You are on page 1of 24

อ.ดร.

วรัญญา ทัศนีศรีวงศ์
 บางกรณีแม้ได้รบั โทษแต่มเี หตุอนั ควรลดโทษ
 เหตุลดโทษทีก่ ฎหมายกาหนดไว้อาจจาแนกได้ 2
ประเภทใหญ่ คือ
1. เหตุลดโทษเพราะบันดาลโทสะ
2. เหตุลดโทษทัวไป

ข้ อ ควรจ ำ เหตุ ล ดโทษหมายความว่ า การกระท าของบุ ค คลนั น้ ผิด


กฎหมายและต้องรับโทษทางอาญา แต่โทษทีจ่ ะลงนัน้ กฎหมายลดหย่ อน
ให้
 หลักเกณฑ์
1. ถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอนั ไม่เป็ นธรรม
2. การทีถ่ กู ข่มเหงเช่นนัน้ เป็ นเหตุให้ผกู้ ระทาบันดาลโทสะ
3. ผูก้ ระทาได้กระทาความผิดต่อผูข้ ม่ เหงในขณะบันดาลโทสะ
I. ถูกข่มเหงอย่ำงร้ำยแรงด้วยเหตุอน
ั ไม่เป็ นธรรม
ผู้ท่ีว ิว าทสมัค รใจต่ อ สู้ท าร้ า ยซึ่ง กัน และกัน จะกระท าการ
โต้ตอบต่ออีกฝ่ ายหนึ่งโดยอ้างว่าถูกข่มเหงด้วยเหตุ อนั ไม่เป็ น
ธรรมไม่ได้
การข่มเหงนัน้ ต้องเป็ นการข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยจึง จะอ้าง
บันดาลโทสะได้
II. การทีถ่ กู ข่มเหงเช่นนัน้ เป็ นเหตุให้ผกู้ ระทาบันดาลโทสะ
เมือ่ ได้ถกู ข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอนั ไม่เป็ นธรรมแล้ว
จะต้องปรากฎว่าผูก้ ระทาได้เกิดบันดาลโทสะ (โมโห)
การบันดาลโทสะนี้ตอ้ งบันดาลโทสะทันทีทท ่ี ราบสาเหตุ หาก
ทราบสาเหตุ แ ล้ ว ยัง ไม่ บ ัน ดาลโทสะ แต่ ไ ปบัน ดาลโทสะ
ภายหลัง และการกระท าความผิด แม้จ ะกระท าความผิด ใน
ขณะทีย่ งั มีโทสะอยู่ ก็จะอ้างบันดาลโทสะไม่ได้
III. ผูก้ ระทาได้กระทาความผิดต่อผูข้ ม่ เหงในขณะบันดาล
โทสะ
หลักเกณฑ์ขอ้ นี้ประกอบด้วยเงือ่ นไข 2 ประการ คือ
1) ต้องกระทาความผิดต่อตัวผูข้ ม่ เหงเอง และ
2) กระทาผิดในขณะบันดาลโทสะ
1. ความไม่รกู้ ฎหมาย
2. คนวิกลจริต
3. คนมึนเมา
4. จาเป็ น ป้ องกัน เกินสมควรกว่าเหตุ
5. ผูก้ ระทาอายุกว่า 15 ปี แต่ไม่เกิน 18 ปี หรือเกิน 18 ปี แต่ไม่เกิน
20 ปี
6. การกระทาความผิดเกีย่ วกับทรัพย์บางมาตราระหว่างญาติสนิท
7. เหตุบรรเทาโทษ
1. ความไม่รกู้ ฎหมาย
 การทีจ่ ะถือหลักว่า บุคคลจะแก้ตวั ว่าไม่รกู้ ฎหมาย
เพือ่ ให้พน้ ความรับผิดในทางอาญาไม่ได้อย่างเคร่งครัด
อาจเป็ นการก่อให้เกิดความยากลาบากแก่ประชาชน
กฎหมายจึงได้ยอมผ่อนผันให้บา้ ง
2. คนวิกลจริต
 ปกติถ้าบุคคลใดกระทาความผิดในขณะไม่สามารถรู้ผดิ ชอบ
หรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เพราะมีจติ บกพร่อง โรคจิ ต
หรือจิตฟั น่ เฟื อน ผูน้ นั ้ ไม่ตอ้ งรับโทษสาหรับความผิดนัน้
 แต่ ถ้า ยังรู้ผ ดิ ชอบหรือยัง สามารถบัง คับ ตนเองได้บ้ าง ผู้นัน้
ต้องรับโทษสาหรับความผิดนัน้ แต่ศาลจะลงโทษน้ อยกว่าที่
กฎหมายกาหนดไว้สาหรับความผิดนัน้ เพียงใดก็ได้
3. คนมึนเมา
 การกระทาความผิดด้วยความมึนเมา ไม่อาจจะยกขึน
้ เป็ นข้อ
แก้ตวั เพื่อไม่ต้องรับโทษ เว้นแต่ความมึนเมานัน้ ได้เกิดโดยผู้
เสพไม่รู้ว่าสิง่ นัน้ จะทาให้มนึ เมา หรือได้เสพโดยถูกขืนใจให้
เสพ และได้กระทาความผิดในขณะไม่สามารถรูผ้ ดิ ชอบหรือไม่
สามารถบังคับตนเองได้
 ถ้าผู้นัน้ ยัง สามารถรู้ผดิ ชอบอยู่บ้างหรือ บัง คั บ ตนเองได้บ้า ง
ศาลจะลงโทษน้อยกว่ากฎหมายกาหนดเพียงใดก็ได้
4. จาเป็ น ป้ องกัน เกินสมควรกว่าเหตุ
 การกระทาโดยจาเป็ นนัน้ ปกติกฎหมายยกเว้นโทษให้
 การกระทาโดยป้ องกันนัน้ กฎหมายกาหนดให้ไม่มคี วามผิด
 ถ้าเป็ นการกระทาโดยจาเป็ นหรือป้ องกันเกินสมควรแก่เหตุ
ศาลจะลงโทษน้อยกว่าทีก่ ฎหมายกาหนดไว้สาหรับความผิด
นัน้ เพียงใดก็ได้
5. ผูก้ ระทาอายุกว่า 15 ปี แต่ไม่เกิน 18 ปี หรือเกิน 18 ปี แต่
ไม่เกิน 20 ปี (มาตรา 75 และ 76)

6. การกระทาความผิดเกีย่ วกับทรัพย์บางมาตราระหว่างญาติ
สนิท (มาตรา 71 วรรคสอง)
7. เหตุบรรเทาโทษ
เหตุบรรเทาโทษทีเ่ ป็ นพฤติการณ์ก่อนกระทาความผิด
 เป็ นผูโ้ ฉดเขลาเบาปั ญญา
 ตกอยูใ่ นความทุกข์อย่างสาหัส
 มีคุณความดีมาก่อน
เหตุบรรเทาโทษทีเ่ ป็ นพฤติการณ์ภายหลังกระทาความผิด
 รูส้ กึ ถึงความผิดและพยายามบรรเทาผลร้ายแห่งความผิดนัน้
 ลุแก่โทษต่อเจ้าพนักงานอันเป็ นประโยชน์แก่การพิจารณา
 ให้ความรูแ้ ก่ศาลอันเป็ นประโยชน์แก่การพิจารณา
หลักเกณฑ์ในการพยายามกระทาความผิดมีดงั ต่อไปนี้
1) ผูก้ ระทาต้องมีเจตนา
2) ผูก้ ระทาต้องได้ลงมือกระทาความผิดแล้ว
3) ผูก้ ระทากระทาไปไม่ตลอด หรือกระทาไปตลอดแล้วแต่การกระทา
นัน้ ไม่บรรลุผล
 คาพิพากษาฎีกาที่ 394/2504 จาเลยเขียนสลากกินรวบไว้สาหรับ
ขาย แต่ยงั ไม่ทนั ลงมือขายก็ถูกจับ ดังนี้ ถือว่าอยูใ่ นขัน้ ตระเตรียมการ
กระทาความผิดเท่านัน้ ยังไม่เป็ นความผิดฐานพยายามขายสลากกิน
รวบ
 การพยายามกระทาความผิดซึง่ เป็ นไปไม่ได้อย่างแน่แท้ โทษที่
ผูก้ ระทาจะได้รบั น้อยกว่าการพยายามกระทาความผิดธรรมดา
 การพยายามกระทาความผิดซึง่ เป็ นไปไม่ได้อย่างแน่ แท้ หมายถึงการ
พยายามกระทาความผิดซึง่ ไม่วา่ จะทาอย่างไรก็ไม่สามารถสาเร็จ
ผลได้ตามทีต่ อ้ งการ
 คาพิพากษาฎีกาที่ 4402/2530 จาเลยขว้างลูกระเบิดใส่ผเู้ สียหาย
โดยมีเจตนาฆ่า แต่ลกู ระเบิดไม่เกิดระเบิดเพราะบังไม่ได้ถอดสลัก
นิรภัย เมือ่ ปรากฎว่าลูกระเบิดดังกล่าวอยูใ่ นสภาพทีใ่ ช้การระเบิดได้
และหากระเบิดขึน้ จะมีอานาจทาลายสังหารมนุษย์ จาเลยมีความผิด
ตามมาตรา 288,80
 การยับยัง้ เสียเอง หมายถึง การทีร่ ะงับเสียไม่กระทาต่อไปให้ตลอดเกิด
จากความคิดริเริม่ ของผูก้ ระทาเอง และต้องเป็ นเรือ่ งทีผ่ ูก้ ระทารูส้ กึ ตัว
ว่าถ้ากระทาต่อไปให้ตลอดรอดฝั ง่ ก็ทาได้ แต่ระงับใจเองไม่กระทา
ต่อไปให้ตลอด
 กลับใจเสียเอง หมายถึง มีการลงมือกระทาความผิด และได้กระทาไป
ตลอดแล้วเพือ่ ทีจ่ ะไม่ให้ตอ้ งรับโทษฐานพยายาม ผูก้ ระทากลับใจ
แก้ไขไม้ให้การกระทานัน้ บรรลุผลด้วยความสมัครใจของตนเอง
 ผลของการยับยัง้ หรือกลับใจ คือ ผูก้ ระทาไม่ตอ้ งรับโทษ แต่ถา้ การ
กระทาได้กระทาไปแล้วกฎหมายบัญญัตใิ ห้เป็ นความผิด ก็ต้องรับโทษ
ในความผิดนัน้ ๆ
1) บุคคลทีไ่ ด้รว่ มกระทาความผิดด้วยกัน มาตรา 83
เรียกว่า “ตัวกำร”
2) บุคคลผูท ้ ไ่ี ด้ก่อให้ผอู้ ่นื กระทาความผิด มาตรา 84
เรียกว่า “ผูใ้ ช้”
3) บุคคลผูส้ นับสนุ นการกระทาความผิด มาตรา 86
เรียกว่า “ผูส้ นับสนุน”
 หลักเกณฑ์ทจ่ี ะพิจารณาว่าเป็ นตัวการหรือไม่ มีดงั นี้
1) มีบุคคลตัง้ แต่ 2 คนขึน
้ ไป
2) ร่วมมือกันกระทาความผิด
3) ร่วมใจกันกระทาความผิด

 ผลคือ ต้องร่วมกันรับผิดในผลด้วยกัน
 ผูใ้ ช้ให้กระทาความผิด คือ ผูท
้ ก่ี ่อให้บุคลลอื่นกระทาความผิดอาญา มี
2 กรณี คือ
1) ผูใ้ ช้ให้กระทาความผิด
2)ผูโ้ ฆษณาให้กระทาความผิด
 หลักเกณฑ์ในการพิจารณาว่าบุคคลใดเป็ น “ผูใ้ ช้” มีดงั นี้
1) ก่อให้ผอู้ ่นื กระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง
2)การทีก่ ่อให้เขากระทานัน้ เป็ นความผิดอาญา
3)มีเจตนาทีจ่ ะก่อให้เขากระทาการ
ผลคือ
กรณีความผิดทีใ่ ช้ยงั ไม่กระทาลง ผูใ้ ช้ตอ้ ง
ระวางโทษ 1 ใน 3 ของโทษทีก่ าหนดไว้สาหรับ
ความผิดนัน้
กรณีความผิดทีใ่ ช้ได้กระทาลงจนเป็ นความผิด
แล้ว ผูใ้ ช้ตอ้ งรับโทษเสมือนเป็ นตัวการ
 หลักเกณฑ์ในการพิจารณาว่าบุคคลใดเป็ นผูส้ นับสนุ น มีดงั นี้
1) กระทาการใดๆอันเป็ นการช่วยเหลือ หรือให้ความสะดวกในการที่
ผูอ้ ่นื กระทาความผิด
2) ได้กระทาการเช่นว่านัน้ ก่อนหรือขณะทีผ่ อู้ ่นื นัน้ กระทาความผิด
3) ได้กระทาโดยมีเจตนาทีจ่ ะช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกในการที่
ผูอ้ ่นื กระทาความผิด
4) ไม่วา่ ผูก้ ระทาความผิดนัน้ จะได้รห
ู้ รือมิได้รถู้ งึ การช่วยเหลือหรือให้
ความสะดวกนัน้ หรือไม่กต็ าม
 ผลคือ ผูส้ นับสนุ นรับโทษ 2 ใน 3 ของโทษสาหรับ
ความผิดทีต่ นสนับสนุน

You might also like