You are on page 1of 5

Efficiency of Market

Consumers surplus   Producers surplus and Efficiency of market


้ สิน คาและบริการบางอยางแลวตองผิดหวัง หลังจากพบวาราคาสิน คาสูงกวาที่
            เมื่อเราไปตลาดเพื่ อซือ
คาดการณ ไว  ในขณะเดียวกัน ราคาของสิน คาที่สูงขึน ้ ยอมสงผลใหผูผลิตมีความยิน ดีใ นราคาสิน คามากขึน
้  
มัน เป็ นสิ่งที่ไมนาแปลกใจ เพราะผูซือ ้ ตางตองการซือ
้ ในราคาที่ถก
ู ลง ในขณะที่ผขายตองการใหราคาสู
ู งขึน

กวาที่เป็ น  สิ่งสําคัญที่ตองทําความเขาใจคือราคาที่เหมาะสมสําหรับสังคมคือเทาไหร
                      ที่ผานมาเราไดศึกษาการทํางานของตลาดในการจัดสรรทรัพ ยากรอยางเหมาะสมโดยปราศจากการ
แทรกแซง  ซึง่ ที่ผานมาลวนเป็ นการวิเคราะห แบบ Positive มากกวา Normative  ทําใหเรารูวาทายที่สุดแลว
ราคาและปริมาณการซือ ้ ขายจะปรับตัวเขาสูดุลยภาพแตไมสามารถรูไดวาดุลยภาพที่เป็ นอยูในตลาดนั ้น เล็ ก
เกิน ไป ใหญเกิน ไป หรือ เป็ นดุลยภาพที่พ อเหมาะแลว
            สําหรับในบทนี ้เราจะใช เศรษฐศาสตรสวัสดิการ(Welfare economics) ในการศึกษาวาการจัดสรรค
ทรัพ ยากรสงผลกระทบอยางไรตอคุณ ภาพชีวต ิ (ความกิน ดีอยูดี) โดยจะเริ่มศึกษาวาโดยจําลองประโยชน ที่ผู
ซือ้ และผูขายไดรับจากตลาด  และทําอยางไรเพื่ อใหประโยชน รวมที่ไดรับจากตลาดของทัง้ ผุซือ ้ และผูขายสูง
ที่สุด  โดยจะแบงศึกษาดังนี ้
1.       Consumer surplus   (สวนเกิน ผูบริโ ภค )
-          ขึน
้ อยูกับเสน Demand
2.       Producer Surplus   (สวนเกิน ผูผลิต)
-          ขึน
้ อยูกับเสน Supply
3.       Efficiency of Market (ความมีประสิทธิภาพของตลาด)

Consumer Surplus (สวนเกิ น ผู บริโ ภค)

สวนเกิน ผูบริโ ภค คือประโยชน ซึง่ ผูบริโ ภคไดรับจากตลาด เมื่อราคาสิน คาที่ทําการซือ


้ ขายจริง(Actually Pay)
นอยกวาราคาสิน คาที่คาดหวังไวในตอนแรก (Willingness to Pay) โดย Mankiw N. Gregory (2009) ได
ใหความหมายไววา Consumer surplus is the amount a buyer is willing to pay for a
good minus the amount the buyer actually pays for it.
Willingness to pay
การที่จะซือ ้ สิน คาอะไรสักอยางหนึ่ ง เราตองมีความคาดหวังหรือมีการเดาราคาคราวๆของสิน คาไวลวง
หนาอยูแลว ผูบริโ ภคแตละคนมีความยิน ดีที่ซอ ื ้ สิน คาในราคาสูงสุดที่สามารถยอมรับไดแตกตางกัน ตามราคาที่
คาดการณ ไวแตกตางกัน ราคาสูงสุดที่ผบริ ู โ ภคแตละคนยอมรับไดและยิน ดีจาย เรียกวา Willingness to
pay  ซึง่ เป็ นการวัดวา

WTP = Willingness to pay   หมายถึง มูลคาสูงสุดที่ผซื


ู อ้ มีความเต็มใจที่จะจาย

ผูบริโ ภคจะยิน ดีมาก หากราคาจริงของสิน คาตํา่ กวาราคาที่คาดหวัง Willingness to Pay แตหากราคา


จริงของสิน คาสูงกวาราคาที่คาดหวังไว ผูบริโ ภคจะไมซือ ้ สิน คานั ้น ๆ และหากราคาจริงของสิน คาเทากับราคาที่
ผูบริโ ภคคาดหวัง ผูบริโ ภคจะไมรูสึกยิน ดีมากขึน
้ แตก็ไมสูญเสียความสามารถในการซือ ้ แตอยางใด

Name WTP
Anthony 250
Chad 175
Flea 300
แปล
John 125

จากตาราง แสดงราคาที่ผบริ ู โ ภคแตละคนคาดหวัง หรือราคาสูงสุดที่ผบริ ู โ ภคแตละคนยิน ดีจาย  หากตัง้


ราคาสิน คาไวที่  100 บาท จะมีผบริ ู โ ภคที่สามารถซือ ้ สิน คาไดทัง้ 4 คน  หากตังราคาไวที่ 200 บาท จะมีผู
บริโ ภคเพี ยง2คนเทานั ้น ที่ซอ ื ้ สิน คาชนิ ดนี ้ คือ Flea และ Anthony    หากตังราคาไวที
้ ่300 บาท จะมีผบริ
ู โ ภค
ื ้ สิน คา คือ Flea  โดยไมรับรูถึงความตางของราคาจริงกับราคาที่คาดหวัง(ราคาสิน คาไมไดถูก
เพี ยงคนเดียวที่ซอ
กวาที่คด
ิ )
สวนตางระหวางราคาผูบริโ ภคคาดหวังและยิน ดีจายสูงสุด(Willingness to Pay) กับราคาที่จายจริง
(Actually Pay) เรียกวา Consumer Surplus  หรือ สวนเกิน ผูบริโ ภค เชน     ราคาสิน คาที่ผบริ
ู โ ภคตองจาย
คือ100บาท  จากตาราง Chad มี Willingness to pay 175 บาท แสดงใหเห็ น ถึงสวนตาง 75 บาท ที่เรียกวา
Consumer Surplus หรือสวนเกิน ผูบริโ ภค
ตัว อยาง  ราคาสิน คากับ Consumer surplus

Name WTP
Anthony 250
Chad 175
Flea 300
John 125

ถาสิน คามีราคาขายคือ 200$ จะมีผที ู ่สามารถซือ ้ สิน คาได คือ Anthony  และ    Flea      สวนผูที่ไม
้ สิน คาได เนื่ องจาก WTP ของเขามีมูลคาตํา่ กวาราคาขายจริงนั่ น คือ Chad และ  John
สามารถซือ
้ ที่  2 ชิน
   ที่ราคาสิน คาเทากับ 200$  มีปริมาณความตองการซือ ้

้ ทีไ่ ดรับ จากตลาด


Consumer Surplus คือ การวัดผลประโยชน ของผู ซือ
้ สิน คาในราคาทีต
จากการซือ ่ าํ่ กวาคาดหวัง

การใช Demand Curve ในการวัดConsumer Surplus


                      เราเริ่มตนดวยการพิ จารณา Willingness to Pay ของแตละคน  จากนั ้น จึงนํ ามาพิ จารณากับราคา
สิน คาที่ผบริ ู โ ภคตองจายจริง วา ณ ระดับราคานั ้น ๆมีผที ้ สิน คาไดกีค
ู ่สามารถซือ ่ น และแตละคนมี Consumer
Surplus เทาใด  เพราะ Consumer Surplus มีความสัมพั น ธกับ Demand Curve เป็ นอยางมาก
ถาเงือ ้ สิน คาหนึ่ งหนวย)
่ นไขทางดานราคาเป็ นดังนี ้    (กําหนดให แตละคนซือ

Price  ($) Who Buys Quantity demand


301 up - 0
251-300 Flea 1
176-250 Flea , Anthony, 2
126-175 Flea , Anthony, Chad 3
0-125 Flea  ,Anthony, Chad, John 4

้ สิน คานั ้น เลย  หากราคาอยูในชวง251-300 บาท


จากตารางแสดงใหเห็ น วาที่ราคาสูงกวา300 บาท ไมมีใ ครซือ
จะมีผซื
ู อ้ สิน คา1 คน  หากราคาอยูระหวาง126-175 บาท จะมีผซื ้ สิน คา 3 คน คือ Flea , Anthony, Chad
ู อ
เพราะ WTP ของทัง้ 3 สูงกวาราคาที่ตองจายจริง

            จากตารางแสดงใหเห็ น ถึง Quantity Demand ของตลาด ที่ระดับราคาตางๆกัน ซึง่ สามารถนํ ามาแสดง
ในรูป Demand Curve ไดดังนี ้
Producer Surplus (สวนเกิ น ผู ผลิต)

                      ในการพิ จารณาสวัสดิการที่ผผลิ
ู ตไดรับนั ้น ใชหลักการในการวิเคราะห เชนเดียวกัน กับการวิเคระห
สวัสดิการที่ผซื ้ ไดรับจากตลาด
ู อ
Cost and willingness to sell
้ หนั งสือหนึ่ งเลม เราจะพยายามแสวงหาผูขายที่ขายในราคาที่ตาํ่ ที่สุด
            ลองจิน ตนาการวาเราตองการซือ
ผูขายก็พ ยายามที่จะขายหนั งสือหากราคาที่เขาไดรับนั ้น สูงกวาตนทุน ในการผลิตของเขาโดยตนทุน คือ มูลคา
ของทุกสิ่งที่ผผลิ
ู ตตตองใชในการผลิตสิน คาชนิ ดนั ้น ๆขึน ้ มา ไมวาจะเป็ นคาหมึกพิ มพ คากระดาษหรือจางคน
พิ สูจน อักษร
            ราคาขัน ู ตตองการจะเทากับตนทุน ในการผลิตสิน คา ซึง่ เรียกไดอีกอยางวาตนทุน เป็ นตัว
้ ตํา่ ที่สุดที่ผผลิ
วัด Willingness to sell (ราคาขายตํา่ สุดที่คาดหวัง)  ผูผลิตแตละรายตางตองการใหราคาสิน คาที่แ ทจริงนั ้น
สูงกวาราคาขายตํา่ สุดที่เขาคาดหวังทัง้ สิน ้ เพื่ อใหได มาซึง Producer Surplus สูงที่สุด  หรืออยางนอยก็ขอ
ใหราคาเทากับ willingness to sell (ไมมี Producer Surplus แตไมขาดทุน )

Name Cost
Jack 10
Janet 20
Chrissy 35

จากตาราง แสดง willingness to sell ของผูผลิตแตละราย สิ่งที่ผผลิ


ู ตแตละตองการคือ ราคาขายจริงที่สูงกวา
ราคาที่ตนคาดการณ ไว ซึง่ หากราคาขายเทากับ 5 บาทจะไมมีใ ครยอมขายสิน คาเลย หากราคาขายเทากับ 19
บาทจะมีเพี ยง Jack ที่ยอมขายสิน คา และหากราคาขายเทากับ40บาท ผูผลิตทุกคนตางยิน ดีที่จะขายสิน คา
ของตน
ุ คนไดรับ คือ Producer Surplus ซึง่ หมายถึง สวนตางระหวางราคาขายที่ผผลิ
            โดยประโยชน ที่ทก ู ต
คาดหวัง(Cost หรือ Willingness to sell) กับ ราคาขายที่จากตลาดไดรับจริง

การใช Supply Curve ในกาวัด Producer Surplus

ไ โ
            เราสามารถพิ จารณาไดโดยดู Cost ของผูผลิตแตละราย เพราะตนทุน เปรียบเสมือน Willingness to
sell ของผูขายแตละรายที่จะไมยอมขายสิน คาราคาตํา่ กวาตนทุน แลวจึงพิ จารณาวา ณ ราคาสิน คาและบริการ
ที่แ ทจริงมีผผลิ
ู ตที่จะยิน ดีขายสิน คาจํานวนกีร่ าย และแตละรายมี  Producer Surplus  เทาใด  เพราะ
Producer Surplus มีความสัมพั น ธกับ Supply curve
ถาเงือ
่ นไขทางดานราคาเป็ นดังนี ้   
Price  ($) Who sales Qs
0-9 Nobody 0
10-19 Jack 1
20-34 Jack , Janet 2
35 up Jack , Janet, Chrissy 3

จากตารางแสดงใหเห็ น วาที่ตาํ่ กวา10$ ไมมีผผลิ


ู ตรายใดเสนอขายสิน คาเลย เพราะผูผลิตไมมี
Producer Surplus  หากราคาอยูในชวง20-34บาทจะมีผผลิ ู ตขายสิน คาสองคน คือ Jack และ Janet เพราะ
Willingness to sell หรือ cost ของทัง้ สองคน ตํา่ กวาราคาจริงที่ไดรับ

            จากตารางแสดงใหเห็ น ถึง Quantity Supply ของตลาด ที่ระดับราคาตางๆกัน ซึง่ สามารถนํ ามาแสดง
ในรูป Supply Curve ไดดังนี ้

 
Total Surplus

Total Surplus   = CS  +  PS


                        = WTP – cost
                        = ราคาที่ เ ต็ ม ใจจาย  -  ตนทุ น

Consumer Surplus และ Producer Surplus เป็ นเครื่องมือพื น้ ฐานที่นั กเศรษฐศาสตรใชในการศึกษา


สวัสดิการของสังคม เมื่อ Consumer Surplus คือ WTP- Actual Price    และ Producer Surplus คือ
Actual Price  - Cost และ Total Surplus คือ PS+CS ดังนั ้น TS( total surplus ) จึงมีคาเทากับ WTP –
Cost
ใ ่ ใ ไ ่
            หากตลาดกอใหเกิดดุลยภาพที่สงผลให เกิด Total Surplus สูงสุด เราจะเรียกไดวาการจัดสรรที่เกิด
ขึน
้ ของตลาดนั ้น มีประสิทธิภาพ(Efficiency)  ตัวอยางการจัดสรรที่ไรประสิทธิภาพ เชน การที่ผผลิ ู ตไม
สามารถผลิตได ณ จุดที่ตนทุน ตํา่ ที่สุด การที่ผผลิ
ู ตสามารถลดตนทุน ในการผลิตไดจะเป็ นการเพิ่ ม total
Surplus ใหแกตลาดนั่ น เอง    หรือในทางกลับกัน หากสิน คาไมสามารถทําใหผูบริโ ภคอยูในภาวะที่มี ราคาที่
คาดหวังสูงสุดได(WTP)  การเปลี่ยนแปลงความคาดหวังในราคาใหสูงขึน ้ สามารถเพิ่ ม Total Surplus ได
                      อีกอยางที่สังคมควรใหความสนใจไมแพความมีประสิทธิภาพคือความเป็ นธรรม Equity ซึง่ หมายถึง
การกระจายตัวที่ดข ี องความกิน ดีอยูดีแ กทัง้ ผุบริโ ภคและผูผลิต ปั ญหาคือ ความเป็ นธรรมมักมีทิศทางสวนทาง
กับความมีประสิทธิภาพ ความเป็ นธรรมไมสามารถทําใหtotal surplus สูงสุด แลวเราควรจัดสรรคอยางไรให
เป็ นธรรม
 
Efficiency of market

                      เราสามารถรูไดวาตลาดมีประสิทธิภาพแคไหนผานทางการคํานวณโดยใชหลักการของProducer
Surplus และ Consumer Surplus ตามที่ไดศึกษามาแลวขางตน  ซึง่ เป็ นที่รกั ู น วาเมื่อตลาดเขาสูดุลยภาพ
แลวราคาจะมีเพี ยงราคาเดียวซึง่ เป็ นราคาดุลยภาพ  ทําใหเรารูไดวา พื น
้ ที่ตงแตราคาดุ
ั้ ลยภาพขึน้ ไปถึง
เสนDemand   หรือพื น ้ ที่สีสมเป็ น Consumer Surplus ของตลาดแหงนี ้   และพื น ้ ที่ตงแตราคาดุ
ั้ ลยภาพลง
มากระทัง้ ถึงเสนSupply หรือพื น ้ ที่สีเขียว เป็ น Producer Surplus ของตลาดนี ้
                      สําหรับ Total Surplus ของตลาดแหงนี ้สามารถคํานวณไดอยางงายๆ ไดโดยนํ าเอาพื น ้ ที่สีสมและ
พื น้ ที่สีเขียวมารวมกัน (CS+PS) จะไดเป็ นพื น ้ ที่Total Surplus ที่เกิดขึน
้ ในตลาดแหงนี ้  เราจะสังเกตไดวาเมื่อ
ตลาดอยูในดุลยภาพแลว จะไมสามารถเปลีย ่ นแปลงใหตลาดสามารถมี Welfare เพิม ่ ขึน ้ มากกวานี ไ้ ดอีก  โดย
การเปลีย ่ นแปลงการบริโภคของผูบริโภค หรือการเปลีย ่ นแปลงการผลิตของผูผลิต     เพราะในตลาดแขงขัน
สมบูรณ ที่มีการคาอยางเสรี ณ ดุลยภาพ เป็ นจุดที่เกิด Total Surplus สูงสุด

You might also like