You are on page 1of 23

รายงานโครงงาน

เรื่อง แหล่งต้ นน้ำสะแกกรัง

จัดทำโดย
เด็กหญิงณัฐณิ ชา บุกบุญ เลขที่ 14
เด็กหญิงธัญนันท์ มาดี เลขที่ 17
เด็กหญิงปณิ ฏฐา จับเทียน เลขที่ 23
เด็กหญิงศิรินภา คงรอด เลขที่ 30
เด็กหญิงสาริ ศา ฐานะวุฑฒ์ เลขที่ 31
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/1

นำเสนอ
คุณครู สุ รียร์ ัตน์ ส่ งเสริ มภัทรดี

โครงงานนี้ เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาวิชา ภาษาไทย ( ท 22102 )


ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2562
โรงเรี ยนอุทยั วิทยาคม อำเภอเมืองอุทยั ธานี จังหวัดอุทยั ธานี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42

กิตติกรรมประกาศ
โครงงานนี้จะสำเร็ จไม่ได้หากไม่มีการอนุเคราะห์จากบุคคลใจดีหลาย ๆ ท่าน ได้แก่
คุณครู สุรียร์ ัตน์ ส่ งเสริ มภัทรดี ที่ซ่ ึ งให้คำแนะนำ และ ค่อยช่วยแก้ไขข้อบกพร่ องต่าง ๆ ให้ดว้ ย
ความละเอียด และใส่ ใจ เพื่อนๆที่ค่อยช่วยเหลือ ให้คำแนะนำ ให้กำลังใจ และ ช่วยติชมต่าง ๆ
มาโดยตลอด จึงขอขอบกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสู งไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผูจ้ ดั ทำขอกราบขอบพระคุณทุกบุคคลอีกหลายท่านที่ให้ความช่วยเหลือ และ
สนับสนุน ด้วยความเอาใจใส่ แต่มิได้กล่าวนาม
คณะผูจ้ ดั ทำ

บทคัดย่ อ
สารบัญ
เรื่อง หน้ า
กิตติกรรมประกาศ ก
บทคัดย่อ ข
สารบัญ ค
สารบัญรู ปภาพ ง
สารบัญตาราง จ
บทที่ 1 บทนำ 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3
บทที่ 3 วิธีดำเนินงาน 11
บทที่ 4 ผลของการทำโครงงาน 13
บทที่ 5 สรุ ป อภิปราย และข้อเสนอแนะ 15
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้ าที่
ภาพที่ 1 ลุ่มแม่น ้ำสะแกกรัง……………………………………………………………4
ภาพที่ 2 วิถีชีวิตลุ่มแม่น ้ำ..............................................................................................5
ภาพที่ 3 ตลาดเช้าลุ่มแม่น ้ำสะแกรัง.............................................................................. 6
ภาพที่ 4 เที่ยวชมวิถีชีวิตริ มน้ำ......................................................................................7
ภาพที่ 5 แม่น ้ำท่าจีน..................................................................................................... 9
สารบัญตาราง 

ตารางที่ หน้าที่
ตารางที่ 1 แผนการปฏิบตั ิงาน 11
ตารางที่ 2 การเปรี ยบเทียบความสะอาดของน้ำในแม่น ้ำสะแกกรังและแม่น ้ำท่าจีน
13
ตารางที่ 3 แสดงข้อมูลสถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม 14
ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 14

บทที่ 1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญ
คำขวัญมีความสำคัญเป็ นอย่างมาก โดยเป็ นถ้อยคำหรื อข้อความที่แต่งขึ้นมาเพื่อบ่งบอกถึง
เอกลักษณ์ คุณสมบัติ ความโดดเด่น ของแต่ละจังหวัด คณะผูจ้ ดั ทำได้จดั ทำโครงงานคำขวัญ
ประจำจังหวัดอุทยั ธานีในบทความที่วา่ “แหล่งต้นน้ำสะแกกรัง” เป็ นแม่น้ำที่มีตน้ กำเนิดอยู่
อาณาเขตโมโกจูในเขตอุทยานแห่งชาติแม่วงศ์ จังหวัดกำแพงเพชรไหลไปบรรจบกับแม่น ้ำ
เจ้าพระยาที่บา้ นท่าซุง อำเภอเมืองอุทยั ธานี มีความยาว 225 กิโลเมตร เริ่ มต้นที่สะพานข้ามแม่น ้ำ
สะแกกรังซึ่ งบริ เวณนั้นมีสถานที่สำคัญ คือ วัดโบสถ์ มีอายุมากกว่า 100 ปี นับเป็ นนับเป็ น
สัญลักษณ์คู่ริมแม่น ้ำสะแกกรังมาช้านาน สะพานแห่งนั้นนอกจากจะใช้สำหรับสัญจรไปมาข้ามฝั่ง
ระหว่างตัวเมืองกับเกาะเทโพแล้ว เรายังสามารถชมวิวแม่น้ำสะแกกรังที่เต็มไปด้วยบ้านเรื อนแพที่
ตั้งขนานอยูบ่ ริ เวณริ มน้ำซึ่ งนี่กถ็ ือวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวอุทยั ธานี

จุดประสงค์
1. เพื่อศึกษาความสำคัญของแหล่งต้นน้ำสะแกกรัง และวิถีชีวิตของชาวแพในลุ่มแม่น ้ำ
สะแกกรัง
2. เพื่อเปรี ยบเทียบความสะอาดของน้ำในแม่น้ำแม่น ้ำสะแกกรังและแม่น ้ำท่าจีน
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของคนในจังหวัดอุทยั ที่มีต่อแม่น ้ำสะแกกรัง

สมมติฐาน
1. ผูศ้ ึกษาได้ทราบถึงความสำคัญของแหล่งต้นน้ำสะแกกรังและวิถีชีวิตของชาวแพในลุ่ม
แม่น ้ำสะแกกรัง
2. ผูศ้ ึกษาได้รู้ถึงความสะอาดของน้ำในแม่น ้ำสะแกกรังและแม่น ้ำท่าจีน
3. ความพึงพอใจของคนในจังหวัดอุทยั ที่มีต่อแม่น ้ำสะแกกรังอยูใ่ นระดับดีมาก

ขอบข่ ายของการดำเนินงาน
1.ขอบเขตสถานที่
-โรงเรี ยนอุทยั วิทยาคม
- แม่น้ำสะแกกรัง
2.ขอบเขตเวลา
1 ตุลาคม พ.ศ. 2562 - 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ
1. ผูศ้ ึกษาได้เข้าใจความเป็ นมาและความสำคัญของแม่น ้ำสะแกกรังต่อวิถีชีวิตชาวแพใน
ลุ่มแม่น ้ำสะแกกรัง
2. ผูศ้ ึกษาได้รู้จกั การวางแผนการทำงานอย่างมีระบบ
3. ผูศ้ ึกษาได้รู้จกั การทำงานเป็ นกลุ่ม ฝึ กความสามัคคี

บทที่ 2
เอกสารที่เกีย่ วข้ อง
1.แม่ น้ำสะแกกรัง
1.1 ความเป็ นมา
สะแกกรัง เป็ นแม่น ้ำมีตน้ กำเนิดอยูใ่ นเขตเทือกเขาโมโกจู ในเขตจังหวัด
กำแพงเพชร ไหลไปบรรจบกับแม่น ้ำเจ้าพระยาที่บา้ นท่าซุง ตำบลท่าซุง อำเภอเมือง จังหวัด
อุทยั ธานี มีความยาวประมาณ 225 กิโลเมตร ที่น่าสนใจก็คือพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่
หัว รัชกาลที่ 5 เคยเสด็จประพาสต้นทางเรื อมาตามแม่น ้ำสายนี้ และแวะพักผ่อนหุงหาอาหารเสวย
บนแพริ มแม่น ้ำสะแกกรังอีกด้วย แม่น ้ำสะแกกรังมีหลายชื่อตามท้องถิ่นที่แม่น ้ำไหลผ่านคือ
คลองแม่เร่ – แม่วง คือ ช่วงที่ไหลผ่านอำเภอคลองขลุง อำเภอขาณุวรลักษบุรี
จังหวัดกำแพงเพชร และอำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์จนถึงเขาชนกัน
แม่น ้ำวังม้า คือ ช่วงที่ไหลผ่านอำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ และอำเภอ
สว่างอารมณ์ จังหวัดอุทยั ธานี
แม่น ้ำตากแดด คือ ช่วงไหลผ่านเขตอำเภอสว่างอารมณ์ อำเภอทัพทัน และอำเภอ
เมือง ฯ จนถึงปากคลองขุมทรัพย์
แม่น ้ำสะแกกรัง คือ ช่วงตั้งแต่ปากคลองขุมทรัพย์ หรื อคลองอีเติ่ง ที่บา้ นจักษา
อำเภอเมือง หรื อตรงปลายแม่น้ำตากแดด ณ จุดที่แม่น ้ำตากแดดไหลมาบรรจบกับคลองขุมทรัพย์
ซึ่ งน้ำจะเป็ นสองสี แล้วไหลผ่านตัวเมืองอุทยั ธานี แล้วไหลไปบรรจบแม่น้ำเจ้าพระยาที่อำเภอ
มโนรมย์ จังหวัดชัยนาท มีความยาวจากต้นน้ำถึงจุดที่บรรจบแม่น ้ำเจ้าพระยาประมาณ 108
กิโลเมตร
1.2 วิธีชีวติ ชาวแพ ลุ่มแม่น้ำสะแกกรัง
“วิถีชีวิตชาวแพลุ่มแม่น ้ำสะแกกรัง” เป็ นภูมิปัญญาท้อง ถิ่นมาตั้งแต่ชา้ นานและ
สื บถอดมาจนถึงปัจจุบนั โดยมีเรื่ องราวเล่า ต่อมาว่า เมื่อสมัยก่อนมีพอ่ ค้าล่องเรื อมาจะรู ้วา่ ถึงแม่น ้ำ
สะแกกรัง แล้วสังเกตว่ามีแพเรี ยงรายอยูท่ ี่ตามชายฝั่งแม่น ้ำ เรื อนแพที่อยูส่ อง ฝั่งแม่น ้ำ เป็ นเรื อนแพ
ไม้ค่อมบนแพลูกบวบไม้ไผ่ ชาวบ้านบอกว่า อยูแ่ พแล้วสบายหน้าร้อนลมเย็น หน้าหนาวตอนเช้า
แดดอุ่น ชาวแพเหล่านี้ประกอบอาชีพทำการประมง ในช่วงเช้าหลังจากได้ปลา จะนำมาชำแหละ
เสี ยบเป็ นแผงผึ่งให้แห้ง ย่างรมควันทำ เป็ นปลา แห้งและนำไปขายในตลาด ตามเรื อนแพเหล่านี้ยงั
มีกระชังเลี้ยงปลา ปลาสวาย ปลาแรดและปลาเทโพ แม่น ้ำสะแกกรังถือเป็ นเส้นเลือด ใหญ่ที่คอย
หล่อเลี้ยงชีวิตชาวแพและชาวอุทยั ธานีมาตั้งแต่โบราณ ชุมชนชาวแพแห่งแม่น ้ำสะแกกรังมีวิถีชีวิต
ผูกพันสายน้ำ ที่เหลืออยู่ แห่งสุ ดท้ายในประเทศไทย

ภาพที่ 1 ลุ่มแม่น ้ำสะแกกรัง


ที่มา : http://www.dooasia.com/trips/แม่น ้ำสะแกกรัง/
1.2.1 การประกอบอาชีพ
วิถีความเป็ นอยูข่ องชุมชนเรื อนแพ ก็เหมือนกับชุมชนทัว่ ไป มีผนำ
ู ้ ชุมชน
ก็คือแพผูใ้ หญ่ ซึ่ งองค์ประกอบก็คล้ายคลึงกับชุมชนบนบก ส่ วนอาชีพของชาวเรื อนแพ ส่ วนใหญ่
จะประกอบอาชีพทำการประมงน้ำจืด โดยการเลี้ยงปลาในกระชัง ซึ่ งก็มีท้ งั ปลาสวาย ปลาแรด ปลา
เทโพ โดยเฉพาะปลาแรดที่เลี้ยงในกระชังของที่นี่ถือว่าขึ้นชื่อเรื่ องเนื้ อนุ่ม หวาน อร่ อยกว่าที่อื่นๆ
นอกจากจะเลี้ยงปลาในกระชังแล้ว ชาวเรื อนแพก็ยงั จับปลาจากในลำน้ำสะแกกรัง
หรื อแหล่งน้ำอื่นๆ มาทำเป็ นปลาแห้ง ปลาเค็ม แล้วนำไปขายในตลาด เพื่อเป็ นรายได้ให้กบั
ครอบครัว ซึ่ งส่ วนหนึ่งของรายได้เหล่านั้นก็ตอ้ งนำไปซื้ อลูกบวบมาซ่อมแซมแพ เพื่อให้ยงั คงลอย
อยูไ่ ด้
นอกจากนี้ในบางพื้นที่ยงั มีการปลูกใบเตยไว้ขาย แล้วสำหรับบางคนก็
ออกไปหางานทำหรื อรับจ้างทำงานจากข้างนอก เพราะในปั จจุบนั แม่น ้ำน้ำเกิดภาวะแล้งหนักทำให้
อาชีพเลี้ยงปลาหรื อจับปลาทำได้ลำบากมากขึ้น
1.2.2 ปัญหาและอุปสรรคในการอยูแ่ พ
ในช่วงหน้าแล้งหรื อฤดูร้อนน้ำจะแห้งทำให้เกิดความลำบาก และปั ญหา
ในการอยูแ่ พคือต้องดูแลแพของ ตนไม่ให้เสื่ อมสภาพ เรื อนแพที่นี่มีเลขที่บา้ น และทะเบียนบ้าน
รับรองการอยูอ่ าศัยถูกต้องตามกฎหมาย ในสมัยก่อนมีบา้ นเรื อนแพอยูเ่ ป็ นจำนวนมาก แต่ในทุกวัน
นี้มีจำนวนเรื อนแพลดน้อยลงไปเรื่ อยๆ ก็มาจากปั ญหาหลายๆ อย่าง ส่ วนหนึ่งก็เพราะยากต่อการ
ดูแลรักษา เนื่องจากปัญหาน้ำท่วม ระดับน้ำที่มีการขึ้นลงอาจจะทำให้ลูกบวบใต้เรื อนแพเสี ยหายได้
ประกอบกับที่ตวั เรื อนแพเองก็ทรุ ดโทรมลงไปตามกาลเวลา ทำให้ชาวเรื อนแพต้องเสี ยค่าใช้จ่ายไป
กับการซื้ ออุปกรณ์มาซ่อมแซมให้ยงั คงสภาพอยูไ่ ด้ และปั จจุบนั ทางการไม่อนุญาตให้มีการออก
ทะเบียนบ้านให้เรื อนแพที่สร้างใหม่แล้ว
ในส่ วนของวัสดุที่เป็ นไม้ ที่นำมาสร้างและซ่อมแซมเรื อนแพก็มีมูลค่าสู งขึ้น
เรื่ อยๆ จนเรี ยกได้วา่ ค่าใช้จ่ายในการใช้ชีวิตอยูบ่ นเรื อนแพนั้นแพงกว่าที่จะขึ้นไปใช้ชีวิตอยูบ่ นบก
เสี ยอีก นัน่ ก็เป็ นส่ วนที่ทำให้ชาวเรื อนแพย้ายขึ้นไปอยูบ่ นบกกันเสี ยมาก และยังประกอบกับการคุม
กำเนิดเรื อนแพ ไม่ให้มีการสร้างเพิ่มเติม
ปัญหาทั้งหมดนี้จึงเป็ นจุดเริ่ มต้นของการสิ้ นสู ญของชุมชนเรื อนแพที่ถือว่าใหญ่
ที่สุดในประเทศไทย ซึ่ งในอนาคตอาจจะไม่มีเหลือให้คนรุ่ นหลังสัมผัสอีกแล้วก็เป็ นได้
และเมื่อถึงวันนั้น บรรยากาศอดีตแห่งลุ่มน้ำสะแกกรังแบบเรื อนแพ อาจจะกลายเป็ นตำนาน
วิถีชีวิตของคนไทยตั้งแต่ด้ งั เดิม ล้วนมีความสัมพันธ์กบั สายน้ำอย่างลึกซึ้ ง
ไม่วา่ จะเป็ นการดำรงชีวิต การสัญจรทางเรื อและการประกอบอาชีพ เช่นเดียวกับสมาชิกชุมชนชาว
แพจังหวัดอุทยั ธานีที่ใช้ประโยชน์จากความอุดมสมบูรณ์ของแม่น ้ำสะแกกรังในการประกอบอาชีพ
กันทุกครัวเรื อน เรื อนแพบนสายน้ำเส้นนี้ต่างก็ยดึ อาชีพปลูกเตยหอม และเลี้ยงปลาในกระชังกัน
เป็ นส่ วน ใหญ่โดยเฉพาะปลาแรด ที่สร้างรายได้ และสร้างชื่อเสี ยงให้กบั จังหวัดอุทยั ธานีเป็ นอย่าง
มาก
ภาพที่ 2 วิถีชีวิตลุ่มแม่น ้ำสะแกกรัง
ที่มา :http://www.nsru.ac.th/ksru/web_data/Life_raft_SakaeKrangRiver/live.html

คุณศรี วิภา วิบูลย์รัตน์ กล่าวว่า “อาชีพย่างปลา ปลาเนื้ ออ่อน ปลาสวาย


ปลาเทโพ ปลาช่อน ทำเตยไว้เพื่อขาย นำไปทำดอกไม้บา้ ง ใบบ้าง ที่เค้าเอาไปทำขนม
เลี้ยงปลาด้วยอาหารเม็ด ผักบุง้ เวลาไม่สบายก็ให้ยา เป็ นธรรมชาติของมัน ใช้ชีวิตอยูแ่ พมันสบาย
พอกิน พอใช้ ไม่เดือดร้อน ไม่ตอ้ งไปกูห้ นี้ยมื สิ นใครเขา อยูไ่ ด้”
1.2.3 ลักษณะของเรื อนแพ
เรื อนแพ หมายถึง เรื อนที่สร้างอยูใ่ นน้ำ อยูบ่ นแพทั้งหลัง โดยมีลกั ษณะ
และส่ วนประกอบโดยทัว่ ไปเหมือนกับเรื อนไทยเดิม เพียงแต่การลอยอยูใ่ นน้ำอาศัยแพ
ที่เป็ นทุ่นลอยน้ำ เรื อนแพจึงแยกได้เป็ นสองส่ วน คือ ส่ วนตัวเรื อน และส่ วนแพที่เป็ นทุ่นลอยน้ำ
แพเป็ นส่ วนสำคัญที่รับน้ำหนักของเรื อน ส่ วนใหญ่จะใช้แพไม้ไผ่ ต่อมาใช้ถงั น้ำมัน
และวิวฒั นาการเป็ นเรื อเหล็กหนุน ซึ่ งจะคงทนและรับน้ำหนักได้มากกว่า แพไม้ไผ่แบบเดิม ซึ่ งเป็ น
ไม้ไผ่ที่มดั รวมกันเป็ นฟ่ อนๆ ถ้าเป็ นลูกบวบขนาดเล็ก ฟ่ อนหนึ่งจะมี 40-50 ลำ หากเป็ นลูกบวบ
ขนาดใหญ่ จะมีประมาณ 60-100 ลำ ลูกบวบทำหน้าที่เป็ นทุ่นให้แพ ลอยได้เหมือนเรื อโป๊ ะแต่ราคา
ถูกกว่ามาก ในขณะเดียวกันก็มีอายุการใช้งานไม่ยาวนักเพราะจะถูกคลื่นกระแทกตลอดเวลา เมื่อมี
เรื อแล่นผ่าน

ส่ วนลักษณะและโครงสร้างของเรื อนแพคล้ายกับเรื อนไทย ฝามีหลาย


แบบ เป็ นฝากระแชงอ่อน หรื อฝาขัดแตะ ซึ่ งมีน ้ำหนักเบาสามารถเปิ ดบานกระทุง้ ได้ ส่ วนด้านสกัด
ของเรื อนเรี ยกฝาถัง ใช้ไม้กระดานเป็ นแผ่นหน้ากว้างตั้งขึ้นเป็ นฝา แต่ทำเป็ นลิ้นเข้าไม้สนิทเสมือน
เป็ นแผ่นเดียวกันแบบจีน พบได้ในเรื อนแพส่ วนใหญ่ เพื่อป้ องกันไม่ให้ขโมยที่อาจพายเรื อเข้ามา
เทียบแพงัดฝาได้ง่าย หลังคาจะมุงจาก เนื่องจากน้ำหนักเบา ทนต่อการสัน่ ไหวจากคลื่น ถ้าใช้
กระเบื้องคงจะหนักและร่ วงหล่นได้ง่าย
เรื อนแพทัว่ ไป มักนิยมทำเป็ นเรื อนแฝด แต่มีขนาดไม่เท่ากัน เรื อนใหญ่
จะอยูด่ า้ นนอก เรื อนเล็กจะอยูด่ า้ นใน ริ มตลิ่ง คนที่มีฐานะดีหน่อยก็จะปลูกเป็ นเรื อนแฝดสามหลัง
เลยทีเดียว แต่ต่อมาการสร้างเรื อนไทยแบบเรื อนไทยเดิมนั้นค่อยๆลดลง ตามความเปลี่ยนไปของ
ระบบเศรษฐกิจ การปลูกสร้างที่อยูอ่ าศัย ก็ตอ้ งคะนึงถึงความรวดเร็ ว และความประหยัด จึงมีเรื อน
รู ปแบบอื่นมาแทนที่ อีกทั้งในเมืองบางกอก ซึ่ งก็กลายเป็ นกรุ งเทพมหานครในปัจจุบนั ระบบการ
คมนาคมทางน้ำก็มีการพัฒนารู ปแบบไป มีการคิดค้นเรื อหางยาว ที่วิ่งเร็ ว เสี ยงดัง เป็ นศัตรู ตวั ฉกาจ
ของเรื อนแพ เพราะผ่านมาคราวใด เรื อนแพก็มีอนั ต้องโยกคลอน ซัดเซไปตามแรงคลื่น ประชากร
ชาวแพทั้งหลายก็จำใจอพยพหนีคลื่น เข้าสู่ คลองเล็กคลองน้อย พอนานๆเข้าก็เริ่ มหนีข้ ึนฝั่ง ยึดริ ม
ตลิ่งนัน่ เองเป็ นที่ปลูกสร้างกระท่อมริ มคลอง
1.3.แหล่งท่ องเที่ยว กิจกรรมลุ่มแม่ น้ำสะแกกรัง
1.3.1 ตลาดเช้าลุ่มแม่น ้ำสะแกรัง
ตลาดเช้าของอุทยั ธานีถือได้วา่ เป็ นแหล่งจำหน่ายปลาสดที่น่าสนใจยิง่ นัก
และระหว่างการล่องเรื อสามารถขึ้นไปชมวิธีการทำปลารมควันที่มีคุณภาพสู งได้อีกด้วย นอกจาก
สภาพวิถีชีวิตที่ยงั คงความงามแล้ว สภาพธรรมชาติตลอดลำน้ำมีทิวทัศน์สองฝั่งที่ทำให้นกั ท่อง
เที่ยวรู้สึกผ่อนคลายได้เป็ นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิง่ นักดูนกที่สามารถดูนกได้ตลอดลำน้ำ
ประกอบด้วยนกที่หากินริ มน้ำชนิดต่าง ๆ ทั้งนกกระเต็น นกยาง อีลุม้ นกอีโก้ง เหยีย่ วขาวไหล่เทา
และอีกมากมายให้ได้สุขใจ ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการล่องแม่น ้ำสะแกกรังแนะนำให้เป็ นช่วงเช้า
ตรู่ จะเห็นภาพชีวิตต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจนใช้เวลาทั้งสิ้ นประมาณ 1-2 ชม.

ภาพที่ 3 ตลาดเช้าลุ่มแม่น ้ำสะแกกรัง


ที่มา : https://www.paiduaykan.com/travel/ชมวิถีริมน้ำสะแกกรัง
1.3.4 ชมความงามวิถีชีวิตชาวแพ
การท่องเที่ยวชมความงามและวิถีชีวิตชาวแพในแม่น้ำสะแกกรัง นับเป็ นอีกหนึ่ง
รู ปแบบการท่องเที่ยวที่ได้รับ ความสนใจจากนักท่องเที่ยวทุกคนที่มาเยือนอุทยั ธานี ชุมชนชาวแพ
แม่น ้ำสะแกกรัง ในเขตจังหวัดอุทยั ธานีนบั เป็ นอีกหนึ่งวิถีชีวิตที่หาได้ยากมากแล้วในโลกยุค
ปั จจุบนั ถือเป็ นจุดเด่นที่ดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยว ในการล่องเรื อในแม่น ้ำสะแกกรังอยูท่ ี่
เรื อนแพที่มีชาวแพอาศัยอยูม่ าหลายชัว่ อายุคน โดยในสมัยก่อนจะมีอยู่ ทั้งหมดกว่า 300 หลัง ทุก
เรื อนแพมีบา้ นเลขที่และทะเบียนบ้านรับรองการอยูอ่ าศัย เป็ นการถือกรรมสิ ทธิ์ ที่ถูกต้อง ตาม
กฎหมายปัจจุบนั ยังเหลือชาวแพที่อาศัยอยูใ่ นสายน้ำแห่งชีวิตสายนี้ กว่า 200 หลัง โดยทางการไม่
อนุญาต ให้มีการออกทะเบียนบ้านให้แพที่สร้างใหม่อีกแล้ว
นักท่องเที่ยวสามารถเดินชมวิถีชีวิตชาวแพด้วยตัวเอง หรื อใช้บริ การนำ
เที่ยวชมวิถีชีวิตริ มน้ำ โดยจะขึ้นที่ท่าเรื อเทศบาล ซึ่ งอาจจจะท่องเที่ยวโดยการนัง่ เรื อ สัมผัสชีวิต
ของชาวบ้านริ มน้ำ ลมเย็นๆกับบรรยากาศแสนสบายบนเรื อแล้ว ธรรมชาติและวิถีชีวิตสองฝั่งน้ำที่
เรามองเห็น ถือเป็ นภาพความงามที่ไม่ตอ้ ง ปรุ งแต่งมากมาย ด้านตะวันออกเราจะเห็นเกาะเทโพ มี
ทุ่งนา สวนผัก สวนผลไม้ และป่ าไผ่ตามธรรมชาติ ด้านตะวันตกมีอาคารบ้านเรื อนอยูห่ นาแน่น
เป็ นตลาดขนาดใหญ่ โดยทั้ง 2 ฟากฝั่งถูกกั้นกลางด้วยแม่น ้ำสะแกกรัง
ภาพที่ 4 เที่ยวชมวิถีชีวิตริ มน้ำ
ที่มา : http://www.dooasia.com/trips/แม่น ้ำสะแกกรัง/

2. แม่ น้ำท่ าจีน


2.1 ความเป็ นมา
แม่น ้ำท่าจีน เป็ นแม่น ้ำที่แยกตัวออกจากแม่น ้ำเจ้าพระยาที่ตำบลท่าซุง บริ เวณปาก
คลองมะขามเฒ่า จึงเรี ยกแม่น ้ำนั้นว่า "คลองมะขามเฒ่า" และมาหักเลี้ยวเป็ นแยกแม่น ้ำที่ไหลไป
เชื่อมกับแม่น ้ำเจ้าพระยาได้อีกทีตรงที่เป็ นพื้นที่ปากคลอง ตำบลหาดท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท กับ
ฝั่งตะวันตกที่อำเภอวัดสิ งห์ จังหวัดชัยนาท ไหลผ่านจังหวัดชัยนาท จังหวัดสุ พรรณบุรี จังหวัด
นครปฐม และจังหวัดสมุทรสาคร ก่อนจะไหลออกสู่ อ่าวไทยที่ตำบลบางหญ้าแพรก อำเภอเมือง
สมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร มีความยาวทั้งสิ้ นประมาณ 325 กิโลเมตร แม่น ้ำท่าจีนมีชื่อเรี ยก
หลายชื่อ ตอนที่ไหลผ่านจังหวัดชัยนาทเรี ยกว่า "คลองมะขามเฒ่า" ตอนที่ผา่ นจังหวัดสุ พรรณบุรี
เรี ยกว่า "แม่น้ำสุ พรรณบุรี" ตอนที่ผา่ นจังหวัดนครปฐมเรี ยกว่า "แม่น้ำนครชัยศรี " ส่ วนตอนที่ไหล
ผ่านจังหวัดสมุทรสาครและไหลลงสู่ อ่าวไทยเรี ยกว่า "แม่น้ำท่าจีน"
2.1 สภาพปัญหาที่พบ
ในอดีตแม่น ้ำถือเป็ นเส้นเลือดสำคัญของบ้านเมือง เศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรม อาณาจักสุ วรรณภูมิหรื อสุ พรรณภูมิ อันเป็ นที่ต้ งั ของเมืองนครปฐม(นครชัยศรี )
สุ พรรณบุรี(อู่ทอง) มีแม่น ้ำท่าจีนเป็ นเส้นเลือดหล่อเลี้ยง แม่น ้ำท่าจีนจึงเป็ นแม่น ้ำสำคัญของภูมิภาค
นี้ ประชาชนในชุมชนต่างๆที่ต้ งั บ้านเรื อนกระจัดกระจายอยูต่ ลอดสองฟากฝั่งของแม่น ้ำนี้ ล้วนทำ
มาหากินโดยอาศัยทรัพยากรในลำน้ำ จับกุง้ หอยปูปลาและสัตว์น ้ำนานาชนิดมากินเป็ นอาหาร ใช้น ้ำ
ในแม่น้ำทำการเพาะปลูกพืชผักผลไม้ พืชสำคัญคือข้าวที่เพาะปลูกกันมานับพันปี ยังคงปลูกกันมา
จนถึงปัจจุบนั
เส้นทางคมนาคมขนส่ งของคนในชุมชนแถบนี้ กอ็ าศัยแม่น ้ำเป็ นเส้นทางสำคัญ
เพราะสามารถเดินทางด้วยเรื อ แพ ได้อย่างสะดวกสบาย ขนส่ งสิ่ งของได้มากโดยไม่ตอ้ งใช้แรงงาน
คนหรื อสัตว์พาหนะให้ยงุ่ ยากสิ้ นเปลือง และสามารถเดินทางไปได้ไกลๆ เนื่องจากแม่น ้ำท่าจีนมี
ความยาวถึงราว 300 กิโลเมตร กว้าง 60 เมตรโดยเฉลี่ย เริ่ มต้นโดยแยกจากแม่น ้ำเจ้าพระยาในเขต
ตำบลท่าซุง อำเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี ไหลผ่านจังหวัดชัยนาท เรี ยกว่าแม่น้ำมะขามเฒ่า ไหลผ่าน
จังหวัดสุ พรรณบุรี อำเภอเดิมบางนางบวช สามชุก ศรี ประจันต์ บางปลาม้า สองพี่นอ้ ง เรี ยกว่าแม่น ้ำ
สุ พรรณบุรี ไหลผ่านจังหวัดนครปฐม บางเลน นครชัยศรี เรี ยกว่าแม่น ้ำนครชัยศรี และไหลผ่าน
จังหวัดสมุทรสาครลงสู่ อ่าวไทย เรี ยกว่าแม่น้ำท่าจีน รวมไหลผ่านทั้งหมด 5 จังหวัด ทั้งยังมีลำคลอง
สาขากระจัดกระจายซอกซอนไปทัว่ ทุกพื้นที่
สภาพของน้ำในแม่น้ำท่าจีนซึ่ งมีถึง 4 ชื่อดังกล่าวมานี้ มีน้ำคลองไหลหล่อเลี้ยงอยู่
ตลอดปี ไม่เคยขาดช่วง น้ำในแม่น้ำนี้ถึงแม้จะไม่ใสนักแต่กส็ ะอาดไม่เน่าเหม็นหรื อมีเชื้อโรค
สามารถใช้ดื่มกินได้โดยผ่านการทำความสะอาดเพียงเล็กน้อย เช่น แกว่งด้วยสารส้ม นอกจากนั้น
ในฤดูน ้ำหลากซึ่ งอยูใ่ นระหว่างเดือน 11 เดือน 12 เดือนอ้ายและเดือนยี่ เหมือนที่ศิลปิ นเพลงลูกทุ่ง
ได้ประพันธ์ไว้วา่ “พอเดือนสิ บเอ็ดน้ำเริ่ มไหลนอง เพ็ญเดือนสิ บสองน้ำในคลองก็เริ่ มจะทรง ครั้น
ถึงเดือนยีน่ ้ำก็รี่ไหลลงไหลลง เหตุไฉนน้ำใจอนงค์ไหลคล้อยลงเหมือนน้ำเดือนยี.่ ...”
น้ำที่หลากท่วมทั้งสองฝั่งคลองเจิ่งนองในท้องทุ่งอันกว้างขวางช่วยให้ชาวนาสามารถปลูกข้าวได้
ผลผลิตงดงามทุกปี แถมยังมีพืชผัก เช่น กระเฉด ผักบุง้ ผักตบชวา สาหร่ าย สายบัวและผักน้ำนา
ชนิด กับกุง้ หอย ปู ปลา มากมายให้ใช้เลี้ยงปากเลี้ยงท้องผูค้ นในชุมชนได้อย่างอุดมสมบูรณ์ แถม
ยังมีเผือ่ แผ่ส่งออกไปขายให้ผคู้ นในชุมชนอื่นๆได้อิ่มหมีพีมนั ตามไปด้วย จึงนับเป็ นความเฉลียว
ฉลาดของบรรพบุรุษชาวสุ วรรณภูมิเราที่มาเลือกที่ต้ งั ชุมชนอยูบ่ นฟากฝั่งของแม่น ้ำสายนี้ เพราะนี่
คือระบบนิเวศที่สมบูรณ์อย่างแท้จริ ง

ภาพที่ 5 แม่น้ำท่าจีน
ที่มา : https://mgronline.com/local/detail/9600000072341

นอกจากเป็ นที่อยูท่ ี่กินและเส้นทางคมนาคมขนส่ งดังกล่าวแล้ว แม่น้ำยังเป็ นแหล่ง


ก่อเกิดของศิลปวัฒนธรรมของประชาชนในชุมชนสองฟากฝั่งอย่างงดงามอีกด้วย ไม่วา่ เพลงเรื อ
ลำตัด เพลงฉ่อย เพลงยาว เพลงกล่อมเด็ก เพลงเห่เรื อ ลิเก รวมถึงเพลงลูกทุ่งที่ร้องกันในปั จจุบนั
ด้วย นอกจากนั้นยังมีการละเล่นต่างๆ เช่น การแข่งเรื อ การลอยกระทง การเผาเทียนเล่นไฟ และการ
เล่นกีฬาทางน้ำอื่นๆ ศิลปวัฒนธรรมเหล่านี้มีวิวฒั นาการสื บทอดกันมายาวนานแต่ยคุ โบราณ น่า
เสี ยดายที่บดั นี้ ศิลปวัฒนธรรมเหล่านั้นกำลังค่อยๆเสื่ อมสู ญไป เช่นเดียวกับความสำคัญของแม่น ้ำ
ทางด้านเศรษฐกิจและสังคมดังกล่าวมาข้างต้นด้วย

ความเสื่ อมโทรมของแม่น ้ำท่าจีนเกิดขึ้นอย่างน่าเป็ นห่วงจนบางคนบอกว่า “แม่น ้ำ


ท่าจีนตายแล้ว”สาเหตุสำคัญก็คือ ผูค้ นเริ่ มเห็นความสำคัญของแม่น ้ำน้อยลงและบางคนไม่เห็น
ความสำคัญเลยโดยเฉพาะนักการเมืองและข้าราชการที่ถือว่าเป็ นผูนำ ้ ชุมชน คนเหล่านี้หนั ไปรับเอา
วัฒนธรรมใหม่ๆของต่างชาติมาใช้โดยขาดความยั้งคิด เช่น มีการสร้างเขื่อนปิ ดกั้นแม่น ้ำโดยไม่
คำนึงถึงระบบนิเวศของสัตว์น ้ำ และการทำมาหากินของประชาชนในลุ่มน้ำ เขื่อนที่สร้างขึ้นทาง
ตอนบนของแม่น ้ำท่าจีนคือ เขื่อนเจ้าพระยาที่จงั หวัดชัยนาท และเขื่อนภูมิพล(ยันฮี) ซึ่ ง
วัตถุประสงค์หลักในการสร้างเขื่อนทั้งสองคือเพื่อป้ องกันน้ำท่วมกรุ งเทพฯและเพื่อผลิตกระแส
ไฟฟ้ า โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อการเกษตรและชีวิตความเป็ นอยูข่ องประชาชนในจังหวัดต่างๆใน
ภาคกลางของประเทศน้อยมาก ประการต่อไปคือ การก่อสร้างถนนใหญ่(สายเอเชีย)ขนานไปกับ
แม่น ้ำท่าจีน มีการนำรถบรรทุกขนาดใหญ่มาใช้มากมาย ทำให้ผคู ้ นละเลยการขนส่ งทางเรื อซึ่ งเป็ น
เส้นทางที่ประหยัดพลังงานได้มากกว่า
นอกจากนั้นยังมีการปล่อยปละละเลยให้ชุมชนใหญ่ๆ เช่น ตัวเมืองจังหวัด
สุ พรรณบุรี ระบายน้ำเสี ยลงสู่ แม่น ้ำท่าจีน เรี ยกว่าเป็ นการ “เอาแม่น ้ำเป็ นท่อน้ำทิ้ง” โรงงานต่างๆที่
เกิดขึ้นสองฟากฝั่งแม่น ้ำท่าจีนก็ไม่มีการเข้มงวดกวดขันการระบายน้ำเสี ยและทิ้งขยะลงในแม่น ้ำนี้
เช่นกัน เป็ นผลให้คุณภาพของน้ำในแม่น ้ำนี้เสื่ อมโทรมลงอย่างมาก กุง้ หอยปูปลาพากันสู ญพันธุ์
หมดสิ้ นไป การประมงน้ำจืดซึ่ งเคยเป็ นอาชีพเลี้ยงปากเลี้ยงท้องของประชาชนดังที่กล่าวมาในตอน
ต้นจึงไม่อาจทำได้อีกต่อไป การเพาะปลูกพืชหลักเช่น ข้าว ซึ่ งแต่เดิมอาศัยน้ำที่หลากมาตามฤดูกาล
นำเอาปุ๋ ยธรรมชาติมาให้ในรู ปของดินเลนอันอุดม ปั จจุบนั ชาวนาต้องอาศัยปุ๋ ยเคมีที่ซื้ อหามาใน
ราคาแพงเพียงอย่างเดียวเพราะดินเลนติดอยูเ่ หนือเขื่อน
นี่คือการสูญสิ้ นของระบบนิเวศชุมชน ซึ่ งทำให้ผคู ้ นไม่อาจอาศัยอยูก่ ินอย่างปกติ
สุ ขโดยพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นของตนเองได้ คนส่ วนมากต้องดิ้นรนไปทำงานหาเงิน
ในกรุ งเทพฯ คนส่ วนที่ไม่สามารถไปทำมาหากินในกรุ งเทพฯได้กต็ อ้ งรอให้ลูกหลานส่ งเงินมาให้
ใช้ นี่คือร่ องรอยกาลเวลาที่ทำให้ชุมชนในลุ่มน้ำนครชัยศรี (สุ พรรณบุรี มะขามเฒ่า ท่าจีน)ที่สืบทอด
มาจากทวาราวดีศรี วิชยั สุ วรรณภูมิเสื่ อมโทรมลงใกล้จะถึงที่สุดแล้ว
บทที่ 3
วิธีดำเนินงาน
จากการศึกษาคำขวัญประจำจังหวัดอุทยั ธานีที่วา่ “แหล่งต้นน้ำสะแกกรัง”มีเครื่ องมือ
แผนการดำเนินงาน และวิธีดำเนินงาน ดังต่อไปนี้
3.1 เครื่องมือ
1. คอมพิวเตอร์
2. โทรศัพท์มือถือ
3. แฟลชไดร์ฟ
4. หนังสื อ
3.2 แผนการดำเนินงาน

ตุลาคม พฤศจิกายน
การปฏิบัติงาน 2562 2562

1. การศึกษาข้อมูล
2. วางแผนการดำเนินงาน
3. การเขียนเค้าโครง
4. การลงมือปฏิบตั ิ
5. การเขียนรายงานผล
ตารางที่ 1 แผนการปฏิบัติงาน
3.3 วิธีดำเนินงาน
ในการทำโครงงานนี้ คณะผูจ้ ดั ทำได้ดำเนินการขั้นตอนต่างๆ ตามแผนผังขั้นตอน
การดำเนินงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. วางแผนการดำเนินงาน
1) กำหนดหัวเรื่ องที่จะศึกษา
2. ศึกษาข้ อมูลเพือ่ การออกแบบและจัดทำรูปเล่มรายงาน
1) ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับความสะอาดของแหล่งแม่น ้ำสะแกกรัง และแม่น ้ำท่าจีน
2) ศึกษเกี่ยวข้องกับความสำคัญของแม่น ้ำสะแกกรัง
3) ศึกษาข้อมูลวิถีชีวิตของชาวแพรที่อาศัยอยูใ่ นแม่น ้ำสะแกกรัง
3. การดำเนินงานตามวัตถุประสงค์
ตอนที่ 1 การเปรียบเทียบความสะอาดแม่ น้ำสะแกกรัง และ แม่ น้ำท่ าจีน
1) สังเกตความขุ่น/ใส ของแม่น ้ำสะแกกรัง และบันทึก
2) สังเกตความขุ่นใสของแม่น ้ำท่าจีน และบันทึก
3) นำผลที่ได้มาเปรี ยบเทียบกัน และ บันทึก
ตอนที่ 2 การศึกษาความสำคัญของแม่ น้ำสะแกกรัง และวิถีชีวติ ชาวแพที่อาศัยอยู่
ในแม่ น้ำสะแกกรัง
1) นำข้อมูลเกี่ยวกับความสำคัญของแม่น ้ำสะแกกรัง และวิถีชีวิตชาวแพ
ที่อาศัยอยูใ่ นแม่น้ำสะแกกรังที่ศึกษามาวิเคราะห์ และ เรี ยบเรี ยง
ตอนที่ 3 การประเมินความพึงพอใจของคนในจังหวัดอุทัยธานีทมี่ ีต่อแม่ น้ำสะแก
กรัง 1) กำหนดกลุ่มเป้ าหมายจำนวน 20 คน โดยมีนกั เรี ยนชั้นม.ต้น คุณครู ใน
โรงเรี ยน ซึ่ งจะนำแบบประเมินให้กลุ่มเป้ าหมายได้ทำแบบประเมิน
2) นำแบบประเมินที่ได้มาหาค่าเฉลี่ย และผลสรุ ปความพึงพอใจของคน
อุทยั ที่มีต่อแม่น ้ำสะแกกรัง

บทที่ 4
ผลของการทำโครงงาน
จากการทำงานเรื่ องคำขวัญประจำจังหวัดอุทยั ธานีที่กล่าวว่า “แหล่งต้นน้ำ
สะแกกรัง” มีผลดังต่อไปนี้
ตอนที่ 1 การเปรี ยบเทียบความสะอาดแม่น ้ำสะแกกรัง และ แม่น ้ำท่าจีน
รายการแม่น ้ำ ความสะอาดของน้ำในแม่น้ำ

แม่น้ำสะแกกรัง มีความสะอาดปานกลาง

แม่น้ำท่าจีน มีความสะอาดน้อย

ตารางที่ 2 การเปรี ยบเทียบความสะอาดของน้ำในแม่น้ำสะแกกรังและแม่น้ำท่า

ตอนที่ 2 การศึกษาประวัติความเป็ นมา และความสำคัญของแม่น ้ำสะแกกรัง


สะแกกรัง เป็ นแม่น ้ำมีตน้ กำเนิดอยูใ่ นเขตเทือกเขาโมโกจู ในเขตจังหวัด
กำแพงเพชร ไหลไปบรรจบกับแม่น ้ำเจ้าพระยาที่บา้ นท่าซุง ตำบลท่าซุง อำเภอเมือง จังหวัด
อุทยั ธานี มีความยาวประมาณ 225 กิโลเมตร ที่น่าสนใจก็คือพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่
หัว รัชกาลที่ 5 เคยเสด็จประพาสต้นทางเรื อมาตามแม่น ้ำสายนี้ และแวะพักผ่อนหุงหาอาหารเสวย
บนแพริ มแม่น ้ำสะแกกรังอีกด้วย
แม่น ้ำสะแกกรัง คือ ช่วงตั้งแต่ปากคลองขุมทรัพย์ หรื อคลองอีเติ่ง ที่บา้ นจักษา
อำเภอเมือง หรื อตรงปลายแม่น้ำตากแดด ณ จุดที่แม่น ้ำตากแดดไหลมาบรรจบกับคลองขุมทรัพย์
ซึ่ งน้ำจะเป็ นสองสี แล้วไหลผ่านตัวเมืองอุทยั ธานี แล้วไหลไปบรรจบแม่น้ำเจ้าพระยา
ตอนที่ 3 การศึกษาวิถีชีวิตชาวแพที่อาศัยอยูใ่ นแม่น ้ำสะแกกรัง
“วิถีชีวิตชาวแพลุ่มแม่น ้ำสะแกกรัง” เป็ นภูมิปัญญาท้อง ถิ่นมาตั้งแต่ชา้ นานและ
สื บถอดมาจนถึงปัจจุบนั ชาวบ้านบอกว่า อยูแ่ พแล้วสบายหน้าร้อนลมเย็น หน้าหนาวตอนเช้าแดด
อุ่น ชาวแพเหล่านี้ประกอบอาชีพทำการประมงแม่น ้ำสะแกกรังถือเป็ นเส้นเลือด ใหญ่ที่คอยหล่อ
เลี้ยงชีวิตชาวแพและชาวอุทยั ธานีมาตั้งแต่โบราณ ชุมชนชาวแพแห่งแม่น ้ำสะแกกรังมีวิถีชีวิต
ผูกพันสายน้ำ ที่เหลืออยู่ แห่งสุ ดท้ายในประเทศไทย

ตอนที่ 4 การประเมินความพึงพอใจของคนในจังหวัดอุทยั ธานีที่มีต่อแม่น ้ำสะแกกรัง


จากการเก็บรวบรวมข้อมูลความพึงพอใจของคนในจังหวัดอุทยั ธานีที่มีต่อแม่น ้ำ
สะแกกรัง โดยวิธีการแจกแบบสอบถาม จำนวน 20 ฉบับ ได้ผลสรุ ปจากแบบสอบถาม ตามตาราง
ดังนี้   
 
สถานภาพ จำนวน ร้อยละ
นักเรี ยนโรงเรี ยนม.ต้น 10 50
คุณครู ในโรงเรี ยน 10 50
รวม 20 100

จากข้อมูลผูต้ อบแบบสอบถามทั้งหมด 30 คน พบว่า มีนกั เรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน


ต้น จำนวน 10 คน ครู จำนวน 10 คน คิดเป็ นอัตราส่ วน นักเรี ยน ม.ต้น : ครู เท่ากับ 1 : 1

รายการ ค่า x bar ค่า s.d. การแปลผล


ความสะอาดของแม่น ้ำสะแก 4.05
กรัง
การมีประโยชน์ของแม่น ้ำ 5.35
สะแกกรังในชีวิตประจำวัน
ความสำคัญของแม่น ้ำสะแก 3.95
กรังที่มีต่อตน
ความรู ้ที่มีต่อชาวแพในแม่น้ำ 3.23
สะแกกรัง
รวม 4.14
ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
จากการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ที่มีต่อเครื่ องตรวจวัดค่าฝุ่ นอัจฉริ ยะ พบว่า ความพึง
พอใจของผูใ้ ช้โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก (x̄ = 4.14, S.D.= 0.64) เมื่อพิจารณาเป็ นราย
ข้อ จำนวน 4 ข้อ คือ ความสะอาดของแม่น ้ำสะแกกรัง x̄ = 4.05, S.D. = 0.32) การมี
ประโยชน์ของแม่น ้ำสะแกกรังในชีวิตประจำวัน (x̄ = 5.35, S.D. = 0.60) ความสำคัญของ
แม่น ้ำสะแกกรังที่มีต่อตน (x̄ = 3.95, S.D. = 0.58) และความรู ้ที่มีต่อชาวแพในแม่น ้ำ
สะแกกรัง(x̄ = 3.23, S.D. = 0.74) ส่ วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยสู งที่สุด ซึ่ งมีความพึงพอใจอยูใ่ น
ระดับมากที่สุด คือ การมีประโยชน์ของแม่น ้ำสะแกกรังในชีวิตประจำวัน (x̄ = 5.35, S.D. =
0.98)
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ
การจัดทำโครงงานครั้งนี้ คณะผูจ้ ดั ทำโครงงานได้นำเสนอการสรุ ปผลการดำเนินงาน
อภิปรายผล และข้อเสนอแนะตามลำดับขั้นตอนดังต่อไปนี้

5.1 สรุ ปผล


เอกสารอ้างอิง
ความเป็ นมาแม่น้ำสะแกกรัง. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก https://th.wikipedia.org/wiki/แม่
น้ำสะแกกรัง สื บค้นเมื่อวันที่ 11 พฤษจิกายน 2562
ความเป็ นมาแม่น้ำสะแกกรัง. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก http://www.travelwithkids.in.th/เ
ที่ยวอุทยั / สื บค้นเมื่อวันที่ 11 พฤษจิกายน 2562
วิธีชีวิตชาวแพ ลุ่มแม่น ้ำสะแกกรัง. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
http://www.nsru.ac.th/ksru/web_data/Life_raft_SakaeKrangRiver/live.html
สื บค้นเมื่อวันที่ 12 พฤษจิกายน 2562
การประกอบอาชีพ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
http://www.nsru.ac.th/ksru/web_data/Life_raft_SakaeKrangRiver/live.html
สื บค้นเมื่อวันที่ 12 พฤษจิกายน 2562
ปัญหาและอุปสรรคในการอยูแ่ พ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
https://www.youtube.com/watch?v=RATdmQtuQ_M
สื บค้นเมื่อวันที่ 12 พฤษจิกายน 2562
ปัญหาและอุปสรรคในการอยูแ่ พ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
http://www.nsru.ac.th/ksru/web_data/Life_raft_SakaeKrangRiver/live.html
สื บค้นเมื่อวันที่ 12 พฤษจิกายน 2562
ลักษณะของเรื อนแพ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
http://www.nsru.ac.th/ksru/web_data/Life_raft_SakaeKrangRiver/live.html
สื บค้นเมื่อวันที่ 12 พฤษจิกายน 2562
ตลาดเช้าลุ่มแม่น ้ำสะแกรัง. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
https://www.paiduaykan.com/province/north/uthaithani/sakaekrangriver.html
สื บค้นเมื่อวันที่ 12 พฤษจิกายน 2562
ชมความงามวิถีชีวิตชาวแพ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
https://www.paiduaykan.com/province/north/uthaithani/sakaekrangriver.html
สื บค้นเมื่อวันที่ 12 พฤษจิกายน 2562
ชมความงามวิถีชีวิตชาวแพ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
http://www.nsru.ac.th/ksru/web_data/fish_SakaeKrang/100.html
สื บค้นเมื่อวันที่ 12 พฤษจิกายน 2562
ความเป็ นมาแม่น้ำท่าจีน. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/แม่น้ำท่าจีน
สื บค้นเมื่อวันที่ 14 พฤษจิกายน 2562
สภาพปัญหาที่พบ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
http://www.thaipoet.net/index.
สื บค้นเมื่อวันที่ 14 พฤษจิกายน 2562
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้ าที่
ภาพที่ 1 ลุ่มแม่น ้ำสะแกกรัง
ภาพที่ 2 วิถีชีวิตลุ่มแม่น ้ำสะแกกรัง
ภาพที่ 3 ตลาดเช้าลุ่มแม่น ้ำสะแกรัง
ภาพที่ 4 แม่น้ำท่าจีน

You might also like