้ขอจะ
เป็ นคูค
่ วามหรือพยานก็ห้ามมิให้อ นุญ าตดุจกัน แต่ทงั ้ นีไ้ ม่ต ัดสิทธิของคู่
ความในการที่จะตรวจหรือคัดสำเนาคำพิพากษาหรือคำสั่งในคดีนน
ั ้ หรือ
ในการที่จะขอสำเนาอันรับรองถูกต้อง
(๒) ห้ามมิให้อนุญาตให้คู่ความคัดถ้อยคำพยานฝ่ ายตนจนกว่า
จะได้สืบพยานฝ่ ายตนเสร็จสิน
้ แล้ว เว้นแต่จะมีพ ฤติก ารณ์พิเศษที่จะให้
อนุญาต
เมื่อได้ให้อนุญาตแล้ว การตรวจ หรือการคัดสำเนานัน
้ ให้ผข
ู้ อ
หรือ บุค คลซึ่ง ได้ร ับ การแต่ง ตัง้ จากผู้ข อโดยชอบเป็ นผูค
้ ัด ตามเวลาและ
เงื่อนไขซึ่งจ่าศาลจะได้กำหนดให้เพื่อความสะดวกของศาลหรือเพื่อความ
ปลอดภัยของเอกสารนัน

ห้า มมิใ ห้ค ัด สำเนาคำพิพ ากษาหรือ คำ สัง่ ก่อ นที่ไ ด้อ ่า นคำ
พิพากษาหรือคำสั่งนัน
้ และก่อนที่ได้ลงทะเบียนในสารบบคำพิพากษา
ในกรณีที่ศาลได้ทำ คำอธิบายเพิ่มเติมกลัดไว้กับรายงานแห่ง
คำสัง่ หรือคำพิพากษาซึ่งกระทำด้วยวาจาตามบทบัญญัติมาตรา ๑๔๑ คำ
อธิบ ายเพิ่ม เติม เช่น ว่า นัน
้ คู่ค วามจะขอตรวจหรือ ขอคัด สำเนา หรือ ขอ
สำเนาเสมือนเป็ นส่วนหนึ่งแห่งคำสั่งหรือคำพิพากษาก็ได้
สำ เนาที่ร ับ รองนัน
้ ให้จ ่า ศาลเป็ นผ ู้ร ับ รองโดยเรีย กค่า
ธรรมเนียมตามที่กำหนดไว้ในอัตราท้ายประมวลกฎหมายนี ้ ในกรณีที่ผู้ขอ
ตรวจเอกสารหรือขอคัดสำเนาด้วยตนเอง ไม่ต้องเรียกค่าธรรมเนียม
 
ลักษณะ ๓
คู่ความ
                  
 
มาตรา ๕๕  เมื่อมีข้อโต้แย้งเกิดขึน
้ เกี่ยวกับสิทธิหรือหน้าที่
ของบุค คลใดตามกฎหมายแพ่ง หรือ บุค คลใดจะต้อ งใช้ส ิท ธิท างศาล
บุคคลนัน
้ ชอบที่จะเสนอคดีของตนต่อศาลส่วนแพ่งที่มีเขตอำนาจได้ ตาม
บทบัญญัติแห่งกฎหมายแพ่งและประมวลกฎหมายนี ้
 
มาตรา ๕๖  ผู้ไ ร้ค วามสามารถหรือ ผู้ทำ การแทนจะเสนอ
ข้อหาต่อศาลหรือดำเนิน กระบวนพิจารณาใด ๆ ได้ ต่อเมื่อได้ปฏิบัติตาม
บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิช ย์ว่าด้วยความสามารถ
และตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี ้ การให้อนุญาตหรือยินยอม
ตามบทบัญ ญัต ิเ ช่น ว่า นัน
้ ให้ทำ เป็ นหนัง สือ ยื่น ต่อ ศาลเพื่อ รวมไว้ใ น
สำนวนความ
ไม่วา่ เวลาใด ๆ ก่อนมีคำพิพากษาเมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคู่
ความฝ่ ายหนึง่ ฝ่ ายใดยื่นคำขอโดยทำเป็ นคำร้อง ให้ศาลมีอำ นาจทำการ
สอบสวนในเรื่องความสามารถของผู้ขอหรือของคูค
่ วามอีกฝ่ ายหนึ่ง และ
ถ้า เป็ นที่พ อใจว่า มีก ารบกพร่อ งในเรื่อ งความสามารถ ศาลอาจมี คำ สัง่
กำหนดให้แ ก้ไ ขข้อ บกพร่อ งนัน
้ เสีย ให้บ ริบ ูร ณ์ภ ายในกำ หนดเวลาอัน
สมควรที่ศาลจะสั่ง
ถ้าศาลเห็นว่า เพื่อความยุติธรรมไม่ควรให้กระบวนพิจารณา
ดำเนินเนิ่นช้าไป ศาลจะสั่งให้คู่ความฝ่ ายที่บกพร่องในเรื่องความสามารถ
นัน
้ ดำเนิน คดีไ ปก่อนชั่วคราวก็ไ ด้ แต่ห ้า มมิให้ศ าลพิพ ากษาในประเด็น
แห่งคดีจนกว่าข้อบกพร่องนัน
้ ได้แก้ไขโดยบริบูรณ์แล้ว
ถ้าผู้ไร้ความสามารถไม่มีผ ู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้แทนโดย
ชอบธรรมทำหน้าที่ไม่ได้ ศาลมีอำ นาจออกคำสั่งให้อนุญาตหรือให้ความ
ยินยอมตามที่ต้องการ หรือตัง้ ผู้แทนเฉพาะคดีนน
ั ้ ให้แก่ผไู้ ร้ความสามารถ
ถ้าไม่มีบ ุคคลอื่น ใดให้ศาลมีอำ นาจตัง้ พนัก งานอัยการหรือ เจ้า พนัก งาน
ฝ่ ายปกครองอื่นให้เป็ นผู้แทนได้
 
มาตรา ๕๗  บุค คลภายนอกซึ่ง มิใ ช่ค ู่ค วามอาจเข้า มาเป็ นคู่
ความได้ด้วยการร้องสอด
(๑) ด้วยความสมัครใจเองเพราะเห็นว่าเป็ นการจำเป็ นเพื่อยัง
ให้ได้รับความรับรอง คุ้มครอง หรือบังคับตามสิทธิของตนที่มีอยู่ โดยยื่น
คำร้องขอต่อศาลทีค
่ ดีนน
ั ้ อยู่ในระหว่างพิจารณา หรือเมื่อตนมีสิทธิเรียก
ร้องเกี่ยวเนื่องด้วยการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง โดยยื่นคำร้องขอ
ต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดีนน
ั้
(๒) ด้วยความสมัครใจเองเพราะตนมีส่วนได้เสียตามกฎหมาย
ในผลแห่ง คดีน น
ั ้ โดยยื่น คำ ร้อ งขอต่อ ศาลไม่ว ่า เวลาใด ๆ ก่อ นมีคำ
พิพากษา ขออนุญาตเข้าเป็ นโจทก์ร่วมหรือ จำเลยร่วม หรือ เข้าแทนที่ค ู่
ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งเสียทีเดียวโดยได้รับความยินยอมของคู่ความฝ่ ายนัน

แต่ว่าแม้ศ าลจะได้อ นุญ าตให้เ ข้า แทนที่ก ัน ได้ก ็ต าม คู่ค วามฝ่ ายนัน
้ จำ
ต้อ งผูก พัน ตนโดยคำพิพ ากษาของศาลทุก ประการเสมือนหนึ่งว่ามิได้มี
การเข้าแทนที่กันเลย
(๓) ด้ว ยถูก หมายเรีย กให้เ ข้า มาในคดี (ก) ตามคำขอของคู่
ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งทำเป็ นคำร้องแสดงเหตุว่าตนอาจฟ้ องหรือถูกคู่ความ
เช่นว่านัน
้ ฟ้ องตนได้ เพื่อการใช้สิทธิไล่เบีย
้ หรือเพื่อใช้ค่าทดแทน ถ้าหาก
ศาลพิจารณาให้ค ู่ความเช่นว่านัน
้ แพ้คดี หรือ (ข) โดยคำสั่งของศาลเมื่อ
ศาลนัน
้ เห็น สมควร หรือ เมื่อ คู่ค วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง มีคำ ขอ ในกรณีท ี่
กฎหมายบังคับให้บุคคลภายนอกเข้า มาในคดี หรือศาลเห็น จำเป็ นที่จะ
เรียกบุคคลภายนอกเข้ามาในคดีเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม แต่ถ้าคู่
ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง จะเรียกบุคคลภายนอกเข้ามาในคดีดังกล่าว แล้วให้
เรียกด้วยวิธีย่ น
ื คำร้องเพื่อให้หมายเรียกพร้อมกับ คำฟ้ องหรือ คำให้ก าร
หรือในเวลาใด ๆ ต่อมาก่อนมีคำพิพากษาโดยได้รับอนุญาตจากศาล เมื่อ
ศาลเป็ นที่พอใจว่าคำร้องนัน
้ ไม่อาจยื่นก่อนนัน
้ ได้
การส่งหมายเรียกบุคคลภายนอกตามอนุมาตรานีต
้ ้องมี สำเนา
คำขอ หรือ คำสัง่ ของศาล แล้วแต่ก รณี และคำฟ้ องตัง้ ต้นคดีนน
ั ้ แนบไป
ด้วย
บทบัญญัติในประมวลกฎหมายนีไ้ ม่ตัดสิทธิของเจ้าหนี ้ ในอัน
ที่จะใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนีแ
้ ละที่จะเรียกลูก หนีใ้ ห้เ ข้า มาในคดีดัง ที่
บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
 
มาตรา ๕๘  ผู้ร้องสอดที่ได้เข้าเป็ นคู่ความตามอนุมาตรา (๑)
และ (๓) แห่ง มาตราก่อนนี ้ มีส ิทธิเ สมือ นหนึ่ง ว่า ตนได้ฟ้ องหรือ ถูก ฟ้ อง
เป็ นคดีเ รื่องใหม่ ซึ่ง โดยเฉพาะผู้ร้อ งสอดอาจนำพยานหลัก ฐานใหม่ม า
แสดง คัดค้านเอกสารที่ได้ย่ น
ื ไว้ ถามค้านพยานที่ได้สืบมาแล้วและคัดค้าน
พยานหลัก ฐานที่ได้สืบ ไปแล้วก่อ นที่ตนได้ร้อ งสอด อาจอุทธรณ์ฎีก าคำ
พิพากษาหรือคำสั่งของศาลตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ และอาจได้รับหรือ
ถูกบังคับให้ใช้ค่าฤชาธรรมเนียม
ห้า มมิใ ห้ผรู้ อ
้ งสอดทีไ่ ด้เ ป็ นคูค
่ วามตามอนุม าตรา (๒) แห่ง
มาตราก่อน ใช้สท
ิ ธิอย่างอื่นนอกจากสิทธิทม
่ี อ
ี ยูแ
่ ก่คค
ู่ วามฝ่ ายซึง่ ตนเข้าเป็ น
โจทก์รว่ มหรือจำเลยร่วมในชัน
้ พิจารณาเมื่อตนร้องสอด และห้า มมิให้ใช้
สิทธิเช่นว่านัน
้ ในทางที่ขัดกับสิทธิของโจทก์หรือ จำเลยเดิม และให้ผ ู้ร้อง
สอดเสียค่าฤชาธรรมเนียมอันเกิดแต่การทีร่ อ
้ งสอด แต่ถา้ ศาลได้อนุญาตให้
เข้าแทนทีโ่ จทก์หรือจำเลยเดิม ผูร้ อ
้ งสอดจึงมีฐานะเสมอด้วยคู่ความที่ตน
เข้าแทน
เมื่อ ได้ม ีคำ พิพ ากษาหรือ คำสัง่ แล้ว ถ้า มีข ้อ เกี่ย วข้อ งกับ คดี
เป็ นปั ญหาจะต้องวินิจฉัยในระหว่างผู้ร้องสอดกับคู่ความฝ่ ายที่ตนเข้ามา
ร่วม หรือที่ตนถูกหมายเรียกให้เข้ามาร่วม ผู้ร้องสอดย่อมต้องผูกพันตาม
คำพิพากษาหรือคำสั่งนัน
้ เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี ้
(๑) เนื่องจากความประมาทเลิน เล่อ ของคูค
่ วามนัน
้ ทำให้ผ ู้
ร้องสอดเข้ามาเป็ นคูค
่ วามในคดีช้าเกินสมควรที่จะแสดงข้อเถียงอันเป็ น
สาระสำคัญได้ หรือ
(๒) เมื่อคู่ความนัน
้ จงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงมิได้
ยกขึน
้ ใช้ซ ึ่ง ข้อ เถีย งในปั ญหาข้อ กฎหมายหรือ ข้อ เท็จ จริง อัน เป็ นสาระ
สำคัญซึ่งผู้ร้องสอดมิได้ร้ว
ู ่ามีอยู่เช่นนัน

 
มาตรา ๕๙  บุคคลตัง้ แต่สองคนขึน
้ ไป อาจเป็ นคู่ความในคดี
เดีย วกัน ได้ โดยเป็ นโจทก์ร ่ว มหรือ จำเลยร่ว ม ถ้า หากปรากฏว่า บุค คล
เหล่านัน
้ มีผลประโยชน์ร่วมกันในมูลความแห่งคดี แต่ห้ามมิให้ถือว่าบุคคล
เหล่า นัน
้ แทนซึ่ง กันและกัน เว้น แต่ม ูล แห่ง ความคดีเ ป็ นการชำระหนีซ
้ งึ่
แบ่ง แยกจากกัน มิไ ด้ หรือ ได้ม ีก ฎหมายบัญ ญัต ิไ ว้ด ัง นัน
้ โดยชัด แจ้ง ใน
กรณีเช่นนี ้ ให้ถือว่าบุคคลเหล่านัน
้ แทนซึ่งกันและกันเพียงเท่าที่จะกล่าว
ต่อไปนี ้
(๑) บรรดากระบวนพิจารณาซึ่งได้ทำ โดย หรือทำต่อคู่ความ
ร่วมคนหนึ่งนัน
้ ให้ถ ือว่าได้ทำ โดย หรือ ทำต่อ คู่ความร่วมคนอื่น ๆ ด้วย
เว้นแต่กระบวนพิจารณาที่คู่ความร่วมคนหนึ่งกระทำไปเป็ นที่เสื่อมเสียแก่
คูค
่ วามร่วมคนอื่น ๆ
(๒) การเลื่อ นคดีห รือ การงดพิจ ารณาคดีซ ึ่ง เกี่ย วกับ คู่ค วาม
ร่วมคนหนึ่งนัน
้ ให้ใช้ถึงคูค
่ วามร่วมคนอื่น ๆ ด้วย
 
มาตรา ๖๐ [๓๗]  คู่ค วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง หรือ ผู้แ ทนโดยชอบ
ธรรมในกรณีที่คู่ความเป็ นผู้ไร้ความสามารถ หรือผู้แทนในกรณีที่คค
ู่ วาม
เป็ นนิติบุคคล จะว่าความด้วยตนเองและดำเนินกระบวนพิจารณาทัง้ ปวง
ตามที่เ ห็น สมควร เพื่อ ประโยชน์ข องตน หรือ จะตัง้ แต่ง ทนายความคน
เดียวหรือหลายคนให้ว่าความและดำเนินกระบวนพิจารณาแทนตนก็ได้
ถ้าคูค
่ วาม หรือผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้แทน ดังที่ได้กล่าว
มาแล้ว ทำหนังสือมอบอำนาจให้บุคคลใดเป็ นผู้แทนตนในคดี ผู้รับมอบ
อำนาจเช่นว่านัน
้ จะว่าความอย่างทนายความไม่ได้ แต่ย่อมตัง้ ทนายความ
เพื่อดำเนินกระบวนพิจารณาได้
 
มาตรา ๖๑  การตัง้ ทนายความนัน
้ ต้อ งทำเป็ นหนัง สือ ลง
ลายมือชื่อตัวความและทนายความ แล้วยื่นต่อศาลเพื่อรวมไว้ในสำนวน
ใบแต่งทนายนีใ้ ห้ใช้ได้เฉพาะคดีเรื่องหนึ่ง ๆ ตามที่ไ ด้ย่ น
ื ไว้เ ท่า นัน
้ เมื่อ
ทนายความผู้ใดได้รับมอบอำนาจทั่วไปที่จะแทนบุคคลอื่นไม่ว่าในคดีใด ๆ
ให้ทนายความผู้นน
ั ้ แสดงใบมอบอำนาจทั่วไป แล้วคัด สำเนายื่น ต่อ ศาล
แทนใบแต่งทนาย เพื่อดำเนินคดีเป็ นเรื่อง ๆ ไป ตามความในมาตรานี ้
 
มาตรา ๖๒  ทนายความซึ่ง คูค
่ วามได้ต งั ้ แต่ง นัน
้ มีอำ นาจว่า
ความและดำเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ แทนคู่ความได้ตามที่เห็นสมควร
เพื่อรักษาผลประโยชน์ของคู่ความนัน
้ แต่ถ้ากระบวนพิจารณาใดเป็ นไป
ในทางจำหน่ายสิทธิของคู่ความ เช่น การยอมรับตามที่คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง
เรียกร้อง การถอนฟ้ อง การประนีประนอมยอมความ การสละสิทธิ หรือ
ใช้ส ิท ธิใ นการอุท ธรณ์ห รือ ฎีก า หรือ ในการขอให้พ ิจ ารณาคดีใ หม่
ทนายความไม่มีอำ นาจที่จะดำเนินกระบวนพิจารณาเช่นว่านีไ้ ด้ โดยมิได้
รับอำนาจจากตัวความโดยชัดแจ้ง อำนาจโดยชัดแจ้งเช่นว่านีจ
้ ะระบุให้ไว้
ในใบแต่งทนายสำหรับคดีเรื่องนัน
้ หรือทำเป็ นใบมอบอำนาจต่างหากใน
ภายหลัง ใบเดีย วหรือ หลายใบก็ไ ด้ และในกรณีห ลัง นีใ้ ห้ใ ช้บ ทบัญ ญัต ิ
มาตรา ๖๑ บังคับ
กรณีจะเป็ นอย่างไรก็ตาม ตัวความหรือผู้แทนจะปฏิเสธหรือ
แก้ไขข้อเท็จจริงที่ทนายความของตนได้กล่าวด้วยวาจาต่อหน้าตนในศาล
ในขณะนัน
้ ก็ได้ แม้ถึงว่าตัวความหรือผู้แทนนัน
้ จะมิได้สงวนสิทธิเช่นนัน
้ ไว้
ในใบแต่งทนายก็ดี
 
มาตรา ๖๓  บทบัญญัติแห่งมาตราก่อนนีไ้ ม่ตัดสิทธิตัวความ
ในอันที่จะตัง้ แต่งผู้แทนหรือทนายความโดยทำเป็ นหนังสือยื่นต่อศาลเพื่อ
ให้รับเงินหรือทรัพย์สินซึ่งได้ชำ ระไว้ในศาลหรือวางไว้ยังศาลเป็ นเงินค่า
ธรรมเนียมหรืออย่างอื่น และศาลได้สงั่ ให้จ่า ยคืน หรือ ส่ง มอบให้แ ก่ต ัว
ความฝ่ ายนัน
้ แต่ถ้าศาลนัน
้ มีความสงสัยในความสามารถหรือตัวบุคคลผู้
แทน หรือทนายความซึ่งได้รับตัง้ แต่งดังกล่าวข้างต้น ศาลมี อำนาจที่จะสั่ง
ให้ตัวความหรือทนายความหรือทัง้ สองคนให้มาศาลโดยตนเองได้
 
มาตรา ๖๔  เว้นแต่ศาลจะได้สั่งเป็ นอย่างอื่น เมื่อคดีมีเหตุผล
พิเศษอันเกี่ยวกับคูค
่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง หรือทนายความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง
โดยเฉพาะ คูค
่ วามหรือทนายความอาจตัง้ แต่งให้บุคคลใดทำการแทนได้
โดยยื่นใบมอบฉันทะต่อศาลทุกครัง้ เพื่อกระทำกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง
ดังต่อไปนี ้ คือกำหนดวันนั่งพิจารณาหรือวันสืบพยาน หรือวันฟั งคำสั่ง คำ
บังคับ หรือคำชีข
้ าดใด ๆ ของศาล มาฟั งคำสั่ง คำบังคับ หรือคำชีข
้ าดใด
ๆ ของศาลหรือสลัก หลัง รับ รู้ซ ึ่ง ข้อ ความนัน
้ ๆ รับ สำเนาแห่ง คำให้ก าร
คำร้อ งหรือเอกสารอื่น ๆ ตามที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ในมาตรา ๗๑ และ ๗๒ และ
แสดงการรับรู้สิ่งเหล่านัน

 
มาตรา ๖๕ [๓๘]  ทนายความที่ตัวความได้ตงั ้ แต่งให้เป็ นทนาย
ในคดีจะมีคำขอต่อศาลให้สั่งถอนตนจากการตัง้ แต่งนัน
้ ก็ได้ แต่ต้องแสดง
ให้เป็ นที่พอใจแก่ศาลว่าทนายความผู้นน
ั ้ ได้แจ้งให้ตัวความทราบแล้ว เว้น
แต่จะหาตัวความไม่พบ
เมื่อศาลมีคำ สั่งอนุญาตตามคำขอแล้ว ให้ศาลส่ง คำสั่งนัน
้ ให้
ตัวความทราบโดยเร็วโดยวิธีส่งหมายธรรมดาหรือโดยวิธีอ่ น
ื แทนแล้วแต่
จะเห็นสมควร
 
มาตรา ๖๖  ผู้ใ ดอ้า งว่า เป็ นผู้แ ทนโดยชอบธรรมของตัว
ความหรือเป็ นผู้แ ทนของนิต ิบ ุค คล เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคู่ความ
ฝ่ ายที่เ กี่ยวข้องยื่น คำขอ โดยทำเป็ นคำร้อ งในขณะที่ย่ น
ื คำฟ้ องหรือ คำ
ให้การ ศาลจะทำการสอบสวนถึงอำนาจของผู้นน
ั ้ ก็ได้ และถ้าเป็ นที่พอใจ
ว่าผู้นน
ั ้ ไม่มีอำนาจ หรืออำนาจของผู้นน
ั ้ บกพร่อง ศาลมีอำนาจยกฟ้ องคดี
นัน
้ เสีย หรือมีคำ พิพ ากษาหรือ คำสั่ง อย่า งอื่น ได้ต ามที่เ ห็น สมควร เพื่อ
ประโยชน์แห่งความยุติธรรม
 
ลักษณะ ๔
การยื่นและส่งคำคู่ความและเอกสาร
                  
 
มาตรา ๖๗  เมื่อประมวลกฎหมายนีห
้ รือกฎหมายอื่นบัญญัติ
ว่า เอกสารใดจะต้อ งส่ง ให้แ ก่ค ู่ค วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง หรือ บุค คลที่
เกี่ย วข้อ ง (เช่น คำ คู่ค วามที่ทำ โดยคำ ฟ้ อง คำ ให้ก ารหรือ คำ ร้อ งหรือ
คำขอโดยทำเป็ นคำร้อง หมายเรียกหรือหมายอื่น ๆ สำเนาคำแถลงการณ์
หรือสำเนาพยานเอกสาร ฯลฯ) เอกสารนัน
้ ต้องทำขึน
้ ให้ปรากฏข้อความ
แน่ชัดถึงตัวบุคคลและมีรายการต่อไปนี ้
(๑) ชื่อศาลที่จะรับคำฟ้ อง หรือถ้าคดีอยู่ในระหว่างพิจารณา
ชื่อของศาลนัน
้ และเลขหมายคดี
(๒) ชื่อคูค
่ วามในคดี
(๓) ชื่อ คู่ค วามหรือ บุค คล ซึ่ง จะเป็ นผ ู้ร ับ คำ คู่ค วามหรือ
เอกสารนัน

(๔) ใจความ และเหตุผลถ้าจำเป็ นแห่งคำคูค
่ วามหรือเอกสาร
(๕) วัน เดือน ปี ของคำคู่ความ หรือ เอกสารและลายมือ ชื่อ
ของเจ้าพนักงาน คูค
่ วาม หรือบุคคลซึง่ เป็ นผู้ย่ น
ื หรือเป็ นผูส
้ ่ง
ในการยื่น หรือส่ง คำคู่ความ หรือเอกสารอื่น ใดอัน จะต้อ งทำ
ตามแบบพิมพ์ที่จัดไว้ เจ้าพนักงาน คูค
่ วาม หรือบุคคลผู้เกี่ยวข้องจะต้อง
ใช้กระดาษแบบพิมพ์นน
ั ้ ส่วนราคากระดาษแบบพิมพ์นน
ั ้ ให้เ รียกตามที่
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมจะได้กำหนดไว้
เพื่อประโยชน์แห่งประมวลกฎหมายนี ้ ให้เรียกนิติบุคคลตาม
ชื่อ หรือ ตามชื่อ ที่จ ดทะเบีย นและภูม ิลำ เนาหรือ สำ นัก ทำการงานของ
นิติบุคคลนัน
้ ให้ถือเอาสำนักงานหรือสำนักงานแห่งใหญ่ซึ่งอยู่ภายในเขต
ศาลที่จะยื่นฟ้ องคดีหรือที่คดีนน
ั ้ อยู่ในระหว่างพิจารณา[๓๙]
 
มาตรา ๖๘ [๔ ๐ ]  การยื่น และส่ง คำ คูค
่ วามและเอกสารใน
ลักษณะนีไ้ ม่ว่าการนัน
้ จะเป็ นโดยคู่ความฝ่ ายใดทำต่อศาลหรือต่อคู่ความ
อีกฝ่ ายหนึ่ง หรือศาลทำต่อคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง หรือทุกฝ่ าย รวมทัง้
การแจ้งคำสั่งของศาลหรือข้อความอย่างอื่นไปยังคู่ความหรือบุคคลอื่นใด
อาจดำ เนิน การโดยทางไปรษณีย ์อ ิเ ล็ก ทรอนิก ส์ห รือ สื่อ เทคโนโลยี
สารสนเทศอื่นใดก็ได้  ทัง้ นี ้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำ หนดไว้ในข้อ
กำหนดของประธานศาลฎีก าโดยความเห็น ชอบของที่ป ระชุม ใหญ่ศ าล
ฎีกา และเมื่อข้อกำหนดนัน
้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับ
ได้
 
มาตรา ๖๙  การยื่น คำคู่ความ หรือเอกสารอื่นใดต่อศาลนัน

ให้ก ระทำได้โ ดยส่ง ต่อ พนัก งานเจ้า หน้า ที่ข องศาล หรือ ยื่น ต่อ ศาลใน
ระหว่างนั่งพิจารณา
 
มาตรา ๗๐[๔๑]  บรรดาคำฟ้ อง หมายเรียกและหมายอื่น ๆ คำ
สั่ง คำบังคับของศาลในกรณีต้องส่งคำบังคับ ให้เจ้าพนักงานศาลเป็ นผู้ส่ง
ให้แก่คู่ความหรือบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้อง แต่ว่า
(๑) หมายเรียกพยาน ให้ค ู่ความฝ่ ายที่อ้างพยานนัน
้ เป็ นผู้ส่ง
โดยตรง เว้นแต่ศาลจะสั่งเป็ นอย่างอื่นหรือพยานปฏิเสธไม่ยอมรับหมาย
ในกรณีเช่นว่านีใ้ ห้เจ้าพนักงานศาลเป็ นผูส
้ ่ง
(๒) คำสั่งของศาล รวมทัง้ คำสั่งกำหนดวันนั่งพิจารณาหรือสืบ
พยาน แล้วแต่กรณี หรือคำสั่งให้เลื่อนคดี ถ้าคู่ความหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
นัน
้ อยู่ในศาลในเวลาที่มีคำ สั่งและได้ล งลายมือ ชื่อ รับ รู้ไ ว้ ให้ถ ือ ว่า ได้ส ่ง
โดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว
คำฟ้ องนัน
้ ให้โจทก์เสียค่าธรรมเนียมในการส่ง ส่วนการนำส่ง
นัน
้ โจทก์จะนำส่งหรือไม่ก็ได้ เว้นแต่ศาลจะสั่งให้โจทก์มีหน้าที่จัดการนำ
ส่ง ส่วนหมายเรียก หมายอื่น ๆ คำสัง่ ของศาลที่ได้ออกตามคำขอของคู่
ความฝ่ ายใด ถ้าศาลมิได้สั่งให้จัดการนำส่งด้วย ก็ให้คค
ู่ วามฝ่ ายนัน
้ เพียง
แต่เสียค่าธรรมเนียมในการส่ง ในกรณีอ่ น
ื ๆ ให้เป็ นหน้าที่ของศาลที่จะ
จัดการส่งให้แก่คค
ู่ วามหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
 
มาตรา ๗๑  คำให้การนัน
้ ให้ฝ่ายที่ให้การนำต้นฉบับยื่นไว้ต่อ
ศาลพร้อมด้วยสำเนาสำหรับให้คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง หรือคูค
่ วามอื่น ๆ รับ
ไปโดยทางเจ้าพนักงานศาล
คำร้องเพื่อแก้ไขเพิม
่ เติมคำให้การนัน
้ ให้เจ้าพนักงานศาลเป็ นผู้
ส่งให้คค
ู่ วามอีกฝ่ ายหนึง่ หรือคูค
่ วามอื่น ๆ โดยฝ่ ายที่ย่ น
ื คำร้องเป็ นผู้มีหน้า
ที่จัดการนำส่ง
 
มาตรา ๗๒  คำร้องและคำแถลงการณ์ซึ่งได้ย่ น
ื ต่อศาลภายใน
เวลาที่กฎหมายหรือ ศาลกำหนดไว้ หรือ โดยข้อ ตกลงของคู่ค วามตามที่
ศาลจดลงไว้ในรายงานนั น
้ ให้ผ ู้ย่ ื นคำร้องหรือคำแถลงการณ์ นำต้นฉบับ
ยื่นไว้ต่อศาลพร้อมด้วยสำเนาเพื่อให้คค
ู่ วามอีกฝ่ ายหนึ่งหรือคู่ความอื่น ๆ
หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องมารับไปโดยทางเจ้าพนักงานศาล
บรรดาคำร้องอื่น ๆ ให้ย่ น
ื ต่อศาลพร้อมด้วยสำเนา เพื่อส่งให้
แก่ค ู่ค วามอีก ฝ่ ายหนึ่ง หรือคูค
่ วามอื่น ๆ หรือ บุคคลที่เ กี่ยวข้อ ง และถ้า
ศาลกำหนดให้เจ้าพนักงานศาลเป็ นผู้ส่งสำเนาเช่นว่านัน
้ ก็ให้เจ้าพนักงาน
ศาลเป็ นผู้สง่ โดยให้คู่ความฝ่ ายที่ย่ น
ื คำร้องเป็ นผู้ออกค่าใช้จ่าย
บรรดาเอกสารอื่น ๆ เช่น สำเนาคำแถลงการณ์ห รือ สำเนา
พยานเอกสารนัน
้ ให้ส ่ง แก่ค ู่ค วามอีก ฝ่ ายหนึ่ง หรือ คูค
่ วามอื่น ๆ หรือ
บุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยวิธีใดวิธีหนึ่งในสองวิธีดังต่อไปนี ้
(๑) โดยคู่ความฝ่ ายที่ต้องส่งนัน
้ ส่งสำเนาให้แก่คู่ความอีกฝ่ าย
หนึ่ง หรือ คู่ค วามอื่น ๆ หรือ บุค คลที่เ กี่ย วข้อ งเอง แล้ว ส่ง ใบรับ ต่อ ศาล
พร้อ มกับ ต้น ฉบับ นัน
้ ๆ ใบรับ นัน
้ จะทำโดยวิธ ีล งไว้ใ นต้น ฉบับ ว่า ได้ร ับ
สำเนาแล้ว และลงลายมือชื่อผู้รับกับวัน เดือน ปี ที่ได้รับก็ได้ หรือ
(๒) โดยคู่ความฝ่ ายที่ต้องส่งนัน
้ นำสำเนายื่นไว้ต่อศาลพร้อม
กับต้นฉบับ แล้วขอให้เ จ้าพนักงานศาลเป็ นผู้นำ ส่ง ให้แก่ค ู่ค วามอีก ฝ่ าย
หนึ่งหรือคูค
่ วามอื่น ๆ หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง ในกรณีเช่นนี ้ ผู้ขอต้องไปกับ
เจ้าพนักงานศาลและเสียค่าธรรมเนียมในการส่งนัน
้ ด้วย
 
มาตรา ๗๓  ถ้า คำ คูค
่ วามหรือ เอกสารอื่น ใดจะต้อ งให้เ จ้า
พนักงานศาลเป็ นผูส
้ ง่ เมื่อคูค
่ วามผู้มีหน้าที่ต้องส่งได้ร้องขอ ให้พนักงาน
เจ้า หน้า ที่ดำ เนิน การส่ง โดยเร็ว เท่า ที่จ ะทำได้ เพื่อ การนี ้ พนัก งานผูส
้ ่ง
หมายจะให้ผู้ขอหรือบุคคลที่ผู้ขอเห็นสมควรไปด้วยเพื่อชีต
้ ัวคู่ความหรือ
บุคคลผู้รับหรือเพื่อค้นหาภูมลำ
ิ เนาหรือสำนักทำการงานของผู้รับก็ได้
ในกรณีที่ต้องส่งคำคูค
่ วามหรือเอกสารอื่นใดไปตามคำสั่งของ
ศาล ซึง่ บุคคลอื่น หรือคูค
่ วามไม่มีหน้าที่ต้อ งรับผิดชอบในการส่งนัน
้ ให้
เป็ นหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลจะดำเนินการส่ง
 
มาตรา ๗๓ ทวิ[๔๒]  คำคู่ความหรือเอกสารที่เจ้าพนักงานศาล
เป็ นผูส
้ ่งไม่ว่าการส่ง นัน
้ จะเป็ นหน้า ที่ข องศาลจัด การส่ง เองหรือ คู่ค วาม
มีหน้าที่จัดการนำส่งก็ตาม ศาลอาจสั่งให้ส่งโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียน
ตอบรับ หรือโดยทางไปรษณีย์ด ่วนพิเ ศษในประเทศก็ไ ด้ โดยให้ค ค
ู่ วาม
ฝ่ ายที่มีหน้าที่นำส่งเป็ นผูเ้ สียค่าใช้จ่ายกรณีเช่นนี ้ ให้ถือว่า คำคูค
่ วามหรือ
เอกสารที่ส่งโดยเจ้าพนักงานไปรษณีย์ มีผลเสมือนเจ้าพนักงานศาลเป็ นผู้
ส่ง และให้นำ บทบัญ ญัต ิม าตรา ๗๔ มาตรา ๗๖ และมาตรา ๗๗ มาใช้
บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๗๔  การส่ง คำ คู่ค วามหรือ เอกสารอื่น ใดโดยเจ้า
พนักงานศาลนัน
้ ให้ปฏิบัติ ดังนี ้
(๑) ให้ส ่ง ในเวลากลาง วัน ระ ห ว่า ง พ ระ อาทิต ย์ข น
ึ้ แ ล ะ
พระอาทิตย์ตก และ
(๒) ให้ส ่ง แก่ค ู่ค วามหรือ บุค คลซึ่ง ระบุไ ว้ใ นคำ คู่ค วามหรือ
เอกสาร ณ ภูมิลำเนาหรือสำนักทำการงานของคูค
่ วามหรือบุคคลนัน
้ แต่
ให้อยู่ในบังคับแห่งบทบัญญัติหกมาตราต่อไปนี ้
 
มาตรา ๗๕  การส่ง คำ คู่ค วามหรือ เอกสารอื่น ใดให้แ ก่
ทนายความที่คู่ความตัง้ แต่งให้ว่าคดี หรือให้แก่บุคคลที่ทนายความเช่นว่า
นัน
้ ได้ตงั ้ แต่ง เพื่อกระทำกิจการอย่างใด ๆ ที่ระบุไว้ในมาตรา ๖๔ นัน
้ ให้
ถือว่าเป็ นการส่งโดยชอบด้วยกฎหมาย
 
มาตรา ๗๖  เมื่อเจ้าพนัก งานศาลไม่พ บคู่ความหรือบุคคลที่
จะส่งคำคู่ความหรือเอกสาร ณ ภูมิลำเนาหรือสำนักทำการงานของบุคคล
นัน
้ ๆ ถ้าได้ส่งคำคู่ความหรือเอกสารให้แก่บุคคลใด ๆ ที่มีอายุเกินยี่สิบปี
ซึง่ อยู่หรือทำงานในบ้านเรือนหรือที่สำนักทำการงานที่ปรากฏว่าเป็ นของ
คู่ความหรือบุคคลนัน
้ หรือได้สง่ คำคูค
่ วามหรือเอกสารนัน
้ ตามข้อความใน
คำสัง่ ของศาลให้ถ ือว่าเป็ นการเพีย งพอที่จ ะฟั งว่า ได้มีก ารส่ง คำคูค
่ วาม
หรือเอกสารถูกต้องตามกฎหมายแล้ว
ในกรณีเ ช่น ว่ามานี ้ การส่ง คำคู่ค วามหรือ เอกสารแก่ค ู่ค วาม
ฝ่ ายใด ห้ามมิให้ส่งแก่คู่ความฝ่ ายปรปั กษ์เป็ นผู้รับไว้แทน
 
มาตรา ๗๗  การส่ง คำ คู่ค วามหรือ เอกสารอื่น ใดโดยเจ้า
พนักงานศาลไปยัง ที่อ่ น
ื นอกจากภูมิลำ เนา หรือ สำนัก ทำการงานของคู่
ความหรือ ของบุค คลซึง่ ระบุไ ว้ใ นคำคูค
่ วาม หรือ เอกสารนัน
้ ให้ถ ือ ว่า
เป็ นการถูกต้องตามกฎหมาย เมื่อ
(๑) คู่ความหรือบุคคลนัน
้ ยอมรับคำคู่ความหรือเอกสารนัน
้ ไว้
หรือ
(๒) การส่งคำคู่ความหรือเอกสารนัน
้ ได้กระทำในศาล
 
มาตรา ๗๘  ถ้าคูค
่ วามหรือ บุค คลที่ระบุไว้ในคำคู่ค วามหรือ
เอกสารปฏิเสธไม่ยอมรับคำคูค
่ วามหรือเอกสารนัน
้ จากเจ้าพนักงานศาล
โดยปราศจากเหตุอน
ั ชอบด้วยกฎหมาย เจ้าพนักงานนัน
้ ชอบที่จ ะขอให้
พนักงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองที่มีอำนาจหรือเจ้าพนักงานตำรวจไปด้วย
เพื่อเป็ นพยาน และถ้าคูค
่ วามหรือบุคคลนัน
้ ยังคงปฏิเสธไม่ยอมรับอยู่อีก
ก็ให้วางคำคู่ความหรือเอกสารไว้ ณ ที่นน
ั ้ เมื่อได้ทำดังนีแ
้ ล้วให้ถือว่าการ
ส่งคำคูค
่ วามหรือเอกสารนัน
้ เป็ นการถูกต้องตามกฎหมาย
 
มาตรา ๗๙[๔๓]  ถ้าการส่งคำคูค
่ วามหรือเอกสารนัน
้ ไม่สามารถ
จะทำได้ดังที่บัญญัติไว้ในมาตราก่อน ศาลอาจสัง่ ให้ส่งโดยวิธีอ่ น
ื แทนได้
กล่าวคือปิ ดคำคูค
่ วามหรือเอกสารไว้ในที่แลเห็นได้ง่าย ณ ภูมิลำเนาหรือ
สำนัก ทำการงานของคู่ค วามหรือ บุค คลผู้ม ีช่ อ
ื ระบุไ ว้ใ นคำคูค
่ วามหรือ
เอกสาร หรือ มอบหมายคำคูค
่ วามหรือ เอกสารไว้แ ก่เ จ้า พนัก งานฝ่ าย
ปกครองในท้องถิ่นหรือเจ้าพนักงานตำรวจ แล้วปิ ดประกาศแสดงการที่ได้
มอบหมายดังกล่าวแล้วนัน
้ ไว้ดังกล่าวมาข้างต้น หรือลงโฆษณาหรือ ทำวิธี
อื่นใดตามที่ศาลเห็นสมควร
การส่ง คำ คู่ค วามหรือ เอกสารโดยวิธ ีอ่ ื น แทนนั น
้ ให้ม ีผ ล
ใช้ได้ต่อเมื่ อ กำหนดเวลาสิบห้าวัน หรือระยะเวลานานกว่านัน
้ ตามที่ศาล
เห็น สมควรกำ หนด ได้ล ่ว งพ้น ไปแล้ว นับ ตัง้ แต่เ วลาที่ คำ คู่ค วามหรือ
เอกสารหรือประกาศแสดงการมอบหมายนัน
้ ได้ปิ ดไว้ หรือ การโฆษณา
หรือวิธีอ่ น
ื ใดตามที่ศาลสั่งนัน
้ ได้ทำหรือได้ตงั ้ ต้นแล้ว
 
มาตรา ๘๐  การส่ง คำคู่ค วามหรือ เอกสารโดยเจ้า พนัก งาน
ศาลหรือทางเจ้าพนักงานศาลนัน
้ ให้เจ้าพนักงานศาลส่งใบรับลงลายมือ
ชื่อ คู่ค วาม หรือผู้รับ คำคูค
่ วามหรือ เอกสาร หรือ ส่ง รายงานการส่ง คำคู่
ความหรือเอกสารลงลายมือชื่อเจ้าพนักงานศาลต่อศาล แล้วแต่กรณี เพื่อ
รวมไว้ในสำนวนความ
ใบรับ หรือรายงานนัน
้ ต้อ งลงข้อ ความให้ป รากฏแน่ช ัด ถึง ตัว
บุคคลและรายการต่อไปนี ้
(๑) ชื่อเจ้าพนักงานผู้ส่งหมาย และชื่อผู้รับหมาย ถ้าหากมี
(๒) วิธีส่ง วัน เดือน ปี และเวลาที่ส่ง
รายงานนัน
้ ต้อ งลงวัน เดือ นปี และลงลายมือ ชื่อ ของเจ้า
พนักงานผู้ทำรายงาน
ใบรับนัน
้ จะทำโดยวิธีจดลงไว้ที่ต้นฉบับซึ่งยื่นต่อศาลก็ได้
 
มาตรา ๘๑  การส่ง หมายเรียกพยานโดยคู่ค วามที่เ กี่ยวข้อ ง
นัน
้ ให้ปฏิบัติดังนี ้
(๑) ให้ส ่ง ในเวลากลาง วัน ระ ห ว่า ง พ ระ อาทิต ย์ข น
ึ้ แ ล ะ
พระอาทิตย์ตก และ
(๒) ให้ส่งแก่บค
ุ คลซึ่งระบุไว้ในหมายเรียก ณ ภูมิลำ เนาหรือ
สำนักทำการงานของบุคคลเช่นว่านัน
้ แต่ว่าให้อยู่ภายในบังคับบทบัญญัติ
แห่งมาตรา ๗๖ และ ๗๗
 
มาตรา ๘๒  ถ้าจะต้องส่งคำคูค
่ วามหรือเอกสารอื่นใดไปยังคู่
ความหรือบุคคลหลายคน ให้ส่ง สำเนาคำคูค
่ วามหรือเอกสารที่จะต้องส่ง
ไปให้ทุก ๆ คน ในกรณีที่ต้องส่ง คำคูค
่ วามหรือเอกสารโดยเจ้าพนักงาน
ศาลหรือทางเจ้าพนัก งานศาลนัน
้ ให้ค ู่ค วามฝ่ ายซึ่ง มีห น้า ที่จัด การนำส่ง
มอบสำเนาคำคูค
่ วามหรือเอกสารต่อพนักงานเจ้าหน้าทีใ่ ห้พอกับ จำนวนคู่
ความหรือบุคคลทีจ
่ ะต้องส่งให้นน
ั้
 
มาตรา ๘๓  ถ้าคู่ความฝ่ ายใดจะต้องยื่นต่อศาลหรือจะต้องส่ง
ให้แ ก่ค ู่ค วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง หรือ บุค คลภายนอกซึ่ง คำ คูค
่ วามหรือ
เอกสารอื่นใด ภายในเวลาหรือก่อนเวลาที่กฎหมายหรือศาลได้ กำหนดไว้
และการส่ง เช่น ว่า นีจ
้ ะต้อ งกระทำโดยทางเจ้า พนัก งานศาล ให้ถ ือ ว่า คู่
ความฝ่ ายนัน
้ ได้ปฏิบัติตามความมุ่งหมายของกฎหมายหรือของศาลแล้ว
เมื่อคู่ความฝ่ ายนัน
้ ได้สง่ คำคูค
่ วามหรือเอกสารเช่นว่านัน
้ แก่พนักงานเจ้า
หน้าที่ของศาลเพื่อให้ย่ น
ื หรือให้ส่งในเวลาหรือก่อนเวลาที่ กำหนดนัน
้ แล้ว
แม้ถ ึง ว่า การรับ คำคู่ค วามหรือ เอกสารหรือ การขอให้ส ่ง คำคูค
่ วามหรือ
เอกสาร หรือการส่งคำคู่ความหรือเอกสารให้แก่คค
ู่ วามอีกฝ่ ายหนึ่งหรือ
บุคคลภายนอกนัน
้ จะได้เป็ นไปภายหลังเวลาที่กำหนดนัน
้ ก็ดี
ถ้า ประมวลกฎหมายนีบ
้ ัญ ญัต ิไ ว้ว ่า การส่ง คำ คูค
่ วามหรือ
เอกสารอื่นใด จะต้องให้คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งหรือบุคคลภายนอกทราบล่วง
หน้าตามระยะเวลาที่กำ หนดไว้ก่อนวันเริ่มต้นนั่งพิจารณาหรือสืบพยาน
ให้ถือว่าคู่ความฝ่ ายที่ต้องรับผิดในการส่งนัน
้ ได้ปฏิบัติตามความมุ่งหมาย
ของกฎหมายหรือ ของศาลตามที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นวรรคก่อ นนัน
้ ได้ต ่อ เมื่อ คู่
ความฝ่ ายนัน
้ ได้ย่ น
ื คำคู่ความหรือเอกสารที่จะต้องส่งให้แก่พนักงานเจ้า
หน้า ที่ข องศาลไม่ต ่ำกว่าสามวัน ก่อ นวัน เริ่มต้น แห่ง ระยะเวลาที่กำ หนด
ล่วงหน้าไว้นน
ั้
ในกรณีที่คู่ความอาจส่งคำคูค
่ วามหรือเอกสารโดยวิธีส่งสำเนา
ตรงไปยัง คู่ค วามอีก ฝ่ ายหนึ่ง หรือ บุค คลภายนอกได้น น
ั ้ บทบัญ ญัต ิแ ห่ง
มาตรานีม
้ ิได้ห้ามคู่ความที่มีหน้าที่ต้องส่งคำคู่ความหรือเอกสารดังกล่า ว
แล้ว ในอัน ที่จ ะใช้ว ิธ ีเ ช่น ว่า นี ้ แต่ค ู่ค วามฝ่ ายนัน
้ จะต้อ งส่ง ใบรับ ของคู่
ความอีก ฝ่ ายหนึ่ง หรือ บุค คลภายนอกต่อ ศาลในเวลาหรือ ก่อ นเวลาที่
กฎหมายหรือศาลได้กำหนดไว้
 
มาตรา ๘๓ ทวิ[๔๔]  ในกรณีที่จำ เลยไม่มีภ ูมิลำ เนาอยู่ในราช
อาณาจักรให้ส ่งหมายเรียกและคำฟ้ องตัง้ ต้น คดีแ ก่จำ เลย ณ ภูมิลำ เนา
หรือ สำนัก ทำการงานของจำเลยนอกราชอาณาจัก ร เว้น แต่ใ นกรณีท ี่
จำเลยประกอบกิจการในราชอาณาจักรด้วยตนเองหรือโดยตัวแทนหรือใน
กรณีที่มีการตกลงเป็ นหนังสือว่า คำคูค
่ วามและเอกสารที่จะต้องส่งให้แก่
จำเลยนัน
้ ให้ส่งแก่ตัวแทนซึ่งมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรที่จำเลยได้แต่งตัง้
ไว้เพื่อการนีใ้ ห้ส่งหมายเรียกและคำฟ้ องตัง้ ต้นคดีแก่จำเลยหรือตัวแทนใน
การประกอบกิจการหรือตัวแทนในการรับคำคู่ความและเอกสาร ณ สถาน
ที่ที่จำ เลยหรือตัวแทนใช้ประกอบกิจการหรือสถานที่อันเป็ นถิ่นที่อยู่ของ
ตัวแทนในการประกอบกิจการหรือของตัวแทนในการรับ คำคู่ความและ
เอกสาร ซึ่งตัง้ อยู่ในราชอาณาจักร แล้วแต่กรณี
ในกรณีที่มีการเรียกบุคคลภายนอกซึ่งไม่มีภูมิลำเนาอยู่ในราช
อาณาจักรเข้ามาเป็ นคูค
่ วามตามมาตรา ๕๗ (๓) ให้นำความในวรรคหนึ่ง
มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๘๓ ตรี[๔๕]  การส่ง คำคู่ค วาม คำร้อ ง คำแถลง หรือ
เอกสารอื่นใดนอกจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๘๓ ทวิ ถ้าผู้รับไม่มีภูมิลำเนา
อยู่ในราชอาณาจักรแต่ประกอบกิจการในราชอาณาจักรด้วยตนเองหรือ
โดยตัว แ ทน ห รือ มีต ัว แ ทนในก าร รับ คำ ค ู่ค วามแ ล ะเ อ ก ส าร ห ร ือ
ทนายความในการดำ เนิน คดีอ ยู่ใ นราชอาณาจัก ร ให้ส ่ง แก่ผ ู้ร ับ หรือ
ตัว แทนเช่น ว่า นัน
้ หรือ ทนายความ ณ สถานที่ท ี่ผ ู้ร ับ หรือ ตัว แทนใช้
ประกอบกิจการ หรือสถานที่อันเป็ นถิ่นที่อยู่ของตัวแทน หรือภูมิลำ เนา
หรือสำนักทำการงานของทนายความซึ่งตัง้ อยู่ในราชอาณาจักร แล้วแต่
กรณี แต่ถ้าผู้รับมิได้ประกอบกิจการในราชอาณาจักรด้วยตนเองหรือไม่มี
ตัว แทนดัง กล่า วหรือ ทนายความอยู่ใ นราชอาณาจัก ร ให้ส ง่ โดยวิธ ีปิ ด
ประกาศไว้ที่ศาล
 
มาตรา ๘๓ จัต วา [๔ ๖ ]  ในกรณีท ี่จ ะต้อ งส่ง หมายเรีย กและ
คำฟ้ องตัง้ ต้นคดีตามมาตรา ๘๓ ทวิ แก่จำ เลย ณ ภูมิลำ เนาหรือ สำนัก
ทำการงานของจำเลยนอกราชอาณาจักรให้โจทก์ย่ น
ื คำร้องต่อศาลภายใน
กำ หนดเจ็ด วัน นับ แต่ว ัน ยื่น คำ ฟ้ อง เพื่อ ให้ศ าลจัด ส่ง หมายเรีย กและ
คำ ฟ้ องตัง้ ต้น คดีแ ก่จำ เลย ในกรณีเ ช่น ว่า นี ้ ถ้า ไม่ม ีข ้อ ตกลงระหว่า ง
ประเทศที่ประเทศไทยเป็ นภาคีกำหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ให้โจทก์ทำคำแปล
หมายเรีย ก คำฟ้ องตัง้ ต้น คดีแ ละเอกสารอื่น ใดที่จ ะส่ง ไปยัง ประเทศที่
จำเลยมีภูมลำ
ิ เนาหรือสำนักทำการงานอยู่ เป็ นภาษาราชการของประเทศ
นัน
้ หรือเป็ นภาษาอังกฤษ พร้อมทัง้ คำรับรองคำแปลว่าถูกต้องยื่นต่อศาล
พร้อมกับคำร้องดังกล่าว และวางเงินค่าใช้จ่ายไว้ต่อศาลตามจำนวนและ
ภายในระยะเวลาที่ศาลกำหนด
ในกรณีที่ศาลเห็นสมควร ศาลจะมีคำสั่งให้โจทก์จัดทำเอกสาร
อื่นเพิ่มเติมยื่นต่อศาลภายในระยะเวลาที่ศาลกำหนดก็ได้
ในกรณีที่โจทก์เพิกเฉยไม่ ดำเนินการตามวรรคหนึ่งหรือวรรค
สอง ให้ถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้ องตามมาตรา ๑๗๔
ในกรณีที่มีการเรียกบุคคลภายนอกซึ่งไม่มีภูมิลำเนาอยู่ในราช
อาณาจักรเข้ามาเป็ นคูค
่ วามตามมาตรา ๕๗ (๓) ให้นำความในวรรคหนึ่ง
วรรคสอง และวรรคสาม มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๘๓ เบญจ [๔๗ ]  การส่ง หมายเรีย กและคำฟ้ องตัง้ ต้น
คดีตามมาตรา ๘๓ ทวิ แก่ จำ เลยหรือบุคคลภายนอก ณ ภูมิลำ เนาหรือ
สำนักทำการงานของบุคคลดังกล่าวนอกราชอาณาจักร ให้มีผลใช้ได้ต่อ
เมื่อพ้นกำหนดเวลาหกสิบวันนับแต่วันที่ได้มีการส่ง และในกรณีส่งโดยวิธี
อื่นแทนการส่งให้แ ก่จำ เลยหรือ บุคคลภายนอก ให้มีผ ลใช้ไ ด้ต ่อ เมื่อ พ้น
กำหนดเวลาเจ็ดสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้มีการส่งโดยวิธีอ่ น

 
มาตรา ๘๓ ฉ[๔๘]  การส่งหมายเรียกและคำฟ้ องตัง้ ต้นคดีตาม
มาตรา ๘๓ ทวิ แก่จำ เล ยห รือ ตัว แทนซ ึ่ง ป ระ กอบก ิจ ก ารในราช
อาณาจักรหรือตัวแทนในการรับ คำคู่ความและเอกสาร ให้มีผลใช้ได้ ต่อ
เมื่อ พ้น กำ หนดเวลาสามสิบ วัน นับ แต่ว ัน ที่ไ ด้ม ีก ารส่ง โดยชอบด้ว ย
กฎหมาย
การส่งคำคู่ความหรือเอกสารอื่นตามมาตรา ๘๓ ตรี แก่ผ ู้รับ
หรือตัวแทนหรือทนายความ ให้มผ
ี ลใช้ได้ต่อเมื่อพ้น กำหนดเวลาสิบห้าวัน
นับแต่วันที่ได้มีการส่งโดยชอบด้วยกฎหมาย
การปิ ดประกาศตามมาตรา ๘๓ ตรี ให้ม ีผ ลใช้ไ ด้ต ่อ เมื่อ พ้น
กำ หนดเวลาสามสิบ วัน นับ แต่ว ัน ปิ ดประกาศ และมิใ ห้ นำ บทบัญ ญัต ิ
มาตรา ๗๙ มาใช้บังคับ
 
มาตรา ๘๓ สัตต[๔๙]  เมื่อโจทก์ได้ปฏิบัติตามมาตรา ๘๓ จัตวา
แล้ว ถ้า ไม่มีข ้อตกลงระหว่างประเทศที่ป ระเทศไทยเป็ นภาคี กำ หนดไว้
เป็ นอย่างอื่น ให้ศาลดำเนิน การส่ง ให้แก่จำ เลยหรือ บุค คลภายนอกโดย
ทางไปรษณีย ์ด ่ว นพิเ ศษระหว่า งประเทศหรือ ผู้ป ระกอบกิจ การรับ ส่ง
พัส ดุภ ัณ ฑ์ร ะหว่า งประเทศหรือ โดยผ่า นสำ นัก งานศาลยุต ิธ รรมและ
กระทรวงการต่างประเทศ  ทัง้ นี ้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ใน
ข้อกำหนดของประธานศาลฎีกาโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ศาล
ฎีกา และเมื่อข้อกำหนดนัน
้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับ
ได้
 
มาตรา ๘๓ อัฎ ฐ [๕ ๐ ]  ในกรณีท ี่จ ะต้อ งส่ง หมายเรีย กและ
คำฟ้ องตัง้ ต้น คดีต ามมาตรา ๘๓ ทวิ แก่ จำ เลยหรือ บุค คลภายนอก ณ
ภูมิลำเนาหรือสำนักทำการงานของบุคคลดังกล่าวนอกราชอาณาจักรถ้า
โจทก์ย่ ืน คำขอฝ่ ายเดีย วโดยทำเป็ นคำร้อ งและสามารถแสดงให้เ ป็ นที่
พอใจแก่ศ าลได้ว่าการส่ง ตามมาตรา ๘๓ สัต ต ไม่อ าจกระทำได้เ พราะ
เหตุที่ภ ูมิลำ เนาและสำนัก ทำการงานของบุคคลดังกล่าวไม่ปรากฏหรือ
เพราะเหตุอ่ ืน ใด หรือเมื่อศาลได้ ดำ เนิน การตามมาตรา ๘๓ สัต ต แล้ว
แต่ไ ม่อ าจทราบผลการส่ง ได้ถ ้า ศาลเห็น สมควร ก็ใ ห้ศ าลอนุญ าตให้ส ่ง
โดยวิธีปิ ดประกาศไว้ที่ศาลแทน ในกรณีเช่นว่านี ้ ศาลจะสั่งให้ส่งโดยวิธี
ประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพ์หรือโดยวิธีอ่ ืนใดด้วยก็ได้ [๕๑]
การส่ง โดยวิธ ีก ารตามวรรคหนึ่ง ให้ม ีผ ลใช้ไ ด้ต ่อ เมื่อ พ้น
กำ หนดเวลาหกสิบ วัน นับ แต่ว ัน ที่ปิ ดประกาศไว้ท ี่ศ าล และมิใ ห้ นำ
บทบัญญัติมาตรา ๗๙ มาใช้บังคับ
 
ลักษณะ ๕
พยานหลักฐาน
                  
 
หมวด ๑
หลักทั่วไป
                  
 
มาตรา ๘๔ [๕๒]  การวินิจฉัยปั ญหาข้อเท็จจริงในคดีใดจะต้อง
กระทำโดยอาศัยพยานหลักฐานในสำนวนคดีนน
ั ้ เว้นแต่
(๑) ข้อเท็จจริงซึ่งรู้กันอยู่ทั่วไป
(๒) ข้อเท็จจริงซึ่งไม่อาจโต้แย้งได้ หรือ
(๓) ข้อเท็จจริงที่คู่ความรับหรือถือว่ารับกันแล้วในศาล
 
มาตรา ๘๔/๑ [๕ ๓ ]  คูค
่ วามฝ่ ายใดกล่า วอ้า งข้อ เท็จ จริง เพื่อ
สนับสนุนคำคูค
่ วามของตน ให้คู่ความฝ่ ายนัน
้ มีภาระการพิสูจน์ข้อเท็จจริง
นัน
้ แต่ถ้ามีข้อสันนิษฐานไว้ในกฎหมายหรือมีข้อสันนิษฐานที่ควรจะเป็ น
ซึง่ ปรากฏจากสภาพปกติธรรมดาของเหตุการณ์เป็ นคุณแก่ค ค
ู่ วามฝ่ ายใด
คู่ความฝ่ ายนัน
้ ต้องพิสูจน์เพียงว่าตนได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขแห่งการที่ตนจะ
ได้รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐานนัน
้ ครบถ้วนแล้ว
 
มาตรา ๘๕  คูค
่ วามฝ่ ายที่มีหน้าที่ต้องนำสืบข้อเท็จจริงย่อมมี
สิท ธิท ี่จ ะนำ พยานหลัก ฐานใด ๆ มาสืบ ได้ภ ายใต้บ ัง คับ แห่ง ประมวล
กฎหมายนี ้ หรือกฎหมายอื่นอันว่าด้วยการรับฟั งพยานหลักฐานและการ
ยื่นพยานหลักฐาน
 
มาตรา ๘๖  เมื่อศาลเห็นว่าพยานหลักฐานใดเป็ นพยานหลัก
ฐานที่รับฟั งไม่ได้ก็ดีหรือเป็ นพยานหลักฐานที่รับฟั งได้ แต่ได้ย่ น
ื ฝ่ าฝื นต่อ
บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี ้ ให้ศาลปฏิเสธไม่รับพยานหลักฐานนัน

ไว้
เมื่อ ศาลเห็น ว่า พยานหลัก ฐานใดฟุ ่ม เฟื อยเกิน สมควร หรือ
ประวิงให้ชักช้า หรือไม่เกี่ยวแก่ประเด็น ให้ศาลมี อำ นาจงดการสืบพยาน
หลักฐานเช่นว่านัน
้ หรือพยานหลักฐานอื่นต่อไป
เมื่อ ศาลเห็น ว่า เพื่อ ประโยชน์แ ห่ง ความยุต ิธ รรมเป็ นการ
จำเป็ นที่จะต้องนำพยานหลักฐานอื่นอันเกี่ยวกับประเด็นในคดีมาสืบเพิ่ม
เติม ให้ศาลทำการสืบพยานหลักฐานต่อไป ซึง่ อาจรวมทัง้ การที่จะเรียก
พยานที่สืบแล้วมาสืบใหม่ด้วย โดยไม่ต้องมีฝ่ายใดร้องขอ
 
มาตรา ๘๗  ห้ามมิให้ศาลรับฟั งพยานหลักฐานใดเว้นแต่
(๑) พยานหลัก ฐานนัน
้ เกี่ยวถึง ข้อ เท็จ จริง ที่ค ู่ค วามฝ่ ายหนึ่ง
ฝ่ ายใดในคดีจะต้องนำสืบ และ
(๒) คู่ความฝ่ ายที่อ้างพยานหลักฐานได้แสดงความจำนงที่จะ
อ้างอิงพยานหลักฐานนัน
้ ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๘๘ และ ๙๐ แต่ถ้าศาล
เห็นว่า เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม จำเป็ นจะต้องสืบพยานหลักฐาน
อันสำคัญซึ่งเกี่ยวกับประเด็นข้อสำคัญในคดี โดยฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติของ
อนุมาตรานี ้ ให้ศาลมีอำนาจรับฟั งพยานหลักฐานเช่นว่านัน
้ ได้
 
มาตรา ๘๘ [๕๔]  เมื่อ คู่ค วามฝ่ ายใดมีค วามจำนงที่จ ะอ้า งอิง
เอกสารฉบับใดหรือคำเบิกความของพยานคนใด หรือมีความจำนงที่จะให้
ศาลตรวจบุคคล วัตถุ สถานที่ หรืออ้างอิงความเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่ศาล
ตัง้ หรือ ความเห็น ของผู้ม ีค วามรู้เ ชี่ย วชาญ เพื่อ เป็ นพยานหลัก ฐาน
สนับสนุนข้ออ้างหรือข้อเถียงของตน ให้คู่ความฝ่ ายนัน
้ ยื่นบัญชีระบุพยาน
ต่อศาลก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน โดยแสดงเอกสารหรือสภาพ
ของเอกสารที่จ ะอ้าง และรายชื่อ ที่อ ยู่ข องบุค คล ผู้มีค วามรู้เ ชี่ยวชาญ
วัตถุ หรือสถานที่ซึ่งคู่ความฝ่ ายนัน
้ ระบุอ้างเป็ นพยานหลักฐาน หรือขอให้
ศาลไปตรวจ หรือขอให้ตงั ้ ผู้เชี่ยวชาญแล้วแต่กรณี พร้อมทัง้ สำเนาบัญชี
ระบุพยานดังกล่าวในจำนวนที่เพียงพอ เพื่อให้คู่ความฝ่ ายอื่นมารับไปจาก
เจ้าพนักงานศาล[๕๕]
ถ้าคูค
่ วามฝ่ ายใดมีความจำนงจะยื่นบัญชีระบุพ ยานเพิ่มเติม
ให้ย่ น
ื คำแถลงขอระบุพยานเพิ่มเติมต่อศาลพร้อมกับบัญชีระบุพยานเพิ่ม
เติมและสำเนาบัญชีระบุพยานเพิ่มเติมดังกล่าวได้ภายในสิบห้าวันนับแต่
วันสืบพยาน
เมื่อระยะเวลาที่กำ หนดให้ย่ น
ื บัญชีระบุพยานตามวรรคหนึ่ง
หรือ วรรคสอง แล้ว แต่ก รณี ได้ส น
ิ ้ สุด ลงแล้ว ถ้า คู่ค วามฝ่ ายใดซึ่ง ได้ย่ น

บัญชีระบุพยานไว้แล้ว มีเหตุอันสมควรแสดงได้ว่าตนไม่สามารถทราบได้
ว่า ต้อ งนำพยานหลัก ฐานบางอย่า งมาสืบ เพื่อ ประโยชน์ข องตน หรือ ไม่
ทราบว่าพยานหลักฐานบางอย่างได้มีอยู่ หรือมีเหตุอันสมควรอื่นใด หรือ
ถ้าคู่ความฝ่ ายใดซึ่งมิได้ย่ น
ื บัญชีระบุพยานแสดงให้เป็ นที่พอใจแก่ศาลได้
ว่า มีเหตุอัน สมควรที่ไ ม่ส ามารถยื่น บัญ ชีระบุพยานตามกำหนดเวลาดัง
กล่าวได้ คูค
่ วามฝ่ ายนัน
้ อาจยื่นคำร้องขออนุญาตอ้างพยานหลักฐานเช่น
ว่านัน
้ ต่อศาลพร้อมกับบัญชีระบุพยานและสำเนาบัญชีระบุพยานดังกล่าว
ไม่ว่าเวลาใด ๆ ก่อนพิพากษาคดี และถ้าศาลเห็นว่า เพื่อให้การวินิจฉัย
ชีข
้ าดข้อสำคัญแห่งประเด็นเป็ นไปโดยเที่ยงธรรม จำเป็ นจะต้องสืบพยาน
หลักฐานเช่นว่านัน
้ ก็ให้ศาลอนุญาตตามคำร้อง
 
มาตรา ๘๙[๕๖]  คูค
่ วามฝ่ ายใดประสงค์จะนำสืบพยานหลักฐาน
ของตนเพื่อพิสูจน์ต่อพยานของคู่ความฝ่ ายอื่นในกรณีต่อไปนี ้
(๑) หักล้างหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขถ้อยคำพยานในข้อความทัง้
หลายซึ่งพยานเช่นว่านัน
้ เป็ นผู้ร้เู ห็นหรือ
(๒) พิสูจน์ข้อความอย่างหนึ่งอย่างใดอันเกี่ยวด้วยการกระทำ
ถ้อยคำ เอกสาร หรือพยานหลักฐานอื่นใดซึ่งพยานเช่นว่านัน
้ ได้กระทำขึน

ให้ค ู่ค วามฝ่ ายนัน
้ ถามค้า นพยานดัง กล่า วเสีย ในเวลาที่พ ยานเบิก ความ
เพื่อให้พยานมีโอกาสอธิบายถึงข้อความเหล่านัน
้ แม้ว่าพยานนัน
้ จะมิได้
เบิกความถึงข้อความดังกล่าวก็ตาม
ในกรณีที่คค
ู่ วามฝ่ ายนัน
้ มิได้ถามค้านพยานของคูค
่ วามฝ่ ายอื่น
ไว้ดังกล่าวมาข้างต้นแล้ว ต่อมานำพยานหลักฐานมาสืบถึงข้อความนัน
้ คู่
ความฝ่ ายอื่นที่สืบพยานนัน
้ ไว้ชอบที่จะคัดค้านได้ในขณะที่ค ู่ความฝ่ ายนัน

นำพยานหลักฐานมาสืบ และในกรณีเช่นว่านี ้ ให้ศาลปฏิเสธไม่ยอมรับฟั ง
พยานหลักฐานเช่นว่ามานัน

ในกรณีที่ค ค
ู่ วามฝ่ ายที่ป ระสงค์จะนำสืบพยานหลัก ฐานเพื่อ
พิสูจน์ต ่อพยานตามวรรคหนึ่ง แสดงให้เ ป็ นที่พ อใจของศาลว่า เมื่อเวลา
พยานเบิกความนัน
้ ตนไม่ร้ห
ู รือ ไม่มีเ หตุอ ัน ควรรู้ถ ึง ข้อ ความดัง กล่า วมา
แล้ว หรือถ้าศาลเห็น ว่าเพื่อประโยชน์แ ห่ง ความยุต ิธรรมจำเป็ นต้อ งสืบ
พยานหลักฐานเช่นว่านีศ
้ าลจะยอมรับฟั งพยานหลักฐานเช่นว่านีก
้ ไ็ ด้ แต่ใน
กรณีเช่นนี้ คูค
่ วามอีกฝ่ ายหนึง่ จะขอให้เรียกพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องมา
สืบอีกก็ได้ หรือเมื่อศาลเห็นสมควรจะเรียกมาสืบเองก็ได้
 
มาตรา ๙๐[๕๗]  ให้คค
ู่ วามฝ่ ายที่อ้างอิงเอกสารเป็ นพยานหลัก
ฐานเพื่อสนับสนุนข้ออ้างหรือข้อเถียงของตนตามมาตรา ๘๘ วรรคหนึ่ง
ยื่นต่อศาลและส่งให้คู่ความฝ่ ายอื่นซึ่งสำเนาเอกสารนัน
้ ก่อนวันสืบพยาน
ไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน
ในกรณีท ี่ค ู่ค วามฝ่ ายใดยื่น คำ แถลงหรือ คำ ร้อ งขออนุญ าต
อ้า งอิง เอกสารเป็ นพยานหลัก ฐานตามมาตรา ๘๘ วรรคสองหรือ วรรค
สาม ให้ย่ น
ื ต่อศาลและส่งให้คค
ู่ วามฝ่ ายอื่นซึ่งสำเนาเอกสารนัน
้ พร้อมกับ
การยื่น คำแถลงหรือคำร้องดัง กล่า ว เว้น แต่ศ าลจะอนุญ าตให้ย่ น
ื สำเนา
เอกสารภายหลังเมื่อมีเหตุอันสมควร
คูค
่ วามฝ่ ายที่อ้างอิงพยานหลักฐานไม่ต้องยื่นสำเนาเอกสารต่อ
ศาล และไม่ต้องส่งสำเนาเอกสารให้คค
ู่ วามฝ่ ายอื่นในกรณีดังต่อไปนี ้
(๑) เมื่อคู่ความฝ่ ายใดอ้างอิงเอกสารเป็ นชุดซึ่งคู่ความฝ่ ายอื่น
ทราบดีอยู่แล้วหรือสามารถตรวจตราให้ทราบได้โดยง่ายถึงความมีอยู่และ
ความแท้จริงแห่งเอกสารนัน
้ เช่น จดหมายโต้ตอบระหว่างคู่ความในคดี
หรือสมุดบัญชีการค้า และสมุดบัญชีของธนาคารหรือเอกสารในสำนวน
คดีเรื่องอื่น
(๒) เมื่อคู่ความฝ่ ายใดอ้างอิงเอกสารฉบับเดียวหรือหลายฉบับ
ที่อยู่ในความครอบครองของคู่ความฝ่ ายอื่นหรือของบุคคลภายนอก
(๓) ถ้าการคัดสำเนาเอกสารจะทำให้กระบวนพิจารณาล่าช้า
เป็ นที่เสื่อมเสียแก่ค ู่ความซึ่งอ้างอิงเอกสารนัน
้ หรือมีเหตุผลแสดงว่า ไม่
อาจคัดสำเนาเอกสารให้เสร็จภายในกำหนดเวลาที่ให้ย่ น
ื สำเนาเอกสารนัน

กรณีต าม (๑) หรือ (๓) ให้ค ู่ค วามฝ่ ายที่อ ้า งอิง เอกสารยื่น
คำขอฝ่ ายเดีย วโดยทำเป็ นคำร้อ งต่อ ศาล ขออนุญ าตงดการยื่น สำเนา
เอกสารนัน
้ และขอยื่นต้นฉบับเอกสารแทน เพื่อให้ศาลหรือคู่ความฝ่ ายอื่น
ตรวจดูตามเงื่อนไขที่ศาลเห็นสมควรกำหนด
กรณีตาม (๒) ให้คค
ู่ วามฝ่ ายที่อ้างอิงเอกสารขอให้ศาลมีคำสั่ง
เรียกเอกสารนัน
้ มาจากผู้ครอบครองตามมาตรา ๑๒๓ โดยต้องยื่น คำร้อง
ต่อศาลภายในกำหนดเวลาตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง แล้วแต่กรณี และ
ให้คค
ู่ วามฝ่ ายนัน
้ มีหน้าที่ติดตามเพื่อให้ได้เอกสารดังกล่าวมาภายในเวลา
ที่ศาลกำหนด
 
มาตรา ๙๑  คูค
่ วามทัง้ สองฝ่ ายต่า งมีส ิทธิที่จ ะอ้า งอิง พยาน
หลักฐานร่วมกันได้
 
มาตรา ๙๒  ถ้าคูค
่ วามหรือบุคคลใดจะต้องเบิกความหรือ นำ
พยานหลักฐานชนิดใด ๆ มาแสดง และคำเบิกความหรือพยานหลักฐาน
นัน
้ อาจเปิ ดเผย
(๑) หนังสือราชการหรือข้อความอันเกี่ยวกับงานของแผ่นดิน
ซึ่ง โดยสภาพจะต้อ งรัก ษาเป็ นความลับ ไว้ช ั่ว คราวหรือ ตลอดไป และคู่
ความหรือบุคคลนัน
้ เป็ นผู้รักษาไว้ หรือได้ทราบมาโดยตำแหน่งราชการ
หรือในหน้าที่ราชการ หรือกึ่งราชการอื่นใด
(๒) เอกสารหรือข้อความที่เป็ นความลับใด ๆ ซึ่งตนได้รับมอบ
หมายหรือบอกเล่าจากลูกความในฐานะที่ตนเป็ นทนายความ
(๓) การประดิษ ฐ์ แบบ หรือ การงานอื่น ๆ ซึ่ง ได้ร ับ ความ
คุ้มครองตามกฎหมายไม่ให้เปิ ดเผย
คู่ความหรือบุคคลเช่นว่านัน
้ ชอบที่จะปฏิเสธไม่ยอมเบิกความ
หรือ นำพยานหลัก ฐานนัน
้ ๆ มาแสดงได้ เว้น แต่จ ะได้ร ับ อนุญ าตจาก
พนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้ที่เกี่ยวข้องให้เปิ ดเผยได้
เมื่อคู่ความหรือบุคคลใดปฏิเสธไม่ยอมเบิกความหรือ นำพยาน
หลัก ฐานมาแสดงดัง กล่า วมาแล้ว ให้ศ าลมีอำ นาจที่จ ะหมายเรีย ก
พนักงานเจ้าหน้าที่หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องให้มาศาลและให้ชแ
ี ้ จงข้อความ
ตามทีศ
่ าลต้องการเพื่อวินจ
ิ ฉัยว่า การปฏิเสธนัน
้ ชอบด้วยเหตุผลหรือไม่ ถ้า
ศาลเห็นว่า การปฏิเสธนัน
้ ไม่มีเหตุผลฟั งได้ ศาลมีอำ นาจออกคำสั่งมิให้คู่
ความหรือบุคคลเช่นว่านัน
้ ยกประโยชน์แห่งมาตรานีข
้ น
ึ ้ ใช้ และบังคับให้
เบิกความหรือนำพยานหลักฐานนัน
้ มาแสดงได้
 
มาตรา ๙๓[๕๘]  การอ้างเอกสารเป็ นพยานหลักฐานให้ยอมรับ
ฟั งได้เฉพาะต้นฉบับเอกสารเท่านัน
้ เว้นแต่
(๑) เมื่อคู่ความที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ ายตกลงกันว่า สำเนาเอกสาร
นัน
้ ถูกต้องแล้วให้ศาลยอมรับฟั งสำเนาเช่นว่านัน
้ เป็ นพยานหลักฐาน
(๒) ถ้า ต้น ฉบับ เอกสารนำ มาไม่ไ ด้ เพราะถูก ทำ ลายโดย
เหตุสุดวิสัย หรือสูญหาย หรือไม่สามารถนำมาได้โดยประการอื่น อันมิใช่
เกิดจากพฤติก ารณ์ที่ผ ู้อ้างต้องรับ ผิด ชอบ หรือเมื่อ ศาลเห็น ว่า เป็ นกรณี
จำเป็ นและเพื่อประโยชน์แ ห่ง ความยุต ิธรรมที่จะต้อ งสืบ สำเนาเอกสาร
หรือพยานบุคคลแทนต้นฉบับเอกสารที่นำ มาไม่ได้นน
ั ้ ศาลจะอนุญาตให้
นำสำเนาหรือพยานบุคคลมาสืบก็ได้
(๓) ต้นฉบับเอกสารที่อยู่ในความอารักขาหรือในความควบคุม
ของทางราชการนัน
้ จะนำมาแสดงได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากทางราชการ
ที่เกี่ยวข้องเสียก่อน อนึ่ง สำเนาเอกสารซึ่งผู้มีอำนาจหน้าที่ได้รับรองว่าถูก
ต้องแล้ว ให้ถือว่าเป็ นอันเพียงพอในการที่จะนำมาแสดง เว้นแต่ศาลจะได้
กำหนดเป็ นอย่างอื่น
(๔) เมื่อคู่ความฝ่ ายที่ถูกคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งอ้างอิงเอกสารมา
เป็ นพยานหลักฐานยันตนมิได้คัดค้านการนำเอกสารนัน
้ มาสืบตามมาตรา
๑๒๕ ให้ศาลรับฟั งสำเนาเอกสารเช่นว่านัน
้ เป็ นพยานหลักฐานได้ แต่ทงั ้ นี ้
ไม่ตัดอำนาจศาลตามมาตรา ๑๒๕ วรรคสาม
 
มาตรา ๙๔  เมื่อใดมีกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมา
แสดง ห้ามมิให้ศาลยอมรับฟั งพยานบุคคลในกรณีอย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อ
ไปนี ้ แม้ถงึ ว่าคูค
่ วามอีกฝ่ ายหนึง่ จะได้ยน
ิ ยอมก็ดี
(ก) ขอสืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร เมื่อไม่สามารถนำ
เอกสารมาแสดง
(ข) ขอสืบพยานบุคคลประกอบข้ออ้างอย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อ
ได้นำ เอกสารมาแสดงแล้ว ว่า ยัง มีข ้อ ความเพิ่ม เติม ตัด ทอน หรือ
เปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารนัน
้ อยู่อีก
แต่ว่าบทบัญญัติแห่งมาตรานี ้ มิให้ใช้บังคับในกรณีที่บัญญัติไว้
ในอนุมาตรา (๒) แห่งมาตรา ๙๓ และมิให้ถือว่าเป็ นการตัดสิทธิคู่ความใน
อัน ที่จ ะกล่า วอ้า งและนำพยานบุค คลมาสืบ ประกอบข้อ อ้า งว่า พยาน
เอกสารที่แสดงนัน
้ เป็ นเอกสารปลอมหรือไม่ถ ูกต้องทัง้ หมด หรือแต่บาง
ส่วน หรือสัญญาหรือหนีอ
้ ย่างอื่นที่ระบุไว้ในเอกสารนัน
้ ไม่สมบูรณ์ หรือคู่
ความอีกฝ่ ายหนึ่งตีความหมายผิด
 
มาตรา ๙๕  ห้ามมิให้ยอมรับฟั งพยานบุคคลใดเว้นแต่บุคคล
นัน

(๑) สามารถเข้าใจและตอบคำถามได้ และ
(๒) เป็ นผู้ที่ได้เห็น ได้ยิน หรือทราบข้อความเกี่ยวในเรื่องที่จะ
ให้การเป็ นพยานนัน
้ มาด้วยตนเองโดยตรง แต่ความในข้อนีใ้ ห้ใช้ได้ต่อเมื่อ
ไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายโดยชัดแจ้งหรือ คำสั่งของศาลว่าให้เป็ นอย่าง
อื่น
ถ้าศาลไม่ยอมรับไว้ซึ่งคำเบิกความของบุคคลใด เพราะเห็นว่า
บุคคลนัน
้ จะเป็ นพยานหรือให้การดังกล่าวข้างต้นไม่ได้ และคูค
่ วามฝ่ ายที่
เกี่ยวข้องร้องคัดค้านก่อนที่ศาลจะดำเนินคดีต่อไป ให้ศาลจดรายงานระบุ
นามพยาน เหตุผลที่ไม่ยอมรับและข้อคัดค้านของคู่ความฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง
ไว้ ส่วนเหตุผลทีค
่ ู่ความฝ่ ายคัดค้านยกขึน
้ อ้างนัน
้ ให้ศาลใช้ดุลพินิจจดลง
ไว้ในรายงานหรือกำหนดให้คู่ความฝ่ ายนัน
้ ยื่นคำแถลงต่อศาลเพื่อรวมไว้
ในสำนวน
 
มาตรา ๙๕/๑[๕๙]  ข้อความซึ่งเป็ นการบอกเล่าที่พยานบุคคล
ใดนำมาเบิกความต่อศาลก็ดี หรือที่บันทึกไว้ในเอกสารหรือวัตถุอ่ น
ื ใดซึ่ง
ได้อ ้า งเป็ นพยานหลัก ฐานต่อ ศาลก็ด ี หากนำเสนอเพื่อ พิส ูจ น์ค วามจริง
แห่งข้อความนัน
้ ให้ถือเป็ นพยานบอกเล่า
ห้ามมิให้ศาลรับฟั งพยานบอกเล่า เว้นแต่
(๑) ตามสภาพ ลักษณะ แหล่งที่มา และข้อเท็จจริงแวดล้อม
ของพยานบอกเล่านัน
้ น่าเชื่อว่าจะพิสูจน์ความจริงได้ หรือ
(๒) มีเ หตุจำ เป็ นเนื่อ งจากไม่ส ามารถนำบุค คลซึง่ เป็ นผู้ท ี่ไ ด้
เห็น ได้ยิน หรือทราบข้อความเกี่ยวในเรื่องที่จะให้การเป็ นพยานนัน
้ ด้วย
ตนเองโดยตรงมาเป็ นพยานได้ และมีเ หตุผ ลสมควรเพื่อ ประโยชน์แ ห่ง
ความยุติธรรมที่จะรับฟั งพยานบอกเล่านัน

ในกรณีทศ
่ี าลเห็นว่าไม่ควรรับไว้ซง่ึ พยานบอกเล่าใด ให้นำความ
ในมาตรา ๙๕ วรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๙๖  พยานที่เ ป็ นคนหูห นวก หรือ เป็ นใบ้ห รือ ทัง้ หู
หนวกและเป็ นใบ้นน
ั ้ อาจถูกถามหรือให้คำ ตอบโดยวิธเี ขียนหนังสือ หรือ
โดยวิธอ
ี ่น
ื ใดทีส
่ มควรได้ และคำเบิกความของบุคคลนัน
้ ๆ ให้ถือว่าเป็ นคำ
พยานบุคคลตามประมวลกฎหมายนี ้
 
มาตรา ๙๗  คู่ความฝ่ ายหนึ่ง จะอ้างคูค
่ วามอีกฝ่ ายหนึ่งเป็ น
พยานของตนหรือจะอ้างตนเองเป็ นพยานก็ได้
 
มาตรา ๙๘  คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งจะอ้างบุคคลใดเป็ นพยาน
ของตนก็ไ ด้เ มื่อบุค คลนัน
้ เป็ นผู้มีค วามรู้เ ชี่ยวชาญในศิล ป วิทยาศาสตร์
การฝี มือ การค้า หรือการงานที่ทำ หรือในกฎหมายต่างประเทศ และซึ่ง
ความเห็น ของพยานอาจเป็ นประโยชน์ในการวิน ิจฉัย ชีข
้ าดข้อ ความใน
ประเด็น  ทัง้ นี ้ ไม่ว่าพยานจะเป็ นผู้มีอาชีพในการนัน
้ หรือไม่
 
มาตรา ๙๙  ถ้าศาลเห็นว่า จำเป็ นที่จะต้องตรวจบุคคล วัตถุ
สถานที่หรือตัง้ ผู้เชี่ยวชาญตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๒๙ และ ๑๓๐ เมื่อ
ศาลเห็น สมควร ไม่ว่าการพิจ ารณาคดีจะอยู่ใ นชั น
้ ใด หรือ เมื่ อ มี คำ ขอ
ของคู่ความฝ่ ายใดภายใต้บังคับแห่งบทบัญญัติมาตรา ๘๗ และ ๘๘ ให้
ศาลมีอำนาจออกคำสั่งกำหนดการตรวจหรือการแต่งตัง้ ผู้เชี่ยวชาญเช่นว่า
นัน
้ ได้
บทบัญญัติแห่งมาตรานีไ้ ม่ตัดสิทธิของคู่ความในอันที่จะเรียก
บุคคลผู้มค
ี วามรู้เชี่ยวชาญมาเป็ นพยานฝ่ ายตนได้
 
มาตรา ๑๐๐[๖๐]  คูค
่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งซึ่งประสงค์จะอ้างอิง
ข้อเท็จจริงใดและขอให้คู่ความฝ่ ายอื่นตอบว่าจะรับรองข้อเท็จจริงนัน
้ ว่า
ถูกต้องหรือไม่ อาจส่งคำบอกกล่าวเป็ นหนังสือแจ้งรายการข้อเท็จจริงนัน

ไปให้คค
ู่ วามฝ่ ายอื่นก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน[๖๑]
ถ้าคู่ความฝ่ ายอื่นได้รับคำบอกกล่าวโดยชอบแล้ว เมื่อคูค
่ วาม
ฝ่ ายที่ส ่ง คำบอกกล่า วร้อ งขอต่อ ศาลในวัน สืบ พยาน ให้ศ าลสอบถามคู่
ความฝ่ ายอื่น ว่าจะยอมรับ ข้อ เท็จจริง ตามที่ไ ด้รับ คำบอกกล่าวนัน
้ ว่า ถูก
ต้อ งหรือ ไม่ แล้วให้ศ าลจดคำตอบไว้ในรายงานกระบวนพิจารณา ถ้า คู่
ความฝ่ ายนัน
้ ไม่ตอบคำถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริงใด หรือปฏิเสธข้อเท็จจริง
ใดโดยไม่มีเหตุแห่งการปฏิเสธโดยชัดแจ้ง ให้ถือว่ายอมรับข้อเท็จจริงนัน

แล้ว เว้นแต่ศาลจะเห็นว่าคู่ความฝ่ ายนัน
้ ไม่อยู่ในวิสัยที่จะตอบหรือแสดง
เหตุแห่งการปฏิเสธโดยชัดแจ้งในขณะนัน
้ ศาลจะมีคำสั่งให้คู่ความฝ่ ายนัน

ทำคำแถลงเกี่ยวกับข้อเท็จจริงนัน
้ มายื่นต่อศาลภายในระยะเวลาที่ศาล
เห็นสมควรก็ได้
บทบัญ ญัต ิแ ห่ง มาตรานีใ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ แก่เ รื่อ งเอกสารทัง้ หมด
หรือฉบับใดฉบับหนึ่งทีค
่ ู่ความแสดงความจำนงจะอ้างอิงด้วยโดยอนุโลม
แต่ต้องส่ง สำเนาเอกสารนัน
้ ไปพร้อมกับ คำบอกกล่าวและต้องมีต้นฉบับ
เอกสารนัน
้ ให้คค
ู่ วามฝ่ ายอื่นตรวจดูได้เมื่อต้องการ เว้นแต่ต้นฉบับเอกสาร
นัน
้ อยู่ในความครอบครองของคู่ความฝ่ ายอื่นหรือของบุคคลภายนอก
 
มาตรา ๑๐๑  ถ้าบุคคลใดเกรงว่า พยานหลักฐานซึ่งตนอาจ
ต้องอ้า งอิง ในภายหน้าจะสูญ หายหรือ ยากแก่ก ารนำมา หรือ ถ้า คูค
่ วาม
ฝ่ ายใดในคดีเ กรงว่าพยานหลัก ฐานซึ่งตนจำนงจะอ้างอิง จะสูญ หายเสีย
ก่อนที่จะนำมาสืบ หรือเป็ นการยากที่จะนำมาสืบ ในภายหลัง บุค คลนัน

หรือคู่ความฝ่ ายนัน
้ อาจยื่น คำขอต่อศาลโดยทำเป็ นคำร้องขอหรือคำร้อง
ให้ศาลมีคำสั่งให้สืบพยานหลักฐานนัน
้ ไว้ทันที
เมื่อศาลได้รับ คำขอเช่น ว่า นัน
้ ให้ศ าลหมายเรียกผู้ข อและคู่
ความอีกฝ่ ายหนึง่ หรือบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้องมายังศาล และเมื่อได้ฟัง
บุคคลเหล่านัน
้ แล้ว ให้ศาลสั่ง คำขอตามที่เห็นสมควร ถ้าศาลสั่งอนุญาต
ตามคำขอแล้ว ให้สบ
ื พยานไปตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายนี ้ ส่วน
รายงานและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนัน
้ ให้ศาลเก็บรักษาไว้
ในกรณีที่ค ค
ู่ วามอีกฝ่ ายหนึ่ง หรือ บุค คลภายนอกที่เ กี่ยวข้อ ง
ไม่มีภูมิลำ เนาอยู่ในราชอาณาจักรและยังมิได้เข้ามาในคดีนน
ั ้ เมื่อศาลได้
รับคำขอตามวรรคหนึ่ง ให้ศาลสัง่ คำขอนัน
้ อย่างคำขออันอาจทำได้แต่ฝ่าย
เดียว ถ้าศาลสัง่ อนุญาตตามคำขอแล้วให้สืบพยานไปฝ่ ายเดียว[๖๒]
 
มาตรา ๑๐๑/๑ [๖๓]  ในกรณีที่มีเ หตุฉ ุก เฉิน ซึง่ จำเป็ นต้อ งสืบ
พยานหลัก ฐานใดเป็ นการเร่ง ด่วนและไม่ส ามารถแจ้ง ให้ค ค
ู่ วามฝ่ ายอื่น
ทราบก่อนได้ เมื่อมีการยื่น คำขอตามมาตรา ๑๐๑ พร้อมกับ คำฟ้ องหรือ
คำให้การหรือภายหลังจากนัน
้ คูค
่ วามฝ่ ายที่ขอจะยื่นคำขอฝ่ ายเดียวโดย
ทำเป็ นคำร้อ งรวมไปด้ว ย เพื่อ ให้ศ าลมีคำ สั่ง โดยไม่ช ัก ช้า ก็ไ ด้ และถ้า
จำเป็ นจะขอให้ศาลมีคำสั่งให้ยึดหรือให้ส่งต่อศาลซึง่ เอกสารหรือวัตถุที่จะ
ใช้เป็ นพยานหลักฐานที่ขอสืบไว้ก่อนด้วยก็ได้
คำร้องตามวรรคหนึ่ง ต้อ งบรรยายถึง ข้อ เท็จจริง ที่แ สดงว่า มี
เหตุฉุกเฉินซึ่งจำเป็ นต้องสืบพยานหลักฐานใดโดยเร่งด่วนและไม่สามารถ
แจ้งให้คค
ู่ วามฝ่ ายอื่นทราบก่อนได้ รวมทัง้ ความเสียหายที่จะเกิดขึน
้ จาก
การที่มิได้มีการสืบพยานหลักฐานดังกล่าว ส่วนในกรณีที่จะขอให้ศาลมีคำ
สั่งให้ยึดหรือให้ส่งต่อศาลซึ่งเอกสารหรือวัตถุที่จะใช้เป็ นพยานหลักฐาน
คำร้องนัน
้ ต้องบรรยายถึงข้อเท็จจริงที่แสดงถึง ความจำเป็ นที่จะต้อ งยึด
หรือ ให้ส ่ง เอกสารหรือ วัต ถุน น
ั ้ ว่า มีอ ยู่อ ย่า งไร ในการนีห
้ ้า มมิใ ห้ศ าล
อนุญาตตามคำร้องนัน
้ เว้นแต่จะเป็ นที่พอใจของศาลจากการไต่สวนว่ามี
เหตุฉุกเฉินและมีความจำเป็ นตามคำร้องนัน
้ จริง แต่ทงั ้ นีไ้ ม่ตัดสิทธิคู่ความ
ฝ่ ายอื่นที่จะขอให้ศาลออกหมายเรียกพยานดังกล่าวมาศาล เพื่อถามค้าน
และดำเนินการตามมาตรา ๑๑๗ ในภายหลัง หากไม่อาจดำเนินการดัง
กล่าวได้ ศาลต้องใช้ความระมัดระวังในการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
มาตรา ๑๐๑/๒[๖๔]  ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งอนุญาตตามคำขอให้
ยึดหรือให้ส่งเอกสารหรือวัตถุที่จะใช้เป็ นพยานหลักฐาน ศาลอาจกำหนด
เงื่อนไขอย่างใดตามที่เห็นสมควร และจะสั่งด้วยว่าให้ผ ู้ขอนำเงินหรือหา
ประกัน ตามจำ นวนที่เ ห็น สมควรมาวางศาลเพื่อ การชำ ระค่า สิน ไหม
ทดแทนสำหรับความเสียหายที่อาจเกิดขึน
้ แก่บุคคลใด เนื่องจากศาลได้มี
คำสั่งโดยมีความเห็นหลงไปว่ามีเหตุจำเป็ นโดยความผิดหรือเลินเล่อของผู้
ขอก็ได้
ให้นำ ความในมาตรา ๒๖๑ มาตรา ๒๖๒ มาตรา ๒๖๓
มาตรา ๒๖๗ มาตรา ๒๖๘ และมาตรา ๒๖๙ มาใช้บ ัง คับ แก่ก รณีต าม
วรรคหนึ่งโดยอนุโลม และในกรณีที่ทรัพย์ซึ่งศาลสั่งยึดนัน
้ เป็ นของบุคคล
ที่สาม ให้บุคคลที่สามมีสิทธิเสมือนเป็ นจำเลยในคดี และเมื่อหมดความ
จำเป็ นที่จะใช้เอกสารหรือวัตถุนน
ั ้ เป็ นพยานหลักฐานต่อไปแล้ว เมื่อศาล
เห็นสมควรหรือเมื่อผูม
้ ส
ี ท
ิ ธิจะได้รบ
ั คืนร้องขอ ให้ศาลมีคำ สั่งคืนเอกสาร
หรือวัตถุนน
ั ้ แก่ผู้ขอ
 
มาตรา ๑๐๒  ให้ศาลที่พิจารณาคดีเป็ นผู้สืบพยานหลักฐาน
โดยจะสืบในศาลหรือนอกศาล ณ ที่ใด ๆ ก็ได้ แล้วแต่ศาลจะสั่งตามที่เห็น
สมควรตามความจำเป็ นแห่งสภาพของพยานหลักฐานนัน

แต่ถา้ ศาลทีพ
่ จ
ิ ารณาคดีเห็นเป็ นการจำเป็ น ให้มอำ
ี นาจมอบให้ผู้
พิพากษาคนใดคนหนึง่ ในศาลนัน
้ หรือตัง้ ให้ศาลอื่นสืบพยานหลักฐานแทน
ได้ ให้ผพ
ู้ พ
ิ ากษาที่รับมอบหรือศาลที่ได้รับแต่งตัง้ นัน
้ มีอำนาจและหน้าที่
เช่นเดียวกับศาลทีพ
่ จ
ิ ารณาคดีรวมทัง้ อำนาจทีจ
่ ะมอบให้ผพ
ู้ พ
ิ ากษาคนใด
คนหนึง่ ในศาลนัน
้ หรือตัง้ ศาลอื่นให้ทำ การสืบพยานหลักฐานแทนต่อไป
ด้วย
ถ้า ศาลที่พ ิจ ารณาคดีไ ด้แ ต่ง ตัง้ ให้ศ าลอื่น สืบ พยานแทน คู่
ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งจะแถลงต่อศาลที่พิจารณาคดีว่า ตนมีความจำนง
จะไปฟั งการพิจ ารณาก็ไ ด้ ในกรณีเ ช่น นีใ้ ห้ศ าลที่ไ ด้ร ับ แต่ง ตัง้ แจ้ง วัน
กำหนดสืบพยานหลักฐานให้ผ ู้ขอทราบล่วงหน้าอย่างน้อยไม่ต ่ำกว่าเจ็ด
วัน คู่ค วามที่ไ ปฟั งการพิจ ารณานัน
้ ชอบที่จ ะใช้ส ิท ธิไ ด้เ สมือ นหนึ่ง ว่า
กระบวนพิจารณานัน
้ ได้ดำเนินในศาลที่พิจารณาคดี
ให้ส่งสำเนาคำฟ้ องและคำให้การพร้อมด้วยเอกสารและหลัก
ฐานอื่น ๆ อัน จำเป็ นเพื่อ สืบ พยานหลัก ฐานไปยัง ศาลที่ไ ด้ร ับ แต่ง ตัง้ ดัง
กล่าวแล้ว ถ้าคู่ความฝ่ ายที่อ้างอิงพยานหลักฐานนัน
้ มิได้แถลงความจำนง
ที่จะไปฟั งการพิจารณา ก็ให้แจ้งไปให้ศาลที่ได้รับแต่งตัง้ ทราบข้อประเด็น
ที่จะสืบ เมื่อได้สืบพยานหลักฐานเสร็จแล้ว ให้เป็ นหน้าที่ของศาลที่รับแต่ง
ตัง้ จะต้องส่งรายงานที่จำ เป็ นและเอกสารอื่น ๆ ทัง้ หมดอัน เกี่ยวข้อ งใน
การสืบพยานหลักฐานไปยังศาลที่พิจารณาคดี
 
มาตรา ๑๐๓  ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมาย
นีว้ ่าด้วยการขาดนัดการร้องสอด และการขับไล่ออกนอกศาล ห้า มมิให้
ศาลทีพ
่ ิจารณาคดี หรือผูพ
้ พ
ิ ากษาที่รับมอบหมาย หรือศาลที่ได้รับแต่งตัง้
ดังกล่าวข้างต้นทำการสืบพยานหลักฐานใด โดยมิได้ให้โอกาสเต็มที่แก่ค ู่
ความทุกฝ่ ายในอันที่จะมาฟั งการพิจารณา และใช้สิทธิเกี่ยวด้วยกระบวน
พิจารณาเช่น ว่านัน
้ ตามที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นประมวลกฎหมายนี ้ ไม่ว ่า พยาน
หลักฐานนัน
้ คูค
่ วามฝ่ ายใดจะเป็ นผู้อ้างอิงหรือศาลเป็ นผู้สั่งให้สืบ
 
มาตรา ๑๐๓/๑ [๖๕]  ในกรณีที่ค ค
ู่ วามตกลงกัน และศาลเห็น
เป็ นการจำ เป็ นและสมควร ศาลอาจแต่ง ตัง้ เจ้า พนัก งานศาลหรือ เจ้า
พนักงานอื่นซึ่งคู่ความเห็นชอบให้ทำ การสืบ พยานหลัก ฐานส่วนใดส่วน
หนึ่งที่จะต้องกระทำนอกศาลแทนได้
ให้เจ้าพนักงานผู้ปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่งเป็ นเจ้าพนักงาน
ตามประมวลกฎหมายอาญาและให้นำ ความในมาตรา ๑๐๓ มาใช้บังคับ
โดยอนุโลม
 
มาตรา ๑๐๓/๒[๖๖]  คู่ความฝ่ ายที่เกี่ยวข้องอาจร้องขอต่อศาล
ให้ดำ เนินการสืบพยานหลักฐานไปตามวิธีการที่ค ู่ความตกลงกัน ถ้าศาล
เห็นสมควรเพื่อให้การสืบพยานหลักฐานเป็ นไปโดยสะดวกรวดเร็ว และ
เที่ยงธรรม ศาลจะอนุญาตตามคำร้องขอนัน
้ ก็ได้ เว้นแต่การสืบพยานหลัก
ฐานนัน
้ จะเป็ นการไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือ
ศีลธรรมอันดีของประชาชน
 
มาตรา ๑๐๓/๓[๖๗]  เพื่อให้การสืบพยานหลักฐานเป็ นไปโดย
สะดวก รวดเร็ว และเที่ยงธรรมประธานศาลฎีกาโดยความเห็นชอบของที่
ประชุมใหญ่ของศาลฎีกามีอำ นาจออกข้อกำหนดใด ๆ เพิ่มเติมเกี่ยวกับ
แนวทางการนำสืบพยานหลักฐานได้ แต่ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติ
ในกฎหมาย
ข้อกำหนดของประธานศาลฎีกาตามวรรคหนึ่ง เมื่อประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้
 
มาตรา ๑๐๔  ให้ศาลมีอำนาจเต็มทีใ่ นอันทีจ
่ ะวินจ
ิ ฉัยว่าพยาน
หลักฐานทีค
่ ค
ู่ วามนำมาสืบนัน
้ จะเกีย
่ วกับประเด็นและเป็ นอันเพียงพอ ให้
เชื่อฟั งเป็ นยุตไิ ด้หรือไม่ แล้วพิพากษาคดีไปตามนัน

ในการวิน ิจ ฉัย ว่า พยานบอกเล่า ตามมาตรา  ๙๕/๑ หรือ
บันทึกถ้อยคำที่ผู้ให้ถ้อยคำมิได้มาศาลตามมาตรา ๑๒๐/๑ วรรคสามและ
วรรคสี่ หรือบันทึกถ้อยคำตามมาตรา ๑๒๐/๒ จะมีน้ำหนักให้เชื่อได้หรือ
ไม่เพียงใดนัน
้ ศาลจะต้องกระทำด้วยความระมัดระวังโดยคำนึงถึงสภาพ
ลักษณะและแหล่งที่มาของพยานบอกเล่าหรือบันทึกถ้อยคำนัน
้ ด้วย[๖๘]
 
มาตรา ๑๐๕  คู่ค วามฝ่ ายใดไม่ป ฏิบ ัต ิต ามบทบัญ ญัต ิแ ห่ง
ประมวลกฎหมายนี ้ ว่า ด้ว ยพยานหลัก ฐาน กระทำให้ค ู่ค วามอีก ฝ่ าย
หนึ่งต้องเสียค่าฤชาธรรมเนียม หรือค่าธรรมเนียมเกินกว่าที่ควรเสีย  ค่า
ฤชาธรรมเนียมที่เพิ่มขึน
้ นัน
้ ให้ถือว่าเป็ นค่าฤชาธรรมเนียมอันไม่ จำ เป็ น
ตามความหมายแห่งมาตรา ๑๖๖ และให้ค ู่ความฝ่ ายที่ก่อ ให้เกิดขึน
้ นัน

เป็ นผู้ออกใช้ให้
 
หมวด ๒
ว่าด้วยการมาศาลของพยานและการซักถามพยาน
                  
 
มาตรา ๑๐๖[๖๙]  ในกรณีที่คู่ความฝ่ ายใดไม่สามารถนำพยาน
ของตนมาศาลได้เ อง คู่ความฝ่ ายนัน
้ อาจขอต่อ ศาลก่อนวัน สืบ พยานให้
ออกหมายเรียกพยานนัน
้ มาศาลได้ โดยศาลอาจให้คู่ความฝ่ ายนัน
้ แถลงถึง
ความเกี่ยวพันของพยานกับข้อเท็จจริงในคดีอันจำเป็ นที่จะต้องออกหมาย
เรียกพยานดังกล่าวด้วยและต้องส่งหมายเรียกพร้อมสำเนาคำแถลงของผู้
ขอให้พยานรู้ล่วงหน้าอย่างน้อยสามวัน
หมายเรียกพยานต้องมีข้อความดังนี ้
(๑) ชื่อ และตำ บลที่อ ยู่ข องพยาน ชื่อ คู่ค วาม ศาล และ
ทนายความฝ่ ายผู้ขอ
(๒) สถานที่และวันเวลาซึ่งพยานจะต้องไป
(๓) กำหนดโทษที่จะต้องรับในกรณีที่ไม่ไปตามหมายเรียกหรือ
เบิกความเท็จ
ถ้า ศาลเห็น ว่า พยานจะไม่ส ามารถเบิก ความได้โ ดยมิไ ด้ต ระ
เตรียม ศาลจะจดแจ้ง ข้อเท็จ จริง ซึ่ง พยานอาจถูก ซัก ถามลงไว้ใ นหมาย
เรียกด้วยก็ได้
 
มาตรา ๑๐๖/๑[๗๐]  ห้ามมิให้ออกหมายเรียกพยานดังต่อไปนี ้
(๑) พระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท หรือผู้สำ เร็จ
ราชการแทนพระองค์ไม่ว่าในกรณีใด ๆ
(๒) พระภิกษุและสามเณรในพุทธศาสนา ไม่ว่าในกรณีใด ๆ
์ รือความคุ้มกันตามกฎหมาย
(๓) ผู้ที่ได้รับเอกสิทธิห
ในกรณีต าม (๒) และ (๓) ให้ศ าลหรือ ผูพ
้ ิพ ากษาที่ร ับ มอบ
หรือ ศาลที่ไ ด้รับ แต่ง ตัง้ ออกคำบอกกล่า วว่า จะสืบ พยานนัน
้ ณ สถานที่
และวันเวลาใดแทนการออกหมายเรียก โดยในกรณีตาม (๒) ให้ส่งไปยัง
พยาน ส่วนตาม (๓) ให้ส่งคำบอกกล่าวไปยังสำนักงานศาลยุติธรรมเพื่อ
ดำเนินการตามบทบัญญัติว่าด้วยการนัน
้ หรือตามหลักกฎหมายระหว่าง
ประเทศ
 
มาตรา ๑๐๗  ถ้าศาลเห็นว่าในการสืบสวนหาความจริงจำเป็ น
ต้อ งไปสืบ พยาน ณ สถานที่ซ ึ่ง ข้อ เท็จ จริง อัน ประสงค์จ ะให้พ ยานเบิก
ความนัน
้ ได้เกิดขึน
้ ให้ศาลหรือผู้พพ
ิ ากษาที่รับมอบ หรือศาลที่ได้รับแต่ง
ตัง้ เพื่อการนัน
้ ส่งหมายเรียกไปยังพยานระบุสถานที่และวันเวลาที่จะไปสืบ
พยาน แล้วสืบพยานไปตามนัน

 
มาตรา ๑๐๘[๗๑]  พยานที่ได้รับหมายเรียกโดยชอบดังที่บัญญัติ
ไว้ในมาตรา ๑๐๖ และมาตรา ๑๐๗ นัน
้ จำต้องไป ณ สถานที่และตามวัน
เวลาที่กำ หนดไว้ เว้นแต่มีเหตุเจ็บป่ วยหรือมีข้อแก้ตัวอัน จำเป็ นอย่างอื่น
โดยได้แจ้งเหตุนน
ั ้ ให้ศาลทราบแล้ว และศาลเห็นว่าข้ออ้างหรือข้อแก้ตัว
นัน
้ ฟั งได้
 
มาตรา ๑๐๙  เมื่อพยานคนใดได้เบิก ความแล้ว ไม่ว่า พยาน
นัน
้ จะได้รับหมายเรียก หรือคู่ความนำมาเองก็ดี พยานนัน
้ ย่อมหมดหน้าที่
ๆ จะอยู่ที่ศ าลอีก ต่อไป เว้น แต่ศ าลจะได้ส งั่ ให้พ ยานนัน
้ รอคอยอยู่ต าม
ระยะเวลาที่ศาลจะกำหนดไว้
 
มาตรา ๑๑๐  ถ้า พยานคนใดที่ค ู่ค วามได้บ อกกล่า วความ
จำ นงจะอ้า งอิง คำ เบิก ความของพยานโดยชอบแล้ว ไม่ไ ปศาลในวัน
กำหนดนับ สืบ พยานนัน
้ ศาลชอบที่จ ะดำเนิน การพิจ ารณาต่อ ไป และ
ชีข
้ าดตัดสินคดีโดยไม่ต้องสืบพยานเช่นว่านัน
้ ได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้บังคับ
บทบัญญัติแห่งมาตราต่อไปนี ้
 
มาตรา ๑๑๑ [๗๒]  เมื่อศาลเห็นว่าคำเบิกความของพยานที่ไม่
มาศาลเป็ นข้อสำคัญในการวินิจฉัยชีข
้ าดคดี
(๑) แต่ศาลเห็น ว่า ข้อ อ้า งว่าพยานไม่ส ามารถมาศาลนัน
้ เป็ น
เพราะเหตุเจ็บป่ วยของพยาน หรือพยานมีข้อแก้ตัวอัน จำเป็ นอย่างอื่นที่
ฟั งได้ ศาลจะเลื่อนการนั่งพิจารณาคดีไปเพื่อให้พยานมาศาลหรือเพื่อสืบ
พยานนัน
้ ณ สถานที่และเวลาอันควรแก่พฤติการณ์กไ็ ด้ หรือ
(๒) ศาลเห็นว่าพยานได้รับหมายเรียกโดยชอบแล้ว จงใจไม่ไป
ยังศาลหรือไม่ไป ณ สถานที่และตามวันเวลาที่กำหนดไว้ หรือได้รับคำสัง่
ศาลให้รอคอยอยู่แล้วจงใจหลบเสีย ศาลจะเลื่อ นการนั่งพิจารณาคดีไป
และออกหมายจับและเอาตัวพยานกักขังไว้จนกว่าพยานจะได้เบิกความ
ตามวันที่ศาลเห็นสมควรก็ได้   ทัง้ นี ้ ไม่เป็ นการลบล้างโทษตามที่บัญญัติไว้
ในประมวลกฎหมายอาญา
 
มาตรา ๑๑๒ [๗๓]  ก่อ นเบิกความพยานทุก คนต้อ งสาบานตน
ตามลัทธิศาสนาหรือจารีตประเพณีแห่งชาติของตน หรือกล่าวคำปฏิญาณ
ว่าจะให้การตามความสัตย์จริงเสียก่อน เว้นแต่
(๑) พระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท หรือผู้สำ เร็จ
ราชการแทนพระองค์
(๒) บุคคลทีม
่ อ
ี ายุต่ำกว่าสิบห้าปี หรือบุคคลทีศ
่ าลเห็นว่าหย่อน
ความรู้สก
ึ ผิดและชอบ
(๓) พระภิกษุและสามเณรในพุทธศาสนา
(๔) บุคคลซึ่งคูค
่ วามทัง้ สองฝ่ ายตกลงกันว่าไม่ต้องให้สาบาน
หรือกล่าวคำปฏิญาณ
 
มาตรา ๑๑๓  พยานทุกคนต้องเบิกความด้วยวาจาและห้าม
ไม่ให้พยานอ่านข้อความที่เขียนมา เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากศาล หรือ
เป็ นพยานผู้เชี่ยวชาญ
 
มาตรา ๑๑๔  ห้ามไม่ให้พยานเบิกความต่อหน้าพยานอื่นที่จะ
เบิกความภายหลังและศาลมีอำนาจที่จะสั่งพยานอื่นที่อยู่ในห้องพิจารณา
ให้ออกไปเสียได้
แต่ถ ้า พยานคนใดเบิก ความโดยได้ฟั งคำพยานคนก่อ นเบิก
ความต่อหน้าตนมาแล้ว และคูค
่ วามอีกฝ่ ายหนึ่งอ้างว่าศาลไม่ควรฟั งคำ
เบิกความเช่นว่านี ้ เพราะเป็ นการผิดระเบียบถ้าศาลเห็นว่า คำเบิกความ
เช่น ว่า นีเ้ ป็ นที่เ ชื่อฟั งได้ หรือมิไ ด้เ ปลี่ยนแปลงไปโดยได้ฟังคำเบิกความ
ของพยานคนก่อ น หรือ ไม่ส ามารถ ทำ ให้คำ วิน ิจ ฉัย ชีข
้ าดของศาล
เปลี่ยนแปลงไปได้ ศาลจะไม่ฟังว่า คำเบิกความเช่น ว่า นีเ้ ป็ นผิด ระเบียบ
ก็ได้
 
มาตรา ๑๑๕[๗๔]  พระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท
ผู้สำ เร็จราชการแทนพระองค์หรือพระภิกษุและสามเณรในพุทธศาสนา
แม้ม าเป็ นพยานจะไม่ย อมเบิก ความหรือ ตอบคำถามใด ๆ ก็ไ ด้สำ หรับ
์ รือความคุ้มกันตามกฎหมายจะไม่ยอมเบิกความ
บุคคลที่ได้รับเอกสิทธิห
หรือตอบคำถามใด ๆ ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดไว้ตามกฎหมายนัน
้ ๆ ก็ได้
 
มาตรา ๑๑๖  ในเบื้องต้นให้พยานตอบคำถามเรื่อง นาม อายุ
ตำแหน่ง หรืออาชีพภูมลำ
ิ เนาและความเกี่ยวพันกับคูค
่ วาม
แล้วศาลอาจปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี ้
(๑) ศาลเป็ นผู้ถ ามพยานเอง กล่า วคือ แจ้ง ให้พ ยานทราบ
ประเด็นและข้อเท็จจริง ซึง่ ต้องการสืบแล้วให้พยานเบิกความในข้อนัน
้ ๆ
โดยวิธีเล่าเรื่องตามลำพังหรือโดยวิธีตอบคำถามของศาล หรือ
(๒) ให้ค ู่ค วามซัก ถาม และถามค้า นพยานไปทีเ ดีย ว ดัง ที่
บัญญัติไว้ในมาตราต่อไปนี ้
 
มาตรา ๑๑๗ [๗๕]  คูค
่ วามฝ่ ายที่อ ้า งพยานชอบที่จ ะตัง้ ข้อ ซัก
ถามพยานได้ในทันใดที่พยานได้สาบานตนและแสดงตนตามมาตรา ๑๑๒
และ ๑๑๖ แล้ว หรือถ้าศาลเป็ นผู้ซก
ั ถามพยานก่อน ก็ให้ค ู่ความซักถาม
ได้ต่อเมื่อศาลได้ซักถามเสร็จแล้ว
เมื่อคูค
่ วามฝ่ ายทีต
่ อ
้ งอ้า งพยานได้ซก
ั ถามพยานเสร็จแล้ว คู่
ความอีกฝ่ ายหนึง่ ชอบทีจ
่ ะถามค้านพยานนัน
้ ได้
เมื่อได้ถามค้านพยานเสร็จแล้ว คู่ความฝ่ ายที่อ้างพยานชอบที่
จะถามติงได้
เมื่อได้ถามติงพยานเสร็จแล้ว ห้ามมิให้ค ู่ความฝ่ ายใดซักถาม
พยานอีก เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากศาล ถ้าคู่ความฝ่ ายใดได้รับอนุญาต
ให้ถามพยานได้ดังกล่าวนี ้ คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งย่อมถามค้านพยานได้อีกใน
ข้อที่เกี่ยวกับคำถามนัน

คู่ความที่ระบุพยานคนใดไว้ จะไม่ต ิด ใจสืบ พยานคนนัน
้ ก็ไ ด้
ในเมื่อพยานคนนัน
้ ยังมิได้เบิกความตามข้อถามของศาล หรือของคูค
่ วาม
ฝ่ ายที่อ ้า ง แต่ถ ้าพยานได้เ ริ่ม เบิก ความแล้ว พยานอาจถูก ถามค้า นหรือ
ถามติงได้
ถ้าพยานเบิกความเป็ นปรปั กษ์แก่ค ู่ความฝ่ ายที่อ ้า งตนมา คู่
ความฝ่ ายนัน
้ อาจขออนุญ าตต่อ ศาลเพื่อ ซัก ถามพยานนัน
้ เสมือ นหนึง่
พยานนัน
้ เป็ นพยานซึ่งคูค
่ วามอีกฝ่ ายหนึ่งอ้างมา
การซักถามพยานก็ดี การซักค้านพยานก็ดี การถามติงพยานก็
ดี ถ้าคู่ความคนใดได้ตงั ้ ทนายความไว้ห ลายคน ให้ทนายความคนเดียว
เป็ นผู้ถาม เว้นแต่ศาลจะเห็นสมควรเป็ นอย่างอื่น
 
มาตรา ๑๑๘  ในการที่ค ู่ค วามฝ่ ายที่อ ้า งพยานจะซัก ถาม
พยานก็ดี หรือถามติงพยานก็ดี ห้ามมิให้ค ู่ความฝ่ ายนัน
้ ใช้คำ ถามนำ เว้น
แต่คค
ู่ วามอีกฝ่ ายหนึ่งยินยอมหรือได้รับอนุญาตจากศาล
ในการที่ค ู่ค วามฝ่ ายที่อ ้า งพยานจะถามติง พยาน ห้า มมิใ ห้ค ู่
ความฝ่ ายนัน
้ ใช้คำถามอื่นใดนอกจากคำถามที่เกี่ยวกับคำพยานเบิกความ
ตอบคำถามค้าน
ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ห้ามไม่ให้คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งถามพยาน
ด้วย
(๑) คำถามอันไม่เกี่ยวกับประเด็นแห่งคดี
(๒) คำถามที่อ าจทำให้พ ยาน หรือ คู่ค วามอีก ฝ่ ายหนึ่ง หรือ
บุค คลภายนอกต้อ งรับ โทษทางอาญา หรือ คำถามที่เ ป็ นหมิ่น ประมาท
พยาน เว้น แต่คำ ถามเช่น ว่า นัน
้ เป็ นข้อ สาระสำคัญ ในอัน ที่จ ะชีข
้ าดข้อ
พิพาท
ถ้าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งถามพยานฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติแห่ง
มาตรานี ้ เมื่อศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคูค
่ วามอีกฝ่ ายหนึ่งร้องคัดค้าน ศาล
มีอำนาจที่จะชีข
้ าดว่าควรให้ใช้คำถามนัน
้ หรือไม่ ในกรณีเช่นนี ้ ถ้าคูค
่ วาม
ฝ่ ายที่เกี่ยวข้องคัดค้านคำชีข
้ าดของศาล ก่อนที่ศาลจะดำเนินคดีต่อไป ให้
ศาลจดไว้ในรายงานซึ่งคำถามและข้อคัดค้าน ส่วนเหตุที่คู่ความคัดค้านยก
ขึน
้ อ้างนัน
้ ให้ศาลใช้ดุลพินิจจดลงไว้ในรายงาน หรือ กำหนดให้คู่ความฝ่ าย
นัน
้ ยื่นคำแถลงเป็ นหนังสือเพื่อรวมไว้ในสำนวน
 
มาตรา ๑๑๙  ไม่ว่า เวลาใด ๆ ในระหว่า งที่พ ยานเบิก ความ
หรือ ภายหลัง ที่พ ยานได้เ บิก ความแล้ว แต่ก ่อ นมีคำ พิพ ากษา ให้ศ าลมี
อำนาจที่จะถามพยานด้วยคำถามใด ๆ ตามที่เห็นว่าจำเป็ น เพื่อให้คำเบิก
ความของพยานบริบ ูร ณ์ หรือ ชัด เจนยิ่ง ขึน
้ หรือ เพื่อ สอบส วนถึง
พฤติการณ์ที่ทำให้พยานเบิกความเช่นนัน

ถ้าพยานสองคนหรือกว่านัน
้ เบิกความขัดกัน ในข้อ สำคัญแห่ง
ประเด็น เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมีคำ ขอ ให้
ศาลมีอำนาจเรียกพยานเหล่านัน
้ มาสอบถามปากคำพร้อมกันได้
 
มาตรา ๑๒๐  ถ้าคูค
่ วามฝ่ ายใดอ้างว่าคำเบิกความของพยาน
คนใดที่ค ู่ค วามอีก ฝ่ ายหนึ่ง อ้า ง หรือ ที่ศ าลเรีย กมาไม่ค วรเชื่อ ฟั ง โดย
เหตุผลซึง่ ศาลเห็น ว่ามีม ูล ศาลอาจยอมให้ค ู่ค วามฝ่ ายนัน
้ นำพยานหลัก
ฐานมาสืบสนับสนุนข้ออ้างของตนได้แล้วแต่จะเห็นควร
 
มาตรา ๑๒๐/๑[๗๖]  เมื่อคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมีคำร้องและคู่
ความอีกฝ่ ายไม่ค ัดค้าน และศาลเห็นสมควรศาลอาจอนุญ าตให้ค ู่ค วาม
ฝ่ ายที่ม ีคำ ร้อ งเสนอบัน ทึก ถ้อ ยคำ ทัง้ หมดหรือ แต่บ างส่ว นของผู้ท ี่ต น
ประสงค์จะอ้างเป็ นพยานยืนยันข้อเท็จจริงหรือความเห็นของผู้ให้ถ้อยคำ
ต่อศาลแทนการซักถามผู้ให้ถ้อยคำเป็ นพยานต่อหน้าศาลได้
คูค
่ วามที่ประสงค์จะเสนอบันทึกถ้อยคำแทนการซักถามพยาน
ดังกล่าวตามวรรคหนึ่ง จะต้องยื่นคำร้องแสดงความจำนงพร้อมเหตุผลต่อ
ศาลก่อ นวัน ชีส
้ องสถาน หรือ ก่อ นวัน สืบ พยาน ในกรณีท ี่ไ ม่มีก ารชีส
้ อง
สถาน และให้ศาลพิจารณากำหนดระยะเวลาที่ค ค
ู่ วามจะต้องยื่นบันทึก
ถ้อยคำดังกล่าวต่อศาลและส่ง สำเนาบันทึกถ้อยคำนัน
้ ให้ค ู่ความอีก ฝ่ าย
หนึ่งทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวันก่อนวันสืบพยานคนนัน
้ เมื่อมีการ
ยื่นบันทึกถ้อยคำต่อศาลแล้วคู่ความที่ย่ น
ื ไม่อาจขอถอนบันทึกถ้อยคำนัน

บันทึกถ้อยคำนัน
้ เมื่อพยานเบิกความรับรองแล้วให้ถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของ
คำเบิกความตอบคำซักถาม
ให้ผ ู้ใ ห้ถ ้อ ยคำมาศาลเพื่อ เบิก ความตอบคำซัก ถามเพิ่ม เติม
ตอบคำถามค้าน และคำถามติงของคู่ความหากผู้ให้ถ้อยคำไม่มาศาล ให้
ศาลปฏิเสธที่จะรับฟั งบันทึกถ้อยคำของผู้นน
ั ้ เป็ นพยานหลักฐานในคดีแต่
ถ้าศาลเห็นว่าเป็ นกรณีจำเป็ นหรือมีเหตุสุดวิสัยที่ผู้ให้ถ้อยคำไม่สามารถมา
ศาลได้ และเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม จะรับฟั งบันทึกถ้อยคำที่ผู้ให้
ถ้อยคำมิได้มาศาลนัน
้ ประกอบพยานหลักฐานอื่นก็ได้
ในกรณีที่คค
ู่ วามตกลงกันให้ผ ู้ให้ถ้อยคำไม่ต้องมาศาล หรือคู่
ความอีกฝ่ ายหนึ่งยินยอมหรือไม่ติดใจถามค้าน ให้ศาลรับฟั งบันทึกถ้อยคำ
ดังกล่าวเป็ นพยานหลักฐานในคดีได้
 
มาตรา ๑๒๐/๒[๗๗]  เมื่อคู่ความมีคำ ร้องร่วมกันและศาลเห็น
สมควร ศาลอาจอนุญาตให้เสนอบันทึกถ้อยคำยืนยันข้อเท็จจริงหรือความ
เห็นของผู้ให้ถ้อยคำซึ่งมีถิ่นที่อยู่ในต่างประเทศต่อศาลแทนการนำพยาน
บุคคลมาเบิกความต่อหน้าศาลได้ แต่ทงั ้ นีไ้ ม่ต ัดสิทธิผ ู้ให้ถ ้อยคำที่จะมา
ศาลเพื่อให้การเพิ่มเติม
สำหรับลายมือชื่อของผู้ให้ถ้อยคำให้นำมาตรา ๔๗ วรรคสาม
มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๑๒๐/๓[๗๘]  บันทึก ถ้อ ยคำตามมาตรา ๑๒๐/๑ และ
มาตรา ๑๒๐/๒ ให้มีรายการดังต่อไปนี ้
(๑) ชื่อศาลและเลขคดี
(๒) วัน เดือน ปี และสถานที่ที่ทำบันทึกถ้อยคำ
(๓) ชื่อและสกุลของคู่ความ
(๔) ชื่อ สกุล อายุ ที่อยู่ และอาชีพ ของผู้ให้ถ้อยคำ และความ
เกี่ยวพันกับคูค
่ วาม
(๕) รายละเอีย ดแห่ง ข้อ เท็จ จริง หรือ ความเห็น ของผ ู้ใ ห้
ถ้อยคำ
(๖) ลายมือชื่อของผู้ให้ถ้อยคำและคู่ค วามฝ่ ายผู้เสนอบัน ทึก
ถ้อยคำ
ห้ามมิให้แก้ไขเพิ่มเติมบันทึกถ้อยคำที่ได้ย่ น
ื ไว้แล้วต่อศาล เว้น
แต่เป็ นการแก้ไขข้อผิดพลาดหรือผิดหลงเล็กน้อย
 
มาตรา ๑๒๐/๔ [๗ ๙ ]  คู่ค วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง อาจขอให้ศ าล
ทำการสืบพยานบุคคลที่อยู่นอกศาลโดยระบบการประชุมทางจอภาพได้
โดยคู่ค วามฝ่ ายที่อ้างพยานต้อ งเป็ นผู้รับ ผิด ชอบในเรื่อ งค่า ใช้จ ่า ย หาก
ศาลเห็นว่าเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมศาลจะอนุญาตตามคำร้องนัน

ก็ได้ โดยให้ศาลดำเนินกระบวนพิจารณาไปตามข้อ กำหนดแนวทางการ
สืบพยานของประธานศาลฎีกาโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ของ
ศาลฎีกาที่ออกตามมาตรา ๑๐๓/๓ รวมทัง้ ระบุวิธีการสืบพยาน สถานที่
และสักขีพ ยานในการสืบ พยานตามข้อ กำหนดของประธานศาลฎีก าดัง
กล่าว และไม่ถือว่าค่าใช้จ่ายนัน
้ เป็ นค่าฤชาธรรมเนียมในการดำเนินคดี
การเบิกความตามวรรคหนึ่งให้ถ ือว่าพยานเบิก ความในห้อ ง
พิจารณาของศาล
 
มาตรา ๑๒๑  ในการนั่งพิจารณาทุกครัง้ เมื่อพยานคนใดเบิก
ความแล้ว ให้ศาลอ่านคำเบิกความนัน
้ ให้พยานฟั ง และให้พยานลงลายมือ
ชื่อไว้ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๔๙ และ ๕๐
ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับกับกรณีที่มีการใช้บันทึกถ้อยคำ
แทนการเบิกความของพยานตามมาตรา ๑๒๐/๑ หรือมาตรา ๑๒๐/๒
หรือกรณีที่มีการสืบพยานโดยใช้ระบบการประชุมทางจอภาพตามมาตรา
๑๒๐/๔ หรือ กรณีท ี่มีก ารบัน ทึก การเบิก ความของพยานโดยใช้ว ิธ ีก าร
บันทึกลงในวัสดุซึ่งสามารถถ่ายทอดออกเป็ นภาพหรือเสียงหรือโดยใช้วิธี
การอื่น ใดซึ่ง คู่ค วามและพยานสามารถตรวจสอบถึง ความถูก ต้อ งของ
บัน ทึก การเบิก ความนัน
้ ได้ แต่ถ ้า คู่ค วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง หรือ พยานขอ
ตรวจดูบ ัน ทึก การเบิก ความของพยานนัน
้ ให้ศ าลจัด ให้ม ีก ารตรวจด ู
บันทึกการเบิกความนัน
้ [๘๐]
 
หมวด ๓
การนำพยานเอกสารมาสืบ
                  
 
มาตรา ๑๒๒  เมื่อคู่ค วามฝ่ ายใดอ้า งอิง เอกสารฉบับ ใดเป็ น
พยานหลักฐานและคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งคัดค้านเอกสารนัน
้ ตามที่บัญญัติไว้
ในมาตรา ๑๒๕ ถ้าต้นฉบับเอกสารอยู่ในความครอบครองของคู่ความฝ่ าย
ที่อ้างเอกสาร ให้คค
ู่ วามฝ่ ายนัน
้ นำต้นฉบับเอกสารมาแสดงต่อศาลในวัน
สืบพยาน[๘๑]
ไม่ว่าเวลาใด ๆ ก่อนมีคำพิพากษา ถ้าศาลได้กำหนดให้คค
ู่ วาม
ฝ่ ายที่อ้างเอกสารส่งต้นฉบับต่อศาล โดยที่ศาลเห็นสมควร หรือ โดยที่ค ู่
ความอีกฝ่ ายหนึ่งยื่น คำขอ ให้ค ู่ความฝ่ ายนัน
้ ส่งต้นฉบับเอกสารต่อ ศาล
เพื่อศาลหรือคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งจะตรวจดูได้ตามเงื่อนไขซึ่งจะได้กำ หนด
ไว้ในกฎกระทรวงว่าด้วยการนัน
้ หรือตามที่ศาลจะได้กำหนด แต่
(๑) ถ้าไม่สามารถจะนำมาหรือยื่นต้นฉบับเอกสารดังกล่าวข้าง
ต้น คูค
่ วามฝ่ ายนัน
้ อาจยื่นคำขอโดยทำเป็ นคำร้องต่อศาลในวันหรือก่อน
วัน ที่กำ หนดให้นำ มาหรือ ให้ย่ น
ื ต้น ฉบับ เอกสารนัน
้ แถลงให้ท ราบถึง
ความไม่ส ามารถที่จะปฏิบัติตามได้พ ร้อ มทัง้ เหตุผล ถ้าศาลเห็นว่า ผู้ย่ ืน
คำ ขอไม่ส ามารถที่จ ะนำมาหรือ ยื่น ต้น ฉบับ เอกสารได้ ศาลจะมีคำ สั่ง
อนุญาตให้นำต้นฉบับเอกสารมาในวัน ต่อไป หรือจะสั่งเป็ นอย่างอื่นตาม
ที่เห็นสมควรเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมก็ได้ ในกรณีที่ผ ู้ย่ ืนคำขอมี
ความประสงค์เ พีย งให้ศ าลขยายระยะเวลาที่ต นจะต้อ งนำ มาหรือ ยื่น
ต้นฉบับเอกสารนัน
้ คำขอนัน
้ จะทำเป็ นคำขอฝ่ ายเดียวก็ได้
(๒) ถ้าการทีจ
่ ะนำมาหรือยื่นต้นฉบับเอกสารต่อศาลนัน
้ จะเป็ น
เหตุให้เกิดการสูญหาย หรือบุบสลายหรือมีข้อขัดข้องโดยอุปสรรคสำคัญ
หรือความลำบากยากยิ่งใด ๆ คู่ความฝ่ ายที่อ้างอิงเอกสารอาจยื่น คำขอ
ฝ่ ายเดียวโดยทำเป็ นคำร้องต่อศาล ในวันหรือก่อนวันสืบพยานแถลงให้
ทราบถึงเหตุเสียหาย อุปสรรค หรือความลำบากเช่นว่านัน
้ ถ้าศาลเห็นว่า
ต้น ฉบับ เอกสารนัน
้ ไม่อาจนำมาหรือ ยื่น ต่อ ศาลได้ ศาลจะมีคำ สัง่ ให้ย่ น

ต้น ฉบับ เอกสารนัน
้ ณ สถานที่ใ ดต่อ เจ้า พนัก งานคนใด และภายใน
เงื่อนไขใด ๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได้ หรือจะมีคำสั่งให้คัดสำเนาที่รับรองว่า
ถูกต้องทัง้ ฉบับหรือเฉพาะส่วนที่เกี่ยวแก่เรื่องมายื่นแทนต้นฉบับก็ได้
 
มาตรา ๑๒๓[๘๒]  ถ้าต้นฉบับเอกสารซึ่งคูค
่ วามฝ่ ายหนึ่งอ้างอิง
เป็ นพยานหลักฐานนัน
้ อยู่ในความครอบครองของคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง คู่
ความฝ่ ายที่อ้างจะยื่น คำขอโดยทำเป็ นคำร้องต่อศาลขอให้สั่งคู่ความอีก
ฝ่ ายหนึ่งส่งต้นฉบับเอกสารแทนการที่ตนจะต้องส่ง สำเนาเอกสารนัน
้ ก็ได้
ถ้าศาลเห็นว่าเอกสารนัน
้ เป็ นพยานหลักฐานสำคัญ และคำร้องนัน
้ ฟั งได้
ให้ศาลมีคำสั่งให้คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งยื่นต้นฉบับเอกสารต่อศาลภายในเวลา
อันสมควรแล้วแต่ศาลจะกำหนด ถ้าคูค
่ วามอีกฝ่ ายหนึ่งมีต้นฉบับเอกสาร
อยู่ในครอบครองไม่ปฏิบัติตามคำสั่งเช่นว่านัน
้ ให้ถือว่าข้อเท็จจริงแห่งข้อ
อ้างที่ผู้ขอจะต้องนำสืบโดยเอกสารนัน
้ คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งได้ยอมรับแล้ว
ถ้าต้นฉบับเอกสารอยู่ในความครอบครองของบุคคลภายนอก
หรือในครอบครองของทางราชการ หรือของเจ้าหน้าที่ซึ่งคู่ความที่อ้างไม่
อาจร้องขอโดยตรงให้ส่งเอกสารนัน
้ มาได้ ให้นำบทบัญญัติในวรรคก่อนว่า
ด้วยการที่คู่ความฝ่ ายที่อ้างเอกสารยื่น คำขอ และการที่ศาลมีคำ สัง่ มาใช้
บัง คับ โดยอนุโ ลม แต่ท ัง้ นีฝ
้ ่ ายที่อ ้า งต้อ งส่ง คำสั่ง ศาลแก่ผ ู้ค รอบครอง
เอกสารนัน
้ ล่ว งหน้า อย่า งน้อ ยเจ็ด วัน  ถ้า ไม่ไ ด้เ อกสารนัน
้ มาสืบ ตาม
กำหนด เมื่อศาลเห็นสมควร ก็ให้ศาลสืบพยานต่อไปตามที่บ ัญญัติไ ว้ใน
มาตรา ๙๓ (๒)
 
มาตรา ๑๒๔  ถ้าคูค
่ วามฝ่ ายที่อ้างเอกสารไม่ยอมนำมาหรือ
ยื่นต้นฉบับเอกสาร หรือถ้าคูค
่ วามฝ่ ายนัน
้ ได้ทำให้เสียหาย ทำลาย ปิ ดบัง
หรือ ทำด้วยประการอื่น ใด ให้เ อกสารนัน
้ ไร้ป ระโยชน์โ ดยมุ่ง หมายที่จะ
กีดกันไม่ให้คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งอ้างอิงเอกสารนัน
้ เป็ นพยานหลักฐาน ให้
ถือว่าข้อเท็จจริงแห่งข้ออ้างที่คค
ู่ วามอีกฝ่ ายหนึ่งจะต้องนำสืบโดยเอกสาร
นัน
้ คูค
่ วามฝ่ ายที่ไ ม่นำ มาหรือ ยื่น เอกสารดัง กล่า วข้า งต้น นัน
้ ได้ยอมรับ
แล้ว
 
มาตรา ๑๒๕ [๘๓]  คู่ความฝ่ ายที่ถูกอีกฝ่ ายหนึ่งอ้างอิงเอกสาร
มาเป็ นพยานหลักฐานยันตนอาจคัดค้านการนำเอกสารนัน
้ มาสืบโดยเหตุที่
ว่าไม่มีต้นฉบับหรือต้นฉบับนัน
้ ปลอมทัง้ ฉบับหรือบางส่วน หรือ สำเนานัน

ไม่ถ ูก ต้อ งกับ ต้นฉบับ โดยคัด ค้า นต่อศาลก่อ นการสืบ พยานเอกสารนัน

เสร็จ
ถ้าคู่ความซึ่ง ประสงค์จะคัด ค้า นมีเ หตุผลอัน สมควรที่ไ ม่อ าจ
ทราบได้ก่อนการสืบพยานเอกสารนัน
้ เสร็จว่าต้นฉบับเอกสารนัน
้ ไม่มี หรือ
เอกสารนัน
้ ปลอม หรือ สำ เนาไม่ถ ูก ต้อ ง คู่ค วามนัน
้ อาจยื่น คำ ร้อ งขอ
อนุญาตคัดค้านการอ้างเอกสารมาสืบดังกล่าวข้างต้นต่อศาล ไม่ว่าเวลาใด
ก่อนศาลพิพากษา ถ้าศาลเห็นว่าคู่ความนัน
้ ไม่อาจยกข้อคัดค้านได้ก่อน
นัน
้ และคำขอนัน
้ มีเหตุผลฟั งได้ ก็ให้ศาลมีคำสั่งอนุญาตตามคำขอ
ถ้าคูค
่ วามซึ่งประสงค์จะคัดค้านไม่คัดค้านการอ้างเอกสารเสีย
ก่อนการสืบพยานเอกสารนัน
้ เสร็จ หรือศาลไม่อนุญาตให้คัดค้านภายหลัง
นัน
้ ห้ามมิให้คค
ู่ วามนัน
้ คัดค้านการมีอยู่ และความแท้จริงของเอกสารนัน

หรือความถูกต้องแห่งสำเนาเอกสารนัน
้ แต่ทงั ้ นี ้ ไม่ตัด อำนาจของศาลใน
อันที่จะไต่สวนและชีข
้ าดในเรื่องการมีอยู่ ความแท้จริง หรือความถูกต้อง
เช่นว่านัน
้ ในเมื่อศาลเห็นสมควร และไม่ตัดสิทธิของคูค
่ วามนัน
้ ที่จะอ้าง
ว่าสัญญาหรือหนีท
้ ี่ระบุไว้ในเอกสารนัน
้ ไม่สมบูรณ์หรือคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง
ตีความหมายผิด
 
มาตรา ๑๒๖  ภายใต้บังคับแห่งบทบัญญัติมาตราต่อไปนี ้ ถ้าคู่
ความที่ถ ูก อีก ฝ่ ายหนึ่ง อ้า งอิง เอกสารมาเป็ นพยานหลัก ฐานยัน แก่ต น
ปฏิเสธความแท้จริงของเอกสารนัน
้ หรือความถูกต้องแห่งสำเนาเอกสาร
นัน
้ และคู่ความฝ่ ายที่อ้างยังคงยืนยันความแท้จริงหรือความถูกต้องแห่ง
สำเนาของเอกสาร ถ้าศาลเห็นสมควร ให้ศาลชีข
้ าดข้อโต้เถียงนัน
้ ได้ทันที
ในเมื่อเห็นว่าไม่จำเป็ นต้องสืบพยานหลักฐานต่อไป หรือมิฉะนัน
้ ให้ชีข
้ าด
ในเมื่อได้สืบพยานตามวิธีต่อไปนีท
้ ัง้ หมดหรือโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง  คือ
(๑) ตรวจสอบบรรดาเอกสารที่มิได้ถ ูกคัดค้านแล้วจดลงไว้ซึ่ง
การมีอยู่หรือข้อความแห่งเอกสารที่ถูกคัดค้าน
(๒) ซักถามพยานที่ทราบการมีอยู่หรือข้อความแห่งเอกสาร
ที่ถ ูก คัด ค้า น หรือ พยานผู้ท ี่ส ามารถเบิก ความในข้อ ความแท้จ ริง แห่ง
เอกสาร หรือความถูกต้องแห่งสำเนา
(๓) ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเอกสารที่ถูกคัดค้านนัน

ในระหว่างที่ยังมิได้ชข
ี ้ าดตัดสินคดี ให้ศาลยึดเอกสารที่สงสัย
ว่าปลอมหรือไม่ถูกต้องไว้ แต่ความข้อนีไ้ ม่บังคับถึงเอกสารราชการซึ่งทาง
ราชการเรียกคืนไป
 
มาตรา ๑๒๗  เอกสารมหาชนซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ทำ ขึน

หรือ รับ รอง หรือ สำเนาอัน รับ รองถูก ต้อ งแห่ง เอกสารนัน
้ และเอกสาร
เอกชนที่ม ีคำ พิพ ากษาแสดงว่า เป็ นของแท้จ ริง และถ ก
ู ต้อ งนัน
้ ให้
สัน นิษฐานไว้ก ่อนว่าเป็ นของแท้จริง และถูก ต้อ ง เป็ นหน้า ที่ข องคู่ค วาม
ฝ่ ายที่ถูกอ้างเอกสารนัน ์ รือความไม่ถูก
้ มายัน ต้องนำสืบความไม่บริสุทธิห
ต้องแห่งเอกสาร
 
มาตรา ๑๒๗ ทวิ[๘๔]  ต้นฉบับพยานเอกสารหรือพยานวัตถุอัน
สำคัญที่คู่ความได้ย่ น
ื ต่อศาลหรือที่บุคคลภายนอกได้ย่ น
ื ต่อศาล หากผู้ที่
ยื่นต้องใช้เป็ นประจำหรือตามความจำเป็ นหรือมีความสำคัญในการเก็บ
รักษา ศาลจะอนุญาตให้ผู้ที่ย่ น
ื รับคืนไป โดยให้ค ู่ความตรวจดู และให้ผู้ที่
ยื่นส่งสำเนาหรือภาพถ่ายไว้แทน หรือจะมีคำสัง่ อย่างใดตามที่เห็นสมควร
ก็ได้
 
หมวด ๔
การตรวจและการแต่งตัง้ ผู้เชี่ยวชาญโดยศาล
                  
 
มาตรา ๑๒๘ [๘๕]  ถ้าพยานหลักฐานที่ศาลจะทำการตรวจนัน

เป็ นบุคคลหรือสังหาริมทรัพย์ซึ่งอาจนำมาศาลได้ ให้ค ู่ความฝ่ ายที่ได้รับ
อนุญาตให้นำสืบพยานหลักฐานเช่นว่านัน
้ นำบุคคลหรือทรัพย์นน
ั ้ มาในวัน
สืบพยาน หรือวันอื่นใดที่ศาลจะได้กำหนดให้นำมา
ถ้าการตรวจไม่สามารถกระทำได้ในศาล ให้ศาลทำการตรวจ
ณ สถานที่ เวลา และภายในเงื่อ นไข ตามที่ศ าลจะเห็น สมควร แล้ว แต่
สภาพแห่งการตรวจนัน
้ ๆ
 
มาตรา ๑๒๘/๑[๘๖]  ในกรณีที่จำเป็ นต้องใช้พยานหลักฐานทาง
วิทยาศาสตร์เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงใดที่เป็ นประเด็นสำคัญแห่งคดี เมื่อศาล
เห็น สมควรหรือ เมื่อ คู่ค วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง ร้อ งขอ ศาลมีอำ นาจสัง่ ให้
ทำ การตรวจพิส จ
ู น์บ ค
ุ คล วัต ถุห รือ เอกสารใด ๆ โดยวิธ ก
ี ารทาง
วิทยาศาสตร์ได้
ในกรณีที่พยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร์จะสามารถพิส ูจน์ให้
เห็นถึงข้อเท็จจริงที่ทำให้ศาลวินิจฉัยชีข
้ าดคดีได้โดยไม่ต้องสืบพยานหลัก
ฐานอื่น อีก เมื่อ ศาลเห็น สมควรหรือ เมื่อ คู่ค วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง ร้อ งขอ
ศาลอาจสั่งให้ทำ การตรวจพิสูจน์ตามวรรคหนึ่งโดยไม่ต้องรอให้ถึงวันสืบ
พยานตามปกติก็ได้
ในกรณีทก
่ี ารตรวจพิสจ
ู น์ตามวรรคหนึง่ หรือวรรคสองจำเป็ น
ต้องเก็บตัวอย่าง เลือด เนื้อเยื่อ ผิวหนัง เส้นผมหรือขน ปั สสาวะ อุจจาระ
น้ำลายหรือ สารคัด หลัง่ อื่น สารพัน ธุก รรม หรือ ส่ว นประกอบอื่น ของ
ร่า งกาย หรือสิ่ง ที่อยู่ในร่า งกายจากคู่ค วามหรือ บุค คลใด ศาลอาจให้ค ู่
ความหรือบุคคลใดรับการตรวจพิสูจน์จากแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญอื่นได้ แต่
ต้องกระทำเพียงเท่าที่จำ เป็ นและสมควร  ทัง้ นี ้ ถือเป็ นสิทธิข องคู่ความ
หรือบุคคลนัน
้ ที่จะยินยอมหรือไม่ก็ได้
ในกรณีที่ค ค
ู่ วามฝ่ ายใดไม่ยิน ยอมหรือไม่ให้ค วามร่วมมือ ต่อ
การตรวจพิสูจน์ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง หรือไม่ให้ความยินยอมหรือ
กระทำการขัดขวางมิให้บุคคลที่เกี่ยวข้องให้ความยินยอมต่อการตรวจเก็บ
ตัวอย่างส่วนประกอบของร่างกายตามวรรคสาม ก็ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า
ข้อเท็จจริงเป็ นไปตามที่คู่ความฝ่ ายตรงข้ามกล่าวอ้าง
ค่า ใช้จ ่า ยในการตรวจพิส ูจ น์ต ามมาตรานี ้ ให้ค ู่ค วามฝ่ ายที่
ร้องขอให้ตรวจพิส ูจน์เป็ นผู้รับ ผิด ชอบโดยให้ถ ือ ว่า เป็ นส่วนหนึ่ง ของค่า
ฤชาธรรมเนียม แต่ถ้าผู้ร้องขอไม่สามารถเสียค่าใช้จ่ายได้หรือเป็ นกรณีที่
ศาลเป็ นผู้สงั่ ให้ตรวจพิส ูจน์ ให้ศาลสั่งจ่ายตามระเบียบที่คณะกรรมการ
บริหารศาลยุติธรรมกำหนด ส่วนความรับผิดในค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้เป็ น
ไปตามมาตรา ๑๕๘ หรือมาตรา ๑๖๑
 
มาตรา ๑๒๙  ในการที่ศาลจะมีคำสั่งให้แต่งตัง้ ผู้เชี่ยวชาญดัง
กล่าวมาในมาตรา ๙๙ โดยที่ศาลเห็นสมควรหรือโดยที่ค ู่ความฝ่ ายใดฝ่ าย
หนึ่งร้องขอนัน

(๑) การแต่งตัง้ ผูเ้ ชี่ยวชาญเช่นว่านัน
้ ให้อยู่ในดุลพินิจของศาล
แต่ศาลจะเรียกคู่ความมาให้ตกลงกันกำหนดตัวผู้เชี่ยวชาญที่จะแต่งตัง้ นัน

ก็ได้ แต่ศาลจะบังคับบุคคลใดให้เป็ นผู้เชี่ยวชาญไม่ได้ นอกจากบุคคลนัน

ได้ยินยอมลงชื่อเป็ นผู้เชี่ยวชาญไว้ในทะเบียนผู้เชี่ยวชาญของศาลแล้ว
(๒) ผู้เชี่ยวชาญที่ศาลแต่งตัง้ อาจถูกคัดค้านได้และต้องสาบาน
หรือปฏิญาณตน ทัง้ มีสิทธิที่จะได้รับค่าธรรมเนียมและรับชดใช้ค่าใช้จ่ายที่
ได้ออกไปตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงว่าด้วยการนัน

 
มาตรา ๑๓๐  ผู้เ ชี่ยวชาญที่ศ าลแต่ง ตัง้ อาจแสดงความเห็น
ด้วยวาจาหรือเป็ นหนังสือก็ได้ แล้วแต่ศาลจะต้องการ ถ้าศาลยังไม่เป็ นที่
พอใจในความเห็น ของผู้เ ชี่ยวชาญที่ทำ เป็ นหนัง สือ นัน
้ หรือ เมื่อ คูค
่ วาม
ฝ่ ายใดเรียกร้องโดยทำเป็ นคำร้อง ให้ศาลเรียกให้ผู้เชี่ยวชาญทำความเห็น
เพิ่มเติมเป็ นหนังสือ หรือเรียกให้มาศาลเพื่ออธิบายด้วยวาจา หรือให้ตงั ้ ผู้
เชี่ยวชาญคนอื่นอีก
ถ้าผู้เชี่ยวชาญที่ศาลตัง้ จะต้องแสดงความเห็นด้วยวาจาหรือ
ต้อ งมาศาลเพื่อ อธิบ ายด้ว ยวาจา ให้นำ บทบัญ ญัต ิใ นลัก ษณะนีว้ ่า ด้ว ย
พยานบุคคลมาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
ลักษณะ ๖
คำพิพากษาและคำสั่ง
                  
 
หมวด ๑
หลักทั่วไปว่าด้วยการชีข
้ าดตัดสินคดี
                  
 
มาตรา ๑๓๑  คดีที่ย่ น
ื ฟ้ องต่อศาลนัน
้ ให้ศาลปฏิบัติดังนี ้
(๑) ในเรื่องคำขอซึง่ คูค
่ วามยื่นในระหว่างการพิจารณาคดีนน
ั้
โดยทำเป็ นคำร้องหรือขอด้วยวาจาก็ดี ให้ศาลมีคำ สั่งอนุญาตหรือยกเสีย
ซึ่งคำขอเช่นว่านัน
้ โดยทำเป็ นหนังสือหรือด้วยวาจาก็ได้ แต่ถ้าศาลมีคำสั่ง
ด้วยวาจาให้ศาลจดคำสั่งนัน
้ ไว้ในรายงานพิสดาร
(๒) ในเรื่องประเด็นแห่งคดี ให้ศาลวินิจฉัยชีข
้ าดโดยทำเป็ นคำ
พิพากษาหรือคำสั่ง หรือให้จำหน่ายคดีเสียจากสารบบความตามที่บัญญัติ
ไว้ในลักษณะนี ้
 
มาตรา ๑๓๒  ให้ศ าลมีคำ สั่ง ให้จำ หน่า ยคดีเสียจากสารบบ
ความได้ โดยไม่ต้องมีคำ วินิจฉัยชีข
้ าดในประเด็นเรื่องนัน
้ และให้กำหนด
เงื่อนไขในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมตามที่เห็นสมควร
(๑) [๘๗] เมื่อ โจทก์ท งิ ้ ฟ้ อง ถอนฟ้ อง หรือ ไม่ม าศาลในวัน นัด
พิจารณา ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๗๔ มาตรา ๑๗๕ และมาตรา ๑๙๓
ทวิ
(๒)[๘๘] เมื่อ โจทก์ไ ม่ห าประกัน มาให้ด ัง ที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นมาตรา
๒๕๓ และมาตรา ๓๒๓ หรือเมื่อคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง หรือทัง้ สองฝ่ าย
ขาดนัดดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๙๘ มาตรา ๒๐๐ และมาตรา ๒๐๑
(๓) ถ้าความมรณะของคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งยังให้คดีนน
ั ้ ไม่มี
ประโยชน์ต ่อ ไป หรือ ถ้า ไม่ม ีผ ู้ใ ดเข้า มาแทนที่ค ค
ู่ วามฝ่ ายที่ม รณะดัง ที่
บัญญัติไว้ในมาตรา ๔๒
(๔) เมื่อศาลได้มีคำ สั่ง ให้พ ิจารณาคดีร วมกัน หรือ ให้แ ยกกัน
ซึ่ง เป็ นเหตุให้ต้องโอนคดีไ ปยัง อีกศาลหนึง่ ดัง ที่บ ัญ ญัต ไิ ว้ใ นมาตรา ๒๘
และ ๒๙
 
มาตรา ๑๓๓  เมื่อศาลมิได้จำหน่ายคดีออกจากสารบบความ
ดังที่บัญญัติไว้ในมาตราก่อน ให้ศาลชีข
้ าดคดีนน
ั ้ โดยทำเป็ นคำพิพากษา
หรือคำสั่งในวันที่สน
ิ ้ การพิจารณา แต่เพื่อการที่จะพิเคราะห์คดีต่อไป ศาล
จะเลื่อ นการพิพ ากษาหรือ การทำคำสั่ง ต่อ ไปในวัน หลัง ก็ไ ด้ต ามที่เ ห็น
สมควรเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
 
มาตรา ๑๓๔  ไม่ว ่า กรณีใ ด ๆ ห้า มมิใ ห้ศ าลที่ร ับ ฟ้ องคดีไ ว้
ปฏิเสธไม่ยอมพิพ ากษาหรือมีคำ สั่ง ชีข
้ าดคดีโ ดยอ้า งว่า ไม่ม ีบ ทบัญ ญัต ิ
แห่งกฎหมายที่จะใช้บังคับแก่คดี หรือว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่จะใช้
บังคับนัน
้ เคลือบคลุมหรือไม่บริบูรณ์
 
มาตรา ๑๓๕ [๘๙]  ในคดีที่เรียกร้องให้ชำระหนีเ้ ป็ นเงิน หรือมี
การเรียกร้อ งให้ชำ ระหนีเ้ ป็ นเงิน รวมอยู่ด ้ว ย ไม่ว่า เวลาใด ๆ ก่อ นมีคำ
พิพากษา จำเลยจะนำเงินมาวางศาลเต็ม จำนวนที่เรียกร้อง หรือแต่บาง
ส่วน หรือตามจำนวนเท่าที่ตนคิดว่าพอแก่จำ นวนที่โจทก์มีสิทธิเรียกร้อง
ก็ได้  ทัง้ นี ้ โดยยอมรับผิดหรือไม่ยอมรับผิดก็ได้
 
มาตรา ๑๓๖ [๙๐]  ในกรณีที่จำ เลยวางเงินต่อศาลโดยยอมรับ
ผิด ถ้าโจทก์พอใจยอมรับเงินที่จำเลยวางโดยไม่ติดใจเรียกร้องมากกว่านัน

และคดีไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยต่อไปอีก ให้ศาลพิพากษาคดีไปตาม
นัน
้ คำพิพากษานัน
้ เป็ นที่สุด แต่ถ้าโจทก์ไ ม่พ อใจในจำนวนเงินที่จำ เลย
วาง และยังติดใจที่จะดำเนินคดีเพื่อให้จำเลยต้องรับผิดในจำนวนเงินตาม
ที่เรียกร้องต่อไปอีก จำเลยมีสิทธิถอนเงินที่วางไว้นัน
้ ได้ โดยให้ถือเสมือน
ว่า มิไ ด้ม ีก ารวางเงิน หรือ จำ เลยจะยอมให้โ จทก์ร ับ เงิน นัน
้ ไปก็ไ ด้  ใน
กรณีหลังนี ้ โจทก์จะรับเงินไปหรือไม่ก็ตาม จำเลยไม่ต้องเสียดอกเบีย
้ ใน
จำนวนเงินที่วาง แม้ว่าจำเลยมีความรับผิดตามกฎหมายจะต้องเสีย   ทัง้ นี ้
นับแต่วันที่จำเลยยอมให้โจทก์รับเงินไป
ในกรณีท ี่จำ เลยวางเงิน ต่อ ศาลโดยไม่ย อมรับ ผิด จำเลยจะ
รับเงินนัน
้ คืนไปก่อนที่มี คำ พิพากษาว่า จำเลยไม่ต้องรับผิดไม่ได้ การวาง
เงินเช่นว่านี ้ ไม่เป็ นเหตุระงับการเสียดอกเบีย
้ หากจำเลยมีความรับผิดตาม
กฎหมายจะต้องเสีย
 
มาตรา ๑๓๗  ในคดีที่เรียกร้องให้ชำ ระหนีอ
้ ย่างอื่นนอกจาก
ให้ชำระเงิน จำเลยชอบที่จะทำการชำระหนีน
้ น
ั ้ ได้โดยแจ้งให้ศาลทราบใน
คำให้การหรือแถลงโดยหนังสือเป็ นส่วนหนึ่งต่างหากก็ได้
ถ้าโจทก์ยอมรับการชำระหนีน
้ น
ั ้ เป็ นการพอใจเต็มตามที่เรียก
ร้องแล้ว ให้ศาลพิพากษาคดีไปตามนัน
้ และคำพิพากษานัน
้ ให้เป็ นที่สุด
ถ้า โจทก์ไ ม่พ อใจในการชำระหนีเ้ ช่น ว่า นัน
้ โจทก์ช อบที่จ ะ
ดำเนินคดีนน
ั ้ ต่อไปได้
 
มาตรา ๑๓๘  ในคดีท ี่ค ค
ู่ วามตกลงกัน หรือ ประนีป ระนอม
ยอมความกัน ในประเด็น แห่ง คดีโ ดยมิไ ด้ม ีก ารถอนคำฟ้ องนัน
้ และข้อ
ตกลงหรือ การประนีป ระนอมยอมความกัน นัน
้ ไม่เ ป็ นการฝ่ าฝื นต่อ
กฎหมาย ให้ศาลจดรายงานพิสดารแสดงข้อความแห่งข้อตกลงหรือการ
ประนีประนอมยอมความเหล่านัน
้ ไว้ แล้วพิพากษาไปตามนัน

ห้ามมิให้อุทธรณ์คำพิพากษาเช่นว่านี ้ เว้นแต่ในเหตุต่อไปนี ้
(๑) เมื่อมีข้อกล่าวอ้างว่าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งฉ้อฉล
(๒) เมื่อ คำ พิพ ากษานัน
้ ถูก กล่า วอ้า งว่า เป็ นการละเมิด ต่อ
บทบัญญัติแห่ง
กฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
(๓) เมื่อ คำ พิพ ากษานัน
้ ถูก กล่า วอ้า งว่า มิไ ด้เ ป็ นไปตามข้อ
ตกลงหรือการประนีประนอมยอมความ
ถ้าคูค
่ วามตกลงกันเพียงแต่ให้เสนอคดีต่ออนุญาโตตุลาการ ให้
นำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนีว้ ่าด้วยอนุญาโตตุลาการมาใช้บังคับ
 
มาตรา ๑๓๙  เมื่อคดีสองเรื่องหรือกว่านัน
้ ขึน
้ ไปได้พิจารณา
รวมกันเพื่อสะดวกแก่การพิจารณา ศาลจะพิพากษาคดีเหล่านัน
้ เรื่องใด
เรื่องหนึ่งซึ่งเสร็จการพิจารณาแล้วจึงพิพากษาเรื่องอื่น ๆ ต่อไปภายหลัง
ก็ได้
 
หมวด ๒
ข้อความและผลแห่งคำพิพากษาและคำสั่ง
                  
 
มาตรา ๑๔๐ [๙๑ ]  การทำคำพิพ ากษาหรือ คำสัง่ ของศาล ให้
ดำเนินตามข้อบังคับต่อไปนี้
(๑) ศาลจะต้องประกอบครบถ้วนตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
ว่าด้วยเขตอำนาจศาล และอำนาจผู้พพ
ิ ากษา
(๒)[๙๒ ] ภายใต้บ ัง คับ บทบัญ ญัต ิม าตรา ๑๓ ถ้า คำพิพ ากษา
หรือคำสั่งจะต้องทำโดยผู้พิพากษาหลายคน คำพิพากษาหรือ คำสั่งนั น

จะต้องบังคับตามความเห็นของฝ่ ายข้างมาก ในศาลชั น
้ ต้นและศาลชั น

อุท ธรณ์ ถ้า ผู้พ ิพ ากษาคนใดมีค วามเห็น แย้ง ก็ใ ห้ผ ู้พ ิพ ากษาคนนั น

เขียนใจความแห่งความเห็นแย้งและเหตุผลของตนกลัดไว้ในสำนวน
ในศาลชั น
้ อุท ธรณ์ห รือ ศาลฎีก า ถ้า ประธานของศาลชั น

อุท ธรณ์ห รือ ประธานศาลฎีก า แล้ว แต่ก รณี เห็น สมควร จะให้ม ีก าร
วิน ิจ ฉัย ปั ญหาใดในคดีเ รื่ อ งใดโดยที่ป ระชุม ใหญ่ห รือ ที่ป ระชุม แผนก
คดีก ็ไ ด้ หรือ ถ้า มีก ฎหมายกำหนดให้ว ิน ิจ ฉัย ปั ญหาใดหรือ คดีเ รื่ อ งใด
โดยที่ป ระชุม ใหญ่ห รือ ที่ป ระชุม แผนกคดีก ็ใ ห้ว ิน ิจ ฉัย โดยที่ป ระชุม
ใหญ่หรือที่ประชุมแผนกคดี แล้วแต่กรณี
ภ า ย ใ ต ้บ ัง ค ับ บ ท บ ัญ ญ ัต ิม า ต ร า ๑ ๓ ใ น ก ร ณ ีท ี่ไ ม ่ม ี
กฎหมายบัญ ญัต ิไ ว้เ ป็ นอย่างอื่น ที่ป ระชุมใหญ่ห รือ ที่ป ระชุมแผนกคดี
ของศาลชัน
้ อุทธรณ์ห รือศาลฎีกานัน
้ ให้ป ระกอบด้วยผู้พ ิพ ากษาทุก คน
ซึ่ง อยู่ป ฏิบ ัต ิห น้า ที่ แต่ต ้อ งไม่น ้อ ยกว่า กึ่ง หนึ่ง ของจำนวนผู้พ ิพ ากษา
ในศาลนั น
้ หรือ ในแผนกคดีท ี่ม ีก ารประชุม และให้ป ระธานของศาลชั น

อุท ธรณ์ห รือ ประธานศาลฎีกา ประธานแผนกคดีของศาลชัน
้ อุทธรณ์หรือ
ศาลฎีกา แล้วแต่กรณี หรือผูทำ
้ การแทน เป็ นประธาน
คำวินจ
ิ ฉัยของทีป
่ ระชุมใหญ่หรือทีป
่ ระชุมแผนกคดีให้เป็ นไป
ตามเสียงข้างมาก และถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานแห่งทีป
่ ระชุม
ออกเสียงเพิม
่ ขึน
้ อีกเสียงหนึง่ เป็ นเสียงชีข
้ าด
ในคดีซง่ึ ทีป
่ ระชุม ใหญ่ห รือ ทีป
่ ระชุม แผนกคดีไ ด้ว น
ิ จ
ิ ฉัย
ปั ญหาแล้ว คำพิพ ากษาหรือ คำ สั่ง ต้อ งเป็ นไปตามคำ วิน ิจ ฉัย ของที่
ประชุม ใหญ่ห รือ ที่ป ระชุม แผนกคดี และต้อ งระบุไ ว้ด ้ว ยว่า ปั ญหาข้อ
ใดได้ว ิน ิจ ฉัย โดยที่ป ระชุม ใหญ่ห รือ ที่ป ระชุม แผนกคดี ผ ู้พ ิพ ากษาที่
เข้า ประชุม แม้มใิ ช่เป็ นผูน
้ ง่ั พิจารณาก็ให้มอำ
ี นาจพิพากษาหรือทำคำสัง่ ใน
คดีนน
ั ้ ได้ และเฉพาะในศาลชัน
้ อุทธรณ์ใ ห้ทำ ความเห็น แย้ง พร้อ มเหตุผ ล
ได้ด้วย
ในกรณีท ี่ปั ญหาใดในคดีเ รื่ อ งใด ได้ม ี คำ วิน ิจ ฉัย โดยที่
ประชุม แผนกคดีแ ล้ว หากประธานของศาลชั น
้ อุท ธรณ์ห รือ ประธาน
ศาลฎีก า แล้ว แต่ก รณี เห็น สมควรจะให้ม ีก ารวิน ิ จ ฉัย ปั ญหาดัง กล่า ว
โดยที่ประชุมใหญ่อีกก็ได้
(๓) การอ่านคำพิพากษาหรือ คำสั่ง ให้อ ่านข้อ ความทัง้ หมด
ในศาลโดยเปิ ดเผย ตามเวลาที่ กำหนดไว้ในประมวลกฎหมายนี ้ ต่อหน้าคู่
ความทัง้ สองฝ่ าย หรือฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งในกรณีเช่นว่านี ้ ให้ศาลจดลงไว้ใน
คำพิพากษาหรือคำสั่ง หรือในรายงานซึ่งการอ่านนัน
้ และให้ค ู่ความที่มา
ศาลลงลายมือชื่อไว้เป็ นสำคัญ
ถ้าคูค
่ วามไม่มาศาล ศาลจะงดการอ่านคำพิพากษาหรือคำสัง่
ก็ได้ ในกรณีเช่นว่านี ้ ให้ศาลจดแจ้งไว้ในรายงาน และให้ถือว่า คำพิพากษา
หรือคำสั่งนัน
้ ได้อ่านตามกฎหมายแล้ว
เมื่อศาลทีพ
่ พ
ิ ากษาคดี หรือที่ได้รับคำสัง่ จากศาลสูงให้อ่าน
คำพิพ ากษาหรือ คำสั่ง ได้อ ่า นคำพิพ ากษาหรือ คำสั่ง ตามบทบัญ ญัต ิใ น
มาตรานีว้ ันใด ให้ถือว่าวันนัน
้ เป็ นวันที่พิพากษาหรือมีคำสั่งคดีนน
ั้
 
มาตรา ๑๔๑  คำพิพากษาหรือคำสัง่ ของศาลให้ทำเป็ นหนังสือ
และต้องกล่าวหรือแสดง
(๑) ชื่อศาลทีพ
่ ิพากษาคดีนน
ั้
(๒) ชื่อคู่ความทุกฝ่ ายและผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้แทน ถ้า
หากมี
(๓) รายการแห่งคดี
(๔) เหตุผลแห่งคำวินิจฉัยทัง้ ปวง
(๕) คำ วิน ิจ ฉัย ของศาลในประเด็น แห่ง คดีต ลอดทัง้ ค่า ฤชา
ธรรมเนียม
คำ พิพ ากษาหรือ คำ สั่ง นัน
้ ต้อ งลงลายมือ ชื่อ ผ พ
ู้ พ
ิ ากษาที่
พิพากษาหรือทำคำสัง่ หรือถ้าผู้พิพากษาคนใดลงลายมือชื่ อไม่ได้ ก็ให้ผ ู้
พิพ ากษาอื่ น ที่พ ิพ ากษาหรือ ทำคำสั่ง คดีน ั น
้ หรือ อธิบ ดีผ ู้พ ิพ ากษา แล้ว
แต่ก รณี จดแจ้ง เหตุท ี่ผ ู้พ ิพ ากษาคนนั น
้ มิไ ด้ล งลายมือ ชื่ อ และมีค วาม
เห็นพ้องด้วยคำพิพากษาหรือคำสั่งนั น
้ แล้วกลัดไว้ในสำนวนความ
ในกรณีที่ศาลมีอำ นาจทำคำสั่งหรือพิพากษาคดีได้ด้วยวาจา
การที่ศาลจะต้องทำรายงานเกี่ยวด้วยคำสั่งหรือคำพิพากษานัน
้ ไม่จำต้อง
จดแจ้ง รายการแห่งคดีห รือเหตุผลแห่ง คำวิน ิจฉัย แต่เ มื่อ คู่ความฝ่ ายใด
แจ้งความจำนงที่จะอุทธรณ์หรือได้ย่ น
ื อุทธรณ์ขน
ึ ้ มา ให้ศาลมี อำ นาจทำ
คำชีแ
้ จงแสดงรายการข้อ สำคัญ หรือ เหตุผ ลแห่ง คำวิน ิจ ฉัย กลัด ไว้ก ับ
บันทึกนัน
้ ภายในเวลาอันสมควร
 
มาตรา ๑๔๒  คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลที่ชข
ี ้ าดคดีต้อง
ตัดสินตามข้อหาในคำฟ้ องทุกข้อ แต่ห้ามมิให้พพ
ิ ากษาหรือ ทำคำสั่งให้สงิ่
ใด ๆ เกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้ อง เว้นแต่
(๑) ในคดีฟ้ องเรีย กอสัง หาริม ทรัพ ย์ ให้พ งึ เข้า ใจว่า เป็ น
ประเภทเดียวกับฟ้ องขอให้ขับไล่จำเลย ถ้าศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดี
เมื่อศาลเห็นสมควรศาลจะมีคำสั่งให้ขับไล่จำ เลยก็ได้ คำสั่งเช่นว่านีใ้ ห้ใช้
บ งั ค ับ ต ล อ ดถ ึง ว ง ศ ์ญ า ต ิท งั ้ ห ล า ย แ ล ะ บ ร ิว า ร ข อ ง จำ เ ล ย ท ี่อ ย ู่บ น
อสังหาริมทรัพย์นน
ั ้ ซึ่งไม่สามารถแสดงอำนาจพิเศษให้ศาลเห็นได้
(๒) ในคดีที่โจทก์ฟ้องเรียกทรัพย์ใด ๆ เป็ นของตนทัง้ หมด แต่
พิจารณาได้ความว่าโจทก์ควรได้แต่ส่วนแบ่ง เมื่อศาลเห็นสมควร ศาลจะ
พิพากษาให้โจทก์ได้รับแต่ส่วนแบ่งนัน
้ ก็ได้
(๓) ในคดีที่โจทก์ฟ้องขอให้ชำระเงินพร้อมด้วยดอกเบีย
้ จนถึง
วันฟ้ อง เมื่อศาลเห็นสมควร ศาลจะพิพากษาให้จำเลยชำระดอกเบีย
้ จนถึง
วันที่ได้ชำระเสร็จตามคำพิพากษาก็ได้
(๔) ในคดีที่โจทก์ฟ้องเรียกค่าเช่าหรือค่าเสียหายอันต่อเนื่อง
คำนวณถึงวันฟ้ อง เมื่อศาลเห็น สมควร ศาลจะพิพ ากษาให้ ชำ ระค่า เช่า
และค่าเสียหายเช่นว่านีจ
้ นถึงวันที่ได้ชำระเสร็จตามคำพิพากษาก็ได้
(๕) ในคดีท ี่อ าจยกข้อ กฎหมายอัน เกี่ย วด้ว ยความสงบ
เรียบร้อยของประชาชนขึน
้ อ้างได้นน
ั ้ เมื่อศาลเห็นสมควร ศาลจะยกข้อ
เหล่านัน
้ ขึน
้ วินิจฉัยแล้วพิพากษาคดีไปก็ได้
(๖)[๙๓] ในคดีที่โจทก์ฟ้องขอให้ชำ ระเงินพร้อมด้วยดอกเบีย
้ ซึ่ง
มิได้มีข้อตกลงกำหนดอัตราดอกเบีย
้ กันไว้ เมื่อศาลเห็นสมควรโดยคำนึง
ถึง เหตุสมควรและความสุจริต ในการสู้ค วามหรือ การดำเนิน คดี ศาลจะ
พิพากษาให้จำ เลยชำระดอกเบีย
้ ในอัตราที่ส ูงขึน
้ กว่าที่โ จทก์มีสิทธิได้รับ
ตามกฎหมายแต่ไม่เกินร้อยละสิบห้าต่อปี นับตัง้ แต่วันฟ้ องหรือวันอื่นหลัง
จากนัน
้ ก็ได้
 
มาตรา ๑๔๓  ถ้าในคำพิพ ากษาหรือ คำสั่ง ใด มีข ้อ ผิดพลาด
เล็ก น้อ ยหรือ ข้อ ผิด หลงเล็ก น้อ ยอื่น ๆ และมิไ ด้ม ีก ารอุท ธรณ์ห รือ ฎีก า
คัด ค้า นคำพิพ ากษาหรือ คำสัง่ นัน
้ เมื่อ ศาลที่ไ ด้พ ิพ ากษาหรือ มีคำ สัง่ นัน

เห็น สมควร หรือ เมื่อ คู่ค วามที่เ กี่ย วข้อ งร้อ งขอ ศาลจะมีคำ สั่ง เพิ่ม เติม
แก้ไ ขข้อ ผิด พลาด หรือ ข้อ ผิด หลงเช่น ว่า นัน
้ ให้ถ ูก ก็ไ ด้ แต่ถ ้า ได้ม ีก าร
อุทธรณ์หรือฎีกาคัดค้านคำพิพากษาหรือคำสั่งนัน
้ อำนาจที่จะแก้ไขข้อผิด
พลาดหรือ ข้อ ผิด หลงนัน
้ ย่อ มอยู่แ ก่ศ าลอุท ธรณ์ห รือ ศาลฎีก า แล้ว แต่
กรณี คำขอให้แก้ไขข้อผิดพลาดหรือข้อผิดหลงนัน
้ ให้ย่ น
ื ต่อศาลดังกล่าว
แล้ว โดยกล่าวไว้ในฟ้ องอุทธรณ์หรือฎีกา หรือโดยทำเป็ นคำร้องส่วนหนึ่ง
ต่างหาก
การทำคำสั่งเพิ่มเติมมาตรานี ้ จะต้องไม่เป็ นการกลับหรือแก้
คำวินิจฉัยในคำพิพากษาหรือคำสั่งเดิม
เมื่อได้ทำคำสั่งเช่นว่านัน
้ แล้ว ห้ามไม่ให้คัดสำเนาคำพิพากษา
หรือคำสั่งเดิม เว้นแต่จะได้คัดสำเนาคำสั่งเพิ่มเติมนัน
้ รวมไปด้วย
 
มาตรา ๑๔๔  เมื่อ ศาลใดมีคำ พิพ ากษา หรือ คำสั่ง วิน ิจ ฉัย
ชีข
้ าดคดีห รือ ในประเด็น ข้อ ใดแห่ง คดีแ ล้ว  ห้า มมิใ ห้ดำ เนิน กระบวน
พิจารณาในศาลนัน
้ อันเกี่ยวกับคดีหรือประเด็นที่ได้วินิจฉัยชีข
้ าดแล้วนัน

เว้นแต่กรณีจะอยู่ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนีว้ ่าด้วย
(๑) การแก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อยหรือข้อผิดหลงเล็กน้อยอื่น
ๆ ตามมาตรา ๑๔๓
(๒) การพิจารณาใหม่แห่งคดีซึ่งได้พิจารณาและชีข
้ าดตัด สิน
ไปฝ่ ายเดียว ตามมาตรา ๒๐๙ และคดีที่เอกสารได้ส ูญหายหรือบุบสลาย
ตามมาตรา ๕๓
(๓) การยื่น การยอมรับ หรือไม่ยอมรับ ซึง่ อุทธรณ์หรือฎีกาตาม
มาตรา ๒๒๙ และ ๒๔๗ และการดำเนินวิธบ
ี งั คับชัว่ คราวในระหว่างการยื่น
อุทธรณ์ หรือฎีกาตามมาตรา ๒๕๔ วรรคสุดท้าย
(๔) การที่ศาลฎีกาหรือศาลอุทธรณ์ส่งคดีคืนไปยังศาลล่างที่ได้
พิจารณาและชีข
้ าดตัดสินคดีนน
ั ้ เพื่อให้พิพากษาใหม่หรือพิจารณาและ
พิพากษาใหม่ตามมาตรา ๒๔๓
(๕)[๙๔] การบัง คับ คดีต ามคำพิพ ากษาหรือ คำสั่ง ตามมาตรา
๒๗๑
ทัง้ นี ้ ไม่เป็ นการตัดสิทธิในอันที่จะบัง คับ ตามบทบัญญัติแ ห่ง
มาตรา ๑๖ และ ๒๔๐ ว่าด้วยการดำเนินกระบวนพิจารณาโดยศาลอื่น
แต่งตัง้
 
มาตรา ๑๔๕  ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมาย
นีว้ ่าด้วยการอุทธรณ์ฎีกา และการพิจารณาใหม่ คำพิพากษาหรือคำสัง่ ใด
ๆ ให้ถือว่าผูกพันคู่ความในกระบวนพิจารณาของศาลที่พพ
ิ ากษาหรือมี คำ
สั่ง นับตัง้ แต่วันที่ได้พิพากษาหรือมีคำสัง่ จนถึงวันที่คำพิพากษาหรือคำสั่ง
นัน
้ ได้ถูกเปลี่ยนแปลง แก้ไข กลับหรืองดเสีย ถ้าหากมี
ถึงแม้ศาลจะได้กล่าวไว้โดยทั่วไปว่าให้ใช้คำพิพากษาบังคับแก่
บุคคลภายนอกซึ่งมิได้เป็ นคู่ความในกระบวนพิจารณาของศาลด้วยก็ดี คำ
พิพากษาหรือคำสั่งนัน
้ ย่อมไม่ผูกพันบุคคลภายนอก เว้นแต่ที่บัญญัติไว้ใน
มาตรา ๑๔๒ (๑) มาตรา ๒๔๕ และมาตรา ๓๖๖ และในข้อต่อไปนี ้
(๑) คำพิพากษาเกี่ยวด้วยฐานะหรือความสามารถของบุคคล
หรือ คำ พิพ ากษาสั่ง ให้เ ลิก นิต ิบ ุค คล หรือ คำ สั่ง เรื่อ งล้ม ละลายเหล่า นี ้
บุคคลภายนอกจะยกขึน
้ อ้างอิงหรือจะใช้ยันแก่บุคคลภายนอกก็ได้
(๒) คำพิพากษาที่วินิจฉัยถึงกรรมสิทธิแ์ ห่งทรัพย์สินใด ๆ เป็ น
คุณ แก่ค ค
ู่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง อาจใช้ย ัน แก่บ ุค คลภายนอกได้ เว้น แต่
บุคคลภายนอกนัน
้ จะพิสูจน์ได้ว่าตนมีสิทธิดีกว่า[๙๕]
 
มาตรา ๑๔๖  เมื่อ มีคำ พิพ ากษาหรือ คำสัง่ อัน เป็ นที่ส ุด ของ
สองศาลซึ่งต่างชัน
้ กัน ต่างกล่าวถึงการปฏิบัติชำระหนีอ
้ ันแบ่งแยกจากกัน
ไม่ได้ และคำพิพากษาหรือคำสัง่ นัน
้ ขัดกัน ให้ถือตามคำพิพากษาหรือคำ
สั่งของศาลที่สงู กว่า
ถ้าศาลชัน
้ ต้น ศาลเดียวกัน หรือ ศาลชัน
้ ต้น สองศาลในลำดับ
ชัน
้ เดียวกัน หรือศาลอุทธรณ์ ได้พิพากษาหรือมี คำ สั่งดังกล่าวมาแล้ว คู่
ความในกระบวนพิจารณาแห่งคดีที่มีคำพิพากษาหรือคำสั่งนัน
้ ชอบที่จะ
ยื่นคำร้องขอต่อศาลที่อยู่ในลำดับสูงขึน
้ ไปให้มีคำ สั่งกำหนดว่าจะให้ถือ
ตามคำพิพากษาหรือคำสั่งใด คำสั่งเช่นว่านีใ้ ห้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๑๔๗  คำพิพ ากษาหรือ คำสั่ง ใด ซึง่ ตามกฎหมายจะ
อุทธรณ์หรือฎีกาหรือมีคำ ขอให้พิจารณาใหม่ไม่ได้นน
ั ้ ให้ถือว่าเป็ นที่สุด
ตัง้ แต่วันที่ได้อ่านเป็ นต้นไป
คำพิพากษาหรือคำสั่งใด ซึ่งอาจอุทธรณ์ฎีกา หรือมีคำ ขอให้
พิจารณาใหม่ได้นน
ั ้ ถ้ามิได้อุทธรณ์ ฎีกาหรือร้องขอให้พิจารณาใหม่ภายใน
เวลาที่กำ หนดไว้ ให้ถือว่าเป็ นที่สุดตัง้ แต่ระยะเวลาเช่นว่านัน
้ ได้สน
ิ ้ สุดลง
ถ้าได้มีอุทธรณ์ ฎีกา หรือมีคำ ขอให้พิจารณาใหม่ และศาลอุทธรณ์ห รือ
ศาลฎีกาหรือศาลชัน
้ ต้นซึ่งพิจารณาคดีเรื่องนัน
้ ใหม่ มี คำสั่งให้จำหน่ายคดี
เสียจากสารบบความตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๓๒ คำพิพากษาหรือคำ
สั่งเช่นว่านัน
้ ให้ถือว่าเป็ นที่สุดตัง้ แต่วันที่มีคำสั่งให้จำหน่ายคดีจากสารบบ
ความ
คูค
่ วามฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดอาจยื่นคำขอต่อศาลชัน
้ ต้นซึ่งพิจารณา
คดีนน
ั ้ ให้ออกใบสำคัญแสดงว่าคำพิพากษาหรือคำสั่งในคดีนน
ั ้ ได้ถึงที่สุด
แล้ว
 
มาตรา ๑๔๘  คดีท ี่ไ ด้ม ีคำ พิพ ากษาหรือ คำสั่ง ถึง ที่ส ุด แล้ว
ห้า มมิใ ห้ค ู่ค วามเดีย วกัน รื้อ ร้อ งฟ้ องกัน อีก ในประเด็น ที่ไ ด้วิน ิจฉัยโดย
อาศัยเหตุอย่างเดียวกัน เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี ้
(๑) เมื่อเป็ นกระบวนพิจารณาชัน
้ บัง คับ คดีต ามคำพิพ ากษา
หรือคำสั่งของศาล
(๒) เมื่อคำพิพากษาหรือคำสัง่ ได้กำหนดวิธีการชั่วคราวให้อยู่
ภายในบังคับที่จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกเสียได้ตามพฤติการณ์
(๓) เมื่อคำพิพากษาหรือคำสั่งนัน
้ ให้ยกฟ้ องเสียโดยไม่ตัดสิทธิ
โจทก์ท ี่จ ะนำคำฟ้ องมายื่น ใหม่ ในศาลเดีย วกัน หรือ ในศาลอื่น ภายใต้
บังคับแห่งบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยอายุความ
 
หมวด ๓
ค่าฤชาธรรมเนียม
                  
 
ส่วนที่ ๑
การกำหนดและการชำระค่าฤชาธรรมเนียม และการยกเว้นค่าธรรมเนียม
ศาล[๙๖]
                  
 
มาตรา ๑๔๙[๙๗]  ค่าฤชาธรรมเนียม ได้แก่ ค่าธรรมเนียมศาล
ค่าสืบพยานหลักฐานนอกศาล ค่ า ป่ วยการ ค่ า พาหนะเดิ น ทาง และค่ า
เช่ า ที ่ พ ั ก ของ พ ยาน ผ ู ้ เ ชี ่ ย วช าญ ล่ า ม แ ล ะ เ จ ้ า พ นั ก ง าน ศาล ค่า
ทนายความ ค่าใช้จา่ ยในการดำเนินคดี ตลอดจนค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้
จ่ายอื่น ๆ บรรดาที่กฎหมายบังคับให้ชำระ
ภายใต้บังคับบทบัญญัตแ
ิ ห่งประมวลกฎหมายนีห
้ รือกฎหมาย
อื่น ว่าด้วยการยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล ค่าธรรมเนียมศาลที่เ ป็ นค่า ขึน

ศาล ให้คู่ความผู้ย่ น
ื คำฟ้ องเป็ นผู้ชำระเมื่อยื่นคำฟ้ อง
ค่าธรรมเนียมศาลนัน
้ ให้ ชำ ระหรือนำมาวางศาลเป็ นเงินสด
หรือเช็คซึ่งธนาคารรับรอง โดยเจ้าพนักงานศาลออกใบรับ ให้ หรือตาม
วิธีการที่กำหนดไว้ในข้อกำหนดของประธานศาลฎีกา
คำฟ้ อง คำฟ้ องอุทธรณ์ คำฟ้ องฎีก า คำร้อ งสอด คำให้ก าร
หรือคำร้องคำขออื่นซึ่งได้ย่ น
ื ต่อศาลพร้อมคำร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนียม
ศาลตามมาตรา ๑๕๖ ตลอดจนการดำเนินกระบวนพิจารณาในชัน
้ ไต่สวน
คำร้องดังกล่าว ไม่ต้องนำเงินค่าธรรมเนียมศาลและเงินวางศาลมาชำระ
เว้นแต่ศาลจะได้ยกคำร้องนัน
้ เสีย
 
มาตรา ๑๕๐ [๙ ๘ ]  ในคดีท ี่คำ ขอให้ป ลดเปลื้อ งทุก ข์น น
ั ้ อาจ
คำนวณเป็ นราคาเงินได้ ให้โจทก์เสียค่าขึน
้ ศาลในศาลชัน
้ ต้นตามจำนวน
ทุนทรัพย์ที่เรียกร้องหรือราคาทรัพย์สินที่พิพาท
ค่า ขึน
้ ศาลในชัน
้ อุท ธรณ์ห รือ ฎีก านัน
้ ถ้า จำนวนทุน ทรัพ ย์ท ี่
เรียกร้องหรือราคาทรัพย์สินที่พิพาทกันในชัน
้ อุทธรณ์หรือฎีกาเป็ นอย่าง
เดียวกับ ในศาลชัน
้ ต้น ให้ผ ู้อุทธรณ์ห รือ ผู้ฎีก าเสียตามจำนวนทุน ทรัพ ย์
หรือราคาเช่นเดียวกับในศาลชัน
้ ต้น แต่ถ้าผู้อุทธรณ์หรือผู้ฎีกาได้รับความ
พอใจแต่บางส่วนตามคำพิพากษาหรือคำสัง่ ของศาลล่างแล้ว และจำนวน
ทุนทรัพย์หรือราคาทรัพย์ที่พิพาทในชัน
้ อุทธรณ์หรือฎีกาต่ำกว่าในศาลชัน

ต้น ให้ผู้อุทธรณ์หรือผู้ฎีกาเสียค่าขึน
้ ศาลตามจำนวนทุนทรัพย์หรือราคา
ต่ำนัน

เมื่อ ได้ชำ ระค่า ขึน
้ ศาลแล้ว ถ้า ทุน ทรัพ ย์แ ห่ง คำ ฟ้ องหรือ
คำฟ้ องอุทธรณ์หรือคำฟ้ องฎีกาทวีขึน
้ โดยการยื่น คำฟ้ องเพิ่มเติมหรือโดย
ประการอื่น ให้เ รีย กค่า ขึน
้ ศาลเพิ่ม ขึน
้ ตามที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นตารางท้า ย
ประมวลกฎหมายนีเ้ มื่อยื่น คำฟ้ องเพิ่มเติมหรือ ภายในระยะเวลาที่ศ าล
เห็นสมควร แล้วแต่กรณี
ถ้าเนื่องจากศาลได้มีคำ สัง่ ให้พิจารณาคดีรวมกันหรือให้แยก
คดีกัน คำฟ้ องใดหรือข้อหาอันมีอยู่ในคำฟ้ องใดจะต้องโอนไปยังศาลอื่น
หรือจะต้องกลับยื่นต่อศาลนัน
้ ใหม่ หรือต่อศาลอื่นเป็ นคดีเ รื่อ งหนึ่งต่าง
หาก ให้โจทก์ได้รับผ่อนผันไม่ต้องเสียค่าขึน
้ ศาลในการยื่น หรือกลับยื่น
คำฟ้ องหรือข้อหาเช่นว่านัน
้ เว้นแต่จำนวนทุนทรัพย์หรือราคาทรัพย์แห่ง
คำฟ้ อง หรือข้อหานัน
้ จะได้ทวีขน
ึ ้ ในกรณีเช่นนี ้ ค่าขึน
้ ศาลเฉพาะที่ทวีขน
ึ้
ให้คำนวณและชำระตามที่บัญญัติไว้ในวรรคก่อน
ในกรณีท ี่บ ุค คลซึ่ง เป็ นคู่ค วามร่ว มในคดีท ี่ม ูล ความแห่ง คดี
เป็ นการชำระหนีอ
้ ัน ไม่อาจแบ่ง แยกได้ต ่า งยื่น อุทธรณ์ห รือ ฎีก าแยกกัน
โดยต่า งได้เ สีย ค่า ขึน
้ ศาลในชัน
้ อุท ธรณ์ห รือ ฎีก าตามความในวรรคสอง
หากค่าขึน
้ ศาลดังกล่าวเมื่อรวมกันแล้วมีจำนวนสูงกว่าค่าขึน
้ ศาลที่คู่ความ
เหล่า นัน
้ ต้องชำระในกรณีที่ย่ น
ื อุทธรณ์ห รือ ฎีก าร่วมกัน ให้ศาลอุทธรณ์
หรือศาลฎีกา แล้วแต่กรณี มีคำสั่งคืนค่าขึน
้ ศาลส่วนที่เกินแก่คู่ความเหล่า
นัน
้ ตามส่วนของค่าขึน
้ ศาลที่คู่ความแต่ละคนได้ชำระไปในเวลาที่ศาลนัน
้ มี
คำพิพากษาหรือคำสั่ง
 
มาตรา ๑๕๑ [๙๙]  ในกรณีท ี่ศ าลมีคำ สั่ง ไม่ร ับ คำฟ้ องหรือ ใน
กรณีที่มีการอุทธรณ์ หรือฎีกาหรือมีคำ ขอให้พิจารณาใหม่ ถ้าศาลไม่รับ
อุทธรณ์หรือฎีกาหรือคำขอให้พิจารณาใหม่ หรือศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา
มีคำสัง่ ให้ยกอุทธรณ์หรือฎีกาโดยยังมิได้วินิจฉัยประเด็นแห่งอุทธรณ์หรือ
ฎีกานัน
้ ให้ศาลมีคำสั่งให้คืนค่าขึน
้ ศาลทัง้ หมด
เมื่อได้มีก ารถอนคำฟ้ อง หรือ เมื่อศาลได้ต ัดสินให้ยกคำฟ้ อง
โดยไม่ตัดสิทธิโจทก์ที่จะฟ้ องคดีใหม่ หรือเมื่อคดีนน
ั ้ ได้เสร็จเด็ดขาดลงโดย
สัญญาหรือการประนีประนอมยอมความหรือการพิพากษาตามคำชีข
้ าด
ของอนุญาโตตุลาการ ให้ศาลมีอำ นาจที่จะสั่งคืนค่าขึน
้ ศาลทัง้ หมด หรือ
บางส่วนแก่คู่ความซึ่งได้เสียไว้ได้ตามที่เห็นสมควร
ในกรณีที่มีการทิง้ ฟ้ องหรือศาลสัง่ จำหน่ายคดีในกรณีอ่ น
ื ให้
ศาลมีอำนาจที่จะสั่งคืนค่าขึน
้ ศาลบางส่วนได้ตามที่เห็นสมควร
ถ้าศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกามีคำสั่งให้ส่งสำนวนความคืนไปยัง
ศาลล่างเพื่อตัดสินใหม่หรือเพื่อพิจารณาใหม่ทงั ้ หมดหรือแต่บางส่วนตาม
ที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๔๓ ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกามี อำนาจที่จะยกเว้น
มิให้คู่ความต้องเสียค่าธรรมเนียมศาลในการดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่
หรือในการที่จะยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาคัดค้านคำพิพากษาใหม่ของศาลล่าง
ได้ตามที่เห็นสมควร
 
มาตรา ๑๕๒[๑๐๐]  ค่าฤชาธรรมเนียมอื่นนอกจากค่าขึน
้ ศาล ให้
คูค
่ วามผู้ดำ เนิน กระบวนพิจารณาเป็ นผู้ชำ ระเมื่อ มีก ารดำเนิน กระบวน
พิจารณานัน
้ หรือภายในเวลาที่กฎหมายกำหนดหรือที่ศาลมีคำ สั่ง ถ้าศาล
เป็ นผู้สั่งให้ดำ เนินกระบวนพิจารณาใด ให้ศาลกำหนดผู้ซึ่งจะต้องชำระ
ค่าฤชาธรรมเนียมในการดำเนินกระบวนพิจารณานัน
้ รวมทัง้ ระยะเวลาที่
ต้องชำระไว้ด้วย
ถ้าผู้ซึ่งจะต้องชำระค่าฤชาธรรมเนียมตามวรรคหนึ่งไม่ ชำ ระ
ศาลจะสั่ง ให้ง ดหรือ เพิก ถอนกระบวนพิจารณานัน
้ หรือจะสั่งให้ค ู่ความ
ฝ่ ายอื่น เป็ นผู้ชำ ระค่า ฤชาธรรมเนีย มดัง กล่า วก็ไ ด้ห ากคู่ค วามฝ่ ายนัน

ยินยอม
 
มาตรา ๑๕๓[๑๐๑]  ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี ได้แก่ ค่า
ธรรมเนียมในการบัง คับ คดี ค่า ป่ วยการ ค่าพาหนะเดิน ทาง และค่า เช่า
ที่พักของเจ้าพนักงานบังคับคดีตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ในการบังคับคดี
บรรดาที่กฎหมายบังคับให้ชำระ
ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี ให้เจ้าหนีผ
้ ู้ขอบังคับคดีนน
ั้
เป็ นผู้ชำระ
การชำระค่าธรรมเนียมในการบังคับคดี ให้เจ้าพนักงานบังคับ
คดีออกใบรับให้
ในกรณีทม
่ี ก
ี ารเข้าดำเนินการบังคับคดีตอ
่ ไปตามมาตรา ๓๒๗
หรือมาตรา ๓๒๙ (๒) ให้เจ้าหนีผ
้ ู้เข้าดำเนินการบังคับคดีต่อไปเป็ นผู้ชำระ
ค่า ฤชาธรรมเนีย มในการบัง คับ คดีเ ฉพาะทรัพ ย์ส ิน ในส่วนที่ ดำ เนิน การ
บังคับคดีต่อไป[๑๐๒]
 
มาตรา ๑๕๓/๑[๑๐๓]  ค่าฤชาธรรมเนียมตามมาตรา ๑๔๙ และ
ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดีตามมาตรา ๑๕๓ ให้ ชำ ระตามวิธีการ
และอัตราที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายนีห
้ รือตามวิธีการและอัตราที่มี
กฎหมายอื่นบังคับไว้
 
มาตรา ๑๕๔[๑๐๔]  เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำนาจที่จะสั่งให้เจ้า
หนีผ
้ ู้ขอบังคับคดีวางเงินค่าใช้จ่ายเพื่อปฏิบัติตามวิธีการเพื่อคุ้มครองสิทธิ
ของคูค
่ วามในระหว่างการพิจารณา หรือ วางเงิน ค่า ใช้จ ่า ยเพื่ อ บัง คับ ให้
เป็ นไปตามคำพิพ ากษาหรือ คำ สั่ง ได้ต ามจำนวนที่เ ห็น จำเป็ น ถ้า เจ้า
พนักงานบังคับคดีเห็นว่า จำนวนเงินที่วางไว้นน
ั ้ จะไม่พอ ก็ให้แจ้งให้เจ้า
หนีผ
้ ู้ขอบังคับคดีวางเงินเพิ่มขึน
้ อีกได้
ถ้าเจ้าหนีผ
้ ู้ข อบัง คับ คดีเ ห็น ว่า การวางเงิน ตามวรรคหนึ่ง ไม่
จำเป็ นหรือมากเกินไป ก็อาจยื่น คำร้องต่อศาลภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่
ได้รับแจ้งเพื่อขอให้ศาลมี คำสั่งได้ คำสั่งดังกล่าวให้เป็ นที่สุด
ถ้า เจ้า หนีผ
้ ู้ข อบัง คับ คดีไ ม่ป ฏิบ ัต ิต ามวรรคหนึ่ง หรือ ไม่
ปฏิบัติตามคำสั่งศาลตามวรรคสอง ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีงดการบังคับ
คดีไ ว้จ นกว่า เจ้า หนีผ
้ ู้ข อบัง คับ คดีน น
ั ้ จะได้ป ฏิบ ัต ิต ามคำ สั่ง ของเจ้า
พนักงานบังคับคดีหรือศาล แล้วแต่กรณี
บทบัญ ญัต ิม าตรานี ใ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ แก่เ จ้า หนี ผ
้ ู้เ ข้า ดำ เนิน การ
บังคับคดีต่อไปตามมาตรา ๓๒๗ และมาตรา ๓๒๙ (๒) โดยอนุโลม[๑๐๕]
 
มาตรา ๑๕๕[๑๐๖]  คูค
่ วามซึ่งไม่สามารถเสียค่าธรรมเนียมศาล
อาจยื่นคำร้องต่อศาลขอให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลในการฟ้ องหรือต่อสู้
คดีใ นศาลชัน
้ ต้น หรือ ชัน
้ อุท ธรณ์ห รือ ชัน
้ ฎีก าตามที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นมาตรา
๑๕๖ และมาตรา ๑๕๖/๑
 
มาตรา ๑๕๖[๑๐๗]  ผู้ใดมีความจำนงจะขอยกเว้นค่าธรรมเนียม
ศาลในการฟ้ องหรือต่อสู้คดี ให้ย่ ืน คำร้องต่อศาลชัน
้ ต้นที่จะฟ้ องหรือได้
ฟ้ องคดีไว้นัน
้ พร้อมกับ คำฟ้ อง คำฟ้ องอุทธรณ์ คำฟ้ องฎีกา คำร้องสอด
หรือ คำให้ก าร แล้ว แต่ก รณี แต่ถ ้า บุค คลนัน
้ ตกเป็ นผู้ไ ม่ส ามารถเสียค่า
ธรรมเนียมศาลในภายหลัง จะยื่นคำร้องในเวลาใด ๆ ก็ได้
การยื่นคำร้องตามวรรคหนึ่ง ผู้ร้องอาจเสนอพยานหลักฐานไป
พร้อมคำร้องและหากศาลเห็นสมควรไต่สวนพยานหลักฐานเพิ่มเติมก็ให้
ดำเนิน การไต่ส วนโดยเร็ว เท่า ที่จำ เป็ น  ทัง้ นี ้ ศาลจะมีคำ สั่ง ให้ง ดการ
ดำเนินกระบวนพิจารณาคดีนน
ั ้ ไว้ทงั ้ หมดหรือแต่บางส่วนเป็ นการชั่วคราว
จนกว่าการพิจารณาสั่งคำร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลจะถึงที่สุดก็ได้
ตามที่ศาลเห็นสมควร
 
มาตรา ๑๕๖/๑ [๑ ๐ ๘ ] เมื่อ ศาลพิจ ารณาคำ ร้อ งขอยกเว้น ค่า
ธรรมเนียมศาลเสร็จแล้วให้ศาลมีคำสั่งโดยเร็ว โดยศาลจะมีคำสั่งอนุญาต
ทัง้ หมดหรือแต่เฉพาะบางส่วน หรือยกคำร้องนัน
้ เสียก็ได้
ห้ามมิให้ศาลอนุญาตตามคำร้องเช่นว่านัน
้ เว้นแต่จะเป็ นที่เชื่อ
ได้ว่าผู้ร้องไม่มีทรัพย์สินพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาลหรือหากผู้ร้องไม่ได้
รับ ยกเว้น ค่า ธรรมเนีย มศาลจะได้ร ับ ความเดือ ดร้อ นเกิน สมควรเมื่อ
พิจารณาถึงสถานะของผู้ร้อง และในกรณีผ ู้ร้องเป็ นโจทก์ห รือ ผู้อ ุทธรณ์
หรือฎีกา การฟ้ องร้องหรืออุทธรณ์หรือฎีกานัน
้ มีเหตุผลอันสมควรด้วย
เมื่อคู่ค วามคนใดได้ร ับ ยกเว้น ค่า ธรรมเนีย มศาลในการฟ้ อง
หรือต่อสู้คดีในศาลชัน
้ ต้นแล้วยื่น คำร้องเช่นว่านัน
้ ในชัน
้ อุทธรณ์หรือฎีกา
แล้ว แต่ก รณี อีก ให้ถ ือ ว่า คู่ค วามนัน
้ ยัง คงไม่ม ีท รัพ ย์ส ิน พอจะเสีย ค่า
ธรรมเนีย มศาลหรือหากไม่ไ ด้รับ ยกเว้น ค่า ธรรมเนียมศาลแล้วจะได้รับ
ความเดือดร้อนเกินสมควรอยู่ เว้นแต่จะปรากฏต่อศาลเป็ นอย่างอื่น
ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งอนุญาตให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลให้แต่
เฉพาะบางส่วน หรือมีคำสั่งให้ยกคำร้อง ผู้ขออาจอุทธรณ์คำสั่งนัน
้ ต่อศาล
ได้ภายในกำหนดเจ็ดวันนับแต่วันมีคำสั่ง คำสั่งของศาลอุทธรณ์เช่นว่านีใ้ ห้
เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๑๕๗[๑๐๙]  เมื่อศาลอนุญาตให้บค
ุ คลใดได้รับยกเว้นค่า
ธรรมเนียมศาลในศาลใด บุคคลนัน
้ ไม่ต ้องเสียค่า ธรรมเนียมศาลในการ
ดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลนัน
้ ค่าธรรมเนียมเช่นว่านีใ้ ห้รวมถึงเงิน
วางศาลในการยื่น ฟ้ องอุท ธรณ์ห รือ ฎีก า ถ้า เป็ นกรณีท ี่ศ าลอนุญ าตใน
ระหว่า งการพิจารณา การยกเว้น ไม่ต ้อ งเสียค่า ธรรมเนียมศาลนัน
้ ให้ใ ช้
บังคับแต่เฉพาะค่าธรรมเนียมศาลและเงินวางศาลที่จะต้องเสียหรือ วาง
ภายหลัง คำสั่งอนุญ าตเท่านัน
้ ส่วนค่าธรรมเนียมศาลหรือเงิน วางศาลที่
เสียหรือวางไว้ก่อนคำสั่งเช่นว่านัน
้ เป็ นอันไม่ต้องคืน
 
มาตรา ๑๕๘ [๑๑๐]  ถ้า ศาลเห็น ว่า คูค
่ วามอีก ฝ่ ายหนึ่ง จะต้อ ง
เป็ นผู้รับผิดเสียค่าฤชาธรรมเนียมทัง้ หมดหรือแต่บางส่วนของคู่ความทัง้
สองฝ่ าย ให้ศาลพิพากษาในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียม โดยสั่งให้ค ค
ู่ วามอีก
ฝ่ ายหนึ่งนัน
้ ชำระต่อศาลในนามของผู้ที่ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลซึ่ง
ค่าธรรมเนียมศาลที่ผ ู้นน
ั ้ ได้รับยกเว้นทัง้ หมดหรือแต่บางส่วนตามที่ศาล
เห็นสมควร
 
มาตรา ๑๕๙ [๑ ๑ ๑ ]  ถ้า ปรากฏต่อ ศาลว่า ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ ยกเว้น ค่า
ธรรมเนีย มศาลนัน
้ สามารถเสีย ค่า ธรรมเนีย มศาลได้ต ั ง้ แต่เ วลาที่ย่ ื น
คำร้อ งตามมาตรา ๑๕๖ หรือ ในภายหลัง ก่อ นศาลวิน ิจฉัยชี ข
้ าดคดี  ให้
ศาลมีคำ สั่ง ให้บ ค
ุ คลนัน
้ ชำระค่า ธรรมเนีย มศาลที่ไ ด้ร ับ ยกเว้น ต่อ ศาล
ภายในระยะเวลาที่ศาลเห็นสมควรกำหนดก็ได้ หากไม่ปฏิบัติตาม ให้ศาล
มีคำ สัง่ ยึด หรือ อายัด ทรัพ ย์ส ิน ของผู้ไ ด้ร ับ ยกเว้น ค่า ธรรมเนีย มศาลนัน

ทัง้ หมดหรือแต่บางส่วนไว้รอคำวินิจฉัยชีข
้ าดในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียม
ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ถ้าศาลเห็นว่า
(๑) ค่าฤชาธรรมเนียมจะเป็ นพับแก่คู่ความทัง้ สองฝ่ าย ให้ศาล
มีคำสัง่ ให้เอาชำระค่าธรรมเนียมศาลที่ผ ู้นน
ั ้ ได้รับยกเว้น จากทรัพย์สินที่
ยึดหรืออายัดดังที่กล่าวไว้ในวรรคหนึ่งตามจำนวนที่ศาลเห็นสมควร
(๒) คูค
่ วามอีกฝ่ ายหนึ่งจะต้องชำระค่าฤชาธรรมเนียมทัง้ หมด
หรือแต่บางส่วนแทนผู้ที่ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล ให้ศาลมีคำสั่งให้คู่
ความอีกฝ่ ายหนึ่งนัน
้ ชำระค่าธรรมเนียมศาลต่อศาลในนามของผู้ที่ได้รับ
ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล แต่ถ้าคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งนัน
้ ไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง
ให้ศาลเอาชำระค่าธรรมเนียมศาลนัน
้ จากทรัพ ย์ส ิน ที่ยึด หรือ อายัด ดัง ที่
กล่าวไว้ในวรรคหนึ่งตามจำนวนที่ศาลเห็นสมควร หรือ
(๓) ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ ยกเว้น ค่า ธรรมเนีย มศาลจะต้อ งชำ ระค่า ฤชา
ธรรมเนียมทัง้ หมดหรือแต่บางส่วนแทนคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง ให้ศาลมีคำสั่ง
ให้เอาชำระค่าฤชาธรรมเนียมนัน
้ จากทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัดดังที่กล่าวไว้
ในวรรคหนึ่ง ส่วนค่าธรรมเนียมศาลที่ผ ู้นน
ั ้ ได้รับยกเว้น ให้เอาชำระจาก
ทรัพย์สินที่เหลือ ถ้าหากมี ตามจำนวนที่ศาลเห็นสมควร
 
มาตรา ๑๖๐ [๑ ๑ ๒ ]  ถ้า ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ ยกเว้น ค่า ธรรมเนีย มศาล
ประพฤติตนไม่เรียบร้อย เช่น ดำเนิน กระบวนพิจารณาในทางก่อความ
รำคาญถึง ขนาด หรือ กระทำความผิด ฐานละเมิด อำนาจศาลหรือ จงใจ
ประวิงความเรื่องนัน
้ ศาลจะถอนการอนุญาตเสียในเวลาใด ๆ ก็ได้ และ
บุค คลเช่น ว่า นัน
้ จำ ต้อ งรับ ผิด เสีย ค่า ฤชาธรรมเนีย มสำ หรับ กระบวน
พิจารณาภายหลังที่ศาลได้ถอนการอนุญาตนัน
้ แล้ว
 
ส่วนที่ ๒
ความรับผิดชัน
้ ที่สุดในค่าฤชาธรรมเนียม[๑๑๓]
                  
 
มาตรา ๑๖๑ [๑๑๔]  ภายใต้บ ัง คับ บทบัญ ญัตห
ิ ้า มาตราต่อ ไปนี ้
ให้คู่ความฝ่ ายที่แพ้คดีเป็ นผู้รับผิดในชัน
้ ที่สุดสำหรับค่าฤชาธรรมเนียมทัง้
ปวง แต่ไม่ว่าคู่ความฝ่ ายใดจะชนะคดีเต็มตามข้อหาหรือแต่บางส่วน ศาล
มีอำ นาจที่จ ะพิพ ากษาให้ค ู่ค วามฝ่ ายที่ช นะคดีน น
ั ้ รับ ผิด ในค่า ฤชา
ธรรมเนีย มทัง้ ปวง หรือให้ค ู่ค วามแต่ละฝ่ ายรับ ผิด ในค่า ฤชาธรรมเนีย ม
ส่วนของตนหรือตามส่วนแห่งค่าฤชาธรรมเนียมซึ่งคู่ความทุกฝ่ ายได้เสียไป
ก่อนได้ตามที่ศาลจะใช้ดุลพินิจ โดยคำนึงถึงเหตุสมควรและความสุจริตใน
การดำเนินคดี
คดีที่ไม่มีข้อพิพาทให้ฝ่ายเริ่มคดีเป็ นผู้เสียค่าฤชาธรรมเนียม
 
มาตรา ๑๖๒  บุคคลที่เป็ นโจทก์ร่วมกันหรือจำเลยร่วมกันนัน

หาต้องรับผิดร่วมกันในค่าฤชาธรรมเนียมไม่ หากต้องรับผิดเป็ นส่วนเท่า ๆ
กัน เว้น แต่จะได้เ ป็ นเจ้าหนีร้ ่วมหรือ ลูก หนีร้ ่วม หรือ ศาลได้มีคำ สั่ง เป็ น
อย่างอื่น
 
มาตรา ๑๖๓  ถ้าคดีได้เสร็จเด็ดขาดลงโดยการตกลงหรือการ
ประนีประนอมยอมความหรืออนุญาโตตุลาการ คูค
่ วามแต่ละฝ่ ายย่อมรับ
ผิดในค่าฤชาธรรมเนียมในส่วนการดำเนินกระบวนพิจารณาของตน เว้น
แต่คค
ู่ วามจะได้ตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่น
 
มาตรา ๑๖๔  ในกรณีที่วางเงินต่อศาลตามมาตรา ๑๓๕,
๑๓๖ นัน
้ จำเลยไม่ต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมแห่งจำนวนเงินที่วาง
นัน
้ อันเกิดขึน
้ ภายหลัง
ถ้าโจทก์ยอมรับเงินที่วางต่อศาลเป็ นการพอใจเต็มตามที่เรียก
ร้องแล้ว จำเลยต้องเป็ นผู้รับผิดในค่าฤชาธรรมเนียม
ถ้าโจทก์ยอมรับ เงินที่วางต่อศาลนัน
้ เป็ นการพอใจเพียงส่วน
หนึ่งแห่งจำนวนเงินที่เรียกร้อง และดำเนินคดีต่อไป จำเลยต้องรับผิดใน
ค่าฤชาธรรมเนียม เว้นแต่ศาลจะได้พิพากษาให้โจทก์แพ้คดี ในกรณีเช่นนี ้
โจทก์ต ้อ งเป็ นผู้รับ ผิด ในค่าฤชาธรรมเนีย มทัง้ สิน
้ อัน เกิด แต่ก ารที่ต นไม่
ยอมรับเงินที่วางต่อศาลเป็ นการพอใจตามที่เรียกร้อง
 
มาตรา ๑๖๕  ในกรณีที่มีการชำระหนี ้ ดังบัญญัติไว้ในมาตรา
๑๓๗ ถ้าโจทก์ยอมรับการชำระหนี น
้ ัน
้ เป็ นการพอใจเต็มตามที่เรียกร้อง
แล้ว จำ เลยต้อ งเป็ นผู้ร ับ ผิด ในค่า ฤชาธรรมเนีย ม เว้น แต่ ศ าลจะเห็น
สมควรมีคำสั่งเป็ นอย่างอื่น
ถ้าโจทก์ไม่พอใจในการชำระหนีเ้ ช่นว่านัน
้ และดำเนินคดีต่อ
ไป ค่า ฤชาธรรมเนีย มให้อ ยู่ใ นดุล พิน ิจ ของศาล แต่ถ ้า ศาลเห็น ว่า การ
ชำระหนีน
้ น
ั ้ เป็ นการพอใจเต็มตามที่โจทก์เรียกร้องแล้ว ค่าฤชาธรรมเนียม
ทัง้ สิน
้ อันเกิดแต่การที่โจทก์ปฏิเสธไม่ยอมรับ ชำระหนีน
้ น
ั ้ โจทก์ต้องเป็ น
ผู้รับผิด
 
มาตรา ๑๖๖ [๑ ๑ ๕ ]  คู่ค วามฝ่ ายใด ทำ ให ้ต ้อ ง เ ส ีย ค ่า ฤ ช า
ธรรมเนียมในกระบวนพิจารณาใด ๆ ที่ได้ดำ เนินไปโดยไม่จำ เป็ น หรือมี
ลักษณะประวิงคดี หรือที่ต้องดำเนินไปเพราะความผิดหรือความประมาท
เลินเล่ออย่างร้ายแรง คู่ความฝ่ ายนัน
้ ต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมนัน

โดยมิพักคำนึงว่าคู่ความฝ่ ายนัน
้ จักได้ชนะคดีหรือไม่
 
มาตรา ๑๖๗  คำสัง่ ในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมนัน
้ ไม่ว่าคูค
่ วาม
ทัง้ ปวงหรือแต่ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่ง จักมีคำ ขอหรือไม่ก็ดี ให้ศาลสั่งลงไว้ในคำ
พิพ ากษาหรือ คำสั่ง ชีข
้ าดคดีห รือ ในคำสั่ง จำหน่า ยคดีอ อกสารบบความ
แล้วแต่กรณี แต่ถ้าเพื่อชีข
้ าดตัดสินคดีใด ศาลได้มีคำสั่งอย่างใดในระหว่าง
การพิจ ารณา ศาลจะมีคำ สั่ง เรื่อ งค่า ฤชาธรรมเนีย มสำ หรับ กระบวน
พิจารณาที่เสร็จไปในคำสั่งฉบับนัน
้ หรือในคำพิพากษาหรือคำสั่งชีข
้ าดคดี
ก็ได้แล้วแต่จะเลือก
ในกรณีที่มีข้อพิพาทในเรื่องที่ไม่เป็ นประเด็นในคดี ให้ศาลมี
คำสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมสำหรับข้อพิพาทเช่นว่านีใ้ นคำสั่งชีข
้ าดข้อ
พิพาทนัน

ในกรณีที่มีการพิจารณาใหม่ ให้ศาลมีอำ นาจที่จะสั่ง เรื่องค่า
ฤชาธรรมเนียมสำหรับการพิจารณาครัง้ แรก และการพิจารณาใหม่ในคำ
พิพากษาหรือคำสั่งได้
 
มาตรา ๑๖๘  ในกรณีค ู่ค วามอาจอุท ธรณ์ หรือ ฎีก า คำ
พิพ ากษาหรือ คำสั่ง ของศาลได้นน
ั ้ ห้า มมิใ ห้ค ู่ค วามอุทธรณ์ห รือ ฎีก าใน
ปั ญหาเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมแต่อย่างเดียว เว้นแต่อุทธรณ์หรือฎีกานัน
้ จะ
ได้ยกเหตุว่า ค่าฤชาธรรมเนียมนัน
้ มิได้กำหนดหรือคำนวณให้ถูกต้องตาม
กฎหมาย
 
มาตรา ๑๖๙ [๑ ๑ ๖ ]  เมื่อ มีคำ วิน ิจ ฉัย ชีข
้ าดในเรื่อ งค่า ฤชา
ธรรมเนียมแล้ว ให้หัวหน้า สำนักงานประจำศาลยุต ิธรรมชัน
้ ต้น ทำบัญชี
แสดงค่าฤชาธรรมเนียมที่คู่ความทุกฝ่ ายได้เสียไปโดยลำดับ และจำนวนที่
คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งหรือทัง้ สองฝ่ ายจะต้องรับผิดตามคำวินิจฉัยชีข
้ าด
ของศาล คูค
่ วามหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องอาจขอสำเนาบัญชีเช่นว่านัน
้ ได้
 
มาตรา ๑๖๙/๑[๑๑๗]  ถ้าบุคคลซึ่งต้องชำระค่าฤชาธรรมเนียม
ค้างชำระค่าฤชาธรรมเนียมต่อศาลก็ดี หรือต่อเจ้าพนักงานบังคับคดีก็ดี
หรือต่อบุคคลอื่นที่มิใช่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาก็ดี ศาล เจ้าพนักงานบังคับ
คดี หรือบุคคลเช่นว่านัน
้ อาจบังคับเอาแก่ทรัพย์สินของบุคคลนัน
้ เสมือน
หนึ่งเป็ นลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาเพื่อชำระค่าฤชาธรรมเนียมดังกล่าวได้ ใน
กรณีเ ช่น นี ้ ให้ถ ือ ว่า หัว หน้า สำ นัก งานประจำ ศาลยุต ิธ รรมชัน
้ ต้น เจ้า
พนักงานบังคับคดี หรือบุคคลที่มีสิทธิได้รับค่าฤชาธรรมเนียมนัน
้ แล้วแต่
กรณี เป็ นเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา
การบังคับคดีตามวรรคหนึ่ง ให้ได้รับยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียม
ในการบังคับคดีทงั ้ ปวง แต่หากยังมีเงินที่ได้จากการบังคับคดีคงเหลือภาย
หลัง ชำระให้แ ก่ผ ู้มีส ิทธิไ ด้รับ ให้ห ัก ค่า ฤชาธรรมเนียมที่ไ ด้รับ ยกเว้น ดัง
กล่าวไว้จากเงินนัน

 
มาตรา ๑๖๙/๒ [๑ ๑ ๘ ]  ภายใต้บ งั คับ แห่ง บทบัญ ญัต ม
ิ าตรา
๑๖๙/๓ ให้ลก
ู หนีต
้ ามคำพิพากษาเป็ นผู้รับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมในการ
บังคับคดี โดยให้หักออกจากเงินที่ได้จากการยึด อายัด ขาย หรือ จำหน่าย
ทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือจากเงินที่ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
ได้วางไว้
ในกรณีที่มีการบังคับคดีแก่ผู้ประกันในศาล ค่าฤชาธรรมเนียม
ในการบัง คับคดีในส่วนนัน
้ ให้หัก ออกจากเงิน ที่ไ ด้จากการบังคับคดีตาม
สัญญาประกัน[๑๑๙]
ในกรณีที่มีการบังคับคดีตามคำพิพากษาให้แบ่งกรรมสิทธิร์ วม
หรือมรดกให้เจ้าของรวมหรือทายาทผู้ได้รับส่วนแบ่งทุกคนเป็ นผู้รับผิดใน
ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดีโดยให้หักออกจากเงินที่ได้จากการขาย
หรือจำหน่ายทรัพย์สินอันเป็ นกรรมสิทธิร์ วมหรือทรัพย์มรดกนัน

ในกรณีท ี่ม ีก ารถอนการบัง คับ คดีน อกจากกรณีต ามมาตรา
๒๙๒ (๑) และ (๕) ให้เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาผู้ขอยึดหรืออายัดทรัพย์สิน
เป็ นผู้รับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี[๑๒๐]
 
มาตรา ๑๖๙/๓[๑๒๑]  บุคคลใดทำให้ต้องเสียค่าฤชาธรรมเนียม
ในการบังคับคดีส่วนใดโดยไม่จำ เป็ นหรือ มีล ักษณะประวิงการบัง คับ คดี
หรือที่ต้องดำเนินไปเพราะความผิดหรือความประมาทเลินเล่ออย่างร้าย
แรง หรือเพราะบังคับคดีไปโดยไม่สุจริตก่อนการบังคับคดีได้เสร็จลง ผู้ที่
ได้ร ับ ความเสีย หาย หรือ ลูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษา แล้ว แต่ก รณี อาจยื่น
คำร้องต่อศาลภายในเจ็ดวันนับแต่วันทราบพฤติการณ์อันเป็ นมูลแห่งข้อ
อ้างนัน
้ เพื่อให้ศาลมีคำ สั่งให้บค
ุ คลเช่นว่านัน
้ รับผิดในค่าฤชาธรรมเนียม
ดังกล่าว
คำสัง่ ของศาลตามมาตรานีใ้ ห้อ ุท ธรณ์ไ ปยัง ศาลอุท ธรณ์ไ ด้
และคำพิพากษาหรือคำสัง่ ของศาลอุทธรณ์ให้เป็ นที่สุด
 
ภาค ๒
วิธีพิจารณาในศาลชัน
้ ต้น
                  
 
ลักษณะ ๑
วิธีพิจารณาสามัญในศาลชัน
้ ต้น
                  
 
มาตรา ๑๗๐  ห้ามมิให้ฟ้อง พิจารณาและชีข
้ าดตัดสินคดีเป็ น
ครัง้ แรกในศาลหรือโดยศาลอื่นนอกจากศาลชัน
้ ต้น เว้นแต่จะมีกฎหมาย
บัญญัติไว้ชัดแจ้งเป็ นอย่างอื่น
ภายใต้บงั คับแห่งบทบัญญัตใิ นภาคนีว้ า่ ด้วยคดีไม่มข
ี อ
้ พิพาท
คดีมโนสาเร่ คดีขาดนัด และคดีที่มอบให้อนุญาโตตุลาการชีข
้ าด การฟ้ อง
การพิจารณาและชีข
้ าดตัดสินคดีในศาลชัน
้ ต้น นอกจากจะต้องบังคับตาม
บทบัญ ญัติทั่วไปแห่ง ภาค ๑ แล้ว ให้บ ังคับ ตามบทบัญ ญัต ิในลัก ษณะนี ้
ด้วย
 
มาตรา ๑๗๑  คดีที่ป ระมวลกฎหมายนีบ
้ ัญ ญัต ิว ่า จะฟ้ องยัง
ศาลชัน
้ ต้น หรือจะเสนอปั ญหาต่อศาลชัน
้ ต้นเพื่อชีข
้ าดตัดสิน โดยทำเป็ น
คำร้องขอก็ได้นน
ั ้ ให้นำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนีว้ ่าด้วยสิทธิและ
หน้าที่ของโจทก์และจำเลย และวิธีพิจารณาที่ต่อจากการยื่น คำฟ้ องมาใช้
บัง คับ แก่ผ ู้ย่ น
ื คำขอและคูค
่ วามอีก ฝ่ ายหนึ่ง ถ้า หากมี และบัง คับ แก่ว ิธ ี
พิจารณาที่ต่อจากการยื่นคำร้องขอด้วยโดยอนุโลม
 
มาตรา ๑๗๒  ภายใต้บ ัง คับ บทบัญ ญัต ิม าตรา ๕๗ ให้โ จทก์
เสนอข้อหาของตนโดยทำเป็ นคำฟ้ องเป็ นหนังสือยื่นต่อศาลชัน
้ ต้น
คำฟ้ องต้องแสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์และ
คำขอบังคับทัง้ ข้ออ้างที่อาศัยเป็ นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านัน

ให้ศาลตรวจคำฟ้ องนัน
้ แล้วสั่งให้รับไว้ หรือให้ยกเสีย หรือให้
คืนไป ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๘
 
มาตรา ๑๗๓  เมื่อศาลได้รับคำฟ้ องแล้ว ให้ศาลออกหมายส่ง
สำเนาคำฟ้ องให้แก่จำ เลยเพื่อแก้คดี และภายในกำหนดเจ็ดวันนับแต่วัน
ยื่นคำฟ้ อง ให้โจทก์ร้องขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อให้สง่ หมายนัน
้ [๑๒๒]
นับแต่เวลาที่ได้ย่ น
ื คำฟ้ องแล้ว คดีนน
ั ้ อยู่ในระหว่างพิจารณา
และผลแห่งการนี ้
(๑) ห้ามไม่ให้โจทก์ย่ น
ื คำฟ้ องเรื่องเดียวกันนัน
้ ต่อศาลเดียวกัน
หรือต่อศาลอื่นและ
(๒) ถ้ามีเ หตุเ ปลี่ยนแปลงเกิด ขึน
้ ในพฤติก ารณ์อ ัน เกี่ย วด้ว ย
การยื่น ฟ้ องคดีต ่อ ศาลที่ม ีเ ขตศาลเหนือ คดีน น
ั ้ เช่น การเปลี่ย นแปลง
ภูมิลำเนาของจำเลย การเปลี่ยนแปลงเช่นว่านีห
้ าตัด อำนาจศาลที่รับฟ้ อง
คดีไว้ในอันที่จะพิจารณาและชีข
้ าดตัดสินคดีนน
ั ้ ไม่
 
มาตรา ๑๗๔  ในกรณีต่อไปนีใ้ ห้ถือว่าโจทก์ได้ทงิ ้ ฟ้ อง คือ
(๑)[๑๒๓] ภายหลังที่ได้เสนอคำฟ้ องแล้ว โจทก์เพิกเฉยไม่ร้องขอ
ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อให้ส่งหมายเรียกให้แก้คดีแก่ จำเลย และไม่แจ้ง
ให้ศาลทราบเหตุแห่งการเพิกเฉยเช่นว่านัน
้ ภายในกำหนดเจ็ดวันนับแต่วัน
ยื่นคำฟ้ อง
(๒) โจทก์เ พิก เฉยไม่ดำ เนิน คดีภ ายในเวลาตามที่ศ าลเห็น
สมควรกำหนดไว้เพื่อการนัน
้ โดยได้ส่งคำสั่งให้แก่โจทก์โดยชอบแล้ว
 
มาตรา ๑๗๕  ก่อนจำเลยยื่นคำให้การ โจทก์อาจถอนคำฟ้ อง
ได้โดยยื่นคำบอกกล่าวเป็ นหนังสือต่อศาล
ภายหลัง จำเลยยื่น คำให้ก ารแล้ว โจทก์อ าจยื่น คำขอโดยทำ
เป็ นคำร้อ งต่อ ศาลชัน
้ ต้น เพื่อ อนุญ าตให้โ จทก์ถ อนคำฟ้ องได้ ศาลจะ
อนุญาตหรือไม่อนุญาตหรืออนุญาตภายในเงื่อนไขตามที่เห็นสมควรก็ได้
แต่
(๑) ห้ามไม่ให้ศาลให้อนุญาต โดยมิได้ฟังจำเลยหรือผู้ร้องสอด
ถ้าหากมี ก่อน
(๒) ในกรณีท ี่โ จทก์ถ อนคำ ฟ้ อง เนื่อ งจากมีข ้อ ตกลงหรือ
ประนีประนอมยอมความกับจำเลย ให้ศาลอนุญาตไปตามคำขอนัน

 
มาตรา ๑๗๖  การทิง้ คำฟ้ องหรือถอนคำฟ้ องย่อมลบล้างผล
แห่งการยื่นคำฟ้ องนัน
้ รวมทัง้ กระบวนพิจารณาอื่น ๆ อันมีมาต่อภายหลัง
ยื่นคำฟ้ อง และกระทำให้คู่ความกลับคืนเข้าสู่ฐานะเดิมเสมือนหนึ่งมิได้มี
การยื่น ฟ้ องเลย แต่ว่า คำฟ้ องใด ๆ ที่ไ ด้ทงิ ้ หรือ ถอนแล้ว อาจยื่นใหม่ได้
ภายใต้บังคับแห่งบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยอายุความ
 
มาตรา ๑๗๗  เมื่อได้ส่งหมายเรียกและคำฟ้ องให้จำ เลยแล้ว
ให้จำเลยทำคำให้การเป็ นหนังสือยื่นต่อศาลภายในสิบห้าวัน[๑๒๔]
ให้จำ เลยแสดงโดยชัดแจ้งในคำให้การว่า จำเลยยอมรับหรือ
ปฏิเสธข้ออ้างของโจทก์ทงั ้ สิน
้ หรือแต่บางส่วน รวมทัง้ เหตุแห่งการนัน

จำเลยจะฟ้ องแย้งมาในคำให้การก็ได้ แต่ถ้าฟ้ องแย้งนัน
้ เป็ น
เรื่องอื่นไม่เกี่ยวกับคำฟ้ องเดิมแล้ว ให้ศาลสั่งให้จำเลยฟ้ องเป็ นคดีต่างหาก
ให้ศาลตรวจดูคำ ให้การนัน
้ แล้วสั่งให้รับไว้ หรือให้คืนไปหรือ
สั่งไม่รับตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๘
บทบัญ ญัติแ ห่ง มาตรานี ้ ให้ใช้บ ัง คับ แก่บ ุค คลภายนอกที่ถ ูก
เรียกเข้ามาเป็ นผู้ร้องสอดตามมาตรา ๕๗ (๓) โดยอนุโลม
 
มาตรา ๑๗๘ [๑๒๕]  ถ้า จำเลยฟ้ องแย้ง รวมมาในคำให้ก าร ให้
โจทก์ทำคำให้การแก้ฟ้องแย้งยื่นต่อศาลภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ส่ง
คำให้การถึงโจทก์
บทบัญญัติแห่งมาตราก่อน ให้ใช้บังคับแก่คำให้การแก้ฟ้อง
แย้งนีโ้ ดยอนุโลม
 
มาตรา ๑๗๙  โจทก์หรือจำเลยจะแก้ไขข้อหา ข้อต่อสู้ ข้ออ้าง
หรือข้อเถียงอันกล่าวไว้ในคำฟ้ องหรือคำให้การที่เสนอต่อศาลแต่แรกก็ได้
การแก้ไขนัน
้ โดยเฉพาะอาจเป็ นการแก้ไขในข้อต่อไปนี ้
(๑) เพิ่ม หรือ ลด จำ นวนทุน ทรัพ ย์ หรือ ราคาทรัพ ย์ส ิน ที่
พิพาทในฟ้ องเดิม หรือ
(๒) สละข้อหาในฟ้ องเดิมเสียบางข้อ หรือเพิ่มเติมฟ้ องเดิมให้
บริบูรณ์โดยวิธีเสนอคำฟ้ องเพิ่มเติม หรือเสนอคำฟ้ องเพื่อคุ้มครองสิทธิ
ของตนในระหว่างการพิจารณา หรือเพื่อบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
หรือ
(๓) ยกข้อต่อสู้ขน
ึ ้ ใหม่ เป็ นข้อแก้ข้อหาเดิม หรือที่ย่ น
ื ภายหลัง
หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้ออ้าง หรือข้อเถียงเพื่อสนับสนุนข้อหา หรือเพื่อ
หักล้างข้อหาของคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง
แต่ห้ามมิให้คู่ความฝ่ ายใดเสนอคำฟ้ องใดต่อศาล ไม่ว่าโดยวิธี
ฟ้ องเพิ่มเติมหรือฟ้ องแย้ง ภายหลังที่ได้ย่ น
ื คำฟ้ องเดิมต่อศาลแล้ว เว้นแต่
คำฟ้ องเดิมและคำฟ้ องภายหลังนีจ
้ ะเกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณา
และชีข
้ าดตัดสินเข้าด้วยกันได้
 
มาตรา ๑๘๐ [๑๒๖]  การแก้ไ ขคำฟ้ องหรือ คำให้ก ารที่ค ู่ค วาม
เสนอต่อศาลไว้แล้ว ให้ทำเป็ นคำร้องยื่นต่อศาลก่อนวันชีส
้ องสถาน หรือ
ก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน ในกรณีที่ไม่มีการชีส
้ องสถาน เว้นแต่
มีเหตุอันสมควรที่ไม่อาจยื่นคำร้องได้ก่อนนัน
้ หรือเป็ นการขอแก้ไขในเรื่อง
ที่เ กี่ย วกับ ความสงบเรีย บร้อ ยของประชาชน หรือ เป็ นการแก้ไ ขข้อ ผิด
พลาดเล็กน้อยหรือข้อผิดหลงเล็กน้อย
 
มาตรา ๑๘๑  เว้น แต่ใ นกรณีท ี่คำ ร้อ งนัน
้ อาจทำได้แ ต่ฝ่ าย
เดียว
(๑) ห้ามไม่ให้มีคำ สัง่ ยอมรับการแก้ไข เว้นแต่จะได้สง่ สำเนา
คำร้อ งให้แ ก่ค ู่ค วามอีก ฝ่ ายหนึ่ง ทราบล่ว งหน้า อย่า งน้อ ยสามวัน ก่อ น
กำหนดนัดพิจารณาคำร้องนัน

(๒) ห้า มมิใ ห้ศ าลพิพ ากษาหรือ มีคำ สั่ง ชีข
้ าดในประเด็น ที่ค ู่
ความได้แ ก้ไ ขคำฟ้ อง หรือ คำให้ก าร เว้น แต่ค ค
ู่ วามอีก ฝ่ ายหนึ่ง จะได้ม ี
โอกาสบริบ ูรณ์ในอันที่จะตรวจโต้แย้งและหักล้างข้อหาหรือข้อต่อสู้ใหม่
หรือข้ออ้าง หรือข้อเถียงใหม่ที่กล่าวไว้ในคำร้องขอแก้ไขนัน

 
มาตรา ๑๘๒ [๑๒๗]  เมื่อได้ย่ น
ื คำฟ้ อง คำให้การ และคำให้การ
แก้ฟ้องแย้งถ้าหากมีแล้ว ให้ศาลทำการชีส
้ องสถานโดยแจ้งกำหนดวันชีส
้ อง
สถานให้คค
ู่ วามทราบล่วงหน้าไม่นอ
้ ยกว่าสิบห้าวัน เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี ้
(๑) จำเลยคนใดคนหนึง่ ขาดนัดยื่นคำให้การ
(๒) คำ ให้ก ารของจำ เลยเป็ นการยอมรับ โดยชัด แจ้ง ตาม
คำฟ้ องโจทก์ทงั ้ สิน

(๓) คำให้การของจำเลยเป็ นคำให้การปฏิเสธข้ออ้างของโจทก์
ทัง้ สิน
้ โดยไม่มีเหตุแห่งการปฏิเสธ ซึ่งศาลเห็นว่าไม่จำเป็ นต้องมีการชีส
้ อง
สถาน
(๔) ศาลเห็นสมควรวินิจฉัยชีข
้ าดคดีให้เสร็จไปทัง้ เรื่องโดยไม่
ต้องสืบพยาน
(๕) คดีมโนสาเร่ตามมาตรา ๑๘๙ หรือคดีไม่มีข้อยุ่งยากตาม
มาตรา ๑๙๖
(๖) คดีท ี่ศ าลเห็น ว่า มีป ระเด็น ข้อ พิพ าทไม่ย ุ่ง ยากหรือ ไม่
จำเป็ นที่จะต้องชีส
้ องสถาน
ในกรณีที่ไม่ต้องมีการชีส
้ องสถาน ให้ศาลมีคำสั่งงดการชีส
้ อง
สถานและกำหนดวันสืบพยาน ถ้าหากมี แล้วให้ส่งคำสั่งดังกล่าวให้คค
ู่ วาม
ทราบตามมาตรา ๑๘๔ เว้น แต่ค ค
ู่ วามฝ่ ายใดจะได้ท ราบหรือ ถือ ว่า ได้
ทราบคำสั่งดังกล่าวแล้ว
คู่ค วามอาจตกลงกัน กะประเด็น ข้อ พิพ าทโดยยื่น คำ แถลง
ร่ว มกัน ต่อ ศาลในกรณีเ ช่น ว่า นี  ้ ให้กำ หนดประเด็น ข้อพิพ าทไปตามนัน

แต่ถ้าศาลเห็นว่า คำแถลงนัน
้ ไม่ถ ูกต้อง ก็ให้ศาลมีอำ นาจที่จะมีคำ สั่งยก
คำแถลงนัน
้ แล้วดำเนินการชีส
้ องสถานไปตามมาตรา ๑๘๓
 
มาตรา ๑๘๒ ทวิ[๑๒๘]  (ยกเลิก)
 
มาตรา ๑๘๓[๑๒๙]  ในวันชีส
้ องสถาน ให้ค ู่ความมาศาล และให้
ศาลตรวจคำคู่ความและคำแถลงของคู่ค วาม แล้ว นำข้อ อ้า ง ข้อเถียง ที่
ปรากฏในคำคู่ความและคำแถลงของคู่ความเทียบกัน ดู และสอบถามคู่
ความทุกฝ่ ายถึงข้ออ้าง ข้อเถียง และพยานหลักฐานที่จะยื่นต่อศาลว่าฝ่ าย
ใดยอมรับหรือโต้แย้งข้ออ้าง ข้อเถียงนัน
้ อย่างไร ข้อเท็จจริงใดที่ค ู่ความ
ยอมรับ กัน ก็เ ป็ นอัน ยุต ิไ ปตามนัน
้ ส่ว นข้อ กฎหมายหรือ ข้อ เท็จ จริง ที่ค ู่
ความฝ่ ายหนึ่งยกขึน
้ อ้างแต่คำคูค
่ วามฝ่ ายอื่นไม่รับและเกี่ยวเนื่องโดยตรง
กับ ประเด็น ข้อ พิพ าทตามคำ คูค
่ วามให้ศ าลกำ หนดไว้เ ป็ นประเด็น ข้อ
พิพาท และกำหนดให้คค
ู่ วามฝ่ ายใดนำพยานหลักฐานมาสืบในประเด็นข้อ
ใดก่อนหรือหลังก็ได้
ในการสอบถามคูค
่ วามตามวรรคหนึง่ คูค
่ วามแต่ละฝ่ ายต้อง
ตอบคำถามทีศ
่ าลถามเองหรือถามตามคำขอของคู่ความฝ่ ายอื่น เกี่ยวกับ
ข้อเท็จจริงที่คู่ความฝ่ ายอื่นยกขึน
้ เป็ นข้ออ้าง ข้อเถียง และพยานหลักฐาน
ต่าง ๆ ทีค
่ ค
ู่ วามจะยื่นต่อศาล ถ้าคูค
่ วามฝ่ ายใดไม่ตอบคำถามเกีย
่ วกับข้อ
เท็จจริงใด หรือปฏิเ สธข้อเท็จจริง ใดโดยไม่มีเ หตุผลอัน สมควร ให้ถ ือ ว่า
ยอมรับ ข้อเท็จจริงนัน
้ แล้ว เว้น แต่ค ค
ู่ วามฝ่ ายนัน
้ ไม่อ ยู่ในวิส ัย ที่จะตอบ
หรือแสดงเหตุผลแห่งการปฏิเสธได้ในขณะนัน

คู่ความมีส ิทธิคัดค้า นว่า ประเด็น ข้อ พิพ าทหรือ หน้า ที่ นำ สืบ
ที่ศาลกำหนดไว้นั น
้ ไม่ถ ูกต้อง โดยแถลงด้วยวาจาต่อศาลในขณะนัน
้ หรือ
ยื่นคำร้องต่อศาลภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ศาลสัง่ กำหนดประเด็นข้อพิพาท
หรือหน้าทีนำ
่ สืบ ให้ศาลชีข้ าดคำคัดค้านนัน
้ ก่อนวันสืบพยาน คำชีข้ าดคำ
คัดค้านดังกล่าวให้อยู่ภายใต้บังคับมาตรา ๒๒๖
 
มาตรา ๑๘๓ ทวิ [๑๓๐ ]  ในกรณีท ี่ค ู่ค วามทุก ฝ่ ายหรือ ฝ่ ายใด
ฝ่ ายหนึ่ง ไม่ม าศาลในวัน ชีส
้ องสถาน ให้ศ าลทำการชีส
้ องสถานโดยให้
ถือว่าคู่ความที่ไม่มาศาลได้ทราบกระบวนพิจารณาในวันนัน
้ แล้ว
คู่ค วามที่ไ ม่ม าศาลนัน
้ ไม่มีส ิท ธิค ัด ค้า นว่า ประเด็น ข้อ พิพ าท
และหน้า ที่นำ สืบ ที่ศ าลกำ หนดไว้น น
ั ้ ไม่ถ ูก ต้อ ง เว้น แต่เ ป็ นกรณีท ี่ไ ม่
สามารถมาศาลได้ในวันชีส
้ องสถาน เพราะเหตุจำเป็ นอันไม่อาจก้าวล่วงได้
หรือเป็ นการคัดค้านในเรื่องที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน
ในกรณีเช่นนีใ้ ห้นำมาตรา ๑๘๓ วรรคสาม มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๑๘๓ ตรี[๑๓๑]  (ยกเลิก)
 
มาตรา ๑๘๓ จัตวา[๑๓๒]  (ยกเลิก)
 
มาตรา ๑๘๔[๑๓๓]  ในกรณีที่มีการชีส
้ องสถาน ให้ศาลกำหนด
วันสืบพยานซึ่งมีระยะเวลาไม่น้อยกว่าสิบวันนับแต่วันชีส
้ องสถาน
ในกรณีที่ไม่มีการชีส
้ องสถาน ให้ศาลออกหมายกำหนดวันสืบ
พยานส่งให้แก่คค
ู่ วามทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสิบวัน
 
มาตรา ๑๘๕  ในวันนัดสืบพยาน เมื่อศาลเห็นสมควร หรือเมื่อ
คูค
่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ มีคำ ขอ ศาลจะอ่า นให้ค ู่ค วามฟั งซึง่ คำฟ้ อง คำ
ให้การ และคำให้การแก้ฟ้องแย้ง ถ้าหากมี หรือรายงานพิสดารแห่งการชี ้
สองสถาน แล้วแต่กรณี และคำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติม (ที่ได้ย่ น
ื ต่อศาลและ
ส่งไปให้แก่คค
ู่ วามแล้วโดยชอบ) ก็ได้
ภายใต้บ ัง คับ แห่ง บทบัญ ญัต ิส ามมาตราต่อ ไปนี ้ ให้ศ าลสืบ
พยานตามประเด็นในข้อพิพาทตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนีว้ ่า
ด้วยพยานหลักฐาน และฟั งคำแถลงการณ์ด้วยวาจาของคู่ความทัง้ ปวง
 
มาตรา ๑๘๖  เมื่อสืบพยานเสร็จแล้ว ให้ศาลอนุญาตให้โจทก์
แถลงการณ์ด้วยวาจาก่อน แล้วจึงให้จำเลยแถลงการณ์ด้วยวาจาทบทวน
ข้อเถียง แสดงผลแห่งพยานหลักฐานในประเด็นที่พิพาท ต่อจากนีใ้ ห้ศาล
อนุญ าตให้โ จทก์แ ถลงตอบจำเลยได้อ ีก ครัง้ หนึ่ง นอกจากนีห
้ ้า มไม่ให้ค ู่
ความแถลงการณ์ด้วยวาจาอย่างใดอีก เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากศาล
ก่อนพิพ ากษาคดี ไม่ว่า คู่ค วามฝ่ ายใดจะได้แ ถลงการณ์ด ้ว ย
วาจาแล้วหรือไม่ คูค
่ วามฝ่ ายนัน
้ จะยื่น คำแถลงการณ์เป็ นหนังสือต่อศาล
ก็ได้ แต่ต้องส่งสำเนานัน
้ ๆ ไปยังคู่ความอื่น ๆ
 
มาตรา ๑๘๗  เมื่อ ได้ส ืบ พยานตามที่จำ เป็ นและคู่ค วามได้
แถลงการณ์ ถ้าหากมี เสร็จแล้ว ให้ถือว่าการพิจารณาเป็ นอันสิน
้ สุด แต่
ตราบใดที่ยังมิได้มีคำพิพากษา ศาลอาจทำการพิจารณาต่อไปอีกได้ตามที่
เห็นสมควร เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
 
มาตรา ๑๘๘  ในคดีที่ไม่มีข้อพิพาท ให้ใช้ข้อบังคับต่อไปนี ้
(๑) ให้เริ่มคดีโดยยื่นคำร้องขอต่อศาล
(๒) ศาลอาจเรีย กพยานมาสืบ ได้เ องตามที่เ ห็น จำเป็ น และ
วินิจฉัยชีข
้ าดตามที่เห็นสมควรและยุติธรรม
(๓) ทางแก้แห่งคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลนัน
้ ให้ใช้ได้แต่
โดยวิธีย่ น
ื อุทธรณ์หรือฎีกาเท่านัน
้ และให้อุทธรณ์ฎีกาได้แต่เฉพาะในสอง
กรณีต่อไปนี ้
(ก) ถ้า ศาลได้ย กคำ ร้อ งขอของคูค
่ วามฝ่ ายที่เ ริ่ม คดีเ สีย
ทัง้ หมดหรือแต่บางส่วน หรือ
(ข) ในเหตุท ี่ม ิไ ด้ป ฏิบ ัต ิต ามบ ทบ ัญ ญ ัต ิแ ห ่ง ป ระ มวล
กฎหมายนีว้ ่าด้วยการพิจารณาหรือพิพากษาหรือคำสั่ง
(๔) ถ้าบุคคลอื่นใดนอกจากคู่ความที่ได้ย่ น
ื ฟ้ องคดีอันไม่มีข้อ
พิพาทได้เข้ามาเกี่ยวข้องในคดีโดยตรงหรือโดยอ้อม ให้ถือว่าบุคคลเช่นว่า
มานีเ้ ป็ นคูค
่ วาม และให้ดำเนินคดีไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมาย
นีว้ ่าด้วยคดีอันมีข้อพิพาท แต่ในคดีที่ย่ น
ื คำร้องขอต่อศาล เพื่อให้ศาลมีคำ
พิพากษาหรือคำสั่ง ให้คำอนุญาตที่ผู้แทนโดยชอบธรรมได้ปฏิเสธเสียหรือ
ให้ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งถอนคืนคำอนุญาตอันได้ให้ไว้แก่ผู้ไร้ความ
สามารถนัน
้ ให้ถือว่าเป็ นคดีไม่มีข้อพิพาท แม้ถึงว่าผูแ
้ ทนโดยชอบธรรม
หรือผู้ไร้ความสามารถนัน
้ จะได้มาศาล และแสดงข้อคัดค้านในการให้ คำ
อนุญาตหรือถอนคืนคำอนุญาตเช่นว่านัน

 
ลักษณะ ๒
วิธีพิจารณาวิสามัญในศาลชัน
้ ต้น
                  
 
หมวด ๑
วิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่
                  
 
มาตรา ๑๘๙[๑๓๔]  คดีมโนสาเร่ คือ
(๑)[๑๓๕] คดีท ี่ม ีคำ ขอให้ป ลดเปลื้อ งทุก ข์อ ัน อาจคำนวณเป็ น
ราคาเงิน ได้ไ ม่เ กิน สี่ห มื่น บาทหรือ ไม่เ กิน จำนวนที่กำ หนดในพระราช
กฤษฎีกา
(๒)[๑๓๖] คดีฟ้องขับไล่บุคคลใด ๆ ออกจากอสังหาริมทรัพย์อัน
มีค่าเช่าหรืออาจให้เช่าได้ในขณะยื่นคำฟ้ องไม่เกินเดือนละสี่พันบาทหรือ
ไม่เกินจำนวนที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
 
มาตรา ๑๙๐  จำนวนทุนทรัพย์หรือราคาอันพิพาทกันในคดี
นัน
้ ให้คำนวณดังนี ้
(๑) จำนวนทุนทรัพย์หรือราคานัน
้ ให้คำนวณตามคำเรียกร้อง
ของโจทก์ ส่วนดอกผลอัน มิถ ึง กำหนดเกิด ขึน
้ ในเวลายื่น คำฟ้ องหรือ ค่า
ธรรมเนีย มศาลซึ่ง อาจเป็ นอุป กรณ์ร วมอยู่ใ นคำ เรีย กร้อ ง ห้า มไม่ใ ห้
คำนวณรวมเข้าด้วย
(๒) ในกรณีมีข้อสงสัยหรือมีข้อโต้แย้ง จำนวนทุนทรัพย์หรือ
ราคานัน
้ ให้ศาลกะประมาณตามที่เป็ นอยู่ในเวลายื่นฟ้ องคดี
(๓)[๑ ๓ ๗ ] คดีอ ัน เกี่ย วด้ว ยทรัพ ย์ส ิน ที่ม ีข ้อ หาหลายข้อ อัน มี
จำนวนทุนทรัพย์หรือราคาไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือไม่เกิน จำนวนที่กำ หนด
ในพระราชกฤษฎีกา ให้รวมจำนวนทุน ทรัพย์หรือราคาเหล่านัน
้ เข้าด้วย
กัน แต่ถ้าข้อหาเหล่านัน
้ จะต้องเรียกร้องเอาแก่จำ เลยหลายคน ถึงแม้ว่า
ถ้า รวมความรับ ผิด ของจำเลยหลายคนนัน
้ เข้า ด้วยกัน แล้วจะไม่เ ป็ นคดี
มโนสาเร่ก็ตาม ให้ถือเอาจำนวนที่เรียกร้องเอาจากจำเลยคนหนึ่ง ๆ นัน

เป็ นประมาณแก่การที่จะถือว่าคดีนน
ั ้ เป็ นคดีมโนสาเร่หรือไม่
 
มาตรา ๑๙๐ ทวิ[๑๓๘]  ในคดีมโนสาเร่ ให้ศาลดำเนินกระบวน
พิจารณาไปตามบทบัญญัติในหมวดนี ้
 
มาตรา ๑๙๐ ตรี[๑๓๙]  ในคดีม โนสาเร่ ให้ศ าลมีอำ นาจที่จ ะ
ออกคำสัง่ ขยายหรือย่นระยะเวลาตามที่กำ หนดไว้ในประมวลกฎหมายนี ้
หรือตามที่ศาลได้กำ หนดไว้ หรือระยะเวลาที่เกี่ยวด้วยวิธีพิจารณาความ
แพ่งอันกำหนดไว้ในกฎหมายอื่น เพื่อให้ดำ เนินหรือมิให้ดำ เนินกระบวน
พิจารณาใด ๆ ก่อนสิน
้ ระยะเวลานัน
้ ได้ เมื่อมีความจำเป็ นเพื่อประโยชน์
แห่งความยุติธรรม
 
มาตรา ๑๙๐ จัต วา [๑๔๐]  ในคดีม โนสาเร่ ให้โ จทก์เ สียค่า ขึน

ศาลตามตาราง ๑ ท้ายประมวลกฎหมายนี ้ แต่ค่าขึน
้ ศาลรวมกันแล้วไม่
เกินหนึง่ พันบาท[๑๔๑]
ค่าขึน
้ ศาลในชัน
้ อุทธรณ์หรือฎีกานัน
้ ให้ผ ู้อุทธรณ์ห รือ ผู้ฎีกา
เสียตามจำนวนทุน ทรัพ ย์ หรือ ราคาทรัพ ย์ส ิน ที่พ ิพ าทกัน ในชัน
้ อุทธรณ์
หรือฎีกา แล้วแต่กรณี
 
มาตรา ๑๙๑[๑๔๒]  วิธีฟ้องคดีมโนสาเร่นน
ั ้ โจทก์อาจยื่นคำฟ้ อง
เป็ นหนังสือหรือมาแถลงข้อหาด้วยวาจาต่อศาลก็ได้
ในกรณีที่โจทก์ย่ น
ื คำฟ้ องเป็ นหนังสือ หากศาลเห็นว่า คำฟ้ อง
ดังกล่าวไม่ถูกต้อง หรือขาดสาระสำคัญบางเรื่อง ศาลอาจมีคำสั่งให้โจทก์
แก้ไขคำฟ้ องในส่วนนัน
้ ให้ถูกต้องหรือชัดเจนขึน
้ ก็ได้
ถ้าโจทก์มาแถลงข้อหาด้วยวาจาดัง กล่าวแล้ว ให้ศาลบัน ทึก
รายการแห่งข้อหาเหล่านัน
้ ไว้อ่านให้โจทก์ฟัง แล้วให้โจทก์ลงลายมือชื่อไว้
เป็ นสำคัญ
 
มาตรา ๑๙๒  เมื่อศาลเห็นว่าคดีที่ฟ้องไม่ใช่คดีมโนสาเร่และ
ศาลนัน
้ มีเขตอำนาจที่จะพิจารณาคดีนน
ั ้ อย่า งคดีส ามัญ ได้ ถ้า คดีนน
ั ้ ได้
ฟ้ องโดยคำแถลงด้วยวาจา ก็ให้ศาลมีคำสัง่ ให้โจทก์ย่ น
ื คำฟ้ องเป็ นหนังสือ
อย่างคดีสามัญ แต่ถ้าคดีนน
ั ้ ได้ย่ น
ื คำฟ้ องเป็ นหนังสืออยู่แล้ว ห้ามมิให้ศาล
ออกหมายเรียกอย่างอื่นนอกจากที่บัญญัติไว้สำหรับคดีสามัญ
ถ้าคดีนน
ั ้ ไม่เป็ นคดีมโนสาเร่ต่อไป เนื่อ งจากได้มี คำ ฟ้ องเพิ่ม
เติมยื่นเข้ามาภายหลัง และศาลนัน
้ มีเขตอำนาจที่จะพิจารณาคดีนน
ั ้ อย่าง
คดีสามัญได้ ก็ให้ศาลดำเนินการพิจารณาไปอย่างคดีสามัญ
ในกรณีใ ดกรณีห นึ่ง ดัง กล่า วมาแล้ว ถ้า ศาลไม่ม ีเ ขตอำนาจ
พิจารณาคดีนน
ั ้ อย่างคดีสามัญ ให้ศาลมีคำสัง่ คืนคำฟ้ องนัน
้ ไปเพื่อยื่นต่อ
ศาลที่มีเขตอำนาจ
ในกรณีที่จำเลยฟ้ องแย้งเข้ามาในคดีมโนสาเร่และฟ้ องแย้งนัน

มิใช่คดีมโนสาเร่ หรือในกรณีที่ศาลมีคำสัง่ ให้พิจารณาคดีสามัญรวมกับคดี
มโนสาเร่ ให้ศาลดำเนินการพิจารณาคดีมโนสาเร่ไปอย่างคดีส ามัญ แต่
เมื่อศาลพิจารณาถึงจำนวนทุนทรัพย์ ลักษณะคดี สถานะของคูค
่ วาม หรือ
เหตุสมควรประการอื่นแล้วเห็นว่า การนำบทบัญญัติในหมวดนีไ้ ปใช้บังคับ
แก่คดีในส่วนของฟ้ องแย้งหรือคดีสามัญเช่นว่านัน
้ จะทำให้การดำเนินคดี
เป็ นไปด้ว ยความรวดเร็ว และเป็ นธรรมแก่ค ู่ค วามทุก ฝ่ าย ก็ใ ห้ศ าลมี
อำนาจพิจารณาคดีในส่วนของฟ้ องแย้งหรือคดีสามัญนัน
้ อย่างคดีมโนสาเร่
ได้[๑๔๓]
คำสัง่ อย่างใดอย่างหนึ่งของศาลตามวรรคสี่ ไม่กระทบถึงค่า
ขึน
้ ศาลที่คู่ความแต่ละฝ่ ายต้องชำระอยู่ก่อนที่ศาลจะมีคำสั่งเช่นว่านัน
้ [๑๔๔]
 
มาตรา ๑๙๓ [๑ ๔ ๕ ]  ในคดีม โนสาเร่ ให้ศ าลกำ หนดวัน นัด
พิจารณาโดยเร็วและออกหมายเรียกไปยัง จำเลย ในหมายนัน
้ ให้จดแจ้ง
ประเด็นแห่งคดีและจำนวนทุนทรัพย์หรือราคาที่เรียกร้อง และข้อความ
ว่าให้จำเลยมาศาลเพื่อการไกล่เกลี่ย ให้การ และสืบพยานในวันเดียวกัน
และให้ศาลสั่งให้โจทก์มาศาลในวันนัดพิจารณานัน
้ ด้วย
ในวันนัดพิจารณา เมื่อ โจทก์และจำเลยมาพร้อ มกัน แล้ว ให้
ศาลไกล่เกลี่ยให้คู่ความได้ตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันในข้อ
ที่พิพาทนัน
้ ก่อน
ถ้า คู่ค วามไม่อ าจตกลงกัน หรือ ไม่อ าจประนีป ระนอมยอม
ความกันได้และจำเลยยังไม่ได้ย่ น
ื คำให้การให้ศาลสอบถามคำให้การของ
จำเลย โดยจำเลยจะยื่นคำให้การเป็ นหนังสือ หรือจะให้การด้วยวาจาก็ได้
ในกรณีย่ น
ื คำให้การเป็ นหนังสือให้นำมาตรา ๑๙๑ วรรคสอง มาใช้บังคับ
โดยอนุโ ลม ในกรณีใ ห้ก ารด้ว ยวาจา ให้ศ าลบัน ทึก คำ ให้ก ารรวมทัง้
เหตุการณ์นน
ั ้ ไว้ อ่านให้จำเลยฟั ง แล้วให้จำเลยลงลายมือชื่อไว้เป็ นสำคัญ
ถ้าจำเลยไม่ให้การตามวรรคสาม ให้ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจมี
คำสั่งไม่ยอมเลื่อนเวลาให้จำ เลยยื่นคำให้การ โดยให้ถือว่า จำเลยขาดนัด
ยื่น คำให้ก าร และให้ศ าลมีคำ พิพ ากษาหรือ คำสั่ง ชีข
้ าดโดยนำ มาตรา
๑๙๘ ทวิ มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งให้สืบพยาน ก็ให้
ศาลดำเนิน การต่อ ไปตามมาตรา ๑๙๓ ตรี มาตรา ๑๙๓ จัต วา และ
มาตรา ๑๙๓ เบญจ[๑๔๖]
 
มาตรา ๑๙๓ ทวิ[๑๔๗]  ในคดีมโนสาเร่ เมื่อโจทก์ได้ทราบคำสั่ง
ให้ม าศาลตามมาตรา ๑๙๓ แล้ว ไม่ม าในวัน นัด พิจ ารณาโดยไม่ไ ด้ร ับ
อนุญาตจากศาลให้เลื่อนคดีให้ถือว่าโจทก์ไม่ประสงค์จะดำเนินคดีต่อไป
ให้ศาลมีคำสั่งจำหน่ายคดีออกเสียจากสารบบความ
เมื่อจำเลยได้รับหมายเรียกให้มาศาลตามมาตรา ๑๙๓ แล้วไม่
มาในวันนัดพิจารณาโดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาลให้เลื่อนคดี ถ้า จำเลยไม่
ได้ย่ น
ื คำให้ก ารไว้ใ ห้ถ ือ ว่า จำเลยขาดนัด ยื่น คำ ให้ก ารและให้ศ าลมีคำ
พิพากษาหรือคำสั่งโดยนำมาตรา ๑๙๘ ทวิ มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่ถ้า
จำเลยได้ย่ น
ื คำให้การไว้ก่อนหรือในวันนัดดังกล่าว ให้ถือว่า จำเลยขาดนัด
พิจารณา และให้บงั คับตามมาตรา ๒๐๔ มาตรา ๒๐๕ มาตรา ๒๐๖ และ
มาตรา ๒๐๗ และไม่ว่าจะเป็ นกรณีใด ถ้า ศาลมีคำ สัง่ ให้ส ืบ พยานก็ให้
ศาลดำเนิน การต่อ ไปตามมาตรา ๑๙๓ ตรี มาตรา ๑๙๓ จัต วา และ
มาตรา ๑๙๓ เบญจ
 
มาตรา ๑๙๓ ตรี[๑๔๘]  เมื่อศาลได้รับคำให้การของจำเลยตาม
มาตรา ๑๙๓ วรรคสาม หรือ ศาลมีคำ สั่ง ให้ส บ
ื พยานตามมาตรา ๑๙๓
วรรคสี่ หรือมาตรา ๑๙๓ ทวิ วรรคสอง ให้ศาลดำเนินการพิจารณาคดีต่อ
ไปโดยเร็ว และให้ศ าลสอบถามคูค
่ วามฝ่ ายที่จ ะต้อ งนำพยานเข้า สืบ ว่า
ประสงค์จะอ้างอิงพยานหลักฐานใดแล้วบันทึกไว้ หรือสั่งให้ค ค
ู่ วามจัดทำ
บัญชีระบุพยานยื่นต่อศาลภายในระยะเวลาตามที่เห็นสมควร โดยในกรณี
ที่มิใช่การพิจารณาคดีฝ่ายเดียว ศาลจะกำหนดให้คค
ู่ วามฝ่ ายใดนำพยาน
หลักฐานมาสืบก่อนหรือหลังก็ได้
 
มาตรา ๑๙๓ จัต วา [๑๔๙]  ในคดีมโนสาเร่ เพื่อ ประโยชน์แ ห่ง
ความยุติธรรมให้ศาลมีอำนาจเรียกพยานหลักฐานมาสืบได้เองตามที่เห็น
สมควร
ในการสืบพยานไม่ว่าจะเป็ นพยานที่ค ู่ความฝ่ ายใดอ้างหรือที่
ศาลเรียกมาเอง ให้ศาลเป็ นผู้ซักถามพยานก่อน เสร็จแล้วจึงให้ตัวความ
หรือทนายความซักถามเพิ่มเติมได้
ให้ศาลมีอำนาจซักถามพยานเกี่ยวกับข้อเท็จจริงใด ๆ ที่เกี่ยว
เนื่องกับคดี แม้จะไม่มีคค
ู่ วามฝ่ ายใดยกขึน
้ อ้างก็ตาม
ในการบัน ทึก คำ เบิก ความของพยาน เมื่อ ศาลเห็น สมควร
จะบันทึกข้อความแต่โดยย่อก็ได้ แล้วให้พยานลงลายมือชื่อไว้
 
มาตรา ๑๙๓ เบญจ [๑๕๐]  ในคดีมโนสาเร่ ให้ศาลนั่งพิจารณา
คดีติดต่อกันไปโดยไม่ต้องเลื่อน เว้นแต่มีเหตุจำ เป็ น ศาลจะมีคำ สัง่ เลื่อน
ได้ครัง้ ละไม่เกินเจ็ดวัน
 
มาตรา ๑๙๔  คดีมโนสาเร่นน
ั ้ ให้ศาลมีอำนาจออกคำสั่งหรือ
คำพิพากษาด้วยวาจาดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๔๑
 
มาตรา ๑๙๕[๑๕๑]  นอกจากที่บัญญัติมาแล้ว ให้นำ บทบัญญัติ
อื่นในประมวลกฎหมายนีม
้ าใช้บังคับแก่การพิจารณาและการชีข
้ าดตัดสิน
คดีมโนสาเร่ด้วยโดยอนุโลม
 
มาตรา ๑๙๖ [๑๕๒]  ในคดีสามัญ ซึ่งโจทก์ฟ้ องเพียงขอให้ชำ ระ
เงินจำนวนแน่นอนตามตั๋ว เงิน ซึ ่ ง การรั บ รองหรื อ การชำ ระเงิ น ตามตั ๋ ว
เงิ น นั น
้ ได้ถ ูก ปฏิเ สธ หรือ ตามสั ญ ญาเป็ นหนั ง สื อ ซึ ่ง ปรากฏในเบื้องต้น
ว่าเป็ นสัญญาอันแท้จริงมีความสมบูรณ์และบังคับได้ตามกฎหมาย โจทก์
จะยื่นคำขอโดยทำเป็ นคำร้องต่อศาลพร้อมกับคำฟ้ องขอให้ศาลพิจารณา
คดีนน
ั ้ โดยรวบรัดก็ได้
ถ้าศาลเห็นว่าคดีตามวรรคหนึ่งนัน
้ ปรากฏในเบื้องต้นว่าเป็ น
คดีไม่มีข้อยุ่งยาก ไม่ว่าโจทก์จะได้ย่ น
ื คำขอตามวรรคหนึ่งหรือไม่ ให้ศาลมี
คำสัง่ ให้นำ บทบัญ ญัติในหมวดนีว้ ่าด้วยวิธีพ ิจารณาคดีมโนสาเร่ เว้น แต่
มาตรา ๑๙๐ จัตวา มาใช้บังคับแก่คดีเช่นว่านัน
้ ได้
ถ้าในระหว่างการพิจารณาปรากฏว่าคดีไม่ตกอยู่ภายใต้บังคับ
แห่งมาตรานี ้ ศาลอาจมีคำ สั่งเพิกถอนคำสั่งเดิมแล้วดำเนินการพิจารณา
ต่อไปตามข้อบังคับแห่งคดีสามัญได้
 
หมวด ๒
การพิจารณาโดยขาดนัด[๑๕๓]
                  
 
ส่วนที่ ๑
การขาดนัดยื่นคำให้การ
                  
 
มาตรา ๑๙๗[๑๕๔]  เมื่อจำเลยได้รับหมายเรียกให้ย่ น
ื คำให้การ
แล้ว จำเลยมิได้ย่ น
ื คำให้การภายในระยะเวลาที่กำ หนดไว้ตามกฎหมาย
หรือตามคำสั่งศาล ให้ถือว่าจำเลยขาดนัดยื่นคำให้การ
 
มาตรา ๑๙๘ [๑๕๕ ]  ถ้า จำเลยขาดนัด ยื่ น คำให้ก าร ให้โ จทก์ม ี
คำขอต่อ ศาลภายในสิบ ห้า วัน นับ แต่ระยะเวลาที่กำ หนดให้จำ เลยยื่นคำ
ให้การได้สน
ิ ้ สุดลง เพื่อให้ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสัง่ ชีข
้ าดให้ตนเป็ นฝ่ าย
ชนะคดีโดยขาดนัด
ถ้าโจทก์ไม่ย่ น
ื คำขอต่อศาลภายในกำหนดระยะเวลาดังกล่าว
แล้ว ให้ศาลมีคำสัง่ จำหน่ายคดีนน
ั ้ เสียจากสารบบความ
ถ้า โจทก์ย่ น
ื คำขอต่อ ศาลภายในกำหนดระยะเวลาดัง กล่า ว
แล้ว ให้ศ าลมีคำ พิพ ากษาหรือ คำสัง่ ชีข
้ าดคดีโ ดยขาดนัด ไปตามมาตรา
๑๙๘ ทวิ แต่ถ้าศาลมีเหตุสงสัยว่า จำเลยจะไม่ทราบหมายเรียกให้ย่ น
ื คำ
ให้การ ก็ให้ศาลมีคำสั่งให้มีการส่งหมายเรียกใหม่ โดยวิธีส่งหมายธรรมดา
หรือโดยวิธีอ่ น
ื แทนและจะกำหนดเงื่อนไขอย่างใดตามที่เห็นสมควรเพื่อให้
จำเลยได้ทราบหมายเรียกนัน
้ ก็ได้
 
มาตรา ๑๙๘ ทวิ[๑๕๖]  ศาลจะมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชีข
้ าดให้
โจทก์เป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยจำเลยขาดนัดยื่นคำให้การมิได้ เว้นแต่ศาลเห็น
ว่า คำฟ้ องของโจทก์ม ีม ูล และไม่ข ัด ต่อ กฎหมาย ในการนี ศ
้ าลจะยกขึน

อ้า งโดยลำ พัง ซึ่ง ข้อ กฎหมายอัน เกี่ย วด้ว ยความสงบเรีย บร้อ ยของ
ประชาชนก็ได้
เพื่อประโยชน์ในการพิพากษาหรือมีคำ สั่งชีข
้ าดคดีตามวรรค
หนึ่ง ศาลอาจสืบพยานเกี่ยวกับข้ออ้างของโจทก์หรือพยานหลักฐานอื่นไป
ฝ่ ายเดีย วตามที่เ ห็น ว่า จำ เป็ นก็ไ ด้ แต่ใ นคดีเ กี่ย วด้ว ยสิท ธิแ ห่ง สภาพ
บ ุค ค ล ส ิท ธ ิใ น ค ร อ บ ค ร ัว ห ร ือ ค ด ีพ ิพ า ท เ ก ี่ย ว ด ้ว ย ก ร ร ม ส ิท ธ ิ ใ์ น
อสัง หาริม ทรัพ ย์ ให้ศ าลสืบพยานหลัก ฐานโจทก์ไ ปฝ่ ายเดียว และศาล
อาจเรีย กพยานหลัก ฐานอื่น มาสืบ ได้เ องตามที่เ ห็น ว่า จำ เป็ น เพื่อ
ประโยชน์แห่งความยุติธรรม
ในการกำหนดจำนวนเงินตามคำขอบังคับของโจทก์ ให้ศ าล
ปฏิบัติดังนี ้
(๑) ในกรณีท ี่โ จทก์ม ีคำ ขอบัง คับ ให้จำ เลยชำระหนีเ้ ป็ นเงิน
จำนวนแน่นอนให้ศาลมีคำ สั่งให้โจทก์ส่งพยานเอกสารตามที่ศาลเห็นว่า
จำเป็ นแทนการสืบพยาน
(๒) ในกรณีที่โจทก์มีคำขอบังคับให้จำเลยชำระหนีเ้ ป็ นเงินอัน
ไม่อาจกำหนดจำนวนได้โดยแน่น อน ให้ศาลสืบพยานหลัก ฐานโจทก์ไ ป
ฝ่ ายเดียว และศาลอาจเรียกพยานหลักฐานอื่นมาสืบได้เองตามที่เห็นว่า
จำเป็ น
ถ้าจำเลยที่ขาดนัดยื่นคำให้การไม่มาศาลในวันสืบพยานตาม
มาตรานี ้ มิให้ถือว่าจำเลยนัน
้ ขาดนัดพิจารณา
ถ้า โจทก์ไ ม่นำ พยานหลัก ฐานมาสืบ ตามความในมาตรานี ้
ภายในระยะเวลาที่ศาลกำหนด ให้ถือว่าคดีของโจทก์ไม่มีม ูล และให้ศาล
ยกฟ้ องของโจทก์
 
มาตรา ๑๙๘ ตรี[๑ ๕ ๗ ]  ในคดีท ี่จำ เลยบางคนขาดนัด ยื่น คำ
ให้การ ให้ศาลมีคำ พิพากษาหรือ คำสั่งชีข
้ าดคดีโดยขาดนัดยื่น คำให้การ
ระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ขาดนัดยื่น คำให้การนัน
้ ไปก่อนและดำเนินการ
พิจารณาคดีระหว่างโจทก์กับ จำเลยที่ย่ น
ื คำให้การต่อไป แต่ถ้ามูลความ
แห่ง คดีน น
ั ้ เป็ นการชำ ระหนีซ
้ ึ่ง แบ่ง แยกจากกัน มิไ ด้ ให้ศ าลรอการ
พิพ ากษาหรือ มีคำ สัง่ ชีข
้ าดคดีโ ดยขาดนัด ยื่น คำให้ก ารไว้ก ่อ น เมื่อ ศาล
ดำเนินการพิจารณาสำหรับจำเลยที่ย่ น
ื คำให้การเสร็จสิน
้ แล้ว ก็ให้ศาลมี
คำพิพากษาหรือคำสั่งชีข
้ าดคดีไปตามรูปคดีสำหรับจำเลยทุกคน
ในกรณีทจำ
่ี เลยทีข
่ าดนัดยื่นคำให้การไม่มาศาลในวันสืบพยาน
ของคูค
่ วามอื่นมิให้ถอ
ื ว่าจำเลยนัน
้ ขาดนัดพิจารณา
 
มาตรา ๑๙๙[๑๕๘]  ถ้าจำเลยที่ขาดนัดยื่นคำให้การมาศาลก่อน
ศาลวินิจฉัยชีข
้ าดคดีและแจ้งต่อศาลในโอกาสแรกว่าตนประสงค์จะต่อสู้
คดี เมื่อศาลเห็นว่าการขาดนัดยื่น คำให้การนัน
้ มิได้เป็ นไปโดยจงใจหรือมี
เหตุอันสมควร ให้ศาลมีคำสั่งอนุญาตให้จำเลยยื่นคำให้การภายในกำหนด
เวลาตามที่ศาลเห็นสมควรและดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่ตงั ้ แต่เวลาที่
จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การ
ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ถ้าจำเลยที่ขาดนัดยื่นคำให้การมิได้แจ้ง
ต่อ ศาลก็ดี หรือศาลเห็น ว่าการขาดนัด ยื่น คำให้ก ารนัน
้ เป็ นไปโดยจงใจ
หรือไม่มีเหตุอันสมควรก็ดี ให้ศาลดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไป ในกรณี
เช่นนี ้ จำเลยอาจถามค้านพยานโจทก์ที่อยู่ระหว่างการสืบได้ แต่จะนำสืบ
พยานหลักฐานของตนไม่ได้
ในกรณีท ี่ จำ เลยมิ ไ ด้ ย่ ื น คำ ให้ ก ารภายในกำ หนดเวลาตาม
วรรคหนึ่ง หรือศาลไม่อ นุญ าตให้จำเลยยื่นคำให้การตามวรรคสอง หรือ
ศาลเคยมีคำ สัง่ ให้พิจารณาคดีใหม่ ตามคำขอของจำเลยที่ขาดนัดยื่น คำ
ให้ก ารตามมาตรา ๑๙๙ ตรี มาก่อ น จำเลยนัน
้ จะขอยื่น คำให้ก ารตาม
มาตรานีอ
้ ีกหรือจะร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ไม่ได้
 
มาตรา ๑๙๙ ทวิ[๑๕๙]  เมื่อศาลพิพากษาให้จำเลยที่ขาดนัดยื่น
คำให้การแพ้คดี ศาลอาจกำหนดการอย่างใด ตามที่เห็นสมควรเพื่อส่ง คำ
บังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งให้แก่จำเลยที่ขาดนัดยื่นคำให้การโดยวิธี
ส่งหมายธรรมดาหรือโดยวิธีอ่ น
ื แทน หรือศาลจะให้เลื่อนการบังคับตามคำ
พิพากษาหรือคำสั่งเช่นว่านัน
้ ไปภายในระยะเวลาที่ศาลเห็นสมควรก็ได้
การบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งแก่จำเลยที่ขาดนัดยื่นคำ
ให้การนัน
้ ให้บังคับตามมาตรา ๒๗๓ มาตรา ๒๘๙ และมาตรา ๓๓๘[๑๖๐]
 
มาตรา ๑๙๙ ตรี[๑๖๑]  จำเลยซึ่ง ศาลมีคำ พิพ ากษาหรือ คำสัง่
ชีข
้ าดให้แพ้คดีโดยขาดนัดยื่นคำให้การ ถ้ามิได้ย่ น
ื อุทธรณ์คำพิพากษาหรือ
คำสัง่ นัน
้ จำเลยนัน
้ อาจมีคำขอให้พจ
ิ ารณาคดีใหม่ได้ เว้นแต่
(๑) ศาลเคยมีคำสัง่ ให้พิจารณาคดีนน
ั ้ ใหม่มาครัง้ หนึง่ แล้ว
(๒) คำขอให้พิจารณาคดีใหม่นน
ั ้ ต้องห้ามตามกฎหมาย
 
มาตรา ๑๙๙ จัตวา [๑๖๒]  คำขอให้พิจารณาคดีใหม่นน
ั ้ ให้ย่ น

ต่อศาลภายในสิบห้าวันนับจากวันที่ได้ส่งคำบังคับตามคำพิพากษาหรือคำ
สั่งให้แก่จำเลยที่ขาดนัดยื่นคำให้การ แต่ถ้าศาลได้กำ หนดการอย่างใด ๆ
เพื่อส่ง คำบังคับเช่น ว่านีโ้ ดยวิธีส ่ง หมายธรรมดาหรือ โดยวิธีอ่ น
ื แทน จะ
ต้องได้มีการปฏิบัติตามข้อกำหนดนัน
้ แล้ว ในกรณีที่จำเลยที่ขาดนัดยื่นคำ
ให้การไม่สามารถยื่นคำขอภายในระยะเวลาที่กำหนดโดยพฤติการณ์นอก
เหนือไม่อาจบังคับได้ จำเลยนัน
้ อาจยื่นคำขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้ภายใน
กำหนดสิบ ห้า วัน นับ แต่ว ัน ที่พ ฤติก ารณ์น น
ั ้ ได้ส น
ิ ้ สุด ลง แต่ก รณีจ ะเป็ น
อย่างไรก็ตาม ห้ามมิให้ย่ น
ื คำขอเช่นว่านีเ้ มื่อพ้นกำหนดหกเดือนนับแต่วัน
ที่ได้ยึดทรัพย์หรือได้มีการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งโดยวิธีอ่ น

คำขอตามวรรคหนึ่งให้กล่าวโดยชัดแจ้งซึ่งเหตุที่จำเลยได้ขาด
นัดยื่นคำให้การและข้อคัดค้านคำตัดสินชีข
้ าดของศาลที่แสดงให้เห็นว่า
หากศาลได้พ ิจ ารณาคดีน น
ั ้ ใหม่ต นอาจเป็ นฝ่ ายชนะ และในกรณีท ี่ย่ น

คำขอล่าช้า ให้แสดงเหตุแห่งการที่ล่าช้านัน
้ ด้วย
 
มาตรา ๑๙๙ เบญจ [๑๖๓]  เมื่อศาลได้รับ คำขอให้พ ิจารณาคดี
ใหม่แล้ว หากเห็นสมควรศาลจะมีคำสั่งให้งดการบังคับคดีไว้ก่อนก็ได้ ใน
กรณีเช่นนี ้ ให้ศาลแจ้งคำสั่งให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบ
ในการพิจ ารณาคำขอให้พ ิจ ารณาคดีใ หม่ ถ้า มีเ หตุค วรเชื่อ
ว่าการขาดนัดยื่น คำให้ก ารนัน
้ มิไ ด้เ ป็ นไปโดยจงใจหรือ มีเหตุอ ัน สมควร
และศาลเห็นว่าเหตุผลที่อ้างมาในคำขอนัน
้ ผู้ขออาจมีทางชนะคดีได้ ทัง้ ใน
กรณีที่ย่ น
ื คำขอล่าช้านัน
้ ผู้ขอได้ย่ น
ื ภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้ศาลมีคำ
สั่งอนุญาตตามคำขอ ในกรณีเช่นนี ้ ถ้ามีการอุทธรณ์หรือฎีกาคำพิพากษา
หรือคำสั่งที่ให้คู่ความฝ่ ายที่ขาดนัดยื่นคำให้การแพ้คดี ให้ศาลแจ้งคำสั่งดัง
กล่าวให้ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา แล้วแต่กรณี ทราบด้วย
เมื่อศาลได้มีคำ สั่งอนุญาตตามคำขอให้พ ิจารณาคดีใหม่ตาม
วรรคสอง คำพิพากษาหรือคำสัง่ ของศาลโดยจำเลยขาดนัดยื่น คำให้การ
และคำพิพ ากษาหรือ คำสั่ง อื่น ๆ ของศาลอุท ธรณ์ห รือ ศาลฎีก าในคดี
เดียวกันนัน
้ และวิธีการบังคับคดีที่ได้ดำ เนินไปแล้ว ให้ถือว่าเป็ นอันเพิก
ถอนไปในตัว และให้ศ าลแจ้ง ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีท ราบ แต่ถ ้า
เป็ นการพ้นวิสัยที่จะให้คู่ความกลับคืนสู่ฐานะเดิมดังเช่นก่อนบังคับคดีได้
หรือเมื่อศาลเห็นว่าไม่จำ เป็ นที่จะบังคับเช่นนัน
้ เพื่อประโยชน์แก่ค ู่ความ
หรือบุคคลภายนอก ให้ศาลมีอำนาจสั่งอย่างใด ๆ ตามที่เห็นสมควร แล้ว
ให้ศาลพิจารณาคดีนน
ั ้ ใหม่ตงั ้ แต่เวลาที่จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การ โดยให้
จำเลยยื่นคำให้การภายในกำหนดเวลาตามที่ศาลเห็นสมควร
คำสัง่ ศาลที่อนุญาตให้พิจารณาคดีใหม่ให้เป็ นที่สุด แต่ในกรณี
ที่ศาลมีคำสั่งไม่อนุญาตผู้ขออาจอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวได้ คำพิพากษาของ
ศาลอุทธรณ์ให้เป็ นที่สุด
ถ้าจำเลยขาดนัดยื่นคำให้การโดยจงใจหรือไม่มีเหตุอันสมควร
เป็ นเหตุให้คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งต้องเสียค่าฤชาธรรมเนียมมากกว่าที่ควรจะ
ต้อ งเสีย ค่าฤชาธรรมที่เ พิ่ม ขึน
้ นัน
้ ให้ถ ือ ว่า เป็ นค่า ฤชาธรรมเนีย มอัน ไม่
จำเป็ นตามความหมายแห่งมาตรา ๑๖๖
 
มาตรา ๑๙๙ ฉ[๑๖๔]  ในกรณีที่โจทก์มิได้ให้การแก้ฟ้องแย้งของ
จำเลยภายในระยะเวลาที่กำ หนดไว้ ให้นำ บทบัญญัติในส่วนที่ ๑ นีม
้ าใช้
บังคับเพียงเท่าที่เกี่ยวกับฟ้ องแย้งเช่นว่านัน
้ โดยอนุโลม
 
ส่วนที่ ๒
การขาดนัดพิจารณา
                  
 
มาตรา ๒๐๐[๑๖๕]  ภายใต้บังคับมาตรา ๑๙๘ ทวิ และมาตรา
๑๙๘ ตรี ถ้าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งไม่มาศาลในวันสืบพยาน และไม่ได้รับ
อนุญาตจากศาลให้เลื่อนคดี ให้ถือว่าคูค
่ วามฝ่ ายนัน
้ ขาดนัดพิจารณา
ถ้าคู่ความฝ่ ายใดไม่มาศาลในวันนัดอื่นที่มิใช่วันสืบพยาน ให้
ถือว่าคู่ความฝ่ ายนัน
้ สละสิทธิการดำเนินกระบวนพิจารณาของตนในนัด
นัน
้ และทราบกระบวนพิจารณาที่ศาลได้ดำเนินไปในนัดนัน
้ ด้วยแล้ว
 
มาตรา ๒๐๑ [๑๖๖]  ถ้าคู่ความทัง้ สองฝ่ ายขาดนัดพิจารณา ให้
ศาลมีคำสั่งจำหน่ายคดีนน
ั ้ เสียจากสารบบความ
 
มาตรา ๒๐๒ [๑๖๗]  ถ้า โจทก์ข าดนัด พิจ ารณา ให้ศ าลมีคำ สั่ง
จำหน่ายคดีนัน
้ เสียจากสารบบความ เว้นแต่จำเลยจะได้แจ้งต่อศาลในวัน
สืบพยานขอให้ดำเนินการพิจารณาคดีต่อไป ก็ให้ศาลพิจารณาและชีข
้ าด
ตัดสินคดีนน
ั ้ ไปฝ่ ายเดียว
 
มาตรา ๒๐๓ [๑๖๘]   ห้า มมิให้โ จทก์อ ุท ธรณ์คำ สั่ง จำหน่า ยคดี
ตามมาตรา ๒๐๑ และมาตรา ๒๐๒ แต่ภ ายใต้บ ัง คับ บทบัญ ญัต ิแ ห่ง
กฎหมายว่าด้วยอายุความ คำสัง่ เช่นว่านีไ้ ม่ตัดสิทธิโจทก์ที่จะเสนอคำฟ้ อง
ของตนใหม่
 
มาตรา ๒๐๔[๑๖๙]   ถ้าจำเลยขาดนัดพิจารณา ให้ศาลพิจารณา
และชีข
้ าดตัดสินคดีนน
ั ้ ไปฝ่ ายเดียว
 
มาตรา ๒๐๕ [๑๗๐ ]   ในกรณีด ัง กล่า วมาในมาตรา ๒๐๒ และ
มาตรา ๒๐๔ ถ้ายัง ไม่เ ป็ นที่พ อใจของศาลว่า ได้ส ่ง หมายกำหนดวัน นัด
สืบ พยานไปให้ค ู่ค วามฝ่ ายที่ข าดนัด ทราบโดยชอบแล้ว ให้ศ าลมี คำ สั่ง
เลื่อนวันสืบพยานไป และกำหนดวิธีการอย่างใดตามที่เ ห็น สมควร เพื่อ
ให้ม ีก ารส่ง หมายกำหนดวัน นัด สืบ พยานใหม่แ ก่ค ู่ค วามฝ่ ายที่ข าดนัด
พิจารณาโดยวิธีส่งหมายธรรมดาหรือโดยวิธีอ่ ืนแทน ถ้าได้กระทำดังเช่น
ว่ามาแล้ว คู่ความฝ่ ายนัน
้ ยังไม่มาศาลก่อนเริ่มสืบพยานในวัน ที่ กำ หนด
ไว้ใ นหมายนัน
้ ก็ให้ศ าลดำเนิน คดีน ัน
้ ไปดัง ที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นมาตรา ๒๐๒
หรือมาตรา ๒๐๔ แล้วแต่กรณี
 
มาตรา ๒๐๖ [๑๗๑]   คูค
่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง จะร้อ งต่อ ศาลให้
วินิจฉัยชีข
้ าดคดีให้ตนเป็ นฝ่ ายชนะโดยอาศัย เหตุแ ต่เ พีย งว่า คู่ค วามอีก
ฝ่ ายหนึ่งขาดนัดพิจารณานัน
้ หาได้ไ ม่ ให้ศาลวิน ิจฉัยชี ้ขาดคดีให้คค
ู่ วาม
ที่มาศาลเป็ นฝ่ ายชนะต่อเมื่อศาลเห็นว่าข้ออ้างของคูค
่ วามเช่นว่านีม
้ ีม ูล
และไม่ข ัด ต่อ กฎหมาย ในการนี ้ ศาลจะยกขึน
้ อ้า งโดย ลำ พัง ซึง่ ข้อ
กฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนก็ได้
เพื่อ ประโยชน์ใ นการวิน ิจ ฉัย ชีข
้ าดคดีต ามวรรคหนึ่ง ให้ นำ
บทบัญญัติมาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสองและวรรคสาม มาใช้บังคับแก่คดี
ของคูค
่ วามฝ่ ายที่มาศาลโดยอนุโลม
ในระหว่างการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว ถ้าคูค
่ วามฝ่ ายที่ขาดนัด
พิจารณามาศาลภายหลังที่เริ่มต้นสืบพยานไปบ้างแล้ว และแจ้งต่อศาลใน
โอกาสแรกว่า ตนประสงค์จ ะดำ เนิน คดี เมื่อ ศาลเห็น ว่า การขาดนัด
พิจารณานัน
้ มิได้เป็ นไปโดยจงใจหรือมีเหตุอันสมควรและศาลไม่เคยมี คำ
สั่ง ให้พ ิจารณาคดีใ หม่ตามคำขอของคูค
่ วามฝ่ ายนัน
้ มาก่อ นตามมาตรา
๑๙๙ ตรี ซึ่งให้นำ มาใช้บังคับกับ การขาดนัด พิจารณาตามมาตรา ๒๐๗
ด้วย ให้ศาลมีคำ สัง่ ให้พิจารณาคดีนน
ั ้ ใหม่ ในกรณีเช่นนี ้ หากคูค
่ วามนัน

ขาดนัดพิจารณาอีก จะขอให้พิจารณาคดีใหม่ตามมาตรานีไ้ ม่ได้
ในกรณีตามวรรคสาม ถ้าคู่ความฝ่ ายที่ข าดนัด พิจารณามิไ ด้
แจ้ง ต่อ ศาลก็ด ีห รือศาลเห็น ว่า การขาดนัด พิจ ารณานัน
้ เป็ นไปโดยจงใจ
หรือไม่มีเหตุอันสมควรก็ดี หรือคำขอให้พิจารณาคดีใหม่นน
ั ้ ต้องห้ามตาม
กฎหมายก็ดี ให้ศาลดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไป แต่
(๑) ห้า มไม่ใ ห้ศ าลอนุญ าตให้ค ู่ค วามที่ข าดนัด พิจ ารณานำ
พยานเข้าสืบถ้าคูค
่ วามนัน
้ มาศาลเมื่อพ้นเวลาที่จะนำพยานของตนเข้าสืบ
แล้ว
(๒) ถ้า คู่ค วามที่ข าดนัด พิจ ารณามาศาลเมื่อ คูค
่ วามอีก ฝ่ าย
หนึ่งได้นำพยานหลักฐานเข้าสืบไปแล้ว ห้ามไม่ให้ศาลยอมให้คู่ความที่ขาด
นัดพิจารณาคัดค้านพยานหลักฐานเช่นว่านัน
้ โดยวิธีถามค้านพยานของคู่
ความอีกฝ่ ายหนึง่ ที่ได้สืบไปแล้วหรือโดยวิธีคัดค้านการระบุเอกสารหรือ
คัดค้านคำขอที่ให้ศาลไปทำการตรวจหรือให้ตงั ้ ผู้เชี่ยวชาญของศาล แต่ถ้า
คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งนำพยานหลักฐานเข้าสืบยังไม่บริบูรณ์ ให้ศาลอนุญาต
ให้คู่ความที่ข าดนัดพิจารณาหัก ล้า งได้แต่เฉพาะพยานหลัก ฐานที่ นำ สืบ
ภายหลังที่ตนมาศาล
(๓) ในกรณีเ ช่น นี ้ คู่ค วามที่ข าดนัด พิจ ารณาไม่ม ีส ิท ธิท ี่จ ะ
ร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่
 
มาตรา ๒๐๗ [๑๗๒]  เมื่อศาลพิพ ากษาให้ค ค
ู่ วามฝ่ ายที่ข าดนัด
พิจารณาแพ้คดี ให้นำ บทบัญญัตม
ิ าตรา ๑๙๙ ทวิ มาใช้บงั คับโดยอนุโลม
และคูค
่ วามฝ่ ายนัน
้ อาจมีคำขอให้พจ
ิ ารณาคดีใหม่ได้  ทัง้ นี้ ให้นำบทบัญญัติ
มาตรา ๑๙๙ ตรี มาตรา ๑๙๙ จัตวา และมาตรา ๑๙๙ เบญจ มาใช้บงั คับ
โดยอนุโลม
 
มาตรา ๒๐๘[๑๗๓]  (ยกเลิก)
 
มาตรา ๒๐๙[๑๗๔]  (ยกเลิก)
 
หมวด ๓
อนุญาโตตุลาการ
                  
 
มาตรา ๒๑๐  บรรดาคดีทงั ้ ปวงซึ่งอยู่ในระหว่างพิจารณาของ
ศาลชัน
้ ต้น คู่ความจะตกลงกันเสนอข้อพิพาทอันเกี่ยวกับประเด็นทัง้ ปวง
หรือ แต่ข ้อ ใดข้อ หนึ่ง ให้อ นุญ าโตตุล าการคนเดีย วหรือ หลายคนเป็ นผู้
ชีข
้ าดก็ได้ โดยยื่นคำขอร่วมกันกล่าวถึงข้อความแห่งข้อตกลงเช่นว่านัน
้ ต่อ
ศาล
ถ้าศาลเห็นว่าข้อตกลงนัน
้ ไม่ผิดกฎหมาย ให้ศาลอนุญาตตาม
คำขอนัน

 
มาตรา ๒๑๑  ถ้าในข้อตกลงมิได้กำหนดข้อความไว้เป็ นอย่าง
อื่น การตัง้ อนุญาโตตุลาการให้ใช้ข้อบังคับดังต่อไปนี ้
(๑) คูค
่ วามชอบที่จะตัง้ อนุญาโตตุลาการได้ฝ่ายละคน แต่ถ้า
คดีมีโจทก์ร่วมหรือ จำเลยร่วมหลายคน ให้ตงั ้ อนุญาโตตุล าการเพียงคน
หนึ่งแทนโจทก์ร่วมทัง้ หมดและคนหนึ่งแทนจำเลยร่วมทัง้ หมด
(๒) ถ้าคูค
่ วามจะตัง้ อนุญ าโตตุล าการคนเดีย วหรือ หลายคน
ด้ว ยความเห็น ชอบพร้อ มกัน การตัง้ เช่น ว่า นีใ้ ห้ ทำ เป็ นหนัง สือ ลงวัน
เดือน ปี และให้คค
ู่ วามลงลายมือชื่อไว้เป็ นสำคัญ
(๓) ถ้าตกลงกันให้คู่ความฝ่ ายหนึ่ง หรือบุคคลภายนอกเป็ นผู้
ตัง้ อนุญ าโตตุล าการ การตัง้ เช่น ว่า นี ้ ให้ทำ เป็ นหนัง สือ ลงวัน เดือ น ปี
และลงลายมือชื่อของคู่ความหรือบุคคลภายนอกนัน
้ แล้วส่งไปให้ค ู่ความ
อื่น ๆ
(๔) ถ้าศาลไม่เห็น ชอบด้วยบุค คลที่ค ู่ค วามตัง้ หรือ ที่เ สนอตัง้
เป็ นอนุญาโตตุลาการให้ศาลสั่งให้คค
ู่ วามตัง้ บุคคลอื่นหรือเสนอบุคคลอื่น
ตัง้ เป็ นอนุญ าโตตุล าการ ถ้าคู่ค วามมิไ ด้ตงั ้ หรือ เสนอให้ตงั ้ บุค คลใดเป็ น
อนุญาโตตุลาการ ให้ศาลมีอำนาจตัง้ บุคคลใดเป็ นอนุญาโตตุลาการได้ตาม
ที่เห็นสมควร แล้วให้ศาลส่ง คำสั่งเช่นว่านีไ้ ปยังอนุญาโตตุลาการที่ตงั ้ ขึน

และคู่ความที่เกี่ยวข้องโดยทางเจ้าพนักงานศาล
 
มาตรา ๒๑๒  ข้อความในหมวดนีม
้ ิได้ให้อำ นาจศาลที่จะตัง้
บุคคลใดเป็ นอนุญาโตตุลาการโดยมิได้รับความยินยอมจากบุคคลนัน

 
ม า ต ร า ๒ ๑ ๓   เ ม ่ ื อ บ ุค ค ล ห ร ือ ค ู่ค ว า ม ท ี่ม ีส ิท ธ ิ ไ ด ้ต ั ง้
อนุญ าโตตุล าการขึ น
้ แล้ว ห้า มมิให้ บุคคลหรือคูค
่ วามนัน
้ ถอนการตัง้ เสีย
เว้นแต่คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งจะได้ยินยอมด้วย
อนุญาโตตุลาการที่ตงั ้ ขึน
้ โดยชอบนัน
้ ถ้าเป็ นกรณีที่ศาลหรือ
บุคคลภายนอกเป็ นผู้ตงั ้ คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งจะคัดค้านก็ได้ หรือถ้าเป็ น
กรณีที่ค ู่ค วามฝ่ ายหนึ่ง เป็ นผู้ตงั ้ คู่ค วามอีก ฝ่ ายหนึ่ง จะคัดค้า นก็ไ ด้ โดย
อาศัยเหตุดังที่บัญญัตไิ ว้ในมาตรา ๑๑ หรือเหตุที่อนุญาโตตุลาการนัน
้ เป็ น
ผู้ไร้ความสามารถ หรือไม่สามารถทำหน้าที่อนุญาโตตุลาการได้ ในกรณีที่
มีการคัดค้านอนุญาโตตุลาการดังว่านี ้ ให้นำบทบัญญัติว่าด้วยการคัดค้าน
ผูพ
้ ิพากษามาใช้บังคับโดยอนุโลม
ถ ้า ก า ร ค ัด ค ้า น อ น ุญ า โ ต ต ุล า ก า ร น น
ั ้ ฟั ง ข น
ึ ้ ใ ห ้ต งั ้
อนุญาโตตุลาการขึน
้ ใหม่
 
มาตรา ๒๑๔  ถ้า ในข้อ ตกลงมิไ ด้กำ หนดค่า ธรรมเนีย ม
อนุญ าโตตุลาการไว้ อนุญ าโตตุล าการชอบที่จะเสนอความข้อ นีต
้ ่อ ศาล
โดยทำเป็ นคำร้อง และให้ศาลมีอำนาจมีคำสั่งให้ชำระค่าธรรมเนียมตามที่
เห็นสมควร
 
มาตรา ๒๑๕  เมื่อ ได้ต งั ้ อนุญ าโตตุล าการขึน
้ แล้ว ถ้า ในข้อ
ตกลงหรือในคำสั่งศาล แล้วแต่กรณี มิได้กำ หนดประเด็นข้อพิพาทไว้ ให้
อนุญาโตตุลาการกำหนดประเด็นข้อพิพาทเหล่านัน
้ แล้วจดลงในรายงาน
พิสดารกลัดไว้ในสำนวนคดีอนุญาโตตุลาการ
 
มาตรา ๒๑๖  ก่อนที่จะทำคำชีข
้ าด ให้อนุญาโตตุลาการฟั งคู่
ความทัง้ ปวงและอาจทำการไต่สวนตามที่เห็นสมควรในข้อพิพาทอันเสนอ
มาให้พิจารณานัน

อนุญาโตตุลาการ อาจตรวจเอกสารทัง้ ปวงที่ย่ น
ื ขึน
้ มาและฟั ง
พยาน หรือผู้เชี่ยวชาญซึ่งเต็มใจมาให้การ ถ้าอนุญาโตตุลาการขอให้ศาล
ส่งคำคูค
่ วาม หรือบรรดาเอกสารอื่น ๆ ในสำนวนเช่นว่านีม
้ าให้ตรวจดู ให้
ศาลจัดการให้ตามคำร้องขอนัน

ถ้าอนุญ าโตตุล าการเห็น ว่า จำต้อ งดำเนิน กระบวนพิจ ารณา
อย่า งใด ที่ต ้อ งดำ เนิน ทางศาล (เช่น หมายเรีย กพยาน หรือ ให้พ ยาน
สาบานตน หรือให้ส่งเอกสาร) อนุญาโตตุลาการอาจยื่น คำขอโดยทำเป็ น
คำร้องต่อศาล ให้ศาลดำเนินกระบวนพิจารณาเช่นว่านัน
้ ถ้าศาลเห็นว่า
กระบวนพิจ ารณานัน
้ อยู่ใ นอำนาจศาลและพึง รับ ทำให้ไ ด้แ ล้ว ให้ศ าล
จัด การให้ต ามคำ ขอเช่น ว่า นี ้ โดยเรีย กค่า ธรรมเนีย มศาลตามอัต ราที่
กำ ห น ด ไ ว ้สำ ห ร ับ ก ร ะ บ ว น พ ิจ า ร ณ า ท ี่ข อ ใ ห ้จ ัด ก า ร น น
ั้ จ า ก
อนุญาโตตุลาการ
ภ า ย ใ ต ้บ ัง ค ับ บ ท บ ัญ ญ ัต ิม า ต ร า ๒ ๑ ๕ แ ล ะ ม า ต ร า น ี ้
อนุญ าโตตุล าการมีอำ นาจที่จะดำเนิน ตามวิธ ีพ ิจ ารณาใด ๆ ตามที่เ ห็น
สมควรก็ได้ เว้นแต่ในข้อตกลงจะกำหนดไว้เป็ นอย่างอื่น
 
มาตรา ๒๑๗  ถ้าในข้อตกลงมิไ ด้กำ หนดไว้เ ป็ นอย่างอื่น คำ
ชีข
้ าดของอนุญาโตตุลาการนัน
้ ให้อยู่ภายในบังคับต่อไปนี ้
(๑) ในกรณีท ี่ม ีอ นุญ าโตตุล าการหลายคน ให้ช ข
ี ้ าดตาม
คะแนนเสียงฝ่ ายข้างมาก
(๒) ถ้า คะแนนเสีย งเท่า กัน ให้อ นุญ าโตตุล าการตัง้ บุค คล
ภายนอกเป็ นประธานขึน
้ คนหนึ่ง  เพื่อ ออกคะแนนเสีย งชีข
้ าด ถ้า
อนุญ าโตตุลาการไม่ตกลงกันในการตัง้ ประธาน ให้ย่ น
ื คำขอโดยทำเป็ น
คำร้องต่อศาลให้มคำ
ี สั่งตัง้ ประธาน
 
มาตรา ๒๑๘  ให้นำ บทบัญ ญัต ิม าตรา ๑๔๐, ๑๔๑ และ
๑๔๒ ว่าด้วยคำพิพากษาและคำสัง่ ของศาลมาใช้บังคับแก่คำ ชีข
้ าดของ
อนุญาโตตุลาการโดยอนุโลม
ให้อ นุญ าโตตุล าการยื่น คำชีข
้ าดของตนต่อ ศาล และให้ศ าล
พิพากษาตามคำชีข
้ าดนัน

แต่ถ ้า ศาลเห็น ว่า คำ ชีข
้ าดของอนุญ าโตตุล าการขัด ต่อ
กฎหมายประการใดประการหนึ่ง ให้ศาลมีอำ นาจทำคำสั่งปฏิเสธไม่ยอม
พิพากษาตามคำชีข
้ าดนัน
้ แต่ถ้า คำชีข
้ าดนัน
้ อาจแก้ไขให้ถ ูกต้องได้ ศาล
อาจให้อนุญาโตตุลาการหรือคู่ความที่เกี่ยวข้องแก้ไขเสียก่อนภายในเวลา
อันสมควรที่ศาลจะกำหนดไว้
 
มาตรา ๒๑๙  ถ้าในข้อตกลงมิได้กำหนดข้อความไว้เป็ นอย่าง
อ ่น
ื ใ น ก ร ณ ีท ี่ไ ม ่อ า จ ดำ เ น ิน ต า ม ข ้อ ต ก ล ง เ ส น อ ข ้อ พ ิพ า ท ใ ห ้
อนุญาโตตุลาการชีข
้ าด เพราะบุคคลภายนอกซึ่งรับมอบหมายให้เป็ นผู้ตงั ้
อนุญาโตตุลาการมิได้ตงั ้ อนุญาโตตุลาการขึน
้ หรืออนุญาโตตุลาการที่ตงั ้
ขึน
้ คนเดียวหรือหลายคนนัน
้ ปฏิเ สธไม่ย อมรับ หน้า ที่ หรือ ตายเสีย ก่อ น
หรือตกเป็ นผู้ไร้ความสามารถ หรือด้วยเหตุประการอื่นไม่อาจที่จะปฏิบัติ
หน้าที่ของตนได้ก่อนให้คำ ชีข
้ าด หรือปฏิเสธ หรือเพิกเฉยไม่กระทำตาม
หน้าที่ของตนภายในเวลาอันสมควร ถ้าคู่ความไม่สามารถทำความตกลง
กันเป็ นอย่างอื่น ให้ถือว่าข้อตกลงนัน
้ เป็ นอันสิน
้ สุด
 
มาตรา ๒๒๐  ถ้ามีข้อพิพาทเกิดขึน
้ เนื่องจากการดำเนินตาม
ข้อตกลงเสนอข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการชีข
้ าด หรือมีข้อพิพาทกันว่า
ข้อ ตกลงนัน
้ ได้ส น
ิ ้ สุดลงตามมาตราก่อ นแล้ว หรือ หาไม่ ข้อ พิพ าทนัน
้ ให้
เสนอต่อศาลที่เห็นชอบด้วยข้อตกลงดังกล่าวแล้ว
 
มาตรา ๒๒๑ [๑ ๗๕ ]  การเสนอข้อ พิพ าทให้อ นุญ าโตตุล าการ
ชีข
้ าดนอกศาล ให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยอนุญาโตตุลาการ
 
มาตรา ๒๒๒  ห้า มมิใ ห้อ ุท ธรณ์คำ สั่ง ศาลซึ่ง ปฏิเ สธไม่ย อม
พิพากษาตามคำสั่งชีข
้ าดของอนุญาโตตุลาการ หรือ คำพิพากษาของศาล
ตามคำชีข
้ าดของอนุญาโตตุลาการ เว้นแต่ในเหตุต่อไปนี ้
(๑) เมื่อมีข ้ออ้างแสดงว่าอนุญ าโตตุลาการหรือ ประธานมิไ ด้
กระทำการโดยสุจริต หรือคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งใช้กลฉ้อฉล
(๒) เมื่อ คำสัง่ หรือ คำพิพ ากษานัน
้ ฝ่ าฝื นต่อ บทกฎหมายอัน
เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
(๓ ) เ ม ่ อ
ื คำ พ ิพ า ก ษ า น น
ั ้ ไ ม ่ต ร ง ก ับ คำ ช ข
ี้ า ด ข อ ง
อนุญาโตตุลาการ
 
หมวด ๔
การดำเนินคดีแบบกลุ่ม[๑๗๖]
                  
 
ส่วนที่ ๑
บททั่วไป
                  
 
มาตรา ๒๒๒/๑[๑๗๗] ในหมวดนี ้
“กลุ่ม บุค คล” หมายความว่า บุค คลหลายคนที่ม ีส ิท ธิอ ย่า ง
เดีย วกัน อัน เนื่อ งมาจากข้อ เท็จ จริง และหลัก กฎหมายเดีย วกัน และมี
ลักษณะเฉพาะของกลุ่มเหมือนกัน แม้ว่าจะมีลักษณะของความเสียหายที่
แตกต่างกันก็ตาม
“สมาชิกกลุ่ม” หมายความว่า บุคคลใด ๆ ที่อยู่ในกลุ่มบุคคล
“การดำเนินคดีแบบกลุม
่ ” หมายความว่า การดำเนินคดีทศ
่ี าล
อนุญาตให้เสนอคำฟ้ องต่อ ศาลเพื่อ ให้ศ าลมีคำ พิพ ากษาแสดงสิท ธิข อง
โจทก์และสมาชิกกลุ่ม
“เจ้าพนักงานคดีแบบกลุม
่ ” หมายความว่า บุคคลทีเ่ ลขาธิการ
สำนักงานศาลยุติธรรมแต่งตัง้ ให้ทำ หน้าที่ช่วยเหลือศาลในการดำเนินคดี
แบบกลุ่ม
 
มาตรา ๒๒๒/๒ [๑ ๗ ๘ ]  เพื่อ ความเหมาะสมสำ หรับ คดีบ าง
ประเภท หรือเพื่อให้การดำเนินกระบวนพิจารณาหรือการบังคับคดีเป็ น
ไปโดยสะดวก รวดเร็ว และเที่ยงธรรม ประธานศาลฎีกามี อำนาจออกข้อ
กำหนดใด ๆ ที่ไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติในหมวดนีไ้ ด้ ดังนี ้
(๑) กำหนดคุณสมบัติ ส่วนได้เสีย รวมตลอดทัง้ การได้มาซึ่ง
สิทธิการเป็ นสมาชิกกลุ่มของโจทก์ที่จะมีอำนาจฟ้ องคดีแบบกลุ่มได้
(๒) กำหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขใน
การพิจารณาอนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่ม
(๓) กำหนดเพิม
่ เติมเกีย
่ วกับวิธก
ี ารแจ้งเรื่องการดำเนินคดีแบบ
กลุม
่ ให้สมาชิกกลุม
่ ทราบ
(๔) กำหนดเพิม
่ เติมเกีย
่ วกับวิธก
ี ารนัดพร้อม การแก้ไขคำฟ้ อง
และคำให้การ การดำเนินกระบวนพิจารณาและการรับฟั งพยานหลักฐาน
ในการดำเนินคดีแบบกลุ่ม
(๕) กำหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการบังคับคดีและเงินรางวัลของ
ทนายความฝ่ ายโจทก์
(๖) ออกข้อกำหนดเกี่ยวกับเรื่องที่จำเป็ นอื่น ๆ ในการดำเนิน
คดีแบบกลุ่ม
ข้อกำหนดนัน
้ เมื่อได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมใหญ่ศาล
ฎีกาและประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
 
มาตรา ๒๒๒/๓[๑๗๙]  ศาลตามพระธรรมนูญศาลยุต ิธรรมที่มี
อำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งเว้นแต่ศาลแขวง มี อำนาจในการดำเนิน
คดีแบบกลุ่ม
 
มาตรา ๒๒๒/๔[๑๘๐]  กระบวนพิจารณาส่ว นใดที่มิไ ด้บ ัญ ญัต ิ
ไว้ใ นหมวดนีโ้ ดยเฉพาะ ให้ นำ บทบัญ ญัต ิใ นภาค ๑ บททั่ว ไป และ
บทบัญ ญัต ิใ นคดีส ามัญ มาใช้บ ัง คับ โดยอนุโ ลมเท่า ที่ไ ม่ข ัด หรือ แย้ง กับ
บทบัญญัติในหมวดนี ้
ในกรณีท ี่ม ีก ารร้อ งขอให้ดำ เนิน คดีแ บบกลุ่ม ในคดีซ ึ่ง มี
กฎหมายกำหนดวิธีพ ิจารณาความไว้เ ป็ นการเฉพาะ ให้ศ าลในคดีนน
ั ้ มี
อำนาจสั่ง ให้ดำ เนินคดีแ บบกลุ่มและนำวิธีพ ิจารณาตามบทบัญ ญัต ิแ ห่ง
หมวดนีม
้ าใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๒๒๒/๕[๑๘๑]  ให้มีเจ้าพนักงานคดีแ บบกลุ่มทำหน้า ที่
ช่วยเหลือศาลในการดำเนินคดีแบบกลุ่มตามที่ศาลมอบหมาย ดังต่อไปนี ้
(๑) ไกล่เกลี่ยคดีแบบกลุ่ม
(๒) ตรวจสอบและรวบรวมพยานหลักฐาน
(๓) บันทึกคำพยาน
(๔) ดำเนินการให้มีการคุ้มครองสิทธิของคูค
่ วามและสมาชิก
กลุ่มทัง้ ก่อนและระหว่างการพิจารณา
(๕) ปฏิบต
ั ห
ิ น้า ทีอ
่ ่น
ื ตามบทบัญ ญัตแ
ิ ห่ง หมวดนีห
้ รือ ตามข้อ
กำหนดของประธานศาลฎีกาในการทำหน้าที่ช่วยเหลือนัน

ในการปฏิบ ัต ิห น้า ที่ต ามบทบัญ ญัต ิแ ห่ง หมวดนี ้ ให้เ จ้า
พนักงานคดีแ บบกลุ่มเป็ นเจ้า พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาและ
ให้ม ีอำ นาจมีห นัง สือ เรีย กบุค คลใดบุค คลหนึ่ง มาให้ข ้อ มูล หรือ ให้จ ัด ส่ง
เอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามอำนาจหน้าที่
หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานคดีแ บบ
กลุ่มให้เป็ นไปตามที่กำหนดไว้ในข้อกำหนดของประธานศาลฎีกา
ในกรณีท ี่ก ฎหมายวิธ ีพ ิจ ารณ าค วามใดบ ัญ ญ ัต ิใ ห้ม ีเ จ้า
พนักงานคดีทำหน้าที่ช่วยเหลือศาลในการดำเนินคดีไว้เป็ นการเฉพาะ ให้
เจ้า พนัก งานคดีดัง กล่า วนอกจากมีห น้า ที่ต ามกฎหมายนัน
้ แล้ว มีห น้า ที่
ตามบทบัญญัติแห่งหมวดนีด
้ ้วย
 
มาตรา ๒๒๒/๖[๑๘๒]  ผู้ที่จะได้รับ แต่งตัง้ เป็ นเจ้า พนักงานคดี
แบบกลุ่ม ต้องมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี ้
(๑) สำ เร็จ การศึก ษาระดับ ปริญ ญาโททางกฎหมายหรือ
ปริญญาเอกทางกฎหมาย
(๒) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางกฎหมาย เป็ นสามัญ
สมาชิกแห่งเนติบัณฑิตยสภาและได้ประกอบวิชาชีพทางกฎหมายตามที่
คณะกรรมการข้า ราชการศาลยุต ิธ รรมตามกฎหมายว่า ด้ว ยระเบีย บ
บริหารราชการศาลยุติธรรมกำหนดเป็ นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี
(๓) สำ เร็จ การศึก ษาระดับ ปริญ ญาตรีท างกฎหมายและ
ปริญ ญาในสาขาวิช าอื่น ที่ค ณะกรรมการข้า ราชการศาลยุต ิธ รรมตาม
กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรมกำหนดซึ่งไม่ต่ำกว่า
ปริญ ญาตรีและได้ประกอบวิช าชีพตามที่ค ณะกรรมการข้า ราชการศาล
ยุติธรรมตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรมกำหนด
เป็ นเวลาไม่น้อยกว่าสี่ปี
ให้เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมมีอำ นาจพิจารณาแต่งตัง้
บุคคลซึ่งมีคุณสมบัติตามวรรคหนึง่ เป็ นเจ้าพนักงานคดีแบบกลุม
่   ทัง้ นี ้ ตาม
ระเบีย บทีค
่ ณะกรรมการข้า ราชการศาลยุต ิธ รรมตามกฎหมายว่า ด้ว ย
ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรมกำหนด
 
มาตรา ๒๒๒/๗ [๑ ๘ ๓ ]  ในกรณีทก
่ี ารฟ้ องคดีแ บบกลุม
่ ตาม
บทบัญญัตแ
ิ ห่งหมวดนีเ้ ป็ นคดีแพ่ง เกี่ยวเนื่องกับคดีอ าญา แม้ว่าจะมีการ
ฟ้ องเป็ นคดีอาญาแล้วก็ตาม ศาลที่พิจารณาคดีแบบกลุ่มอาจพิจารณาคดี
ต่อไปโดยไม่ต้องรอให้ศาลคดีอาญามี คำ พิพากษาก่อน และหากศาลใน
คดีอาญาได้มีคำ พิพากษาแล้ว
(๑) ในกรณีที่คำพิพากษาคดีส่วนอาญานัน
้ ได้วินิจฉัยว่า จำเลย
ได้กระทำความผิด ศาลทีพ
่ ิจารณาคดีแบบกลุ่มต้องถือข้อเท็จจริงตามที่
ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญา
(๒) ในกรณีที่คำพิพากษาคดีส่วนอาญานัน
้ ได้วินิจฉัยเป็ นอย่าง
อื่น ศาลที่พิจารณาคดีแบบกลุ่มไม่จำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคำ
พิพากษาคดีส่วนอาญา
 
ส่วนที่ ๒
การขออนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่ม
                  
 
มาตรา ๒๒๒/๘[๑๘๔]  คดีที่มีสมาชิกกลุ่มจำนวนมากดังต่อไปนี ้
โจทก์ซึ่งเป็ นสมาชิกกลุ่มอาจร้องขอให้ดำเนินคดีแบบกลุ่มได้
(๑) คดีละเมิด
(๒) คดีผิดสัญญา
(๓) คดีเรียกร้องสิทธิตามกฎหมายต่าง ๆ เช่น กฎหมายเกี่ยว
ก ับ ส ิ่ง แ ว ด ล ้อ ม ก า ร ค ุ้ม ค ร อ ง ผ บ
ู้ ร ิโ ภ ค แ ร ง ง า น ห ล ก
ั ท ร ัพ ย ์แ ล ะ
ตลาดหลักทรัพย์ การแข่งขันทางการค้า
 
มาตรา ๒๒๒/๙[๑๘๕]  ในการร้องขอให้ดำ เนินคดีแบบกลุ่ม ให้
โจทก์ย่ น
ื คำร้องต่อศาลพร้อมกับ คำฟ้ องเริ่มคดีเพื่อขอให้ดำ เนินคดีแ บบ
กลุ่มได้ตามบทบัญญัติแห่งหมวดนี ้
คำ ร้อ งขอให้ดำ เนิน คดีแ บบกลุ่ม ตามวรรคหนึ่ง โจทก์ต ้อ ง
แสดงเหตุตามสมควรที่ศาลจะอนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่ม
 
มาตรา ๒๒๒/๑๐ [๑๘๖]  คำฟ้ องของโจทก์ต ้อ งทำเป็ นหนัง สือ
และแสดงโดยแจ้ง ชัด ซึ่ง สภาพแห่ง ข้อ หาคำขอบัง คับ รวมทัง้ ข้อ อ้า งที่
อาศัยเป็ นหลักแห่งข้อหาของโจทก์และของกลุ่มบุคคลที่มีลักษณะเดียว
กับโจทก์ด้วย และในกรณีที่โจทก์มีคำขอบังคับให้จำเลยชำระหนีเ้ ป็ นเงิน
คำขอบังคับของกลุม
่ บุคคลต้องระบุหลักการและวิธก
ี ารคำนวณเพื่อชำระ
เงินให้แก่สมาชิกกลุม
่ เท่าทีจ
่ ะระบุได้ แต่ไม่จำ เป็ นต้องแสดงจำนวนเงินที่
สมาชิกกลุ่มแต่ละรายจะได้รับด้วย
ในการดำเนินคดีแบบกลุ่ม ให้โจทก์ผู้เริ่มคดีเสียค่าขึน
้ ศาลตาม
คำขอบังคับเฉพาะในส่วนของโจทก์ผู้เริ่มคดีเท่านัน

 
มาตรา ๒๒๒/๑๑[๑๘๗]  ในกรณีทโ่ี จทก์ย่ น
ื คำร้องขอให้ดำเนินคดี
แบบกลุม
่ หากศาลเห็นว่าคำฟ้ องของโจทก์ไม่มีข ้อขัดข้องที่จะรับไว้ต าม
มาตรา ๑๘ หรือมีข้อขัดข้องแต่โจทก์ได้แก้ไขให้ถ ูกต้องแล้ว  ก่อนที่ศาล
จะมีคำ สั่ง รับ คำ ฟ้ อง ให้ศ าลพิจ ารณาคำ ร้อ งของโจทก์ต ามมาตรา
๒๒๒/๑๒ แล้วมีคำสั่งอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่มโดยไม่
ชักช้า
 
มาตรา ๒๒๒/๑๒ [๑๘๘ ]  ในการพิจารณาคำร้องขออนุญาตให้
ดำเนินคดีแ บบกลุ่ม ให้ศ าลจัดส่งสำเนาคำฟ้ องและคำร้องเช่นว่านัน
้ ไป
ให้จำ เลย เมื่อ ศาลได้ฟั งคู่ค วามทุก ฝ่ ายและทำ การไต่ส วนตามที่เ ห็น
สมควรแล้ว ศาลจะอนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่มได้ต่อเมื่อเป็ นที่พอใจแก่
ศาลว่า
(๑) สภาพแห่งข้อหา คำขอบังคับ และข้ออ้างที่อาศัยเป็ นหลัก
แห่ง ข้อ หาของโจทก์แ ละของกลุ่ม บุค คล มีล ัก ษณะตามที่กำ หนดไว้ใ น
มาตรา ๒๒๒/๑๐
(๒) โจทก์ไ ด้แ สดงให้เ ห็น ถึง ลัก ษณะเฉพาะที่เ หมือ นกัน ของ
กลุ่มบุคคลที่ชัดเจนเพียงพอเพื่อให้ร้ไู ด้ว่าเป็ นกลุ่มบุคคลใด
(๓) กลุ่ม บุค คลมีส มาชิก กลุ่ม จำนวนมาก ซึง่ การดำเนิน คดี
อย่างคดีสามัญจะทำให้เกิดความยุ่งยากและไม่สะดวก
(๔) การดำเนินคดีแบบกลุ่มจะเป็ นธรรมและมีประสิทธิภาพ
มากกว่าการดำเนินคดีอย่างคดีสามัญ
(๕) โจทก์ได้แสดงให้เห็นว่าโจทก์เป็ นสมาชิกกลุม
่ ทีม
่ ค
ี ณ
ุ สมบัติ
ส่วนได้เ สีย รวมตลอดทัง้ การได้ม าซึ่ง สิท ธิก ารเป็ นสมาชิก กลุ่ม ตามข้อ
กำหนดของประธานศาลฎีกา ถ้ามี และโจทก์รวมทัง้ ทนายความที่โจทก์
เสนอให้เป็ นทนายความของกลุ่มสามารถดำเนินคดีคุ้มครองสิทธิของกลุ่ม
บุคคลได้อย่างเพียงพอและเป็ นธรรม
คำ สั่ง ศาลที่อ นุญ าตให้ดำ เนิน คดีแ บบกลุ่ม ศาลอาจจำ กัด
ขอบเขตของกลุ่มบุคคลให้ชัดเจนเพียงพอเพื่อให้ร้ว
ู ่าเป็ นกลุ่มบุคคลใดก็ได้
คำ สัง่ อนุญ าตหรือ ไม่อ นุญ าตให้ดำ เนิน คดีแ บบกลุ่ม อาจ
อุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์ภายในกำหนดเวลาเจ็ดวันนับแต่วันที่ศาลมีคำ
สั่ง และให้ง ดการพิจ ารณาไว้จ นกว่า คำสั่ง นัน
้ จะถึง ที่ส ุด   ทัง้ นี ้ ให้ศ าล
อุทธรณ์วินิจฉัยชีข
้ าดโดยเร็ว คำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ให้เป็ นที่สุด
ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งอนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่ม ให้ศาลสัง่
รับคำฟ้ องไว้พิจารณาเมื่อได้สง่ หมายเรียกให้จำ เลยแล้ว ให้จำ เลยทำคำ
ให้ก ารเป็ นหนังสือยื่น ต่อศาลภายในหนึ่ง เดือ นและให้ถ ือ ว่า ทนายความ
ของโจทก์เป็ นทนายความของกลุ่มด้วย
ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งไม่อนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่ม ให้ศาล
ดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปอย่างคดีสามัญ
 
มาตรา ๒๒๒/๑๓[๑๘๙]  ในกรณีที่มีการยื่น คำร้องขอให้ดำ เนิน
คดีแบบกลุ่มเกี่ยวกับสิทธิอย่างเดียวกันหลายรายในศาลเดียวกันหรือต่าง
ศาลกัน ให้ศาลรวมการพิจารณาคำร้องขอเหล่านัน
้ เข้าด้วยกัน และมี คำ
สั่ง ให้ผ ู้ร ้อ งรายหนึ่ง รายใดเป็ นโจทก์ใ นการดำเนิน คดีแ บบกลุ่ม   ทัง้ นี ้
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในข้อ กำหนดของประธานศาลฎีกา
ตามมาตรา ๒๒๒/๒ คำสั่ง ของศาลตามมาตรานีใ้ ห้เ ป็ นที่ส ุด เว้น แต่จ ะ
เป็ นกรณีตามมาตรา ๒๒๒/๑๒ วรรคสาม
 
ส่วนที่ ๓
การพิจารณาคดีแบบกลุ่ม
                  
 
มาตรา ๒๒๒/๑๔ [๑๙๐ ]  เมื่อ คำสั่ง อนุญ าตให้ดำ เนิน คดีแ บบ
กลุ่มถึงที่สุดแล้ว ให้ศาลสั่ง ให้โจทก์นำเงินค่าใช้จา่ ยในการดำเนินคดีแบบ
กลุม
่ มาวางต่อศาลตามจำนวนทีเ่ ห็นสมควรภายในเจ็ดวัน นับแต่วันที่ศาลมี
คำสั่ง ในกรณีที่โจทก์เพิกเฉยไม่ดำ เนินการตามคำสัง่ ดังกล่าวและไม่แจ้ง
ให้ศ าลทราบเหตุแ ห่ง การเพิก เฉยเช่น ว่า นัน
้ ให้ศ าลมี คำ สัง่ ยกเลิก การ
ดำเนินคดีแบบกลุ่มและให้ดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปอย่างคดีสามัญ
หากต่อ มาปรากฏว่า ค่า ใช้จ ่า ยที่ว างไว้ม ีจำ นวนไม่เ พีย งพอ
ศาลจะสั่ง ให้ม ีก ารวางเงิน ค่า ใช้จ ่า ยดัง กล่า วเพิ่ม เติม ตามจำนวนที่เ ห็น
สมควรก็ได้ ในกรณีที่โจทก์เพิกเฉยไม่ดำเนินการตามคำสัง่ ดังกล่าวและไม่
แจ้งให้ศาลทราบเหตุแห่งการเพิกเฉยเช่นว่านัน
้ ให้ถือว่าโจทก์ทงิ ้ ฟ้ อง
 
มาตรา ๒๒๒/๑๕[๑๙๑]  ให้ศาลส่งคำบอกกล่าวคำสั่งอนุญาตให้
ดำ เนิน คดีแ บบกล ุ่ม ให้ส มาชิก กล ุ่ม เท่า ที่ท ราบ และประกาศทาง
หนัง สือ พิม พ์ร ายวัน ที่แ พร่ห ลายเป็ นเวลาสามวัน ติด ต่อ กัน รวมทัง้ ทาง
สื่อมวลชนอื่นหรือวิธีการอื่นใดเพิ่มเติมตามที่เห็นสมควร
คำบอกกล่าวและประกาศอย่างน้อยต้องมีรายการดังต่อไปนี ้
(๑) ชื่อศาลและเลขคดี
(๒) ชื่อและที่อยู่ของคู่ความและทนายความฝ่ ายโจทก์
(๓) ข้อความโดยย่อของคำฟ้ องและลักษณะของกลุ่มบุคคลที่
ชัดเจน
(๔) ข้อ ความที่แ สดงว่า ศาลอนุญ าตให้ดำ เนิน คดีแ บบกลุ่ม
และวันเดือนปี ที่ศาลมีคำสั่ง
(๕) สิทธิข องสมาชิก กลุ่มตามมาตรา ๒๒๒/๑๖ และมาตรา
๒๒๒/๑๗
(๖) กำหนดวันเพื่อให้สมาชิกกลุ่มแจ้งความประสงค์ออกจาก
การเป็ นสมาชิกกลุ่ม  ทัง้ นี ้ ตามที่ศาลเห็นสมควรแต่ต้องไม่น้อยกว่าสี่สิบ
ห้าวัน
(๗) ผลของการออกจากการเป็ นสมาชิกกลุ่ม
(๘) ผลของคำพิพากษาที่จะผูกพันสมาชิกกลุ่ม
(๙) ชื่อ และตำ แหน่ง ผู้พ พ
ิ ากษาผู้อ อกคำ บอกกล่า วและ
ประกาศ
 
มาตรา ๒๒๒/๑๖ [๑๙๒ ]  สมาชิก กลุ่ม มีส ิท ธิอ อกจากการเป็ น
สมาชิกกลุ่มได้โดยแจ้งความประสงค์เป็ นหนังสือยื่นต่อศาลภายในระยะ
เวลาที่ศาลกำหนดตามมาตรา ๒๒๒/๑๕ (๖) และให้ถือว่าสมาชิกกลุ่มดัง
กล่าวไม่เป็ นสมาชิกกลุ่มนับแต่วันที่ได้แจ้งความประสงค์นน
ั ้ ต่อศาล
เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง สมาชิกกลุ่มจะออก
จากการเป็ นสมาชิกกลุ่มไม่ได้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากศาล และคำสั่ง
ของศาลให้เป็ นที่สุด
บุคคลที่ออกจากการเป็ นสมาชิกกลุ่มแล้ว จะร้องขอกลับเข้า
มาเป็ นสมาชิกกลุ่มอีกไม่ได้
สมาชิกกลุ่มและบุคคลที่ออกจากการเป็ นสมาชิกกลุ่มจะร้อง
สอดเข้า มาเป็ นโจทก์ร ่วมในการดำเนิน คดีแ บบกลุ่มโดยอาศัย สิท ธิต าม
มาตรา ๕๗ ไม่ได้
 
มาตรา ๒๒๒/๑๗ [๑๙๓]  สมาชิก กลุ่ม ที่ไ ม่ไ ด้อ อกจากการเป็ น
สมาชิกกลุ่มตามมาตรา ๒๒๒/๑๖ ย่อมมีสิทธิดังต่อไปนี ้
(๑) เข้าฟั งการพิจารณาคดี
(๒) ร้องขอให้ศาลสั่งแสดงว่าโจทก์มิได้มีคุณสมบัติ ส่วนได้เสีย
รวมตลอดทัง้ การได้ม าซึ่ง สิท ธิก ารเป็ นสมาชิก กลุ่ม ตามที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ น
มาตรา ๒๒๒/๑๒ (๕)
(๓) ขอตรวจเอกสารทัง้ หมดหรือบางส่วนในสำนวนความหรือ
ขอคัดสำเนาเอกสารเหล่านัน

(๔) จัดหาทนายความคนใหม่มาดำเนิน คดีแ ทนทนายความ
ของกลุ่มตามมาตรา ๒๒๒/๑๙ วรรคสอง
(๕) ร้องขอเข้าแทนที่โ จทก์โ ดยอาศัย สิท ธิต ามบทบัญ ญัต ิใ น
ส่วนนี ้
(๖) คัดค้านการร้องขอเข้าแทนทีโ่ จทก์ตามมาตรา ๒๒๒/๒๕
การทีโ่ จทก์ขอถอนฟ้ องตามมาตรา ๒๒๒/๒๘ การที่มีการตกลงกัน หรือ
ประนีป ระนอมยอมความกัน ในประเด็น แห่ง คดีต ามมาตรา ๒๒๒/๒๙
และการที่คู่ความตกลงกันเสนอข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการเป็ นผู้ชข
ี ้ าด
ตามมาตรา ๒๒๒/๓๐
(๗) ตรวจและโต้แย้งคำขอรับชำระหนีต
้ ามมาตรา ๒๒๒/๔๐
สมาชิก กลุ่ม จะแต่ง ตัง้ ทนายความเพื่อ ดำเนิน การตามวรรค
หนึ่งก็ได้
 
มาตรา ๒๒๒/๑๘ [๑๙๔]  ห้า มมิให้ส มาชิก กลุ่มที่ไ ม่ไ ด้อ อกจาก
การเป็ นสมาชิกกลุ่มตามมาตรา ๒๒๒/๑๖ ยื่นฟ้ องจำเลยในเรื่องเดียวกัน
กับที่โจทก์ได้ย่ น
ื ฟ้ อง
ในกรณีที่สมาชิกกลุ่มที่ไ ม่ไ ด้อ อกจากการเป็ นสมาชิก กลุ่มได้
ยื่นฟ้ องคดีไว้ก่อนสิน
้ กำหนดระยะเวลาของการออกจากสมาชิกกลุ่ม ให้
ศาลที่ได้รับฟ้ องไว้นน
ั ้ มีคำสั่งจำหน่ายคดีออกจากสารบบความ
 
มาตรา ๒๒๒/๑๙[๑๙๕]  ในกรณีที่การดำเนินคดีแบบกลุ่มจะไม่
คุ้มครองหรือเป็ นประโยชน์ต่อสมาชิกกลุ่มอย่างเพียงพอ หรือไม่มีความ
จำเป็ นที่จ ะดำเนิน คดีแ บบกลุ่ม อีก ต่อ ไป เมื่ อ ความปรากฏต่อ ศาลเอง
หรือ ตามคำ แถลงของคูค
่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง ให้ศ าลมีอำ นาจที่จ ะสั่ง
ยกเลิกการดำเนินคดีแบบกลุ่มและดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปอย่างคดี
สามัญ โดยให้ถือว่ากระบวนพิจารณาที่ได้กระทำไปแล้วมีผ ลผูกพัน การ
ดำเนินคดีสามัญของโจทก์และจำเลยต่อไปด้วย
ห า ก ค ว า ม ป ร า ก ฏ ต ่อ ศ า ล ใ น ร ะ ห ว ่า ง ก า ร พ ิจ า ร ณ า ว ่า
ทนายความฝ่ ายโจทก์ไม่สามารถดำเนินคดีคุ้มครองสิทธิของกลุ่มบุคคลได้
อย่างเพียงพอและเป็ นธรรม หรือทนายความฝ่ ายโจทก์ขอถอนตัวจากการ
ดำ เนิน คดีแ บบกลุ่ม ศาลอาจมีคำ สั่ง ให้โ จทก์แ ละสมาชิก กลุ่ม จัด หา
ทนายความคนใหม่มาดำเนินคดีแทนภายในระยะเวลาที่ศาลกำหนด หาก
โจทก์และสมาชิกกลุ่มเพิกเฉยไม่ดำ เนินการดังกล่าว ให้นำ ความในวรรค
หนึ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม
คำสัง่ ของศาลตามมาตรานีใ้ ห้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๒๒๒/๒๐[๑๙๖]  เมื่อศาลได้มีคำสั่งอนุญาตให้ดำเนินคดี
แบบกลุ่มและจำเลยได้ย่ น
ื คำให้การแล้ว ให้ศาลกำหนดวันนัดพร้อมโดย
สั่งให้คู่ความทุกฝ่ ายมาศาลเพื่อดำเนินการดังนี ้
(๑) ไกล่เกลี่ยหรือนำวิธีอนุญาโตตุลาการมาใช้เพื่อให้คดีเสร็จ
ไปทัง้ หมดหรือบางส่วน
(๒) ให้คู่ความนำต้นฉบับพยานเอกสารหรือพยานวัตถุทงั ้ หมด
ที่ประสงค์จะอ้างอิง และอยู่ในความครอบครองของตนที่ส ามารถนำมา
ศาลได้มาแสดงต่อศาล เพื่อให้ศาลและคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งตรวจดู
ถ้าพยานหลักฐานดังกล่าวอยู่ในความครอบครองของคู่ความ
ฝ่ ายอื่นหรือของบุคคลภายนอก คู่ความฝ่ ายที่ประสงค์จะอ้างอิง ต้อ งขอ
ให้ศาลมีคำ สั่งเรียกพยานหลักฐานนัน
้ มาจากผู้ครอบครอง โดยยื่นคำขอ
ต่อ ศาลพร้อมกับ การยื่น บัญ ชีระบุพ ยานเพื่อ ให้ไ ด้พ ยานหลัก ฐานนัน
้ มา
ก่อนวันนัดพร้อม
ในกรณีที่มีเหตุขัดข้องทำให้คู่ความไม่สามารถนำพยานหลัก
ฐานที่อยู่ในความครอบครองของตนมาหรือยังไม่ได้มาซึ่งพยานหลักฐานที่
ศาลออกคำสั่ง เรีย กจากคู่ค วามฝ่ ายอื่น หรือ บุค คลภายนอก หรือ มีเ หตุ
จำเป็ นอื่นใด ถ้าศาลเห็นสมควร ก็ให้ศาลเลื่อนวันนัดพร้อมออกไปตามที่
เห็นสมควร
หากคู่ความฝ่ ายใดจงใจไม่ดำ เนินการดังกล่าวในวันนัดพร้อม
หรือ วัน อื่น ที่ศ าลได้เ ลื่อ นไป คู่ค วามฝ่ ายนัน
้ ไม่ม ีส ิท ธิท ี่จ ะนำพยานหลัก
ฐานดังกล่าวมาสืบในภายหลัง แต่ถ้าศาลเห็นว่าเพื่อประโยชน์แห่งความ
ยุติธรรมจำเป็ นจะต้องสืบพยานหลักฐานอันสำคัญซึ่งเกี่ยวกับประเด็นข้อ
สำคัญในคดีโดยฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติแห่งอนุมาตรานี ้ ให้ศาลมี อำ นาจรับ
ฟั งพยานหลักฐานเช่นว่านัน
้ ได้
(๓) ให้ศาลตรวจคำคู่ความและคำแถลงของคู่ความแล้วนำข้อ
อ้า ง ข้อ เถียง ที่ป รากฏในคำคูค
่ วามและคำแถลงของคู่ค วามเทียบกัน ดู
และสอบถามคูค
่ วามทุกฝ่ ายถึงข้ออ้าง ข้อเถียง และพยานหลักฐานที่ย่ น

ต่อศาล ว่าฝ่ ายใดยอมรับหรือโต้แย้งข้ออ้าง ข้อเถียง นัน
้ อย่างไร ข้อเท็จ
จริงใดที่คู่ความยอมรับกันก็เป็ นอันยุติไปตามนัน
้ ส่วนข้อกฎหมายหรือข้อ
เท็จจริงที่คู่ความฝ่ ายหนึ่งยกขึน
้ อ้างแต่คู่ความฝ่ ายอื่นไม่รับและเกี่ยวเนื่อง
โดยตรงกับประเด็นข้อพิพาทตามคำคู่ความ ให้ศาลกำหนดไว้เป็ นประเด็น
ข้อพิพาทและกำหนดให้คู่ความฝ่ ายใดนำพยานหลักฐานมาสืบในประเด็น
ข้อใดก่อนหรือหลังก็ได้
ในการสอบถามคู่ค วามดัง กล่า ว คูค
่ วามแต่ล ะฝ่ ายต้อ งตอบ
คำถามที่ศาลถามเอง หรือถามตามคำขอของคูค
่ วามฝ่ ายอื่น เกี่ยวกับข้อ
เท็จจริงที่คู่ความฝ่ ายอื่นยกเป็ นข้ออ้าง ข้อเถียง และพยานหลักฐานต่าง ๆ
ที่คู่ความได้ย่ น
ื ต่อศาล ถ้าคู่ความฝ่ ายใดไม่ตอบคำถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริง
ใด หรือปฏิเ สธข้อเท็จจริงใดโดยไม่มีเหตุแ ห่ง การปฏิเ สธโดยชัด แจ้ง ให้
ถือว่ายอมรับข้อเท็จจริงนัน
้ แล้ว เว้นแต่ศาลจะเห็นว่าคู่ความฝ่ ายนัน
้ ไม่อยู่
ในวิสัยที่จะตอบหรือแสดงเหตุแห่ง การปฏิเ สธโดยชัด แจ้ง ได้ในขณะนัน

และเป็ นข้อเท็จจริงที่จำเป็ นต่อการกำหนดประเด็นข้อพิพาท ศาลจะมีคำ
สั่งให้เลื่อนวันนัดพร้อมเฉพาะส่วนที่ยังไม่เสร็จสิน
้ ออกไป และให้ค ู่ความ
ฝ่ ายนัน
้ ทำคำแถลงเกี่ยวกับข้อเท็จจริงนัน
้ มายื่นต่อศาลภายในเวลาที่ศาล
เห็นสมควรก็ได้
(๔) กำหนดระยะเวลาทัง้ หมดในการดำเนินคดีแบบกลุ่ม
(๕) กำหนดวัน เวลา วิธ ีก าร และขัน
้ ตอนในการดำเนิน คดี
แบบกลุ่มที่จำเป็ น เช่น จำนวนและรายละเอียดเกี่ยวกับพยานที่จะนำมา
เบิก ความ บัน ทึก ถ้อ ยคำ แทนการสืบ พยานบุค คล พยานผู้เ ชี่ย วชาญ
พยานเอกสาร และพยานหลักฐานที่ต้องการให้ศาลเรียกจากคู่ความอีก
ฝ่ ายหนึ่งหรือบุคคลภายนอก รวมทัง้ การพิส ูจน์ทางวิทยาศาสตร์ การเดิน
เผชิญสืบ และการส่งประเด็นไปสืบยังศาลอื่น
ในกรณีที่คค
ู่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งไม่มาศาลในวันนัดพร้อมหรือ
วันอื่นที่ศาลได้เลื่อนไป ให้ศาลดำเนินการตามมาตรานีโ้ ดยให้ถือว่าคู่ความ
ที่ไม่มาศาลได้ทราบการดำเนินการในวันนัน
้ แล้ว และคูค
่ วามที่ไม่มาศาล
ไม่ม ีส ิท ธิข อเลื่อ นกำหนดนัด หรือ คัด ค้า นประเด็น ข้อ พิพ าทและหน้า ที่
นำสืบที่ศาลกำหนด เว้นแต่เป็ นกรณีที่ไม่สามารถมาศาลได้ในวันนัดพร้อม
หรือวันอื่นที่ศาลได้เลื่อนไปเพราะเหตุจำเป็ นอันไม่อาจก้าวล่วงเสียได้หรือ
เป็ นการคัด ค้า นประเด็น ข้อ พิพ าทเกี่ย วกับ ความสงบเรีย บร้อ ยของ
ประชาชน
เมื่อ ศาลได้ดำ เนิน การตามมาตรานีเ้ สร็จ สิน
้ แล้ว ให้ศ าล
กำหนดวันสืบพยานซึง่ มีระยะเวลาไม่น้อยกว่าสิบวันนับแต่วันนัดพร้อมวัน
สุดท้าย
ให้ถือว่าวันนัดพร้อมวันแรกตามมาตรานีเ้ ป็ นวันชีส
้ องสถาน
ตามประมวลกฎหมายนี ้
 
ม า ต ร า ๒ ๒ ๒ /๒ ๑ [๑ ๙ ๗ ]  ก ่อ น ว ัน น ัด พ ร ้อ ม ต า ม ม า ต ร า
๒๒๒/๒๐ ไม่น ้อ ยกว่า สิบ ห้า วัน ให้ ค ค
ู่ วามยื่น บัญ ชีร ะบุพ ยานต่อ ศาล
พร้อ มสำ เนาในจำ นวนที่เ พีย งพอเพื่อ ให้ค ค
ู่ วามฝ่ ายอื่น รับ ไปจากเจ้า
พนักงานศาลและถ้าคู่ความฝ่ ายใดมีความจำนงจะยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่ม
เติม ให้ย่ น
ื ต่อศาลก่อนกระบวนพิจารณาที่ต้องกระทำในวันนัดพร้อมเสร็จ
สิน

การยื่น บัญ ชีร ะบุพ ยานเพิ่ม เติม เมื่อ ล่ว งพ้น ระยะเวลาตาม
วรรคหนึ่ง จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับอนุญ าตจากศาลเมื่อ ผู้ร้อ งขอแสดง
เหตุอ ัน สมควรว่า ไม่ส ามารถทราบถึง พยานหลัก ฐานนัน
้ หรือ เป็ นกรณี
จำเป็ นเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม หรือเพื่อให้โอกาสแก่ค ู่ความใน
การต่อสู้คดีอย่างเต็มที่
 
มาตรา ๒๒๒/๒๒ [๑๙๘]  ในกรณีท ี่จำ เลยขาดนัด ยื่น คำให้ก าร
หรือ ขาดนัดพิจารณาศาลจะมีคำ พิพ ากษาหรือ คำสัง่ ชีข
้ าดให้โ จทก์เ ป็ น
ฝ่ ายชนะคดีโดยจำเลยขาดนัดยื่น คำให้การหรือขาดนัดพิจารณามิได้ ให้
ศาลสืบ พยานหลัก ฐานโจทก์ไ ปฝ่ ายเดียว และศาลอาจเรียกพยานหลัก
ฐานอื่นมาสืบได้เองตามที่เห็นว่าจำเป็ นเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
ถ้า โจทก์ไ ม่นำ พยานหลัก ฐานมาสืบ ตามความในวรรคหนึ่ง
ภายในระยะเวลาที่ศ าลกำหนด หรือ ในกรณีท ี่ค ู่ค วามทัง้ สองฝ่ ายหรือ
โจทก์ขาดนัดพิจารณา ให้บังคับตามบทบัญญัติมาตรา ๒๒๒/๒๕
นอกจากที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นวรรค หนึ่ง แ ละวรรคส อง ให ้ นำ
บทบัญญัติว่าด้วยการพิจารณาโดยขาดนัดมาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๒๒๒/๒๓ [๑ ๙ ๙ ]  ในการพิจ ารณาพิพ ากษาคดี เพื่อ
ประโยชน์แห่งความยุติธรรมให้ศาลมีอำนาจแสวงหาข้อเท็จจริงเพิ่มเติมได้ 
 ในการนี ้ ศาลจะรับฟั งพยานบุคคล พยานเอกสาร หรือพยานหลักฐานอื่น
นอกเหนือจากพยานหลัก ฐานของคูค
่ วามก็ได้ แต่ต ้องให้ค ค
ู่ วามทุกฝ่ าย
ทราบและไม่ตัดสิทธิคู่ความในอันที่จะโต้แย้งพยานหลักฐานดังกล่าว
ศาลอาจขอให้ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญมาให้ความเห็นเพื่อ
ประกอบการพิจารณาพิพากษาคดีได้ แต่ต้องให้ค ค
ู่ วามทุกฝ่ ายทราบและ
ไม่ตัดสิทธิค ู่ความในอันที่จะขอให้เรียกผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญฝ่ าย
ตนมาให้ค วามเห็น โต้แย้งหรือเพิ่มเติมความเห็น ของผู้ทรงคุณ วุฒ ิห รือ ผู้
เชี่ยวชาญดังกล่าว
บุคคลที่ศาลขอให้มาตามวรรคหนึ่งและวรรคสองมีสิทธิได้รับ
ค่าป่ วยการ ค่าพาหนะเดินทาง ค่าเช่าที่พัก และการชดใช้ค่าใช้จ่ายที่ต้อง
เสียไป ตามข้อบัง คับของประธานศาลฎีกาโดยได้รับความเห็น ชอบของ
คณะกรรมการบริห ารศาลยุต ิธ รรม และไม่ถ ือ ว่า เงิน ที่ศ าลสั่ง จ่า ยตาม
วรรคนีเ้ ป็ นค่าฤชาธรรมเนียมในการดำเนินคดีแบบกลุ่มที่คค
ู่ วามจะต้อง
ชำระ
 
มาตรา ๒๒๒/๒๔ [๒๐๐]  ไม่ว่าการพิจารณาคดีจะได้ดำ เนิน ไป
แล้วเพียงใด ศาลอาจมีคำสั่งให้มีการแบ่งกลุ่มย่อยเนื่องจากมีลักษณะของ
ความเสียหายที่แตกต่างกันระหว่างบุคคลในกลุ่ม และในกรณีเช่นนีศ
้ าล
อาจสั่งให้มีการนำสืบถึงความเสียหายของกลุ่มย่อยให้ชัดเจนด้วยก็ได้ คำ
สั่งของศาลให้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๒๒๒/๒๕ [๒๐๑]  ในกรณีด ัง ต่อ ไปนี ้ ให้ศ าลกำหนดวัน
ตามที่เ ห็น สมควรแต่ต้อ งไม่น ้อ ยกว่า สี่ส ิบ ห้า วัน เพื่อ ให้ส มาชิก กลุ่ม ยื่น
คำขอเข้าแทนที่โ จทก์ รวมทัง้ กำหนดวัน ยื่น คำคัด ค้า น คำขอเข้าแทนที่
โจทก์วน
ั นัดไต่สวนคำขอเข้าแทนทีโ่ จทก์ และส่งคำบอกกล่าวให้สมาชิกกลุม

เท่าทีท
่ ราบ กับประกาศโดยใช้วิธีการตามที่เห็นสมควร
(๑) เมื่อ โจทก์ม ิไ ด้ม ีค ุณ สมบัต ิต ามที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นมาตรา
๒๒๒/๑๒ (๕)
(๒) เมื่อโจทก์มรณะหรือตกเป็ นผู้ไร้ความสามารถ
(๓) เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์โจทก์
(๔) เมื่อโจทก์ทงิ ้ ฟ้ อง
(๕) เมื่อคู่ความทัง้ สองฝ่ ายหรือโจทก์ขาดนัดพิจารณา
(๖ ) เ ม ่ อ
ื โ จ ท ก ์ไ ม ่นำ พ ย า น ห ล ัก ฐ า น ม า ส ืบ ต า ม ม า ต ร า
๒๒๒/๒๒
(๗) เมื่อ โจทก์ร ้อ งขอต่อ ศาลว่า ไม่ป ระสงค์ท ี่จ ะเป็ นโจทก์
ดำเนินคดีแทนกลุ่มอีกต่อไป
ในกรณีตาม (๒) นอกจากสมาชิกกลุ่มแล้ว บุคคลตามมาตรา
๔๒ หรือ มาตรา ๔๕ แล้ว แต่ก รณี อาจร้อ งขอเข้า แทนที่โ จทก์ไ ด้ด ้ว ย
โดยให้นำ มาตรา ๒๒๒/๒๖ และมาตรา ๒๒๒/๒๗ มาใช้บ ัง คับ โดย
อนุโลม
 
มาตรา ๒๒๒/๒๖[๒๐๒]  ในการพิจารณาอนุญาตให้สมาชิกกลุ่ม
คนใดเข้า แทนที่โ จทก์ต ้อ งเป็ นที่พ อใจแก่ศ าลว่า สมาชิก กลุ่ม คนนัน
้ มี
คุณสมบัติตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๒๒/๑๒ (๕)
ถ้าศาลอนุญาตให้สมาชิกกลุ่มเข้าแทนที่โจทก์ ให้โจทก์เดิมยัง
คงมีฐานะเป็ นสมาชิกกลุ่มคนหนึ่งและทนายความของโจทก์เดิมยังคงเป็ น
ทนายความของกลุ่มต่อไป ในกรณีตามมาตรา ๒๒๒ /๒๕ (๕) และ (๖) ให้
ศาลกำหนดวันสืบพยานใหม่โดยเร็ว ถ้าศาลไม่อนุญาตให้สมาชิกกลุ่มเข้า
แทนที่โจทก์หรือไม่มีการร้องขอเข้าแทนที่โจทก์ ให้ศาลมี คำสั่งยกเลิกการ
ดำเนินคดีแบบกลุ่มและให้ดำ เนินกระบวนพิจารณาต่อไปอย่างคดีสามัญ
โดยให้ถือว่ากระบวนพิจารณาที่ได้กระทำไปแล้วมีผลผูกพันการดำเนินคดี
สามัญของโจทก์ต่อไปด้วย
คำสัง่ ของศาลตามมาตรานีใ้ ห้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๒๒๒/๒๗[๒๐๓]  ห้ามมิให้สมาชิกกลุ่มที่เข้าแทนที่โจทก์
ตามมาตรา ๒๒๒/๒๕ ใช้สท
ิ ธิอย่างอื่นนอกจากสิทธิทม
่ี อ
ี ยูแ
่ ก่โจทก์ในชัน

พิจารณาเมื่อตนร้องขอเข้าแทนทีโ่ จทก์ และห้ามมิให้ ใช้สิทธิเช่นว่านัน
้ ใน
ทางที่ขัดกับสิทธิของโจทก์เดิม เว้นแต่เป็ นที่พอใจแก่ศาลตามคำร้องของ
สมาชิกกลุ่มที่เข้าแทนที่โจทก์ว่าการดำเนินกระบวนพิจารณาของโจทก์ที่
ได้ทำ ไปแล้วซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่ส มาชิก กลุ่มนัน
้ เกิด จากความ
จงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของโจทก์ ในกรณีเช่น ว่านี ้ เพื่อ
ประโยชน์แห่งความยุติธรรม ศาลอาจมีคำสั่งอย่างใด ๆ ตามที่เห็นสมควร
ก็ได้
 
มาตรา ๒๒๒/๒๘ [๒๐๔]  เมื่อ ศาลมีคำ สั่ง อนุญ าตให้ดำ เนิน คดี
แบบกลุ่มแล้วโจทก์จะถอนคำฟ้ องไม่ได้ เว้นแต่ศาลจะอนุญาต
ในกรณีท ี่จำ เลยยื่น คำให้ก ารแล้ว ห้า มไม่ใ ห้ศ าลอนุญ าตให้
ถอนฟ้ องโดยมิได้ฟังจำเลยก่อน
ในกรณีทไ่ี ด้มก
ี ารส่งคำบอกกล่าวกับประกาศให้สมาชิกกลุม
่ ตาม
มาตรา ๒๒๒/๑๕ แล้ว หากศาลจะมีคำ สั่งอนุญาตให้ถอนคำฟ้ อง ให้ศาล
กำหนดวันตามที่เห็นสมควรแต่ต้องไม่น้อยกว่า สี่สิบห้าวันเพื่อให้สมาชิก
กลุ่มคัดค้านโดยทำเป็ นหนังสือยื่นต่อศาล และสั่งให้โจทก์นำเงินค่าใช้จ่าย
มาวางศาล รวมทัง้ แจ้งเรื่องการถอนฟ้ องให้สมาชิกกลุ่มทราบตามวิธีการ
เช่นเดียวกับที่กำหนดไว้ในมาตรา ๒๒๒/๑๕ วรรคหนึ่ง
ในกรณีที่โจทก์เพิกเฉยไม่นำเงินค่าใช้จ่ายมาวางศาลตามวรรค
สามโดยไม่แจ้งให้ศาลทราบเหตุแห่งการเพิกเฉยเช่นว่านัน
้ ให้ศาลมี คำสัง่
ไม่อนุญาตให้ถอนคำฟ้ อง
 
มาตรา ๒๒๒/๒๙ [๒๐๕]  เมื่อ ศาลมีคำ สั่ง อนุญ าตให้ดำ เนิน คดี
แบบกลุ่มและพ้นระยะเวลาตามมาตรา ๒๒๒/๑๕ (๖) แล้ว ก่อนที่ศาลจะ
อนุญาตให้มีการตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันในประเด็นแห่ง
คดี ให้ศาลกำหนดวันตามที่เห็นสมควรแต่ต้องไม่น้อยกว่าสี่สิบห้าวันเพื่อ
ให้สมาชิกกลุ่มคัดค้านหรือแจ้งความประสงค์ออกจากการเป็ นสมาชิกกลุ่ม
โดยทำเป็ นหนังสือยื่นต่อศาล และสั่งให้โจทก์นำ เงินค่าใช้จ่ายมาวางศาล
เพื่อแจ้งเรื่องการตกลงกันหรือประนีประนอมยอม ความกันในประเด็นแห่ง
คดีใ ห้ส มาชิก กลุม
่ ทราบตามวิธ ก
ี ารเช่น เดีย วกับ ที่กำ หนดไว้ใ นมาตรา
๒๒๒/๑๕ วรรคหนึ่ง เมื่อ ศาลมีคำ สั่ง อนุญ าตให้ม ีก ารตกลงกัน หรือ
ประนีประนอมยอมความกันในประเด็นแห่งคดีแล้ว ให้ถือว่าสมาชิกกลุ่ม
รายที่แ จ้ง ความประสงค์อ อกจากการเป็ นสมาชิก กลุ่ม และมิไ ด้ข อถอน
ความประสงค์ดงั กล่าวก่อนศาลมีคำสั่งอนุญาต ไม่เป็ นสมาชิกกลุ่มนับแต่
วันที่ศาลมีคำสั่งอนุญาต
ในกรณีที่โจทก์เพิกเฉยไม่นำเงินค่าใช้จ่ายมาวางศาลตามวรรค
หนึ่งโดยไม่แจ้งให้ศาลทราบเหตุแห่งการเพิกเฉยเช่นว่านัน
้ ให้ศาลมี คำสั่ง
ไม่อนุญาตให้มีการตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันในประเด็น
แห่งคดี
 
มาตรา ๒๒๒/๓๐[๒๐๖]  เมื่อศาลมีคำสัง่ อนุญาตให้ดำเนินคดีแบบ
กลุม
่ และพ้น ระยะเวลาตามมาตรา ๒๒๒/๑๕ (๖) แล้ว ก่อ นที่ศ าลจะ
อนุญ าตให้ม ีก ารเสนอข้อ พิพ าทให้อ นุญ าโตตุล าการเป็ นผูช
้ ข
ี ้ าดตาม
บทบัญญัตแ
ิ ห่งประมวลกฎหมายนีว้ า่ ด้วยอนุญาโตตุลาการ ให้นำความใน
มาตรา ๒๒๒/๒๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๒๒๒/๓๑ [๒๐๗]  คำบอกกล่าวและประกาศตามมาตรา
๒๒๒/๒๘ มาตรา ๒๒๒/๒๙ และมาตรา ๒๒๒/๓๐ อย่า งน้อ ยต้อ งมี
รายการดังต่อไปนี ้
(๑) ชื่อศาลและเลขคดี
(๒) ชื่อและที่อยู่ของคู่ความ
(๓) ข้อความโดยย่อของคำฟ้ องและลักษณะของกลุ่มบุคคลที่
ชัดเจน
(๔) ข้อ ความโดยย่อ ของการดำ เนิน กระบวนพิจ ารณาที่ไ ด้
กระทำไปแล้วและเหตุที่ต้องมีคำบอกกล่าวและประกาศ
(๕) สิท ธิข องสมาชิก กลุ่ม และผลของคำสั่ง อนุญ าตของศาล
ตามมาตรา ๒๒๒/๒๘ มาตรา ๒๒๒/๒๙ หรือมาตรา ๒๒๒/๓๐ แล้วแต่
กรณี
(๖) ผลของการออกจากการเป็ นสมาชิก กลุ่ม ตามมาตรา
๒๒๒/๒๙ หรือมาตรา ๒๒๒/๓๐ แล้วแต่กรณี
(๗) ชื่อ และตำ แหน่ง ผู้พ พ
ิ ากษาผู้อ อกคำ บอกกล่า วและ
ประกาศ
 
มาตรา ๒๒๒/๓๒ [๒ ๐ ๘ ]  ในการพิจ ารณามีคำ สั่ง ตามมาตรา
๒๒๒/๒๘ มาตรา ๒๒๒/๒๙ หรือมาตรา ๒๒๒/๓๐ ให้ศาลคำนึงถึง
(๑) ความจำเป็ นในการดำเนินคดีแบบกลุ่มต่อไป
(๒) ความคุ้มครองหรือประโยชน์ของสมาชิกกลุ่ม
(๓) ความยุ่งยากหรือความสะดวกในการดำเนินคดีแบบกลุ่ม
ต่อไป
(๔) ความเป็ นธรรมและความมีประสิทธิภาพในการดำเนินคดี
แบบกลุ่มต่อไป
(๕) จำนวนของสมาชิกกลุ่มที่คัดค้าน
(๖) ความสามารถของจำเลยในการชดใช้ค่าเสียหายในกรณีมี
การตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันในประเด็นแห่งคดี
(๗) การตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันในประเด็น
แห่งคดีของคูค
่ วามมีความเป็ นธรรมและเป็ นประโยชน์กับสมาชิกกลุ่ม
 
มาตรา ๒๒๒/๓๓[๒๐๙]  ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งถึงที่สุดอนุญาตให้
ดำเนินคดีแบบกลุ่มให้อายุความในการฟ้ องคดีของสมาชิกกลุ่มสะดุดหยุด
ลงนับแต่วันที่โจทก์ย่ น
ื คำร้องขออนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่ม
ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งถึงที่สุดไม่อนุญาตให้ดำ เนินคดีแบบกลุ่ม
หากปรากฏว่าอายุความการฟ้ องคดีของสมาชิกกลุ่มครบกำหนดไปแล้วใน
ระหว่า งการพิจารณาคำร้องขออนุญ าตให้ดำ เนิน คดีแ บบกลุ่ม หรือ จะ
ครบกำหนดภายในกำหนดเวลาหกสิบวันนับแต่วันที่ศาลมี คำ สั่งถึงที่สุด
ให้ส มาชิก กลุ่ม มีส ิท ธิฟ้ องคดีเ พื่อ ตัง้ หลัก ฐานสิท ธิเ รีย กร้อ งหรือ เพื่อ ให้
ชำระหนีภ
้ ายในหกสิบวันนับแต่วันที่ศาลมีคำสั่งถึงที่สุด
 
มาตรา ๒๒๒/๓๔[๒๑๐]  ในกรณีทอ
่ี ายุความสะดุดหยุดลงเพราะ
เหตุตามมาตรา ๒๒๒/๓๓ หากมีกรณีดังต่อไปนี ้ ให้ถือว่าอายุความไม่เคย
สะดุดหยุดลง
(๑) ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้ยกฟ้ อง
(๒) ศาลมีคำสั่งยกเลิกการดำเนินคดีแบบกลุ่ม
(๓) ศาลมีคำสั่งจำหน่ายคดีเพราะเหตุถอนฟ้ อง
(๔) ศาลยกคำฟ้ องเพราะเหตุคดีไม่อยู่ในอำนาจศาลหรือโดย
ไม่ตัดสิทธิสมาชิกกลุ่มที่จะฟ้ องคดีใหม่
(๕) สมาชิก กลุม
่ ออกจากการเป็ นสมาชิก กลุม
่ ตามมาตรา
๒๒๒/๑๖ มาตรา ๒๒๒/๒๙ หรือมาตรา ๒๒๒/๓๐
ในกรณีตาม (๒) (๓) (๔) และ (๕) หากปรากฏว่า อายุค วาม
การฟ้ องคดีของสมาชิกกลุ่มครบกำหนดไปแล้วในระหว่า งการพิจารณา
หรือจะครบกำหนดภายในกำหนดเวลาหกสิบวันนับแต่วันที่คำ พิพากษา
หรือ คำสั่ง นัน
้ ถึง ที่ส ุด ให้ส มาชิก กลุ่มมีส ิท ธิฟ้ องคดีเ พื่อ ตัง้ หลัก ฐานสิท ธิ
เรียกร้องหรือเพื่อให้ชำระหนีภ
้ ายในหกสิบวันนับแต่วันที่คำพิพากษาหรือ
คำสัง่ ถึงที่สุดหรือนับแต่วันที่สมาชิกกลุ่มไม่เป็ นสมาชิกกลุ่ม แล้วแต่กรณี
ความในวรรคสองให้ใ ช้บ ัง คับ ในกรณีท ี่ส มาชิก กลุ่ม ผู้ใ ดถูก
ปฏิเ สธคำ ขอรับ ชำ ระหนีโ้ ดยอ้า งเหตุว ่า ไม่เ ป็ นสมาชิก กล ุ่ม ตามคำ
พิพากษา เนื่องจากศาลได้มีคำ พิพากษาโดยกำหนดลัก ษณะเฉพาะของ
กลุ่มแตกต่างจากลักษณะเฉพาะของกลุ่มตามที่ศาลได้มีคำ สัง่ อนุญาตให้
ดำเนินคดีแบบกลุ่มตามมาตรา ๒๒๒/๑๒ วรรคสอง โดยให้มีสิทธิฟ้องคดี
นับแต่วันที่คำสั่งปฏิเสธคำขอรับชำระหนีถ
้ งึ ที่สุด
 
ส่วนที่ ๔
คำพิพากษาและการบังคับคดี
                  
 
มาตรา ๒๒๒/๓๕ [๒ ๑ ๑ ]  คำ พิพ ากษาของศาลมีผ ลเป็ นการ
ผูก พัน คู่ค วามและสมาชิก กลุ่มและในกรณีที่ศ าลมีคำ พิพ ากษาให้โ จทก์
ชนะคดี ให้โจทก์หรือทนายความฝ่ ายโจทก์มีอำ นาจดำเนินการบังคับคดี
แทนโจทก์และสมาชิกกลุ่ม
สมาชิกกลุ่มมีสิทธิที่จะยื่นคำขอรับชำระหนี ้ แต่ไม่มีสิทธิที่จะ
ดำเนินการบังคับคดีตามส่วนนีด
้ ้วยตนเอง
หากความปรากฏต่อศาลว่าทนายความฝ่ ายโจทก์ไม่สามารถ
ดำเนินการบังคับคดีเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของสมาชิกกลุ่มได้อย่างเพียง
พอและเป็ นธรรม ศาลอาจมีคำ สัง่ ให้โ จทก์แ ละสมาชิก กล ุ่ม จัด หา
ทนายความคนใหม่มาดำเนินการบังคับคดีต่อไปได้
 
มาตรา ๒๒๒/๓๖ [๒๑๒]  คำพิพ ากษาของศาลต้อ งกล่า วหรือ
แสดงรายการดังต่อไปนี ้
(๑) รายการตามที่กำหนดไว้ในมาตรา ๑๔๑
(๒) ลักษณะโดยชัดเจนของกลุม
่ บุคคลหรือกลุม
่ ย่อยทีจ
่ ะต้องถูก
ผูกพันตามคำพิพากษา
(๓) ในกรณีที่ศาลพิพากษาให้จำเลยชำระหนีเ้ ป็ นเงิน ต้องระบุ
จำนวนเงินที่จำเลยจะต้องชำระให้แก่โจทก์ รวมทัง้ หลักเกณฑ์และวิธีการ
คำนวณในการชำระเงินให้สมาชิกกลุ่ม
(๔) จำนวนเงิน รางวัล ของทนายความฝ่ ายโจทก์ต ามมาตรา
๒๒๒/๓๗
 
มาตรา ๒๒๒/๓๗ [๒๑๓]  ในกรณีที่ศ าลมีคำ พิพ ากษาให้จำ เลย
กระทำการหรืองดเว้น กระทำการหรือ ส่ง มอบทรัพ ย์ส ิน ให้ศ าลกำหนด
จำนวนเงินรางวัลที่จำ เลยจะต้องชำระให้แก่ทนายความฝ่ ายโจทก์ตามที่
เห็นสมควร โดยคำนึงถึงความยากง่ายของคดีประกอบกับระยะเวลาและ
การทำงานของทนายความฝ่ ายโจทก์ รวมทัง้ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการดำเนิน
คดีแบบกลุ่ม ซึ่งมิใช่ค่าฤชาธรรมเนียมที่ทนายความฝ่ ายโจทก์ไ ด้เ สียไป
และเพื่อประโยชน์แห่งการนี ้ เมื่อการพิจารณาสิน
้ สุดลงให้ทนายความฝ่ าย
โจทก์ย่ น
ื บัญชีค่าใช้จ่ายดังกล่าวต่อศาลโดยให้ส่งสำเนาแก่จำเลยด้วย
ถ้าคำพิพากษากำหนดให้จำเลยใช้เงิน นอกจากศาลต้องคำนึง
ถึงหลักเกณฑ์ตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ศาลคำนึงถึงจำนวนเงินที่โจทก์และ
สมาชิกกลุ่มมีสิทธิได้รับประกอบด้วย โดยกำหนดเป็ นจำนวนร้อยละของ
จำนวนเงิน ดัง กล่า ว แต่จำ นวนเงิน รางวัล ของทนายความฝ่ ายโจทก์ด ัง
กล่าวต้องไม่เกินร้อยละสามสิบของจำนวนเงินนัน

ถ้าคำพิพากษากำหนดให้จำเลยกระทำการหรืองดเว้นกระทำ
การหรือส่งมอบทรัพ ย์ส ิน และให้ใช้เ งิน รวมอยู่ด ้ว ย ให้นำ ความในวรรค
หนึ่งและวรรคสองมาใช้บังคับโดยอนุโลม
ในการกำหนดจำนวนเงินรางวัลของทนายความฝ่ ายโจทก์ตาม
มาตรานี ้ หากมีการเปลี่ยนทนายความฝ่ ายโจทก์ ให้ศาลกำหนดจำนวน
เงินรางวัลของทนายความฝ่ ายโจทก์ตามสัดส่วนของการทำงานและค่าใช้
จ่ายที่ทนายความแต่ละคนเสียไป
ให้ถือว่าทนายความฝ่ ายโจทก์เป็ นเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาและ
จำเลยเป็ นลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาในส่วนของเงินรางวัลของทนายความ
ฝ่ ายโจทก์ด้วย และเงินรางวัลดังกล่าวมิใช่ค่าฤชาธรรมเนียม
 
มาตรา ๒๒๒/๓๘ [๒๑๔]  ในกรณีท ี่ศ าลมีคำ พิพ ากษาให้โ จทก์
ชนะคดี ให้ศ าลมีอำ นาจกำหนดหลัก เกณฑ์ วิธ ีก าร และเงื่อ นไขในการ
ปฏิบัติตามคำพิพากษา โดยจะกำหนดไว้ในคำพิพากษาหรือโดยคำสั่งใน
ภายหลังก็ได้ และในระหว่างการบังคับคดีให้ศาลมีอำ นาจออกคำบังคับ
เพิ่มเติมเพื่อให้เป็ นไปตามคำพิพากษาได้ตามที่เห็นสมควร
ให้ศ าลชัน
้ ต้น มีอำ นาจพิจารณาสั่ง คำร้อ งขอทุเ ลาการบัง คับ
ตามคำพิพากษาคำสั่งของศาลชัน
้ ต้นให้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๒๒๒/๓๙[๒๑๕]  ให้ศาลแจ้งคำพิพากษาให้สมาชิกกลุ่ม
ทราบตามวิธีการเช่นเดียวกับที่กำ หนดไว้ในมาตรา ๒๒๒/๑๕ วรรคหนึ่ง
และให้แจ้งอธิบดีกรมบังคับคดีทราบด้วย
ในกรณีทศ
่ี าลมีคำพิพากษาให้จำเลยชำระหนีเ้ ป็ นเงินหรือชำระ
หนีเ้ ป็ นเงินรวมอยูด
่ ว้ ย ให้ศาลตัง้ เจ้าพนักงานบังคับคดีเพื่อ ดำเนินการต่อ
ไป รวมทัง้ กำหนดวันตามที่เห็นสมควรในคำบอกกล่าวและประกาศตาม
วรรคหนึ่ง เพื่อให้สมาชิกกลุ่มยื่นคำขอรับชำระหนีต
้ ่อเจ้าพนักงานบังคับ
คดี แต่ถา้ เป็ นกรณีทศ
่ี าลมีคำพิพากษาให้จำเลยชำระหนีอ
้ ย่างอื่นและจำเป็ น
จะต้องมีการดำเนินการอย่างหนึง่ อย่างใดเพื่อประโยชน์แก่การบังคับตาม
คำพิพ ากษา โจทก์อาจยื่น คำขอต่อ ศาลเพื่อตัง้ เจ้า พนักงานบัง คับคดีดำ
เนินการได้
เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาตามวรรคสอง สมาชิกกลุ่มที่ไม่ได้ย่ น

คำขอรับชำระหนีไ้ ม่มีสิทธิขอเฉลี่ยทรัพย์สินหรือเงินในการบังคับคดีตาม
ส่วนนี ้ เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย สมาชิกกลุ่มที่ไม่ได้ย่ น
ื คำขอรับชำระ
หนีภ
้ ายในกำหนดระยะเวลา อาจยื่น คำขอรับ ชำระหนีต
้ ่อ เจ้า พนัก งาน
บังคับคดีได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันพ้นกำหนดระยะเวลา
 
มาตรา ๒๒๒/๔๐[๒๑๖]  คู่ค วามในคดีแ ละสมาชิก กลุ่ม รายอื่ น
อาจขอตรวจและโต้แ ย้ง คำขอรับชำระหนีข
้ องสมาชิกกลุ่มผู้ย่ น
ื คำขอรับ
ชำระหนีไ้ ด้ แต่ต้องกระทำภายในกำหนดสามสิบวันนับแต่วันที่พ้นกำหนด
เวลายื่น คำขอรับ ชำระหนี ้ เว้น แต่ใ นกรณีท ี่ม ีเ หตุส ุด วิส ัย อาจขอขยาย
ระยะเวลาออกไปอีกได้ไม่เกินสามสิบวัน
 
มาตรา ๒๒๒/๔๑[๒๑๗] ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำนาจเรียกคู่
ความในคดี สมาชิก กลุ่ม ผู้ม ีส ่ว นได้เ สีย ในการบัง คับ คดี หรือ บุค คลที่
เกี่ย วข้อ ง มาสอบสวนในเรื่อ งคำ ขอรับ ชำ ระหนีข
้ องสมาชิก กลุ่ม เพื่อ
พิจารณามีคำสัง่ ต่อไปได้
 
มาตรา ๒๒๒/๔๒[๒๑๘]  คำขอรับชำระหนีข
้ องสมาชิกกลุ่มราย
ใด ถ้าคู่ความในคดีและสมาชิกกลุม
่ รายอื่นไม่โต้แย้ง ให้เจ้าพนักงานบังคับ
คดีมอำ
ี นาจสัง่ อนุญาตให้รบ
ั ชำระหนีไ้ ด้ เว้นแต่มเี หตุอันสมควรสั่งเป็ นอย่าง
อื่น โดยให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีแ จ้ง ให้ศ าลทราบถึง การดำเนิน การดัง
กล่าวด้วย
คำขอรับชำระหนีข
้ องสมาชิกกลุ่มรายใด ถ้ามีผู้โต้แย้ง ให้เจ้า
พนักงานบังคับคดีมีคำสัง่ อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี ้
(๑) ให้ยกคำขอรับชำระหนี ้
(๒) อนุญาตให้ได้รับชำระหนีเ้ ต็มจำนวน
(๓) อนุญาตให้ได้รับชำระหนีบ
้ างส่วน
สมาชิกกลุ่มที่ย่ น
ื คำขอรับชำระหนีแ
้ ละไม่มีผ ู้โต้แย้งตามวรรค
หนึ่ง สมาชิกกลุ่มที่ย่ น
ื คำขอรับชำระหนีแ
้ ละมีผู้โต้แย้งตามวรรคสอง หรือ
ผู้โต้แย้ง อาจยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานบังคับคดีต่อศาลได้
ภายในกำหนดสิบห้าวันนับแต่วันที่ทราบคำสั่งของเจ้าพนักงานบังคับคดี
คำ สัง่ ของศาลตามวรรคสามให้อ ุท ธรณ์แ ละฎีก าได้ภ ายใต้
บทบัญญัติในภาค ๓ อุทธรณ์และฎีกา
 
มาตรา ๒๒๒/๔๓ [๒๑๙]  เมื่อ เจ้า พนัก งานบัง คับ คดีไ ด้ย ึด หรือ
อายัดทรัพย์สินอย่างใดของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาในคดีอ่ น
ื ไว้แทนเจ้าหนี ้
ตามคำพิพากษาแล้ว ให้ทนายความฝ่ ายโจทก์ในคดีแบบกลุ่มมีอำนาจยื่น
คำขอโดยทำเป็ นคำร้อ งต่อ ศาลที่อ อกหมายบัง คับ คดีใ ห้ย ึด หรือ อายัด
ทรัพ ย์ส ินนัน
้ เพื่อให้ศ าลมีคำ สั่งให้เฉลี่ยทรัพ ย์แ ก่ทนายความฝ่ ายโจทก์
โจทก์ และสมาชิกกลุ่มตามมาตรา ๓๒๖ ตามจำนวนที่มีสิทธิได้รับ[๒๒๐]
ในกรณีท ี่จำ นวนเงิน ที่ส มาชิก กลุ่ม ได้ย่ ืน คำขอรับ ชำ ระหนี ้
ตามมาตรา ๒๒๒/๔๒ ยังไม่เป็ นที่ยุติ ให้ศาลที่ได้รับคำร้องขอเฉลี่ยทรัพย์
ตามวรรคหนึ่ง รอการมีคำ สั่ง ให้เ ฉลี่ยทรัพ ย์ไ ว้ก ่อ น และเมื่อ ได้ข ้อ ยุต ิใ น
จำนวนเงินดังกล่าวแล้ว ให้ทนายความฝ่ ายโจทก์แจ้งให้ศาลนัน
้ ทราบ
เมื่อศาลได้มีคำสั่งให้เฉลี่ยทรัพย์แล้ว ให้เจ้าพนักงานบังคับคดี
ในคดีนน
ั ้ ส่งเงินให้เจ้าพนักงานบังคับคดีในคดีแบบกลุ่มเพื่อจ่ายให้แก่ผ ู้มี
สิทธิตามมาตรา ๒๒๒/๔๔
 
มาตรา ๒๒๒/๔๔[๒๒๑]  เมื่อจำเลยนำเงินหรือทรัพย์สินมาวาง
ต่อเจ้าพนักงานบังคับคดีหรือเมื่อได้ขายทอดตลาดหรือ จำหน่ายโดยวิธีอ่ น

ซึ่งทรัพย์สินของจำเลย หรือเมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีได้รวบรวมทรัพย์สิน
อื่นใดของจำเลยเสร็จ และได้หักค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดีแล้ว ให้
เจ้าพนักงานบังคับคดีจ่ายเงินให้แก่ผู้มีสิทธิตามลำดับ ดังนี ้
(๑)[๒ ๒ ๒ ] ผู้ม ีส ิท ธิไ ด้ร ับ ชำ ระหนีก
้ ่อ นตามมาตรา ๓๒๒ และ
มาตรา ๓๒๔
(๒) เงินรางวัลของทนายความฝ่ ายโจทก์ตามมาตรา ๒๒๒/๓๗
(๓) ค่าฤชาธรรมเนียมใช้แทนโจทก์
(๔)[๒๒๓] โจทก์ สมาชิกกลุ่ม และเจ้าหนีอ
้ ่น
ื ที่มีสิทธิได้รับเฉลี่ย
ทรัพย์ตามมาตรา ๓๒๖
 
ส่วนที่ ๕
อุทธรณ์และฎีกา
                  
 
มาตรา ๒๒๒/๔๕ [๒๒๔]  ให้ค ู่ค วามมีส ิท ธิอ ุท ธรณ์แ ละฎีก าคำ
พิพากษาหรือคำสั่งของศาล โดยไม่นำข้อจำกัดสิทธิเรื่องทุนทรัพย์ของการ
อุทธรณ์และฎีกาในข้อเท็จจริงมาใช้บังคับ
 
มาตรา ๒๒๒/๔๖[๒๒๕]  สมาชิกกลุม
่ ไม่มส
ี ท
ิ ธิอท
ุ ธรณ์และฎีกาคำ
พิพากษาหรือคำสัง่ ของศาล ยกเว้นในกรณีตามมาตรา ๒๒๒/๔๒
 
มาตรา ๒๒๒/๔๗[๒๒๖]  ในกรณีที่จำเลยยื่นคำร้องอุทธรณ์คำสั่ง
ไม่รับอุทธรณ์หรือฎีกาให้จำ เลยนำค่า ฤชาธรรมเนียมทัง้ ปวงมาวางศาล
และนำเงินมาชำระตามคำพิพากษาหรือหาประกันให้ไว้ต่อศาลเฉพาะใน
ส่วนที่จำเลยต้องรับผิดชำระหนีใ้ ห้แก่โจทก์ แต่ไม่ต้องนำเงินมาชำระหรือ
หาประกันให้ไว้ต่อศาลสำหรับเงินรางวัลของทนายความฝ่ ายโจทก์
 
มาตรา ๒๒๒/๔๘[๒๒๗]  คดีที่ศาลชัน
้ ต้นมีคำ สั่งรับอุทธรณ์หรือ
ฎีกาส่งมาให้ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา หากศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาแล้ว
แต่ก รณีพ ิจ ารณาเห็น ว่า อุท ธรณ์ห รือ ฎีก านัน
้ ต้อ งห้า มอุท ธรณ์ห รือ ห้า ม
ฎีกา ให้ยกอุทธรณ์หรือฎีกา โดยไม่จำ ต้องวินิจฉัยประเด็นที่อุทธรณ์หรือ
ฎีกา แต่ถ้าศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา แล้วแต่กรณี พิจารณาเห็นสมควร
เพื่อ ประโยชน์แ ห่ง ความยุต ิธ รรม จำ เป็ นต้อ งแก้ไ ขข้อ ผิด พลาดจะรับ
พิจารณาพิพากษาคดีทต
่ี อ
้ งห้ามอุทธรณ์หรือห้ามฎีกาดังกล่าวนัน
้ ก็ได้
 
ส่วนที่ ๖
ค่าธรรมเนียม
                  
 
มาตรา ๒๒๒/๔๙[๒๒๘]  ให้คิดค่าธรรมเนียมตามอัตราดังต่อไป
นี ้
(๑) ค่ายื่นคำขอรับชำระหนีส
้ องร้อยบาท แต่การขอรับ ชำระ
หนีท
้ ี่ไม่เกินสองหมื่นบาทไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม
(๒) ค่าคัดค้านคำสัง่ ของเจ้าพนักงานบังคับคดีตอ
่ ศาลในเรื่องการ
ขอรับชำระหนีเ้ รื่องละสองร้อยบาท
(๓) ค่าขึน
้ ศาลในกรณีที่มีการอุทธรณ์เรื่องการขอรับ ชำระหนี ้
หรือการอุทธรณ์เรื่องเงินรางวัลของทนายความ เรื่องละสองร้อยบาท
(๔) ค่าธรรมเนียมอื่นนอกจาก (๑) (๒) และ (๓) ให้คิดอัตรา
เดียวกับค่าธรรมเนียมตามตารางท้ายประมวลกฎหมายนี ้
 
ภาค ๓
อุทธรณ์และฎีกา
                  
 
ลักษณะ ๑
อุทธรณ์
                  
 
มาตรา ๒๒๓  ภายใต้บ ัง คับ บทบัญ ญัต ิมาตรา ๑๓๘, ๑๖๘,
๑๘๘ และ ๒๒๒ และในลักษณะนี ้ คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชัน
้ ต้น
นัน
้ ให้ย่ น
ื อุท ธรณ์ต ่อ ศาลอุท ธรณ์ เว้น แต่คำ พิพ ากษาหรือ คำ สั่ง นัน

ประมวลกฎหมายนีห
้ รือกฎหมายอื่นจะได้บัญญัติว่าให้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๒๒๓ ทวิ[๒๒๙]  (ยกเลิก)
 
มาตรา ๒๒๔[๒๓๐]  ในคดีที่ราคาทรัพย์สินหรือจำนวนทุนทรัพย์
ที่พิพาทกันในชัน
้ อุทธรณ์ไม่เกินห้าหมื่นบาทหรือไม่เกิน จำนวนที่กำ หนด
ในพระราชกฤษฎีก า ห้า มมิใ ห้ค ค
ู่ วามอุท ธรณ์ใ นข้อ เท็จ จริง เว้น แต่ผ ู้
พิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีนน
ั ้ ในศาลชัน
้ ต้นได้ทำ ความเห็นแย้งไว้หรือได้
รับรองว่ามีเหตุอันควรอุทธรณ์ได้ หรือถ้าไม่มีความเห็นแย้งหรือ คำรับรอง
เช่นว่านีต
้ ้องได้รับอนุญาตให้อุทธรณ์เป็ นหนังสือจากอธิบดีผ ู้พพ
ิ ากษาชัน

ต้นหรืออธิบดีผู้พิพากษาภาคผู้มีอำนาจ แล้วแต่กรณี
บทบัญญัติในวรรคหนึ่งมิได้ให้บังคับในคดีเกี่ยวด้วยสิทธิแห่ง
สภาพบุคคลหรือสิทธิในครอบครัวและคดีฟ้องขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันไม่
อาจคำนวณเป็ นราคาเงินได้ เว้นแต่ในคดีฟ้องขับไล่บุคคลใด ๆ ออกจาก
อสัง หาริม ทรัพ ย์อ ัน มีค ่า เช่า หรือ อาจให้เ ช่า ได้ใ นขณะยื่น คำฟ้ องไม่เ กิน
เดือนละสี่พันบาทหรือไม่เกินจำนวนที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
การขอให้ผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาในคดีในศาลชัน
้ ต้นรับรอง
ว่ามีเหตุอันควรอุทธรณ์ได้ ให้ผ ู้อุทธรณ์ย่ น
ื คำร้องถึงผู้พิพากษานัน
้ พร้อม
กับคำฟ้ องอุทธรณ์ต่อศาลชัน
้ ต้น เมื่อศาลได้รับคำร้องเช่นว่านัน
้ ให้ศาลส่ง
คำ ร้อ งพร้อ มด้ว ยสำ นวนความไปยัง ผู้พ ิพ ากษาดัง กล่า วเพื่อ พิจ ารณา
รับรอง
 
มาตรา ๒๒๕[๒๓๑]  ข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่จะยกขึน
้ อ้าง
ในการยื่นอุทธรณ์นน
ั ้ คู่ความจะต้องกล่าวไว้โดยชัดแจ้งในอุทธรณ์และต้อง
เป็ นข้อที่ได้ยกขึน
้ ว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชัน
้ ต้น ทัง้ จะต้องเป็ นสาระ
แก่คดีอันควรได้รับการวินิจฉัยด้วย
ถ้าคูค
่ วามฝ่ ายใดมิไ ด้ยกปั ญหาข้อ ใดอัน เกี่ยวด้ว ยความสงบ
เรีย บร้อ ยของประชาชนขึน
้ กล่า วในศาลชัน
้ ต้น หรือ คูค
่ วามฝ่ ายใดไม่
สามารถยกปั ญหาข้อ กฎหมายใด ๆ ขึน
้ กล่า วในศาลชัน
้ ต้น เพราะ
พฤติการณ์ไม่เปิ ดช่องให้กระทำได้ หรือเพราะเหตุเป็ นเรื่องที่ไม่ปฏิบัติตาม
บทบัญญัติว่าด้วยกระบวนพิจารณาชัน
้ อุทธรณ์ คู่ความที่เกี่ยวข้องย่อมมี
สิทธิที่จะยกขึน
้ อ้างซึ่งปั ญหาเช่นว่านัน
้ ได้
 
มาตรา ๒๒๖  ก่อนศาลชัน
้ ต้นได้มีคำพิพากษาหรือคำสั่งชีข
้ าด
ตัด สิน คดี ถ้า ศาลนัน
้ ได้ม ีคำ สั่ง อย่า งใดอย่า งหนึ่ง นอกจากที่ร ะบุไ ว้ใ น
มาตรา ๒๒๗ และ ๒๒๘
(๑) ห้ามมิให้อุทธรณ์คำสั่งนัน
้ ในระหว่างพิจารณา
(๒) ถ้าคู่ความฝ่ ายใดโต้แย้งคำสั่งใด ให้ศาลจดข้อโต้แย้งนัน
้ ลง
ไว้ในรายงานคู่ความที่โต้แย้งชอบที่จะอุทธรณ์คำ สั่งนัน
้ ได้ภายในกำหนด
หนึ่งเดือนนับแต่วันที่ศาลได้มีคำ พิพากษา หรือ คำสั่งชีข
้ าดตัดสินคดีนน
ั้
เป็ นต้นไป
เพื่อ ประโยชน์แ ห่ง มาตรานี ้ ไม่ว ่า ศาลจะได้ม ีคำ สัง่ ให้ร ับ คำ
ฟ้ องไว้แล้วหรือไม่ ให้ถือว่าคำสัง่ อย่างใดอย่างหนึ่งของศาลนับตัง้ แต่มีการ
ยื่นคำฟ้ องต่อศาลนอกจากที่ระบุไว้ในมาตรา ๒๒๗ และ ๒๒๘ เป็ นคำสั่ง
ระหว่างพิจารณา[๒๓๒]
 
มาตรา ๒๒๗  คำ สั่ง ของศาลชัน
้ ต้น ที่ไ ม่ร ับ หรือ ให้ค ืน คำ คู่
ความตามมาตรา ๑๘หรือ คำสั่งวินิจฉัยชีข
้ าดเบื้องต้นตามมาตรา ๒๔ ซึ่ง
ทำให้คดีเสร็จไปทัง้ เรื่องนัน
้ มิให้ถือว่าเป็ นคำสั่งในระหว่างพิจารณา และ
ให้อยู่ภายในข้อบังคับของการอุทธรณ์คำ พิพากษาหรือคำสัง่ ชีข
้ าดตัดสิน
คดี
 
มาตรา ๒๒๘ [๒๓๓ ]  ก่อ นศาลชีข
้ าดตัด สิน คดี ถ้า ศาลมีคำ สั่ง
อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี ้ คือ
(๑) ให้ก ัก ขัง หรือ ปรับ ไหม หรือ จำ ขัง ผู้ใ ด ตามประมวล
กฎหมายนี ้
(๒) มีคำ สัง่ อัน เกี่ย วด้ว ยคำขอเพื่อ คุ้ม ครองประโยชน์ข องคู่
ความในระหว่างการพิจารณา หรือมีคำสั่งอันเกี่ยวด้วยคำขอเพื่อจะบังคับ
คดีตามคำพิพากษาต่อไป หรือ
(๓) ไม่รับหรือคืนคำคูค
่ วามตามมาตรา ๑๘ หรือวินิจฉัยชีข
้ าด
เบื้อ งต้น ตามมาตรา ๒๔ ซึ่ง มิไ ด้ทำ ให้ค ดีเ สร็จ ไปทัง้ เรื่อ ง หากเสร็จ ไป
เฉพาะแต่ประเด็นบางข้อ
คำสัง่ เช่นว่านี้ คูค
่ วามย่อมอุทธรณ์ได้ภายในกำหนดหนึง่ เดือน นับ
แต่วน
ั มีคำสัง่ เป็ นต้นไป
แม้ถึงว่าจะมีอุทธรณ์ในระหว่างพิจารณา ให้ศาลดำเนินคดีต่อ
ไป และมีคำพิพากษาหรือคำสัง่ ชีข
้ าดตัดสินคดีนน
ั้ แต่ถา้ ในระหว่างพิจารณา
คูค
่ วามอุทธรณ์คำสัง่ ชนิดทีร่ ะบุไว้ในอนุมาตรา (๓) ถ้าศาลอุทธรณ์เห็นว่า
การกลับหรือแก้ไขคำสั่งที่คค
ู่ วามอุทธรณ์นน
ั ้ จะเป็ นการวินิจฉัยชีข
้ าดคดี
หรือวินิจฉัยชีข
้ าดประเด็นข้อใดที่ศาลล่างมิได้วินิจฉัยไว้ ให้ศาลอุทธรณ์มี
อำนาจทำคำสั่งให้ศาลล่างงดการพิจารณาไว้ในระหว่างอุทธรณ์ หรืองด
การวินิจฉัยคดีไว้จนกว่าศาลอุทธรณ์จะได้วินิจฉัยชีข
้ าดอุทธรณ์นน
ั้
ถ้าคูค
่ วามมิได้อุทธรณ์คำ สั่งในระหว่างพิจารณาตามที่บัญญัติ
ไว้ใ นมาตรานี ้ ก็ใ ห้อ ุท ธรณ์ไ ด้ใ นเมื่อ ศาลพิพ ากษาคดีแ ล้ว ตามความใน
มาตรา ๒๒๓
 
มาตรา ๒๒๙  การอุทธรณ์นน
ั ้ ให้ทำเป็ นหนังสือยื่นต่อศาลชัน

ต้นซึ่งมีคำพิพากษาหรือคำสั่งภายในกำหนดหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ได้อ่าน
คำพิพ ากษาหรือ คำสั่ง นัน
้ และผู้อ ุทธรณ์ต ้อ งนำเงิน ค่า ธรรมเนียมซึ่ง จะ
ต้องใช้แก่คค
ู่ วามอีกฝ่ ายหนึ่งตามคำพิพากษาหรือคำสัง่ มาวางศาลพร้อม
กับ อุทธรณ์นน
ั ้ ด้วย ให้ผ ู้อุทธรณ์ย่ น
ื สำเนาอุทธรณ์ต ่อ ศาล เพื่อ ส่ง ให้แ ก่
จำ เลยอุท ธรณ์ (คือ ฝ่ ายโจทก์ห รือ จำ เลยความเดิม ซึ่ง เป็ นฝ่ ายที่ม ิไ ด้
อุทธรณ์ความนัน
้ ) ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๓๕ และ ๒๓๖
 
มาตรา ๒๓๐[๒๓๔]  คดีตามมาตรา ๒๒๔ ถ้าคูค
่ วามอุทธรณ์ใน
ข้อ เท็จ จริง ให้ศ าลชัน
้ ต้น ตรวจเสีย ก่อ นว่า ฟ้ องอุท ธรณ์น น
ั ้ จะรับ ไว้
พิจารณาได้หรือไม่
ถ้า ผูพ
้ ิพ ากษาที่ไ ด้พ ิจ ารณาคดีน น
ั ้ มีค วามเห็น แย้ง หรือ ได้
รับ รองไว้แ ล้ว หรือ รับ รองในเวลาที่ต รวจอุท ธรณ์น น
ั ้ ว่า มีเ หตุอ ัน ควร
อุท ธรณ์ใ นปั ญหาข้อ เท็จ จริง นัน
้ ได้ ก็ใ ห้ศ าลมีคำ สั่ง รับ อุท ธรณ์น น
ั ้ ไว้
พิจารณาในปั ญหาข้อเท็จจริงดังกล่าวแล้ว
ถ้าไม่มีความเห็นแย้งหรือ คำรับรองเช่นว่านัน
้ ให้ศาลมีคำ สัง่
ไม่รับอุทธรณ์ในปั ญหาข้อเท็จจริง ที่ก ล่า วแล้ว ในกรณีเ ช่น นี ้ ถ้า อธิบ ดีผ ู้
พิพ ากษาหรืออธิบ ดีผ ู้พ ิพ ากษาภาคมิไ ด้เ ป็ นคณะในคำสั่ง นัน
้ ผู้อ ุทธรณ์
ชอบที่จะยื่นคำร้องต่อศาลถึงอธิบดีผ ู้พิพากษาหรืออธิบดีผ ู้พิพากษาภาค
ภายในเจ็ดวัน เมื่อศาลได้รับ คำร้องเช่นว่านัน
้ ให้ศาลส่ง คำร้องนัน
้ พร้อม
ด้วยสำนวนความไปยังอธิบดีผู้พิพากษาหรืออธิบดีผู้พิพากษาภาคเพื่อมีคำ
สั่ง ยืน ตามหรือ กลับ คำสั่ง ของศาลนัน
้ คำสั่ง ของอธิบ ดีผ ู้พ พ
ิ ากษา หรือ
อธิบดีผู้พิพากษาภาค เช่นว่านี ้ ให้เป็ นที่สุด
บทบัญ ญัต ิแ ห่ง มาตรานี ้ ไม่ห ้า มศาลในอัน ที่จ ะมีคำ สัง่ ตาม
มาตรา ๒๓๒ ปฏิเสธไม่ส่งอุทธรณ์ในเหตุอ่ น
ื หรือในอันที่ศาลจะมี คำสัง่ ให้
ส่งอุทธรณ์นน
ั ้ ไปเท่าที่เป็ นอุทธรณ์ในข้อกฎหมาย
 
มาตรา ๒๓๑  การยื่นอุทธรณ์ย่อมไม่เป็ นการทุเลาการบังคับ
ตามคำพิพากษาหรือคำสัง่ ของศาลชัน
้ ต้น แต่คค
ู่ วามที่ย่ น
ื อุทธรณ์อาจยื่น
คำขอต่อ ศาลอุท ธรณ์ไ ม่ว ่าเวลาใด ๆ ก่อ นพิพ ากษา โดยทำเป็ นคำร้อ ง
ชีแ
้ จงเหตุผลอันสมควรแห่งการขอ ให้ศาลอุทธรณ์ทุเลาการบังคับไว้
คำขอเช่นว่านัน
้ ให้ผ ู้อุทธรณ์ย่ น
ื ต่อศาลชัน
้ ต้นได้จนถึงเวลาที่
ศาลมีคำสั่งอนุญาตให้อุทธรณ์ ถ้าภายหลังศาลได้มีคำ สั่งเช่นว่านีแ
้ ล้ว ให้
ยื่นตรงต่อศาลอุทธรณ์ ถ้าได้ย่ น
ื คำขอต่อศาลชัน
้ ต้นก็ให้ศาลรีบส่ง คำขอ
นัน
้ ไปยัง ศาลอุท ธรณ์ ในกรณีที่ม ีเ หตุฉ ุก เฉิน อย่า งยิ่ง เมื่อ ศาลชัน
้ ต้น ได้
รับคำขอไว้ ก็ให้มีอำนาจทำคำสั่งให้ทุเลาการบังคับไว้รอคำวินิจฉัยชีข
้ าด
ของศาลอุทธรณ์ในคำขอเช่นว่านัน

ถ้า ผู้อ ุท ธรณ์ว างเงิน ต่อ ศาลชัน
้ ต้น เป็ นจำนวนพอชำ ระหนี ้
ตามคำพิพ ากษารวมทัง้ ค่า ฤชาธรรมเนียมในการฟ้ องร้องและการบังคับ
คดี หรือได้หาประกันมาให้สำหรับเงินจำนวนเช่นว่านีจ
้ นเป็ นที่พอใจของ
ศาลให้ศาลที่กล่าวมาแล้วงดการบังคับคดีไว้ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๙๒
(๑)[๒๓๕]
เมื่อได้รับ คำขอเช่น ว่า นี ้ ศาลอุทธรณ์จะอนุญ าตให้ทุเ ลาการ
บังคับไว้ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินก็ได้ โดยมิต้องฟั งคูค
่ วามอีกฝ่ ายหนึ่ง แต่ใน
กรณีเช่นว่านี ้ ให้ถือว่าคำสั่งนีเ้ ป็ นการชั่วคราวจนกว่าศาลจะได้ฟังคูค
่ วาม
อีกฝ่ ายหนึ่งในภายหลัง ถ้าศาลมีคำสั่งให้ทุเลาการบังคับไว้ตามที่ขอ คำสั่ง
นีอ
้ าจอยู่ภายใต้บังคับเงื่อนไขใด ๆ หรือไม่ก็ได้ ศาลจะมีคำสั่งให้ผู้อุทธรณ์
ทำทัณฑ์บนว่าจะไม่ยักย้ายจำหน่ายทรัพย์สินของตนในระหว่างอุทธรณ์
หรือให้หาประกันมาให้ศาลให้พอกับเงินที่ต้องใช้ตามคำพิพากษาหรือจะ
ให้วางเงินจำนวนนัน
้ ต่อศาลก็ได้ ถ้าผู้อุทธรณ์ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งนัน
้ ศาล
จะสั่งให้ยึดหรืออายัดทรัพย์สินของผู้อุทธรณ์นน
ั ้ ก็ได้ และถ้าทรัพย์สินเช่น
ว่านัน
้ หรือส่วนใดส่วนหนึ่งเป็ นสังหาริมทรัพย์ ศาลอาจมี คำสั่งให้เอาออก
ขายทอดตลาดก็ได้ ถ้าปรากฏว่าการขายนัน
้ เป็ นการจำเป็ นและสมควร
เพราะทรัพย์สินนัน
้ มีสภาพเป็ นของเสียได้ง่ายหรือว่าการเก็บรักษาไว้ใน
ระหว่า งอุทธรณ์น่าจะนำไปสู่ค วามยุ่งยากหรือจะต้องเสียค่าใช้จ่า ยเป็ น
จำนวนมาก
 
มาตรา ๒๓๒  เมื่อ ได้ร ับ อุท ธรณ์แ ล้ว ให้ศ าลชัน
้ ต้น ตรวจ
อุทธรณ์แ ละมีคำ สั่ง ให้ส ่ง หรือ ปฏิเ สธไม่ส ่ง อุทธรณ์นน
ั ้ ไปยัง ศาลอุทธรณ์
ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี ้ ถ้าศาลปฏิเสธไม่ส่ง ให้ศาลแสดง
เหตุที่ไม่ส่งนัน
้ ไว้ในคำสั่งทุกเรื่องไป ถ้าคูค
่ วามทัง้ สองฝ่ ายได้ย่ น
ื อุทธรณ์
ศาลจะวินิจฉัยอุทธรณ์ทงั ้ สองฉบับนัน
้ ในคำสั่งฉบับเดียวกันก็ได้
 
มาตรา ๒๓๓  ถ้าศาลยอมรับอุทธรณ์และมีความเห็นว่าการ
อุทธรณ์นน
ั ้ คู่ความที่ศาลพิพากษาให้ชนะจะต้องเสียค่าฤชาธรรมเนียมเพิ่ม
ขึน
้ ให้ศาลมีอำนาจกำหนดไว้ในคำสั่งให้ผู้อุทธรณ์นำเงินมาวางศาลอีกให้
พอกับจำนวนค่าฤชาธรรมเนียมซึ่งจะต้องเสียดังกล่าวแล้ว ตามอัตราที่ใช้
บังคับอยู่ในเวลานัน
้ ก่อนสิน
้ ระยะเวลาอุทธรณ์หรือภายในระยะเวลาตาม
ที่ศาลจะเห็นสมควรอนุญาต หรือตามแต่ผ ู้อุทธรณ์จะมีคำขอขึน
้ มาไม่เกิน
สิบ วัน นับ แต่ส น
ิ ้ ระยะเวลาอุท ธรณ์น น
ั ้ ถ้า ผู้อ ุท ธรณ์ไ ม่นำ เงิน จำนวนที่
กล่า วข้า งต้น มาวางศาลภายในกำ หนดเวลาที่อ นุญ าตไว้ก ็ใ ห้ศ าลยก
อุทธรณ์นน
ั ้ เสีย
 
มาตรา ๒๓๔ [๒๓๖]  ถ้าศาลชัน
้ ต้นไม่รับอุทธรณ์ ผู้อุทธรณ์อาจ
อุทธรณ์คำสั่งศาลนัน
้ ไปยังศาลอุทธรณ์โดยยื่นคำขอเป็ นคำร้องต่อศาลชัน

ต้น และนำค่าฤชาธรรมเนียมทัง้ ปวงมาวางศาลและนำเงินมาชำระตามคำ
พิพากษาหรือหาประกันให้ไว้ต่อศาลภายในกำหนดสิบห้าวันนับแต่วันที่
ศาลได้มีคำสั่ง
 
มาตรา ๒๓๕  เมื่อศาลชัน
้ ต้น ได้รับ อุท ธรณ์แ ล้วให้ส ่ง สำเนา
อุทธรณ์นน
ั ้ ให้แก่จำ เลยอุทธรณ์ภายในกำหนดเจ็ดวัน นับแต่วันที่จำ เลย
อุท ธรณ์ย่ น
ื คำ แก้อ ุท ธรณ์ หรือ ถ้า จำ เลยอุท ธรณ์ไ ม่ย่ น
ื คำ แก้อ ุท ธรณ์
ภายในกำหนดเจ็ดวันนับแต่ระยะเวลาที่กำหนดไว้ในมาตรา ๒๓๗ สำหรับ
การยื่นคำแก้อุทธรณ์ได้สน
ิ ้ สุดลง ให้ศาลส่งอุทธรณ์และคำแก้อุทธรณ์ถ้า
หากมี พร้อมทัง้ สำนวนและหลัก ฐานต่าง ๆ ไปยังศาลอุทธรณ์ เมื่อศาล
อุทธรณ์ไ ด้ร ับ ฟ้ องอุท ธรณ์แ ละสำนวนความไว้แ ล้ว ให้นำ คดีล งสารบบ
ความของศาลอุทธรณ์โดยพลัน
 
มาตรา ๒๓๖  เมื่อคู่ความยื่นคำร้องอุทธรณ์คำสั่งศาลที่ปฏิเสธ
ไม่ย อมรับ อุท ธรณ์ ให้ศ าลส่ง คำร้อ งเช่น ว่า นัน
้ ไปยัง ศาลอุท ธรณ์โ ดยไม่
ชักช้าพร้อมด้วยคำพิพากษาหรือ คำสั่งชีข
้ าดคดีข องศาลชัน
้ ต้นและฟ้ อง
อุทธรณ์ ถ้าศาลอุทธรณ์เห็นเป็ นการจำเป็ นที่จะต้องตรวจสำนวน ให้มีคำ
สั่งให้ศาลชัน
้ ต้นส่งสำนวนไปยังศาลอุทธรณ์ ในกรณีเช่นนีใ้ ห้ศาลอุทธรณ์
พิจารณาคำร้อง แล้วมีคำ สัง่ ยืนตามคำปฏิเสธของศาลชัน
้ ต้นหรือมีคำ สั่ง
ให้รับอุทธรณ์ คำสัง่ นีใ้ ห้เป็ นที่สุด แล้วส่งไปให้ศาลชัน
้ ต้นอ่าน
เมื่อได้อ่านคำสั่งศาลอุทธรณ์ให้รับอุทธรณ์แล้ว ให้ศาลชัน
้ ต้น
ส่งสำเนาอุทธรณ์แก่จำเลยอุทธรณ์ และภายในกำหนดเจ็ดวันนับแต่วันที่
จำ เลยอุท ธรณ์ย่ น
ื คำ แก้อ ุท ธรณ์ หรือ นับ แต่ร ะยะเวลาที่กำ หนดไว้ใ น
มาตรา ๒๓๗ สำหรับ การยื่น คำแก้อ ุทธรณ์ไ ด้ส น
ิ ้ สุด ลง ให้ศ าลส่ง คำแก้
อุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์หรือแจ้งให้ทราบว่าไม่มีคำ แก้อุทธรณ์ เมื่อศาล
อุทธรณ์ได้รับคำแก้อุทธรณ์หรือแจ้งความเช่นว่าแล้ว ให้นำ คดีลงสารบบ
ความของศาลอุทธรณ์โดยพลัน
 
มาตรา ๒๓๗  จำเลยอุทธรณ์อาจยื่นคำแก้อุทธรณ์ต่อศาลชัน

ต้นได้ภายในกำหนดสิบห้าวันนับแต่วันส่งสำเนาอุทธรณ์
ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ห้ามมิให้ศาลแสดงว่า จำเลยอุทธรณ์ข าด
นัดเพราะไม่ย่ น
ื คำแก้อุทธรณ์
 
มาตรา ๒๓๘ [๒ ๓ ๗ ]  ภายใต้บ ัง คับ มาตรา ๒๔๓ (๓) ในคดีท ี่
อุทธรณ์ได้แต่เฉพาะในปั ญหาข้อกฎหมายนัน
้ การวินิจฉัยปั ญหาเช่นว่านี ้
ศาลอุทธรณ์จำ ต้องถือตามข้อ เท็จจริง ที่ศ าลชัน
้ ต้น ได้ว ิน ิจ ฉัย จากพยาน
หลักฐานในสำนวน
 
มาตรา ๒๓๙ [๒ ๓ ๘ ]  อุท ธรณ์คำ สั่ง นัน
้ จะต้อ งพิจ ารณาก่อ น
อุทธรณ์คำ พิพากษาเท่าที่สามารถจะทำได้ แม้ถึงว่าอุทธรณ์คำ พิพากษา
นัน
้ จะได้ลงไว้ในสารบบความของศาลอุทธรณ์ก่อนอุทธรณ์คำสั่งนัน
้ ก็ดี
 
มาตรา ๒๔๐ [๒๓๙]  ศาลอุท ธรณ์ม ีอำ นาจที่จ ะวิน ิจ ฉัย คดีโ ดย
เพียงแต่พิจารณาฟ้ องอุทธรณ์ คำแก้อุทธรณ์ เอกสารและหลักฐานทัง้ ปวง
ในสำนวนความซึ่งศาลชัน
้ ต้นส่งขึน
้ มา เว้นแต่
(๑) ศาลอุท ธรณ์ไ ด้น ัด ฟั งคำ แถลงการณ์ด ้ว ยวาจาตามที่
บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๔๑ แต่ถ้าคู่ความฝ่ ายใดหรือทัง้ สองฝ่ ายไม่มาศาล
ในวันกำหนดนัด ศาลอุทธรณ์อาจดำเนินคดีไปได้ และคำพิพากษาหรือคำ
สั่งของศาลอุทธรณ์นน
ั ้ ไม่ให้ถือเป็ นคำพิพากษาโดยขาดนัด
(๒) ถ้า ศาลอุท ธรณ์ย ัง ไม่เ ป็ นที่พ อใจในการพิจ ารณาฟ้ อง
อุทธรณ์ คำแก้อุทธรณ์ และพยานหลักฐาน ที่ปรากฏในสำนวน ภายใต้
บังคับแห่งมาตรา ๒๓๘ และเฉพาะในปั ญหาที่อุทธรณ์ ให้ศาลมี อำนาจที่
จะกำหนดประเด็นทำการสืบพยานที่สืบมาแล้ว หรือพยานที่เห็นควรสืบ
ต่อไป และพิจารณาคดีโดยทั่ว ๆ ไป ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายนี ้
สำหรับ การพิจ ารณาในศาลชัน
้ ต้น และให้นำ บทบัญ ญัต ิแ ห่ง ประมวล
กฎหมายนีว้ ่าด้วยการพิจารณาในศาลชัน
้ ต้น มาใช้บังคับด้วยโดยอนุโลม
(๓) ในคดีท ี่ค ู่ค วามอุท ธรณ์ใ นปั ญหาข้อ กฎหมาย ถ้า ศาล
อุทธรณ์เห็นว่าศาลชัน
้ ต้นยังมิได้พิจารณาหรือวินิจฉัยปั ญหาข้อเท็จจริงอัน
เป็ นสาระสำคัญในประเด็น ให้ศาลอุทธรณ์มีอำนาจทำคำสั่งให้ศาลชัน
้ ต้น
พิจารณาปั ญหาข้อเท็จจริงเช่นว่านัน
้ แล้วพิพากษาไปตามรูปความ
 
มาตรา ๒๔๑[๒๔๐]  ถ้าคู่ความฝ่ ายใดประสงค์จะมาแถลงการณ์
ด้วยวาจาในชัน
้ ศาลอุทธรณ์ ให้ขอมาในตอนท้ายคำฟ้ องอุทธรณ์ หรือคำ
แก้อุทธรณ์ แล้วแต่กรณี และให้ศาลอุทธรณ์กำหนดนัดฟั งคำแถลงการณ์
ด้วยวาจานัน
้ เว้นแต่ศาลอุทธรณ์จะพิจารณาเห็นว่าการแถลงการณ์ด้วย
วาจาไม่จำ เป็ นแก่ค ดี จะสั่ง งดฟั งคำแถลงการณ์เ สียก็ไ ด้ ในกรณีท ี่ศ าล
อุทธรณ์น ัดฟั งคำแถลงการณ์ด ้วยวาจา คู่ค วามอีก ฝ่ ายหนึ่ง ชอบที่จะไป
แถลงการณ์ด้วยวาจาในชัน
้ ศาลอุทธรณ์ได้ด้วย ถึงแม้ว่าตนจะมิได้แสดง
ความประสงค์ไว้
การแถลงการณ์ด้วยวาจา ผู้ขอแถลง เป็ นผู้แถลงก่อน แล้วอีก
ฝ่ ายหนึ่งแถลงแก้ แล้วผู้ขอแถลง แถลงได้อีกครัง้ หนึ่ง ถ้าขอแถลงทัง้ สอง
ฝ่ าย ให้ผ ู้อุทธรณ์แถลงก่อน ถ้าทัง้ สองฝ่ ายอุทธรณ์และต่างขอแถลง ให้
ศาลอุทธรณ์พิจารณาสั่ง
 
มาตรา ๒๔๒ [๒๔๑]  เมื่อศาลอุทธรณ์ได้ตรวจสำนวนความและ
ฟั งคู่ความทัง้ ปวง หรือสืบพยานต่อไปดังบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๔๐ เสร็จ
แล้ว ให้ศาลอุทธรณ์ชข
ี ้ าดตัดสินอุทธรณ์โดยประการใดประการหนึ่งในสี่
ประการนี ้
(๑) ถ้าศาลอุทธรณ์เห็นว่า อุทธรณ์นน
ั ้ ต้องห้ามตามกฎหมาย
ก็ให้ยกอุทธรณ์นน
ั ้ เสียโดยไม่ต้องวินิจฉัยในประเด็นแห่งอุทธรณ์
(๒) ถ้าศาลอุทธรณ์เ ห็น ว่า คำวิน ิจฉัยของศาลชัน
้ ต้น ถูก ต้อ ง
ไม่ว่าโดยเหตุเดียวกันหรือเหตุอ่ น
ื ก็ให้พิพากษายืนตามศาลชัน
้ ต้นนัน

(๓) ถ้าศาลอุทธรณ์เห็นว่า คำชีข
้ าดของศาลชัน
้ ต้นไม่ถ ก
ู ต้อง
ให้กลับคำพิพ ากษาของศาลชัน
้ ต้น เสีย และพิพ ากษาในปั ญหาเหล่า นัน

ใหม่
(๔) ถ้าศาลอุทธรณ์เห็นว่า คำวินิจฉัยของศาลชัน
้ ต้นถูกแต่บาง
ส่ว น และผิด บางส่ว น ก็ใ ห้แ ก้คำ พิพ ากษาศาลชัน
้ ต้น ไปตามนัน
้ โดย
พิพากษายืนบางส่วน กลับบางส่วน และมีคำพิพากษาใหม่แทนส่วนที่กลับ
นัน

 
มาตรา ๒๔๓[๒๔๒]  ให้ศาลอุทธรณ์มีอำนาจดังต่อไปนีด
้ ้วย คือ
(๑) เมื่อ คดีป รากฏเหตุท ี่ม ิไ ด้ป ฏิบ ัต ิต ามบทบัญ ญัต ิแ ห่ง
ประมวลกฎหมายนีว้ ่าด้วยคำพิพากษาและคำสั่ง และศาลอุทธรณ์เห็นว่า
มีเหตุอันสมควร ก็ให้ศาลอุทธรณ์มีคำสั่งยกคำพิพากษาหรือคำสั่งศาลชั น

ต้นนั น
้ เสีย แล้วส่ง สำนวนคืนไปยังศาลชั น
้ ต้นเพื่ อให้พิพากษาหรือมี คำ
สั่ง ให ม่ ในกรณ ีเ ช่น นี ้ศ าลชัน
้ ต้น อาจประกอบด้ว ยผ ู้พ ิพ ากษาอื่น
นอกจากที่ไ ด้พ ิพ ากษาหรือ มี คำ สั่ง มาแล้ว และคำพิพ ากษาหรือ คำสั่ง
ใหม่นีอ
้ าจวินิจฉัยชีข
้ าดคดีเป็ นอย่างอื่นนอกจากคำพิพากษาหรือคำสั่งที่
ถูกยกได้
(๒) เมื่อ คดีป รากฏเหตุท ี่ม ิไ ด้ป ฏิบ ัต ิต ามบทบัญ ญัต ิแ ห่ง
ประมวลกฎหมายนีว้ ่าด้วยการพิจารณาหรือมีเหตุที่ศาลได้ปฏิเสธไม่สืบ
พยานตามที่ผู้อุทธรณ์ร้องขอ และศาลอุทธรณ์เห็นว่ามีเหตุอันสมควร ก็ให้
ศาลอุทธรณ์มีคำสั่งยกคำพิพากษาหรือคำสั่งศาลชัน
้ ต้นนัน
้ แล้วกำหนดให้
ศาลชัน
้ ต้น ซึ่ง ประกอบด้วยผู้พพ
ิ ากษาคณะเดิมหรือ ผู้พพ
ิ ากษาอื่น หรือ
ศาลชัน
้ ต้น อื่น ใดตามที่ศ าลอุท ธรณ์จ ะเห็น สมควร พิจ ารณาคดีน น
ั ้ ใหม่
ทัง้ หมดหรือบางส่วน และพิพากษาหรือมีคำสั่งใหม่
(๓) ในกรณีที่ศ าลอุทธรณ์จำ ต้อ งถือตามข้อ เท็จ จริง ของศาล
ชัน
้ ต้น ถ้าปรากฏว่า
(ก) การที่ศาลชัน
้ ต้นวินิจฉัยข้อเท็จจริงนัน
้ ผิดต่อกฎหมาย
ศาลอุทธรณ์อาจฟั งข้อเท็จจริงใหม่แทนข้อเท็จจริงของศาลชัน
้ ต้น แล้วมี
คำพิพากษาหรือคำสั่งชีข
้ าดตัดสินคดีไปตามนัน
้ หรือ
(ข) ข้อ เท็จจริง ที่ศ าลชัน
้ ต้น ฟั งมาไม่พ อแก่ก ารวิน ิจ ฉัย ข้อ
กฎหมาย ศาลอุทธรณ์อาจทำคำสั่งให้ยกคำพิพากษาหรือคำสั่งศาลชัน
้ ต้น
นัน
้ เสีย แล้ว กำหนดให้ศ าลชัน
้ ต้น ซึ่ง ประกอบด้ว ยผู้พ ิพ ากษาคณะเดิม
หรือผู้พพ
ิ ากษาอื่น หรือศาลชัน
้ ต้นอื่นใด ตามที่ศาลอุทธรณ์เห็นสมควร
พิจารณาคดีนน
ั ้ ใหม่ทงั ้ หมดหรือบางส่วน โดยดำเนินตามคำชีข
้ าดของศาล
อุทธรณ์แล้วมีคำพิพากษาหรือคำสั่งวินิจฉัยชีข
้ าดคดีไปตามรูปความ  ทัง้ นี ้
ไม่ว่าจะปรากฏจากการอุทธรณ์หรือไม่
ในคดีทงั ้ ปวงที่ศาลชัน
้ ต้นได้มีคำ พิพากษาหรือ คำสั่งใหม่ตาม
มาตรานี ้ คู่ความชอบที่จะอุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสัง่ ใหม่เช่นว่านีไ้ ปยัง
ศาลอุทธรณ์ได้ตามบทบัญญัติแห่งลักษณะนี ้
 
มาตรา ๒๔๔  ศาลอุทธรณ์จะอ่านคำพิพากษานัน
้ เอง หรือจะ
ส่งไปให้ศาลชัน
้ ต้นอ่านก็ได้ ในกรณีเหล่านีใ้ ห้ศาลที่อ่านคำพิพากษามีคำ
สั่งกำหนดนัดวันอ่านส่งให้แก่คค
ู่ วามอุทธรณ์ทุกฝ่ าย
 
มาตรา ๒๔๔/๑[๒๔๓]  ภายใต้บังคับมาตรา ๒๔๗ คำพิพากษา
หรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์ให้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๒๔๕  คำ พิพ ากษาหรือ คำ สั่ง ชั น
้ อุท ธรณ์ใ ห้ม ีผ ล
เฉพาะระหว่างคู่ความชั น
้ อุทธรณ์  เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี ้
(๑) ถ้าคำพิพากษาหรือคำสั่งที่อุทธรณ์นน
ั ้ เกี่ยวด้วยการชำระ
หนีอ
้ ันไม่อาจแบ่งแยกได้ และคู่ความแต่บางฝ่ ายเป็ นผู้อุทธรณ์ซึ่งทำให้คำ
พิพากษาหรือคำสั่งนัน
้ มีผลเป็ นที่สุดระหว่างคู่ความอื่น ๆ ถ้าศาลอุทธรณ์
เห็นว่าควรกลับคำพิพากษาหรือคำสั่งที่อุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์มีอำ นาจ
ชีข
้ าดว่า คำพิพ ากษาหรือ คำสั่ง ศาลอุท ธรณ์ ให้ม ผ
ี ลระหว่า งคู่ค วามทุก
ฝ่ ายในคดีในศาลชัน
้ ต้นด้วย
(๒) ถ้าได้มีการอนุญาตให้ผ ู้ร้องสอดเข้ามาในคดีแทนคู่ความ
ฝ่ ายใด คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ย่อมมีผลบังคับแก่คค
ู่ วามฝ่ ายนัน
้ ด้วย
 
มาตรา ๒๔๖   เว้น แต่ท ี่ไ ด้บ ัญ ญัต ิไ ว้ด ัง กล่า วมาข้า งต้น
บทบัญ ญัต ิแ ห่ง ประมวลกฎหมายนีว้ ่า ด้ว ยการพิจ ารณาและการชีข
้ าด
ตัด สิน คดีใ นศาลชัน
้ ต้น นัน
้ ให้ใ ช้บ งั คับ แก่ก ารพิจ ารณาและการชีข
้ าด
ตัดสินคดีในชัน
้ อุทธรณ์ได้โดยอนุโลม
 
ลักษณะ ๒
ฎีกา
                  
 
มาตรา ๒๔๗ [๒๔ ๔ ]  การฎีก าคำพิพ ากษาหรือ คำสั่ง ของศาล
อุทธรณ์ ให้กระทำได้เมื่อได้รับอนุญาตจากศาลฎีกา
การขออนุญาตฎีกา ให้ย่ น
ื คำร้องพร้อมกับคำฟ้ องฎีกาต่อศาล
ชัน
้ ต้นที่มีคำ พิพากษาหรือคำสั่งในคดีนน
ั ้ ภายในกำหนดหนึ่งเดือนนับแต่
วันที่ได้อ่านคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์ แล้วให้ศาลชัน
้ ต้นรีบ
ส่ง คำ ร้อ งพร้อ มคำ ฟ้ องฎีก าดัง กล่า วไปยัง ศาลฎีก า และให้ศ าลฎีก า
พิจารณาวินิจฉัยคำร้องให้เสร็จสิน
้ โดยเร็ว
 
 
มาตรา ๒๔๘ [๒๔๕]  คำร้องตามมาตรา ๒๔๗ ให้พ ิจารณาและ
วิน ิจฉัยโดยองค์ค ณะผู้พพ
ิ ากษาที่ป ระธานศาลฎีก าแต่ง ตัง้ ซึ่ง ประกอบ
ด้วยรองประธานศาลฎีกาและผู้พิพากษาในศาลฎีกาซึ่ง ดำรงตำแหน่งไม่
ต่ำกว่าผู้พพ
ิ ากษาศาลฎีกาอีกอย่างน้อยสามคน
การวินิจฉัยให้เป็ นไปตามเสียงข้างมาก ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน
ให้บังคับตามความเห็นของฝ่ ายที่เห็นควรอนุญาตให้ฎีกา
 
มาตรา ๒๔๙ [๒๔๖]  ให้ศ าลฎีก าพิจ ารณาอนุญ าตให้ฎ ีก าตาม
มาตรา ๒๔๗ ได้ เมื่อ เห็น ว่า ปั ญหาตามฎีก านัน
้ เป็ นปั ญหาสำคัญ ที่ศ าล
ฎีกาควรวินิจฉัย
ปั ญหาสำคัญตามวรรคหนึ่ง ให้รวมถึงกรณีดังต่อไปนี ้
(๑) ปั ญหาที่เกี่ยวพันกับประโยชน์สาธารณะ หรือความสงบ
เรียบร้อยของประชาชน
(๒) เมื่อคำพิพ ากษาหรือ คำสัง่ ของศาลอุทธรณ์ไ ด้วินิจฉัยข้อ
กฎหมายที่สำคัญขัดกันหรือขัดกับแนวบรรทัดฐานของคำพิพากษาหรือคำ
สั่งของศาลฎีกา
(๓) คำ พิพ ากษาหรือ คำ สั่ง ของศาลอุท ธรณ์ไ ด้ว ิน ิจ ฉัย ข้อ
กฎหมายที่สำคัญซึ่งยังไม่มีแนวคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลฎีกามาก่อน
(๔) เมื่อ คำ พิพ ากษาหรือ คำ สั่ง ของศาลอุท ธรณ์ข ัด กับ คำ
พิพากษาหรือคำสั่งอันถึงที่สุดของศาลอื่น
(๕) เพื่อเป็ นการพัฒนาการตีความกฎหมาย
(๖) ปั ญหาสำคัญอื่นตามข้อกำหนดของประธานศาลฎีกา
ข้อกำหนดของประธานศาลฎีกาตามวรรคสอง (๖) เมื่อได้รับ
ความเห็น ชอบจากที่ป ระชุม ใหญ่ศ าลฎีก าและประกาศในราชกิจ จานุ
เบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
ในกรณีท ี่ศ าลฎีก ามีคำ สั่ง ไม่อ นุญ าตให้ฎ ีก า ให้คำ พิพ ากษา
หรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์เป็ นที่สุดตัง้ แต่วันที่ได้อ่านคำพิพากษาหรือคำ
สั่งนัน

 
มาตรา ๒๕๐[๒๔๗]  หลักเกณฑ์และวิธีการในการยื่นคำร้อง การ
พิจารณาวินิจฉัยและระยะเวลาในการพิจารณาคำร้องตามมาตรา ๒๔๗
การตรวจรับฎีกา การแก้ฎีกา การพิจารณา และการพิพากษาคดี รวมทัง้
การสั่งคืนค่าฤชาธรรมเนียม ให้เป็ นไปตามข้อ กำหนดของประธานศาล
ฎีกา
ข้อ กำ หนดของประธานศาลฎีก าตามวรรคหนึ่ง เมื่อ ได้ร ับ
ความเห็น ชอบจากที่ป ระชุม ใหญ่ศ าลฎีก าและประกาศในราชกิจ จานุ
เบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
 
มาตรา ๒๕๑ [๒๔๘]  ในคดีที่ไ ด้รับอนุญ าตให้ฎีก าที่มีแ ต่เ ฉพาะ
ปั ญหาข้อกฎหมาย หากศาลฎีก าเห็น ว่า คำพิพ ากษาหรือ คำสั่ง ของศาล
อุทธรณ์ไม่ถ ูก ต้องไม่ว่าทัง้ หมดหรือบางส่วน ศาลฎีกาจะมี คำ วิน ิจฉัยใน
ปั ญหาข้อกฎหมายนัน
้ และยกคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์หรือ
ศาลชัน
้ ต้น แล้วมีคำสั่งให้ศาลอุทธรณ์หรือศาลชัน
้ ต้น แล้วแต่กรณี ทำคำ
พิพากษาหรือคำสั่งใหม่ภายใต้กรอบคำวินิจฉัยของศาลฎีกาก็ได้
 
มาตรา ๒๕๒ [๒๔๙]  ในกรณีที่ไม่มีข ้อ กำหนดของประธานศาล
ฎีกาตามมาตรา ๒๕๐ กำหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ให้นำบทบัญญัติในลักษณะ
๑ ว่าด้วยอุทธรณ์มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
ภาค ๔
วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาและการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
                  
 
ลักษณะ ๑
วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษา
                  
 
หมวด ๑
หลักทั่วไป
                  
 
มาตรา ๒๕๓ [๒๕๐]  ถ้าโจทก์มิได้มีภ ูมิลำ เนาหรือสำนักทำการ
งานอยู่ในราชอาณาจักรและไม่มีทรัพย์สินที่อาจถูกบังคับคดีได้อยู่ในราช
อาณาจักร หรือถ้าเป็ นที่เชื่อได้ว่าเมื่อโจทก์แพ้คดีแล้วจะหลีกเลี่ยงไม่ชำระ
ค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใช้จ่าย จำเลยอาจยื่นคำร้องต่อศาลไม่ว่าเวลาใด
ๆ ก่อนพิพากษาขอให้ศาลมีคำ สั่งให้โจทก์วางเงินต่อศาลหรือหาประกัน
มาให้เพื่อการชำระค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายดังกล่าวได้
ถ้าศาลไต่สวนแล้วเห็นว่า มีเหตุอันสมควรหรือมีเหตุเป็ นที่เชื่อ
ได้ แล้วแต่กรณี ก็ให้ศาลมีคำสั่งให้โจทก์วางเงินต่อศาลหรือหาประกันมา
ให้ตามจำนวนและภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยจะกำหนดเงื่อนไขใด ๆ
ตามที่เห็นสมควรก็ได้
ถ้าโจทก์มิได้ปฏิบัติตามคำสั่งศาลตามวรรคสอง ให้ศาลมีคำสัง่
จำ หน่า ยคดีอ อกจากสารบบความ เว้น แต่จำ เลยจะขอให้ดำ เนิน การ
พิจารณาต่อไป หรือมีการอุทธรณ์คำสัง่ ศาลตามวรรคสอง
 
มาตรา ๒๕๓ ทวิ[๒๕๑]  ในกรณีที่โจทก์ไ ด้ย่ น
ื อุทธรณ์หรือฎีกา
คัด ค้า นคำ พิพ ากษาถ้า มีเ หตุใ ดเหตุห นึง่ ตามมาตรา ๒๕๓ วรรคหนึ่ง
จำเลยอาจยื่นคำร้องต่อศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา แล้วแต่กรณี ไม่ว่าเวลา
ใด ๆ ก่อ นพิพ ากษา ขอให้ศ าลมีคำ สั่ง ให้โ จทก์ว างเงิน ต่อ ศาลหรือ หา
ประกันมาให้เพื่อการชำระค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายดังกล่าวได้
ในระหว่า งที่ศ าลชัน
้ ต้น ยัง มิไ ด้ส ่ง สำ นวนความไปยัง ศาล
อุทธรณ์หรือศาลฎีก า คำร้องตามวรรคหนึ่ง ให้ย่ น
ื ต่อ ศาลชัน
้ ต้น และให้
ศาลชัน
้ ต้นทำการไต่สวน แล้วส่ง คำร้องนัน
้ พร้อมด้วยสำนวนความไปให้
ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาสัง่
ให้นำ ความในมาตรา ๒๕๓ วรรคสองและวรรคสาม มาใช้
บังคับแก่การพิจารณาในชัน
้ อุทธรณ์และฎีกาโดยอนุโลม
 
มาตรา ๒๕๔ [๒๕๒]  ในคดีอ่ น
ื ๆ นอกจากคดีม โนสาเร่ โจทก์
ชอบที่จะยื่นต่อศาลพร้อมกับ คำฟ้ องหรือในเวลาใด ๆ ก่อนพิพากษา ซึ่ง
คำขอฝ่ ายเดียว ร้องขอให้ศาลมีคำสั่งภายในบังคับแห่งเงื่อนไขซึ่งจะกล่าว
ต่อไป เพื่อจัดให้มีวิธีคุ้มครองใด ๆ ดังต่อไปนี ้
(๑) ให้ยึดหรืออายัดทรัพย์สินที่พิพาทหรือทรัพย์สินของจำเลย
ทัง้ หมดหรือบางส่วนไว้ก่อนพิพากษา รวมทัง้ จำนวนเงินหรือทรัพย์สินของ
บุคคลภายนอกซึ่งถึงกำหนดชำระแก่จำเลย
(๒) ให้ศ าลมีคำ สั่ง ห้า มชั่ว คราวมิใ ห้จำ เลยกระทำ ซ้ำหรือ
กระทำต่อไป ซึง่ การละเมิดหรือ การผิดสัญญาหรือการกระทำที่ถูก ฟ้ อง
ร้อง หรือมีคำ สั่งอื่นใดในอันที่จะบรรเทาความเดือดร้อนเสียหายที่โจทก์
อาจได้รับต่อไปเนื่องจากการกระทำของจำเลยหรือมีคำสั่งห้ามชั่วคราวมิ
ให้จำเลยโอน ขาย ยักย้ายหรือจำหน่ายซึ่งทรัพย์สินที่พิพาทหรือทรัพย์สิน
ของจำเลย หรือมีคำสัง่ ให้หยุดหรือป้ องกันการเปลืองไปเปล่าหรือการบุบ
สลายซึง่ ทรัพย์สินดังกล่าว  ทัง้ นี ้ จนกว่าคดีจะถึงที่สุดหรือศาลจะมีคำ สั่ง
เป็ นอย่างอื่น
(๓) ให้ศ าลมีคำ สั่ง ให้น ายทะเบียน พนัก งานเจ้า หน้า ที่ หรือ
บุคคลอื่นผู้มีอำ นาจหน้าที่ตามกฎหมาย ระงับการจดทะเบียน การแก้ไข
เปลี่ยนแปลงทางทะเบีย น หรือ การเพิก ถอนการจดทะเบีย นที่เ กี่ยวกับ
ทรัพย์สินที่พิพาทหรือทรัพย์สินของจำเลยหรือที่เกี่ยวกับการกระทำที่ถูก
ฟ้ องร้องไว้ชั่วคราวจนกว่าคดีจะถึงที่สุดหรือศาลจะมี คำสั่งเป็ นอย่างอื่น  
ทัง้ นี ้ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
(๔) ให้จับกุมและกักขังจำเลยไว้ชั่วคราว
ในระหว่างระยะเวลานับแต่ศาลชัน
้ ต้นหรือศาลอุทธรณ์ได้อ่าน
คำพิพากษา หรือคำสั่งชีข
้ าดคดีหรือชีข
้ าดอุทธรณ์ไปจนถึงเวลาที่ศาลชัน

ต้นได้ส่งสำนวนความที่อุทธรณ์หรือฎีกาไปยังศาลอุทธรณ์ห รือ ศาลฎีกา
แล้ว แต่ก รณี คำ ขอตามมาตรานีใ้ ห้ย่ น
ื ต่อ ศาลชัน
้ ต้น ให้ศ าลชัน
้ ต้น มี
อำนาจที่จะสั่งอนุญาตหรือยกคำขอเช่นว่านี ้
 
มาตรา ๒๕๕ [๒๕๓]  ในการพิจารณาอนุญ าตตามคำขอที่ย่ น
ื ไว้
ตามมาตรา ๒๕๔ ต้องให้เ ป็ นที่พอใจของศาลว่า คำฟ้ องมีม ูลและมีเ หตุ
เพียงพอที่จะนำวิธีคุ้มครองตามที่ขอนัน
้ มาใช้ได้ตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี ้
(๑) ในกรณีท ี่ย่ น
ื คำขอให้ศ าลมีคำ สั่ง ตามมาตรา ๒๕๔ (๑)
ต้องให้เป็ นที่พอใจของศาลว่า
(ก) จำเลยตัง้ ใจจะยักย้ายทรัพ ย์ส ินที่พิพ าทหรือทรัพ ย์ส ิน
ของตนทัง้ หมดหรือแต่บางส่วนไปให้พ้นจากอำนาจศาล หรือจะโอน ขาย
หรือจำหน่ายทรัพย์สินดังกล่าวเพื่อประวิงหรือขัดขวางต่อการบังคับตาม
คำบังคับใด ๆ ซึ่งอาจจะออกบังคับเอาแก่จำ เลยหรือเพื่อจะทำให้โจทก์
เสียเปรียบ หรือ
(ข) มีเหตุจำ เป็ นอื่นใดตามที่ศาลจะพิเคราะห์เห็นเป็ นการ
ยุติธรรมและสมควร
(๒) ในกรณีท ี่ย่ น
ื คำขอให้ศ าลมีคำ สั่ง ตามมาตรา ๒๕๔ (๒)
ต้องให้เป็ นที่พอใจของศาลว่า
(ก) จำเลยตัง้ ใจจะกระทำซ้ำหรือกระทำต่อไปซึ่งการละเมิด
การผิดสัญญา หรือการกระทำที่ถูกฟ้ องร้อง
(ข) โจทก์จะได้รับความเดือ ดร้อนเสียหายต่อ ไปเนื่อ งจาก
การกระทำของจำเลย
(ค ) ทร ัพ ย ์ส ิน ที่พ พ
ิ าท ห ร ือ ท รัพ ย์ส ิน ข อง จำ เ ล ย น น
ั้ ม ี
พฤติการณ์ว่าจะมีการกระทำให้เปลืองไปเปล่าหรือบุบสลายหรือโอนไปยัง
ผู้อ่ น
ื หรือ
(ง) มีเหตุตาม (๑) (ก) หรือ (ข)
(๓) ในกรณีท ี่ย่ น
ื คำขอให้ศ าลมีคำ สั่ง ตามมาตรา ๒๕๔ (๓)
ต้องให้เป็ นที่พอใจของศาลว่า
(ก) เป็ นที่เกรงว่าจำเลยจะดำเนินการให้มีการจดทะเบียน
แก้ไ ขเปลี่ย นแปลงทางทะเบีย น หรือ เพิก ถอนการจดทะเบีย นเกี่ย วกับ
ทรัพย์สินที่พิพาทหรือทรัพย์สินของจำเลยหรือที่เกี่ยวกับการกระทำที่ถูก
ฟ้ องร้อง ซึง่ การดำเนิน การดังกล่า วจะก่อ ให้เ กิดความเสียหายแก่โ จทก์
หรือ
(ข) มีเหตุตาม (๑) (ข)
(๔) ในกรณีท ี่ย่ น
ื คำขอให้ศ าลมีคำ สั่ง ตามมาตรา ๒๕๔ (๔)
ต้อ งให้เ ป็ นที่พ อใจของศาลว่า เพื่อ ที่จ ะประวิง หรือ ขัด ขวางต่อ การ
พิจารณาคดีหรือการบังคับตามคำบังคับใด ๆ ซึ่งอาจจะออกบังคับเอาแก่
จำเลย หรือเพื่อจะทำให้โจทก์เสียเปรียบ
(ก) จำเลยซ่อ นตัว เพื่อ จะไม่ร ับ หมายเรีย กหรือ คำสั่ง ของ
ศาล
(ข) จำ เลยได้ย ัก ย้า ยไปให้พ ้น อำ นาจศาลหรือ ซุก ซ่อ น
เอกสารใด ๆ ซึ่งพอจะเห็นได้ว่าจะใช้เป็ นพยานหลักฐานยัน จำเลยในคดีที่
อยู่ในระหว่างพิจารณา หรือทรัพย์สินที่พิพาท หรือทรัพย์สินของจำเลย
ทัง้ หมดหรือแต่บางส่วน หรือเป็ นที่เกรงว่า จำเลยจะจำหน่ายหรือทำลาย
เอกสารหรือทรัพย์สินเช่นว่านัน
้ หรือ
(ค) ปรากฏตามกิริยาหรือตามวิธีที่จำ เลยประกอบการงาน
หรือการค้าของตนว่าจำเลยจะหลีกหนีหรือพอเห็นได้ว่าจะหลีกหนีไปให้
พ้นอำนาจศาล
 
มาตรา ๒๕๖[๒๕๔]  ในกรณีที่ย่ น
ื คำขอให้ศาลมีคำสัง่ ตามมาตรา
๒๕๔ (๒) หรือ (๓) ถ้าศาลเห็นว่าหากให้โอกาสจำเลยคัดค้านก่อนจะไม่
เสียหายแก่โจทก์ ก็ให้ศาลแจ้ง กำหนดวันนั่งพิจารณาพร้อมทัง้ ส่ง สำเนา
คำขอให้แก่จำเลยโดยทางเจ้าพนักงานศาล จำเลยจะเสนอข้อคัดค้านของ
ตนในการที่ศาลนั่งพิจารณาคำขอนัน
้ ก็ได้
 
มาตรา ๒๕๗[๒๕๕]  ให้ศาลมีอำนาจที่จะสั่งอนุญาตตามคำขอที่
ได้ย่ น
ื ตามมาตรา ๒๕๔ ได้ภายในขอบเขตหรือโดยมีเงื่อนไขอย่างใดก็ได้
แล้วแต่จะเห็นสมควร
ในกรณีท ี่ศ าลมีคำ สั่ง อนุญ าตตามคำ ขอที่ไ ด้ย่ น
ื ตามมาตรา
๒๕๔ (๒) ให้ศาลแจ้งคำสัง่ นัน
้ ให้จำเลยทราบ
ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งห้ามชั่วคราวมิให้จำเลยโอน ขาย ยักย้าย
หรือจำหน่ายซึ่งทรัพย์สินที่พพ
ิ าทหรือทรัพย์สินของจำเลย ศาลจะกำหนด
วิธีการโฆษณาตามที่เห็นสมควรเพื่อป้ องกันการฉ้อฉลก็ได้
ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งห้ามชั่วคราวมิให้จำเลยโอน ขาย ยักย้าย
หรือ จำหน่า ยซึ่ง ทรัพ ย์ส ิน ที่พ ิพ าทหรือ ทรัพ ย์ส ิน ของจำเลยที่ก ฎหมาย
กำหนดไว้ให้จดทะเบียน หรือมีคำ สั่งให้นายทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าที่
หรือบุคคลอื่นผู้มีอำ นาจหน้าที่ตามกฎหมาย ระงับการจดทะเบียน การ
แก้ไขเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน หรือการเพิกถอนการจดทะเบียนที่เกี่ยว
กับทรัพย์สินดังกล่าวหรือที่เกี่ยวกับการกระทำที่ถูกฟ้ องร้อง ให้ศาลแจ้ง
คำสัง่ นัน
้ ให้น ายทะเบีย น พนัก งานเจ้า หน้า ที่ หรือ บุค คลอื่น ผู้ม ีอำ นาจ
หน้าที่ตามกฎหมายทราบ และให้บุคคลดังกล่าวบันทึกคำสั่งของศาลไว้ใน
ทะเบียน
ไม่ว ่า ในกรณีใ ด ๆ ก่อ นที่ศ าลจะออกหมายยึด หมายอายัด
หมายห้ามชั่วคราวหมายจับ หรือคำสั่งใด ๆ ศาลจะสั่งให้ผู้ขอนำเงินหรือ
หาประกัน ตามจำนวนที่เ ห็น สมควรมาวางศาลเพื่อ การชำระค่า สิน ไหม
ทดแทนซึ่งจำเลยอาจได้รับตามมาตรา ๒๖๓ ก็ได้
 
มาตรา ๒๕๘[๒๕๖]  คำสัง่ ศาลซึ่งอนุญาตตามคำขอที่ได้ย่ น
ื ตาม
มาตรา ๒๕๔ (๑) นัน
้ ให้บังคับ จำเลยได้ทันทีแล้วแจ้ง คำสั่งนัน
้ ให้จำ เลย
ทราบโดยไม่ชักช้าแต่จะใช้บังคับบุคคลภายนอก ซึ่งพิส ูจน์ได้ว่าได้รับโอน
สุจริตและเสียค่าตอบแทนก่อนการแจ้งคำสัง่ ให้จำเลยทราบมิได้
คำสัง่ ศาลซึ่งอนุญาตตามคำขอที่ได้ย่ น
ื ตามมาตรา ๒๕๔ (๒)
นัน
้ ให้บังคับจำเลยได้ทันที ถึงแม้ว่า จำเลยจะยังมิได้รับแจ้ง คำสั่งเช่นว่า
นัน
้ ก็ตาม เว้นแต่ศาลจะได้พิเคราะห์พฤติการณ์แห่งคดีแล้วเห็นสมควรให้
คำสัง่ มีผลบังคับเมื่อจำเลยได้รับแจ้งคำสั่งเช่นว่านัน
้ แล้ว
คำสัง่ ศาลซึ่งอนุญาตตามคำขอที่ได้ย่ น
ื ตามมาตรา ๒๕๔ (๓) ที่
เกี่ยวกับทรัพย์สินที่พิพาทหรือทรัพย์สินของจำเลย นัน
้ ให้มีผลใช้บังคับได้
ทันที ถึงแม้ว่านายทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือบุคคลอื่นผู้มีอำ นาจ
หน้าที่ตามกฎหมายจะยังมิได้รับแจ้ง คำสั่งเช่นว่านัน
้ ก็ตาม เว้นแต่ศาลจะ
ได้พ ิเ คราะห์พ ฤติก ารณ์แ ห่ง คดีแ ล้ว เห็น สมควรให้คำ สั่ง มีผ ลบัง คับ เมื่อ
บุคคลดังกล่าวได้รับแจ้งคำสั่งเช่นว่านัน
้ แล้ว
คำสัง่ ศาลซึ่งอนุญาตตามคำขอที่ได้ย่ น
ื ตามมาตรา ๒๕๔ (๓) ที่
เกี่ย วกับ การกระทำ ที่ถ ูก ฟ้ องร้อ งให้ม ีผ ลใช้บ ัง คับ แก่น ายทะเบีย น
พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือบุคคลอื่น ผู้มีอำ นาจหน้า ที่ต ามกฎหมายต่อ เมื่อ
บุคคลดังกล่าวได้รับแจ้งคำสั่งเช่นว่านัน
้ แล้ว
หมายจับ จำเลยที่ศ าลได้อ อกตามคำขอที่ไ ด้ย่ น
ื ตามมาตรา
๒๕๔ (๔) ให้บงั คับได้ทั่วราชอาณาจักร การกักขังตามหมายจับเช่นว่านี ้
ห้ามมิให้กระทำเกินหกเดือนนับแต่วันจับ
 
มาตรา ๒๕๘ ทวิ[๒๕ ๗ ]  การที่จำ เลยได้ก ่อ ให้เ กิด โอน หรือ
เปลี่ยนแปลงซึ่งสิทธิในทรัพ ย์ส ิน ที่พ ิพ าท หรือ ทรัพ ย์ส ิน ของจำเลยภาย
หลัง ที่คำ สั่ง ของศาลที่ห ้ามโอน ขาย ยัก ย้า ย หรือ จำหน่า ย ซึง่ ออกตาม
คำขอที่ได้ย่ น
ื ตามมาตรา ๒๕๔ (๒) มีผลใช้บังคับแล้วนัน
้ หาอาจใช้ยันแก่
โจทก์หรือเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ไม่ ถึงแม้ว่าราคาแห่งทรัพย์สินนัน
้ จะ
เกินกว่าจำนวนหนีแ
้ ละค่าฤชาธรรมเนียมในการฟ้ องร้องและการบังคับคดี
และจำเลยได้จำหน่ายทรัพย์สน
ิ เพียงส่วนทีเ่ กินจำนวนนัน
้ ก็ตาม
การที่น ายทะเบีย น พนัก งานเจ้า หน้า ที่ หรือ บุค คลอื่น ผู้ม ี
อำนาจหน้า ที่ต ามกฎหมายรับ จดทะเบีย นหรือ แก้ไ ขเปลี่ย นแปลงทาง
ทะเบียน หรือเพิกถอนการจดทะเบียนที่เ กี่ยวกับ ทรัพ ย์ส ินที่พิพ าทหรือ
ทรัพย์สินของจำเลยภายหลังที่คำสัง่ ของศาลซึ่งออกตามคำขอที่ได้ย่ น
ื ตาม
มาตรา ๒๕๔ (๓) มีผ ลใช้บ ัง คับ แล้ว นัน
้ หาอาจใช้ย ัน แก่โ จทก์ห รือ เจ้า
พนักงานบังคับคดีได้ไม่ เว้นแต่ผู้รับโอนจะพิสูจน์ได้ว่าได้รับโอนโดยสุจริต
และเสียค่าตอบแทนก่อนที่นายทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือบุคคล
อื่นผู้มีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายจะได้รับแจ้งคำสั่ง
การที่น ายทะเบีย น พนัก งานเจ้า หน้า ที่ หรือ บุค คลอื่น ผู้ม ี
อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายรับ จดทะเบีย น หรือ แก้ไ ขเปลี่ย นแปลงทาง
ทะเบียน หรือเพิกถอนการจดทะเบียนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ถูกฟ้ องร้อง
ภายหลังที่บุคคลดังกล่าวได้รับแจ้งคำสั่งของศาลซึง่ ออกตามคำขอที่ได้ย่ น

ตามมาตรา ๒๕๔ (๓) แล้วนัน
้ ยังไม่มีผลใช้บังคับตามกฎหมายในระหว่าง
ใช้วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษา
 
มาตรา ๒๕๙[๒๕๘]  ให้นำบทบัญญัติในลักษณะ ๒ แห่งภาคนีว้ ่า
ด้วยการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสัง่ มาใช้บังคับแก่วิธีการชั่วคราว
ก่อนพิพากษาด้วยโดยอนุโลม
 
มาตรา ๒๖๐[๒๕๙]  ในกรณีที่คำพิพากษาหรือคำสั่งชีข
้ าดตัดสิน
คดีมิได้กล่าวถึงวิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาที่ศาลได้สั่งไว้ในระหว่างการ
พิจารณา
(๑) ถ้า คดีน น
ั ้ ศาลตัด สิน ให้จำ เลยเป็ นฝ่ ายชนะคดีเ ต็ม ตาม
ข้อหาหรือบางส่วนคำสั่งของศาลเกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวในส่วนที่ จำ เลย
ชนะคดีนน
ั ้ ให้ถือว่าเป็ นอันยกเลิกเมื่อพ้น กำหนดเจ็ดวันนับแต่วันที่ศาลมี
คำพิพากษาหรือคำสั่ง เว้นแต่โจทก์จะได้ย่ น
ื คำขอฝ่ ายเดียวต่อศาลชัน
้ ต้น
ภายในกำหนดเวลาดังกล่าว แสดงว่าตนประสงค์จะยื่นอุทธรณ์หรือฎีกา
คำพิพากษาหรือคำสั่งนัน
้ และมีเหตุอันสมควรที่ศาลจะมีคำ สั่งให้วิธีการ
ชั่วคราวเช่นว่านัน
้ ยังคงมีผลใช้บังคับต่อไปในกรณีเช่นว่านี ้ ถ้าศาลชัน
้ ต้นมี
คำสั่งให้ยกคำขอของโจทก์ คำสั่งของศาลให้เป็ นที่สุด ถ้าศาลชัน
้ ต้นมีคำ
สั่งให้วิธีการชั่วคราวยังคงมีผลใช้บังคับต่อไป คำสั่งของศาลชัน
้ ต้นให้มีผล
ใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะครบกำหนดยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาหรือศาลมีคำ สัง่
ถึงที่สุดไม่รับอุทธรณ์หรือฎีกาแล้วแต่กรณี เมื่อมีการอุทธรณ์หรือฎีกาแล้ว
คำสัง่ ของศาลชัน
้ ต้น ให้มีผ ลใช้บ ังคับ ต่อ ไปจนกว่า ศาลอุท ธรณ์ห รือ ศาล
ฎีกาจะมีคำสั่งเป็ นอย่างอื่น
(๒) ถ้าคดีนน
ั ้ ศาลตัด สิน ให้โ จทก์เ ป็ นฝ่ ายชนะคดี คำสัง่ ของ
ศาลเกี่ย วกับ วิธ ีก ารชั่ว คราวยัง คงมีผ ลใช้บ ัง คับ ต่อ ไปเท่า ที่ จำ เป็ นเพื่อ
ปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล
 
มาตรา ๒๖๑[๒๖๐]  จำเลยหรือบุคคลภายนอกซึ่งได้รับหมายยึด
หมายอายัด หรือคำสั่งตามมาตรา ๒๕๔ (๑) (๒) หรือ (๓) หรือจะต้องเสีย
หายเพราะหมายยึด หมายอายัด หรือ คำสั่งดังกล่าว อาจมีคำ ขอต่อศาล
ให้ถอนหมาย เพิกถอนคำสั่ง หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำสั่ง หมายยึด หรือ
หมายอายัด ซึง่ ออกตามคำสั่งดังกล่าวได้ แต่ถ้าบุคคลภายนอกเช่นว่านัน

ขอให้ปล่อยทรัพย์สินที่ยึดหรือคัดค้านคำสั่งอายัดให้นำมาตรา ๓๒๓ หรือ
มาตรา ๓๒๕ แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับโดยอนุโลม[๒๖๑]
จำเลยซึง่ ถูกศาลออกคำสัง่ จับกุมตามมาตรา ๒๕๔ (๔) อาจมี
คำขอต่อ ศาลให้เ พิก ถอนคำสัง่ ถอนหมาย หรือ ให้ป ล่อ ยตัว ไปโดยไม่ม ี
เงื่อนไขหรือให้ป ล่อยตัวไปชั่วคราวโดยมีห ลัก ประกัน ตามจำนวนที่ศ าล
เห็นสมควรหรือไม่ก็ได้
ถ้าปรากฏว่าวิธีการที่กำหนดไว้ตามมาตรา ๒๕๔ นัน
้ ไม่มีเหตุ
เพียงพอหรือมีเหตุอันสมควรประการอื่น ศาลจะมีคำสัง่ อนุญาตตามคำขอ
หรือ มีคำ สั่ง อื่น ใดตามที่เ ห็น สมควร เพื่อ ประโยชน์แ ห่ง ความยุต ิธ รรม
ก็ได้  ทัง้ นี ้ ศาลจะกำหนดให้ผู้ขอวางเงินต่อศาลหรือหาประกันมาให้ตาม
จำนวนและภายในระยะเวลาที่เ ห็น สมควรหรือ จะกำหนดเงื่อ นไขใด ๆ
ตามที่เ ห็น สมควรก็ไ ด้แ ต่ในกรณีที่เ ป็ นการฟ้ องเรียกเงิน ห้า มไม่ให้ศ าล
เรียกประกันเกินกว่าจำนวนเงินที่ฟ้องรวมทัง้ ค่าฤชาธรรมเนียม
 
มาตรา ๒๖๒ [๒๖๒]  ถ้าข้อเท็จจริง หรือ พฤติก ารณ์ที่ศ าลอาศัย
เป็ นหลักในการมีคำ สั่งอนุญาตตามคำขอในวิธีการชั่วคราวอย่างใดอย่าง
หนึ่งนัน
้ เปลี่ยนแปลงไป เมื่อศาลเห็น สมควร หรือ เมื่อ จำเลยหรือ บุคคล
ภายนอกตามที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นมาตรา ๒๖๑ มีคำ ขอศาลที่ค ดีน น
ั ้ อยู่ใ น
ระหว่างพิจารณาจะมีคำสั่งแก้ไขหรือยกเลิกวิธีการเช่นว่านัน
้ เสียก็ได้
ในระหว่างระยะเวลานับแต่ศาลชัน
้ ต้นหรือศาลอุทธรณ์ได้อ่าน
คำพิพากษาหรือคำสั่งชีข
้ าดคดีหรือชีข
้ าดอุทธรณ์ไปจนถึงเวลาที่ศาลชัน

ต้นได้ส่งสำนวนความที่อุทธรณ์หรือฎีกาไปยังศาลอุทธรณ์ห รือ ศาลฎีกา
แล้วแต่กรณี คำขอตามมาตรานีใ้ ห้ย่ น
ื ต่อศาลชัน
้ ต้นและให้เป็ นอำนาจของ
ศาลชัน
้ ต้นที่จะมีคำสั่งคำขอเช่นว่านัน

 
มาตรา ๒๖๓[๒๖๓]  ในกรณีที่ศาลได้มีคำสัง่ อนุญาตตามคำขอใน
วิธีการชั่วคราวตามลักษณะนี ้ จำเลยซึ่งต้องถูกบังคับโดยวิธีการนัน
้ อาจยื่น
คำขอต่อศาลชัน
้ ต้นภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีคำพิพากษาของศาลที่มี
คำสั่งตามวิธีการชั่วคราวนัน
้ ขอให้มีคำสั่งให้โจทก์ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
แก่ตนได้ในกรณีดังต่อไปนี ้
(๑) คดีนน
ั ้ ศาลตัด สิน ใจให้โ จทก์เ ป็ นฝ่ ายแพ้ และปรากฏว่า
ศาลมีคำสั่งโดยมีความเห็นหลงไปว่าสิทธิเรียกร้องของผู้ขอมีมูล โดยความ
ผิดหรือเลินเล่อของผู้ขอ
(๒) ไม่ว่าคดีนน
ั ้ ศาลจะชีข
้ าดตัดสินให้โจทก์ชนะหรือแพ้คดี ถ้า
ปรากฏว่าศาลมีคำ สั่ง โดยมีค วามเห็น หลงไปว่า วิธีก ารเช่น ว่า นีม
้ ีเ หตุผ ล
เพียงพอ โดยความผิดหรือเลินเล่อของผู้ขอ
เมื่อ ได้ร ับ คำขอตามวรรคหนึ่ง ศาลมีอำ นาจสั่ง ให้แ ยกการ
พิจารณาเป็ นสำนวนต่างหากจากคดีเดิม และเมื่อศาลทำการไต่สวนแล้ว
เห็นว่าคำขอนัน
้ รับฟั งได้ก็ให้มีคำสัง่ ให้โจทก์ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่
จำเลยได้ตามจำนวนที่ศาลเห็นสมควร ถ้าศาลที่มีคำสัง่ ตามวิธีการชั่วคราว
เป็ นศาลอุทธรณ์ห รือศาลฎีก า เมื่อ ศาลชัน
้ ต้น ทำการไต่ส วนแล้ว ให้ส ่ง
สำนวนให้ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีก า แล้วแต่กรณี เป็ นผู้สงั่ คำขอนัน
้ ถ้า
โจทก์ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งศาล ศาลมีอำนาจบังคับโจทก์เสมือนหนึง่ ว่าเป็ น
ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา แต่ในกรณีที่ศาลมีคำ สัง่ ให้โจทก์ชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทนตาม (๑) ให้งดการบังคับคดีไว้จนกว่าศาลจะมีคำพิพากษาถึงที่สุด
ให้โจทก์แพ้คดี
คำ สั่ง ของศาลชัน
้ ต้น หรือ ศาลอุท ธรณ์ต ามวรรคสอง ให้
อุทธรณ์หรือฎีกาได้ตามบทบัญญัติว่าด้วยการอุทธรณ์หรือฎีกา
 
มาตรา ๒๖๔ [ ๒ ๖ ๔ ]   นอกจากกรณี ท ี ่ บ ั ญ ญั ต ิไ ว้ ใ นมาตรา
๒๕๓ และมาตรา ๒๕๔ คู่ความชอบที่จะยื่นคำขอต่อศาล เพื่อให้มีคำสั่ง
กำหนดวิธีก ารเพื่อคุ้มครองประโยชน์ข องผู้ข อในระหว่า งการพิจ ารณา
หรือเพื่อบังคับตามคำพิพากษา เช่น ให้นำ ทรัพ ย์ส ินหรือ เงินที่พิพาทมา
วางต่อ ศาลหรือ ต่อ บุค คลภายนอก หรือ ให้ต งั ้ ผ ู้จ ัด การหรือ ผู้ร ัก ษา
ทรัพย์สินของห้างร้านที่ทำ การค้าที่พิพาท หรือให้จัดให้บ ุคคลผูไ้ ร้ค วาม
สามารถอยู่ในความปกครองของบุคคลภายนอก
คำ ขอตามวรรคหนึ่ง ให้บ ัง คับ ตามมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๕
มาตรา ๒๒๗ มาตรา ๒๒๘ มาตรา ๒๖๐ และมาตรา ๒๖๒
 
มาตรา ๒๖๕[๒๖๕]  ในกรณีที่ศาลยอมรับเอาบุคคลเป็ นประกัน
ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายนี ้ และบุคคลนัน
้ แสดงกิริยาซึ่งพอจะ
เห็นได้ว่าจะทำให้โจทก์เสียเปรียบ หรือจะหลีกเลี่ยง ขัดขวาง หรือกระทำ
ให้เนิ่นช้าซึ่งการปฏิบัติตามหน้าที่ของตน ให้นำบทบัญญัติแห่งหมวดนีม
้ า
ใช้บังคับโดยอนุโลม
 
หมวด ๒
คำขอในเหตุฉก
ุ เฉิน
                  
 
มาตรา ๒๖๖ [๒๖๖]  ในกรณีท ี่มีเ หตุฉ ุก เฉิน เมื่อ โจทก์ย่ น
ื คำขอ
ตามมาตรา ๒๕๔ โจทก์จะยื่น คำร้องรวมไปด้วยเพื่อให้ศ าลมีคำ สั่ง หรือ
ออกหมายตามที่ขอโดยไม่ชักช้าก็ได้
เมื่อได้ย่ น
ื คำร้องเช่นว่ามานี ้ วิธีพิจารณาและชีข
้ าดคำขอนัน

ให้อ ยู่ภ ายใต้บ ัง คับ บทบัญ ญัต ิม าตรา ๒๖๗ มาตรา ๒๖๘ และมาตรา
๒๖๙
 
มาตรา ๒๖๗[๒๖๗]  ให้ศาลพิจารณาคำขอเป็ นการด่วน ถ้าเป็ น
ที่พอใจจากคำแถลงของโจทก์หรือพยานหลักฐานที่โจทก์ได้นำมาสืบ หรือ
ที่ศาลได้เรียกมาสืบเองว่าคดีนน
ั ้ เป็ นคดีมีเหตุฉก
ุ เฉินและคำขอนัน
้ มีเหตุผล
สมควรอันแท้จริง ให้ศาลมีคำสั่งหรือออกหมายตามที่ขอภายในขอบเขต
และเงื่อนไขไปตามที่เห็นจำเป็ นทันที ถ้าศาลมีคำสั่งให้ยกคำขอ คำสั่งเช่น
ว่านีใ้ ห้เป็ นที่สุด
จำเลยอาจยื่น คำขอโดยพลัน ให้ศ าลยกเลิก คำสั่งหรือ หมาย
นัน
้ เสีย และให้นำบทบัญญัติแห่งวรรคก่อนมาใช้บังคับโดยอนุโลม คำขอ
เช่นว่านีอ
้ าจทำเป็ นคำขอฝ่ ายเดียวโดยได้รับอนุญาตจากศาล ถ้าศาลมี คำ
สั่งยกเลิกคำสั่งเดิมตามคำขอคำสั่งเช่นว่านีใ้ ห้เป็ นที่สุด
การที่ศ าลยกคำขอในเหตุฉ ุก เฉิน หรือ ยกเลิก คำสั่ง ที่ไ ด้อ อก
ตามคำขอในเหตุฉ ุก เฉิน นัน
้ ย่อ มไม่ต ัด สิท ธิโ จทก์ท ี่จ ะเสนอคำขอตาม
มาตรา ๒๕๔ นัน
้ ใหม่
 
มาตรา ๒๖๘ [๒๖๘]  ในกรณีท ี่ม ีคำ ขอในเหตุฉ ก
ุ เฉิน ให้ศ าลมี
อำนาจที่จะใช้ดุลพินิจวินิจฉัยว่าคดีนน
ั ้ มีเหตุฉุกเฉินหรือไม่ ส่วนวิธีการที่
ศาลจะกำหนดนัน
้ หากจำเป็ นต้องเสื่อมเสียแก่สิทธิของคู่ความในประเด็น
แห่งคดี ก็ให้เสื่อมเสียเท่าที่จำเป็ นแก่กรณี
 
มาตรา ๒๖๙ [๒ ๖ ๙ ]  คำ สัง่ ศาลซึ่ง อนุญ าตตามคำ ขอในเหตุ
ฉุก เฉิน นัน
้ ให้ม ีผ ลบัง คับ ตามที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นมาตรา ๒๕๘ และมาตรา
๒๕๘ ทวิ อนึ่ง ศาลจะสั่งให้โจทก์รอการบังคับไว้จนกว่าศาลจะได้วินิจฉัย
ชีข
้ าดคำขอให้ยกเลิกคำสั่งหรือจนกว่าโจทก์จะได้วางประกันก็ได้
 
มาตรา ๒๗๐[๒๗๐]  บทบัญญัติในหมวดนี ้ ให้ใช้บังคับแก่คำ ขอ
อื่น ๆ นอกจากคำขอตามมาตรา ๒๕๔ ได้ต่อเมื่อประมวลกฎหมายนีห
้ รือ
กฎหมายอื่นบัญญัติไว้โดยชัดแจ้ง
 
ลักษณะ ๒
การบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง[๒๗๑]
                  
 
หมวด ๑
หลักทั่วไป
                  
 
ส่วนที่ ๑
ศาลที่มีอำนาจในการบังคับคดี
                  
 
มาตรา ๒๗๑[๒๗๒]  ศาลที่มีอำ นาจในการบังคับคดีซึ่งมีอำ นาจ
กำหนดวิธีการบังคับคดีตามมาตรา ๒๗๖ และมีอำนาจทำคำวินิจฉัยชีข
้ าด
หรือทำคำสั่งในเรื่องใด ๆ อันเกี่ยวด้วยการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือ
คำสัง่ คือ ศาลที่ไ ด้พ ิจ ารณาและชีข
้ าดตัด สิน คดีใ นชัน
้ ต้น หรือ ตามที่ม ี
กฎหมายบัญญัติ
ถ้าศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาได้ส่งคดีไปยังศาลชัน
้ ต้นแห่งอื่นที่
มิได้มีคำ พิพากษาหรือคำสัง่ ที่อุทธรณ์หรือฎีกานัน
้ เพื่อการพิจารณาและ
พิพากษาใหม่ตามมาตรา ๒๔๓ (๒) และ (๓) ให้ศาลที่มีคำ พิพากษาหรือ
คำสัง่ ใหม่นน
ั ้ เป็ นศาลที่มีอำ นาจในการบังคับคดี เว้นแต่ศาลอุทธรณ์หรือ
ศาลฎีกา แล้วแต่กรณี จะได้กำหนดไว้เป็ นอย่างอื่น
ในกรณีที่จะต้องบังคับคดีนอกเขตศาล ให้ศ าลที่มี อำ นาจใน
การบังคับคดีมีอำ นาจตัง้ ให้ศ าลอื่น บังคับคดีแ ทนได้ หรือ เจ้าหนีต
้ ามคำ
พิพากษาอาจยื่นคำแถลงหรือเจ้าพนักงานบังคับคดีรายงานให้ศาลที่จะมี
การบังคับคดีแทนทราบพร้อมด้วยสำเนาหมายบังคับคดีหรือสำเนาคำสัง่
กำหนดวิธีการบัง คับ คดี ในกรณีเช่นว่านี ้ ให้ศ าลดังกล่าวแจ้งให้ศ าลที่มี
อำนาจในการบังคับคดีทราบโดยไม่ชักช้า และให้ศาลที่จะมีการบังคับคดี
แทนตัง้ เจ้าพนักงานบังคับคดีหรือมีคำสั่งอื่นใดเพื่อดำเนินการบังคับคดีต่อ
ไป
ถ้า เป็ นการยึด ทรัพ ย์ส ิน หรือ อายัด สิท ธิเ รีย กร้อ ง ให้ศ าลที่
บังคับคดีแทนส่งทรัพย์สินที่ได้จากการยึดหรืออายัดหรือเงินที่ได้จากการ
ขายทรัพย์สินนัน
้ แล้วแต่กรณี ไปยังศาลที่มีอำ นาจในการบัง คับ คดีเพื่อ
ดำเนินการไปตามกฎหมาย
ในกรณีที่มีการบังคับคดีนอกเขตศาลโดยบกพร่อง ผิดพลาด
หรือฝ่ าฝื นกฎหมาย ให้ศาลที่บังคับคดีแทนมีอำนาจสั่งเพิกถอนหรือแก้ไข
กระบวนวิธีการบังคับคดีทงั ้ ปวงหรือวิธีการบังคับคดีใด ๆ โดยเฉพาะ หรือ
มีคำ สัง่ กำ หนดวิธ ีก ารอย่า งใดแก่เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีเ พื่อ แก้ไ ขข้อ
บกพร่อ ง ผิด พลาด หรือ ฝ่ าฝื นกฎหมายนัน
้ รวมถึง ดำ เนิน กระบวน
พิจารณาอื่นใดที่เกี่ยวเนื่องได้ เว้นแต่เมื่อการบังคับคดีได้เสร็จสิน
้ และแจ้ง
ผลการบังคับคดีไปยังศาลที่มีอำ นาจในการบังคับคดีแล้ว ให้เป็ นอำนาจ
ของศาลที่มีอำนาจในการบังคับคดีเท่านัน

 
ส่วนที่ ๒
คำบังคับ
                  
 
มาตรา ๒๗๒[๒๗๓]  ถ้าศาลได้มีคำพิพากษาหรือคำสัง่ อย่างใดซึ่ง
ต้องมีการบังคับคดีแก่ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาก็ให้ศาลออกคำบังคับทันทีที่
ได้อ่านหรือถือว่าได้อ่านคำพิพากษาหรือคำสัง่ นัน
้ และให้ถือว่าลูกหนีต
้ าม
คำพิพากษาได้ทราบคำบังคับแล้วในวันนัน

ในคดีที่ล ูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษาขาดนัด ยื่น คำให้ก ารหรือ ขาด
นัดพิจารณา และลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา ทนายความ หรือผู้รับมอบฉันทะ
จากบุคคลใดบุคคลหนึ่งดังกล่าวให้มาฟั งคำพิพากษาหรือคำสั่ง มิได้อยู่ใน
ศาลในเวลาที่ออกคำบังคับ ให้บ ังคับตามมาตรา ๑๙๙ ทวิ หรือมาตรา
๒๐๗ แล้วแต่กรณี
 
มาตรา ๒๗๓[๒๗๔]  ถ้าในคำบังคับได้กำหนดให้ใช้เงิน หรือให้สง่
ทรัพย์สิน หรือให้กระทำการหรืองดเว้นกระทำการอย่างใด ๆ ให้ศาลระบุ
ไว้ในคำบังคับนัน
้ โดยชัดแจ้ง ซึ่งระยะเวลาและเงื่ อ นไขอื่ น ๆ อัน จะต้อ ง
ใช้เ งิน ส่งทรัพ ย์ส ิน กระทำการ หรืองดเว้น กระทำการใด ๆ นั น
้ แต่ถ ้า
เป็ นคดีมโนสาเร่ศาลไม่จำ ต้องให้เวลาแก่ล ูกหนีต
้ ามคำพิพากษาเกินกว่า
สิบห้าวันในอันที่จะปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนัน

ในคดีที่มีเหตุตามมาตรา ๒๗๒ วรรคสอง ให้ศาลให้เวลาแก่
ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาในอัน ที่จะปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่งไม่น้อย
กว่าเจ็ดวัน
ระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง และวรรคสอง ให้เ ริ่ม นับ แต่ว ัน ที่
ถือ ว่า ลูก หนีต
้ ามคำ พิพ ากษาได้ท ราบคำ บัง คับ แล้ว เว้น แต่ศ าลจะได้
กำหนดไว้โดยชัดแจ้งในเวลาที่ออกคำบังคับหรือในภายหลังว่าให้นับแต่
วันใดวันหนึ่งตามที่ศาลเห็นสมควรเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
ในระหว่างที่ระยะเวลาตามคำบังคับยังไม่ครบกำหนดหรือการ
ปฏิบ ัต ิต ามวิธ ีก ารหรือเงื่อ นไขในคำบัง คับ ยัง ไม่เ สร็จ สิน
้ เจ้า หนีต
้ ามคำ
พิพากษาอาจยื่นคำขอฝ่ ายเดียวต่อศาลให้มีคำสั่งกำหนดวิธีการอย่างหนึ่ง
อย่างใดเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของตนก็ได้
ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งอย่างหนึ่งอย่างใดตามวรรคสี่แล้ว คำสั่ง
นัน
้ ยังคงมีผลต่อไปเท่าที่จำเป็ นเพื่อปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสัง่ ของ
ศาล แต่ถ้าเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษามิได้ขอบังคับคดีภายในกำหนดสิบห้าวัน
นับแต่วน
ั สิน
้ ระยะเวลาทีกำ
่ หนดไว้ในคำบังคับเพื่อให้ปฏิบต
ั ต
ิ ามคำพิพากษา
หรือคำสั่ง ให้ถือว่าคำสั่งนัน
้ เป็ นอันยกเลิกเมื่อสิน
้ ระยะเวลาเช่นว่านัน

 
ส่วนที่ ๓
การขอบังคับคดี
                  
 
มาตรา ๒๗๔[๒๗๕]  ถ้าคูค
่ วามหรือบุคคลซึ่งเป็ นฝ่ ายแพ้คดีหรือ
บุคคลที่ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งให้ชำระหนี ้ (ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา)
มิได้ปฏิบัติตามคำบังคับที่ออกตามคำพิพากษาหรือ คำสัง่ ของศาลทัง้ หมด
หรือบางส่วน คูค
่ วามหรือบุคคลซึง่ เป็ นฝ่ ายชนะคดีหรือบุคคลทีศ
่ าลมีคำ
พิพากษาหรือคำสั่งให้ได้รับ ชำระหนี ้ (เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา) ชอบที่จะ
ร้อ งขอให้ม ีก ารบัง คับ คดีโ ดยวิธ ีย ึด ทรัพ ย์ส ิน อายัด สิท ธิเ รีย กร้อ ง หรือ
บังคับคดีโดยวิธีอ่ น
ื ตามบทบัญญัติแห่งภาคนีภ
้ ายในสิบปี นับแต่วันที่มี คำ
พิพ ากษาหรือ คำ สั่ง และถ้า เจ้า หนีต
้ ามคำ พิพ ากษาได้ร ้อ งขอให้เ จ้า
พนักงานบังคับคดียึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องใดไว้หรือได้ ดำเนิน
การบัง คับ คดีโ ดยวิธ ีอ่ น
ื ไว้บ างส่ว นแล้ว ภายในระยะเวลาดัง กล่า ว ก็ใ ห้
ดำเนินการบังคับคดีแก่ทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้อง หรือบังคับคดีโดยวิธี
อื่นนัน
้ ต่อไปจนแล้วเสร็จได้
ถ้าคำพิพากษาหรือคำสั่งกำหนดให้ชำระหนีเ้ ป็ นงวด เป็ นราย
เดือน หรือเป็ นรายปี  หรือ กำหนดให้ชำ ระหนี อ
้ ย่า งใดในอนาคต ให้น ับ
ระยะเวลาสิบ ปี ตามวรรคหนึ่ง ตั ง้ แต่วัน ที่ห นี ต
้ ามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
นัน
้ อาจบังคับให้ชำระได้
ถ้าสิทธิเ รียกร้องตามคำพิพ ากษาหรือ คำสั่ง เป็ นการให้ชำ ระ
เงิน ส่งคืนหรือส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิง่ บุคคลซึง่ ได้รับโอนหรือรับช่วงสิทธิ
ตามคำพิพากษาหรือคำสัง่ นัน
้ มีอำนาจบังคับคดีตามความในหมวด ๒ การ
บังคับคดีในกรณีที่เป็ นหนีเ้ งิน หรือหมวด ๓ การบังคับคดีในกรณีที่ให้ส่ง
คืน หรือ ส่ง มอบทรัพ ย์เ ฉพาะสิ่ง แล้ว แต่ก รณี โดยการร้อ งขอต่อ ศาล
เพื่ อเข้าสวมสิทธิเป็ นเจ้าหนี ต
้ ามคำพิพากษาต่อไป
 
มาตรา ๒๗๕ [๒๗๖ ]  ถ้า เจ้า หนีต
้ ามคำพิพ ากษาจะขอให้มีก าร
บังคับคดี ให้ย่ ืนคำขอฝ่ ายเดียวต่อศาลให้บงั คับคดีโดยระบุให้ชัดแจ้งซึ่ง
(๑) หนีท
้ ี่ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษายังมิได้ปฏิบัติตามคำบังคับ
(๒) วิธีการที่ขอให้ศาลบังคับคดีนน
ั้
ในระหว่างที่ศาลยังมิได้กำ หนดวิธีการบังคับคดีตามที่เจ้าหนี ้
ตามคำพิพ ากษามีคำ ขอตามวรรคหนึ่ง ถ้า มีเ หตุจำ เป็ น เจ้า หนีต
้ ามคำ
พิพากษาจะยื่นคำขอฝ่ ายเดียวต่อศาลให้มีคำ สั่งกำหนดวิธีการอย่างหนึ่ง
อย่างใดเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของตนไว้ก่อนก็ได้ และถ้าศาลเห็นสมควร
จะมีคำ สั่งอนุญาตโดยไม่ต้องไต่สวนก็ได้ ในกรณีเช่นว่านี ้ ลูก หนีต
้ ามคำ
พิพ ากษาอาจยื่น คำขอโดยพลัน ให้ศ าลยกเลิก คำสั่ง อนุญ าตดัง กล่า วได้
คำขอเช่นว่านีอ
้ าจทำเป็ นคำขอฝ่ ายเดียวโดยได้รับอนุญาตจากศาล และ
ถ้าศาลเห็นสมควรจะมีคำสั่งยกเลิกคำสั่งอนุญาตนัน
้ โดยไม่ต้องไต่สวนก็ได้
คำสัง่ ของศาลตามวรรคนีใ้ ห้เป็ นที่สุด
ในกรณีท ี่ศ าลมีคำ สั่ง คุ้ม ครองประโยชน์ข องเจ้า หนีต
้ ามคำ
พิพ ากษาตามวรรคสองแล้ว คำสั่ง นัน
้ ยัง คงมีผ ลต่อ ไปเท่า ที่จำ เป็ นเพื่อ
ปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล
 
ส่วนที่ ๔
การพิจารณาคำขอบังคับคดี
                  
 
มาตรา ๒๗๖[๒๗๗]  เมื่อเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาขอให้บังคับคดี
ถ้า ศาลเห็น ว่า ลูก หนีต
้ ามคำ พิพ ากษาได้ท ราบหรือ ถือ ว่า ได้ท ราบ คำ
บัง คับ แล้ว ทั ง้ ระยะเวลาที่ กำ หนดไว้เ พื่ อ ให้ป ฏิบ ัต ิต ามคำบังคับนัน
้ ได้
ล่วงพ้นไปแล้ว และคำขอได้ระบุข ้อความไว้ครบถ้วน ให้ศ าลกำหนดวิธี
การบังคับคดีตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายนีแ
้ ละตามมาตรา ๒๑๓
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ดังต่อไปนี ้
(๑) ถ้าการบังคับคดีต้องทำโดยทางเจ้าพนักงานบังคับคดี ให้
ศาลออกหมายบังคับคดีตงั ้ เจ้าพนักงานบังคับคดีและแจ้งให้เจ้าพนักงาน
บังคับคดีทราบเพื่อดำเนินการต่อไปตามที่กำหนดไว้ในหมายนัน

(๒) ถ้าการบังคับคดีอาจทำได้โดยไม่ต้องตัง้ เจ้าพนักงานบังคับ
คดี ให้ศ าลมีคำ สั่ง กำหนดวิธ ีก ารตามที่เ ห็น สมควรเท่า ที่ส ภาพแห่ง การ
บังคับคดีจะเปิ ดช่องให้กระทำได้
(๓) ถ้า เป็ นการขอให้ศ าลสั่ง จับ กุม และกัก ขัง ลูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษา ให้ดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปตามบทบัญญัติว่าด้วยการนัน

ในคดีมโนสาเร่ ก่อนออกหมายบังคับคดี หากศาลเห็นเป็ นการ
สมควร ศาลจะออกหมายเรียกลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือบุคคลอื่นมาส
อบถามเกี่ยวกับการปฏิบัติตามคำพิพากษาเพื่อพิจารณาว่าสมควรจะออก
หมายบังคับคดีหรือไม่ก็ได้
ในกรณีท ี่ผ ู้ข อบัง คับ คดีข อให้ดำ เนิน การอย่า งหนึ่ง อย่า งใด
เกี่ยวกับการบังคับคดี หากมีเหตุสงสัยว่าไม่สมควรบังคับคดีแก่ทรัพย์สิน
ใดหรือมีเหตุสมควรอย่างอื่นเพื่อคุ้มครองบุคคลภายนอกที่อาจได้รับความ
เสียหายจากการดำเนิน การดัง กล่า ว ก่อ นที่ศ าลจะมีคำ สั่ง อนุญ าตตาม
คำขอ ศาลมีอำนาจสั่งให้ผู้ขอบังคับคดีวางเงินหรือหาประกันต่อศาลตาม
จำนวนและภายในระยะเวลาที่ศาลเห็นสมควรเพื่อเป็ นประกันการชำระ
ค่า สิน ไหมทดแทนสำหรับ ความเสีย หายอัน จะพึง เกิด ขึน
้ เนื่อ งจากการ
ดำเนินการบังคับคดีดังกล่าวถ้าผู้ขอบังคับคดีไม่ปฏิบัติตามคำสั่งศาล ให้
ศาลมีคำ สั่ง ยกคำ ขอให้ดำ เนิน การบัง คับ คดีน น
ั ้ เสีย ส่ว นเงิน หรือ หลัก
ประกันที่วางไว้ต่อศาลดังกล่าว เมื่อศาลเห็นว่าไม่มีความจำเป็ นที่จะต้อง
วางไว้ต่อไปจะสั่งคืนหรือยกเลิกประกันนัน
้ ก็ได้ คำสัง่ ของศาลตามวรรคนี ้
ให้เป็ นที่สุด
ในกรณีตามวรรคสาม ถ้าเกิดความเสียหายจากการบังคับคดี
โดยความผิดหรือเลินเล่อของผู้ขอบังคับคดี ผู้ที่ได้รับความเสียหายอาจยื่น
คำร้องต่อศาลภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีการดำเนินการบังคับคดีเพื่อ
ขอให้ศาลสั่งให้ผู้ขอบังคับคดีชดใช้ค่าสินไหมทดแทนสำหรับความเสียหาย
ที่เกิดขึน
้ แก่ตนได้ ในกรณีเช่นว่านี้ ให้ศาลมีอำนาจสัง่ ให้แยกการพิจารณา
เป็ นสำนวนต่างหากจากคดีเดิม  และเมื่อศาลไต่สวนแล้วเห็นว่า คำร้องนัน

ฟั งได้ ให้ศาลมีคำสั่งให้ผู้ขอบังคับคดีชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามจำนวน
ที่ศ าลเห็น สมควรถ้า บุค คลดัง กล่า วไม่ป ฏิบ ัต ิต ามคำ สั่ง ศาล ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ
ความเสียหายอาจร้องขอให้ ศาลบังคับคดีแก่บค
ุ คลนัน
้ เสมือนหนึ่งว่าเป็ น
ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
 
ส่วนที่ ๕
การขอให้ศาลไต่สวนเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามคำ
พิพากษา
                  
 
มาตรา ๒๗๗[๒๗๘]  ในการบังคับคดี ถ้าเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา
มีเหตุอ ันสมควรเชื่อได้ว่าลูก หนีต
้ ามคำพิพากษามีทรัพ ย์ส ิน ที่จะต้อ งถูก
บังคับคดีมากกว่าที่ตนทราบ หรือมีทรัพย์สินที่จะต้องถูกบังคับคดีแต่ไม่
ทราบว่าทรัพย์สินนัน
้ ตัง้ อยู่หรือเก็บรักษาไว้ที่ใด หรือมีเหตุอันควรสงสัย
ว่า ทรัพ ย์ส ิน ใดเป็ นของลูก หนี ต
้ ามคำ พิพ ากษาหรือ ไม่ เจ้า หนี ต
้ ามคำ
พิพ ากษาอาจยื่ น คำ ขอฝ่ ายเดีย วโดยทำ เป็ นคำ ร้อ งเพื่อ ให้ศ าลทำการ
ไต่สวนได้
เมื่อ มีคำ ขอตามวรรคหนึ่ง หรือ เมื่อ ศาลเห็น สมควรเพื่อ
ประโยชน์แก่การบังคับคดีในคดีมโนสาเร่ ศาลมีอำนาจออกหมายเรียกลูก
หนีต
้ ามคำพิพากษาหรือบุคคลอื่นที่เชื่อว่าอยู่ในฐานะที่จะให้ถ้อยคำอันจะ
เป็ นประโยชน์มาศาลด้วยตนเองเพื่อการไต่สวนเช่นว่านัน
้ ได้ และมีอำนาจ
สั่ง ให้บ ุค คลนัน
้ ๆ ส่ง เอกสารหรือ วัต ถุพ ยานซึ่ง อยู่ใ นความยึด ถือ หรือ
อำนาจของผู้นน
ั ้ อัน เกี่ยวกับ ทรัพ ย์ส ิน ของลูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษา  ทัง้ นี ้
ตามกำหนดและเงื่อนไขใด ๆ ที่เห็นสมควร
 
ส่วนที่ ๖
อำนาจทั่วไปของเจ้าพนักงานบังคับคดี
                  
 
มาตรา ๒๗๘ [๒ ๗ ๙ ]  เมื่ อ ศาลได้อ อกหมายบัง คับ คดีต ั ง้ เจ้า
พนัก งานบัง คับ คดีแ ล้ว ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีม ี อำ นาจในฐานะเป็ น
เจ้าพนักงานศาลในการดำเนินการบังคับคดีให้เป็ นไปตามที่ศาลได้กำหนด
ไว้ในหมายบังคับคดีและตามบทบัญ ญัต ิในลัก ษณะ ๒ แห่ง ภาคนี  ้  ทัง้ นี ้
จะเรียกให้เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาช่วยเหลือก็ได้ คำสั่งของเจ้าพนัก งาน
บังคับคดีในการดำเนินการบังคับคดีต้องกล่าวหรือแสดงเหตุผลไว้ด้วย
ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำ นาจในฐานะเป็ นผู้แทนของเจ้า
หนีต
้ ามคำพิพ ากษาในอันทีจ
่ ะรับ ชำระหนีห
้ รือทรัพย์สน
ิ ทีล
่ ก
ู หนีต
้ ามคำ
พิพากษาหรือบุคคลภายนอกนำมาวางและออกใบรับให้
เงินที่ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือบุคคลภายนอกนำมาวางโดย
มิได้เป็ นผลมาจากการยึดหรืออายัด ให้นำ มาชำระหนีแ
้ ก่เจ้าหนีต
้ ามคำ
พิพ ากษาผู้ข อบัง คับ คดี เว้น แต่ใ นกรณีท ี่ม ีเ จ้า หนีผ
้ ู้ข อเฉลี่ย ตามมาตรา
๓๒๖ อยู่ก่อนแล้วในขณะที่มีการวางเงินนัน
้ ก็ให้ถือว่าเป็ นเงินที่ได้ยึดหรือ
อายัด ไว้ต ามบทบัญ ญัต ิในลัก ษณะ ๒ แห่ง ภาคนี ้ แต่ใ ห้ไ ด้ร ับ ยกเว้น ค่า
ธรรมเนียมในการบังคับคดี
ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทำ บันทึกวิธีการบังคับคดีทงั ้ หลายที่
ได้จัดทำไปและเก็บรักษาไว้ในที่ปลอดภัย แล้วรายงานต่อศาลเป็ นระยะ ๆ
ไป
ในการปฏิบ ัติห น้า ที่ข องเจ้า พนัก งานบัง คับ คดี เจ้า พนัก งาน
บัง คับ คดีจ ะมอบหมายให้บ ุค คลอื่น ปฏิบ ัต ิก ารแทนก็ไ ด้   ทัง้ นี ้ ตาม
คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
ให้หักค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีตามตาราง ๕ ท้าย
ประมวลกฎหมายนี ้ เพื่อให้กรมบังคับคดีพิจารณาจ่ายเป็ นค่าตอบแทนแก่
ผู้ที่ได้รับมอบหมายตามวรรคห้าโดยไม่ต้องนำส่งคลังเป็ นรายได้แผ่นดิน  
ทัง้ นี ้ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมกำหนดโดยได้รับความเห็น
ชอบจากกระทรวงการคลัง
 
มาตรา ๒๗๙ [๒ ๘ ๐ ]  ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีร ัก ษาไว้โ ดย
ปลอดภัยซึ่งเงิน ทรัพย์สิน และเอกสารที่ได้มาตามอำนาจหน้าที่ของตน
รวมทัง้ ให้มีอำ นาจขัดขวางมิให้บุคคลใดสอดเข้าเกี่ยวข้องโดยมิชอบด้วย
กฎหมายกับเงินหรือทรัพย์สินหรือเอกสารเช่นว่านัน
้ ตลอดจนมี อำ นาจ
ติดตามและเอาคืนซึ่งเงินหรือทรัพย์สินหรือเอกสารดังกล่าวจากบุคคลผู้
ไม่มีสิทธิจะยึดถือเอาไว้
ในการดำ เนิน การตามวรรคหนึ่ง เมื่อ มีค วามจำ เป็ น เจ้า
พนักงานบังคับคดีมีอำ นาจแจ้งให้พนักงานฝ่ ายปกครองหรือ ตำรวจช่วย
เหลือได้ ในกรณีเช่นนี ้ พนักงานฝ่ ายปกครองหรือ ตำรวจมีอำ นาจจับกุม
และควบคุมตัวผู้สอดเข้าเกี่ยวข้องหรือผู้ไม่มีสิทธิจะยึดถือตามวรรคหนึ่ง
ได้เท่าที่จำเป็ นในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานบังคับคดี
 
มาตรา ๒๘๐[๒๘๑]  ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำนาจส่งเอกสาร
เกี่ยวกับการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งตามบทบัญญัติในลักษณะ
๒ แห่ง ภาคนี ้ และให้ร ายงานการส่ง เอกสารนัน
้ รวมไว้ใ นสำ นวนการ
บัง คับ คดีด ้ว ย  ทัง้ นี ้ ให้นำ บทบัญ ญัต ิม าตรา ๖๘ มาตรา ๗๓ มาตรา
๗๔ มาตรา ๗๖ มาตรา ๗๗ มาตรา ๗๘ และมาตรา ๘๐ มาใช้บังคับโดย
อนุโลม
นอกจากการส่งเอกสารตามวรรคหนึ่ง ให้เจ้าพนักงานบังคับ
คดีม ีอำ นาจสั่ง ให้ส ่ง โดยทางไปรษณีย ์ล งทะเบีย นตอบรับ หรือ โดยทาง
ไปรษณีย์ด่วนพิเศษในประเทศก็ได้ โดยให้ผ ู้มีหน้าที่นำ ส่งเป็ นผูเ้ สียค่าใช้
จ่าย กรณีเช่นว่านี้ ให้ถอ
ื ว่าเอกสารทีส
่ ง่ โดยเจ้าพนักงานไปรษณียม
์ ผ
ี ลเสมือน
เจ้าพนักงานบังคับคดีเป็ นผู้ส่งและให้นำบทบัญญัติมาตรา ๗๔ มาตรา ๗๖
และมาตรา ๗๗ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ถ้า การส่ง เอกสารไม่ส ามารถจะทำ ได้ด ัง ที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ต าม
วรรคหนึ่ง และวรรคสอง เจ้า พนักงานบังคับคดีมีอำ นาจสั่งให้ส่งโดยวิธี
อื่นแทนได้ กล่าวคือ ปิ ดเอกสารไว้ในที่แ ลเห็น ได้ง ่า ย ณ ภูมิลำ เนาหรือ
สำนักทำการงานของบุคคลผู้มีช่ อ
ื ระบุไว้ในเอกสารหรือมอบหมายเอกสาร
ไว้แ ก่พ นัก งานฝ่ ายปกครองหรือ ตำรวจแล้ว ปิ ดประกาศแสดงการที่ไ ด้
มอบหมายดัง กล่า วแล้ว หรือ ลงโฆษณา หรือ ทำ วิธ ีอ่ ืน ใดตามที่เ ห็น
สมควร  ทัง้ นี ้ ให้มีผ ลใช้ไ ด้ต่อ เมื่อ กำหนดเวลาสิบ ห้า วัน หรือ ระยะเวลา
นานกว่านัน
้ ตามที่เจ้าพนักงานบังคับคดีเห็นสมควรกำหนดไว้ล่วงพ้นไป
แล้ว นับแต่เวลาที่เอกสารหรือประกาศแสดงการมอบหมายนัน
้ ได้ปิดไว้
หรือการโฆษณาหรือวิธีอ่ น
ื ใดตามที่เจ้าพนักงานบังคับคดีสั่งนัน
้ ได้ ทำหรือ
ได้ตงั ้ ต้นแล้ว
การส่งเอกสารให้แก่คู่ความและบุคคลภายนอก ณ ภูมิลำเนา
หรือ สำนัก ทำการงานของบุคคลดัง กล่า วนอกราชอาณาจัก ร ถ้า ไม่มีข ้อ
ตกลงระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็ นภาคี กำหนดไว้เป็ นอย่างอื่น เจ้า
พนักงานบังคับคดีมีอำ นาจสั่งให้ส่ง โดยทางไปรษณีย์ด่วนพิเศษระหว่า ง
ประเทศหรือผู้ประกอบกิจการรับส่งพัสดุภัณฑ์ระหว่างประเทศ หรือโดย
ผ่านกระทรวงยุติธรรมและกระทรวงการต่างประเทศ หากไม่อาจกระทำ
ได้เ พราะเหตุท ี่ภ ูม ิลำ เนาและสำ นัก ทำ การงานของบุค คลดัง กล่า วไม่
ปรากฏหรือเพราะเหตุอ่ น
ื ใดหรือ เมื่อ ได้ดำ เนิน การส่ง ให้แ ก่ค ู่ค วามหรือ
บุคคลภายนอกแล้วแต่ไม่อาจทราบผลการส่งได้ ถ้าเจ้าพนักงานบังคับคดี
เห็นสมควร ให้มีอำ นาจสั่ง ให้สง่ เอกสารโดยวิธีอ่ น
ื แทนได้ กล่า วคือ ปิ ด
เอกสารไว้ในที่แลเห็นได้ง่าย ณ สำนักงานที่ตงั ้ ของเจ้าพนักงานบังคับคดี
หรือลงโฆษณา หรือทำวิธีอ่ น
ื ใดตามที่เห็นสมควร
 
มาตรา ๒๘๑ [๒๘๒]  เจ้า พนัก งานบัง คับ คดีจ ะต้อ งดำเนิน การ
บัง คับ คดีใ นวัน ทำ การงานปกติใ นเวลาระหว่า งพระอาทิต ย์ข น
ึ ้ และ
พระอาทิตย์ตก ถ้ายังไม่แล้วเสร็จประกอบกับมีความจำเป็ นและสมควรจะ
กระทำต่อไปในเวลาหลังพระอาทิตย์ตกก็ได้
ในกรณีที่มีความจำเป็ นและสมควร ศาลจะอนุญาตให้ดำ เนิน
การบังคับคดีนอกวันทำการงานปกติหรือในเวลาหลังพระอาทิตย์ตกก็ได้
ในการดำเนินการบังคับคดีแก่ล ก
ู หนีต
้ ามคำพิพากษา ให้เจ้า
พนัก งานบัง คับ คดีแ สดงหมายบัง คับ คดีใ ห้ล ูก หนี ต
้ ามคำ พิพ ากษา ผู้
ครอบครองหรือผู้ดูแลทรัพย์สินที่จะถูกบังคับคดีทราบ ถ้าบุคคลดังกล่าว
ไม่อยูห
่ รือไม่อาจแสดงหมายบังคับคดีแก่บค
ุ คลดังกล่าวได้ดว้ ยเหตุใด ๆ ให้
เจ้าพนักงานบัง คับ คดีปิ ดสำเนาหมายบัง คับ คดีไ ว้ใ นที่แ ลเห็น ได้ง ่า ย ณ
สถานที่ที่ดำเนินการบังคับคดีนน
ั ้ ในกรณีเช่นว่านี ้ ให้ถือว่าเป็ นการแสดง
หมายบังคับคดีให้บุคคลดังกล่าวทราบแล้ว
 
มาตรา ๒๘๒[๒๘๓]  ในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อว่ามีทรัพย์สินของ
ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือมีบัญชีเอกสาร จดหมาย หรือวัตถุอ่ น
ื ใดเกี่ยว
กับทรัพย์สินหรือกิจการของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาอยู่ในสถานที่ใด ๆ ที่
ลูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษาครอบครองหรือ ครอบครองร่ว มกับ ผู้อ่ น
ื ให้เ จ้า
พนักงานบังคับคดีมีอำนาจค้นสถานที่ดังกล่าว ทัง้ มีอำนาจตรวจสอบและ
ยึด บัญ ชี เอกสาร จดหมาย หรือ วัต ถุอ่ น
ื ใดอัน เกี่ย วกับ ทรัพ ย์ส ิน หรือ
กิจ การของลูก หนีต
้ ามคำ พิพ ากษามาเพื่อ ตรวจสอบได้ และมีอำ นาจ
กระทำการใด ๆ ตามที่จำ เป็ น เพื่อเปิ ดสถานที่ดังกล่าวรวมทัง้ ตู้นิรภัย ตู้
หรือที่เก็บของอื่น ๆ
 
มาตรา ๒๘๓[๒๘๔]  ในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อว่ามีทรัพย์สินของ
ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือมีบญ
ั ชี เอกสาร จดหมาย หรือวัตถุอ่ น
ื ใดอันเกีย
่ ว
กับทรัพย์สน
ิ หรือกิจการของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาอยูใ่ นสถานทีท
่ บ
่ี ค
ุ คลอื่น
ครอบครองอยู่ เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาอาจยื่นคำขอฝ่ ายเดียวโดยทำเป็ น
คำร้องต่อศาลเพื่อขอให้ศ าลออกหมายค้น สถานที่น ัน
้ เมื่อ ได้ร ับ คำร้อ ง
เช่นว่านี ้ ให้ศาลไต่สวนโดยไม่ชักช้า  ถ้าเป็ นที่พอใจจากพยานหลักฐานที่
เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาได้นำมาสืบหรือที่ศาลได้เรียกมาสืบเองว่ามีเหตุอัน
ควรเชื่อตามที่ร้องขอ ให้ศาลมีอำนาจออกหมายค้นสถานที่นน
ั ้ เพื่อให้เจ้า
พนัก งานบัง คับ คดีต รวจสอบและยึด ทรัพ ย์ส ิน หรือ สิ่ง ต่า ง ๆ ดัง กล่า ว
ภายในขอบเขตและเงื่อนไขตามที่ศ าลเห็น ว่า จำเป็ น ถ้า ศาลมีคำ สั่ง ยก
คำขอคำสั่งเช่นว่านัน
้ ให้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๒๘๔[๒๘๕]  ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำนาจดำเนินการ
ไปตามความจำเป็ นและสมควรแห่งพฤติการณ์เพื่อดำเนินการบังคับคดีจน
ได้ ในกรณีท ี่ม ีผ ู้ข ัด ขวางหรือ มีเ หตุอ ัน ควรเชื่อ ว่า จะมีผ ู้ข ัด ขวาง เจ้า
พนักงานบังคับคดีมีอำ นาจแจ้งให้พนักงานฝ่ ายปกครองหรือ ตำรวจช่วย
เหลือได้ ในการนี ใ้ ห้พนักงานฝ่ ายปกครองหรือตำรวจมีอำนาจจับกุมและ
ควบคุมตัวผู้ขัดขวางได้เท่าที่จำ เป็ นแก่การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงาน
บังคับคดี
 
มาตรา ๒๘๕ [๒ ๘ ๖ ]  ความรับ ผิด ทางละเมิด ตามประมวล
กฎหมายแพ่ง และพาณิช ย์ต ่อ ลูก หนีต
้ ามคำ พิพ ากษาหรือ ต่อ บุค คล
ภายนอกเพื่อความเสียหายที่เกิดจากหรือเกี่ยวเนื่องกับการยึด อายัด หรือ
ขายทรัพ ย์ส ินโดยมิช อบหรือเกิน กว่าที่จำ เป็ นแก่ก ารบัง คับ คดี หรือ การ
บังคับคดีโดยมิชอบในกรณีอ่ ื น ย่อ มไม่ต กแก่เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดี แต่
ตกอยู่แ ก่เ จ้า หนี ต
้ ามคำพิพ ากษา เว้น แต่ใ นกรณีเ จ้า พนักงานบังคับคดี
ได้กระทำการฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี ้
ในกรณีที่ค วามรับ ผิด ตกแก่เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีต ามวรรค
หนึ่ง และเป็ นเรื่อ งความรับ ผิด ทางละเมิด ของเจ้า หน้า ที่ใ นการปฏิบ ัต ิ
หน้า ที่ การใช้ส ิท ธิฟ้ องคดีต ่อ ศาลตามกฎหมายว่า ด้ว ยความรับ ผิด ทาง
ละเมิด ของเจ้า หน้า ที่ห รือ ตามกฎหมายอื่น ไม่ว ่า โดยบุค คลใด ให้อ ยู่ใ น
อำนาจของศาลยุติธรรม
ถ้าเจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ยึด ทรัพย์สิน หรืออายัดสิทธิเ รียก
ร้องอันจะต้องยึดหรืออายัด หรือไม่ขายทรัพย์สิน หรือไม่ดำเนินการบังคับ
คดีในกรณีอ่ น
ื หรือไม่ก ระทำการดัง กล่า วภายในเวลาอัน ควรโดยจงใจ
หรือ ปราศจากความระมัด ระวัง หรือ โดยสมรู้เ ป็ นใจกับ ลูก หนีต
้ ามคำ
พิพ ากษาเป็ นเหตุใ ห้เ จ้าหนีต
้ ามคำพิพ ากษาได้ร ับ ความเสีย หาย ให้นำ
ความในวรรคสองมาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๒๘๖[๒๘๗]  ในกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติให้นำบทบัญญัติ
แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งไปใช้บังคับโดยอนุโลมกับการ
ดำเนิน การบัง คับ คดีต ามคำพิพ ากษาหรือ คำสัง่ ของศาลอื่น ที่ไ ม่ใ ช่ศ าล
ยุติธรรม คำว่า ศาลยุติธรรม ตามมาตรา ๒๘๕ วรรคสอง ให้หมายถึงศาล
นัน

 
ส่วนที่ ๗
ผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดี
                  
 
มาตรา ๒๘๗[๒๘๘]  บุคคลผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดี ได้แก่
(๑) เจ้าหนีต
้ ามคำพิพ ากษา ลูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษา และใน
กรณีที่มีการอายัดสิทธิเรียกร้อง ให้รวมถึงลูกหนีแ
้ ห่งสิทธิเรียกร้อง ผู้ทรง
สิทธิเรียกร้อง หรือผู้รับโอนสิทธิเรียกร้องนัน
้ ด้วย
(๒) บุคคลผูม
้ ท
ี รัพยสิทธิหรือได้จดทะเบียนสิทธิของตนเกีย
่ วกับ
ทรัพย์สน
ิ ทีถ
่ ก
ู บังคับคดี
(๓) บุคคลซึ่งได้ย่ น
ื คำร้องขอตามมาตรา ๓๒๓ มาตรา ๓๒๔
มาตรา ๓๒๖ และมาตรา ๓๒๙ เกี่ยวกับทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้องที่ถ ูก
บังคับคดี
(๔) บุคคลผู้เป็ นเจ้า ของรวมหรือบุคคลผู้มีบ ุริมสิทธิ สิทธิยึด
หน่วง หรือสิทธิอ่ น
ื ตามมาตรา ๓๒๒ เกี่ยวกับทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้อง
ที่ถูกบังคับคดี
(๕) บุคคลอื่นใดซึ่งต้องเสียหายเพราะเหตุแห่งการดำเนินการ
บังคับคดีนน
ั้
 
มาตรา ๒๘๘ [๒ ๘ ๙ ]  นอกจากสิท ธิอ ่ ื น ตามที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ น
ประมวลกฎหมายนี แ
้ ล้ว ให้ผ ู้มีส ่วนได้เ สียในการบัง คับ คดีมีส ิทธิด ัง ต่อ
ไปนี ้
(๑) อยู่ร้เู ห็นด้วยในการดำเนินการบังคับคดีที่ตนมีส่วนได้เสีย
แต่ต้องไม่ทำการป้ องกันหรือขัดขวางการบังคับคดี รวมทัง้ เข้าสู้ราคาหรือ
หาบุคคลอื่นเข้าสู้ราคาในการขายทอดตลาด
(๒) ขออนุญาตตรวจหรือคัด สำเนาเอกสารอันเกี่ยวด้วยการ
บัง คับ คดีท ัง้ หมดหรือ แต่บ างฉบับ  หรือ ขอให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีค ัด
หรือรับรองสำเนาเอกสารนัน
้ โดยเสียค่าธรรมเนียมตามที่ระบุไว้ในตาราง
๒ ท้ายประมวลกฎหมายนี ้
 
ส่วนที่ ๘
การงดการบังคับคดี
                  
 
มาตรา ๒๘๙[๒๙๐]  ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีงดการบังคับคดีใน
กรณีดังต่อไปนี ้
(๑) เมื่อศาลได้มีคำ สั่งให้งดการบังคับคดีเพราะเหตุมีการยื่น
คำขอให้พิจารณาคดีใหม่และได้แ จ้ง ให้เ จ้า พนัก งานบังคับ คดีทราบตาม
ที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๙๙ เบญจ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๒๐๗
ในกรณีดัง กล่า ว ถ้า เจ้า หนีต
้ ามคำพิพ ากษายื่น คำร้อ งว่า ตน
อาจได้รับ ความเสียหายจากการยื่น คำขอดัง กล่า วและมีพ ยานหลัก ฐาน
เบื้องต้นแสดงว่าคำขอนัน
้ ไม่มีมูลและยื่นเข้ามาเพื่อประวิงการบังคับคดี
ศาลมีอำนาจสั่งให้ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาวางเงินหรือหาประกันตามที่ศาล
เห็นสมควรภายในระยะเวลาที่ศาลจะกำหนด เพื่อเป็ นประกันการชำระ
ค่าสินไหมทดแทนแก่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาสำหรับความเสียหายที่อาจ
ได้ร ับ เนื่อ งจากเหตุเ นิ่น ช้า ในการบัง คับ คดีอ ัน เกิด จากการยื่น คำขอนัน

หรือกำหนดวิธีการชั่วคราวเพื่อคุ้มครองอย่างใด ๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได้
ถ้าลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาไม่ปฏิบัติตามคำสั่งศาล ให้ศาลสัง่ เพิกถอนคำสั่ง
ที่ให้งดการบังคับคดี
(๒) เมื่อศาลได้มีคำ สั่งให้งดการบังคับคดี และได้ส่ง คำสั่งนัน

ไปให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบในกรณีเช่นนีใ้ ห้เจ้าพนักงานบังคับคดีงด
การบังคับคดีไว้ภายในระยะเวลาหรือเงื่อนไขตามที่ศาลกำหนด
(๓) เมื่อ เจ้าหนีต
้ ามคำพิพ ากษาได้แ จ้ง เป็ นหนัง สือ ไปยัง เจ้า
พนักงานบังคับคดีว่าตนตกลงงดการบังคับคดีไว้ชั่วระยะเวลาที่ กำหนดไว้
หรือภายในเงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งโดยได้รับความยินยอมเป็ นหนังสือ
จากลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาและบุคคลภายนอกผู้มส
ี ่วนได้เสียในการบังคับ
คดี
(๔) เมื่อเจ้าหนีผ
้ ู้ขอบังคับคดีไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๕๔
ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีส่งคำบอกกล่าวงดการบังคับคดีให้เจ้า
หนีต
้ ามคำพิพากษาและบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้เสียทราบโดยไม่ชักช้า
เว้นแต่จะได้งดการบังคับคดีตามคำขอของบุคคลนัน
้ เอง
 
มาตรา ๒๙๐ [๒๙๑]  ลูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษาอาจยื่น คำร้อ งต่อ
ศาลให้งดการบังคับคดีไว้ โดยเหตุที่ตนได้ย่ น
ื ฟ้ องเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา
เป็ นคดีเรื่องอื่นในศาลเดียวกันนัน
้ ไว้แล้ว ซึ่งศาลยังมิได้วินิจฉัยชีข
้ าดและ
ถ้า หากตนเป็ นฝ่ ายชนะจะไม่ต ้อ งมีก ารยึด อายัด ขายทอดตลาด หรือ
จำหน่ายทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาโดยวิธีอ่ น
ื เพราะสามารถจะ
หักกลบลบหนีก
้ ันได้
ถ้าศาลเห็น ว่าข้ออ้า งของลูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษามีเ หตุฟั งได้
ศาลอาจมีคำ สั่งให้งดการบังคับคดีไว้คำ สัง่ นีอ
้ าจอยู่ภายใต้บังคับเงื่อนไข
หรือ เงื่อ นเวลาใด ๆ หรือ ไม่ก ็ไ ด้ และศาลจะมี คำ สั่ง ให้ล ูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษาวางเงินหรือหาประกันต่อศาลตามจำนวนที่เ ห็น สมควรภายใน
ระยะเวลาที่กำ หนดเพื่อเป็ นประกันการชำระหนีต
้ ามคำพิพากษาและค่า
สินไหมทดแทนแก่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาสำหรับความเสียหายทีอ
่ าจได้รบ

เนื่องจากเหตุเนิน
่ ช้าในการบังคับคดีอน
ั เกิดจากการยื่นคำร้องนัน
้ ด้วยก็ได้
คำสัง่ ของศาลตามมาตรานีใ้ ห้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๒๙๑ [๒๙๒]  ในกรณีท ี่เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีไ ด้ง ดการ
บังคับคดีไว้ตามคำสั่งของศาล ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีดำ เนินการบังคับ
คดีต่อไปเมื่อได้รับคำสั่งจากศาล โดยศาลเป็ นผู้ออกคำสัง่ นัน
้ เองหรือโดย
เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาเป็ นผู้ย่ น
ื คำขอให้ศ าลออกคำสั่ง เนื่อ งจากระยะ
เวลาที่ให้งดการบังคับคดีนน
ั ้ ได้ล่วงพ้นไปแล้ว หรือมิได้เป็ นไปตามเงื่อนไข
ที่ศาลได้กำ หนดไว้ หรือคดีนน
ั ้ ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีก าได้พิพากษายืน
หรือไม่มีความจำเป็ นที่จะต้องงดการบังคับคดีอีกต่อไปแล้ว
ในกรณีท ี่เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีไ ด้ง ดการบัง คับ คดีไ ว้ต าม
มาตรา ๒๘๙ (๓) หรือ (๔) ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีดำ เนินการบังคับคดี
ต่อไปเมื่อระยะเวลาที่ให้งดการบังคับคดีได้ล่วงพ้นไปแล้ว หรือมิได้เป็ นไป
ตามเงื่อนไขที่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาได้กำหนดไว้ หรือเจ้าหนีผ
้ ู้ขอบังคับ
คดีได้ปฏิบัติตามมาตรา ๑๕๔ แล้ว
 
ส่วนที่ ๙
การถอนการบังคับคดี
                  
 
มาตรา ๒๙๒[๒๙๓]  ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีถอนการบังคับคดี
ในกรณีดังต่อไปนี ้
(๑) เมื่อ ศาลได้ม ีคำ สั่ง ให้ถ อนการบัง คับ คดีเ นื่อ งจากลูก หนี ้
ตามคำพิพากษายื่น อุทธรณ์หรือฎีกาและได้วางเงินต่อศาลเป็ นจำนวนพอ
ชำระหนีต
้ ามคำพิพากษาพร้อมทัง้ ค่าฤชาธรรมเนียมและค่าฤชาธรรมเนียม
ในการบัง คับ คดี หรือได้ห าประกัน มาให้จนเป็ นที่พ อใจของศาลสำหรับ
จำนวนเงินเช่นว่านี ้
(๒) เมื่อ ศาลได้ม ีคำ สั่ง ให้ถ อนการบัง คับ คดีเ นื่อ งจาก คำ
พิพากษาในระหว่างบังคับคดีได้ถ ูกกลับหรือถูกยก หรือหมายบังคับคดีได้
ถูกเพิกถอน แต่ถ้าคำพิพากษาในระหว่างบังคับคดีนน
ั ้ ได้ถ ูกกลับแต่เพียง
บางส่วน การบังคับคดีอาจดำเนินการต่อไปจนกว่าเงินที่รวบรวมได้นน
ั ้ จะ
พอชำระแก่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา
(๓) เมื่อศาลได้แจ้งให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบว่าศาลมีคำ
สั่ง อนุญ าตให้พ ิจารณาคดีใหม่ต ามมาตรา ๑๙๙ เบญจ วรรคสาม หรือ
มาตรา ๒๐๗
(๔) เมื่อศาลได้มีคำสั่งให้ถอนการบังคับคดีตามมาตรา ๒๙๓
(๕) เมื่อ ลูก หนีต
้ ามคำ พิพ ากษาได้ว างเงิน ต่อ เจ้า พนัก งาน
บัง คับ คดี เพื่อ เป็ นการ ชำ ระหนีต
้ ามคำ พิพ ากษาพร้อ มทัง้ ค่า ฤชา
ธรรมเนียมและค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี
(๖) เมื่อ เจ้าหนีต
้ ามคำพิพ ากษาได้แ จ้ง เป็ นหนัง สือ ไปยัง เจ้า
พนักงานบังคับคดีว่าตนสละสิท ธิใ นการบัง คับ คดี ในกรณีเ ช่น ว่า นี ้ เจ้า
หนี ต
้ ามคำพิพ ากษานั น
้ จะบัง คับ คดีแ ก่ล ูก หนี ต
้ ามคำพิพ ากษาสำหรับ
หนีน
้ น
ั ้ อีกมิได้
(๗) เมื่อ เจ้าหนีต
้ ามคำพิพ ากษาได้แ จ้ง เป็ นหนัง สือ ไปยัง เจ้า
พนักงานบังคับคดีว่าตนขอถอนการบังคับคดี
 
มาตรา ๒๙๓[๒๙๔]  ถ้าเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาเพิกเฉยไม่ดำเนิน
การบัง คับ คดีภ ายในระยะเวลาที่เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดี กำ หนด ให้เ จ้า
พนักงานบังคับคดีรายงานต่อศาลขอให้ศาลสั่งถอนการบังคับคดีนน
ั ้ เสีย
 
มาตรา ๒๙๔[๒๙๕]  ในกรณีทม
่ี ก
ี ารยึดทรัพย์สน
ิ ซึง่ มิใช่ตวั เงิน หรือ
ในกรณีย ด
ึ หรือ อายัด เงิน  หรือ อายัด ทรัพ ย์ส ิน แล้ว ไม่ม ีก ารขายหรือ
จำหน่ายเนื่องจากเจ้าพนักงานบังคับคดีถอนการบังคับคดีนน
ั ้ เองหรือถอน
โดยคำสั่งศาล และผูข
้ อให้ยึดหรืออายัดไม่ชำ ระค่าฤชาธรรมเนียมในการ
บัง คับ คดี ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีร ายงานต่อ ศาลขอให้บ ัง คับ คดีแ ก่
ทรัพ ย์ส ิน ของผู้นน
ั ้ เพื่อ ชำระค่า ฤชาธรรมเนียมในการบัง คับ คดี ในกรณี
เช่นว่านี ้ ให้ถือว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีเป็ นเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา และผู้
ขอให้ยึด หรืออายัดเป็ นลูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษาในส่วนที่เ กี่ย วกับ ค่า ฤชา
ธรรมเนียมในการบังคับคดีนน
ั ้ และให้เจ้าพนักงานบังคับคดีบังคับคดีได้
เอง โดยได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมทัง้ ปวง
 
ส่วนที่ ๑๐
การเพิกถอนหรือแก้ไขการบังคับคดีที่ผิดระเบียบ
                  
 
มาตรา ๒๙๕[๒๙๖]  ในกรณีที่คำ บังคับ หมายบังคับคดี หรือ คำ
สั่ง ศาลในชัน
้ บัง คับ คดีบ กพร่อ ง ผิด พลาด หรือ ฝ่ าฝื นกฎหมาย เพื่อ
ประโยชน์แ ห่งความยุติธ รรมจำเป็ นจะต้อ งเพิก ถอนหรือ แก้ไ ขคำบัง คับ
หมายบังคับคดี หรือคำสัง่ ดังกล่าวนัน
้ เมื่อศาลเห็นสมควรไม่ว่าในเวลาใด
ก่อนการบังคับคดีไ ด้เสร็จลง หรือ เมื่อ เจ้า พนัก งานบัง คับคดีรายงานต่อ
ศาล หรือเมื่อเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือบุคคล
ภายนอกผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดีซึ่งต้องเสียหายเพราะเหตุดังกล่าว
ยื่น คำร้อ งต่อศาลให้ศ าลมีอำ นาจสั่ง เพิก ถอนหรือ แก้ไ ขคำบัง คับ หมาย
บังคับคดี หรือคำสั่งดังกล่าวทัง้ หมดหรือบางส่วน หรือมีคำสัง่ อย่างใดตาม
ที่ศาลเห็นสมควร
ภายใต้บังคับมาตรา ๓๓๑ วรรคสาม ถ้าเจ้าพนักงานบังคับคดี
ได้ดำเนินการบังคับคดี บกพร่อง ผิดพลาด หรือฝ่ าฝื นกฎหมาย เมื่อศาลเห็น
สมควรไม่วา่ ในเวลาใดก่อนการบังคับคดีได้เสร็จลง หรือเมื่อเจ้าหนีต
้ ามคำ
พิพ ากษา ลูกหนีต
้ ามคำพิพ ากษา หรือ บุค คลภายนอกผู้มีส ่วนได้เ สียใน
การบังคับคดีซึ่งต้องเสียหายเพราะเหตุดังกล่าว ยื่น คำร้องต่อศาล ให้ศาล
มีอำนาจสั่งเพิกถอนหรือแก้ไขกระบวนวิธีการบังคับคดีทงั ้ ปวงหรือวิธีการ
บังคับใด ๆ โดยเฉพาะหรือมีคำ สั่งกำหนดวิธีการอย่างใดแก่เจ้าพนักงาน
บังคับคดีตามที่ศาลเห็นสมควร
การยื่น คำร้องตามวรรคหนึ่ง หรือ วรรคสองอาจกระทำได้ไ ม่
ว่าในเวลาใดก่อนการบังคับคดีไ ด้เสร็จลงแต่ต้อ งไม่ช ้า กว่า สิบ ห้า วัน นับ
แต่วันที่ได้ทราบข้อความหรือพฤติการณ์อันเป็ นมูลแห่งข้ออ้างนัน
้   ทัง้ นี ้
ผู้ย่ ืน คำ ร้อ งต้อ งมิไ ด้ดำ เนิน การอัน ใดขึน
้ ใหม่ห ลัง จากได้ท ราบเรื่อ ง
บกพร่อ ง ผิด พลาด หรือ ฝ่ าฝื นกฎหมายนัน
้ แล้ว หรือ ต้อ งมิไ ด้ใ ห้
สัต ยาบัน แก่ก ารกระทำนัน
้ และในกรณีเ ช่น ว่า นีผ
้ ู้ย่ ืน คำร้อ งจะขอต่อ
ศาลในขณะเดียวกัน นัน
้ ให้มี คำ สั่งงดการบัง คับ คดีไ ว้ในระหว่า งวิน ิจฉัย
ชีข
้ าดก็ได้
เพื่อประโยชน์แ ห่ง มาตรานีใ้ ห้ถ ือ ว่า การบัง คับ คดีไ ด้เ สร็จ ลง
เมื่อได้มีการดำเนินการดังต่อไปนี ้
(๑) ในกรณีที่คำบังคับกำหนดให้ส่งทรัพย์สิน กระทำการ หรือ
งดเว้น กระทำ การอย่า งใด เมื่อ ได้ม ีก ารปฏิบ ัต ิต ามคำ บัง คับ ที่ใ ห้ส ่ง
ทรัพ ย์ส ิน กระทำการ หรือ งดเว้น กระทำการอย่า งนัน
้ แล้ว แต่ถ ้า การ
ปฏิบัติตามคำบังคับดังกล่าวอาจแยกเป็ นส่วน ๆ ได้ เมื่อได้มีการปฏิบ ัติ
ตามคำบังคับในส่วนใดแล้ว ให้ถือว่าการบังคับคดีได้เสร็จลงเฉพาะในส่วน
นัน

(๒) ในกรณีที่คำบังคับกำหนดให้ใช้เงิน เมื่อเจ้าพนักงานบังคับ
คดีได้จ่ายเงินตามมาตรา ๓๓๙ มาตรา ๓๔๐ มาตรา ๓๔๒ มาตรา ๓๔๓
หรือมาตรา ๓๔๔ แล้วแต่กรณี แล้ว แต่ถ้าทรัพย์สินที่ถ ูกบังคับคดีมีหลาย
รายการ เมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีได้จ่ายเงินที่ได้จากการขายทอดตลาด
ทรัพย์สินรายการใดแล้ว ให้ถือว่าการบังคับคดีได้เสร็จลงเฉพาะทรัพย์สิน
รายการนัน

ในการยื่น คำร้องต่อศาลตามวรรคหนึ่ง หรือวรรคสอง หากมี
พยานหลักฐานเบื้องต้นแสดงว่าคำร้องนัน
้ ไม่มีมูลและยื่นเข้ามาเพื่อประวิง
ให้ชักช้า ศาลมีอำนาจสั่งให้ผู้ย่ น
ื คำร้องวางเงินหรือหาประกันต่อศาลตาม
จำนวนและภายในระยะเวลาที่ศาลเห็นสมควรเพื่อเป็ นประกันการชำระ
ค่าสินไหมทดแทนแก่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือบุคคลนัน
้ สำหรับความ
เสียหายที่อาจได้รับจากการยื่น คำร้องนัน
้ ถ้าผู้ย่ น
ื คำร้องไม่ปฏิบัติตามคำ
สั่งศาล ให้ศ าลมีคำ สั่งยกคำร้อ งนัน
้ เสีย ส่วนเงิน หรือประกัน ที่วางไว้ต่อ
ศาลดังกล่าวเมื่อศาลเห็นว่าไม่มีความจำเป็ นต่อไป จะสัง่ คืนหรือยกเลิก
ประกันนัน
้ ก็ได้ คำสั่งของศาลที่ออกตามความในวรรคนีใ้ ห้เป็ นที่สุด
ในกรณีที่ศ าลได้มีคำ สัง่ ยกคำร้อ งที่ย่ น
ื ไว้ต ามวรรคหนึ่ง หรือ
วรรคสอง ถ้าบุคคลที่ได้รับความเสียหายเนื่องจากการยื่น คำร้องดังกล่าว
เห็นว่าคำร้องนัน
้ ไม่มีมูลและยื่นเข้ามาเพื่อประวิงให้ชักช้า บุคคลดังกล่าว
อาจยื่นคำร้องต่อศาลภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีคำ สั่งยกคำร้อง เพื่อ
ขอให้ศาลสั่งให้ผู้ย่ น
ื คำร้องนัน
้ ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ในกรณีเช่นว่านี ้ ให้
ศาลมีอำนาจสั่งให้แยกการพิจารณาเป็ นสำนวนต่างหากจากคดีเดิม และ
เมื่อศาลไต่สวนแล้วเห็นว่าคำร้องนัน
้ ฟั งได้ ให้ศาลมีคำสั่งให้ผู้ย่ น
ื คำร้องนัน

ชดใช้ค ่า สิน ไหมทดแทนให้แ ก่บ ุค คลที่ไ ด้ร ับ ความเสีย หายดัง กล่า วตาม
จำนวนที่ศาลเห็นสมควร ถ้าผู้ย่ น
ื คำร้องนัน
้ ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งศาล บุคคล
ที่ได้รับความเสียหายอาจร้องขอให้ศาลบังคับคดีแก่ผ ู้ย่ น
ื คำร้องนัน
้ เสมือน
หนึ่งว่าเป็ นลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
 
หมวด ๒
การบังคับคดีในกรณีที่เป็ นหนีเ้ งิน
                  
 
ส่วนที่ ๑
อำนาจของเจ้าพนักงานบังคับคดี
                  
 
มาตรา ๒๙๖ [๒๙๗]  ในกรณีท ี่คำ พิพ ากษาหรือ คำสั่ง ของศาล
กำหนดให้ชำ ระเงิน ให้เจ้า พนักงานบังคับคดีมีอำนาจบังคับคดีโดยวิธีดัง
ต่อไปนี ้
(๑) ยึดทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
(๒) อายัดสิทธิเรียกร้องของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาที่จะเรียก
ให้บุคคลภายนอกชำระเงินหรือส่งมอบหรือโอนทรัพย์สิน
(๓) อายัดสิทธิเรียกร้องของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาที่จะเรียก
ให้บุคคลภายนอกชำระหนีอ
้ ย่างอื่นนอกจากที่กล่าวมาแล้วใน (๒)
(๔) ขายทอดตลาดหรือจำหน่ายโดยวิธีอ่ น
ื ซึ่งทรัพย์สินที่ได้มา
จากการยึดหรือการอายัดหรือซึ่งสิทธิเรียกร้องที่ได้อายัดไว้
ในกรณีที่ยังไม่อาจยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องของลูก
หนีต
้ ามคำพิพากษาเนื่องจากมีเหตุขัดข้องอย่างหนึ่งอย่างใดที่ทำให้ไม่อาจ
ยึดหรืออายัดได้ทันที เมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดี เ ห็น เองหรือ เจ้า หนี ต
้ าม
คำพิพากษาร้องขอ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมี อำ นาจสั่งห้ามมิให้ล ูกหนี ้
ตามคำ พิพ ากษา โอน ขาย ยัก ย้า ย หรือ จำหน่า ยซึ่ง ทรัพ ย์ส ิน หรือ สิทธิ
เรียกร้องนัน
้ ไว้เป็ นการชั่วคราวไว้ก ่อ นได้เ ท่า ที่ จำ เป็ น และถ้า ทรัพ ย์ส ิน
หรือสิทธิเรียกร้องนัน
้ เป็ นทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้องที่บุคคลภายนอกมี
ส่ว นเกี่ย วข้อ งด้ว ย ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีแ จ้ง คำสั่ง ห้า มดัง กล่า วให้
บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องนัน
้ ทราบ หรือ หากทรัพ ย์ส ิน หรือ สิทธิเ รียกร้อ ง
นัน
้ เป็ นทรัพ ย์ส ิน หรือ สิท ธิเ รีย กร้อ งที่ จ ะต้อ งจดทะเบีย นหรือ ได้จ ด
ทะเบียนไว้ตามกฎหมาย ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีแจ้ง คำสัง่ ห้ามดังกล่าว
ให้นายทะเบียนหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ผ ู้มีอำ นาจหน้าที่จดทะเบียนตาม
กฎหมายว่า ด้ว ยการนัน
้ ทราบ ถ้า ได้ม ีก ารจดทะเบีย นไว้แ ล้ว ให้น าย
ทะเบียนหรือพนักงานเจ้าหน้าที่บันทึก คำสั่งของเจ้าพนักงานบังคับคดีไว้
ในทะเบียน และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๓๑๕ (๑) และมาตรา ๓๒๐ (๑)
และ (๒) มาใช้บ ัง คับ โดยอนุโ ลม ในกรณีมีเ หตุอ ัน สมควร เจ้า พนัก งาน
บังคับคดีอาจมีคำสั่งยกเลิก หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำสั่งดังกล่าวได้ โดย
ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๒๖๑ และมาตรา ๒๖๒ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ในกรณีเหตุขัดข้องสิน
้ สุดลงหรือไม่มีความจำเป็ นต้องบังคับคดี
ต่อไป หรือเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาเพิกเฉยไม่ดำเนินการอย่างหนึง่ อย่างใด
ตามทีเ่ จ้าพนักงานบังคับคดีกำหนด ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีแจ้งยกเลิกคำ
สั่งห้ามดังกล่าวให้บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ
 
มาตรา ๒๙๗[๒๙๘]  ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำ นาจบังคับคดี
เอากับทรัพย์สินดังต่อไปนีไ้ ด้เช่นเดียวกับที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๙๖
(๑) สินสมรสของคู่สมรสของลูกหนี ต
้ ามคำพิพากษา เฉพาะ
ในกรณีที่ลูกหนี ต
้ ามคำพิพากษาและคู่สมรสเป็ นลูกหนีร้ ่วมกันตามมาตรา
๑๔๙๐ แห่ง ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิช ย์ หรือ ทรัพ ย์ส ิน ของคู่
สมรสของลูก หนี ต
้ ามคำพิพ ากษาซึ่ง ตามกฎหมายอาจบัง คับ เอาชำระ
หนี ต
้ ามคำพิพากษาได้
(๒) ทรัพย์สน
ิ ของบุคคลอื่นซึง่ ตามกฎหมายอาจบังคับเอาชำระ
หนีต
้ ามคำพิพากษาได้
ให้นำ บทบัญ ญัต ิใ นลัก ษณะ ๒ แห่ง ภาคนี ท
้ ี่เ กี่ย วกับ การ
บัง คับ คดีแ ก่ท รัพ ย์ส ิน ของลูก หนี ต
้ ามคำ พิพ ากษามาใช้บ ัง คับ ในการ
บังคับคดีแก่ทรัพย์สินของบุคคลตามมาตรานีโ้ ดยอนุโลม
 
มาตรา ๒๙๘[๒๙๙]  ในกรณีที่ทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้องที่เจ้า
หนีต
้ ามคำพิพากษาอ้างว่าเป็ นของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษามีช่ อ
ื บุคคลอื่น
เป็ นเจ้า ของในทะเบีย นหรือ ปรากฏตามหลัก ฐานอย่า งอื่น ว่า เป็ นของ
บุคคลอื่น หากเจ้าพนักงานบังคับคดีสงสัยว่าทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้อง
นัน
้ ไม่ใช่เป็ นของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาและไม่ยอมทำการยึดหรืออายัด
ถ้าเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษายืนยันให้ยึดหรืออายัดเจ้าพนักงานบังคับคดีจะ
ทำการยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องนัน
้ หรือจะสั่งงดการยึดหรือ
การอายัดก็ไ ด้ ในกรณีที่ส ั่ง งด ให้เ จ้า พนัก งานบังคับ คดีมี คำ สั่ง ห้า มการ
โอน ขาย ยัก ย้าย จำหน่า ย ทำลาย ทำให้เ สื่อ มค่า หรือ เปลี่ย นแปลงซึ่ง
สิทธิในทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้องนัน
้ ไว้ก่อน
คำสั่งห้ามของเจ้าพนักงานบังคับคดีตามวรรคหนึ่งให้มีผลใช้
บังคับได้ทันที และให้เจ้าพนักงานบังคับคดีแจ้งคำสั่งห้ามให้ลูกหนีต
้ ามคำ
พิพากษา และบุคคลผู้มีช่ อ
ื เป็ นเจ้าของทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้องตามที่
ปรากฏในทะเบียนหรือหลักฐานอย่างอื่นทราบโดยเร็ว ในกรณีที่ทรัพย์สิน
ดัง กล่า วเป็ นทรัพ ย์ส ิน ที่จ ะต้อ งจดทะเบีย นหรือ ได้จ ดทะเบีย นไว้ต าม
กฎหมาย ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีแจ้ง คำสั่งห้ามดังกล่าวให้นายทะเบียน
หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ผ ู้มีอำ นาจหน้าที่จดทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วย
การนัน
้ ทราบด้ว ยถ้า ได้ม ีก ารจดทะเบีย นไว้แ ล้ว ให้น ายทะเบีย นหรือ
พนักงานเจ้าหน้าที่บันทึกคำสั่งของเจ้าพนักงานบังคับคดีไว้ในทะเบียน   ทั ้
งนี ้ ให้นำ บทบัญญัติมาตรา ๓๑๕ (๑) และมาตรา ๓๒๐ (๑) มาใช้บังคับ
โดยอนุโลม
เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาอาจยื่นคำร้องต่อศาลภายในสิบห้าวัน
นับแต่วันที่เจ้าพนักงานบังคับคดีมีคำสั่งงดการยึดหรือการอายัดตามวรรค
หนึ่ง เพื่อขอให้ศ าลสั่ง ให้เจ้าพนัก งานบังคับ คดี ทำ การยึด ทรัพ ย์ส ิน หรือ
อายัด สิท ธิเ รีย กร้อ งนัน
้ ในกรณีเ ช่น นี ้ ให้ศ าลส่ง สำ เนาคำ ร้อ งแก่เ จ้า
พนักงานบังคับ คดีแ ละบุค คลผู้มีช่ อ
ื เป็ นเจ้า ของทรัพ ย์ส ิน หรือ สิทธิเ รียก
ร้อ งตามที่ป รากฏในทะเบียนหรือ หลัก ฐานอย่า งอื่น ทราบและบุค คลดัง
กล่าวอาจคัดค้านว่าทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้องนัน
้ ไม่ใช่ของลูกหนีต
้ ามคำ
พิพากษาได้ โดยยื่นคำคัดค้านต่อศาลภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่รับสำเนา
คำร้อง และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๓๒๓ หรือมาตรา ๓๒๕ แล้วแต่กรณี
มาใช้บังคับโดยอนุโลม โดยหากศาลมีคำสั่งให้ยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิ
เรียกร้องแล้ว บุคคลดังกล่าวที่ได้ย่ น
ื คำคัดค้านตามวรรคนีจ
้ ะใช้สิทธิตาม
มาตรา ๓๒๓ หรือมาตรา ๓๒๕ แล้วแต่กรณี อีกหาได้ไม่
ในกรณีที่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษามิได้ย่ น
ื คำร้องภายในกำหนด
เวลาตามวรรคสามหรือศาลมีคำสัง่ ยกคำร้องดังกล่าว หรือในกรณีที่ศาลมี
คำสั่งอนุญาตตามคำร้องในวรรคสาม แต่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาไม่ดำเนิน
การบังคับคดีแก่ทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้องดังกล่าวภายในสิบห้าวันนับ
แต่วันที่ศาลมีคำ สัง่ ให้คำ สัง่ ห้ามตามวรรคหนึ่งเป็ นอัน ยกเลิกไป และให้
เจ้าพนักงานบังคับคดีแจ้งการยกเลิกคำสั่งห้ามดังกล่าวให้บุคคลตามวรรค
สองทราบด้วย
 
มาตรา ๒๙๙[๓๐๐]  ในกรณีที่เจ้าพนักงานบังคับคดีมี คำสั่งห้าม
ตามมาตรา ๒๙๘ วรรคหนึ่ง บุคคลผู้มีช่ ือเป็ นเจ้าของทรัพย์สินหรือสิทธิ
เรียกร้องตามที่ปรากฏในทะเบียนหรือหลักฐานอย่างอื่น หรือผู้มีส่วนได้
เสียในทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้องนัน
้ จะร้องขอต่อเจ้าพนักงานบังคับคดี
ให้เ พิก ถอนคำ สั่ง ห้า มดัง กล่า วโดยวางเงิน หรือ หาประกัน มาให้แ ทน
ทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้องนัน
้ ก็ได้ ถ้าเจ้าพนักงานบังคับคดีพอใจในเงิน
หรือประกันก็ให้เพิกถอนคำสั่งห้ามดังกล่าวและรับเงินหรือประกันนัน
้ ไว้
ในกรณีที่เจ้าพนักงานบังคับคดีไม่เพิกถอนคำสั่งห้ามตามวรรค
หนึ่ง ผู้ร้องนัน
้ จะยื่นคำร้องต่อศาลภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ทราบคำสั่ง
ของเจ้าพนักงานบังคับคดีเพื่อขอให้เพิกถอนคำสั่งห้ามโดยวางเงินหรือหา
ประกันมาให้ก็ได้ ให้ศาลส่งสำเนาคำร้องแก่เจ้าพนักงานบังคับคดีและเจ้า
หนีต
้ ามคำพิพากษาเพื่อทำการไต่สวนเป็ นการด่วน คำสัง่ ของศาลให้เป็ น
ที่สุด
ในกรณีทศ
่ี าลมีคำสัง่ ให้ยด
ึ ทรัพย์สน
ิ หรืออายัดสิทธิเรียกร้องตาม
มาตรา ๒๙๘ วรรคสาม ถ้าไม่อาจยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องนัน

ได้ แต่ได้มีการวางเงินหรือประกันไว้แทนทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้องนัน

เจ้า หนีต
้ ามคำพิพ ากษาอาจขอให้ศ าลดำเนิน การบัง คับ คดีแ ก่เ งิน หรือ
ประกันที่รับไว้หรือแก่ผู้ประกันได้โดยไม่ต้องฟ้ องเป็ นคดีใหม่
ในกรณีที่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษามิได้ย่ น
ื คำร้องหรือศาลมีคำ
สั่งยกคำร้องตามมาตรา ๒๙๘ วรรคสาม ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีคืนเงิน
หรือประกันที่รับไว้แก่ผู้วางเงินหรือประกันนัน
้ หรือยกเลิกการประกัน
 
มาตรา ๓๐๐[๓๐๑]  เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้หรือศาลมีคำ
สั่ง เป็ นอย่างอื่น ห้ามไม่ให้เจ้าพนักงานบังคับ คดียึด ทรัพ ย์ส ิน หรือ อายัด
สิทธิเรียกร้องของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือขายทอดตลาดหรือจำหน่าย
โดยวิธ ีอ่ น
ื ซึ่ง ทรัพ ย์ส ิน หรือ สิท ธิเ รีย กร้อ งที่ไ ด้ม าจากการยึด หรือ อายัด
หลายรายเกินกว่าทีพ
่ อจะชำระหนีใ้ ห้แก่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา พร้อมทัง้
ค่าฤชาธรรมเนียมและค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี
ในกรณีที่มีความจำเป็ นต้องยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเ รียก
ร้อ งรายใดที่ม ีร าคาสูง เกิน กว่า ที่พ อจะชำ ระหนีใ้ ห้แ ก่เ จ้า หนีต
้ ามคำ
พิพากษา ถ้าทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้องนัน
้ อยู่ในสภาพที่จะแบ่งยึดหรือ
อายัดได้โดยไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมี อำ นาจ
แบ่งยึดหรือ แบ่งอายัดทรัพย์สน
ิ หรือสิทธิเรียกร้องรายใดแต่เพียงบางส่วน
หรือ เฉพาะส่วนแห่ง กรรมสิท ธิเ์ ท่า ทีพ
่ อจะชำระหนีใ้ ห้แ ก่เ จ้า หนีต
้ ามคำ
พิพากษา พร้อมทัง้ ค่าฤชาธรรมเนียมและค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี
บุคคลผูม
้ ส
ี ว่ นได้เสียในการบังคับคดีอาจคัดค้านคำสัง่ หรือการ
ดำเนินการตามวรรคหนึง่ หรือวรรคสองของเจ้าพนักงานบังคับคดี โดยยื่น
คำร้องต่อศาลก่อนวันขายทอดตลาดหรือ จำหน่ายโดยวิธอ
ี ่น
ื แต่ตอ
้ งไม่ชา้
กว่าสิบห้าวันนับแต่วน
ั ทีไ่ ด้ทราบคำสัง่ หรือการดำเนินการนัน
้ คำสัง่ ของศาล
ให้เป็ นทีส
่ ด

 
ส่วนที่ ๒
ทรัพย์สินที่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
                  
 
มาตรา ๓๐๑[๓๐๒]  ทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาต่อไปนี ้
ย่อมไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
(๑) เครื่องนุ่งห่มหลับนอน เครื่องใช้ในครัวเรือน หรือเครื่อง
ใช้สอยส่วนตัว โดยประมาณรวมกันราคาไม่เกินประเภทละสองหมื่นบาท
แต่ในกรณีที่เจ้าพนักงานบังคับคดีเห็นสมควร เจ้าพนักงานบังคับคดีจะ
กำหนดให้ทรัพย์สินแต่ละประเภทดังกล่าวที่มีราคารวมกันเกินสองหมื่น
บาทเป็ นทรัพย์สินที่ไม่ต้องอยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีก็ได้  ทัง้ นี ้
โดยคำนึงถึงความจำเป็ นตามฐานะของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
(๒) สัตว์ สิ่ง ของ เครื่อ งมือ เครื่อ งใช้ ในการประกอบอาชีพ
หรือ ประกอบวิช าชีพ เท่า ที่จำ เป็ นในการเลีย
้ งชีพ ของลูก หนีต
้ ามคำ
พิพ ากษา ราคารวมกัน โดยประมาณไม่เ กิน หนึ่ง แสนบาท แต่ถ ้า ลูก หนี ้
ตามคำ พิพ ากษามีค วามจำ เป็ นในการเลี ย
้ งชีพ ก็อ าจร้อ งขอต่อ เจ้า
พนัก งานบัง คับ คดีข ออนุญ าตใช้สัต ว์ สิ่งของ เครื่อ งมือ เครื่อ งใช้เ ท่า ที่
จำเป็ นในการประกอบอาชีพหรือประกอบวิชาชีพ ในกิจการดัง กล่าวของ
ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาอันมีราคารวมกันเกิน กว่า จำนวนราคาที่กำ หนด
นัน
้ ในกรณีเช่นนี  ้ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำนาจใช้ดุลพินิจไม่อนุญาต
หรืออนุญาตได้เท่าที่จำ เป็ นภายในบังคับแห่งเงื่อนไขตามที่เจ้าพนักงาน
บังคับคดีเห็นสมควร
(๓) สัต ว์ สิง่ ของ เครื่อ งใช้ และอุป กรณ์ท ี่จำ เป็ นต้อ งใช้ทำ
หน้าที่ช่วยหรือแทนอวัยวะของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
(๔) ทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาอันมีลักษณะเป็ นของ
ส่วนตัวโดยแท้ เช่น หนังสือสำหรับวงศ์ตระกูลโดยเฉพาะ จดหมาย หรือ
สมุดบัญชีต่าง ๆ
(๕) ทรัพ ย์ส ิน อย่า งใดที่โ อนกัน ไม่ไ ด้ต ามกฎหมาย หรือ ตาม
กฎหมายย่อมไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
ทรัพ ย์ส ินหรือ จำนวนราคาทรัพย์สิน ที่เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดี
กำหนดตามวรรคหนึ่ง ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา
อาจร้องขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีคำ สั่งกำหนดใหม่ได้ คำสั่งของเจ้า
พนักงานบังคับคดีดังกล่าวนัน
้ ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือเจ้าหนีต
้ ามคำ
พิพ ากษาอาจร้อ งคัด ค้า นต่อ ศาลได้ภ ายในสิบ ห้า วัน นับ แต่ว ัน ที่ไ ด้
ทราบคำสั่ง ของเจ้าพนักงานบังคับคดี ในกรณีเ ช่น นี ้ ให้ศาลมีคำสั่งตาม
ที่เห็นสมควร
ในกรณีท ี่พ ฤติก ารณ์ไ ด้เ ปล ี่ย นแปล งไป ล ูก ห นี ต
้ าม คำ
พิพ ากษาหรือ เจ้า หนี ต
้ าม คำ พิพ ากษาอาจยื่น คำ ร้อ งให้ศ าลมีคำ สั่ง
เปลี่ยนแปลงทรัพย์สินหรือจำนวนราคาทรัพย์สินที่ศาลกำหนดไว้เดิมได้
ประโยชน์แห่งข้อยกเว้นทีบ
่ ญ
ั ญัตไิ ว้ในมาตรานี้ ให้ขยายไปถึง
ทรัพย์สน
ิ ตามวรรคหนึง่ อันเป็ นของคู่สมรสของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือ
ของบุคคลอื่น ซึ่งทรัพย์สินเช่นว่านีต
้ ามกฎหมายอาจบังคับเอาชำระหนี ้
ตามคำพิพากษาได้
 
มาตรา ๓๐๒ [๓๐๓]  ภายใต้บ ัง คับ บทบัญ ญัต แ
ิ ห่ง กฎหมายอื่น
เงินหรือสิทธิเรียกร้องเป็ นเงินของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาต่อไปนี ้ ไม่อยู่ใน
ความรับผิดแห่งการบังคับคดี
(๑) เบีย
้ เลีย
้ งชีพ ซึ่ง กฎหมายกำหนดไว้ ส่ว นเงิน รายได้เ ป็ น
คราว ๆ ซึ่งบุคคลภายนอกได้ยกให้เพื่อเลีย
้ งชีพนัน
้ ให้มจำ
ี นวนไม่เกินเดือน
ละสองหมื่นบาทหรือตามจำนวนทีเ่ จ้าพนักงานบังคับคดีเห็นสมควร
(๒) เงินเดือน ค่าจ้าง บำนาญ บำเหน็จ เบีย
้ หวัด หรือรายได้
อื่น ในลัก ษณะเดีย วกัน ของข้า ราชการ เจ้า หน้า ที่ หรือ ลูก จ้า งในหน่ว ย
ราชการ และเงินสงเคราะห์ บำนาญ หรือบำเหน็จที่หน่วยราชการได้จ่าย
ให้แก่คู่สมรสหรือญาติที่ยังมีชีวิตของบุคคลเหล่านัน

(๓) เงินเดือน ค่าจ้าง บำนาญ ค่าชดใช้ เงิน สงเคราะห์ หรือ
รายได้อ่ น
ื ในลักษณะเดียวกันของพนักงาน ลูกจ้าง หรือคนงาน นอกจากที่
กล่า วไว้ใ น (๒) ที่น ายจ้า งหรือ บุค คลอื่น ใดได้จ ่า ยให้แ ก่บ ุค คลเหล่า นัน

หรือคู่สมรส หรือญาติที่ยังมีชีวิตของบุคคลเหล่านัน
้ เป็ นจำนวนรวมกันไม่
เกิน เดือ นละสองหมื่น บาทหรือ ตามจำนวนที่เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีเ ห็น
สมควร
(๔) บำเหน็จหรือค่าชดเชยหรือรายได้อ่ ืนในลักษณะเดียวกัน
ของบุคคลตาม (๓) เป็ นจำนวนไม่เกินสามแสนบาทหรือตามจำนวนที่เจ้า
พนักงานบังคับคดีเห็นสมควร
(๕) เงินฌาปนกิจสงเคราะห์ที่ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาได้รับอัน
เนื่องมาแต่ความตายของบุคคลอื่นเป็ นจำนวนตามทีจำ
่ เป็ นในการดำเนิน
การฌาปนกิจศพตามฐานะของผูต
้ ายทีเ่ จ้าพนักงานบังคับคดีเห็นสมควร
ในกรณีที่เจ้าพนักงานบังคับคดีเป็ นผู้กำ หนดจำนวนเงินตาม
(๑) (๓) และ (๔) ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีคำนึงถึงฐานะในทางครอบครัว
ของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาและจำนวนบุพการีและผูส
้ ืบสันดานซึ่งอยู่ใน
ความอุปการะของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาด้วย และสำหรับในกรณีตาม (๑
) และ (๓) ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีกำ หนดให้ไม่น้อยกว่าอัตราเงินเดือน
ขัน
้ ต่ำสุดของข้าราชการพลเรือนในขณะนัน
้ และไม่เกินอัตราเงินเดือนขัน

สูงสุดของข้าราชการพลเรือนในขณะนัน

ถ้าเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา หรือบุคคล
ภายนอกผู้ม ีส ่ว นได้เ สีย ในการบัง คับ คดีไ ม่เ ห็น ด้ว ยกับ จำนวนเงิน ที่เ จ้า
พนักงานบังคับคดีกำหนด บุคคลดังกล่าวอาจยื่นคำร้องต่อศาลภายในสิบ
ห้าวันนับแต่วันที่ได้ทราบถึงการกำหนดจำนวนเงินเช่นว่านัน
้ เพื่อขอให้
ศาลกำหนดจำนวนเงินใหม่ได้
ในกรณีท ี่พ ฤติก ารณ์แ ห่ง การดำ รงชีพ ของลูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษาได้เปลี่ยนแปลงไป บุคคลตามวรรคสามจะยื่น คำร้องให้ศาลหรือ
เจ้าพนักงานบังคับคดี แล้วแต่กรณี กำหนดจำนวนเงินตาม (๑) และ (๓)
ใหม่ก็ได้
 
ส่วนที่ ๓
การยึดทรัพย์สิน
                  
 
มาตรา ๓๐๓ [๓๐๔]  การยึด สัง หาริมทรัพ ย์ม ีรูป ร่า งของลูก หนี ้
ตามคำพิพากษานัน
้ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีกระทำโดย
(๑) นำ ทรัพ ย์น น
ั ้ มาเก็บ รัก ษาไว้ หรือ ฝากทรัพ ย์น น
ั ้ ไว้ ณ
สถานที่ใ ดหรือ แก่บ ุค คลใดตามที่เ ห็น สมควรหรือ มอบให้ล ูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษาเป็ นผู้รักษาทรัพย์นน
ั ้ โดยได้รับความยินยอมจากเจ้าหนีต
้ ามคำ
พิพากษา
(๒) แจ้ง รายการทรัพ ย์ท ี่ย ึด ให้ล ูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษาและผู้
ครอบครองหรือ ผู้ด ูแ ลทรัพ ย์น น
ั ้ ทราบ ถ้า ไม่ส ามารถกระทำได้ ให้ปิ ด
ประกาศแจ้งรายการทรัพย์ที่ยึดไว้ ณ สถานที่ที่กระทำการยึด หรือแจ้ง
โดยวิธีอ่ น
ื ใดตามที่เจ้าพนักงานบังคับคดีเห็นสมควร
(๓) แสดงให้เห็นประจักษ์แจ้งโดยการประทับตราหรือโดยวิธอ
ี ่น

ใดตามทีเ่ จ้าพนักงานบังคับคดีเห็นสมควรว่าได้มีการยึดทรัพย์นน
ั ้ แล้ว
 
ม า ต ร า ๓ ๐ ๔ [๓ ๐ ๕ ]  ก า ร ย ึด เ ร ือ แ พ ส ัต ว ์พ า ห น ะ ห ร ือ
สังหาริมทรัพย์มีรูปร่างอย่างอื่นของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาซึ่งจะต้องจด
์ รือได้จดทะเบียนกรรมสิทธิไ์ ว้แล้วตามกฎหมาย ให้
ทะเบียนกรรมสิทธิห
เจ้าพนักงานบังคับคดีกระทำโดย
(๑) ดำเนินการตามวิธีการที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓๐๓
(๒) แจ้ง ให้น ายทะเบีย นหรือ พนัก งานเจ้า หน้า ที่ผ ู้ม ีอำ นาจ
หน้า ที่จ ดทะเบีย นตามกฎหมายว่า ด้ว ยการนัน
้ ทราบ ถ้า ได้ม ีก ารจด
ทะเบียนกรรมสิทธิไ์ ว้แล้ว ให้นายทะเบียนหรือพนักงานเจ้าหน้าที่บันทึก
การยึดไว้ในทะเบียน
 
มาตรา ๓๐๕ [๓๐ ๖ ]  การยึด หลัก ทรัพ ย์ท ี่เ ป็ นหลัก ทรัพ ย์ต าม
กฎหมายว่า ด้ว ยหลัก ทรัพ ย์แ ละตลาดหลัก ทรัพ ย์ข องล ูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษา ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีกระทำโดย
(๑) ในกรณีที่ยังไม่มีการออกใบตราสาร ให้เจ้าพนักงานบังคับ
คดีแจ้งรายการและจำนวนหลักทรัพย์ที่ยึดให้ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาและผู้
ออกหลัก ทรัพ ย์นน
ั ้ ทราบ และเมื่อ ได้ดำ เนิน การยึด หลัก ทรัพ ย์ด ัง กล่า ว
เสร็จแล้ว ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีสั่งให้ผ ู้ออกหลักทรัพย์ออกใบตราสาร
ส่งให้แก่เจ้าพนักงานบังคับคดี
(๒) ในกรณีที่มีการออกใบตราสารแล้ว ให้เจ้าพนักงานบังคับ
คดีแจ้งรายการและจำนวนหลัก ทรัพย์ที่ยึด ให้ล ูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษา ผู้
ออกหลัก ทรัพ ย์ และผูค
้ รอบครองตราสารเท่า ที่ท ราบ รวมทัง้ บุค คลซึ่ง
ต้องชำระหนีต
้ ามตราสารนัน
้ ทราบ และเมื่อได้ดำ เนินการยึดหลักทรัพย์
ดังกล่าวเสร็จแล้ว ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีนำ ตราสารนัน
้ มาเก็บรักษาไว้
หากสามารถนำมาได้
(๓) ในกรณีท ี่เ ป็ นหลัก ทรัพ ย์ซ ึ่ง ฝากไว้ก ับ ศูน ย์ร ับ ฝากหลัก
ทรัพ ย์ต ามกฎหมายว่า ด้ว ยหลัก ทรัพ ย์แ ละตลาดหลัก ทรัพ ย์ ให้เ จ้า
พนักงานบังคับคดีแจ้งรายการและจำนวนหลักทรัพย์ที่ยึดให้ล ูก หนีต
้ าม
คำพิพ ากษา ผู้อ อกหลัก ทรัพ ย์ ผู้ฝ ากหลัก ทรัพ ย์แ ละศูน ย์ร ับ ฝากหลัก
ทรัพ ย์ต ามกฎหมายว่า ด้ว ยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ทราบ เพื่อ
ปฏิบัติตามที่ได้รับแจ้งจากเจ้าพนักงานบังคับคดี
(๔) ในกรณีที่เป็ นหลักทรัพย์ที่ไม่มีการออกใบตราสาร ให้เจ้า
พนักงานบังคับคดีแจ้งรายการและจำนวนหลักทรัพย์ที่ยึดให้ลูกหนีต
้ ามคำ
พิพากษาและผู้ออกหลักทรัพย์ทราบ เพื่อปฏิบัติตามที่ได้รับแจ้งจากเจ้า
พนักงานบังคับคดี
ในกรณีท ี่ไ ม่ส ามารถแจ้ง บุค คลตามวรรคหนึ่ง ได้ ให้ปิ ด
ประกาศแจ้งรายการและจำนวนหลักทรัพย์ที่ยึดไว้ในที่แลเห็นได้ง่าย ณ
ภูมิลำเนาหรือสำนักทำการงานของบุคคลเช่นว่านัน
้ หรือแจ้งโดยวิธีอ่ น
ื ใด
ตามที่เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีเ ห็น สมควร และให้ม ีผ ลใช้ไ ด้น ับ แต่เ วลาที่
ประกาศนัน
้ ได้ปิดไว้หรือการแจ้งโดยวิธีอ่ น
ื ใดตามที่เจ้าพนักงานบังคับคดี
เห็นสมควรนัน
้ ได้ทำหรือได้ตงั ้ ต้นแล้ว
 
มาตรา ๓๐๖[๓๐๗]  การยึดตั๋วเงินหรือตราสารเปลี่ยนมืออื่นใด
ของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๓๐๕ วรรคหนึ่ง (๒)
และวรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม และให้มีผลเป็ นการอายัดสิทธิเรียก
ร้องตามตั๋วเงินหรือตราสารนัน
้ ด้วย
ในกรณีที่เห็นสมควรเจ้าพนักงานบังคับคดีอาจร้องขอให้ศาลมี
คำสัง่ อนุญ าตให้จำ หน่ายตามราคาที่ป รากฏในตั๋ว เงิน หรือ ตราสารหรือ
ราคาต่ำกว่านัน
้ ตามที่ศาลเห็นสมควร ถ้าศาลสัง่ ยกคำร้อ ง ให้นำ ตั๋วเงิน
หรือตราสารนัน
้ ออกขายทอดตลาด
 
มาตรา ๓๐๗ [๓๐๘]  การยึด หุ้น ของลูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษาซึ่ง
เป็ นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือผู้ถือหุ้นใน
บริษัทจำกัด ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีกระทำโดย
(๑) แจ้ง การยึด ให้ล ูก หนีต
้ ามคำ พิพ ากษาและห้า งหุ้น ส่ว น
จำกัดหรือบริษัท จำกัดที่ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาเป็ นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้น
อยู่ทราบ ถ้าไม่สามารถกระทำได้ ให้ดำเนินการตามวิธีการที่บัญญัติไว้ใน
มาตรา ๓๐๕ วรรคสอง
(๒) แจ้งให้นายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทนัน
้ บันทึกการยึดไว้ใน
ทะเบียน
 
ม า ต ร า ๓ ๐ ๘ [๓ ๐ ๙ ]  ก า ร ย ึด ส ิท ธ ิใ น ส ิท ธ ิบ ัต ร ส ิท ธ ิใ น
เครื่อ งหมายการค้า หรือ สิท ธิอ ย่า งอื่น ของลูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษาที่ม ี
ลัก ษณะคล้า ยคลึง กัน หรือ ที่เ กี่ย วเนื่อ งกัน กับ สิท ธิด ัง กล่า ว ซึ่ง ได้จ ด
ทะเบียนหรือขึน
้ ทะเบียนไว้แล้ว ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีกระทำโดย
(๑) แจ้งรายการสิทธิที่ยึดให้ล ูกหนีต
้ ามคำพิพากษาทราบ ถ้า
ไม่ส ามารถกระทำ ได้ ให้ดำ เนิน การตามวิธ ีก ารที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นมาตรา
๓๐๕ วรรคสอง
(๒) แจ้ง ให้น ายทะเบีย นหรือ พนัก งานเจ้า หน้า ที่ผ ู้ม ีอำ นาจ
หน้าที่จดทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยการนัน
้ บันทึกการยึดไว้ในทะเบียน
 
มาตรา ๓๐๙ [๓๑๐]  การยึด สิท ธิใ นเครื่ อ งหมายการค้า ซึ่ง ยัง
มิได้จดทะเบียน ลิขสิทธิ ์ สิทธิข อรับ สิทธิบัตร สิทธิในชื่อทางการค้าหรือ
ยี่ห้อ หรือสิทธิอย่างอื่นของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาที่มีลักษณะคล้ายคลึง
กันหรือที่เกี่ยวเนื่องกันกับสิทธิดังกล่าว ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีกระทำ
โดยแจ้งรายการสิทธิที่ยึดให้ล ูกหนีต
้ ามคำพิพากษาทราบ ถ้าไม่สามารถ
กระทำได้ ให้ดำเนินการตามวิธีการที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓๐๕ วรรคสอง
 
มาตรา ๓๑๐[๓๑๑]  การยึดสิทธิการเช่าทรัพย์สินหรือสิทธิที่จะ
ได้ใช้บริการต่าง ๆ ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได้ของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
เช่น บริการโทรศัพท์หรือโทรคมนาคม หรือบริการอื่นใดที่อาจได้รับจาก
ทรัพย์สินหรือบริการของผู้อ่ น
ื ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีกระทำโดย
(๑) แจ้งรายการสิทธิที่ยึดให้ล ูกหนีต
้ ามคำพิพากษาและผู้ให้
เช่า หรือ ผู้ใ ห้บ ริก าร แล้ว แต่ก รณี ทราบ ถ้า ไม่ส ามารถกระทำ ได้ ให้
ดำเนินการตามวิธีการที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓๐๕ วรรคสอง
(๒) ในกรณีที่ได้มีการจดทะเบียนการเช่าทรัพย์สินหรือการให้
บริก ารดัง กล่าว ให้แ จ้ง นายทะเบีย นหรือ พนัก งานเจ้า หน้า ที่ผ ู้ม ีอำ นาจ
หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการนัน
้ บันทึกการยึดไว้ในทะเบียนด้วย
 
มาตรา ๓๑๑[๓๑๒]  การยึดสิทธิของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาตาม
ใบอนุญาต ประทานบัตร อาชญาบัตร สัมปทาน หรือสิทธิอย่างอื่นของลูก
หนีต
้ ามคำพิพากษาที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันหรือที่เกี่ยวเนื่องกันกับสิทธิ
ดังกล่าว ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีกระทำโดย
(๑) แจ้งรายการสิทธิที่ยึดให้ล ูกหนีต
้ ามคำพิพากษาทราบ ถ้า
ไม่ส ามารถกระทำ ได้ ให้ดำ เนิน การตามวิธ ีก ารที่บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นมาตรา
๓๐๕ วรรคสอง
(๒) แจ้ง ให้น ายทะเบีย นหรือ พนัก งานเจ้า หน้า ที่ผ ู้ม ีอำ นาจ
หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการนัน
้ บันทึกการยึดไว้ในทะเบียน
 
มาตรา ๓๑๒ [๓๑๓]  การยึด อสังหาริมทรัพ ย์ข องลูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษานัน
้ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีกระทำโดย
(๑) นำหนัง สือ สำคัญ สำหรับ ทรัพ ย์น น
ั ้ มาเก็บ รัก ษาไว้ หรือ
ฝากไว้แก่บค
ุ คลใดตามที่เห็นสมควร เว้นแต่ทรัพย์นน
ั ้ ยังไม่มีหนังสือ สำคัญ
หรือนำหนังสือสำคัญมาไม่ได้
(๒) แสดงให้เห็นประจักษ์แจ้งโดยการปิ ดประกาศไว้ที่ทรัพย์
นัน
้ ว่า ได้มีการยึดทรัพย์นน
ั ้ แล้ว
(๓) แจ้งรายการทรัพย์ที่ยึดให้บุคคลดังต่อไปนีท
้ ราบ
(ก) ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
(ข) บุคคลอื่นซึ่งมีช่ อ
ื ในทะเบียนว่าเป็ นเจ้าของทรัพย์นน
ั้
(ค) เจ้า พนัก งานที่ด ิน หรือ พนัก งานเจ้า หน้า ที่ผ ู้ม ีอำ นาจ
หน้า ที่จ ดทะเบีย นสิท ธิแ ละนิต ิก รรมเกี่ย วกับ ทรัพ ย์น น
ั ้ ถ้า ทรัพ ย์น น
ั ้ มี
ทะเบียน ให้เจ้าพนักงานที่ดินหรือพนักงานเจ้าหน้าที่บันทึกการยึดไว้ใน
ทะเบียน
ในกรณีที่ไ ม่ส ามารถแจ้ง ตามวรรคหนึ่ง (๓) (ก) หรือ (ข) ได้
ให้ปิดประกาศแจ้งรายการทรัพย์ที่ยึดไว้ในที่แลเห็นได้ง่าย ณ ภูมิลำ เนา
หรือสำนักทำการงานของบุคคลเช่นว่านัน
้ หรือแจ้งโดยวิธีอ่ น
ื ใดตามที่เจ้า
พนักงานบังคับคดีเห็นสมควร และให้มผ
ี ลใช้ได้นับแต่เวลาที่ประกาศนัน

ได้ปิดไว้หรือการแจ้งโดยวิธีอ่ น
ื ใดตามที่เจ้าพนักงานบังคับคดีเห็นสมควร
นัน
้ ได้ทำหรือได้ตงั ้ ต้นแล้ว
เมื่อได้แจ้งการยึดให้ล ูกหนีต
้ ามคำพิพากษาและเจ้าพนักงาน
ที่ด ิน หรือ พนัก งานเจ้า หน้า ที่ผ ู้ม ีอำ นาจหน้า ที่จ ดทะเบีย นสิท ธิแ ละ
นิติกรรมเกี่ยวกับทรัพย์นน
ั ้ แล้ว ให้ถือว่าเป็ นการยึดตามกฎหมาย
 
ม า ต ร า ๓ ๑ ๓ [๓ ๑ ๔ ]  ก า ร ย ึด ท ร ัพ ย ส ิท ธ ิอ ัน เ ก ี่ย ว ก ับ
อสังหาริมทรัพย์นน
ั ้ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีกระทำโดยดำเนินการตามวิธี
การที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓๑๒ โดยอนุโลม
 
มาตรา ๓๑๔ [๓๑๕]  การยึด สัง หาริมทรัพ ย์ม ีรูป ร่า งของลูก หนี ้
ตามคำพิพ ากษานัน
้ ให้ม ีผ ลเป็ นการยึด ครอบไปถึง ดอกผลธรรมดาและ
ดอกผลนิตินัยของทรัพย์นน
ั ้ ด้วย
การยึดอสังหาริมทรัพย์ของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษานัน
้ ให้มีผล
เป็ นการยึดครอบไปถึง
(๑) เครื่องอุปกรณ์และดอกผลนิตินัยของทรัพย์นน
ั้
(๒) ดอกผลธรรมดาของทรัพ ย์น ั น
้ ที่ล ูก หนี ต
้ ามคำพิพ ากษา
มีส ิท ธิเ ก็บ เกี่ย ว เมื่ อ เจ้า พนักงานบังคับคดีได้แจ้งหรือปิ ดประกาศให้ล ูก
หนีต
้ ามคำพิพากษาและผูค
้ รอบครองหรือ ผู้ด ูแลทรัพย์นน
ั ้ ทราบในขณะ
ทำการยึดว่าได้ยึดดอกผลด้วยแล้ว
 
มาตรา ๓๑๕[๓๑๖]  การยึดทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
นัน
้ ให้มีผลดังต่อไปนี ้
(๑) การที่ล ูก หนีต
้ ามคำ พิพ ากษาได้ก ่อ ให้เ กิด โอน หรือ
เปลี่ยนแปลงซึ่งสิทธิในทรัพ ย์ส ิน ที่ถ ูก ยึด ภายหลัง ที่ไ ด้ ทำ การยึด ไว้แ ล้ว
นั น
้ หาอาจใช้ยัน แก่เ จ้าหนี ต
้ ามคำพิพ ากษาหรือ เจ้าพนัก งานบังคับคดี
ได้ไ ม่ถ ึง แม้ว ่า ราคาแห่ง ทรัพ ย์ส ิน นัน
้ จะเกิน กว่า จำ นวนหนีต
้ ามคำ
พิพ ากษากับ ค่า ฤชาธรรมเนีย มและค่า ฤชาธรรมเนีย มในการบัง คับ คดี
และลูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษาได้ก ระทำการดัง กล่า วแก่ท รัพ ย์ส ิน ที่ถ ูก ยึด
เพียงส่วนที่มีราคาเกินจำนวนนัน
้ ก็ตาม
(๒) ถ้า ลูก หนีต
้ ามคำ พิพ ากษาได้ร ับ มอบให้เ ป็ นผ ู้ร ัก ษา
ทรัพย์สินที่ถูกยึด ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาชอบที่จะใช้ทรัพย์สินเช่นว่านัน

ได้ตามสมควร แต่ถ้าเจ้าพนักงานบังคับคดีเห็นว่าลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
จะทำให้ท รัพ ย์ส ิน นัน
้ เสีย หายหรือ เกรงว่า จะเสียหาย โดยเจ้า พนัก งาน
บังคับคดีเห็นเองหรือเมื่อเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือบุคคลผู้มีส่วนได้เสีย
ในการบัง คับ คดีแ ก่ทรัพ ย์ส ิน นัน
้ ร้อ งขอ เจ้า พนัก งานบัง คับ คดีจ ะรัก ษา
ทรัพย์สินนัน
้ เสียเองหรือตัง้ ให้ผู้ใดเป็ นผู้รักษาทรัพย์สินนัน
้ ก็ได้
 
ส่วนที่ ๔
การอายัดสิทธิเรียกร้อง
                  
 
มาตรา ๓๑๖ [๓๑๗]  การอายัด สิทธิเ รียกร้อ งของลูก หนีต
้ ามคำ
พิพ ากษาที่จ ะเรีย กให้บ ุค คลภายนอกชำ ระเงิน หรือ ส่ง มอบหรือ โอน
ทรัพย์สินก็ดี หรือที่จะเรียกให้บุคคลภายนอกชำระหนีอ
้ ย่างอื่นนอกจาก
การชำระเงิน หรือการส่ง มอบหรือ การโอนทรัพ ย์ส ิน ก็ด ี ให้ศ าลหรือ เจ้า
พนักงานบังคับคดีกระทำโดยมีคำสั่งอายัด และแจ้งคำสั่งนัน
้ ให้ลูกหนีต
้ าม
คำพิพากษาและบุคคลภายนอกทราบ
คำ สัง่ อายัด ตามวรรคหนึ่ง ต้อ งมีข ้อ ห้า มล ูก ห นีต
้ าม คำ
พิพากษาไม่ให้จำ หน่ายสิทธิเรียกร้องและมีข้อห้ามบุคคลภายนอกไม่ให้
ปฏิบัติการชำระหนีน
้ น
ั ้ แก่ล ูกหนีต
้ ามคำพิพากษา แต่ให้ชำ ระเงินหรือส่ง
มอบหรือโอนทรัพย์สินหรือชำระหนีอ
้ ย่างอื่นให้แก่ศาล เจ้าพนักงานบังคับ
คดีห รือ บุค คลอื่น หรือ ให้ดำ เนิน การโดยวิธ ีอ่ น
ื ใดตามที่ศ าลหรือ เจ้า
พนักงานบังคับคดีเห็นสมควร ณ เวลาหรือภายในเวลา หรือเงื่อนไขตามที่
กำหนดให้ แล้วแต่กรณี
คำสัง่ อายัดนัน
้ ให้บังคับได้ไม่ว่าที่ใด ๆ
 
มาตรา ๓๑๗[๓๑๘]  การอายัดตามมาตรา ๓๑๖ อาจกระทำได้
ไม่ว่าหนีท
้ ี่เรียกร้องนัน
้ จะมีข้อโต้แย้ง ข้อ จำกัด เงื่อนไข หรือว่าได้กำหนด
จำนวนไว้แน่นอนหรือไม่ก็ตาม
 
มาตรา ๓๑๘ [๓๑๙]  การอายัด สิทธิเ รียกร้อ งของลูก หนีต
้ ามคำ
พิพ ากษาที่มีส ิทธิไ ด้รับ ชำระหนีเ้ ป็ นคราว ๆ ให้ม ีผ ลเป็ นการอายัด สิท ธิ
เรียกร้องของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาที่มีสิทธิได้รับ ชำระหนีภ
้ ายหลังการ
อายัดนัน
้ ด้วย
 
มาตรา ๓๑๙ [๓๒๐]  การอายัด สิทธิเ รียกร้อ งของลูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษาที่มีจำนองหรือจำนำเป็ นประกัน ให้มีผลรวมตลอดถึงการจำนอง
หรือการจำนำนัน
้ ด้วย ถ้าทรัพย์สินที่จำนองนัน
้ มีทะเบียน ให้เจ้าพนักงาน
บังคับคดีแจ้งคำสั่งอายัดไปยังผู้มีอำนาจหน้าที่เพื่อให้จดแจ้งไว้ในทะเบียน
ในกรณีผู้จำนองหรือผู้จำนำมิใช่ลูกหนีต
้ ามสิทธิเรียกร้อง เมื่อ
ได้ดำเนินการอายัดแล้ว ให้แจ้งผู้จำนองหรือผู้จำนำเพื่อทราบด้วย
 
มาตรา ๓๒๐[๓๒๑]  การอายัดสิทธิเรียกร้องนัน
้ ให้มีผลดังต่อไป
นี ้
(๑) การที่ล ูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษาได้ก ่อ ให้เ กิด สิท ธิแ ก่บ ุค คล
ภายนอกเหนือสิทธิเรียกร้องที่ได้ถูกอายัด โอน เปลี่ยนแปลง หรือระงับซึ่ง
สิทธิเรียกร้องดังกล่าวภายหลังที่ได้ทำ การอายัดไว้แล้วนัน
้ หาอาจใช้ยัน
แก่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ไม่ถึงแม้ว่าราคา
แห่ง สิท ธิเ รีย กร้อ งนัน
้ จะเกิน กว่า จำนวนหนีต
้ ามคำพิพ ากษากับ ค่า ฤชา
ธรรมเนีย มและค่า ฤชาธรรมเนีย มในการบัง คับ คดี และลูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษาได้กระทำการดังกล่าวแก่สิทธิเรียกร้องที่ถ ูกอายัดเพียงส่วนที่มี
ราคาเกินจำนวนนัน
้ ก็ตาม
ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับแก่ผ ู้จำนองหรือผู้จำนำซึ่งมิใช่
ลูกหนีต
้ ามสิทธิเรียกร้องตามมาตรา ๓๑๙ วรรคสอง หากผู้จำ นองหรือผู้
จำนำพิสูจน์ได้ว่าความระงับสิน
้ ไปแห่งการจำนองหรือการจำนำเกิดขึน

โดยผู้จำ นองหรือผู้จำ นำกระทำการโดยสุจริตและเสียค่าตอบแทนก่อนมี
การแจ้งการอายัดไปยังผู้จำนองหรือผู้จำนำเพื่อทราบ
(๒) ถ้า ค่า แห่ง สิท ธิเ รีย กร้อ งซึ่ง อายัด ไว้น น
ั ้ ต้อ งเสื่อ มเสีย ไป
เพราะความผิดของเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาต้องรับ
ผิดชดใช้คา่ สินไหมทดแทนให้แก่ลก
ู หนีต
้ ามคำพิพากษาเพื่อความเสียหายใด
ๆ ซึ่งเกิดขึน
้ แก่ลก
ู หนีต
้ ามคำพิพากษานัน

(๓) การชำ ระหนีโ้ ดยบุค คลภายนอกตามที่ร ะบุไ ว้ใ นคำ สั่ง
อายัดนัน
้ ให้ถือว่าเป็ นการชำระหนีต
้ ามกฎหมาย
 
ส่วนที่ ๕
การขอให้ศาลบังคับบุคคลภายนอกชำระหนีต
้ ามสิทธิเรียกร้อง
                  
 
มาตรา ๓๒๑ [๓๒๒ ]  ถ้า บุค คลภายนอกไม่ ชำ ระหนี ต
้ ามคำสั่ง
อายัด ของศาลหรือ เจ้า พนัก งานบัง คับ คดี ต ามมาตรา ๓๑๖ ให้เ จ้า
พนักงานบังคับคดีแจ้งให้เจ้าหนีต
้ ามคำพิพ ากษาทราบ ในกรณีเ ช่น ว่า นี ้
เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาอาจยื่นคำร้องต่อศาลให้บังคับบุคคลภายนอกนัน

ปฏิบ ัต ิก ารชำ ระหนี ต
้ ามที่เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีม ี คำ สั่ง หรือ ชำ ระค่า
สิน ไหมทดแทนเพื่ อ การไม่ ชำ ระหนี แ
้ ก่เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีก ็ไ ด้  เมื่อ
ศาลทำการไต่สวนแล้วถ้าเป็ นที่พอใจว่าสิทธิเรียกร้องของลูก หนีต
้ ามคำ
พิพ ากษานั น
้ มีอ ยู่จ ริง และอาจบัง คับ ได้จ ะมี คำ สั่ง ให้บ ุค คลภายนอก
ปฏิบ ัต ิก ารชำระหนี ต
้ ามที่เ จ้า พนักงานบังคับคดีมีคำ สัง่ หรือให้ชำ ระค่า
สินไหมทดแทนตามจำนวนที่เ ห็น สมควรก็ได้ ถ้า บุคคลภายนอกนัน
้ มิไ ด้
ปฏิบัติตามคำสั่งของศาล เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาอาจร้องขอให้ศาลบังคับ
คดีแก่บุคคลภายนอกนัน
้ เสมือนหนึ่งว่าเป็ นลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาก็ได้
 
ส่วนที่ ๖
สิทธิของบุคคลภายนอกและผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ถูกบังคับคดี
                  
 
มาตรา ๓๒๒ [๓ ๒ ๓ ]  ภายใต้บ ัง คับ มาตรา ๓๒๓ และมาตรา
๓๒๔ บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนีว้ ่าด้วยการบังคับคดีแก่ทรัพย์สิน
ของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาย่อมไม่กระทบกระทั่ง ถึงทรัพยสิทธิ บุริมสิทธิ
สิทธิยึดหน่วง หรือสิทธิอ่ ืนซึ่งบุคคลภายนอกมีอยู่เหนือทรัพย์สินหรืออาจ
ร้องขอให้บงั คับเหนือทรัพย์สินนัน
้ ตามกฎหมาย
 
มาตรา ๓๒๓[๓๒๔]  ภายใต้บังคับมาตรา ๕๕ บุคคลใดกล่าวอ้าง
ว่าจำเลยหรือลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาไม่ใช่เจ้าของทรัพย์สินที่เจ้าพนักงาน
์ รือสิทธิครอบ
บัง คับคดีได้ยึดไว้ หรือตนเป็ นเจ้า ของรวมซึ่ง มี กรรมสิทธิห
ครองในทรัพย์สน
ิ นัน
้ ซึง่ เป็ นอสังหาริมทรัพย์ทไ่ี ด้แบ่งการครอบครองเป็ น
ส่วนสัด  หรือตนเป็ นเจ้าของรวมในทรัพ ย์ส ิน นัน
้ ซึ่ง เป็ นสัง หาริมทรัพ ย์ที่
เป็ นทรัพย์แบ่งได้ หรือตนเป็ นผู้อยู่ในฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิทธิของ
ตนในทรัพย์สินนัน
้ ได้อยู่ก่อน บุคคลนัน
้ อาจร้องขอให้ปล่อยทรัพย์สินนัน

ทัง้ หมดหรือบางส่วนหรือเฉพาะส่วนของตน แล้วแต่กรณี โดยยื่น คำร้อง
ขอต่อ ศาลที่อ อกหมายบัง คับ คดีภ ายในหกสิบ วัน นับ แต่ว ัน ที่ม ีก ารยึด
ทรัพ ย์ส ิน นัน
้ แต่ถ ้า ไม่ส ามารถยื่น คำร้อ งขอภายในระยะเวลาดัง กล่า ว
บุค คลนัน
้ จะยื่น คำ ร้อ งขอเมื่อ พ้น ระยะเวลาเช่น ว่า นัน
้ ได้ก ็ต ่อ เมื่อ มี
พฤติก ารณ์พ ิเ ศษและได้ย่ น
ื คำ ร้อ งขอไม่ช ้า กว่า เจ็ด วัน ก่อ นวัน ที่เ จ้า
พนักงานบังคับคดีกำ หนดไว้เพื่อการขายทอดตลาดหรือ จำหน่า ยโดยวิธี
อื่นซึ่งทรัพย์สินนัน
้ เป็ นครัง้ แรก เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย บุคคลนัน

จะยื่นคำร้องขอในภายหลังก็ได้ แต่จะต้องยื่นเสียก่อนขายทอดตลาดหรือ
จำหน่ายโดยวิธีอ่ น
ื ซึ่งทรัพย์สินนัน

ในกรณีที่เป็ นทรัพย์สินตามมาตรา ๓๓๒ ผู้กล่าวอ้า งอาจยื่น
คำร้องขอต่อศาลภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้มีการยึดทรัพย์สินนัน
้ แต่
ถ้า ไม่ส ามารถยื่น คำร้อ งขอภายในระยะเวลาดัง กล่า ว บุค คลนัน
้ จะยื่น
คำร้องขอเมื่อพ้นระยะเวลาเช่นว่านัน
้ ได้ก็ต่อเมื่อมีพฤติการณ์พิเศษ แต่จะ
ต้อ งยื่น เสีย ก่อ นที่เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีจ ะจ่า ยเงิน ที่ไ ด้จ ากการขาย
ทรัพย์สินนัน
้ แก่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาตามมาตรา ๓๓๙ หรือก่อนที่บัญชี
ส่วนเฉลี่ยแสดงจำนวนเงินที่ขายทรัพย์สินนัน
้ เป็ นที่สุดตามมาตรา ๓๔๐
แล้ว แต่ก รณี  ทัง้ นี ้ ให้ถ ือ ว่า เงิน จำ นวนสุท ธิท ี่ไ ด้จ ากการขายนัน
้ เป็ น
เสมือนทรัพย์สินที่ขอให้ปล่อย
เมื่ อ ศาลสั่ง รับ คำ ร้อ งขอไว้แ ล้ว ให้ส ่ง สำ เนาคำ ร้อ งขอแก่
โจทก์ห รือ เจ้า หนี ต
้ ามคำ พิพ ากษาจำเลยหรือ ลูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษา
และเจ้าพนักงานบังคับคดี เมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีได้รับ คำร้องขอเช่น
ว่านีถ
้ ้าทรัพย์สินที่ยึดนัน
้ ไม่ใช่ทรัพย์สิน ตามมาตรา ๓๓๒ ให้งดการขาย
ทอดตลาดหรือจำหน่ายทรัพย์สินนัน
้ ไว้ในระหว่างรอคำวินิจฉัยชีข
้ าด และ
ให้ศาลพิจารณาและชีข
้ าดตัดสินคดีนน
ั ้ เหมือนอย่างคดีธรรมดา
โจทก์หรือเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาอาจยื่น คำร้องว่าคำร้องขอ
นัน
้ ไม่มีมูลและยื่นเข้ามาเพื่ อประวิงการบังคับคดี เมื่ อปรากฏพยานหลัก
ฐานเบื้ อ งต้น ว่า คำร้อ งนั น
้ ฟั งได้ ศาลมี อำ นาจสั่ง ให้ผ ู้ก ล่า วอ้า งวางเงิน
หรือหาประกันต่อศาลตามจำนวนและภายในระยะเวลาที่ศาลเห็นสมควร
เพื่อเป็ นประกันการชำระค่าสิน ไหมทดแทนแก่โ จทก์ห รือ เจ้าหนีต
้ ามคำ
พิพากษาสำหรับความเสียหายที่อาจได้รับจากการยื่น คำร้องขอนัน
้ ถ้าผู้
กล่า วอ้า งไม่ป ฏิบ ัต ิต ามคำสัง่ ศาล ให้ศ าลมีคำ สั่ง จำหน่า ยคดีอ อกจาก
สารบบความ ส่วนเงินหรือประกันที่วางไว้ต่อศาลดังกล่าว เมื่อศาลเห็นว่า
ไม่มีความจำเป็ นต่อไป จะสั่งคืนหรือยกเลิกประกันนัน
้ ก็ได้ คำสั่งของศาล
ตามวรรคนีใ้ ห้เป็ นที่สุด
ในกรณีที่ศาลได้มีคำสัง่ ยกคำร้องขอที่ย่ น
ื ไว้ตามวรรคหนึ่งหรือ
วรรคสอง ถ้า โจทก์ห รือ เจ้า หนีต
้ ามคำ พิพ ากษาที่ไ ด้ร ับ ความเสีย หาย
เนื่องจากการยื่นคำร้องขอดังกล่าวเห็นว่า คำร้องขอนัน
้ ไม่มม
ี ล
ู และยื่นเข้า
มาเพื่อประวิงการบัง คับคดี บุคคลดังกล่าวอาจยื่น คำร้องต่อ ศาลภายใน
สามสิบ วัน นับ แต่ว ัน ที่ศ าลได้ม ีคำ สั่ง ยกคำร้อ งขอเพื่อ ขอให้ศ าลสั่ง ให้ผ ู้
กล่าวอ้างชดใช้ค่าสินไหมทดแทนสำหรับความเสียหายที่เกิดขึน
้ แก่ตนได้
ในกรณีเช่นว่านี ้ ให้ศาลมีอำ นาจสั่งให้แยกการพิจารณาเป็ นสำนวนต่าง
หากจากคดีเดิม และเมื่อศาลไต่สวนแล้วเห็นว่า คำร้องนัน
้ ฟั งได้ ให้ศาลมี
คำสั่งให้ผู้กล่าวอ้างชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามจำนวนที่ศาลเห็นสมควร
ถ้าบุคคลดังกล่าวไม่ปฏิบัติตามคำสั่งศาล โจทก์หรือ เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา
อาจร้องขอให้ศาลบังคับคดีแก่บค
ุ คลนัน
้ เสมือนหนึง่ ว่า เป็ นลูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษา
 
มาตรา ๓๒๔[๓๒๕]  บุคคลใดมีสิทธิที่จะได้รับชำระหนีห
้ รือได้รับ
ส่ว นแบ่ง จากเงิน ที่ไ ด้จ ากการขายทอดตลาดหรือ จำหน่า ยโดยวิธ ีอ่ น
ื ซึ่ง
ทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาที่เจ้าพนักงานบังคับคดีได้ยึดไว้โดย
อาศัย อำ นาจแห่ง ทรัพ ยสิท ธิ บุร ิม สิท ธิ สิท ธิย ึด หน่ว ง หรือ สิท ธิอ่ น
ื ซึ่ง
บุคคลนัน
้ มีอยู่เหนือทรัพย์สินหรืออาจร้องขอให้บังคับเหนือทรัพย์สินนัน

ตามกฎหมาย ให้ดำเนินการดังต่อไปนี ้
(๑) ในกรณีที่เป็ นผู้รับจำนองทรัพย์สินหรือเป็ นผู้ทรงบุริมสิทธิ
เหนืออสังหาริมทรัพย์อันได้จดทะเบียนไว้ บุคคลนัน
้ อาจยื่น คำร้องขอต่อ
ศาลที่ออกหมายบังคับคดีก่อนเอาทรัพย์สินนัน
้ ออกขายหรือ จำหน่าย ขอ
ให้มีคำสัง่ อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี ้
(ก) ในกรณีที่อาจบังคับเอาทรัพย์สินซึ่ง จำนองหลุด ขอให้
เอาทรัพ ย์ส ิน ซึ่ง จำนองนัน
้ หลุด ถ้า ศาลมีคำ สั่ง อนุญ าต การยึด ทรัพ ย์ท ี่
จำนองนัน
้ เป็ นอันเพิกถอนไปในตัว
(ข) ในกรณีอ่ น
ื ขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดีนำเงินที่ได้จาก
การขายหรือจำหน่ายทรัพย์สินนัน
้ มาชำระหนีแ
้ ก่ตนก่อนเจ้าหนีอ
้ ่น
ื   ทัง้ นี ้
ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือกฎหมายอื่น
(๒) ในกรณีที่ปรากฏแก่เจ้าพนักงานบังคับคดีว่าทรัพย์สินซึ่ง
ขายหรือ จำ หน่า ยนัน
้ เป็ นของเจ้า ของรวมอัน ได้จ ดทะเบีย นไว้ ให้เ จ้า
พนักงานบังคับคดีกันเงินส่วนของเจ้าของรวมอื่น นอกจากส่วนของลูกหนี ้
ตามคำพิพากษาออกจากเงินที่ได้จากการขายหรือ จำหน่ายทรัพย์สินนัน

ตามที่กำหนดไว้ในมาตรา ๓๔๐
(๓) ในกรณีท ี่เ ป็ นผู้ท รงสิท ธิย ึด หน่ว งซึ่ง ไม่ม ีบ ุร ิม สิท ธิเ หนือ
ทรัพ ย์ส ิน ที่ข ายหรือ จำหน่าย บุค คลนัน
้ อาจยื่น คำร้อ งขอต่อ ศาลที่อ อก
หมายบังคับคดีภายในสิบห้าวันนับแต่วันขายหรือจำหน่ายทรัพย์สินนัน
้ ขอ
ให้นำ เงินที่ได้จากการขายหรือ จำหน่ายมาชำระหนีแ
้ ก่ตนก่อนเจ้าหนีอ
้ ่น

ซึ่งไม่มีบุริมสิทธิเหนือทรัพย์สินนัน

(๔) ในกรณีอ่ น
ื นอกจากที่ร ะบุไ ว้ใ น (๑) (๒) และ (๓) ผู้ท รง
สิทธินน
ั ้ อาจยื่นคำร้องขอต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดีภายในสิบห้าวันนับ
แต่วันขายหรือจำหน่ายทรัพย์สินนัน
้ ขอให้ตนได้รับ ส่วนแบ่งในเงินทีไ่ ด้จาก
การขายหรือจำหน่ายหรือขอให้นำเงินดังกล่าวมาชำระหนีแ
้ ก่ตนก่อนเจ้าหนี้
อื่น   ทัง้ นี ้ ตามบทบัญ ญัต ิแ ห่ง ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิช ย์ห รือ
กฎหมายอื่น
 
มาตรา ๓๒๕[๓๒๖]  เมื่อได้แจ้งคำสัง่ อายัดสิทธิเรียกร้องให้บค
ุ คล
ภายนอกตามมาตรา ๓๑๖ แล้ว บุคคลภายนอกนัน
้ อาจยื่น คำร้องคัดค้าน
คำสัง่ อายัดต่อศาลได้ภายในสิบห้าวัน
บุค คลผู้จ ะต้อ งเสีย หายเพราะคำ สั่ง อายัด อาจยื่น คำ ร้อ ง
คัดค้านคำสั่งดังกล่าวได้ภายในกำหนดเวลา ดังต่อไปนี ้  ทัง้ นี ้ ต้องไม่ช้า
กว่าสิบห้าวันนับแต่วันทราบคำสั่งอายัด
(๑) ถ้าสิทธิเรียกร้องนัน
้ เป็ นการให้ชำระเงิน ให้ย่ น
ื คำร้องต่อศาล
ก่อนวันทีเ่ จ้าพนักงานบังคับคดีจ่ายเงินดังกล่าวทัง้ หมดหรือแต่บางส่วนแก่
เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา
(๒) ถ้าสิทธิเรียกร้องนัน
้ เป็ นการให้ส่งมอบหรือโอนทรัพย์สิน
ให้ย่ น
ื คำ ร้อ งต่อ ศาลก่อ นขายทอดตลาดหรือ จำ หน่า ยโดยวิธ ีอ่ น
ื ซึ่ง
ทรัพย์สินนัน

(๓) ถ ้า ส ิท ธิเ รีย ก ร ้อ ง น ั น
้ เ ป็ น ก า รใ ห ้ ชำ ร ะ ห น ี อ
้ ย ่า ง อ ่ ื น
นอกจาก (๑) และ (๒) ให้ย่ ื น คำ ร้อ งต่อ ศาลก่อ นที่บ ุค คลภายนอกจะ
ปฏิบัติการชำระหนี ้
เมื่อศาลสั่งรับคำร้องคัดค้านตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองแล้ว
ให้ส่งสำเนาคำร้องแก่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา และ
เจ้าพนักงานบังคับคดี และให้เจ้าพนักงานบังคับคดีงดการบังคับตามคำสั่ง
อายัดไว้ในระหว่างรอคำวินิจฉัยชีข
้ าด เมื่อศาลทำการไต่สวนแล้ว ถ้าเป็ น
ที่พอใจว่าสิทธิเ รียกร้องของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษานัน
้ มีอยู่จริงและอาจ
บังคับได้ ก็ให้ยกคำร้องนัน
้ เสียและมีคำ สั่ง ให้บ ุค คลภายนอกปฏิบ ัต ิต าม
คำสั่งอายัด แต่ถ้าเป็ นที่พอใจว่า คำร้องคัดค้านรับฟั งได้ ให้ศาลมี คำ สั่ง
ถอนการอายัดสิทธิเรียกร้อง
ในระหว่างการพิจารณาคำร้องคัดค้านตามวรรคสาม เจ้าหนี ้
ตามคำพิพากษาอาจยื่นคำร้องว่าคำร้องคัดค้านนัน
้ ไม่มีมูลและยื่นเข้ามา
เพื่อประวิงการบังคับคดี เมื่อปรากฏพยานหลักฐานเบื้องต้นว่า คำร้องนัน

ฟั งได้ ศาลมีอำ นาจสั่งให้ผู้ร้องคัดค้านวางเงินหรือหาประกันต่อศาลตาม
จำนวนและภายในระยะเวลาที่ศาลเห็นสมควร เพื่อเป็ นประกันการชำระ
เงินค่าสินไหมทดแทนแก่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาสำหรับความเสียหายที่
อาจได้รับจากการยื่น คำร้องคัดค้านนัน
้ ถ้าผู้ร้องคัดค้านไม่ปฏิบัติตามคำ
สั่งศาลให้ศาลมีคำสัง่ จำหน่ายคำร้องคัดค้าน ส่วนเงินหรือประกันที่วางไว้
ต่อ ศาลดัง กล่า ว เมื่อ ศาลเห็น ว่า ไม่ม ีค วามจำเป็ นต่อ ไป จะสัง่ คืน หรือ
ยกเลิกประกันนัน
้ ก็ได้
ถ้าศาลได้มีคำสัง่ ให้บุคคลภายนอกปฏิบัติตามคำสั่งอายัด และ
บุคคลนัน
้ มิได้ปฏิบัติตามคำสัง่ ศาลเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาอาจร้องขอให้
ศาลบังคับคดีแก่บค
ุ คลภายนอกเสมือนหนึง่ ว่าบุคคลนัน
้ เป็ นลูกหนีต
้ ามคำ
พิพากษา
ในกรณีที่คำ ร้องคัดค้านตามวรรคหนึ่ง หรือ วรรคสองไม่มีม ูล
และยื่น เข้า มาเพื่อ ประวิง การบัง คับ คดีเ จ้า หนีต
้ ามคำพิพ ากษาอาจยื่น
คำร้องต่อศาลภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ศาลได้มีคำสั่งยกคำร้องคัดค้าน
เพื่อขอให้ศาลสัง่ ให้ผู้ร้องคัดค้านชดใช้ค่าสินไหมทดแทนสำหรับความเสีย
หายที่เ กิด ขึน
้ แก่ต นได้ ในกรณีเ ช่น ว่า นี ้ ให้ศ าลมีอำ นาจสัง่ ให้แ ยกการ
พิจารณาเป็ นสำนวนต่างหากจากคดีเดิม  และเมื่อศาลไต่สวนแล้วเห็น ว่า
คำร้อ งนัน
้ ฟั งได้ ให้ศ าลมีคำ สั่ง ให้ผ ู้ร้อ งคัด ค้า นชดใช้ค ่า สิน ไหมทดแทน
ตามจำนวนที่ศาลเห็นสมควรถ้าบุคคลดังกล่าวไม่ปฏิบัติตามคำสั่งศาล เจ้า
หนีต
้ ามคำพิพากษาอาจร้องขอให้ศาลบังคับคดีแก่บุคคลนัน
้ เสมือนหนึง่ ว่า
เป็ นลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
 
ส่วนที่ ๗
การขอเฉลี่ยและการเข้าดำเนินการบังคับคดีต่อไป
                  
 
มาตรา ๓๒๖ [๓๒๗]  เมื่อมีการยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียก
ร้องอย่างใดของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาเพื่อเอาชำระหนีแ
้ ก่เจ้าหนีต
้ ามคำ
พิพากษารายหนึ่งแล้ว ห้ามไม่ให้เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาอื่นดำเนินการให้
มีการยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องนัน
้ ซ้ำอีก แต่ให้มีสิทธิย่ น
ื คำร้อง
ต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดี ขอให้มีคำสั่งให้ตนเข้าเฉลี่ยในทรัพย์สินหรือ
เงินที่ได้จากการขายหรือ จำหน่ายทรัพ ย์ส ิน จากการยึด หรือ อายัด นัน
้ ได้
ตามส่วนแห่งจำนวนหนีต
้ ามคำพิพากษา
ห้ามมิให้ศาลอนุญาตตามคำร้องเช่นว่านี ้ เว้นแต่ศาลเห็นว่าผู้
ยื่นคำร้อ งไม่ส ามารถเอาชำระได้จากทรัพ ย์ส ิน อื่น ๆ ของลูกหนีต
้ ามคำ
พิพากษา
ถ้าเจ้าพนักงานผู้มีอำ นาจตามกฎหมายว่าด้วยภาษีอากรหรือ
กฎหมายอื่นที่จะสั่งยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องของลูกหนีต
้ ามคำ
พิพากษา เพื่อบังคับ ชำระหนีท
้ ี่ค้างชำระตามกฎหมายนัน
้ ๆ ได้เองได้ยึด
ทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องตามวรรคหนึ่งไว้ก่อนแล้ว ให้มีสิทธิขอ
เข้า เฉลี่ย ได้โ ดยไม่อ ยู่ภ ายในบัง คับ ของบทบัญ ญัต ิว รรคสอง แต่ถ ้า เจ้า
พนัก งานดัง กล่าวมิไ ด้ย ึดหรือ อายัด ไว้ก ่อ น ให้ม ีส ิท ธิข อเข้า เฉลี่ย ได้เ ช่น
เดียวกับเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาอื่น
ในกรณีที่ยึดทรัพย์สินเพื่อขายทอดตลาดหรือ จำหน่ายโดยวิธี
อื่น คำร้องเช่นว่านีใ้ ห้ย่ น
ื ก่อนสิน
้ ระยะเวลาสิบห้าวันนับแต่วันที่มีการขาย
ทอดตลาดหรือจำหน่ายทรัพย์สินที่ขายทอดตลาดหรือ จำหน่ายได้ในครัง้
นัน
้ ๆ
ในกรณีที่อายัดสิทธิเรียกร้อง ให้ย่ น
ื คำร้องเสียก่อนสิน
้ ระยะ
เวลาสิบ ห้า วัน นับ แต่ว ัน ชำ ระเงิน หรือ วัน ที่ม ีก ารขายทอดตลาดหรือ
จำหน่ายโดยวิธีอ่ น
ื ซึ่งสิทธิเรียกร้องตามที่อายัดนัน
้ ได้
ในกรณีที่ยึดเงิน ให้ย่ น
ื คำร้องเช่นว่านีก
้ ่อนสิน
้ ระยะเวลาสิบห้า
วันนับแต่วันยึด
เมื่อได้ส่งสำเนาคำร้องดัง กล่า วให้เ จ้า พนักงานบังคับคดีแล้ว
ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีงดการจ่ายเงินหรือทรัพย์สินตามคำบังคับตัง้ แต่
การขาย การจำหน่าย หรือการชำระเงินตามที่ได้อายัดในครัง้ ที่ขอเฉลี่ย
นัน
้ แล้วแต่กรณี ไว้จนกว่าศาลจะได้มีคำวินิจฉัยชีข
้ าด เมื่อศาลได้มีคำสัง่
ประการใดและส่ง ให้เ จ้าพนัก งานบัง คับ คดีทราบแล้ว ก็ให้เ จ้า พนัก งาน
บังคับคดีปฏิบัติไปตามคำสั่งเช่นว่านัน

 
มาตรา ๓๒๗ [๓๒๘ ]  ในกรณีท ี่มีก ารถอนการบัง คับ คดี ให้เ จ้า
พนักงานบังคับคดีส ่ง คำบอกกล่าวถอนการบังคับคดีให้ผู้ย่ น
ื คำร้องขอซึ่ง
ได้ร ับ อนุญ าตจากศาลตามมาตรา ๓๒๔ หรือ เจ้า หนีผ
้ ู้ข อเฉลี่ย ซึ่ง ได้ร ับ
อนุญาตตามมาตรา ๓๒๖ ทราบโดยไม่ชักช้า โดยบุคคลดังกล่าวอาจขอ
เข้าดำเนินการบังคับคดีต่อไปจากเจ้าหนีผ
้ ู้ขอยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิ
เรียกร้อง โดยยื่นคำร้องต่อเจ้าพนักงานบังคับคดีภายในสิบห้าวันนับแต่วัน
ส่งคำบอกกล่าวถึงบุคคลเช่นว่านัน
้ ถ้ามีผู้ย่ น
ื คำร้องภายในกำหนดเวลาดัง
กล่า ว ให้ผ ู้น น
ั ้ เป็ นผู้ข อดำ เนิน การบัง คับ คดีต ่อ ไป ถ้า ไม่ม ีผ ู้ย่ น
ื คำ ร้อ ง
ภายในกำ หนดเวลาดัง กล่า ว ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีถ อนการยึด
ทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องนัน

ในกรณีท ี่ม ีผ ู้ย่ ื น คำ ร้อ งหลายคน ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดี
ออกหมายเรียกให้ผ ู้ย่ ื นคำร้องทุกคนมาทำความตกลงกัน เลือกคนใดคน
หนึ่งเป็ นผู้ดำเนินการบังคับคดีต่อไป แต่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้าไม่น้อย
กว่าสามวัน ถ้าไม่สามารถตกลงกันได้ให้ผ ู้ย่ น
ื คำร้องซึ่งมาตามหมายเรียก
และมีจำนวนหนีม
้ ากที่สุดเป็ นผู้ดำเนินการบังคับคดีต่อไป ถ้าผู้ย่ น
ื คำร้อง
ดังกล่าวมีจำนวนหนีม
้ ากที่สุดเท่ากันหลายคน ให้ผ ู้ย่ น
ื คำร้องซึ่งมีหนีร้ าย
เก่าที่สุดเป็ นผู้เข้าดำเนินการบังคับคดีต่อไป ในกรณีที่ผู้ย่ น
ื คำร้องรายใดไม่
มาตามหมายเรีย กให้ถ ือ ว่า ผู้ย่ น
ื คำ ร้อ งรายนัน
้ สละสิท ธิท ี่จ ะเป็ นผู้เ ข้า
ดำเนินการบังคับคดีต่อไป
ในกรณีที่มีการเข้าดำเนินการบังคับคดีต่อไป ให้ถือว่าผู้ขอเข้า
ดำเนินการบังคับคดีต่อไปเป็ นเจ้าหนีผ
้ ู้ขอยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียก
ร้อง และให้ศาลที่ออกหมายบังคับคดีในคดีที่มีการถอนการบังคับคดีเป็ น
ศาลที่มีอำ นาจในการบังคับคดี ถ้าเจ้าหนีผ
้ ู้เข้าดำเนินการบังคับคดีต่อไป
จะขอให้บังคับคดีแ ก่ทรัพ ย์ส ินที่ถ ูก บังคับคดีไว้เดิมแต่เพียงบางส่วน ซึ่ง
เพียงพอแก่การชำระหนีข
้ องบรรดาเจ้าหนีต
้ ามวรรคหนึ่งพร้อมทัง้ ค่าฤชา
ธรรมเนียมและค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี ให้ย่ น
ื คำร้องขออนุญาต
ต่อเจ้าพนักงานบังคับคดีภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่เข้า ดำเนินการบังคับคดี
ต่อ ไป ในกรณีเ ช่น ว่านี ้ ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีม ีคำ สั่ง อนุญ าตหรือ ไม่
อนุญาตตามคำร้องหรือมีคำสั่งอย่างหนึง่ อย่างใดตามที่เจ้าพนักงานบังคับ
คดีเ ห็นสมควรโดยคำนึง ถึง ส่วนได้เ สีย ของบรรดาเจ้า หนีต
้ ามวรรคหนึ่ง
เจ้า หนีผ
้ ู้เ ข้า ดำ เนิน การบัง คับ คดีต ่อ ไปอาจร้อ งคัด ค้า นคำ สัง่ ของเจ้า
พนักงานบังคับคดีต่อศาลได้ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ทราบคำสั่งของ
เจ้าพนักงานบังคับคดี
สำหรับ เจ้า หนีผ
้ ู้ข อยึด ทรัพ ย์ส ิน หรือ อายัด สิท ธิเ รีย กร้อ งที่ม ี
การถอนการบังคับคดีนน
ั้
(๑) ถ้าเป็ นการถอนการบังคับคดีเพราะตนได้สละสิทธิในการ
บังคับคดีตามมาตรา ๒๙๒ (๖) ไม่มีสิทธิได้รับส่วนเฉลี่ยในทรัพย์สินหรือ
เงินที่ได้จากการขายหรือจำหน่ายทรัพย์สินในการบังคับคดี
(๒) ถ้าเป็ นการถอนการบังคับคดีตามมาตรา ๒๙๒ (๔) แต่ยัง
มีหนีต
้ ามคำพิพากษาอยู่อาจยื่น คำร้อ งต่อ ศาลขอให้มีคำ สั่ง ให้ต นได้รับ
ชำระจากเงิน ที่เ หลือ ภายหลัง ที่ไ ด้ ชำ ระให้แ ก่เ จ้า หนีผ
้ ู้ข อเฉลี่ย แล้วใน
ฐานะเดียวกันกับผู้ย่ น
ื คำร้องตามมาตรา ๓๒๙ (๑)
(๓) ถ้าเป็ นการถอนการบังคับคดีเพราะหมายบังคับคดีได้ถ ูก
เพิก ถอนหรือ ในกรณีอ่ น
ื นอกจาก (๑) และ (๒) แต่ย ัง มีห นีต
้ ามคำ
พิพ ากษาอยู่ อาจยื่น คำร้อ งต่อ ศาลขอให้ม ีคำ สั่ง ให้ต นมีส ิท ธิไ ด้ร ับ ส่ว น
เฉลี่ยในทรัพย์สินหรือเงินที่ได้จากการขายหรือ จำหน่ายทรัพย์สินในการ
บัง คับ คดีค รัง้ นี ้ ก่อนการจ่ายเงิน ตามมาตรา ๓๓๙ หรือ ก่อ นส่ง คำบอก
กล่าวตามมาตรา ๓๔๐ (๓) แล้วแต่กรณี
 
มาตรา ๓๒๘ [๓๒๙]  เจ้า หนี ผ
้ ู้เ ข้า ดำ เนิน การบัง คับ คดีต ่อ ไป
ตามมาตรา ๓๒๗ อาจยื่ น คำร้องต่อศาลที่มีอำนาจในการบังคับคดีให้โอน
การบังคับคดีไปยังศาลที่พิพากษาคดีซึ่งตนเป็ นเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาได้
และเมื่อได้พิจารณาคำร้องดังกล่าวแล้ว ถ้าศาลที่มีอำนาจในการบังคับคดี
เห็นว่าการบังคับคดีในศาลที่จะรับโอนการบังคับคดีจะเป็ นการสะดวกแก่
ทุก ฝ่ ายและได้รับ ความยิน ยอมของศาลที่จะรับ โอนแล้ว ให้ศ าลมี คำ สั่ง
อนุญาตให้โอนการบังคับคดีไปได้ คำสั่งของศาลตามมาตรานีใ้ ห้เป็ นที่สุด
ในกรณีที่มีการโอนการบังคับคดีตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าศาลที่
รับโอนเป็ นศาลตามมาตรา ๒๗๑ วรรคหนึ่ง
 
มาตรา ๓๒๙ [๓๓๐]  ในกรณีท ี่เ จ้า หนีต
้ ามคำพิพ ากษามิไ ด้ย่ น

คำร้องขอเฉลี่ยภายในกำหนดเวลาตามมาตรา ๓๒๖ หรือศาลได้ยกคำร้อง
ขอเฉลี่ย เพราะเหตุท ี่ย่ น
ื ไม่ท ัน กำ หนดเวลาดัง กล่า ว เจ้า หนีต
้ ามคำ
พิพากษานัน
้ อาจยื่นคำร้องต่อศาลเพื่อขอให้ศาลมีคำสั่งอย่างหนึ่งอย่างใด
ดังต่อไปนี ้
(๑) ให้ตนมีสิทธิได้รับชำระจากเงินที่เหลือภายหลังที่ได้ชำ ระ
ให้แ ก่เ จ้าหนีผ
้ ู้ข อยึด ทรัพย์สน
ิ หรืออายัดสิทธิเรียกร้องนัน
้ และเจ้าหนีผ
้ ข
ู้ อ
เฉลีย
่ ตามมาตรา ๓๒๖ หรือมาตรา ๓๒๗ แล้วแต่กรณี
(๒) ในกรณีท ี่ม ีก ารถอนการบัง คับ คดี และไม่ม ีเ จ้า หนีเ้ ข้า
ดำเนิน การบัง คับ คดีต ่อ ไปตามมาตรา ๓๒๗ ให้ถ ือ ว่า ตนเป็ นเจ้า หนีผ
้ ู้
ดำเนินการบังคับคดีต่อไปจากเจ้าหนีผ
้ ู้ขอยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียก
ร้องที่มีการถอนการบังคับคดีตงั ้ แต่วันที่มีการถอนการบังคับคดี
คำร้องตาม (๑) ให้ย่ น
ื ก่อนการจ่ายเงินตามมาตรา ๓๓๙ หรือ
ก่อนส่งคำบอกกล่าวตามมาตรา ๓๔๐ (๓) แล้วแต่กรณี
คำร้องตาม (๒) ให้ย่ น
ื ก่อนมีการถอนการบังคับคดี
ในกรณีที่มีผู้ย่ น
ื คำร้องตาม (๒) ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๓๒๗
วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ถ้ามีผ ู้ย่ น
ื คำร้อง
ตาม (๒) หลายคน ให้ถือว่าผู้ย่ น
ื คำร้องรายอื่นนอกจากผู้ย่ น
ื คำร้องซึ่งได้
รับเลือกหรือกฎหมายกำหนดให้เป็ นผู้ดำเนินการบังคับคดีต่อไป และเจ้า
หนีซ
้ ึ่ง มิไ ด้ย่ น
ื คำร้องขอเข้า ดำเนิน การบัง คับ คดีต ่อ ไปตามมาตรา ๓๒๗
เป็ นเจ้าหนีท
้ ี่มีสิทธิได้รับ ชำระหนีจ
้ ากทรัพย์สินหรือเงินที่ได้จากการขาย
หรือจำหน่ายทรัพย์สินในคดีนน
ั ้ ด้วย
 
มาตรา ๓๓๐ [๓๓๑]  คำสัง่ ของศาลตามมาตรา ๓๒๗ วรรคสาม
และวรรคสี่ และมาตรา ๓๒๙ ให้เป็ นที่สุด
 
ส่วนที่ ๘
การขายหรือจำหน่าย
                  
 
มาตรา ๓๓๑ [๓ ๓ ๒ ]  ภายใต้บ ัง คับ มาตรา ๓๓๒ และมาตรา
๓๓๖ เมื่อได้ยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องทัง้ หมดหรือบางส่วนของ
ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา หรือได้มีการส่งมอบทรัพย์สินตามสิทธิเรียกร้องที่
ถูกอายัดแก่เจ้าพนักงานบังคับคดีแล้ว ถ้าไม่มีเหตุสมควรงดการบังคับคดี
ไว้ก่อน ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีดำ เนินการขายทอดตลาดทรัพย์สินหรือ
สิทธิเรียกร้องนัน
้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และกฎกระทรวง
ว่า ด้ว ยการนัน
้ หรือ ตามที่ศ าลมีคำ สั่ง กำหนด หรือ ขายโดยวิธ ีก ารทาง
อิเล็กทรอนิกส์ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ก่อนการขายทอดตลาดทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้องตามวรรค
หนึ่ง เจ้าพนักงานบังคับ คดีต้อ งแจ้ง กำหนดวัน เวลา และสถานที่ซ ึ่ง จะ
ทำการขายทอดตลาดให้บรรดาผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดีซึ่งปรากฏ
ตามทะเบียนหรือประการอื่นได้ทราบด้วย โดยจะทำการขายทอดตลาดใน
วันหยุดงานหรือในเวลาใด ๆ นอกเวลาทำการปกติก็ได้  ทัง้ นี ้ กำหนดวัน
และเวลาขายดังกล่าวจะต้องไม่น้อยกว่าหกสิบวันนับแต่วันยึด อายัด หรือ
ส่งมอบทรัพย์สินนัน

เพื่อให้การขายทอดตลาดเป็ นไปด้วยความเที่ยงธรรม บุคคลผู้
มีส ่ว นได้เ สีย ในการบัง คับ คดีม ีส ิท ธิเ ต็ม ที่ใ นการเข้า สู้ร าคาเองหรือ หา
บุคคลอื่นเข้าสู้ราคาเพื่อให้ได้ราคาตามที่ตนต้องการ และเมื่อเจ้าพนักงาน
บังคับคดีเคาะไม้ขายให้แก่ผเู้ สนอราคาสูงสุดแล้ว ห้ามมิให้บุคคลผู้มส
ี ่วน
ได้เสียในการบัง คับคดีทงั ้ หลายหยิบยกเรื่อ งราคาที่ไ ด้จากการขายทอด
ตลาดมีจำนวนต่ำเกินสมควรมาเป็ นเหตุขอให้มีการเพิกถอนการขายทอด
ตลาดนัน
้ อีก
 
มาตรา ๓๓๒ [๓๓๓]  ในกรณีที่ทรัพย์สิน หรือสิทธิเรียกร้องที่จะ
ขายหรือ จำหน่า ยมีส ภาพเป็ นของสดของเสีย ได้ หรือ ถ้า หน่ว งช้า ไว้จ ะ
เป็ นการเสี่ยงความเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายจะเกินส่วนแห่งค่าของทรัพย์สิน
หรือสิทธิเรียกร้องนัน
้ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีขายหรือ จำหน่ายได้ทันที
โดยวิธีขายทอดตลาดหรือวิธีอ่ น
ื ที่สมควร
ในกรณีที่การขายหรือจำหน่ายทรัพย์สินที่ถูกยึดหรือที่ได้มีการ
ส่งมอบตามคำสั่งอายัดกระทำได้โดยยาก หรือการขายหรือ จำหน่ายสิทธิ
เรียกร้อ งนัน
้ กระทำได้โ ดยยากเนื่อ งจากการชำระหนีน
้ น
ั ้ ต้อ งอาศัยการ
ชำระหนีต
้ อบแทนหรือด้วยเหตุอ่ น
ื ใด และการบังคับคดีอาจล่าช้าเป็ นการ
เสียหายแก่ค ู่ความทุก ฝ่ ายหรือ ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง หรือ แก่บุคคลผู้มีส่วนได้
เสีย เมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีเห็นสมควรหรือคู่ความหรือบุคคลเช่นว่านัน

ร้องขอ เจ้าพนักงานบังคับคดีจะมีคำสั่งกำหนดให้จำหน่ายโดยวิธีการอื่น
ใดที่สมควรก็ได้  ทัง้ นี ้ บุคคลผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดีอาจคัดค้านคำ
สั่งหรือ การดำเนิน การของเจ้า พนัก งานบังคับ คดี โดยยื่น คำร้อ งต่อ ศาล
ภายในสองวันนับแต่วันที่ได้ทราบคำสั่งหรือการดำเนินการนัน
้ คำสั่งของ
ศาลให้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๓๓๓ [๓๓๔]  ในการขายทอดตลาดทรัพย์สินของลูกหนี ้
ตามคำพิพากษานั น
้ ให้เจ้า พนักงานบังคับคดีปฏิบัติดังต่อไปนี ้
(๑) ในการขายทรัพย์สินที่มีหลายสิ่งด้วยกัน ให้แยกขายทีละ
สิ่งต่อเนื่องกันไป แต่
(ก) เจ้าพนัก งานบังคับ คดีมีอำ นาจจัด สัง หาริมทรัพ ย์ซ ึ่ง มี
ราคาเล็กน้อยรวมขายเป็ นกอง ๆ ได้เสมอ
(ข) เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำ นาจจัดสัง หาริมทรัพ ย์ห รือ
อสังหาริมทรัพย์สองสิ่งหรือกว่านัน
้ ขึน
้ ไปรวมขายไปด้วยกันได้ ในเมื่อเป็ น
ที่คาดหมายได้ว่าเงินรายได้ในการขายจะเพิ่มขึน
้ เพราะเหตุนน
ั้
(๒) ในการขายอสัง หาริม ทรัพ ย์ซ ึ่ง อาจแบ่ง แยกออกได้เ ป็ น
ส่วน ๆ เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำนาจขายทรัพย์สินนัน
้ เป็ นส่วน ๆ ได้ ใน
เมื่อเป็ นที่คาดหมายได้ว่าเงินรายได้ในการขายทรัพย์สินบางส่วนจะเพียง
พอแก่การบังคับคดี หรือว่าเงินรายได้ทงั ้ หมดจะเพิ่มขึน
้ เพราะเหตุนน
ั้
(๓) ในการขายทรัพย์สินหลายสิ่งด้วยกัน เจ้าพนักงานบังคับ
คดีมีอำนาจกำหนดลำดับที่จะขายทรัพย์สินนัน

บุคคลผู้มีส ่วนได้เสียในการบัง คับ คดีแ ก่ทรัพ ย์ส ิน ซึ่ง จะต้อ ง
ขาย อาจร้องขอให้เ จ้า พนักงานบังคับคดีรวมหรือแยกทรัพย์สิน หรือขอ
ให้ขายทรัพย์สินนัน
้ ตามลำดับที่กำ หนดไว้ หรือจะร้องคัดค้านคำสัง่ ของ
เจ้าพนักงานบังคับคดีที่สั่งตามวรรคหนึ่งก็ได้ การยื่น คำร้องตามมาตรานี ้
ต้องกระทำก่อนวันทำการขายทอดตลาดแต่ต้องไม่ช้ากว่าสามวันนับแต่
ทราบวิธีการขาย ในกรณีที่เจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ยอมปฏิบัติตามคำร้อง
ขอหรือคำคัดค้านเช่นว่านัน
้ ผู้ร้องจะยื่นคำร้องต่อศาลภายในสองวันนับ
แต่วันปฏิเสธ เพื่อขอให้มีคำสั่งชีข
้ าดในเรื่องนัน
้ ก็ได้ คำสัง่ ของศาลให้เป็ น
ที่สุด และให้เจ้าพนักงานบังคับคดีเลื่อนการขายไปจนกว่าศาลจะได้มี คำ
สั่ง หรือจนกว่าจะได้พ้นระยะเวลาซึ่งให้นำเรื่องขึน
้ สู่ศาลได้
 
ม า ต ร า ๓ ๓ ๔ [๓ ๓ ๕ ]  เ ม ่ อ
ื เ จ ้า พ น ก
ั ง า น บ งั ค ับ ค ด ีโ อ น
อสังหาริมทรัพย์ที่ขายให้แก่ผ ู้ซ้อ
ื หากทรัพย์สินที่โอนนัน
้ มีล ูกหนีต
้ ามคำ
พิพากษาหรือบริวารอยู่อาศัย และลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือบริวารไม่
ยอมออกไปจากอสังหาริมทรัพย์นน
ั ้ ผู้ซ้อ
ื ชอบที่จะยื่นคำขอฝ่ ายเดียวต่อ
ศาลที่อ สัง หาริม ทรัพ ย์น น
ั ้ ตัง้ อยู่ใ นเขตศาลให้อ อกหมายบัง คับ คดีเ พื่อ
บังคับให้ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือบริวารออกไปจากอสังหาริมทรัพย์นน
ั้
โดยให้นำ บทบัญญัติมาตรา ๒๗๑ มาตรา ๒๗๘ วรรคหนึ่ง มาตรา ๓๕๑
มาตรา ๓๕๒ มาตรา ๓๕๓ วรรคหนึ่ง (๑) และวรรคสอง มาตรา ๓๕๔
มาตรา ๓๖๑ มาตรา ๓๖๒ มาตรา ๓๖๓ และมาตรา ๓๖๔ มาใช้บังคับ
โดยอนุโ ลม  ทัง้ นี ้ ให้ถ ือว่าผู้ซ้อ
ื เป็ นเจ้า หนีต
้ ามคำพิพ ากษา และลูก หนี ้
ตามคำพิพากษาหรือบริวารที่อยู่อาศัยในอสังหาริมทรัพ ย์นน
ั ้ เป็ นลูก หนี ้
ตามคำพิพากษาตามบทบัญญัติดังกล่าว
 
มาตรา ๓๓๕ [๓ ๓ ๖ ]  เมื่อ ทำ การขายทอดตลาดทรัพ ย์ส น
ิ ทีม
่ ี
กฎหมายกำหนดไว้ให้จดทะเบียนให้เจ้าพนักงานบังคับคดีแจ้งนายทะเบียน
พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือบุคคลอื่นผู้มีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายให้ดำเนิน
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนทรัพย์สินนัน
้ ให้แก่ผู้ซ้อ

ถ้าทรัพ ย์ส ินที่จะขายทอดตลาดเป็ นห้อ งชุด ตามกฎหมายว่า
ด้วยอาคารชุด ก่อนทำการขายทอดตลาด ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีบอก
กล่าวให้นิติบุคคลอาคารชุดแจ้งรายการหนีค
้ ่าใช้จ่ายที่ต้องชำระเพื่อการ
ออกหนัง สือรับ รองการปลอดหนีต
้ ามกฎหมายว่า ด้ว ยอาคารชุด ต่อ เจ้า
พนักงานบัง คับคดีภายในสามสิบ วัน นับ แต่วัน ที่ไ ด้รับ คำบอกกล่า ว เมื่อ
ขายทอดตลาดแล้วให้เจ้าพนักงานบังคับ คดีกันเงินที่ได้จากการขายทอด
ตลาดไว้เ พื่ อ ชำ ระหนี ท
้ ี่ค ้า งชำ ระดัง กล่า วจนถึง วัน ขายทอดตลาดแก่
นิต ิบ ุค คลอาคารชุด ก่อ นเจ้า หนี จำ
้ นอง และให้พ นัก งานเจ้า หน้า ที่จ ด
ทะเบียนโอนกรรมสิทธิ ใ์ ห้แก่ผ ู้ซ้ือโดยไม่ต้องใช้หนังสือรับรองการปลอด
หนี ้
หากนิติบุคคลอาคารชุดไม่แจ้งรายการหนีท
้ ี่ค้างชำระดังกล่าว
ต่อเจ้าพนักงานบังคับคดีภายในกำหนดเวลาตามวรรคสองหรือแจ้งว่าไม่มี
้ ี่ค้างชำระ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิใ์ ห้แก่ผู้ซ้อ
หนีท ื
โดยไม่ต้องใช้หนังสือรับรองการปลอดหนี ้
ถ้าทรัพย์สินที่จะขายทอดตลาดเป็ นที่ดินจัดสรรตามกฎหมาย
ว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน ก่อนทำการขายทอดตลาด ให้เจ้าพนักงานบังคับ
คดีบ อกกล่าวให้น ิติบ ุค คลหมู่บ ้า นจัด สรรแจ้ง รายการหนีค
้ ่า บำรุง รัก ษา
และการจัด การสาธารณูป โภคพร้อ มค่า ปรับ ตามกฎหมายว่า ด้ว ยการ
จัด สรรที่ด ิน ต่อ เจ้า พนัก งานบัง คับ คดีภ ายในสามสิบ วัน นับ แต่ว ัน ที่ไ ด้
รับคำบอกกล่าว เมื่ อขายทอดตลาดแล้วให้เ จ้า พนักงานบังคับคดีกันเงิน
ที่ได้จากการขายทอดตลาดไว้เพื่อ ชำระหนีท
้ ี่ค้า งชำระดังกล่าวจนถึง วัน
ขายทอดตลาดแก่น ิต ิบ ุค คลหมู่บ ้า นจัด สรรก่อ นเจ้า หนีจำ
้ นอง และให้
พนักงานเจ้าหน้าที่จดทะเบียนโอนสิทธิในที่ดินให้แก่ผู้ซ้อ
ื   ทัง้ นี ้ หากมีการ
ระงับการจดทะเบียนสิทธิแ ละนิต ิก รรมไว้ ให้ก ารระงับ การจดทะเบียน
สิทธิและนิติกรรมนัน
้ เป็ นอันยกเลิกไป
หากนิติบค
ุ คลหมู่บ้านจัดสรรไม่แจ้งรายการหนีท
้ ี่ค้างชำระดัง
กล่าวต่อเจ้าพนักงานบัง คับ คดีภ ายในกำหนดเวลาตามวรรคสี่ห รือ แจ้ง
ว่า ไม่ม ีห นี ท
้ ี่ค ้า งชำ ระ หรือ ในกรณีท ี่ย ัง มิไ ด้จ ัด ตั ง้ นิต ิ บ ุค คลหมู่บ ้า น
จัดสรร ให้พนักงานเจ้าหน้าที่จดทะเบียนโอนสิทธิในที่ดินให้แก่ผ ู้ซ้อ
ื   ทัง้ นี ้
หากมีก ารระงับ การจดทะเบียนสิทธิและนิตก
ิ รรมไว้ ให้การระงับการจด
ทะเบียนสิทธิและนิตก
ิ รรมนัน
้ เป็ นอันยกเลิกไป
การจ่ายเงิน ที่ก ันไว้ต ามวรรคสองและวรรคสี่ ให้เ ป็ นไปตาม
บทบัญญัติในส่วนที่ ๑๐ การทำบัญชีส่วนเฉลี่ย และส่วนที่ ๑๑ เงินค้าง
จ่าย ของหมวดนี ้
 
ส่วนที่ ๙
การตัง้ ผู้จัดการอสังหาริมทรัพย์หรือการประกอบกิจการแทนการขายหรือ
จำหน่าย
                  
 
มาตรา ๓๓๖ [๓๓๗]  ถ้า รายได้จ ากอสัง หาริม ทรัพ ย์ห รือ การ
ประกอบอุต สาหกรรม พาณิช ยกรรม เกษตรกรรม หรือ การประกอบ
กิจการอื่นใดของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาอาจเพียงพอที่จะชำระหนีต
้ ามคำ
พิพากษาพร้อมด้วยค่าฤชาธรรมเนียม และค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับ
คดี ภายในเวลาอัน สมควรเมื่อ ศาลเห็น สมควรหรือ เมื่อ ลูก หนีต
้ ามคำ
พิพ ากษาร้องขอ และไม่มีข ้อ เท็จ จริง ว่า จะเป็ นการประวิง การชำระหนี ้
ศาลอาจมีคำ สั่งตัง้ ผู้จัดการอสังหาริมทรัพย์หรือผู้จัดการกิจการเหล่านัน

โดยมอบเงิน รายได้ท งั ้ หมดหรือ แต่บ างส่ว นแก่เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดี
ภายในเวลาและเงื่อ นไขทีศ
่ าลเห็น สมควรกำ หนดแทนการขายหรือ
จำหน่ายทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาได้
 
ส่วนที่ ๑๐
การทำบัญชีส่วนเฉลี่ย
                  
 
มาตรา ๓๓๗ [๓ ๓ ๘ ]  ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีทำ บัญ ชีร าย
ละเอีย ดแสดงจำนวนเงิน ทัง้ หมดที่ไ ด้ม าจากการยึด อายัด ขาย หรือ
จำหน่ายทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือที่ได้วางไว้แก่ตน  นอกจ
ากนี ้ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทำบัญชีพเิ ศษสำหรับจำนวนเงินที่ได้มาจาก
การขายหรือ จำหน่ายทรัพ ย์ส ิน แต่ล ะรายซึ่ง อยู่ในบัง คับ แห่ง ทรัพ ยสิทธิ
บุริมสิทธิ สิทธิยึดหน่วง หรือสิทธิอ่ น
ื ซึ่งได้มีการแจ้งให้ทราบหรือปรากฏ
แก่เจ้าพนักงานบังคับคดีแล้วตามมาตรา ๓๒๔
ถ้า ประมวลกฎหมายนีห
้ รือ กฎหมายอื่น มิไ ด้บ ัญ ญัต ิไ ว้เ ป็ น
อย่างอื่น ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีจัดสรรหรือแบ่งเฉลี่ยเงินตามวรรคหนึ่ง
ดังบัญญัติไว้ในมาตราต่อไปนี ้
 
มาตรา ๓๓๘[๓๓๙]  ในกรณีที่จะต้องบังคับคดีตามคำพิพากษา
หรือคำสั่งซึ่งได้พพ
ิ ากษาหรือ สั่ง โดยจำเลยขาดนัด นัน
้ ห้า มมิใ ห้จ ัด สรร
หรือ แบ่ง เฉลี่ย เงิน ที่ไ ด้ม าจนกว่า ระยะเวลาหกเดือ นนับ แต่ ว ัน ยึด
ทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาจะได้ล่วงพ้น
ไปแล้ว เว้นแต่เ จ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาจะแสดงให้เ ป็ นที่พ อใจแก่ศาลได้
ว่า ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาได้ทราบถึงการที่ถ ูกฟ้ องนัน
้ แล้ว
 
มาตรา ๓๓๙[๓๔๐]  ในกรณีที่มีเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาคนเดียว
ร้องขอให้บังคับคดีแก่ทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาและไม่มีกรณี
ตามมาตรา ๓๒๔ เมื่อได้ขายทอดตลาดหรือ จำหน่ายโดยวิธอ
ี ่น
ื ซึง่ ทรัพย์สน

นัน
้ เสร็จและได้หก
ั ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดีไว้แล้ว ให้เจ้าพนักงาน
บังคับคดีจ่ายเงินตามจำนวนหนีแ
้ ละค่าฤชาธรรมเนียมตามคำพิพากษาให้
แก่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาเท่าที่เงินรายได้จำ นวนสุทธิจะพอแก่การที่จะ
จ่ายให้ได้
 
มาตรา ๓๔๐[๓๔๑]  ในกรณีที่มีเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาหลายคน
ร้อ งขอให้บ ัง คับคดีแ ก่ทรัพ ย์ส ิน ของลูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษาหรือ ในกรณี
ตามมาตรา ๓๒๔ เมื่อ เจ้า พนัก งานบัง คับ คดีไ ด้ข ายทอดตลาดหรือ
จำหน่ายโดยวิธีอ่ น
ื ซึ่งทรัพย์สินนัน
้ เสร็จแล้ว ให้ดำเนินการดังนี ้
(๑) หักค่าฤชาธรรมเนียมในการบัง คับ คดีไว้ แต่ถ ้าทรัพ ย์ส ิน
นัน
้ เป็ นของเจ้าของรวม ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีกันเงินส่วนของเจ้าของ
รวมอื่นนอกจากส่วนของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาออกจากเงินที่ได้จากการ
ขายหรือจำหน่ายทรัพ ย์ส ิน นัน
้ เสียก่อ น แล้วจึง หักค่า ฤชาธรรมเนียมใน
การบังคับคดีจากเงินเฉพาะส่วนของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
(๒) จัดทำบัญชีส่วนเฉลี่ยแสดงจำนวนเงินที่จ่ายให้แก่เจ้าหนี ้
ตามคำ พิพ ากษาหรือ ผู้ท รงสิท ธิเ หนือ ทรัพ ย์ส ิน นัน
้ แต่ล ะคนจากเงิน
จำนวนสุท ธิท ี่พ อแก่ก ารที่จ ะจ่า ยให้ต ามสิท ธิข องบุค คลเช่น ว่า นัน
้ ตาม
บทบัญญัติแห่ง ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิช ย์ ประมวลกฎหมายนี ้
หรือกฎหมายอื่นโดยให้แสดงจำนวนเงินที่กันส่วนให้แก่เจ้าของรวมไว้ใน
บัญชีดังกล่าวด้วย
(๓) ส่งคำบอกกล่าวไปยังลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา เจ้าของรวม
และบุคคลตาม (๒) ขอให้ตรวจสอบบัญชีสว่ นเฉลีย
่ นัน
้ และให้ย่ น
ื คำแถลง
คัดค้านได้ภายในสิบห้าวันนับแต่วน
ั ส่งคำบอกกล่าว
ถ้าไม่มีคำ แถลงคัดค้านภายในกำหนดเวลาตาม (๓) ให้ถือว่า
บัญชีส่วนเฉลี่ยดังกล่าวเป็ นที่สุดและให้เจ้าพนักงานบังคับคดีจ่ายเงินให้
แก่บค
ุ คลตามบัญชีส่วนเฉลี่ยนัน

 
มาตรา ๓๔๑[๓๔๒]  ในกรณีที่มีผู้ย่ น
ื คำแถลงคัดค้านตามมาตรา
๓๔๐ ให้เจ้าพนักงานบัง คับ คดีอ อกหมายเรีย กเจ้า หนีต
้ ามคำพิพ ากษา
ทุก คน ผู้ท รงสิท ธิเ หนือ ทรัพ ย์ส ิน นัน
้ เจ้า ของรวม และลูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษา มาชีแ
้ จงในเวลาและ ณ สถานที่ที่ กำหนด โดยต้องแจ้งให้ทราบ
ล่ว งหน้า ไม่น ้อ ยกว่า สามวัน บุค คลดัง กล่า วจะไปตามหมายเรีย กด้ว ย
ตนเองหรือจะมอบให้ผู้รับมอบอำนาจไปกระทำการแทนก็ได้
เมื่อได้ตรวจพิจารณาคำแถลงคัดค้านและได้ฟังคำชีแ
้ จงของผูซ
้ ง่ึ
มาตามหมายเรียกแล้ว ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทำคำสั่งยืนตามหรือแก้ไข
บัญชีส่วนเฉลี่ยนัน
้ แล้วอ่านคำสั่งดังกล่าวให้ผู้ซึ่งมาตามหมายเรียกฟั งและ
ให้ลงลายมือชื่อรับทราบไว้
ในกรณีท ี่ไ ม่อ าจทำ คำ สั่ง ได้ภ ายในวัน ที่กำ หนด ให้เ จ้า
พนักงานบังคับคดีแจ้งให้ผ ู้ซงึ่ มาตามหมายเรียกหรือตามนัดทราบวันนัด
ฟั งคำสั่งที่เลื่อนไปและให้ลงลายมือชื่อรับทราบไว้
ถ้าบุคคลตามวรรคหนึ่งมิได้ไปตามหมายเรียกหรือตามนัดของ
เจ้าพนักงานบังคับคดี ให้ถือว่าได้ทราบวันนัดและคำสั่งของเจ้าพนักงาน
บังคับคดีแล้ว
 
มาตรา ๓๔๒ [๓๔๓]  ในกรณีที่เจ้าพนักงานบังคับคดีมีคำ สั่งยืน
ตามบัญชีส่วนเฉลี่ย ผู้ซึ่งได้ย่ น
ื คำแถลงคัดค้านตามมาตรา ๓๔๐ อาจยื่น
คำร้องคัดค้านคำสั่งดังกล่าวต่อศาลได้ภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้อ่านคำ
สั่ง
ในกรณีท ี่เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีม ีคำ สัง่ แก้ไ ขบัญ ชีส ่ว นเฉลี่ย
บุคคลตามมาตรา ๓๔๑ อาจยื่น คำร้อ งคัด ค้า นคำสั่ง ดัง กล่า วต่อ ศาลได้
ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้อ่านคำสั่ง
ในกรณีที่มีผู้ย่ น
ื คำร้องคัดค้านตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ให้
เจ้าพนักงานบังคับคดีเลื่อนการจ่ายส่วนเฉลีย
่ ไปก่อนจนกว่าศาลจะได้มคำ
ี สัง่
หรือทำการจ่ายส่วนเฉลีย
่ ชัว่ คราวตามมาตรา ๓๔๓
ถ้า ไม่ม ีผ ู้ย่ น
ื คำ ร้อ งคัด ค้า นตามวรรคหนึ่ง หรือ วรรคสองให้
ถือว่าบัญชีส่วนเฉลี่ยนัน
้ เป็ นที่สุด และให้เจ้าพนักงานบังคับคดีจ่ายเงินให้
แก่บค
ุ คลตามบัญชีส่วนเฉลี่ยนัน

คำสัง่ ของศาลตามมาตรานีใ้ ห้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๓๔๓ [๓ ๔๔ ]  เมื่อ เจ้า พนัก งานบัง คับ คดีเ ห็น ว่า ถ้า จะ
เลื่อนการจ่ายส่วนเฉลี่ยไปจนกว่าได้จำหน่ายทรัพย์สินที่ประสงค์จะบังคับ
ทัง้ หมดหรือจนกว่าการเรียกร้องทัง้ หมดที่มาสู่ศาลได้เสร็จเด็ดขาดแล้วจะ
ทำให้บุคคลผู้มีส่วนเฉลี่ยในเงินรายได้แห่งทรัพย์สินที่บังคับนัน
้ ทุกคนหรือ
คนใดคนหนึง่ ได้รับความเสียหายเจ้าพนักงานบังคับคดีมีสิทธิที่จะแบ่งเงิน
รายได้เท่าที่พอแก่การที่จะจ่ายให้ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓๔๐ มาตรา
๓๔๑ และมาตรา ๓๔๒ ได้ ในเมื่อ เจ้า พนัก งานบัง คับ คดีไ ด้ก ัน เงิน ไว้
สำหรับชำระค่าฤชาธรรมเนียมในการบัง คับ คดีทงั ้ หมดที่เ กิด ขึน
้ หรือ จะ
เกิดขึน
้ ต่อไป และสำหรับชำระการเรียกร้องใด ๆ ที่ยังมีข้อโต้แย้งไว้แล้ว
 
มาตรา ๓๔๔[๓๔๕]  เมื่อผู้มส
ี ่วนได้เสียในการบังคับคดีทุกคนได้
รับ ส่ว นแบ่ง เป็ นที่พ อใจแล้ว ถ้า ยัง มีเ งิน ที่ไ ด้จ ากการขายหรือ จำหน่า ย
ทรัพย์สินเหลืออยู่หลังจากที่ได้หักค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดีแล้ว
และเงินเช่นว่านัน
้ อยูใ่ นบังคับทีจ
่ ะต้องจ่ายแก่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาตาม
มาตรา ๓๒๙ หรือถูกอายัดโดยประการอื่น ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีจ่าย
เงินส่วนที่เหลือนัน
้ ตามมาตรา ๓๒๙ หรือตามคำสั่งอายัดสิทธิเรียกร้อง
แล้วแต่กรณี
ถ้า เงิน รายได้จำ นวนสุท ธิท ี่ไ ด้จ ากการขายหรือ จำ หน่า ย
ทรัพย์สินนัน
้ ไม่ต้องการใช้สำหรับการบังคับคดีต่อไปก็ดี หรือมีเงินได้จาก
การขายหรือ จำ หน่า ยทรัพ ย์ส ิน เหลือ อยู่ห ลัง จากที่ไ ด้ห ัก ชำ ระค่า ฤชา
ธรรมเนียมในการบังคับคดีและจ่ายให้แก่เจ้าหนีท
้ ุกคนเป็ นที่พอใจแล้วก็ดี
ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีจ่ายเงินรายได้จำนวนสุทธิหรือส่วนที่เหลือนัน
้ ให้
แก่ลก
ู หนีต
้ ามคำพิพ ากษา และถ้า ทรัพ ย์ส ิน ของบุค คลภายนอกต้อ งถูก
จำหน่า ยไปเพื่อ ประโยชน์แ ก่ล ูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษา ให้จ ่า ยเงิน รายได้
จำนวนสุทธิหรือส่วนที่เหลืออยู่แก่บุคคลภายนอกนัน

ถ้าได้มีการขายทรัพย์สินรายใดตามมาตรา ๓๒๓ ไปแล้ว และ
ได้มีคำ พิพ ากษาถึง ที่ส ุดเป็ นคุณแก่ผ ู้เ รียกร้อ ง ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับคดี
จ่ายเงินที่ได้จากการขายแก่ผู้เรียกร้องไป
 
ส่วนที่ ๑๑
เงินค้างจ่าย
                  
 
มาตรา ๓๔๕[๓๔๖]  บรรดาเงินต่าง ๆ ที่ค้างจ่ายอยู่ในศาลหรือที่
เจ้าพนักงานบังคับคดี ถ้าผู้มีสิทธิมิได้เรียกเอาภายในห้าปี ให้ตกเป็ นของ
แผ่นดิน
 
หมวด ๓
การบังคับคดีในกรณีที่ให้ส่งคืนหรือส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่ง
                  
 
มาตรา ๓๔๖[๓๔๗]  การบังคับคดีในกรณีที่คำ พิพากษาหรือ คำ
สั่ง ของศาลกำหนดให้ล ูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษาส่ง คืน หรือ ส่ง มอบทรัพ ย์
เฉพาะสิ่งแก่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา ถ้าบทบัญญัติในหมวดนีม
้ ิได้กำ หนด
วิธีการบังคับคดีไว้โดยเฉพาะ ให้นำบทบัญญัติในหมวด ๒ การบังคับคดีใน
กรณีที่เป็ นหนีเ้ งินมาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๓๔๗ [๓๔๘ ]  ในกรณีท ี่คำ พิพ ากษาหรือ คำสั่ง ของศาล
กำหนดให้ล ูกหนี ต
้ ามคำพิพ ากษาส่งคืนทรัพย์เฉพาะสิ่งแก่เจ้าหนีต
้ ามคำ
พิพากษาหรือส่ง มอบทรัพ ย์เ ฉพาะสิ่งเพื่อ ชำระหนีต
้ ามสิทธิเ รียกร้องแก่
เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำนาจยึดทรัพย์นน
ั ้ เพื่อ
ดำเนินการให้เป็ นไปตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
ถ้าทรัพย์เฉพาะสิง่ ของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาทีต
่ อ
้ งส่งมอบแก่
เจ้า หนีต
้ ามคำพิพ ากษาเพื่ อ ชำ ระหนี ต
้ ามสิท ธิเ รีย กร้อ งได้ถ ูก ยึด หรือ
อายัดไว้เ พื่ อเอาชำระหนี เ้ งินในคดีอ่ ื นแล้ว เจ้าหนี ต
้ ามคำพิพากษาชอบ
ที่จะยื่นคำร้องต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดีก่อนมีการขายทอดตลาดหรือ
จำหน่ายโดยวิธีอ่ น
ื ขอให้มีคำสั่งให้เจ้าพนักงานบังคับคดีส่งมอบทรัพย์นน
ั้
ให้แ ก่ต น โดยต้อ งแสดงให้เ ป็ นที่พ อใจแก่ศ าลได้ว ่า เจ้า หนีต
้ าม คำ
พิพากษาผู้ขอยึดหรืออายัดทรัพย์ในคดีอ่ น
ื นัน
้ สามารถบังคับคดีเ อาจาก
ทรัพย์สินอื่นของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาได้เพียงพอ  ทัง้ นี ้ ให้ศาลแจ้งให้
เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบและอาจมีคำ สั่งงดการบังคับคดีไว้ในระหว่าง
พิจารณาก็ได้ ในกรณีเช่นว่านี ้ ให้เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาชดใช้ค่าใช้จ่ายที่
เกิดขึน
้ จากการยึดหรืออายัดทรัพย์แก่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาผู้ขอยึดหรือ
อายัดทรัพย์ใ นคดีอ่ ื น นั น
้ และให้ เ จ้ า หนี ต
้ ามคำ พิพ ากษาในคดี อ่ ื น นั น

ได้ รั บ ยกเว้น ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนี ยมเจ้ า พนั ก งานบั ง คั บ คดี
ถ้าเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาไม่สามารถแสดงให้เป็ นที่พอใจแก่
ศาลได้ตามวรรคสอง ให้ศาลมีคำ สั่งให้เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษามีสิทธิเข้า
เฉลี่ย ในเงิน ที่ไ ด้จ ากการขายหรือ จำหน่า ยทรัพ ย์ส ิน ของลูก หนีต
้ ามคำ
พิพ ากษาในคดีอ่ น
ื นัน
้ ในกรณีเ ช่น ว่า นี ้ ให้นำ มาตรา ๓๒๖ และมาตรา
๓๒๙ มาใช้บังคับ
 
มาตรา ๓๔๘ [๓๔๙]  การบังคับคดีในกรณีที่ศาลพิพากษาให้ล ูก
หนีต
้ ามคำ พิพ ากษาส่ง คืน หรือ ส่ง มอบทรัพ ย์เ ฉพาะสิ่ง ที่ม ีท ะเบีย น
์ รือ มีห นัง สือ รับ รองการทำ ประโยชน์แ ก่เ จ้า หนีต
กรรมสิท ธิห ้ าม คำ
พิพ ากษานั น
้ ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีแ จ้ง ให้พ นัก งานเจ้า หน้า ที่ห รือ
นายทะเบียนดำเนินการจดทะเบียนต่อไป
การบังคับคดีในกรณีที่ศาลพิพากษาให้ล ูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
ส่ง คืน หรือ ส่ง มอบอสัง หาริม ทรัพ ย์เ ฉพาะสิ่ง ถ้า มีเ หตุข ัด ขวางหรือ เหตุ
ขัด ข้อ งในการส่ง คืน หรือ ส่ง มอบอสัง หาริม ทรัพ ย์น น
ั ้ แก่เ จ้า หนีต
้ ามคำ
พิพากษา ให้นำบทบัญญัติในหมวด ๔ การบังคับคดีในกรณีที่ให้ขับไล่ มา
ใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๓๔๙[๓๕๐]  การบังคับคดีที่ขอให้ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
ส่งคืนหรือส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิง่ ให้เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาได้รับยกเว้น
ค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดี
ให้ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาเป็ นผู้รับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมใน
การบังคับคดีที่เจ้าหนีต
้ ามคำพิ พ ากษาต้ อ งเสี ย ไปในคดี ท ี ่ ม ี คำ พิพ ากษา
ให้ ส ่ งคื น หรือส่ง มอบทรัพ ย์เ ฉพาะสิ ่ ง รวมทั ง้ ค่ า ฤชาธรรมเนี ย ม และค่า
ฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดีที่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาต้องเสียไปในคดี
อื่นตามมาตรา ๓๔๗ วรรคสอง โดยให้ถือว่าเป็ นค่าฤชาธรรมเนียมและค่า
ฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดีที่ต้องใช้แทนแก่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาใน
คดีที่มีคำพิพากษาให้ส่งคืนหรือส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่งนัน

 
หมวด ๔
การบังคับคดีในกรณีที่ให้ขับไล่
                  
 
มาตรา ๓๕๐[๓๕๑]  การบังคับคดีในกรณีที่คำ พิพากษาหรือ คำ
สั่งของศาลให้ขับไล่ลก
ู หนีต
้ ามคำพิพากษาออกไปจากอสังหาริมทรัพย์ ที่
อยู่อ าศัย หรือทรัพ ย์ท ี่ค รอบครอง ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดี ดำ เนิน การ
ตามมาตรา ๓๕๑ มาตรา ๓๕๒ มาตรา ๓๕๓ และมาตรา ๓๕๔
การบัง คับ คดีในกรณีท ี่ คำ พิพ ากษาหรือ คำสั่ง ให้ล ูก หนี ต
้ าม
คำพิพ ากษารื้ อ ถอนสิ่ง ปลูก สร้า ง ไม้ย ืน ต้น ไม้ล ้มลุก หรือ ธัญ ชาติ หรือ
ขนย้า ยทรัพ ย์ส ิน ออกไปจากอสัง หาริม ทรัพ ย์ ที่อ ยู่อ าศัย  หรือทรัพย์ที่
ครอบครอง ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีดำเนินการตามมาตรา ๓๕๕
 
ส่วนที่ ๑
การบังคับคดีในกรณีที่ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาต้องออกไปจาก
อสังหาริมทรัพย์ ที่อยู่อาศัย
หรือทรัพย์ที่ครอบครอง
                  
 
มาตรา ๓๕๑[๓๕๒]  ในกรณีทคำ
่ี พิพากษาหรือคำสัง่ ของศาลให้ขบ

ไล่ลก
ู หนีต
้ ามคำพิพากษาออกไปจากอสัง หาริม ทรัพ ย์ ที่อ ยู่อ าศัย หรือ
ทรัพย์ที่ครอบครอง
(๑) ถ้าทรัพ ย์น ัน
้ ไม่มีบุคคลใดอยู่แ ล้ว ให้เ จ้า พนัก งานบังคับ
คดีดำเนินการตามมาตรา ๓๕๒
(๒) ถ้าลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือบริวารไม่ออกไปจากทรัพย์
นัน
้ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีดำเนินการตามมาตรา ๓๕๓
 
มาตรา ๓๕๒ [๓ ๕ ๓ ]  ในกรณีต ามมาตรา ๓๕๑ (๑) ให้เ จ้า
พนักงานบังคับคดีมีอำ นาจส่งมอบทรัพ ย์นน
ั ้ ทัง้ หมดหรือบางส่วนให้เ จ้า
หนีต
้ ามคำ พิพ ากษาเข้า ครอบครองได้ท ัน ที ถ้า มีส งิ่ กีด ขวางอัน เป็ น
อุป สรรคต่อ การส่ง มอบ ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีม ี อำ นาจทำ ลายสิ่ง
กีดขวางดังกล่าวได้ตามความจำเป็ น
ถ้ายัง มีส ิ่ง ของของลูก หนี ต
้ ามคำพิพ ากษาหรือ ของบุค คลใด
อยู่ใ นทรัพ ย์น ั น
้ ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีทำ บัญ ชีส ิ่ง ของนัน
้ ไว้ และมี
อำนาจดำเนินการดังต่อไปนี ้
(๑) ถ้าสิ่งของนัน
้ มีสภาพเป็ นของสดของเสียได้ หรือมีสภาพ
อันจะก่อให้เกิดอันตรายได้ หรือถ้าหน่วงช้าไว้จะเป็ นการเสี่ยงความเสีย
หายหรือค่าใช้จ่ายจะเกินส่วนแห่งค่าของสิ่งของนัน
้ ให้เจ้าพนักงานบังคับ
คดีมีอำ นาจจำหน่ายสิ่งของนัน
้ ได้ทันทีโดยวิธีขายทอดตลาดหรือวิธีอ่ น
ื ที่
เห็นสมควร และเก็บรักษาเงินสุทธิหลังจากหักค่าใช้จ่ายไว้แทนสิ่งของนัน

หรือทำลายสิ่งของนัน
้ หรือดำเนินการอื่นใดตามที่เห็นสมควรก็ได้  ทัง้ นี ้
ให้คำนึงถึงสภาพแห่งสิง่ ของ ประโยชน์ของผู้มส
ี ่วนได้เสีย และประโยชน์
สาธารณะ
(๒) ถ้า สิ่ง ของนัน
้ มิใ ช่ส ิ่ง ของตามที่ร ะบุไ ว้ใ น (๑) ให้เ จ้า
พนักงานบังคับคดีมีอำ นาจนำสิ่งของนัน
้ มาเก็บรักษาไว้ หรือมอบให้เจ้า
หนีต
้ ามคำพิพากษาเป็ นผู้รักษา หรือฝากไว้ ณ สถานที่ใด หรือแก่บุคคล
ใดตามที่เห็นสมควร แล้วแจ้งหรือประกาศให้ล ก
ู หนีต
้ ามคำพิพากษาหรือ
เจ้าของสิ่งของมารับคืนไปภายในเวลาที่เจ้าพนักงานบังคับคดี กำหนด ถ้า
ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือเจ้าของสิ่งของไม่มารับหรือไม่ยอมรับสิ่งของ
นัน
้ คืนไปภายในเวลาที่กำหนด ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีดำเนินการตาม (
๑) โดยอนุโลม
เงินที่เจ้าพนักงานบังคับคดีได้มาจากการจำหน่ายสิ่งของตาม
วรรคสอง (๑) หรือ (๒) ถ้าลูกหนี ต
้ ามคำพิพากษาหรือเจ้าของสิ่งของไม่
มาขอรับ คืน ภายในกำหนดห้า ปี นับ แต่ไ ด้รับ แจ้ง จากเจ้า พนักงานบังคับ
คดี ให้ตกเป็ นของแผ่นดิน
ในกรณีท ี่ส ิ่ง ของตามวรรคสองถูก ยึด อายัด หรือ ห้า มโอน
ยักย้าย หรือจำหน่ายตามวิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาหรือเพื่อการบังคับ
คดีในคดีอ่ น
ื ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำ นาจย้ายสิ่งของดังกล่าวไปเก็บ
ไว้ ณ สถานที่อ่ น
ื ได้ตามที่เห็นสมควร  ทัง้ นี ้ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีแจ้ง
ศาลหรือเจ้าพนักงานบังคับคดีในคดีอ่ น
ื ทราบด้วย
ให้ล ูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษาเป็ นผู้เ สีย ค่า ใช้จ ่า ยที่เ กิด จากการ
ดำเนินการตามมาตรานี ้ และให้ถือว่าเป็ นหนีต
้ ามคำพิพากษาที่จะบังคับ
คดีกันต่อไป
 
มาตรา ๓๕๓ [๓ ๕ ๔ ]  ในกรณีต ามมาตรา ๓๕๑ (๒) ให้เ จ้า
พนักงานบังคับคดีปฏิบัติดังต่อไปนี ้
(๑) รายงานต่อศาลเพื่อมีคำสั่งจับกุมและกักขังลูกหนีต
้ ามคำ
พิพากษาหรือบริวาร และให้ศาลมีอำ นาจสั่งจับกุมและกักขังได้ทันที ใน
กรณีเช่นว่านี ้ ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๓๖๓ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
(๒) ปิ ดประกาศให้บค
ุ คลที่อยู่อาศัยหรือครอบครองทรัพย์นน
ั้
ซึ่ง อ้า งว่า มิไ ด้เ ป็ นบริว ารของลูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษา ยื่น คำร้อ งต่อ ศาล
ภายในกำหนดเวลาสิบ ห้าวัน นับ แต่วัน ปิ ดประกาศแสดงว่า ตนมี อำ นาจ
พิเศษในการอยู่อาศัยหรือครอบครองทรัพย์นน
ั้
เมื่อ มีก ารจับ กุม ลูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษาหรือ บริว ารตาม (๑)
แล้ว หรือ ในกรณีท ี่บ ุค คลดัง กล่า วหลบหนีไ ปจากทรัพ ย์น น
ั ้ แล้ว ให้เ จ้า
พนักงานบังคับคดีดำเนินการตามมาตรา ๓๕๒
 
มาตรา ๓๕๔ [๓ ๕ ๕ ]  เพื่ อ ประโยชน์ใ นการบัง คับ คดีต ามที่
บัญญัติไว้ในมาตรา ๓๕๑ ให้ถือว่า บุคคลดังต่อไปนีเ้ ป็ นบริวารของลูกหนี ้
ตามคำพิพากษา
(๑) บุค คลที่อ ยู่อ าศัย หรือ ครอบครองทรัพ ย์น น
ั ้ และมิไ ด้ย่ น

คำร้องต่อศาลภายในกำหนดเวลาตามมาตรา ๓๕๓ (๒) หรือยื่นคำร้องต่อ
ศาลแล้วแต่แ สดงต่อศาลไม่ไ ด้ว่า ตนมีอำ นาจพิเ ศษในการอยู่อ าศัย หรือ
ครอบครองทรัพย์นน
ั้
(๒) บุค คลที่เ ข้า มาอยู่ใ นทรัพ ย์น น
ั ้ ในระหว่า งเวลาที่เ จ้า
พนักงานบังคับ คดีดำ เนินการให้เ จ้า หนีต
้ ามคำพิพ ากษาเข้า ครอบครอง
ทรัพย์นน
ั้
 
ส่วนที่ ๒
การบังคับคดีในกรณีที่ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาต้องรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง
ไม้ยืนต้น ไม้ล้มลุกหรือธัญชาติ หรือขนย้ายทรัพย์สิน ออกไปจาก
อสังหาริมทรัพย์
ที่อยู่อาศัย หรือทรัพย์ที่ครอบครอง
                  
 
มาตรา ๓๕๕ [๓๕๖ ]  ในกรณีท ี่คำ พิพ ากษาหรือ คำสั่ง ของศาล
กำหนดให้ล ูก หนี ต
้ ามคำพิพ ากษาต้องรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง ไม้ยืนต้น ไม้
ล้มลุกหรือธัญชาติ หรือขนย้ายทรัพย์สิน ออกไปจากอสังหาริมทรัพย์ ที่
อยู่อ าศัย หรือ ทรัพ ย์ท ี่ค รอบครอง ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีม ี อำ นาจ
ดำเนินการรื้อถอน และขนย้ายทรัพย์สินออกจากทรัพย์นน
ั ้ ได้โดยให้ล ูก
หนีต
้ ามคำพิพากษาเป็ นผู้เสียค่าใช้จ่ายในการรื้อถอนหรือขนย้ายทรัพย์สิน
นัน
้ และให้ถือว่าเป็ นหนีต
้ ามคำพิพากษาที่จะบังคับคดีกันต่อไป
กรณีต ามวรรคหนึ่ง ให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีปิ ดประกาศ
กำหนดการรื้อถอนหรือขนย้ายทรัพย์สินไว้ ณ บริเวณนัน
้ ไม่น้อยกว่าสิบ
ห้า วัน และให้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีใ ช้ค วามระมัด ระวัง ตามสมควรแก่
พฤติการณ์ในการรื้อถอนหรือขนย้ายทรัพย์สินนัน

ในการจัดการกับวัสดุที่ถ ูกรื้อ ถอนและทรัพย์สิน ที่ถ ูก ขนย้า ย
ออกจากอสัง หาริมทรัพ ย์ ที่อ ยู่อ าศัยหรือ ทรัพ ย์ที่ค รอบครองนัน
้ ให้นำ
บทบัญญัติมาตรา ๓๕๒ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ มาใช้บังคับโดย
อนุโลม
 
หมวด ๕
การบังคับคดีในกรณีที่ให้กระทำการหรืองดเว้นกระทำการ
                  
 
มาตรา ๓๕๖[๓๕๗]  การบังคับคดีในกรณีที่คำ พิพากษาหรือ คำ
สั่งของศาลกำหนดให้ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษากระทำการหรืองดเว้นกระทำ
การอย่า งหนึ่ง อย่า งใดนอกจากกรณีท ี่คำ พิพ ากษาหรือ คำ สั่ง ของศาล
กำหนดให้ลก
ู หนีต
้ ามคำพิพากษาส่งคืนหรือส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่งหรือให้
ขับไล่ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาตามที่บัญญัติไว้ในหมวด ๓ การบังคับคดีใน
กรณีที่ให้สง่ คืนหรือส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่ง และหมวด ๔ การบังคับคดีใน
กรณีที่ให้ขับไล่ ให้ศาลมีอำนาจกำหนดวิธีการบังคับคดีตามที่บัญญัติไว้ใน
ส่วนที่ ๑ หรือส่วนที่ ๒ แห่งหมวดนี ้ เว้น แต่ในกรณีที่ศาลเห็นว่าวิธีก าร
บังคับคดีดงั กล่าวไม่อาจบรรลุผลตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลได้ ก็
ให้ศาลมีอำนาจกำหนดวิธีการบังคับคดีตามที่ศาลเห็นสมควรเท่าที่สภาพ
แห่งการบังคับคดีจะเปิ ดช่องให้กระทำได้
 
ส่วนที่ ๑
การบังคับคดีในกรณีที่ให้กระทำการ
                  
 
มาตรา ๓๕๗[๓๕๘]  การบังคับคดีในกรณีที่คำ พิพากษาหรือ คำ
สั่ง ของศาลกำหนดให้ล ูก หนีต
้ ามคำพิพ ากษากระทำนิต ิก รรมอย่า งหนึ่ง
อย่างใดซึ่งอาจถือเอาคำพิพากษาของศาลแทนการแสดงเจตนาของลูก
หนีต
้ ามคำพิพากษาได้ และคำพิพากษาหรือ คำสั่งของศาลไม่ได้กำ หนด
ให้ถือเอาคำพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาไว้
เจ้า หนีต
้ ามคำพิพ ากษาอาจมีคำ ขอให้ศ าลมีคำ สั่ง ให้ถ ือ เอาคำพิพ ากษา
หรือคำสั่งของศาลแทนการแสดงเจตนาของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษานัน
้ ได้
ถ้าการแสดงเจตนาของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาจะบริบูรณ์ต่อ
เมื่อได้จดทะเบียนต่อนายทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือบุคคลอื่นผู้มี
อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาอาจมีคำ ขอให้ศาลสัง่
ให้ดำ เนิน การจดทะเบียนให้ก ็ได้ ในกรณีเช่นนี ้ ให้บค
ุ คลดัง กล่า วนัน
้ จด
ทะเบียนไปตามคำสัง่ ศาล
ถ้าหนังสือสำคัญ เช่น โฉนดทีด
่ น
ิ ใบจอง หนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์ ใบทะเบียน หรือเอกสารสิทธิที่จะต้อ งใช้เ พื่อ การจดทะเบียน
สูญ หาย บุบ สลาย หรือ นำมาไม่ไ ด้เ พราะเหตุอ่ น
ื ใด ศาลจะสั่ง ให้น าย
ทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือ บุค คลผู้มีอำ นาจหน้า ที่ต ามกฎหมาย
ออกใบแทนหนังสือ สำคัญดังกล่าวก็ไ ด้ เมื่อ ได้อ อกใบแทนแล้ว หนังสือ
สำคัญเดิมเป็ นอันยกเลิก
 
มาตรา ๓๕๘[๓๕๙]  การบังคับคดีในกรณีที่คำ พิพากษาหรือ คำ
สั่งของศาลกำหนดให้ลูกหนีต
้ ามคำพิพ ากษากระทำการอย่า งหนึ่ง อย่า ง
ใดซึ่งไม่ใช่กรณีตามมาตรา ๓๕๗ นอกจากเจ้าหนี ต
้ ามคำ พิพากษาอาจมี
คำขอตามมาตรา ๓๖๑ แล้ว ถ้าการกระทำนัน
้ เป็ นกรณีที่อ าจให้บ ุค คล
ภายนอกกระทำการแทนได้เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาอาจมีคำ ขอฝ่ ายเดียว
ให้ศาลมีคำสั่งอนุญาตให้บุคคลภายนอกกระทำการนัน
้ แทนลูกหนีต
้ ามคำ
พิพากษา โดยลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาเป็ นผู้เสียค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายที่เสียไปในกรณีขอให้บุคคลภายนอกกระทำการแทน
ตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าเป็ นหนีต
้ ามคำพิพากษาที่จะบังคับคดีกันต่อไป
 
ส่วนที่ ๒
การบังคับคดีในกรณีที่ให้งดเว้นกระทำการ
                  
 
มาตรา ๓๕๙[๓๖๐]  การบังคับคดีในกรณีที่คำ พิพากษาหรือ คำ
สั่งของศาลกำหนดให้ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษางดเว้นกระทำการ เจ้าหนีต
้ าม
คำพิพากษาอาจขอให้ศาลมีคำสั่งจับกุมและกักขังลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
ตามมาตรา ๓๖๑ และขอให้ศาลมีคำ สัง่ อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนีไ้ ด้
ด้วย
(๑) ให้ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาชำระค่าสินไหมทดแทนสำหรับ
ความเสียหายอันเกิดจากการไม่งดเว้นกระทำการนัน

(๒) รื้อ ถอนหรือ ทำ ลายทรัพ ย์ส ิน อัน เกิด จากการไม่ง ดเว้น
กระทำการนัน
้ เว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายว่าด้วยการนัน
้ ได้ กำ หนดวิธีการ
จัดการกับทรัพย์สินดังกล่าวไว้เป็ นอย่างอื่นแล้ว
ในกรณีตาม (๑) เมื่อศาลไต่สวนแล้วเห็นว่าคำขอนัน
้ ฟั งได้ ให้
ศาลมีคำสั่งให้ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามจำนวนที่
ศาลเห็นสมควร
ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งตาม (๒) ให้ศาลแจ้งคำสั่งให้เจ้าพนักงาน
บังคับคดีทราบ แล้วให้เจ้าพนักงานบังคับคดีดำ เนินการให้เป็ นไปตามคำ
สั่งศาล โดยลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาเป็ นผู้รับผิดในค่าใช้จ่าย
การขอและการดำ เนิน การตามมาตรานี ้ ไม่ต ้อ งเสีย ค่า
ธรรมเนียมศาล ส่วนค่าสินไหมทดแทนที่ศาลกำหนดตามวรรคสองและค่า
ใช้จ่ายตามวรรคสาม ให้ถือว่าเป็ นหนีต
้ ามคำพิพากษาที่จะบังคับคดีกันต่อ
ไป
 
หมวด ๖
การบังคับคดีในกรณีได้มาซึ่งทรัพย์สินที่มีทะเบียน
                  
 
มาตรา ๓๖๐ [๓๖๑]  การบัง คับ คดีในกรณีท ี่ศ าลมีคำ พิพ ากษา
หรือ คำสั่ง ให้ห รือแสดงว่าเจ้า หนีต
้ ามคำพิพ ากษาหรือ บุค คลใดได้มาซึ่ง
กรรมสิทธิ ์ ทรัพยสิทธิหรือสิทธิอ่ น
ื ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สิน หากทรัพย์สินนัน

เป็ นทรัพ ย์ท ี่ม ีท ะเบีย นและมีเ หตุข ัด ข้อ งไม่อ าจแก้ไ ขเปลี่ย นแปลงทาง
ทะเบียนได้ เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือบุคคลดังกล่าวอาจมีคำขอให้ศาล
สั่งให้นายทะเบียน พนักงานเจ้า หน้าที่ หรือบุคคลผู้มีอำ นาจหน้า ที่ต าม
กฎหมายดำเนินการจดทะเบียนให้ผ ู้มีสิทธิมีช่ อ
ื ในทะเบียนให้เป็ นไปตาม
คำสัง่ ศาล
ให้นำ บทบัญ ญัต ิม าตรา ๓๕๗ วรรคสาม มาใช้บ ัง คับ โดย
อนุโลม
 
หมวด ๗
การบังคับคดีในกรณีที่ขอให้ศาลสั่งจับกุมและกักขังลูกหนีต
้ ามคำ
พิพากษา
                  
 
มาตรา ๓๖๑[๓๖๒]  ภายใต้บังคับบทบัญญัตห
ิ มวด ๔ การบังคับ
คดีในกรณีที่ให้ขับไล่ ในกรณีที่ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาจงใจขัดขืนไม่ปฏิบัติ
ตามคำบังคับ และไม่มีวิธีการบังคับอื่นใดที่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาจะใช้
บัง คับ ได้ เจ้า หนีต
้ ามคำพิพ ากษาอาจมีคำ ขอฝ่ ายเดีย ว ให้ศ าลมีคำ สัง่
จับกุมและกักขังลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาก็ได้
เมื่อได้รับ คำขอตามวรรคหนึ่ง ให้ศาลพิจารณาคำขอโดยเร็ว
หากเป็ นทีพ
่ อใจจากพยานหลัก ฐานซึ่ง เจ้า หนีต
้ ามคำพิพ ากษานำมาสืบ
หรือที่ศาลเรียกมาสืบว่า ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาสามารถที่จะปฏิบัติตาม
คำบังคับได้ถ้าได้กระทำการโดยสุจริต และเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาไม่มีวิธี
การบัง คับ อื่น ใดที่จ ะใช้บ ัง คับ ได้ใ ห้ศ าลออกหมายจับ ล ูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษา
ถ้าลูกหนีต
้ ามคำพิพ ากษามาศาลหรือถูกจับ ตัวมา แต่ล ก
ู หนี ้
ตามคำ พิพ ากษาไม่อ าจแสดงเหตุอ ัน สมควรในการที่ไ ม่ป ฏิบ ัต ิต ามคำ
บังคับได้ ศาลมีอำนาจสั่งกักขังลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาทันทีหรือในวันหนึ่ง
วัน ใดที่ล ูก หนีต
้ ามคำ พิพ ากษายัง คงขัด ขืน อยู่ก ็ไ ด้ หากลูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษาแสดงเหตุอันสมควรในการที่ไม่ปฏิบัติตามคำบังคับได้ หรือตกลง
ที่จะปฏิบัติตามคำบังคับทุกประการ ศาลจะมีคำ สั่งให้ยกคำขอ หรือมีคำ
สั่งเป็ นอย่างอื่นตามที่เห็นสมควรก็ได้
 
มาตรา ๓๖๒ [๓ ๖ ๓ ]  เมื่อ ศาลได้อ อกหมายจับ ลูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษาตามมาตรา ๓๖๑ แล้ว ถ้าลูกหนีต
้ ามคำพิพากษามาศาลหรือถูก
จับกุมตัวมา ให้ศาลมีอำนาจกักขังลูกหนีต
้ ามคำพิพากษานัน
้ ไว้ในระหว่าง
การพิจารณาคำขอจนกว่าจะมีประกัน หรือมีประกันและหลักประกันก็ได้
ตามที่ศาลเห็นสมควร
ในกรณีท ี่ผ ิด สัญ ญาประกัน ตามวรรคหนึ่ง ศาลมีอำ นาจสั่ง
บังคับตามสัญญาประกันหรือตามจำนวนเงินที่ศาลเห็นสมควรโดยมิต้อง
ฟ้ องผู้ทำสัญญาประกันเป็ นคดีใหม่
 
มาตรา ๓๖๓ [๓ ๖ ๔ ]  ในกรณีท ี่ศ าลสั่ง กัก ขัง ล ูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษาหรือบุคคลใดตามมาตรา ๓๕๓ หรือมาตรา ๓๖๑ บุคคลนัน
้ จะ
ต้องถูกกักขัง ไว้จนกว่าจะมีป ระกัน หรือ มีป ระกัน และหลัก ประกัน ตาม
จำนวนที่ศ าลเห็นสมควรกำหนดว่า ตนยิน ยอมที่จะปฏิบัต ิตามคำบังคับ
ทุกประการ  แต่ทงั ้ นี ้ ห้ามไม่ให้กักขังแต่ละครัง้ เกินกว่าหกเดือนนับแต่วัน
จับกุมหรือวันเริ่มกักขัง แล้วแต่กรณี
ในกรณีท ี่ผ ิด สัญ ญาประกัน ตามวรรคหนึ่ง ให้นำ บทบัญ ญัต ิ
มาตรา ๓๖๒ วรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๓๖๔ [๓ ๖๕ ]  ในกรณีท ี่ศ าลยอมรับ บุค คลเป็ นประกัน
และบุค คลนัน
้ จงใจขัด ขวางการบัง คับ คดีห รือ ร่ว มกับ ล ูก หนีต
้ ามคำ
พิพ ากษาขัด ขืน ไม่ป ฏิบ ัต ิต ามคำ บัง คับ ให้นำ บทบัญ ญัต ิม าตรา ๓๖๑
มาตรา ๓๖๒ และมาตรา ๓๖๓ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๓๖๕[๓๖๖]  การจับกุมและควบคุมตัวบุคคลหนึ่งบุคคล
ใดตามบทบัญญัติในลักษณะนี ้ ให้พนักงานฝ่ ายปกครองหรือ ตำรวจตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพ ิจารณาความอาญามีห น้า ที่ป ฏิบ ัต ิต ามคำสั่ง หรือ
หมายของศาล หรือตามที่ได้รับแจ้งจากเจ้าพนักงานบังคับคดี
การจับ กุม ควบคุม ตัว หรือ กัก ขัง บุค คลหนึ่ง บุค คลใดตาม
มาตรา ๒๗๙ วรรคสอง มาตรา ๒๘๔ มาตรา ๓๕๓ มาตรา ๓๖๑ และ
มาตรา ๓๖๔ ไม่ตัดสิทธิที่จะดำเนินคดีในความผิดอาญา
 
หมวด ๘
การบังคับในกรณีมีการประกันในศาล
                  
 
มาตรา ๓๖๖ [๓๖๗]  ถ้าบุคคลใดได้เข้าเป็ นผู้ประกันในศาลโดย
ทำเป็ นหนังสือหรือโดยวิธีอ่ น
ื เพื่อการชำระหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
หรือแต่ส่วนหนึ่งส่วนใดแห่งคำพิพากษาหรือคำสั่งนัน
้ คำพิพากษาหรือคำ
สัง่ เช่นว่านัน
้ ย่อมใช้บงั คับแก่การประกันได้ โดยให้เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษามี
สิทธิร ้อ งขอให้ศ าลบัง คับ คดีแ ก่ผ ู้ป ระกัน เสมือ นหนึ่ง เป็ นลูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษาโดยไม่ต้องฟ้ องผูป
้ ระกันเป็ นคดีใหม่
ให้นำ บทบัญ ญัต ิในวรรคหนึ่ง มาใช้บ ัง คับ แก่ก ารประกัน การ
ปฏิบัติตามคำสั่งศาลในกรณีอ่ น
ื ด้วยโดยอนุโลม
 
มาตรา ๓๖๗[๓๖๘]  ในกรณีที่คค
ู่ วามหรือบุคคลใดนำเงิน สมุด
บัญ ชีเ งิน ฝากธนาคาร หนัง สือ ประกัน ของธนาคาร หรือ หลัก ประกัน
อย่า งอื่น ซึ่ง อาจจ่า ยเป็ นเงิน แทนได้ มาวางต่อ ศาลตามบทบัญ ญัต ิแ ห่ง
ประมวลกฎหมายนีห
้ รือ ตามคำสั่ง ของศาล เช่น คำสั่ง เกี่ย วกับ วิธ ีก าร
ชั่ว คราวก่อ นพิพ ากษาหรือ ทุเ ลาการบัง คับ คดีใ นระหว่า งอุท ธรณ์ห รือ
ฎีก า หรือ ในกรณีอ่ ื น ใด เจ้า หนี ต
้ าม คำ พิพ ากษาในคดีน น
ั ้ ชอบที่จ ะ
ร้องขอต่อศาลให้สงั่ จ่ายเงินหรือดำเนินการเรียกเงินมาจ่ายให้แก่ตนได้
การขอและการดำ เนิน การตามมาตรานี ้ ไม่ต ้อ งเสีย ค่า
ธรรมเนียมศาล

ตาราง ๑
ค่าธรรมเนียมศาล (ค่าขึน
้ ศาล)[๓๖๙]
                  
 

ลักษณะของคดี ทุนทรัพย์ อัตรา หมายเหตุ

(๑) คดีท ี่ม ีคำ ขอให้ป ลดเปลื้อ ง     ค่าธรรมเนียม


ทุกข์อันอาจคำนวณเป็ นราคา ตาม (ก) (ข)
เงิน ได้ ให้ค ิด ค่า ขึน
้ ศาลตาม และ (ค) ถ้า
ทุนทรัพย์ ดังต่อไปนี ้ รวมแล้วมีเศษ
ไม่ถงึ หนึ่งบาท
ให้ปัดทิง้
(ก) คำฟ้ องนอกจากที่ร ะบุไ ว้ ไม่เกินห้า ร้อยละ  
ใน (ข) และ (ค) สิบล้าน ๒ แต่ไม่
ลักษณะของคดี ทุนทรัพย์ อัตรา หมายเหตุ

บาท เกินสอง
แสน
บาท
 
  ส่วนที่เกิน ร้อยละ  
ห้าสิบล้าน ๐.๑
บาทขึน
้ ไป
 
(ข) คำ ร้อ งขอให้ศ าลบัง คับ ไม่เกินห้า ร้อยละ  
ต า ม คำ ช ข
ี ้ า ด ข อ ง สิบล้าน ๐.๕
อ น ุญ า โ ต ต ุล า ก า ร ใ น บาท ของ
ประเทศหรือคำร้องขอเพิก จำนวนที่
ถ อ น คำ ช ข
ี้ า ด ข อ ง ร้องขอ
อ น ุญ า โ ต ต ุล า ก า ร ใ น ให้ศาล
ประเทศ บังคับ
แต่ไม่
เกินห้า
หมื่น
บาท
 
  ส่วนที่เกิน ร้อยละ  
ห้าสิบล้าน ๐.๑
บาทขึน
้ ไป
ลักษณะของคดี ทุนทรัพย์ อัตรา หมายเหตุ

 
คำร้องขอให้ศาลบังคับตาม ไม่เกินห้า ร้อยละ  
คำ ช ข
ี ้ า ด ข อ ง สิบล้าน ๑ ของ
อ น ุญ า โ ต ต ุล า ก า ร ต ่า ง บาท จำนวนที่
ประเทศหรือคำร้องขอเพิก ร้องขอ
ถ อ น คำ ช ข
ี้ า ด ข อ ง ให้ศาล
อ น ุญ า โ ต ต ุล า ก า ร ต ่า ง บังคับ
ประเทศ แต่ไม่
เกินหนึ่ง
แสน
บาท
 
  ส่วนที่เกิน ร้อยละ  
ห้าสิบล้าน ๐.๑
บาทขึน
้ ไป
 
(ค) คำฟ้ องขอให้บงั คับจำนอง ไม่เกินห้า ร้อยละ  
หรือบังคับเอาทรัพย์สิน สิบล้าน ๑ ของ
จำนองหลุด บาท จำนวน
หนีท
้ ี่
เรียกร้อง
แต่ไม่
เกินหนึ่ง
ลักษณะของคดี ทุนทรัพย์ อัตรา หมายเหตุ

แสน
บาท
 
  ส่วนที่เกิน ร้อยละ  
ห้าสิบล้าน ๐.๑
บาทขึน
้ ไป
 
(๒) คดีที่มีคำขอให้ปลดเปลื้อง      
ทุกข์อันไม่อาจคำนวณเป็ น
ราคาเงินได้
(ก) คดีทั่วไปรวมทัง้ คดีไม่มีข้อ   เรื่องละ  
พิพาท ๒๐๐
บาท
 
(ข) อุทธรณ์หรือฎีกาคำสั่งตาม   เรื่องละ การอุทธรณ์
มาตรา ๒๒๗ หรือมาตรา ๒๐๐ หรือฎีกาคำสั่ง
๒๒๘ (๒) และ (๓) บาท ตามมาตรา
๒๒๘ (๑) ไม่
เรียกเก็บค่าขึน

ศาล
 
(๓) คดีท ี่ม ีคำ ขอให้ป ลดเปลื้อ ง   ให้คิดค่า  
ทุกข์อันอาจคำนวณเป็ นราคา ขึน
้ ศาล
ลักษณะของคดี ทุนทรัพย์ อัตรา หมายเหตุ

เงินได้และไม่อาจคำนวณเป็ น ตาม
ราคาเงินได้รวมอยู่ด้วย อัตราใน
(๑) แต่
ไม่ให้
น้อยกว่า
อัตราใน
(๒) (ก)
หรือ (ข)
แล้วแต่
กรณี
 
(๔) คดีท ี่ข อให้ชำ ระค่า เสีย หาย   ๑๐๐  
ค่า อุป การะเล ย
ี ้ ง ด ู หรือ ค ่า บาท
เลีย
้ งชีพ ก็ด ี เงิน ปี เงิน เดือ น
เงินเบีย
้ บำนาญ ค่าบำรุงรักษา
หรือเงินอื่น ๆ ก็ดี บรรดาที่ให้
จ่า ยมีกำ หนดเป็ นระยะเวลา
ในอนาคตนอกจากดอกเบีย
้ ค่า
เช่า หรือ ค่า เสีย หายที่ศ าลมี
อำ นาจพิพ ากษาหรือ สัง่ ตาม
มาตรา ๑๔๒ อยู่แ ล้ว ถ้า คดี
นัน
้ มีคำ ขอให้ชำ ระหนีใ้ นเวลา
ปั จจุบ ัน หรือ มีคำ ขอในข้อ
ลักษณะของคดี ทุนทรัพย์ อัตรา หมายเหตุ

ก่อ น ๆ รวมอยู่ด้ว ย ให้ค ิด ค่า


ขึน
้ ศาลสำ หรับ คำ ขอในข้อ นี ้
เป็ นอีกส่วนหนึ่ง
 

ตาราง ๒
ค่าธรรมเนียมศาล (ค่าธรรมเนียมอื่น ๆ)[๓๗๐]
                  
 
ศาลฎีกา
ลักษณะแห่ง ศาลชัน

และศาล ชำระเมื่อใด
กระบวนพิจารณา ต้น
อุทธรณ์
(๑) ค่า คำ ร้อ งขอตามมาตรา
๑๐๑ ในกรณีที่ยังไม่มีคดีอยู่ ๑๐๐ เมื่อยื่น
ในศาล - บาท คำร้องขอ
(๒) ค่ารับรองสำเนาเอกสารต่าง
ๆ โ ด ย ห ัว ห น ้า สำ น ก
ั งาน
ประจำศาลยุติธรรมหรือเจ้า
พนัก งานบัง คับ คดีเ ป็ นผู้ร ับ ๕๐ เมื่อยื่น
รอง ฉบับละ ๕๐ บาท บาท คำร้อง
(๓) ใบสำ คัญ เพื่อ แสดงว่า คำ ๕๐ บาท ๕๐ เมื่อยื่น
พิพากษาหรือคำสั่งได้ถึงที่สุด บาท คำร้อง
แล้ว ฉบับละ
       

ตาราง ๓
ค่าสืบพยานหลักฐานนอกศาล[๓๗๑]
                  
 
ในกรณีที่มีการสืบพยานหลักฐานนอกศาล ให้คิดค่าป่ วยการ
ให้ผพ
ู้ ิพากษาในอัตราต่อคนวันละสามร้อยบาท และให้คด
ิ ค่าป่ วยการให้เจ้า
พนักงานศาลในอัตราต่อคนวันละหนึง่ ร้อยห้าสิบบาท โดยให้ชำระเมื่อศาล
มีคำสัง่ อนุญาต
ในคดีที่มีการรวมการพิจารณา ให้คิดค่าป่ วยการโดยถือว่าเป็ น
คดีเดียว
ในกรณีที่มีค ู่ค วามหลายฝ่ ายหรือหลายคนเป็ นผู้ข อ ให้เ ฉลี่ย
กันชำระค่าป่ วยการในอัตราตามวรรคหนึ่งคนละส่วนเท่า ๆ กัน
ในกรณีจำเป็ น ศาลอาจสัง่ ให้คู่ความฝ่ ายที่ขอหรือฝ่ ายใดฝ่ าย
หนึ่งหรือหลายฝ่ ายเป็ นผู้จัดการหาพาหนะ ถ้าไม่จัดพาหนะมาให้ จะต้อง
ชดใช้ค่าพาหนะที่เสียไปตามสมควร
 

ตาราง ๔
ค่าป่ วยการ ค่าพาหนะ และค่าเช่าทีพ
่ ักของพยาน กับค่ารังวัดทำ
แผนที่[๓๗๒]
                  
 
(๑) ให้ศาลกำหนดค่าป่ วยการพยานตามรายได้และฐานะของ
พยานซึ่ง มาศาลตามหมายเรีย ก แต่ไ ม่ใ ห้เ กิน วัน ละสี่ร ้อ ยบาท กับ ค่า
พาหนะเดินทางและค่าเช่าที่พก
ั ของพยานที่เสียไปด้วยตามสมควร
(๒) ในกรณีที่ศาลสัง่ ให้รังวัดทำแผนที่
(ก) โดยเจ้าพนักงานศาล ให้ศาลกำหนดค่าป่ วยการให้แก่
เจ้าพนักงานศาลในอัตราต่อคนวันละสองร้อยบาท กับค่าพาหนะเดินทาง
และค่าเช่าที่พก
ั ของเจ้าพนักงานศาลที่เสียไปตามสมควร
(ข) โดยพนักงานเจ้าหน้าทีข
่ องส่วนราชการหรือหน่วยงาน
อื่น ให้ศาลกำหนดค่า ป่ วยการ ค่าพาหนะเดินทาง และค่าเช่า ที่พ ัก ของ
พนักงานเจ้าหน้า ที่ต ามระเบียบของส่วนราชการหรือ หน่ว ยงานนัน
้ ถ้า
ส่วนราชการหรือหน่วยงานนัน
้ ไม่มีระเบียบดังกล่าวให้คิดตามอัตรา (ก)

ตาราง ๕
ค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดี[๓๗๓]
 
ค่าธรรมเนียม จำนวน หมายเหตุ
๑ . ข า ย ท อ ด ต ล า ด ร ้อ ย ล ะ ๓ ข อ ง ท งั ้ น ี ้ ต ้อ ง เ ส ีย ค ่า
หรือ จำหน่า ยโดย จำนวนเงินที่ขายหรือ ป ร ะ ก า ศ แ ล ะ ค ่า
วิธีอ่ น
ื ซึ่งทรัพย์สิน จำหน่ายได้ ใช้สอยต่างหาก
ที่ยึดหรืออายัด
 
๒. จ่า ยเงิน ที่ย ึด หรือ ร ้อ ย ล ะ ๒ ข อ ง  
อายัดแก่เจ้าหนี ้ จำนวนเงิน ที่ย ึด หรือ
  อายัด
๓. เมื่อ ยึด ทรัพ ย์ส ิน ร้อ ยละ ๒ ของราคา ส ่ว น ก า ร ค ํา น ว ณ
ซึ่งไม่ใช่ตัวเงินแล้ว ทรัพย์สินที่ยึด ราคาทรัพ ย์ส ิน ที่ย ึด
ไม่ม ีก ารขายหรือ หรืออายัดเพื่อเสียค่า
จำหน่าย ธ ร ร ม เ น ีย ม ต า ม
  หมายเลข ๓ และ ๔
๔. เมื่อ ยึดหรืออายัด ร ้อ ย ล ะ ๑ ข อ ง ให้เจ้าพนักงานบังคับ
เ ง ิน ห ร ือ อ า ย ัด จำนวนเงิน ที่ย ึด หรือ คดีเ ป็ นผู้กำ หนด ถ้า
ท ร ัพ ย ์ส ิน แ ล ้ว อ า ย ัด ห ร ือ ร า ค า ไม่ตกลงกันให้คู่ความ
ไม่ม ีก ารขายหรือ ทรัพย์สินที่อายัด ที่เกี่ยวข้องเสนอเรื่อง
จำหน่าย ต่อศาลตามที่บัญญัติ
  ไว้ในมาตรา ๒๙๖
๕. ขายโดยวิธีประมูล ร้อ ยละ ๒ ของราคา
ระหว่างคู่ความ ประมูลสูงสุด
 
 

ตาราง ๖
ค่าทนายความ[๓๗๔]
                  
 
(๑) ให้ศ าลกำ หนดค่า ทนายความตามจำ นวนที่ศ าลเห็น
สมควรไม่เกินอัตราขัน
้ สูงดังที่ระบุไ ว้ในตารางนี ้ แต่ต้อ งไม่ต ่ำกว่าคดีล ะ
สามพันบาท
(๒) การกำหนดค่า ทนายความที่ค ู่ความจะต้อ งรับ ผิด นัน
้ ให้
ศาลพิจารณาตามความยากง่ายแห่งคดีเทียบดูเวลาและงานที่ทนายความ
ต้องปฏิบัติในการว่าคดีเรื่องนัน

 

อัตรา คดีมีทุนทรัพย์ คดีไม่มีทุนทรัพย์

 
อัตราขัน
้ สูงในศาลชัน
้ ต้น ร้อยละ ๕ ๓๐,๐๐๐ บาท
 
 
อัตราขัน
้ สูงในศาลอุทธรณ์
ร้อยละ ๓ ๒๐,๐๐๐ บาท
หรือศาลฎีกา
 
 

ตาราง ๗
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดี[๓๗๕]
                  
 
ศาลอาจกำหนดให้ค ู่ความซึ่งต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียม
ตามมาตรา ๑๖๑ ชดใช้ค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีแก่คู่ความอีกฝ่ ายตาม
จำ นวนที่ศ าลเห็น สมควร โดยในคดีม ีท ุน ทรัพ ย์ต ้อ งไม่เ กิน  ร้อ ยละ ๑
ของจำนวนทุนทรัพย์ หรือในคดีไม่มีทุนทรัพย์ต้องไม่เกินห้าพันบาท
การกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีตามวรรคหนึ่ง ให้ศาล
คำนึง ถึงค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่ค ค
ู่ วามได้เ สียไป รวมทัง้ ลัก ษณะและวิธีก าร
ดำเนินคดีของคู่ความ

พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉะบับ
ที่ ๒) พุทธศักราช ๒๔๘๗[๓๗๖]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใช้บ ังคับ ได้เ มื่อ พ้น หกสิบ วัน
นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉะ
บับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๙๒[๓๗๗]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๔) พ.ศ. ๒๔๙๓[๓๗๘]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ิน ใี ้ ห้ใช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัด ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๕) พ.ศ. ๒๔๙๙[๓๗๙]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใช้บ ังคับ ได้เ มื่อ พ้น หกสิบ วัน
นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี ้ คือ เพื่อให้
คดีลล
ุ ่วงไปโดยรวดเร็วยิ่งขึน
้ และแก้ข้อขัดข้องของศาลและคู่ความในการ
ดำเนินกระบวนพิจารณาบางประการที่สำ คัญ ทัง้ สมควรปรับปรุง แก้ไข
อัตราที่กำหนดไว้ในตารางท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งให้
เหมาะสมด้วย
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๑๘[๓๘๐]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญญัตินใี ้ ห้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบ
วัน นับ แต่ว ัน ประกาศในราชกิจ จานุเ บกษาเป็ นต้น ไป เว้น แต่ม าตรา ๘
มาตรา ๙ และมาตรา ๑๐ ให้ใช้บังคับตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๑๐  การบังคับคดีตามคำพิพากษา หรือคำสั่งที่ยังไม่
เสร็จ สิน
้ ลงในวัน ที่พ ระราชบัญ ญัต ิน ใี ้ ช้บ ัง คับ หากมิไ ด้เ ป็ นไปตาม
บทบัญ ญัต ิแ ห่ง ประมวลกฎหมายวิธ ีพ ิจ ารณาความแพ่ง มาตรา ๒๘๕
หรือ มาตรา ๒๘๖ ซึง่ แก้ไ ขเพิ่ม เติม โดยพระราชบัญ ญัต ิน ี ้ เมื่อ ศาลเห็น
สมควรหรือ เมื่อ ลูก หนีต
้ ามคำ พิพ ากษาหรือ เมื่อ ผู้ม ีส ่ว นได้เ สีย ในการ
บัง คับ คดีย่ ืน คำขอโดยทำเป็ นคำร้อ งให้ศ าลสั่ง เพิกถอนเสียทัง้ หมดหรือ
บางส่วน หรือสั่งแก้ไขหรือมีคำ สัง่ ในเรื่องนัน
้ อย่างใดอย่างหนึ่งให้เป็ นไป
ตามบทบัญญัติดังกล่าว  ทัง้ นี ้ เว้นแต่การบังคับคดีตามคำพิพากษา หรือ
คำสัง่ ที่กำ หนดสิทธิเรียกร้องเป็ นเงินของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา อันไม่อยู่
ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตามมาตรา ๒๘๖ (๑) หรือ (๓) ที่มีจำนวน
น้อยกว่าอัตราเงินเดือนขัน
้ ต่ำสุดของข้าราชการพลเรือนในวันที่พระราช
บัญญัตินใี ้ ช้บังคับ ให้ถือว่าเป็ นจำนวนเงินที่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการ
บังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนัน
้ มีจำนวนเท่ากับอัตราเงินเดือนขัน

ต่ำสุดของข้าราชการพลเรือนในวันที่พระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ
 
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ เพื่อ
ให้ก ารพิจ ารณาพิพ ากษาคดีใ นศาลอุท ธรณ์แ ละศาลฎีก าลุล ่ว งไปโดย
เหมาะสมและรวดเร็วยิ่งขึน
้ และเพื่อเป็ นหลักประกันในการดำรงชีพของ
ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาให้ดีขน
ึ ้ กว่าเดิม  จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัติ
แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๒๑[๓๘๑]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ
เนื่องจากค่าขึน
้ ศาล ค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ค่าสืบพยานนอกศาล ค่าป่ วยการ
และค่า พาหนะพยานกับ ค่า รัง วัด ทำแผนที่ และอัต ราค่า ทนายความที่
กำหนดไว้ในตารางท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งที่ใช้อยู่ได้
กำหนดไว้นานมาแล้ว ไม่เหมาะสมแก่ภาวะการณ์ในปั จจุบัน สมควรแก้ไข
ให้เ หมาะสมยิ่ง ขึน
้ และควรแก้ไ ขเพิ่ม เติม มาตรา ๑๕๑ แห่ง ประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ให้สอดคล้องกันด้วย  จึงเป็ นต้องตราพระ
ราชบัญญัตินข
ี้ น
ึ้
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๒๒[๓๘๒]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญญัตินใี ้ ห้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบ
วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพ ิจารณาความแพ่ง ที่ใช้บ ังคับอยู่ใน
ปั จจุบ ัน มิไ ด้ใ ห้อำ นาจศาลที่จ ะสั่ง ให้ส ่ง คำคู่ค วามหรือ เอกสารโดยทาง
ไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับในโอกาสแรก ทำให้คู่ความต้องเสียเวลาและ
เสียค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีเพิ่มมากขึน
้ โดยไม่จำเป็ น สมควรให้มีการส่ง
คำคู่ความหรือเอกสารโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับในโอกาสแรก
ได้  จึงเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินข
ี้ น
ึ้
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๒๗[๓๘๓]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ:- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพ ิจารณาความแพ่ง ที่ใช้บ ังคับอยู่ใน
ปั จจุบ ัน กำหนดให้ชำ ระหรือ วางค่า ธรรมเนีย มโดยวิธ ีปิ ดแสตมป์ ตาม
จำนวนที่ต้องปิ ดลงไว้ในคำคู่ความคำร้อง ใบรับหรือเอกสารที่เกี่ยวข้อ ง
ซึง่ เป็ นเหตุให้เกิดความล่าช้าและไม่สะดวกในการเรียกเก็บและการชำระ
หรือวางค่าธรรมเนียมศาล และการตรวจสอบคำคู่ความของศาล ทัง้ ยัง
เป็ นการสิน
้ เปลืองงบประมาณและเป็ นภาระในการจัดพิมพ์ และการเก็บ
รักษาแสตมป์ ฤชาอากรอีก ด้วย สมควรแก้ไขเพิ่มเติมให้มีการชำระหรือ
วางค่าธรรมเนียมศาลเป็ นเงินสดโดยเจ้าพนักงานศาลออกใบรับให้ และ
สมควรแก้ไ ขเพิ่มเติมบทบัญ ญัต ิเกี่ยวกับ การตรวจคำคู่ความของศาลให้
สอดคล้องกับการชำระหรือวางค่า ธรรมเนียมศาลดัง กล่า วด้วย  จึง เป็ น
ต้องตราพระราชบัญญัตินข
ี้ น
ึ้
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๒๗[๓๘๔]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งที่ใช้บังคับอยู่ในปั จจุบัน
(๑) มีหลักเกณฑ์และวิธีการในการเลื่อนการพิจารณาคดีของ
ศาลที่ยัง ไม่รัด กุม พอ และมิไ ด้ม ีบ ทบัญ ญัต ิใ ห้อำ นาจศาลในการสั่ง ให้ค ู่
ความฝ่ ายซึ่งขอเลื่อนคดีเสียค่าป่ วยการพยานซึ่งมาศาลตามหมายเรียก
และเสียค่าใช้จ่ายในการที่คู่ความฝ่ ายอื่นมาศาล
(๒) มีหลักเกณฑ์ในการที่ศาลจะสัง่ ตัง้ เจ้าพนักงานหรือแพทย์
ไปตรวจตัวความผู้แทน ทนายความ พยาน หรือบุคคลอื่นใดที่ถ ูกเรียกให้
มาศาลแต่มาศาลไม่ได้เพราะอ้างว่าป่ วยเจ็บอันเป็ นเหตุให้มีการขอเลื่อน
การนั่งพิจารณาที่ยังไม่รัดกุมพอ
(๓) มิได้กำหนดให้เป็ นหน้าที่ของทนายความในคดี ซึ่งมีความ
ประสงค์จะถอนตัวจากการเป็ นทนาย ที่จะต้องแจ้งให้ตัวความทราบก่อน
อันเป็ นเหตุให้มีก ารใช้สิทธิในการถอนตัว จากการเป็ นทนายเพื่อ ประวิง
การพิจารณาคดีได้ ทำให้การพิจารณาคดีล่าช้า
(๔) มิได้กำหนดให้โจทก์เสียค่าธรรมเนียมในการส่งคำฟ้ องโดย
ชัดแจ้งและมิได้มีการกำหนดวิธีการส่งคำฟ้ องให้เหมาะสมกับสภาพการณ์
ในปั จจุบัน ซึง่ บทบัญญัติที่ใช้บังคับอยู่ในปั จจุบันกำหนดให้โจทก์มีหน้าที่
ส่งคำฟ้ องแก่จำเลย แต่ในทางปฏิบัติโจทก์มิได้นำส่งเอง และในปั จจุบันก็
ไม่มีค วามจำเป็ นที่จะต้องให้โ จทก์มีห น้า ที่ส ่ง คำฟ้ องแก่จำ เลยในทุก คดี
เพราะการคมนาคมสะดวกขึน
้ ในหลายท้องที่แล้ว
(๕) กำหนดเวลาที่โจทก์จะต้องร้องต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อ
ให้ส่งหมายและสำเนาคำฟ้ องไปให้แก่จำเลยเพื่อแก้คดี ซึ่งกำหนดไว้สิบห้า
วันนับแต่วันยื่นคำฟ้ องนัน
้ เป็ นกำหนดเวลาที่นานเกินไป
(๖) กำหนดเวลาที่โจทก์จะต้องแจ้งให้ศาลทราบเหตุแห่งการ
เพิกเฉยไม่ร้องขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อให้ส่งหมายเรียกให้แก้คดีแก่
จำเลย โดยที่การไม่แจ้งตามกำหนดเวลาดังกล่าวถือว่าโจทก์ทงิ ้ ฟ้ อง ซึง่
กำหนดไว้สิบห้าวันนับแต่วันยื่นคำฟ้ องนัน
้ เป็ นกำหนดเวลาที่นานเกินไป
(๗) มิไ ด้กำ หนดให้ค ค
ู่ วามมาศาลในวัน ชีส
้ องสถาน อัน เป็ น
เหตุให้ค ค
ู่ วามมัก จะขอเลื่อนคดีในวัน นัด สืบ พยานครัง้ แรก และศาลไม่
อาจดำเนินการไกล่เกลี่ยให้คู่ความได้ตกลงประนีประนอมหรือยอมรับใน
ประเด็นข้อพิพาทที่อาจตกลงกันได้
(๘) มีห ลัก เกณฑ์ก ารบังคับ คดีในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับ การขอเฉลีย

ทรัพย์สน
ิ ทีย
่ งั ไม่รด
ั กุมพอ ทำให้เกิดความไม่เป็ นธรรมแก่เจ้าหนีผ
้ ู้ขอเฉลี่ย
ทรัพย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่เจ้าพนักงานผู้มีอำ นาจตามกฎหมาย
ว่าด้วยภาษีอากรได้ยึดหรืออายัดทรัพย์สินนัน
้ ไว้ก่อนแล้ว และในกรณีที่
เจ้า หนี ผ
้ ู้ยึดทรัพย์สินสละสิทธิในการบังคับคดีหรือเพิกเฉยไม่ดำ เนินการ
บังคับคดีภายในเวลาที่เจ้าพนักงานบังคับคดีกำหนด
(๙) มิได้กำหนดให้อำนาจศาลสั่งถอนการบังคับคดี ถ้าเจ้าหนี ้
ตามคำพิพากษาไม่ดำ เนินการบังคับคดีภายในระยะเวลาที่เจ้าพนัก งาน
บังคับคดีกำหนด
(๑๐) มิได้กำ หนดให้เจ้าพนักงานบังคับคดีขอหมายบังคับคดี
เพื่อชำระเป็ นค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดี ในกรณีที่มีการยึดหรือ
อายัด ทรัพ ย์ส ิน ซึ่ง มิใ ช่ต ัว เงิน หรือ ในกรณีย ึด หรือ อายัด เงิน หรือ อายัด
ทรัพ ย์ส ินแล้วไม่มีการขายหรือ จำหน่า ยเนื่อ งจากเจ้า พนัก งานบัง คับคดี
ถอนการบัง คับ คดีน ัน
้ เอง หรือ ถอนโดยคำสั่ง ศาล และผู้ข อให้ย ึด หรือ
อายัดไม่ชำระค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดี
(๑๑) มิไ ด้ม ีบ ทบัญ ญัต ิเ กี่ย วกับ บัง คับ คดีใ นการฟ้ องขับ ไล่ท ี่
รัด กุม พอ ทำ ให้ก ารบัง คับ คดีใ นคดีฟ้ องขับ ไล่ป ระสบปั ญหาและขาด
ประสิทธิภาพ เนื่องจากลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาที่ถูกพิพากษาให้ขับไล่หรือ
ต้องรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างออกไปจากอสังหาริมทรัพย์ ที่อยู่อาศัยหรือทรัพย์
ที่ครอบครองไม่ยอมปฏิบัติตามคำบังคับของศาลโดยใช้วิธีหลีกเลี่ยงต่าง ๆ
สมควรแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ในส่วนที่เกี่ยวกับกรณีดัง กล่าวเสียใหม่เพื่อให้ก ารพิจารณาพิพ ากษาคดี
แพ่ง และการบัง คับ คดีใ นคดีฟ้ องขับ ไล่ม ีป ระสิท ธิภ าพ สามารถอำนวย
ความยุติธรรมมากขึน
้   จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินข
ี้ น
ึ้
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๓๐[๓๘๕]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ
เนื่อ งจากได้ม ีก ารประกาศใช้ก ฎหมายว่า ด้ว ยอนุญ าโตตุล าการ ซึ่ง เป็ น
กฎหมายที่บัญญัติถึงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเสนอข้อพิพาท การพิจารณา
การทำคำชีข
้ าด และการบังคับตามคำชีข้ าดของอนุญาโตตุลาการนอกศาลไว้
โดยเฉพาะแล้ว สมควรยกเลิกบทบัญญัติว่าด้วยอนุญาโตตุลาการนอกศาล
ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (มาตรา ๒๒๑)  จึง เป็ นต้อ ง
ตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๓๔[๓๘๖]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจ จานุเ บกษาเป็ นต้น ไป เว้น แต่ม าตรา ๘ มาตรา ๑๐
มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๒ มาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๖
มาตรา ๑๘ และมาตรา ๑๙ ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พ ระราชบัญญัตฉ
ิ บับ นี ้ คือ โดยที่
บทบัญญัตวิ า่ ด้วยเขตอำนาจศาลในประมวลกฎหมายวิธีพ ิจารณาความ
แพ่ง ที่ใ ช้บ ัง คับ อยู่ใ นปั จจุบ ัน ได้ก ่อ ให้เ กิด ปั ญหาและความไม่เ ป็ นธรรม
เนื่องจากโจทก์ซึ่งมีภูมลำ
ิ เนาอยู่ในราชอาณาจักรไม่สามารถฟ้ องคดีจำเลย
ซึง่ ไม่มีภูมิลำ เนาอยู่ในราชอาณาจักรได้ตราบใดที่ยังไม่สามารถส่งหมาย
เรียกให้แก่จำ เลยในราชอาณาจักรได้ แต่ในทางกลับกันโจทก์หรือ จำเลย
ซึง่ มีภูมิลำเนาอยู่ในต่างประเทศสามารถฟ้ องจำเลยหรือฟ้ องแย้งโจทก์ซึ่ง
มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักรได้ และบทบัญญัติเรื่องเขตอำนาจศาลโดย
ทั่วไปยังไม่เ หมาะสม ก่อให้เกิด ความไม่ส ะดวกในการดำเนิน คดีในศาล
ประกอบกับ ในปั จจุบ ัน ยัง ไม่ม ีบ ทบัญ ญัต ิเ กี่ยวกับ การส่ง คำคูค
่ วามและ
เอกสารให้แก่จำเลยหรือบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้องซึ่งไม่มีภ ูมิลำเนาอยู่ใน
ราชอาณาจัก รไว้โ ดยตรงคงอาศัย วิธ ีป ฏิบ ัต ิข องกระทรวงยุต ิธ รรมและ
กระทรวงการต่างประเทศเป็ นสำคัญซึ่งต้องใช้เวลานานมากและในบาง
ครัง้ ก็ไม่อาจส่งให้แก่บุคคลดังกล่าวได้ ทำให้การดำเนินคดีเป็ นไปได้ด้วย
ความล่าช้าและยุ่งยาก นอกจากนี ้ การพิจารณาคดีของศาลชัน
้ ต้นบางคดี
ได้ประสบความล่าช้าเนื่องจากการประวิงคดีของคู่ความบางฝ่ าย ทัง้ หลัก
เกณฑ์ก ารฟ้ องคดีม โนสาเร่แ ละคดีไ ม่ม ีข ้อ ยุ่ง ยากที่ใ ช้บ ัง คับ อยู่ม ีข ้อ
บกพร่องไม่สามารถนำมาบังคับใช้กับสภาพเศรษฐกิจและสังคมขณะนีไ้ ด้
อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ และคดีที่ขน
ึ ้ สู่การพิจารณาของศาล
อุทธรณ์และศาลฎีกาก็ได้เพิ่มขึน
้ เป็ นอย่างมากทำให้ศาลอุทธรณ์และศาล
ฎีกาไม่สามารถพิจารณาพิพากษาคดีให้เสร็จลุล่วงไปได้โดยรวดเร็ว ทำให้
คดีค ้า งพิจ ารณาอยู่เ ป็ นจำ นวนมาก เพื่อ แก้ไ ขปั ญหาดัง กล่า วข้า งต้น
สมควรปรับ ปรุง บทบัญ ญัต ิว ่า ด้ว ยเขตอำนาจศาลโดยกำหนดให้โ จทก์
สามารถฟ้ องคดีจำเลยซึ่งไม่มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักรได้ง่ายขึน
้ กว่า
เดิม และกำหนดให้การฟ้ องคดีห รือ การร้องขอต่อ ศาลโดยทั่วไปเป็ นไป
โดยสะดวกและเป็ นธรรมยิ่งขึน
้ และสมควรเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการ
ส่งคำคูค
่ วามและเอกสารให้แก่จำเลยซึง่ ไม่มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักร
โดยกำหนดให้การส่งคำคู่ความและเอกสารดังกล่าวเป็ นไปโดยสะดวกและ
รวดเร็ว ยิ่ง ขึน
้ กับ แก้ไ ขปรับ ปรุง ให้ศ าลมีด ุล พิน ิจ ในการกำ หนดอัต รา
ดอกเบีย
้ สูงกว่าอัตราที่โจทก์มีสิทธิได้รับตามกฎหมายในกรณีที่ จำเลยต้อง
ชำระเงินพร้อมดอกเบีย
้ แก่โจทก์ในกรณีที่ศาลเห็นว่า จำเลยมีพฤติการณ์
ประวิง คดีใ ห้ล ่า ช้า โดยไม่ส ุจ ริต ปรับ ปรุง หลัก เกณฑ์ใ นการฟ้ องคดี
มโนสาเร่และคดีไม่มีข้อยุ่งยากให้ทำ ได้กว้างขวางและสะดวกรวดเร็วขึน

และปรับปรุงหลักเกณฑ์ในการอุทธรณ์ฎีกาให้ทำ ได้เฉพาะคดีที่มีเหตุผล
สมควรที่จะขึน
้ สู่การพิจารณาของศาลอุทธรณ์และศาลฎีการวมทัง้ แก้ไข
บทบัญญัติอ่ น
ื ที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกันด้วย  จึงจำเป็ นต้องตราพระราช
บัญญัตินข
ี้ น
ึ้
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๓๕[๓๘๗]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ิน ใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ เมื่อ พ้น กำหนดหนึ่ง
ร้อยยี่สิบวัน นับแต่วัน ประกาศในราชกิจ จานุเ บกษาเป็ นต้น ไป เว้น แต่
มาตรา ๙ ให้ใช้บ ัง คับ ตัง้ แต่วัน ถัด จากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็ นต้นไป
 
มาตรา ๑๘  พระราชบัญญัตินไี ้ ม่ใช้บังคับแก่บรรดาคดีที่ได้ย่ น

ฟ้ องไว้แ ล้วก่อนวัน ที่พ ระราชบัญ ญัต ินใี ้ ช้บ ัง คับ และให้ใช้ก ฎหมายที่ใ ช้
บังคับอยู่ในวันที่ย่ น
ื ฟ้ องนัน
้ บังคับแก่คดีดังกล่าวจนกว่าคดีจะถึงที่สุด เว้น
แต่ม าตรา ๙ ให้ใ ช้บ ัง คับ แก่ค ดีท ี่ไ ด้ย่ น
ื ฟ้ องไว้แ ล้ว ก่อ นวัน ที่พ ระราช
บัญญัตินใี ้ ช้บังคับด้วย
 
มาตรา ๑๙  ให้รัฐมนตรีว่า การกระทรวงยุต ิธ รรมรัก ษาการ
ตามพระราชบัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ
เนื่อ งจากบทบัญ ญัต ิข องประมวลกฎหมายวิธ ีพ ิจ ารณาความแพ่ง ที่ใ ช้
บังคับอยู่ในปั จจุบันได้กำ หนดให้มีกระบวนพิจารณาชัน
้ ชีส
้ องสถานเพื่อ
ประโยชน์ใ นการทำ ให้ก ารพิจ ารณาคดีส ะดวกและรวดเร็ว ขึน
้ แต่
บทบัญญัติดังกล่าวไม่สามารถปฏิบัติให้สมประโยชน์ได้เพราะกำหนดให้
เป็ นดุลพิน ิจของศาลที่จะทำการชีส
้ องสถานหรือ ไม่ก ็ไ ด้ และไม่มีส ภาพ
บัง คับให้ค ค
ู่ วามต้องมาศาลในวันชีส
้ องสถาน หากไม่มาคู่ค วามก็ไ ม่เ สีย
ส ิท ธิใ นการ ดำ เน ิน ก ระ บ วน ก า รพ ิจ า ร ณ า แ ต ่อ ย ่า ง ใด น อก จา กน ี ้
บทบัญญัติเกี่ยวกับการอ้างพยานหลักฐานและการส่งพยานหลัก ฐานไม่
รัดกุมและเอื้ออำนวยแก่การชีส
้ องสถาน กล่าวคือ เปิ ดโอกาสให้มีการอ้าง
พยานหลัก ฐานกัน อย่างฟุ ่มเฟื อย หรือ อ้า งพยานหลัก ฐานที่อ ยู่ใ นความ
ครอบครองของบุคคลภายนอก หรือระบุอ้างพยานที่จะต้องส่งประเด็นไป
สืบ ยัง ศาลอื่น ไว้ม ากเกิน ความจำเป็ น หรือ ระบุอ ้า งในลัก ษณะเป็ นการ
ประวิง คดีทำ ให้ก ารพิจารณาคดีล ่า ช้า และไม่ให้โ อกาสศาลได้ท ราบถึง
พยานหลัก ฐานของคู่ค วามก่อ นวัน ชีส
้ องสถาน เพื่อ ให้ศ าลสามารถ
สอบถามให้คู่ความรับกันได้ในบางประเด็นหรือทุก ประเด็น อัน จะทำให้
สามารถตัดประเด็น ที่ไ ม่จำ เป็ นออกและกำหนดประเด็น ข้อ พิพ าทและ
หน้า ที่นำ สืบได้อย่างถูกต้องครบถ้วนทำให้คดีเสร็จไปโดยรวดเร็ว อีกทัง้
บทบัญ ญัต ิว ่า ด้ว ยการประชุม ใหญ่ข องศาลฎีก ายัง ไม่ค ลุม ถึง กรณีท ี่ม ี
กฎหมายกำหนดให้มีก ารวิน ิจฉัยปั ญหาโดยที่ป ระชุม ใหญ่ข องศาลฎีก า
สมควรกำหนดให้ศ าลทำการชีส
้ องสถานทุก คดี เว้น แต่ค ดีท ี่ไ ม่ม ีค วาม
จำเป็ น และกำหนดให้คู่ความทุกฝ่ ายยื่นคำแถลงเสนอประเด็นข้อพิพาท
ยื่นบัญชีระบุพยาน และส่งสำเนาพยานเอกสารที่ได้อ้างอิงไว้ต่อศาลก่อน
วัน ชีส
้ องสถาน เพื่อ ให้ศ าลทราบถึง พยานหลัก ฐานของค ค
ู่ วามและ
สามารถกำหนดประเด็น ข้อพิพ าทและหน้า ที่นำ สืบ ได้อ ย่า งถูก ต้อ งครบ
ถ้วน รวมทัง้ กำหนดให้มีก ารยื่น ต้น ฉบับ พยานเอกสารและพยานวัต ถุที่
สำคัญต่อศาลในวันชีส
้ องสถาน เพื่อให้ค ู่ความสามารถแสดงพยานหลัก
ฐานหัก ล้างกัน ในประเด็น ข้อพิพ าท สมควรแก้ไ ขเพิ่มเติม บทบัญ ญัต ิว่า
ด้วยการประชุมใหญ่ของศาลฎีกาให้คลุมถึงกรณีที่มีกฎหมายกำหนดให้มี
การวิน ิจ ฉัย ปั ญหาโดยที่ป ระชุม ใหญ่ข องศาลฎีก า และสมควรแก้ไ ข
บทบัญญัตอ
ิ ่น
ื ทีเ่ กีย
่ วข้องให้สอดคล้องกันด้วย  จึงจำเป็ นต้องตราพระราช
บัญญัตน
ิ ข
ี้ น
ึ้
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๓๘[๓๘๘]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๑๕  พระราชบัญ ญัต ิน ไี ้ ม่ม ีผ ลกระทบถึง กระบวน
พิจ ารณาใด ๆ ที่ไ ด้ก ระทำไปแล้ว ก่อ นวัน ที่พ ระราชบัญ ญัต ิน ใี ้ ช้บ ัง คับ
ส่วนกระบวนการพิจารณาใดที่ยังมิได้กระทำจนล่วงพ้นกำหนดเวลาที่จะ
ต้องกระทำตามกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ก่อนพระราชบัญญัตินี ้ แต่ยังอยู่ใน
กำหนดเวลาที่อ าจกระทำได้ต ามพระราชบัญ ญัต ิน ี ้ ให้ดำ เนิน กระบวน
พิจารณานัน
้ ได้ภายในกำหนดเวลาตามพระราชบัญญัตินี ้
 
มาตรา ๑๖  ให้รัฐมนตรีว่า การกระทรวงยุต ิธ รรมรัก ษาการ
ตามพระราชบัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ
เนื่อ งจากหลัก เกณฑ์เ กี่ย วกับ การชีส
้ องสถานและระยะเวลาในการยื่น
บัญชีระบุพยานตามที่กำหนดไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ในปั จจุบน
ั ยังไม่เหมาะสม ไม่ชว่ ยทำให้การพิจารณาคดีสะดวกและรวดเร็ว
ขึน
้ ตามทีม
่ งุ่ หมายไว้  สมควรแก้ไขหลักเกณฑ์ดังกล่าวให้เหมาะสมยิ่งขึน
้   จึ
งจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินข
ี้ น
ึ้
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๓๘[๓๘๙]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
เป็ นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง ว่า ด้ว ยวิธ ีก ารชั่ว คราวก่อ นพิพ ากษาเสีย ใหม่ โดยกำ หนดให้
จำเลยมีส ิท ธิย่ ืน คำร้อ งขอให้โ จทก์ว างเงิน ต่อ ศาลหรือ หาประกัน มาให้
เพื่อ การชำระค่าฤชาธรรมเนียมในชัน
้ อุทธรณ์ห รือ ชัน
้ ฎีก าได้ด ้วย  ทัง้ นี ้
เพื่อ ความเป็ นธรรมแก่จำ เลยในกรณีท ี่ป รากฏข้อ เท็จ จริง ในชั น
้ การ
พิจารณาของศาลอุทธรณ์ห รือ ศาลฎีกาว่า โจทก์จะหลีกเลี่ยงไม่ ชำ ระค่า
ฤชาธรรมเนียมและปรับปรุงวิธก
ี ารชัว่ คราวก่อนพิพากษาให้คลุมถึงการขอให้
ระงับ แก้ไข หรือเพิกถอน การดำเนินการทางทะเบียนที่เกี่ยวกับทรัพย์สิน
ที่พิพาทหรือทรัพย์สินของจำเลยหรือที่เกี่ยวกับการกระทำที่ถูกฟ้ องร้อง
กับแก้ไขผลบังคับของคำสั่งศาลตามคำขอในวิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษา
ในส่วนที่เ กี่ย วกับ ทรัพ ย์ส ิน ที่พ ิพ าทหรือ ทรัพ ย์ส ิน ของจำเลย ให้ม ผ
ี ลใช้
บังคับได้ทันที รวมทัง้ แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติอ่ น
ื ที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้อง
กันด้วย เพื่อให้มาตรการในการคุ้มครองโจทก์ในระหว่างการพิจารณาของ
ศาลและการบัง คับ ชำ ระหนีต
้ ามคำ พิพ ากษาของศาลเป็ นไปโดยมี
ประสิทธิภาพ ตลอดจนเพิ่มเติมหลักเกณฑ์ให้จำเลยมีสิทธิจะขอให้ศาลสั่ง
ให้โจทก์ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอันเนื่องมาจากการถูกบังคับโดยวิธีการ
ชั่วคราว และการพิจ ารณาคำขอดัง กล่า ว เพื่อ ให้ก ารคุ้มครองสิท ธิข อง
จำเลยชัดเจนยิ่งขึน
้   จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๑๖) พ.ศ. ๒๕๓๙[๓๙๐]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ
เนื่อ งจากได้ม ีก ารแก้ไ ขเพิ่ม เติม มาตรา ๘๗ แห่ง ประมวลกฎหมายวิธ ี
พิจ ารณาความอาญา โดยกำหนดให้พ นัก งานฝ่ ายปกครองหรือ ตำรวจ
ควบคุมตัวผู้ถูกจับในกรณีที่มีเหตุจำเป็ นไว้ได้ไม่เกินสามวัน และแก้ไขเพิ่ม
เติมมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติจัดตัง้ ศาลแขวงและวิธีพิจารณาความ
อาญาในศาลแขวง พ.ศ. ๒๔๙๙ โดยกำหนดให้พนักงานสอบสวนผู้รับผิด
ชอบส่งตัวผู้ต้องหาพร้อมด้วยสำนวนการสอบสวนไปยังพนักงานอัยการ
เพื่อให้พนักงานอัยการยื่นฟ้ องต่อศาลแขวงให้ทันภายในกำหนดเวลาสี่สิบ
แปดชั่วโมงนับแต่เวลาที่ผ ู้ต้องหาถูกจับ อันมีผลให้ศาลต้องเปิ ดทำการใน
วันหยุด งานหรือในเวลาใด ๆ นอกเวลาทำการปกติ สมควรกำหนดให้ผู้
พิพากษาและเจ้าพนักงานศาลได้รบ
ั เงินค่าตอบแทนการปฏิบต
ั งิ านในวัน
หยุด ราชการ หรือ ในเวลาใด ๆ นอกเวลา ทำ งานได้ต ามระเบีย บที่
กระทรวงยุติธรรมกำหนด  จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๒[๓๙๑]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญญัตินใี ้ ห้ใช้บังคับได้เมื่อพ้นกำหนดหนึ่ง
ร้อยยี่สิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๑๗  พระราชบัญญัตินไี ้ ม่ใช้บังคับแก่บรรดาคดีที่ได้ย่ น

ฟ้ องไว้แ ล้วก่อนวัน ที่พ ระราชบัญ ญัต ินใี ้ ช้บ ัง คับ และให้ใช้ก ฎหมายที่ใ ช้
บังคับอยู่ในวันที่ย่ น
ื ฟ้ องนัน
้ บังคับแก่คดีดังกล่าวจนกว่าคดีจะถึงที่สุด
 
มาตรา ๑๘  ให้รัฐมนตรีว่า การกระทรวงยุต ิธ รรมรัก ษาการ
ตามพระราชบัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ
เนื่องจากบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งว่าด้วยวิธี
พิจารณาคดีมโนสาเร่ที่ใช้อยู่ยังไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ทำให้
การพิจ ารณาคดีล ่าช้า และคู่ค วามต้อ งเสีย ค่า ใช้จ ่า ยสูง เกิน สมควรเมื่อ
คำนึงถึงทุนทรัพย์ในคดีที่พิพาทกัน สมควรแก้ไขปรับปรุงบทบัญญัติเกี่ยว
กับ วิธีพ ิจารณาคดีม โนสาเร่ใ ห้เ หมาะสมขึน
้ โดยให้ศ าลดำเนิน การไกล่
เกลี่ยและเข้าช่วยเหลือคู่ความซึ่งไม่มีความรู้ทางกฎหมายได้ เพื่อให้คดีได้
เสร็จ สิน
้ ไปโดยเร็ว และประหยัด ค่า ใช้จ ่า ยของคู่ค วาม ทัง้ สมควรแก้ไ ข
ปรับปรุงบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งบางมาตรา
ที่เกี่ยวกับ อำนาจและหน้าที่ของศาล และการบังคับคดีตามคำพิพากษา
หรือคำสั่งของศาลให้เหมาะสมและสอดคล้องกันด้วย  จึงจำเป็ นต้องตรา
พระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๑๘) พ.ศ. ๒๕๔๒[๓๙๒]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๑๙  ให้รัฐมนตรีว่า การกระทรวงยุต ิธ รรมรัก ษาการ
ตามพระราชบัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ
เนื่องจากบทบัญญัติของประมวลกฎหมายวิธีพ ิจารณาความแพ่ง ในส่วน
ที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือ คำสั่งบางเรื่ องไม่เหมาะสม
กับสภาวการณ์ปัจจุบัน ทำให้การบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของ
ศาลเป็ นไปโดยล่า ช้า สมควรแก้ไ ขเพิ่ม เติม บทบัญ ญัต ิข องประมวล
กฎหมายวิธ ีพ ิจ ารณาความแพ่ง ในส่ว นที่เ กี่ย วกับ การบัง คับ คดีต ามคำ
พิพากษาหรือคำสั่งให้เหมาะสมยิ่งขึน
้   จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัติ
นี ้
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๔๓[๓๙๓]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๔  บทบัญ ญัต ิแ ห่ง กฎหมายที่อ ้า งถึง บทบัญ ญัต ิใ น
หมวด ๒ การพิจ ารณาโดยขาดนัด แห่ง ประมวลกฎหมายวิธ ีพ ิจ ารณา
ความแพ่ง ให้ถือว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายดังกล่าวนัน
้ อ้างถึงบทบัญญัติ
ในหมวด ๒ การพิจารณาโดยขาดนัด แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่งซึ่งได้แ ก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญ ญัต ิน ี ้ ในบทมาตราที่มีน ัย
เช่นเดียวกัน
 
มาตรา ๕  พระราชบัญญัตินไี ้ ม่ใช้บังคับแก่คดีที่ได้ย่ น
ื ฟ้ องไว้
แล้วก่อนวันที่พระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ และให้ใช้กฎหมายที่ใช้บังคับอยู่
ในวันที่ย่ น
ื ฟ้ องนัน
้ บังคับแก่คดีดังกล่าวจนกว่าคดีจะถึงที่สุด
 
มาตรา ๖  ให้ร ัฐ มนตรีว ่า การกระทรวงยุต ิธ รรมรัก ษาการ
ตามพระราชบัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ
เนื่องจากบทบัญญัติของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในส่วนที่
เกี่ยวกับการพิจารณาโดยขาดนัดที่ใช้อยู่ในปั จจุบันมีความล้าสมัยและไม่
สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน อีกทัง้ มีบทบัญญัติที่ขาดความชัดเจนใน
หลายประการ เป็ นเหตุให้ก ารดำเนิน คดีใ นกรณีที่ค ค
ู่ วามขาดนัด ยื่น คำ
ให้การหรือขาดนัดพิจารณาเป็ นไปโดยล่าช้า และมีข้อโต้แย้งที่คู่ความอาจ
ใช้เป็ นช่องทางในการประวิง คดีได้ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติข อง
ประมวลกฎหมายวิธีพ ิจารณาความแพ่ง ในส่วนที่เ กี่ยวกับ การพิจารณา
โดยขาดนัดให้เหมาะสมและชัดเจนยิ่งขึน
้ เพื่อให้ศาลสามารถพิพากษาให้
คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งเป็ นฝ่ ายชนะคดีไปได้ เมื่อคูค
่ วามอีกฝ่ ายหนึ่งขาด
นัดยื่นคำให้การ และเพื่อให้กระบวนพิจารณาพิพากษาคดีที่ค ค
ู่ วามขาด
นัดยื่นคำให้ก าร หรือขาดนัดพิจารณาเป็ นไปด้วยความเป็ นธรรมแก่ทุก
ฝ่ าย รวมทัง้ รวดเร็ว ประหยัด และชัดเจนแน่นอนยิ่งขึน
้ อันจะเป็ นหลัก
ประกัน การใช้ส ิทธิเ รียกร้อ งของโจทก์แ ละการคุ้มครองสิทธิข องจำเลย
ตลอดจนทำให้คดีที่ค้างการพิจารณาในศาลลดน้อยลง  จึงจำเป็ นต้องตรา
พระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๓[๓๙๔]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๕  บรรดากฎกระทรวงซึ่งออกตามความในพระราช
บัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง พุทธศักราช ๒๔๗๗
ที่ใช้บังคับอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไป
โดยอนุโ ลมเพีย งเท่า ที่ไ ม่ข ัด หรือ แย้ง กับ พระราชบัญ ญัต ิใ ห้ใ ช้ป ระมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง พุทธศักราช ๒๔๗๗ ซึง่ แก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัตินจ
ี ้ นกว่าจะมีกฎกระทรวงหรือข้อบังคับที่ตราขึน
้ ใหม่ใช้
บังคับแทน
 
มาตรา ๖  ให้ประธานศาลฎีกาและรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ:- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
มาตรา ๒๗๕ ของรัฐ ธรรมนูญ แห่ง ราชอาณาจัก รไทย ประกอบกับ
กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรมกำหนดให้สำนักงาน
ศาลยุติธรรมเป็ นหน่วยงานธุรการอิสระของศาลยุติธรรม แต่มิได้ กำ หนด
ให้กรมบังคับคดีเป็ นหน่วยงานธุรการของศาลยุติธรรม กรมบังคับคดีจึงยัง
อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงยุติธรรม   ดังนัน
้ สมควรแก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง พุทธศักราช
๒๔๗๗ ในส่วนที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของประธานศาลฎีกาและรัฐมนตรี
ว่า การกระทรวงยุติธ รรมเพื่อ ให้ส อดคล้อ งกับ สภาพการณ์ด ัง กล่า ว  จึง
จำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๔๓[๓๙๕]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
มาตรา ๒๗๕ ของรัฐ ธรรมนูญ แห่ง ราชอาณาจัก รไทย ประกอบกับ
กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรมกำหนดให้สำนักงาน
ศาลยุติธรรมเป็ นหน่วยงานธุรการอิสระของศาลยุติธรรม แต่มิได้ กำ หนด
ให้กรมบังคับคดีเป็ นหน่วยงานธุรการของศาลยุติธรรม กรมบังคับคดีจึงยัง
อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงยุติธรรม   ดังนัน
้ สมควรแก้ไขเพิ่มเติม
ประมวลกฎหมายวิธีพ ิจารณาความแพ่ง ในส่วนที่เ กี่ยวกับ การบัง คับ คดี
ตามคำพิพากษาหรือคำสัง่ เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ดังกล่าว  จึง
จำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญญัตแ
ิ ก้ไขเพิม
่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง (ฉบับ
ที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๔๗[๓๙๖]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
บทบัญญัติของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในส่วนที่เกี่ยวกับ
การงดการบังคับคดีของเจ้าหนีต
้ ามคำพิพ ากษาและการขายทอดตลาด
ทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษาของเจ้าพนักงานบังคับคดีที่ใช้บังคับ
อยู่ในปั จจุบันบางส่วนยังไม่ชัดเจนเพียงพอ  ดังนัน
้ เพื่อให้การบังคับคดี
เป็ นไปด้วยความเป็ นธรรมโดยคุ้มครองสิทธิของบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้
เสียในการบังคับคดีและให้การขายทอดตลาดทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามคำ
พิพากษาสามารถดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และเป็ นธรรม
แก่ผ ู้ซ้อ
ื ทรัพ ย์จ ากการขายทอดตลาดและเป็ นไปตามเจตนารมณ์ข อง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ว่าด้วยการขายทอดตลาด สมควร
แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติดังกล่าวให้เหมาะสมและมีความชัดเจนยิ่งขึน
้   
จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญ ญัต ิแ ก้ไ ขเพิ่ม เติม ประมวลกฎหมายวิธ ีพ ิจ ารณาความแพ่ง
(ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๔๘[๓๙๗]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๑๐  บทบัญญัติมาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัตินไี ้ ม่ใช้
บัง คับ แก่ก ารบัง คับ คดีข องบรรดาคดีท ี่ไ ด้ย่ น
ื ฟ้ องไว้ก ่อ นวัน ที่พ ระราช
บัญญัตินใี ้ ช้บังคับ และให้ใช้ตาราง ๕ ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง ที่ใช้บ ัง คับ อยู่ในวัน ที่ม ีก ารฟ้ องคดีบ ัง คับ แก่ก ารบัง คับ คดีด ัง
กล่าว
 
มาตรา ๑๑  ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุต ิธรรมรัก ษาการ
ตามพระราชบัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
บทบัญญัติของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในส่วนที่เกี่ยวกับ
การบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งที่ใช้บังคับอยู่มีความไม่เหมาะสม
กับสภาพการณ์ปัจจุบัน เป็ นเหตุให้การบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำ
สั่งเป็ นไปด้วยความล่าช้า และคุ้มครองสิทธิของเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา
และลูก หนีต
้ ามคำ พิพ ากษาไม่เ พีย งพอ ประกอบกับ ตาราง ๕ ท้า ย
ประมวลกฎหมายวิธีพ ิจารณาความแพ่ง ได้ กำ หนดอัต ราค่า ธรรมเนีย ม
เจ้า พนัก งานบัง คับ คดีส ูง เกิน ไป สมควรแก้ไ ขเพิ่ม เติม บทบัญ ญัต ิข อง
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับการบังคับคดีตาม
คำพิพ ากษาหรือ คำสัง่ และอัต ราค่า ธรรมเนียมเจ้า พนัก งานบัง คับ คดีใ ห้
เหมาะสมยิ่งขึน
้   จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญ ญัต ิแ ก้ไ ขเพิ่ม เติม ประมวลกฎหมายวิธ ีพ ิจ ารณาความแพ่ง
(ฉบับที่ ๒๓) พ.ศ. ๒๕๕๐[๓๙๘]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๒๐  พระราชบัญ ญัต ิน ไี ้ ม่ม ีผ ลกระทบถึง กระบวน
พิจารณาใด ๆ ที่ได้กระทำไปแล้วก่อนวันที่พระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ ส่วน
กระบวนพิจ ารณาใดที่ย ัง มิไ ด้ก ระทำจนล่ว งพ้น กำ หนดเวลาที่จ ะต้อ ง
กระทำตามกฎหมายที่ใ ช้บ ัง คับ อยู่ก ่อ นพระราชบัญ ญัต ิน ี ้ แต่ย ัง อยู่ใ น
กำหนดเวลาที่อาจกระทำได้ตามบทบัญญัติที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราช
บัญ ญัต ิน ี ้ ให้ดำ เนิน กระบวนพิจ ารณานัน
้ ได้ภ ายในกำ หนดเวลาตาม
บทบัญญัติดังกล่าว
 
มาตรา ๒๑  ให้ป ระธานศาลฎีก ารัก ษาการตามพระราช
บัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
เป็ นการสมควรแก้ไ ขเพิ่ม เติม บทบัญ ญัต ิใ นภาค ๑ ลัก ษณะ ๕ ว่า ด้ว ย
พยานหลักฐานแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ให้ทันสมัย
และสอดคล้องกับสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และการพัฒนาด้าน
เทคโนโลยีของประเทศในปั จจุบัน  จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญ ญัต ิแ ก้ไ ขเพิ่ม เติม ประมวลกฎหมายวิธ ีพ ิจ ารณาความแพ่ง
(ฉบับที่ ๒๔) พ.ศ. ๒๕๕๑[๓๙๙]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญญัตินใี ้ ห้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบ
วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๒๑  บทบัญญัติในพระราชบัญญัตินี ้ เว้นแต่มาตรา ๖
ไม่ใช้บังคับแก่บรรดาคดีที่ได้ย่ น
ื ฟ้ องไว้ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ
และให้ใช้กฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในวันที่มีการฟ้ องคดีบังคับแก่คดีดังกล่าว
จนกว่าคดีจะถึงที่สุด สำหรับค่าฤชาธรรมเนียมใดซึ่งกฎหมายที่ใช้บังคับ
อยู่ก่อนกำหนดให้เรียกเก็บ แต่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งซึ่ง
แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินไี ้ ม่ได้กำ หนดไว้ ห้ามมิให้เรียกค่าฤชา
ธรรมเนียมนัน
้ จากคู่ความสำหรับการดำเนินกระบวนพิจารณาตัง้ แต่วันที่
พระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับเป็ นต้นไป
 
ม าต รา ๒ ๒   ใ ห ้ป ระ ธา นศ าล ฎีก าแ ล ะ ร ัฐ ม น ต ร ีว ่า ก า ร
กระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ
เนื่องจากบทบัญญัติของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในส่วนที่
เกี่ยวกับค่าฤชาธรรมเนียมยังมีความไม่เหมาะสมหลายประการ และไม่ได้
แยกค่าฤชาธรรมเนียมในการพิจารณาคดีออกจากค่าฤชาธรรมเนียมใน
การบัง คับ คดี รวมทัง้ อัต ราค่า ฤชาธรรมเนีย มในตารางท้า ยประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งใช้บังคับมาเป็ นเวลานานไม่เหมาะสมกับ
สถานการณ์ปั จจุบ ัน สมควรแก้ไ ขเพิ่ม เติม บทบัญ ญัต ิเ รื่อ งค่า ฤชา
ธรรมเนียมและตารางท้ายประมวลกฎหมายวิธีพ ิจารณาความแพ่ง ให้มี
ความเหมาะสมยิ่งขึน
้ นอกจากนี ้ สมควรกำหนดให้หลักเกณฑ์และวิธีการ
ในการไกล่เ กลี่ย ของศาล การแต่ง ตัง้ ผู้ป ระนีป ระนอม รวมทัง้ อำ นาจ
หน้า ที่ข องผู้ป ระนีป ระนอม เป็ นไปตามที่กำ หนดในข้อ กำ หนดของ
ประธานศาลฎีก า และแก้ไ ขเพิ่ม เติม หลัก เกณฑ์ก ารขอเลื่อ นการนั่ง
พิจารณาและการพิจารณาคำขอเลื่อนการนั่งพิจารณาให้เคร่งครัดยิ่งขึน

ตลอดจนแก้ไขเพิ่มเติมการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีมโนสาเร่และคดี
ไม่มีข้อยุ่งยากให้ชัดเจนขึน
้   จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญ ญัต ิแ ก้ไ ขเพิ่ม เติม ประมวลกฎหมายวิธ ีพ ิจ ารณาความแพ่ง
(ฉบับที่ ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๑[๔๐๐]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ
เนื่อ งจากประมวลกฎหมายวิธ ีพจ
ิ ารณาความแพ่งในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับ การ
บังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสัง่ มิได้กำหนดให้เจ้าพนักงานบังคับคดี
เป็ นเจ้าพนักงานศาล และมิได้มีบทบัญญัติกำหนดวิธีการส่งเอกสารเกี่ยว
กับการบังคับคดีให้ชัดเจน เป็ นเหตุให้การบังคับคดีเป็ นไปโดยล่าช้าและมี
ข้อโต้แย้ง สมควรกำหนดให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีสถานะเสมือนเป็ นเจ้า
พนักงานศาล และกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการส่งเอกสารเกี่ยวกับการ
บังคับคดีตามคำพิพากษาหรือ คำสั่งและการรายงานการส่ง เอกสารโดย
เจ้าพนักงานบังคับคดีให้ชัดเจน เพื่อให้การบังคับคดี ดำ เนินไปด้วยความ
เป็ นธรรม สะดวก รวดเร็ว และประหยัด ยิ่ง ขึน
้   จึง จำเป็ นต้อ งตราพระ
ราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
(ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๕๘[๔๐๑]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใช้บ ัง คับ เมื่อ พ้น กำหนดสอง
ร้อยสี่สิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
ก า ร ดำ เ น ิน ค ด ีแ บ บ ก ล ุ่ม เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ดำ เ น ิน ค ด ีท ี่ช ่ว ย เ พ ิ่ม
ประสิทธิภาพในการอำนวยความยุติธรรมให้กับประชาชน เนื่องจากเป็ น
วิธีการที่สามารถคุ้มครองผู้เสียหายจำนวนมากได้ในการดำเนินคดีเพียง
ครัง้ เดีย ว และสามารถอำนวยความยุตธิ รรมให้แก่ผเู้ สียหายทีไ่ ม่มค
ี วาม
สามารถฟ้ องคดีเพื่อเยียวยาความเสียหายด้วยตนเองได้ หรือผู้เสียหายที่ได้
รับ ความเสีย หายจำนวนเพีย งเล็ก น้อ ย เช่น คดีท ี่ผ ู้บ ริโ ภคได้ร ับ ความ
เสียหาย การดำเนินคดีแบบกลุ่มจึงเป็ นมาตรการที่สร้างความเข้มแข็งให้
แก่ประชาชนผู้ด้อยโอกาสในสังคมได้เป็ นอย่างดี ประกอบกับการดำเนิน
คดีแบบกลุ่มเป็ นวิธีก ารที่ประหยัด เวลาและค่า ใช้จ่า ยในการดำเนินการ
และยังช่วยหลีกเลีย
่ งความซ้ำซ้อนในการฟ้ องคดีและป้ องกันความขัดแย้ง
กันของคำพิพากษา ตลอดจนเป็ นมาตรการในการลดปริมาณคดีที่จะขึน
้ สู่
ศาลได้อ ย่างมีป ระสิท ธิภ าพอีก ทางหนึ่ง สมควรแก้ไ ขเพิ่ม เติม ประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งเพื่อ กำหนดกระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการ
ดำเนินคดีแบบกลุ่ม  จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญ ญัต ิแ ก้ไ ขเพิ่ม เติม ประมวลกฎหมายวิธ ีพ ิจ ารณาความแพ่ง
(ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๕๘[๔๐๒]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญญัตินใี ้ ห้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบ
วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๙  บรรดาคดีที่ได้ย่ น
ื ฟ้ องไว้ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี ้
ใช้บ ัง คับ ให้บ ัง คับ ตามกฎหมายซึ่ง ใช้อ ยู่ก ่อ นวัน ที่พ ระราชบัญ ญัต ิน ใี ้ ช้
บังคับจนกว่าคดีนน
ั ้ จะถึงที่สุด
 
มาตรา ๑๐  ให้ป ระธานศาลฎีก ารัก ษาการตามพระราช
บัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
บทบัญญัติของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในส่วนการฎีกาไม่
สามารถกลั่นกรองคดีที่ไม่เป็ นสาระอันควรแก่การวินิจฉัยของศาลฎีกาได้
อย่างมีประสิทธิภาพเพียงพอ ทำให้การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลฎีกา
เกิด ความล่า ช้า ส่ง ผลกระทบต่อ ความเชื่อ มั่น และความศรัท ธาที่ม ีต ่อ
ระบบศาลยุติธรรม  ดังนัน
้ เพื่อให้การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลฎีกา
เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพให้ความเป็ นธรรมแก่บุคคลที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ าย
ได้อ ย่า งแท้จ ริง และรวดเร็ว ขึน
้ สมควรกำ หนดให้ศ าลฎีก ามีอำ นาจ
พิจารณาว่าคดีที่ได้ย่ น
ื ฎีกาใดสมควรอนุญาตให้ขน
ึ ้ สู่การพิจารณาของศาล
ฎีกา  จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญ ญัต ิแ ก้ไ ขเพิ่ม เติม ประมวลกฎหมายวิธ ีพ ิจ ารณาความแพ่ง
(ฉบับที่ ๒๘) พ.ศ. ๒๕๕๘[๔๐๓]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
ปั จจุบันมีคดีแพ่งที่เกี่ยวกับประโยชน์สาธารณะหรือประโยชน์ของสังคม
เป็ นส่วนรวม เช่น คดีสงิ่ แวดล้อม คดีคุ้มครองผู้บริโภค เข้าสู่การพิจารณา
ของศาลเป็ นจำนวนมาก ซึ่ง คดีเ หล่า นีเ้ ป็ นคดีท ี่ม ีค วามยุ่ง ยากซับ ซ้อ น
สมควรกำหนดให้ส ามารถโอนคดีเ หล่า นีไ้ ปยัง ศาลแพ่ง เป็ นผู้พ ิจ ารณา
พิพากษาคดี โดยกำหนดให้ศาลแพ่ง ที่รับคดีไ ว้มีอำ นาจดำเนิน กระบวน
พิจารณานอกเขตศาลได้เพื่อให้อ งค์ค ณะผู้พพ
ิ ากษาสามารถออกไปสืบ
พยานที่อ ยู่น อกเขตอำนาจด้ว ยตนเองได้ และกำหนดให้ป ระธานศาล
ฎีก าโดยความเห็น ชอบของที่ป ระชุม ใหญ่ศ าลฎีก ามีอำ นาจออกข้อ
กำหนดเกี่ยวกับการดำเนินกระบวนพิจารณาในคดีแพ่งอันจะช่วยให้การ
พิจารณาพิพากษาคดีเกิดความเป็ นธรรมและมีป ระสิทธิภาพมากยิ่ง ขึน

นอกจากนี ้ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมการเก็บรักษาข้อมูลคดีของศาลโดยการ
จัด เก็บ ในรูป ของข้อมูล อิเ ล็ก ทรอนิก ส์ และใช้ส่ อ
ื เทคโนโลยีส ารสนเทศ
เป็ นเครื่องมือในการส่งคำคู่ความและเอกสารระหว่างศาลกับคู่ความ หรือ
ระหว่างคูค
่ วามด้วยกัน และกำหนดวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการส่งหมายเรียก
และคำ ฟ้ องตัง้ ต้น คดีไ ปยัง จำ เลยหรือ บุค คลภายนอกที่อ ยู่น อกราช
อาณาจักรเพื่อให้มีความสะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย  จึง
จำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญ ญัต ิแ ก้ไ ขเพิ่ม เติม ประมวลกฎหมายวิธ ีพ ิจ ารณาความแพ่ง
(ฉบับที่ ๒๙) พ.ศ. ๒๕๕๘[๔๐๔]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี ้ คือ โดยที่
ปั จจุบ ัน การขายทอดตลาดห้อ งชุด ในอาคารชุด ตามกฎหมายว่า ด้ว ย
อาคารชุดและที่ดินจัดสรรตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน ซึ่งมีการ
ค้างชำระค่าใช้จ่ายส่วนกลาง ไม่เป็ นที่น่าสนใจของตลาดเท่าที่ควร เพราะ
ผู้ซ้อ
ื ได้จะต้องรับผิดชอบภาระค่าใช้จา่ ยส่วนกลางทีค
่ า้ งชำระแทนลูกหนีต
้ าม
คำพิพากษา สมควรเพิม
่ มาตรา ๓๐๙ จัตวา เพื่อให้ผู้ซ้อ
ื ห้องชุดในอาคาร
ชุดและที่ดินจัดสรรจากการขายทอดตลาดของเจ้าพนักงานบังคับคดีได้รับ
ความเป็ นธรรมยิ่งขึน
้ และเพื่อลดอุปสรรคในการขายทอดตลาดห้องชุด
และที่ดินจัดสรรให้สามารถจำหน่ายออกไปได้ภายในระยะเวลาที่รวดเร็ว
ส่งผลดีต่อผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดีและระบบเศรษฐกิจของประเทศ
ในภาพรวม  จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๕๘[๔๐๕]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี ้ คือ โดยที่
ปั จจุบ ัน ยัง มิไ ด้ม ีก ารกำหนดค่าป่ วยการ ค่าพาหนะเดินทาง และค่าเช่า
ที่พ ัก ของพยานที่ศ าลเรีย กมาให้ค วามเห็น ต่อ ศาล ทัง้ ที่ค วามเห็น ของ
พยานที่ศ าลเรีย กมานัน
้ เป็ นประโยชน์ต ่อ คู่ค วามทุก ฝ่ าย  ดัง นัน
้ เพื่อ
ประโยชน์แห่งความยุติธรรม จึงสมควรกำหนดค่าป่ วยการ ค่าพาหนะเดิน
ทาง และค่าเช่าที่พก
ั ของพยานที่ศาลเรียกมาให้ความเห็นต่อศาลให้เกิด
ความชัดเจนและเป็ นธรรม  จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญ ญัต ิแ ก้ไ ขเพิ่ม เติม ประมวลกฎหมายวิธ ีพ ิจ ารณาความแพ่ง
(ฉบับที่ ๓๐) พ.ศ. ๒๕๖๐[๔๐๖]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญญัตินใี ้ ห้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบ
วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๒๑  พระราชบัญ ญัต ิน ไี ้ ม่ม ีผ ลกระทบถึง กระบวน
พิจารณาของศาลและกระบวนวิธ ีก ารบัง คับ คดีข องเจ้า พนัก งานบัง คับ
คดีที่ได้กระทำไปแล้วก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี ใ้ ช้บังคับ
ในการขายทอดตลาดทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา ซึง่
เจ้า พนัก งานบัง คับ คดีไ ด้ป ระกาศขายทอดตลาดไว้ต ามบทบัญ ญัต ิแ ห่ง
ประมวลกฎหมายวิธีพ ิจารณาความแพ่ง ซึ่ง ใช้บ ัง คับ อยู่ในวัน ก่อ นวัน ที่
พระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ ให้ดำเนินการขายทอดตลาดทรัพย์สินนัน
้ ตาม
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำ หนดไว้ในประกาศขายทอดตลาดดัง
กล่าวต่อไปจนกว่าจะเสร็จสิน

 
มาตรา ๒๒  บรรดากฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ หรือ คำ
สั่ง ที่ออกตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งที่ใช้บังคับอยู่ในวัน
ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือ
แย้งกับบทบัญญัติแ ห่ง ประมวลกฎหมายวิธีพ ิจารณาความแพ่ง ซึ่ง แก้ไ ข
เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินจ
ี ้ นกว่าจะมีกฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ
หรือคำสั่ง ที่ออกตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งซึ่งแก้ไขเพิ่ม
เติมโดยพระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ
 
ม าต รา ๒ ๓   ใ ห ้ป ระ ธา นศ าล ฎีก าแ ล ะ ร ัฐ ม น ต ร ีว ่า ก า ร
กระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
บทบัญญัติของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในส่วนที่เกี่ยวกับ
การบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งที่ใช้บังคับอยู่บางส่วนไม่เหมาะสม
กับ สภาพเศรษฐกิจ และสัง คมในปั จจุบ ัน ทำ ให้ก ารบัง คับ คดีต ามคำ
พิพากษาหรือคำสั่งของศาลเป็ นไปโดยล่าช้าไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอใน
การอำนวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชนผู้มีอรรถคดี และเปิ ดโอกาสให้
มีการประวิงคดีสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่งในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตามคำพิพากษาและ
คำสั่งให้เหมาะสมยิ่งขึ น
้   จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญ ญัต ิแ ก้ไ ขเพิ่ม เติม ประมวลกฎหมายวิธ ีพ ิจ ารณาความแพ่ง
(ฉบับที่ ๓๑) พ.ศ. ๒๕๖๒[๔๐๗]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๔  พระราชบัญ ญัต ิน ไี ้ ม่ม ีผ ลกระทบถึง กระบวน
พิจารณาของศาลที่ได้กระทำไปแล้วก่อนวันที่พระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ
ส่วนกระบวนพิจารณาของศาลที่จะต้อ งดำเนิน การต่อ ไปให้ดำ เนิน การ
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราช
บัญญัตินี ้
 
มาตรา ๕  ให้ประธานศาลฎีการักษาการตามพระราชบัญญัติ
นี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี ้ คือ  โดยที่
เป็ นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมหลักเกณฑ์การวินิจฉัยปั ญหาโดยที่ประชุม
ใหญ่ใ นศาลชัน
้ อุท ธรณ์แ ละศาลฎีก า และให้ม ีก ารวิน ิจ ฉัย ปั ญหาโดยที่
ประชุมแผนกคดีของศาลชัน
้ อุทธรณ์แ ละศาลฎีก า เพื่อให้ส อดคล้องกับ
โครงสร้างศาลและระบบวิธีพิจารณาคดีพิเศษที่เปลี่ยนแปลงไปตามพระ
ธรรมนูญ ศาลยุต ิธ รรมและกฎหมายว่า ด้ว ยการจัด ตัง้ ศาลและวิธ ี
พิจารณาคดีพิเศษต่าง ๆ  จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญ ญัต ิแ ก้ไ ขเพิ่ม เติม ประมวลกฎหมายวิธ ีพ ิจ ารณาความแพ่ง
(ฉบับที่ ๓๒) พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔๐๘] [
 
มาตรา ๒  พระราชบัญญัตินใี ้ ห้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบ
วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
เป็ นการสมควรส่งเสริมให้มีระบบการไกล่เกลี่ยก่อนฟ้ องคดีเพื่อเป็ นทาง
เลือ กให้แ ก่ผ ู้ท ี่มีก รณีพ ิพ าททางแพ่ง ใช้เ ป็ นช่อ งทางในการยุต ิข ้อ พิพ าท
ก่อ นที่จ ะมีก ารฟ้ องคดี โดยค ู่ก รณีส ามารถร้อ งขอให้ศ าลแต่ง ตัง้ ผ ู้
ประนีประนอมดำเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและหากตกลงกันได้ก็อาจขอ
ให้ศาลมีคำพิพากษาตามยอมได้ทันที ทำให้ข้อพิพาททางแพ่งสามารถยุติ
ลงได้ใ นเวลาอัน รวดเร็ว โดยไม่จำ เป็ นต้อ งมีก ารฟ้ องคดี อีก ทัง้ เป็ นการ
ประหยัดเวลาและทรัพยากรต่าง ๆ ที่จะต้องสูญเสียในการดำเนินคดีอัน
จะยังประโยชน์แก่ระบบเศรษฐกิจและสังคม  จึงจำเป็ นต้องตราพระราช
บัญญัตินี ้

You might also like