You are on page 1of 52

บรรณาธิการ วลัยพร ศะศิประภา เถลิงศักดิ์ วีระวุฒิ

ผูเขียน
กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ ดินและการจัดการ สภาพแวดลอมที่เหมาะสมกับมันสําปะหลัง
การใชปุยกับมันสําปะหลัง การจัดการดินดาน
วลัยพร ศะศิประภา พันธุที่เหมาะสมเฉพาะพื้นที่ การปลูก การเก็บเกี่ยว
นาวี จิระชีวี การใหน้ําแบบน้ําหยด
กอนทอง พัวประโคน เครือขายเกษตรกรกับสังคมการเรียนรู
โสภิตา สมคิด การปลูก เครือขายเกษตรกรที่ประสบความสําเร็จ
นาฏญา โสภา เครือขายเกษตรกรที่ประสบความสําเร็จ
รังษี เจริญสถาพร โรคมันสําปะหลัง
เบญจมาศ คําสืบ การจัดการดินดาน
นรีลักษณ วรรณสาย การปลูกมันสําปะหลังหลังการทํานา
อนุชิต ฉ่ําสิงห เครื่องขุดมันสําปะหลัง
ภาพประกอบ
นาวี จิระชีวี สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม
อนุชิต ฉ่ําสิงห สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม
วลัยพร ศะศิประภา ศูนยสารสนเทศ
ณิชา โปทอง ศูนยสารสนเทศ
สุภาพร ราจันทึก ศูนยสารสนเทศ
สุกิจ รัตนศรีวงษ ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา
เบญจมาศ คําสืบ ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา
อัมพร วิโนทัย สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช
ชลิดา อุณหวุฒิ สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช
มานิตา คงชื่นสิน สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช
สมลักษณ จูฑังคะ ศูนยวิจัยพืชไรระยอง
วัลลีย อมรพล ศูนยวิจัยพืชไรระยอง
รังษี เจริญสถาพร สถาบันวิจัยพืชไร
รวีวรรณ เชื้อกิตติศักดิ์ ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรสุโขทัย
นาฏญา โสภา ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรรอยเอ็ด
รัชดาวัลย สิรธิ นิตนันท สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4
จัดพิมพโดย สถาบันวิจัยพืชไร กรมวิชาการเกษตร
ดิน น้ํา และการจัดการปลูกมันสําปะหลัง

ดินเปนทรัพยากรตนทุนเริม่ ตน เกษตรกรตองรูจักดินและเรียนรูว ธิ ีการจัดการดินของตนเองกอนจะ


ตัดสินใจปลูกพืชใดๆ ในพืน้ ที่ของตน สิง่ ที่ตองปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลง หากที่ดินผืนนั้นไมเหมาะสมกับ
ชนิดพืชหรือพันธุพืชที่เกษตรกรเลือกปลูก โดยตองรูความตองการของพืชนั้นๆ ดวย เพื่อที่จะใหไดผลผลิต
และคุณภาพสูงสุดซึ่งเปนลักษณะเฉพาะของพืช ดินที่เหมาะสมกับการปลูกมันสําปะหลังอาจไมเหมาะสมกับ
พืชอื่น หากพิจารณาผลกระทบจากการผลิตทั้งระบบ เชน รายได ความเสื่อมโทรมของดินและสิ่งแวดลอม
ตลอดจนการผลิตอยางยั่งยืน จึงควรประเมินความเหมาะสมของพื้นที่ปลูกใหสอดคลองกับความตองการ
ของพืชนั้นๆ เปนสําคัญ ปจจัยหลักที่มีผลตอผลผลิตและคุณภาพของมันสําปะหลัง มีดังนี้
1. ดิน โครงสรางของดิน ประกอบดวยสวนที่เปนของแข็ง เชน หิน แรธาตุ อินทรียวัตถุ และสวนที่
เป น ช อ งว า งหรื อ รู พ รุ น เพื่ อ เก็ บ น้ํ า และอากาศ ในพื้ น ที่ ที่ ป ลู ก พื ช มานานโครงสร า งทางกายภาพจะ
เปลี่ยนแปลงไปมาก เชน สัดสวนของอินทรียวัตถุลดลง ช องวางที่จะเก็บน้ําและอากาศรวมกั นก็ลดลง
เนื่องจากการอัดแนนของดินทําใหเกิดชั้นดานใตชั้นไถพรวน มีผลใหน้ําในดินที่เปนประโยชนตอพืชลดลง
รวมทั้งปริมาณธาตุอาหารพืชที่อยูในดินดวย
2. น้ํา ความชื้นในดินที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของมันสําปะหลัง สัมพันธกับปริมาณและการ
กระจายตัวของฝนหรือน้ําชลประทาน ชนิดของดินซึ่งบงบอกถึงการรับน้ํา การอุมน้ําและการระบายน้ํา
ตลอดจนพันธุและอายุของมันสําปะหลัง เปนตน หากมันสําปะหลังขาดน้ํา หรือหากดินขังน้ําหรือน้ําทวมมี
ผลทําใหผลผลิตและคุณภาพแปงของมันสําปะหลังลดลง
3. การจัดการ เปนวิธีการที่สามารถเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงใหเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของ
มันสําปะหลังได ตั้งแตการเลือกใชพันธุมันสําปะหลังใหเหมาะสมเฉพาะพื้นที่ ระยะปลูกที่เหมาะสม การ
จัดการปองกันกําจัดศัตรูพืชไมใหเขาทําลายจนเกิดผลกระทบตอผลผลิตมันสําปะหลัง รวมทั้งมีการอนุรักษ
แมลงศัตรูธรรมชาติ
เลือกพื้นที่ที่เหมาะสมมากที่สุดเพื่อลดตนทุนการจัดการดิน หากไมสามารถหลีกเลี่ยงไดตองเลือก
วิธีจัดการดินที่ถูกที่สุดตามลําดับ ไปจนถึงพื้นที่ที่จัดการดินแลวไมคุมทุนตองปรับเปลี่ยนไปใชประโยชน
อยางอื่น แตละปจจัยลวนมีความสําคัญและสัมพันธเกี่ยวของกันอยางใกลชิด

1
ทําความรูจักกับดิน
พืชจะเจริญเติบโตไดดีในดินที่มีความรวนซุย มีปริมาณน้ํา อากาศ
และธาตุอาหารที่เปนประโยชนตอพืชอยางเพียงพอ
ดิน มีองคประกอบที่สําคัญ 4 สวน คือ
1. อนินทรียวัตถุ หรือ ของแข็ง เปนสวนประกอบทีม่ ีปริมาณมากที่สุดในดิน ไดมาจากการผุพัง
สลายตัวของหินและแร มีหลายรูปทรงและมีขนาดแตกตางกันไป แบงไดเปน 3 กลุม ไดแก
- ทราย (เสนผาศูนยกลาง 2.00-0.05 ม.ม.)
- ทรายแปง (เสนผาศูนยกลาง 0.05-0.002 ม.ม.)
- ดินเหนียว (เสนผาศูนยกลางนอยกวา 0.002 ม.ม.)
เปนสวนทีส่ ําคัญในการควบคุมลักษณะของเนื้อดิน เปนแหลงกําเนิดของธาตุอาหารพืช และเปน
แหลงอาหารของจุลินทรียดิน รวมทั้งการเกิดกระบวนการทางเคมีตางๆ ในดินดวย
2. อินทรียวัตถุในดิน ครอบคลุมตั้งแตสวนของซากพืชซากสัตวทก่ี ําลังสลายตัว เซลลจุลินทรีย ทั้ง
ที่มีชีวติ อยูและในสวนที่ตายแลว ตลอดจนสารอินทรียที่ไดจากการยอยสลาย หรือสวนที่ถูกสังเคราะหขึ้นมา
ใหม แตไมรวมถึงรากพืช หรือเศษซากพืช หรือสัตวที่ยังไมมีการยอยสลาย จึงเปนแหลงสําคัญของธาตุ
อาหารพืช และพลังงานของจุลินทรียดินโดยเฉพาะอยางยิ่ง ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และกํามะถัน ยังมี
อิทธิพลอยางมากตอสมบัตทิ างกายภาพ เคมี และชีวภาพ ซึ่งสงผลกระทบตอเนื่องไปถึงระดับความอุดม
สมบูรณของดิน และความสามารถในการใหผลผลิตของดินอีกดวย
3. น้ําในดิน พบอยูในชองวางระหวางอนุภาคดินหรือเม็ดดิน มีความสําคัญมากตอการปลูก และ
การเจริญเติบโตของพืช เนื่องจากเปนตัวชวยในการละลายธาตุอาหารตางๆ ในดิน และเปนสวนสําคัญใน
การเคลื่อนยายอาหารพืชจากรากไปสูสวนตางๆของพืช
4. อากาศในดิน สวนของกาซตางๆ ที่แทรกอยูในชองวางระหวางเม็ดดินในสวนที่ไมมีน้ําอยู กาซ
ที่พบโดยทั่วไปในดิน คือ กาซไนโตรเจน ออกซิเจน และคารบอนไดออกไซด ซึ่งรากพืชและจุลินทรียดินใช
ในการหายใจ และสรางพลังงานในการดํารงชีวิต

ดังนั้นดินที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืช จึงควรมีสัดสวนขององคประกอบที่เปนของแข็ง
หรือ อนินทรียวัตถุซึ่งไดมาจากการสลายตัวของหินและแร และอินทรียวัตถุทไี่ ดมาจากการสลายตัวของเศษ
ซากสิ่งมีชีวิต อยูรวมกันประมาณครึ่งหนึ่งของปริมาตรทั้งหมด และอีกครึ่งหนึ่งตองมีน้ําและอากาศในดินใน
ปริมาณที่สมดุลกัน เพราะถาชองวางในดินมีอากาศอยูมากก็จะมีที่ใหน้ําเขามาแทรกอยูไดนอย พืชที่ปลูกก็
จะเหี่ยวเฉาเพราะขาดน้ํา แตถาในชองวางมีน้ํามากเกินไป รากพืชก็จะขาดอากาศหายใจ ทําใหการ
เจริญเติบโตหยุดชะงักได

2
ชองวาง 50% ของแข็ง 50%

อากาศ 25%
อนินทรีย 45%

น้ํา 25%

อินทรีย 5%
องคประกอบของดินที่เหมาะสมกับการปลูกพืช การกระจายขององคประกอบตางๆ ในดิน

ดินที่ปลูกมันสําปะหลัง
ปจจุบันพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ดินสวนใหญเปนดินรวนปน
ทราย และดินทรายปนรวน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางเปนดินรวนปนทราย ดินทรายปนรวน และดิน
เหนียว ภาคตะวันออกเปนดินรวนปนทราย ดินทรายปนเหนียวและดินทรายปนรวน ภาคเหนือเปนดินรวน
ปนทรายและดินทรายปนรวน ภาคกลางเปนดินทรายปนรวน ดินรวนปนทรายและดินรวนปนเหนียว

ภาค ปริมาณน้ําฝน วันฝนตก ชนิดดิน (%ของพื้นที่)


(มม./ป) (วัน/ป)
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1,035-2,500 101-132 ดินรวนปนทราย (39.5)
ดินทรายปนรวน (14.2)
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง 1,040-1,600 99-124 ดินรวนปนทราย (31.0)
ดินทรายปนรวน(26.3) ดินเหนียว (12.7)
ตะวันออก 1,124-3,270 105-168 ดินรวนปนทราย (23.1) ดินรวนปน
เหนียว(12.5) ดินทรายปนรวน(12.3)
เหนือ 1,070-1,490 101-162 ดินรวนปนทราย(60.3)
ดินทรายปนรวน(10.0)
กลาง 890-1,830 92-162 ดินทรายปนรวน(17.8)ดินรวนปนทราย
(16.0) ดินรวนปนเหนียว (10.2)

3
ชนิดของดินและการกระจายของฝนในพืน้ ที่ปลูกมันสําปะหลัง

การตรวจสอบเนื้อดินอยางงาย
เกษตรกรสามารถตรวจสอบเนื้อดินในแปลงของตนเองไดอยางงายโดย
การปนดินใหเปนเสนเปรียบเทียบความยาวกับลักษณะเนื้อดินจากการตรวจ
แบบงายในสภาพไรดวยตัวเอง
ลักษณะดิน ปนเปนเสนยาว (ซม.) เนื้อดิน เทียบเทาดินเหนียว(%)
ทรายแยกเปนเม็ด ปนเปนเสนไมได ทราย 0-5
ทรายเปนเม็ดและติดมือ 0.5-1.5 ทรายปนรวน 5-15
ทรายเกาะเปนกอนบาง 1.5-2.5 รวนปนทราย 10-20
นุมลื่นมือ แนน ไมมีเม็ดทราย 4.0-5.0 รวนปนเหนียว 25-40
เหนียวหนัก ยืดมาก >7.5 เหนียว >45

4
เลือกพืน้ ที่ใหเหมาะสม
สภาพแวดลอมที่เหมาะสมกับมันสําปะหลัง
มันสําปะหลังสามารถปลูกไดในพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณต่ํา เจริญเติบโตไดดีในดินรวนหรือดิน
รวนปนทราย มีการระบายน้ําดี โดยเฉพาะดินนั้นตองเปนดินบนที่ดอน เนื้อหยาบ อินทรียวัตถุนอยกวา 2%
ธาตุอาหารในดินไมสงู มากนัก ความเปนกรด-ดางอยูระหวาง 5-6 เปนกรดจัดถึงกรดปานกลาง และไมเปน
ดินเค็ม ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยปละ 1,000-1,500 มิลลิเมตร อุณหภูมิเฉลี่ย 25-29 องศาเซลเชียส เก็บเกี่ยวได
เมื่ออายุประมาณ 8-18 เดือน พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังสวนใหญอาศัยน้ําฝนเปนหลัก ผลผลิตแตละพื้นที่จึง
ขึ้นอยูกับปริมาณน้ําฝน และคุณลักษณะของดินที่ปลูกเปนสําคัญ

เลือกพื้นที่ใหเหมาะสม หากไมสามารถหลีกเลี่ยงไดตองเลือกวิธีจัดการดินที่ถูกที่สุดตามลําดับ ไป
จนถึงพื้นที่ที่จัดการดินแลวไมคุมทุนตองปรับเปลี่ยนไปใชประโยชนอยางอื่น

สภาพพื้นที่และภูมิอากาศที่เหมาะสมกับมันสําปะหลัง
สภาพแวดลอม เหมาะสม การปรับปรุง
ปริมาณฝน (มม.) 1,000-1,500 หากมีนอยกวา 800 มม.ใหน้ําเสริม/หากมีมากกวา
1,500 มม. ทํารองระบายน้ํา หรือไถเบิกดานใน
พื้นที่ที่มีดินดาน
อุณหภูมิ (°ซ) 25-29 หากต่ํากวา 20 หรือมากกวา 35 ใหคลุมดินดวย
วัสดุ หรือเศษซากพืช
ความลาดชัน (%) นอยกวา 5 ปลู ก หญ า แฝกขวางแนวลาดชั น ไม ค วรปลู ก
มันสําปะหลังในพื้นที่มีความลาดชันเกิน 15%

5
คุณลักษณะดินที่เหมาะสมกับมันสําปะหลัง
คุณลักษณะดิน เหมาะสม การปรับปรุง
เนื้อดิน ดินทราย-ดินรวน สัมพันธใกลชิดกับการอุมน้ําและระบายน้ําของดิน
เนื้อดินเปลี่ยนไดยาก
ความลึกของหนาดิน (ซม.) มากกวา 50 หากตื้นกวา 50 ซม. ควรอยูในเขตที่มีฝนมากกวา
1,000 มม. หรือใสวัสดุอินทรียมากกวา 2 ตัน/ไร
หรือใหน้ําเสริมบางในชวงแลง
ความแนนของดิน (ก./มล.)
-เนื้อดินทราย นอยกวา 1.76 ไถเบิกดาน ผสมผสานกับใชวัสดุอินทรียส ลายตัว
-เนื้อดินรวน นอยกวา 1.66 ชา เชน แกลบดิบ เปนตน
-เนื้อดินเหนียว นอยกวา 1.46
การระบายน้ํา (ซม./ชม.) 6-12.5 แกไขเชนเดียวกับความแนนของดิน
ปฏิกิริยาดิน 5-6 -ต่ํากวา 4.5 ตองปรับปรุงดวยปูนขาว ปูนมารล
(ความเปนกรด-ดาง; pH) โดโลไมท วัสดุอินทรีย หินฟอสเฟต
-สูงกวา 7.5 ใชปุยแอมโมเนียมซัลเฟตแทนยูเรีย
หวานผงกํามะถัน
ความเค็ม (EC, เดซิซีเมน/ม.) นอยกวา 0.5 ปลูกพืชอื่น เชน ออย ขาว ยูคาลิปตัส หรือพืชทน
เค็ม ดีกวาปลูกมันสําปะหลัง
อินทรียวัตถุ (%) 0.6-1.0 ใสปุยตามคาวิเคราะหดิน
ฟอสฟอรัส (มก./ก.) 5-15 ใสปุยตามคาวิเคราะหดิน
โพแทสเซียม (มก./ก.) 38-64 ใสปุยตามคาวิเคราะหดิน
แคลเซียม (มก./ก.) 125-2,500 ใช ปู น ขาว ปู น มาร ล ยิ ป ซั ม โดโลไมท เมื่ อ ดิ น มี
นอยกวา 60 มก./กก.
แมกนีเซียม (มก./ก.) 167-833 ใช MgSO4 โดโลไมท อัตรา 4 กก.Mg /ไร เมื่อดิน
มีนอยกวา 10 มก./กก.
กํามะถัน (มก./ก.) 20-70 ไนโตรเจนจาก ปุยแอมโมเนียมซัลเฟต (24% S)
เหล็ก (มก./ก.) 4-100 ใชพันธุระยอง 11 ระยอง 5 จุมทอนพันธุ FeSO4
สังกะสี (มก./ก.) 0.5-5.0 จุมทอนพันธุ ZnSO4 เขมขน 2% หรือพนทางใบ
ทองแดง (มก./ก.) 0.1-1.0 ปุยหรือวัสดุอินทรียหรือพนปุยทางใบที่มีทองแดง
แมงกานีส (มก./ก.) 5.0-100 ปุยหรือวัสดุอินทรียหรือพนปุยทางใบที่มีแมงกานีส
โบรอน (มก./ก.) 0.20-1.0 ปุยหรือวัสดุอินทรียหรือพนปุยทางใบที่มีโบรอน

6
การเตรียมดินปลูกมันสําปะหลัง
การเตรียมดินสําหรับปลูกมันสําปะหลัง ควรไถพรวนใหลึก 20-30 ซ.ม. โดยไถกลบเศษเหลือของ
พืช เชน ลําตน เหงา ใบและยอด ของมันสําปะหลังที่เหลือจากการเก็บเกี่ยว ไมควรเผาหรือเคลื่อนยาย
ออกจากพื้นที่เพาะปลูก เนื่องจากการเผาทิ้ง หรือขนยายไปทิ้ง จะทําใหธาตุอาหารสูญหายไปเปนจํานวน
มาก การไถพรวนควรมีการใชผาล 3-4 สลับกับผาล 7 บางเพื่อพลิกดินชั้นลางกลับขึ้นมา นอกจากจะชวย
ทํ าดิ น ให ร ว นซุยแลว ยังนําเอาธาตุอาหารที่ถูก ชะลางลงไปอยูดิน ชั้นลางกลับ ขึ้ นมาอยู ใ นชั้ นดิ นบนให
มันสําปะหลังนําไปใชไดอีก

การสูญเสียของธาตุอาหารพืชจากพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง
สวนของมันสําปะหลัง ธาตุอาหารที่สญ
ู หายไปจากพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง 1 ไร
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม
หัวมัน 6 กก. 3 กก. 20 กก.
ตน+ใบ 10 กก. 2 กก. 9 กก.
หัว + ตน + ใบ 16 กก. 5 กก. 29 กก.
เทียบเทากับปุย 15-7-18 ประมาณ 100 กิโลกรัม ตอไร (ปุย 2 กระสอบ)

• ไถพรวนดินหลายๆ ครั้ง และตากดินอยางนอย 2 สัปดาห เพื่อลดปริมาณวัชพืช เพลี้ยแปงและ


ศัตรูพืชอื่นๆ ที่อยูในดิน
• การใชปุยเคมีเปนเวลานานทําใหดินขาดความสมดุลของธาตุอาหาร ควรใชปุยอินทรียเศษซาก
พืชหรือหรือปุยมูลสัตวรวมดวย จะชวยในการปรับโครงสรางของดิน ปรับสมดุลของธาตุอาหาร
และเพิ่มความสามารถในการอุมน้ํา

เพิ่มอินทรียวตั ถุใหกบั ดิน ไถกลบเศษซากพืช และตากดินอยางนอย 2 สัปดาห

7
• ควรปลูกพืชบํารุงดิน เชน ปอเทือง หรือถั่วพุม ใชเมล็ดอัตรา 5 กิโลกรัมตอไร โดยโรยเปนแถว
ระยะระหวางแถว 50 เซนติเมตร หรือปลูกถัว่ พรา อัตรา 15 กิโลกรัมตอไร ระยะระหวางแถว
50-100 เซนติเมตร แลวไถกลบเปนปุยพืชสดเมื่อพืชออกดอกในขณะที่ดินยังมีความชื้น แลวทิ้ง
ไว 7 - 10 วัน กอนปลูกมันสําปะหลัง

ถั่วพรา ปอเทือง

• เตรียมดินใหลึกและรวนซุย ทําลายวัชพืชใหหมด เพื่อใหทอนพันธุที่ปลูกสัมผัสดินและความชื้นในดิน


ไดดี เมื่องอกเปนตนออนแลว สามารถเจริญเติบโตอยางรวดเร็วอยูรอดไดมาก และใหผลผลิตดี

เตรียมดินใหลกึ ดวยผาล 3 เตรียมดินใหรว นซุยดวยผาล 7

• ไมควรไถเตรียมดินขณะทีด่ ินแฉะหรือแหง (ฝุน) มากเกินไป และทิศทางการไถก็ควรจะสลับ


ทิศทางมากกวาไถในแนวทิศทางเดิมๆ เพราะจะทําใหโครงสรางดินเสียไป
• ถาปลูกในพื้นที่ลาดเอียง การไถควรไถขวางทิศทางของความลาดเอียง หรือปลูกหญาแฝกเปน
แนวขวางความลาดเอียงเพื่อลดการสูญเสียหนาดิน และถาพื้นทีเ่ พาะปลูกเปนทีม่ ีน้ําขัง ควรทํา
รองระบายน้ํา และยกรองปลูก
• ตนมันสําปะหลังที่สมบูรณแข็งแรง จะทนทานตอการเขาทําลายของแมลงศัตรูพืชโดยเฉพาะ
เพลี้ยแปง

8
มันสําปะหลังพันธุดี
พันธุของกรมวิชาการเกษตร
ระยอง 5
• ปรับตัวไดดีกับหลาย
สภาพแวดลอม ผลผลิตสูง
• ยอดออนสีมวงอมน้ําตาล
ลําตนสีเขียวอมน้ําตาล
คอนขางออนแอตอโรคใบไหม
• ปริมาณแปง 25-27%
• ทรงตนแตกกิง่ ไดตนพันธุ
นอย

ระยอง 9
• ลําตนสูงตรง แข็งแรง ยอดออนสี
เขียวออน ลําตนสีน้ําตาลอมเหลือง
• ผลผลิตสูง มีปริมาณแปงสูง 28-
31%
• ตานทานโรค ไมตานทานไรแดง
ไมเหมาะสําหรับดินรวนเหนียว
และดินรวนปนลูกรัง
• ไมเหมาะกับการเก็บเกี่ยวต่าํ กวา
12 เดือน

ระยอง 11
• มีปริมาณแปงสูงในฤดูแลง
42.8% ฤดูฝน 25.8%
• ยอดออนสีน้ําตาลอมเขียว
ลําตนสีเขียวเงิน
• ควรเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 12
เดือนเนื่องจากมีเปอรเซ็นต
แปงสูง แตสะสมน้ําหนักชา

9
ระยอง 7
• ความงอกสูง เจริญเติบโตเร็ว
ในชวง 1-2 เดือนแรก ไมคอย
แตกกิ่ง ยอดออนสีเขียว ลําตนสี
น้ําตาลออน
• ผลผลิตสูง ทนแลง
• ปริมาณแปง 27-29%
• ไมตานทานโรคใบไหมและ
ไรแดง

ระยอง 72
• ใหผลผลิตหัวสดสูง ตนพันธุ
คุณภาพดี ทนแลง
• ยอดออนสีมวง ลําตนสีเขียวเงิน
• ปริมาณแปงต่ํา 20-24 % เมื่อ
ปลูกในภาคตะวันออก
• คอนขางออนแอตอโรคใบไหม

ระยอง 90
• ปริมาณแปงสูง 27-29%
• ยอดสีเขียวออน ลําตนสีน้ําตาล
อมสม
• ตนพันธุสูญเสียความงอกเร็ว
และไมทนแลง จึงไมเหมาะกับ
การปลูกปลายฤดูฝน

10
พันธุของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

เกษตรศาสตร 50
• ปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม
ไดดี มีความงอกดีและเก็บ
รักษาไดนาน
• ลําตนสูงใหญ หัวมีลักษณะเปน
กลุม ยอดออนสีมวงเขม ลําตน
สีเขียวเงิน
• มีปริมาณแปงสูง 23-28 %
• ใหผลผลิตไดดีในสภาพที่ดินมี
ความอุดมสมบูรณต่ํา

หวยบง 60
• ยอดออนสีมวง ลําตนสีเขียวเงิน
• มีผลผลิตและปริมาณแปงสูง
ตานทานโรคใบจุดปานกลาง
• ควรเก็บเกี่ยวเมื่ออายุไมนอยกวา
10 เดือน
• ปริมาณแปง 25.5 %

หวยบง 80
• ยอดออนสีเขียว ลําตนสีเขียวเงิน
• ปริมาณแปงสูง 27.3 %
• ควรเก็บเกี่ยวเมื่ออายุไมนอยกวา
10 เดือน

11
เลือกพันธุใหเหมาะกับเฉพาะพื้นที่
เลือกพันธุมันสําปะหลังใหเหมาะสมกับพื้นที่สามารถเพิ่มผลผลิตไดตามกําลังศักยภาพของดินแตละ
ชนิด สามารถเลือกพันธุปลูกอยางงายๆ จากชนิดของดิน ความตองการของเกษตรกรหรือตลาด การปฏิบัติ
เชน เกษตรกรในแหลงปลูกดินเหนียวชอบพันธุระยอง 5 มากกวาระยอง 72 และระยอง 9 เนื่องจากหัวเปน
ชั้น ขั้วสั้น เปลือกหัวหนา ขุดงาย เกษตรกรในแหลงปลูกดินทรายถึงรวนปนทรายชอบพันธุระยอง 72
มากกวาระยอง 9 และระยอง 5 เพราะขุดถอนงาย หัวใหญยาวและขั้วหัวยาว เปลือกบางสะอาด และยัง
ตอบสนองตอการใชปุยไดดีกวาพันธุอื่นๆ
ลักษณะเนื้อดินที่เหมาะสมกับมันสําปะหลังแตละพันธุ
ชนิดของดิน พันธุที่เหมาะสม
ดินทราย/ดินทรายปนรวน เกษตรศาสตร 50 ระยอง 72 หวยบง 60
ดินรวนปนทราย ระยอง 7 ระยอง 9 ระยอง 90 เกษตรศาสตร 50 หวยบง 60
ดินรวนปนเหนียว ระยอง 5 ระยอง 7 ระยอง 11 หวยบง 80
ดินดาง ระยอง 11 ระยอง 5

เลือกพันธุใหเหมาะสมเฉพาะพื้นที่
การเลื อ กพั น ธุ ใ ห เ หมาะกั บ พื้ น ที่ เ ป น การลดต น ทุ น การผลิ ต และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต มั น
สําปะหลังใหสูงสุดตามกําลังศักยภาพของพื้นที่ การปลูกมันสําปะหลังในพื้นที่ดอนทําไดตลอดป แตบาง
พื้นที่ปลูกแบบหลังนา จึงมีขอจํากัดเรื่องชวงเวลาปลูก และตองการพันธุที่สะสมน้ําหนักเร็ว นอกจากดินแลว
ตองพิจารณาปริมาณฝนรวมดวย แตละพื้นที่ควรเลือกใชพันธุใดสามารถศึกษาไดจาก แผนที่พันธุมัน
สําปะหลังที่เหมาะสมเฉพาะพื้นที่ อยางไรก็ตาม เกษตรกรควรทดลองปลูกในแปลงขนาดเล็กกอน หาก
เหมาะสมคอยขยายเพิ่ม
สามารถใชบริการเลือกใชพันธุและชวงปลูกที่เหมาะสมกับพื้นที่ ไดผานทางเครือขายอินเตอรเน็ตที่
http://www.doa.go.th/cassava โดยใหขอมูลผลผลิตคาดการณของมันสําปะหลัง 7 พันธุ ไดแก พันธุ
ระยอง 5 ระยอง 90 ระยอง 7 ระยอง 72 ระยอง 9 ระยอง 11 และเกษตรศาสตร 50 ภายใตสภาพการผลิต
โดยอาศั ย น้ํ า ฝน ใน 6 ช ว งปลู ก ได แ ก เดื อ นมี น าคม เมษายน พฤษภาคม มิ ถุ น ายน ตุ ล าคม และ
พฤศจิกายน อางอิงจากเขตการปกครอง จังหวัด อําเภอ ตําบล และชุดดินที่ใชปลูก

12
13
ทอนพันธุดีและสะอาด
การคัดเลือกและการเก็บเกี่ยวทอนพันธุ
สวนที่ใชขยายพันธุของมันสําปะหลัง คือ สวนของลําตน การเก็บรักษาตนพันธุมีระยะเวลาจํากัด
เนื่องจากความสมบูรณ ความแข็งแรง และความงอกจะลดลงเรื่อยๆ
• ระยะเวลาทีเ่ หมาะสมกับการเก็บเกี่ยวทอนพันธุที่ดีคอื อายุ 10-12 เดือน ควรเลือกจากแปลง
ขยายทอนพันธุที่แยกไวตางหาก
• ตัดตนพันธุท ี่ไมไดขนาด เปนโรค มีแมลงทําลายและพันธุอื่นที่ปนมาทิ้งกอน
• เมื่อตัดทอนพันธุแลวควรรีบนําไปปลูกภายใน 15-30 วัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความสมบูรณของทอน
พันธุ จึงไมควรตัดตนพันธุมาเก็บไวเพื่อรอจําหนาย จาย แจก
• วิธีการเก็บรักษาตนพันธุทดี่ ีที่สุด คือ การทําแปลงขยายพันธุไวเฉพาะ ซึ่งจะเก็บเกี่ยวหลังจาก
เอาตนพันธุไปปลูกแลว หรือในปถัดไป

ตัดตนที่ไมดีทิ้งกอนแลวจึงเลือกตัดตนพันธุดีมัดรวมกัน เก็บรักษาโดยมัดและกองรวมตั้งไวบนพื้นดิน
เหมาะสมกับทอนพันธุที่แข็งแรง

• ในฤดูฝนสภาพอากาศมีความชื้นสูง สามารถเก็บรักษาตนพันธุไดยาวนานกวาในฤดูแลง
- ในฤดูฝน เก็บไวในสภาพกลางแจงหรือในที่รมมีผลไมแตกตางกัน
- ในฤดูแลง เก็บในที่รมจะเก็บไวไดนานกวาเก็บในสภาพกลางแจง
• ระยะเวลาและคุณภาพการเก็บรักษาทอนมันสําปะหลังแตละพันธุหลังตัด
พันธุ ระยะเวลาที่เหมาะสม
ระยอง 90 ระยอง 9 ไมควรเกิน 15 วัน
ระยอง 5 ไมควรเกิน 30 วัน
พันธุอื่นๆ เชน ระยอง 11 ระยอง 72 เกษตรศาสตร 50 หวยบง 60 ไมควรเกิน 45 วัน

14
การเตรียมทอนพันธุ
• ใหเลือกทอนพันธุที่ตรงตามพันธุ หรือเลือกจากแหลงที่เชื่อถือได
• ตัดทอนพันธุยาวประมาณ 20-25 เซนติเมตร (ปลูกฤดูฝน 20 ซม. และฤดูแลง 25 ซม.) มีตาจํานวน
ไมนอยกวา 5 ตา ตัดทอนพันธุโดยใชเลื่อยหรือมีดคมๆ เพื่อไมใหทอนพันธุช้ําเกินไป
• ใชทอนพันธุที่สะอาดปราศจากเพลี้ยแปง

ทอนพันธุยาว 20-25 ซม. ขนาดทอนบงบอกความสมบูรณ การตัดทอนพันธุดวยเครื่องจักร


• หากทอนพันธุที่มาจากแหลงที่มีการระบาดของเพลี้ยแปงหรือไมแนใจ ใหแชทอนพันธุดวย
สารเคมีที่แนะนํานาน 5-10 นาที กอนปลูก

การแชทอนพันธุ สารปองกันกําจัดแมลงที่แนะนํา คือ


1 ไทอะมีโทแซม 25% WG อัตรา 4 กรัม/น้ํา 20 ลิตร
2 อิมิดาโคลพริด 70%WG อัตรา 4 กรัม/น้ํา 20 ลิตร
3 ไดโนทีฟูแรน 10%WP อัตรา 40 กรัม/น้ํา 20 ลิตร
วิธีการแชทอนพันธุ
1. ผสมสารชนิดใดชนิดหนึ่งขางตน ตามอัตราที่กําหนด หลังแชไประยะหนึ่ง สารละลายที่ผสมไว
จะลดลง ทําใหไมสะดวกในการแช ดังนั้นใหผสมสารตามอัตราที่กําหนดเติมลงไปใหทวมทอน
พันธุระหวางแช
2. แช ท อ นพั น ธุ น าน 5 – 10 นาที เพื่ อ ทํ า ให
เพลี้ยแปงที่ติดมากับทอนพันธุตาย และสาร
ปองกั นกํ าจัดแมลงจะแทรกซึมในทอนพันธุ
มั น สํ า ปะหลั ง หลั ง จากงอกเป น ต น แล ว สาร
ปองกันกําจัดแมลงจะสามารถปองกันการเขา
ทําลายของเพลี้ยแปงไดประมาณ 1 เดือน

การแชทอนพันธุ สามารถกําจัดเพลี้ยแปงที่ติดมากับทอนพันธุได และชวยปองกันการระบาดในระยะ 1 เดือนแรกได


15
การปลูกมันสําปะหลัง
ฤดูปลูก
ฤดูปลูก มันสําปะหลังเปนพืชที่สามารถปลูกไดเกือบตลอดทั้งป เพียงแตดินมีความชื้นพอในการ
งอก อาจแบงฤดูปลูกไดเปน 2 ฤดู คือ ตนฝน (มีนาคม-พฤษภาคม) ประมาณรอยละ 70 และปลายฝน
(กันยายน-พฤศจิกายน) การที่เกษตรกรมักเลือกปลูกปลายฝน ก็ดวยเหตุผลคือ ตองการหลีกเลี่ยงหัวมันเนา
และลดจํานวนครั้งการกําจัดวัชพืช
• ชวงปลูกที่เหมาะสม หลักสําคัญในการเลือกฤดูปลูก คือ ควรเลือกวันปลูกเพื่อใหมันสําปะหลังอายุ
1-5 เดือนอยูในสภาพที่ขาดน้ํานอยที่สุด การปลูกเพื่อการผลิตทอนพันธุ ควรปลูกตนฤดูฝนซึ่ง
มันสําปะหลังมีการเจริญเติบโตดี ไดปริมาณทอนพันธุมาก สวนการผลิตหัวมันสดชวงเวลาปลูกที่
เหมาะสมขึ้นกับสภาพพื้นที่แหลงปลูกมันสําปะหลัง โดยทั่วไปการปลูกปลายฝนจะใหผลผลิตสูงกวา

ปริมาณฝน(มม,)
350 เหนือ
ตะวันออกเฉี ยงเหนือ
300 กลาง
ตะวันออก
250

200

150

100

50

0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เหนือตอนลาง
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง
กลาง
ตะวันออก
ชวงปลูกที่เหมาะสม
ปริมาณน้ําฝนรายเดือนและชวงปลูกที่เหมาะสมในแตละภาค

• ควรปลูกตนฝน
ในแหลงปลูกที่มีการระบาดของเพลี้ยแปงใหปลูกชวงตนฤดูฝนเทานั้น เพื่อหลีกเลี่ยงการเขา
ทําลายของเพลี้ยแปงในชวงที่มันสําปะหลังอายุนอยกวา 4 เดือน ฝนจะชวยลดการระบาดของเพลีย้ แปงได
16
ระยะปลูก
เกษตรกรสามารถปลูกมันสํา ปะหลังในอัต ราที่เหมาะสมได ตั้งแต 1,600-2,500 ต นต อไร
โดยประมาณ ซึ่งเกษตรกรสามารถเลือกใชระยะระหวางแถวตั้งแต 80 ถึง 100 ซ.ม. ระหวางตน 60 ถึง 100
ซ.ม แตการปลูกมันสําปะหลังใหแถวถี่ขึ้นจะสิ้นเปลืองทอนพันธุเพิ่มขึ้น แตการคลุมดินจะเร็วกวา ชวยลด
การกัดกรอนผิวดินและเก็บน้ําไวในดินเพิ่มขึ้น
วิธีการปลูก
• ยกรองหรือไมยกรองก็ได ขึ้นอยูกับความสะดวก
• กรณียกรองปลูก ใหปลูกบนสันรอง ปกใหตั้งตรง ลึกประมาณ 5-10 เซนติเมตร หากปลูกในฤดูแลง
ใหปกลึก 15 เซนติเมตร

การปลูกแบบไมยกรอง การปลูกแบบยกรอง

การปองกันกําจัดศัตรูพืช  

เพลี้ยแปง เปนแมลงปากดูด มีไขแปงปกคลุมลําตัว มีเสนแปงอยูรอบลําตัว ที่ทําความ


เสียหายอยางรุนแรง คือ เพลี้ยแปงมันสําปะหลังสีชมพู ซึ่งขยายพันธุไดโดยไมตองอาศัยเพศ ระยะ
จากไขจนถึงตัวเต็มวัย 21 วัน และวางไขไดมากถึง 500 ฟอง/ตัว ดังนั้นเกษตรกรจําเปนตองแยกแยะ
ชนิดของเพลี้ยแปงใหได เพื่อจะไดควบคุมอยางมีประสิทธิภาพ การใชทอนพันธุสะอาดหรือแชทอ น
พันธุกอนปลูกสามารถชวยควบคุมการระบาดของเพลี้ยแปงในชวง 1 เดือนแรกไดผลดี แตในชวงเดือน
ตอไปควรหมัน่ ตรวจแปลงสม่ําเสมอทุก 2 สัปดาห หากพบการระบาดใหปฏิบัติดงั นี้
o มันสําปะหลังอายุ 1-8 เดือน หากพบระบาดใหตัดยอดที่มีเพลี้ยแปงหรือถอนตนที่พบเพลี้ย
แปงเกาะอยูไปทําลายนอกแปลง แลวนําแตนเบียนเพลี้ยแปงมันสําปะหลังสีชมพูมาปลอย
o มันสําปะหลังอายุมากกวา 8 เดือน หากพบการระบาด ควรเรงเก็บผลผลิต ตัดตนทิ้งนําไป
ทําลาย และทําความสะอาดแปลง แลวปลูกพืชอื่นแทน เชน ขาวโพด ออย ขาวฟาง เปนตน
o หลีกเลี่ยงการพนสารฆาแมลง แลวแมลงศัตรูธรรมชาติจะพบไดตามธรรมชาติ รวมทั้งหัน
มาใชการควบคุมโดยชีววิธี คือ ใชแมลงห้ําและแมลงเบียนตาง ๆ จะชวยอนุรักษ
สภาพแวดลอม และเปนการควบคุมศัตรูพืชที่ยั่งยืน

17
เพลี้ยแปงมันสําปะหลังสีชมพู เพลี้ยแปงมันสําปะหลังสีเขียว

เพลี้ยแปงลาย เพลี้ยแปงสีเทา หรือเพลี้ยแปงแจ็คเบียดสเลย

แตนเบียนเพลี้ยแปงมันสําปะหลังสีชมพู ชวยทําลายเพลี้ยแปงมันสําปะหลัง
สีชมพูที่ระบาดทําลายมันสําปะหลัง กรมวิชาการเกษตรจึงแนะนําใหปลอย
แตนเบียนเพลี้ยแปงมันสําปะหลังสีชมพูนี้ เพื่อควบคุมเพลี้ยแปงมันสําปะหลัง
โดยหลังปลอย 1-2 เดือน สามารถตรวจสอบประสิทธิภาพการควบคุมไดจากการ
ปรากฏตัวของแตนเบียนเพลี้ยแปงมันสําปะหลังสีชมพู ยอดใหมที่แตกมีอาการ
ยอดหงิกลดลง หรือพบเพลี้ยแปงที่ถูกเบียนเปนมัมมี่

แตนเบียนเพลี้ยแปงมัน ยอดใหมที่แตกใหมจะมีอาการ เพลี้ยแปงที่ถกู เบียนเปนมัมมี่


สําปะหลังสีชมพูในพื้นที่ทปี่ ลอย ยอดหงิกลดลง แข็งตาย
18
บานทรงธรรม อําเภอเมือง

รัศมี 2 กิโลเมตร

การแพรกระจายของแตนเบียนเพลี้ยแปงมันสําปะหลังสีชมพูที่อําเภอเมืองจังหวัดกําแพงเพชรหลังปลอย 3 เดือน

การปลอยแตนเบียนเพลี้ยแปงมันสําปะหลังสีชมพู สามารถแพรกระจายไปยังแปลงขางเคียงไดโดย
ในชวง 3 เดือนหลังปลอยสามารถพบแตนเบียนที่มองเห็นไดหางไกลจากจุดปลอยอยางนอย 4 กิโลเมตร

ไรแดง
ดูดกินน้ําเลี้ยงบนหลังใบของสวนยอดและ
ขยายปริ ม าณลงสู ใ บส ว นล า ง ทํ า ให ต าลี บ
ใบเหลื องขีด มวนงอ และร วง ระบาดรุน แรงใน
สภาพอากาศแหงแลง หรือฝนทิ้งชวงเปนเวลานาน
การปองกันกําจัด
• ดวงเตาและแมลงชางเปนศัตรูธรรมชาติ
• การตกของฝนสามารถลดการระบาดได
• หมั่นตรวจแปลงหากพบระบาดรุนแรงในระยะ
เปนตนออน ใหพนสารปองกันกําจัด
ไรแดงและลักษณะใบที่ถูกทําลาย

19
แมลงหวี่ขาว
พบตามใตใบ เกาะนิ่งใตใบ เมื่อโตเต็มที่จะ
หยุดกินอาหาร ระบาดรุนแรงในสภาพอากาศแหง
แลง หรือฝนทิ้งชวง
การปองกันกําจัด
• ดวงเตาและแมลงชางเปนศัตรูธรรมชาติ
• การตกของฝนสามารถลดการระบาดได
• เก็บสวนของพืชที่ถูกทําลาย ออกนอกแปลงปลูก
หรือฝงกลบ
ในสภาพแหงแลงและฝนทิ้งชวงเปนเวลานาน อาจพบศัตรูพืชเขาทําลายมันสําปะหลัง ให
หมั่นตรวจแปลง เก็บสวนที่ถูกทําลายใสถุงดํานําไปทําลายหรือฝง หากยังพบการระบาดรุนแรงใหพน
สารปองกันกําจัดเฉพาะตนที่ถูกทําลายและตนที่อยูโดยรอบ ไมควรพนสารฆาแมลงในแหลงที่มี
การปลอยแตนเบียนหรือแมลงชางปกใส เนื่องจากจะไปทําลายศัตรูธรรมชาติที่ชวยควบคุม

การใชสารปองกันกําจัดไร และแมลงศัตรูมันสําปะหลังบางชนิด
ไรและแมลง สารปองกันกําจัด1/ อัตราการใช วิธีการใช/ขอควรระวัง
ศัตรูพืช ตอน้ํา 20 ลิตร
ไรแดง อามีทราซ(20 % อีซี) 40 ซีซี พนเฉพาะบริเวณที่มีไรแดงทําลาย และพนเมื่อใบ
ไดโคโฟล(18.5%อีซี) 50 ซีซี สวนยอดของตนออนเริ่มแสดงอาการมวนงอ และ
อยูในสภาพอากาศแหงแลงเปนเวลานาน
แมลงหวี่ขาว โอเมโทเอต 40 ซีซี พนใตใบ เฉพาะบริเวณที่พบแมลงหวี่ขาวมีความ
(50% เอสแอล) หนาแนนทั้งตน ประมาณ 30 %
เพลี้ยแปง ไทอะมีโทแซม 4 กรัม ควรใชกลุมของสารเคมีที่แนะนําใหใชในการควบคุม
25%WG เพลี้ยแปงมันสําปะหลัง แบบสลับกันในแตละชั่วอายุ
ไดโนทีฟูแรน 20 กรัม ของเพลี้ยแปงโดยในชั่วอายุเดียวกันควรใชสารกลุม
10%WP เดียวกัน และสลับดวยสารอีกกลุมเมื่อชั่วอายุตอไป
โปรไทโอฟอส 50 ซีซี กลุมสารเคมีดังกลาวมีดังนี้
50%EC กลุม 1 นีโอนิโคตินอยด (ไทอะมีโทแซม
พิริมิฟอส เมทิล 50% 50 ซีซี อิมิดาโคลพริด ไดโนทีฟูแรน)
ไทอะมีโทแซม+ 10 ซีซี กลุม 2 ออรกาโนฟอสเฟต (พิริมิฟอสเมทิล
แลมบดาไซฮาโลทริน โปรไทโอฟอส)
24.7%ZC
1/
ในวงเล็บ คือเปอรเซ็นตสารออกฤทธิ์และสูตรของสารปองกันกําจัดไรและแมลงศัตรูพืช

20
โรคใบไหม

มีสาเหตุจากเชื้อบักเตรี เริ่มแรกแสดงอาการใบจุด
เหลี่ยม ฉ่ําน้ํา ใบไหม ใบเหี่ยว ยางไหล จนถึงอาการยอด
เหี่ยว และแหงตายลงมา แพรระบาดโดยติดไปกับทอนพันธุ
โดยฝนหรือดิน รวมทั้งเครือ่ งมือเกษตรที่ใช
การปองกันกําจัด
• ใชพันธุต านทาน หรือพันธุที่ทนทานตอโรคปานกลาง เชน ระยอง 90 ระยอง 9
• ใชทอนพันธุท ปี่ ราศจากเชื้อ หรือหลีกเลี่ยงการใชทอนพันธุสวนโคนลําตนมันสําปะหลัง
• ในพื้นที่ที่มีโรคระบาดรุนแรงใหปลูกพืชหมุนเวียน อายุสั้น เพื่อลดประชากรเชื้อโรคในดิน
• การใชสารเคมีเปนทางเลือกสุดทาย ควรใชสารเคมีที่มอี งคประกอบเปนพวกทองแดง

โรคแอนแทรคโนส
มีสาเหตุจากเชื้อรา ใบจะมีขอบใบไหมสนี ้ําตาลขยายตัวเขาสูกลางใบ แผลบนใบจะมีเม็ดเล็ก ๆ สีดํา
ขยายตัวไปตามขอบแผล สวนกานใบอาการจะปรากฏที่สวนโคนกานใบ เปนแผลสีน้ําตาลขยายตัวไปตาม
กานใบ ทําใหกานใบลูล ง หรือหักงอจากกานใบ เกิดอาการใบเหี่ยวและแหงได

ใบไหมจากขอบขยายตัวเขาสูกลางใบ อาการแผลสีน้ําตาลมีเม็ดสีดําหรือสีสม กานใบไหมแหงหัก


การปองกันกําจัด
• ใชพันธุต านทาน การใชทอนพันธุปลอดโรค
• ปลูกพืชหมุนเวียน ไถกลบเศษซากมันสําปะหลังลึก ๆ ชวยลดประชากรเชื้อโรคในดินได
21
การใชปยุ กับมันสําปะหลัง
การปลูกพืชใหไดผลดีตองรูจัก “ใชปุยแบบผสมผสาน” เพื่อปรับปรุงดินใหดี มีธาตุอาหารเพียงพอ

ปุย คือ สารอินทรียหรือสารอนินทรียที่เกิดเองตามธรรมชาติหรือสรางขึ้นสําหรับใชเปนธาตุอาหาร


ใหแกพืช สรางการเจริญเติบโตแกพืช เพื่อใหผลผลิตทั้งปริมาณและคุณภาพ
ชนิดของปุยมี 3 ประเภท ดังนี้
ปุยอินทรีย คือ ปุยที่ไดจากซากพืช สัตวซึ่งผลิตดวยกรรมวิธีทําใหชื้น สับ บด หมัก รอน ตาม
พระราชบัญญัติปุย ปพุทธศักราช 2550 ซึ่งปุยอินทรียที่คุนเคย ไดแก ปุยมูลสัตว ปุยหมัก นิยมหวานกอน
ไถเตรียมดิน หรือปุยพืชสด (พืชตระกูลถั่วตาง ๆ เชน ปอเทือง) นิยมปลูกแลวไถกลบในชวงออกดอกกอน
ปลูกพืช
ปุยชีวภาพ คือ ปุยที่มีจุลินทรียในปริมาณมากพอที่มีประโยชนในการสราง (การตรึงไนโตรเจน เชน
ไรโซเบียมในพืชตระกูลถั่ว) หรือทําใหธาตุอาหารที่มีอยูในดินเปนประโยชนไดงายและมากขึ้นตอพืช นิยม
ใชในขั้นตอนหวานกอนไถเตรียมดินเพื่อปลูกพืช
ปุยเคมี คือ ปุยที่ไดจากสารอนินทรีย หรือสารอินทรียสังเคราะห รวมถึงปุยเชิงเดี่ยว เชิงประกอบ
และเชิงผสม แตไมรวมถึงปูนขาว ดินมารล และยิปซั่ม
ปริมาณธาตุอาหารพืช
ปุยเคมีจะมีปริมาณธาตุอาหารพืชตามที่ระบุที่ขางกระสอบ สวนปุยอินทรียแตละชนิดมีปริมาณธาตุ
อาหารพืชแตกตางกันขึ้นอยูกับวัตถุดิบที่ใชผลิต
1. วัตถุดิบที่มีไนโตรเจนหรือ N สูง ไดแก กากถั่วเหลือง ปลาปน เลือดแหง กระดูกปน มูลไก มูลสุกร
2. วัต ถุดิบที่ มีฟอสฟอรั สหรือ P สู ง ไดแก กระดู กปน หิ นฟอสเฟต ปลาปน กากถั่ วเหลือง มูล
คางคาว มูลไก มูลสุกร
3. วัตถุดิบที่มีโพแทสเซียมหรือ K สูง ไดแก ฟางขาว ขี้เถา แกลบ กากน้ําตาล น้ํากากสา
การใสปุย
การปลูกมันสําปะหลังจําเปนตองใสปุยหรือธาตุอาหารพืช เนื่องจากดินสูญเสียธาตุอาหารไปกับ
ผลผลิต หากไมใสปุยเลยธาตุอาหารในดินจะลดลงเรื่อย ๆ ทําใหดนิ เสื่อมคุณภาพ มันสําปะหลังจะออนแอ
โรคและแมลงเขาทําลายไดงาย ผลผลิตต่ํา แตจะตองใสปุยชนิดใด จํานวนเทาไร เวลาและวิธีใด มีหลักใน
การพิจารณา คือ
• ดินที่จะปลูกมีธาตุอาหารที่เปนประโยชนเหลืออยูเทาไร
• พืชตองการธาตุอาหารเทาไร

22
ความเปนประโยชนของธาตุอาหารพืชขึ้นอยูกับความเปนกรด-ดางของดิน และธาตุอาหารที่มีอยูใน
ดิน ในดินที่เปนกรดจัดหรือดางจะทําใหธาตุอาหารพืชบางชนิดไมละลายออกมาเปนประโยชนตอพืช หรือ
ละลายออกมามากจนเปนพิษกับพืช หากพบวาความเปนกรด-ดางของดินไมเหมาะสม ตองปรับกอนใสปุย

ธาตุอาหารพืชจะเปนประโยชนตอพืชในดินที่เปนกลางหรือกรดเล็กนอย

การเก็บตัวอยางดินเพื่อสงวิเคราะห
ควรสุมเก็บตัวอยางดินในพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังทุก 3-5 ป หลังการเก็บเกี่ยวเล็กนอย หรือ 2 เดือน
กอนการปลูกพืช สงไปวิเคราะหเพื่อตรวจสอบวาดินในแปลงปลูกมันสําปะหลังมีธาตุอาหารพืชเพียงพอ
หรือไม มีปญหาใดบางที่ตองปรับปรุงหรือบํารุงดินเพิ่มเติม

วิธีเก็บตัวอยาง เก็บใหกระจายทั่วพื้นที่ แบงตัวอยางดิน 1 กก. เพื่อสงวิเคราะห


เกษตรกรสามารถสงตัวอยางดินเพื่อวิเคราะหไดที่หนวยงานของกรมวิชาการเกษตร และกรม
พัฒนาที่ดินที่อยูใกลบาน โดยไมตองเสียคาบริการพรอมรับคําแนะนําการใชปุย การตรวจวิเคราะหดินชวย
ใหการใชปุยมีประสิทธิภาพมากขึ้น

23
การใสปุยตามคาวิเคราะหดิน
มันสําปะหลังตองการปุยในชวงอายุ 1-3 เดือนหลังปลูก จากคําแนะนําการใชปุยกับมันสําปะหลัง
ของกรมวิชาการเกษตร ใหใชปุยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมอัตรา 16-8-16 กิโลกรัมตอไร
ตามลําดับ ในดินทรายถึงดินรวนปนทราย อัตรา 8-4-8 กิโลกรัมตอไรในดินรวนเหนียว และอัตรา 8-4-8
กิโลกรัมตอไรในดินเหนียวปนกรวด
การใสปุยตามคาวิเคราะหดินจะชวยลดจํานวนปุยที่ตองใส ทําใหประหยัดคาใชจาย มีแนวทางการ
ใชปุยตามคาวิเคราะหดินทั้งปุยอัตราสูงและอัตราต่ํา เพื่อประกอบการตัดสินใจของเกษตรกร มีดังนี้
ปริมาณธาตุอาหาร คําแนะนําการใชปุย (กก./ไร)
เนื้อดิน
ตัวชี้วัด ระดับ คาวิเคราะห ปุยอัตราสูง1/ ปุยอัตราต่ํา2/
ต่ํา < 0.60 เอน (N) 16 เอน (N) 8
อินทรียวัตถุ
ปานกลาง 0.60-2.0 เอน (N) 8 เอน (N) 4
(%)
สูง >2.0 เอน (N) 4 เอน (N) 2
ดินทราย ถึง ต่ํา <5 พี (P2O5) 16 พี (P2O5) 8
ฟอสฟอรัส
ดินรวนปน ปานกลาง 5-30 พี (P2O5) 8 พี (P2O5) 4
(มก./กก.)
ทราย สูง >30 พี (P2O5) 4 พี (P2O5) 2
ต่ํา <30 เค (K2O) 16 เค (K2O) 8
โพแทสเซียม
ปานกลาง 30-90 เค (K2O) 8 เค (K2O) 4
(มก./กก.)
สูง >90 เค (K2O) 4 เค (K2O) 2
1/
เมื่อราคาหัวมันสดมากกวา 1.50 บาทตอกิโลกรัม ฝนกระจายดีและเกษตรกรมีเงินทุนมากพอ
2/
เมื่อราคาหัวมันสดต่ํากวา 1.50 บาทตอกิโลกรัม ฝนกระจายตัวไมดีและเกษตรกรมีเงินทุนนอย
สําหรับดินรวนถึงดินเหนียวที่ปลูกมันสําปะหลัง สวนใหญมีอินทรียวัตถุและโพแทสเซียมสูงอยูแลว
การใสวัสดุอินทรียปรับปรุงดินจึงเปนการเพิ่มธาตุอาหารที่เพียงพอสําหรับมันสําปะหลังแลว
ปริมาณธาตุอาหาร คําแนะนําการใชปุย (กก./ไร)
เนื้อดิน
ตัวชี้วัด ระดับ คาวิเคราะห ปุยอัตราสูง1/ ปุยอัตราต่ํา2/
อินทรียวัตถุ(%) มีมากเกิน >1.2
ใชวัสดุอินทรีย
ฟอสฟอรัส ใชวัสดุอินทรีย
ดินรวน ถึง มีนอย <5 ปรับปรุงดิน
(มก./กก.) ปรับปรุงดิน
ดินเหนียว อัตรา 0.5-1 ตัน/
โพแทสเซียม อัตรา 1-2 ตัน/ไร
มีมากเกิน >90 ไร
(มก./กก.)

วิธีการใสปุย หากใชอัตราต่ําสามารถใสปุยเพียงครั้งเดียว หลังกําจัดวัชพืชครั้งแรกเมื่ออายุ 1


เดือนหลังปลูก โดยเปดรองขางแถวโรยปุยแลวกลบ หากใชอัตราสูงควรแบงใส 2 ครั้ง โดยเฉพาะดินทราย
ควรแบงครึ่งใสปุยไนโตรเจน และโพแทสเซียม สองครั้ง เมื่ออายุ 1 และ 2 เดือน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ
ใชปุยของมันสําปะหลัง

24
ตัวอยาง
ปลูกมันสําปะหลังในดินรวนปนทรายเก็บดินสงวิเคราะห ผลการวิเคราะหดินพบวา มีอินทรียวัตถุ
0.8% ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน 35 มก./กก. โพแทสเซียมที่ละลายน้ําได 60 มก./กก. ควรจะใสปุยเทาไร
• เนื้อดินเปนดินรวนปนทราย ใหเลือกใชตารางแนะนําปุยที่เนื้อดินเปนดินรวนปนทราย
• เทียบคาวิเคราะหดินกับตารางแนะนําปุยตามคาวิเคราะหดิน
ปริมาณธาตุอาหาร คําแนะนําการใชปุย (กก./ไร)
ตัวชี้วัด คาวิเคราะห ปุยอัตราสูง1/ ปุยอัตราต่ํา2/
< 0.60 เอน (N) 16 เอน (N) 8
อินทรียวัตถุ
0.60-2.0 เอน (N) 8 เอน (N) 4
(%)
>2.0 เอน (N) 4 เอน (N) 2
<5 พี (P2O5) 16 พี (P2O5) 8
ฟอสฟอรัส
5-30 พี (P2O5) 8 พี (P2O5) 4
(มก./กก.)
>30 พี (P2O5) 4 พี (P2O5) 2
<30 เค (K2O) 16 เค (K2O) 8
โพแทสเซียม
30-90 เค (K2O) 8 เค (K2O) 4
(มก./กก.)
>90 เค (K2O) 4 เค (K2O) 2

• เปรียบเทียบกับตารางแนะนําปุย
o ใสปุยอัตราสูง 8-4-8 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอไร
o ใสปุยอัตราต่ํา 4-2-4 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอไร
• ตัดสินใจเลือกใสปุยจากราคาหัวสด การกระจายของฝน และทุน
o ถาราคาสูงกวา 1.5 บาทตอกิโลกรัม ฝนมีกระจายดีและมีเงินทุนพอ ควรใชปุย
อัตราสูงหรือ 8-4-8 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอไร
o ถาตรงขามควรใชปุยอัตราต่ําหรือ 4-2-4 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอไร
• ชนิดปุยที่ใสหากใชปุยอินทรียตองใชในปริมาณมาก แตจะเหลือสะสมในดินไดนาน อีกทั้ง
ชวยปรับปรุงดินในระยะยาว ปุยเคมีตองเลือกสูตรใหเหมาะสม หรือผสมกับแมปุยใหไดธาตุ
อาหารตามที่ตองการ

25
การใหนา้ํ ในมันสําปะหลัง  

การปลูกมันสําปะหลังสวนใหญอาศัยน้ําฝน เกษตรกรมักเลือกปลูกชวงตนฝนเพื่อใหไดรับน้ําใน
ชวงแรกของการเจริญเติบโตโดยเฉพาะชวง 2-5 เดือนแรกซึ่งเปนชวงที่สําคัญทําใหผลผลิตไดตามศักยภาพ
มันสําปะหลังตองการความชื้นในการเตรียมดิน และการงอกของทอนพันธุ หลังฝนตกหนักหรือประมาณ
20-25 มม.ก็เพียงพอสําหรับเริ่มปลูกมันสําปะหลัง การใหน้ําสามารถเสริมสรางความแข็งแรงใหกับมัน
สําปะหลัง พืชสามารถพัฒนาตัวเองใหตานทานตอแมลงศัตรูไดดีขึ้น เหมาะสมกับแมลงตัวห้ําและตัวเบียนที่
มีอยูตามธรรมชาติ แตไมเหมาะสมกับแมลงศัตรูพืชอยางเพลี้ยแปง
หลักการพิจารณาใหน้ํา
- มันสําปะหลังตองการน้ําในชวงแรกของการเจริญเติบโตโดยเฉพาะอายุมันสําปะหลังระหวาง 2-5
เดือนหลังปลูก
- ควรใหน้ําเมื่อปริมาณการคายระเหยสะสมถึง 60 มม.
- ปริมาณการใหน้ําแตละครั้งประมาณ 40 มม. (การใหน้ําแบบหยดจะประหยัดน้ํากวา)
- การใหน้ําในชวง 2-5 เดือนแรก ไมแตกตางจากการใหน้ําตลอดฤดูปลูก
- ความถี่ในการใหน้ําทุก 2 สัปดาห ใหผลผลิตแตกตางกับ ทุก 4 สัปดาห

การใหน้ําแบบน้ําหยดกับมันสําปะหลัง
การใชระบบน้ําหยดกับมันสําปะหลังมีความเปนไปไดในการเพิ่มผลผลิตมันสําปะหลัง แตจะประสบ
ความสําเร็จหรือไม ยังขึ้นกับปจจัยอื่นๆ ดวย เชน การปลูกและดูแลรักษามันสําปะหลัง การออกแบบ การ
ติดตั้ง การใชงานและการบํารุงรักษาระบบน้ําหยดที่เหมาะสม เพื่อใหกระจายน้ําไดทั่วถึงและสม่ําเสมอ ไม
เกิดปญหาการอุดตัน และประหยัดคาใชจายคาพลังงาน
องคประกอบของระบบน้ําหยด
1. แหลงน้ําและชุดเครื่องสูบน้ํา (ปม)
แหลงน้ําผิวดิน ไดแก แมน้ํา ลําคลอง สระน้ํา กรณีที่ไมมีไฟฟา ตองใชเครื่องยนตในการสูบน้ํา

ปมหอยโขงพรอมเครื่องยนตเบนซินแบบ ปมหอยโขง(ปมเพลาลอย)ตอดวย
ชุดสําเร็จที่ประกอบจากโรงงาน สายพานกับเครื่องยนต
26
บอน้ําตื้น หากระดับน้ําลึกเกินที่จะใชปมหอยโขงธรรมดาได (ลึกเกิน 4-5 เมตร) สามารถเลือกใชปม
หอยโขงแบบไมตองลอน้ําซึ่งดูดไดลึกกวา ในกรณีน้ําลดระดับต่ําลงในฤดูแลง อาจหยอนปมหอยโขงลงให
ใกลระดับน้ํามากขึ้นได แตควรมีเครื่องปองกันการพลัดตกลงบอน้ําทั้งปมน้ําและคน
บอบาดาลระดับตื้น ใชปม หอยโขงได หาซื้อไดงายและมีราคาถูกกวาปมบาดาล แตควรตรวจสอบ
ระดับน้ําในชวงฤดูแลงวาลึกเกินที่ปมหอยโขงจะดูดไดหรือไม หากปริมาณน้ําลดลงมากตองแกไข เชน อาจ
ตองเปลี่ยนเปนปมบาดาล เปนตน
บอบาดาลระดับลึก ใชปมบาดาล โดยเลือกขนาดมอเตอรไมเกิน 2-3 แรงมา เนื่องจากเปนระบบ
ไฟฟา 220 โวลท เชนเดียวกับที่ใชในบานเรือน ถาแรงมามากกวานี้จะไมสามารถใชไฟฟาบานได

ปมบาดาลติดตั้งตายตัวไมยายปมไปบออื่น ปมบาดาลติดตั้งแบบยกขึ้นและยายปมไปบออื่นได
การใหน้ําในแปลงที่อยูไกลมาก แรงดันน้ําอาจไมพอ (ทอน้ําหยดไมแข็งในชวงใหน้ํา) ถาไม
เปลี่ยนชุดปมน้ําใหใหญขึ้นอาจใชปมเครื่องยนต (3-5 แรงมา) อีกชุดมาเสริมแรงดันใหสูงขึ้น โดยตอทางสง
ของปมตัวแรกเขากับทางดูดของปมที่มาเสริม และทอทางสงของปมตัวที่เสริมจายเขากับแปลง

การใชปมเสริมแรงดัน

27
2. เครื่องกรองน้ํา เปนเครื่องกรองน้ําพลาสติกที่ไสกรองจะเปนแบบตะแกรง หรือแบบแผนดิสก
(เปนแผนพลาสติกซอนอัดหลายๆ ชั้น) แบบแผนดิสกจะกรองไดดีและมีความทนทานกวาแบบตะแกรงแต
ราคาแพงกวาเล็กนอย

ไสกรองแบบแผนดิสก ไสกรองแบบตะแกรง
ความละเอียดของไสกรอง ไสกรองที่ใชกับระบบน้ําหยดจะตองมีความละเอียด 120 เมช (MESH)
หรือ 130 ไมครอน หากไสกรองหยาบกวานี้ เชน 80 เมช จะไมสามารถกรองสิ่งสกปรกขนาดเล็กได ทําให
เกิดการอุดตันที่รูน้ําหยด แตจะเหมาะสมกับระบบมินิสปริงเกลอร

ขนาดความละเอียดของไสกรอง
ที่ระบุไวทเี่ ครื่องกรองน้ําสําหรับน้ําหยด

ขนาดเครื่องกรองน้ํา ควรใชขนาดเทาทอเมนสงน้ําที่ใช หากใชมากกวา 1 เครื่องตอแบบขนานกัน


จะชวยยืดเวลาลางกรองไปได ไมตองลางกรองบอย แตตองเสียคาใชจายเพิ่มขึ้นกวาปกติ

การตอเครื่องกรองน้ําแบบเดี่ยว การตอเครื่องกรองน้ําแบบขนาน 2 ตัว


28
การติดตั้งและบํารุงรักษาเครื่องกรองน้ํา จากราคาที่คอนขางแพงและเริ่มเปนที่รูจัก ดังนั้นใน
พื้นที่ที่มีความเสี่ยง อาจทําชุดติดตั้งแบบชั่วคราว เชน ตอดวยสายออนพรอมที่ค้ํายันและพรอมเก็บกลับงาย
เมื่อสิ้นสุดการใหน้ํา

กรองแบบชั่วคราวขนาด 2 นิ้ว ติดตั้งเดีย่ ว กรองแบบชั่วคราวขนาด 2 นิ้ว ติดตั้งคู

• ปฏิบัติตามคูม ือของผลิตภัณฑ
เชน ติดตั้งตอจากปมน้ํา การตั้งขึ้นหรือลง
ทิศทางน้ําเขาและออก
• ถอดล างไส กรองอยางสม่ําเสมอ ขึ้น อยู
กับคุณภาพน้ําและจํานวนเครื่องกรองน้ําที่
ใช การใชน้ําที่ มีตะกอนมากทํา ใหตองล าง
กรองบอยๆ การละเลยจะทําใหไสกรองอุด
ตั น และน้ํ า ไหลน อ ยลงกว า ปกติ ทํ า ให เ สี ย
พลังงานและคาใชจายมากขึ้น

ขอควรตระหนัก จดจําตําแหนง ทิศทางการสวมไสกรองกับตัวกรองและการใสปะเก็นกันรั่วซึมในจุดที่ทาง


ผูผลิตกําหนดไวจากคูมือหรือจดจําไวขณะถอดไสกรองออกจากตัวกรอง

ไสกรองที่เกิดการอุดตันขณะใชงาน ถอดลางเมื่อถึงเวลาสมควร การใสปะเก็นกันรั่วซึมในจุดที่กําหนด


29
3. ระบบทอสงน้ํา ประกอบดวยอุปกรณหลัก คือ
ทอประธานหรือทอเมน เปนทอที่ตอจากเครื่องสูบน้ําไปยังแปลง อาจใชทอพีวีซีสีฟาชนิดบาง
(ระบุระดับแรงดันชั้น 5 ที่ทอ) ขนาดทอ 2-3 นิ้ว
ทอจา ยน้ํา เข าทอน้ํ าหยด เปน ทอที่ใ ห ทอน้ํ าหยดมาตอออกไป สว นใหญ ใ ชทอ พีวีซีช นิ ด บาง
(ชั้น 5) ขนาด 2-3 นิ้ว

แบบการติดตัง้ ใชวาลวใหญควบคุมเปนโซน ใชวาลวยอยควบคุมแตละแถว


ขอดี ชวยใหทํางานไดสะดวกขึ้น -ชวยลดคาใชจายระบบทอ
-สามารถปรับขนาดโซนหรือจํานวนแถวให
ลดลงไดกรณีเครื่องยนตมีแรงดันไมพอ
ขอเสีย -เสียคาใชจายทอเพิ่มขึ้น ไมคอยสะดวกในการปด-เปดวาลวทีละแถว
-กรณีที่กําลังเครื่องยนตไมพอ จะทําใหไม และขอตอวาลวอาจเสียหาย จากการ
สามารถสงน้ําไดเต็มที่ ในการเปดวาลว เปด-ปดวาลวบอย
แตละโซน

30
4. ทอน้ําหยด ที่เหมาะสมสําหรับมันสําปะหลัง คือ เทปน้ําหยดระยะ 30 ซม. หากระยะหางกวานี้
เชน 50 หรือ 60 ซม. จะเหมาะกับดินที่เนื้อเปนดินเหนียวและตองมีระบบปองกันการอุดตันที่ดี มีอัตราการ
จายน้ําแตละจุดนอยๆ (ประมาณ 1-2.5 ลิตรตอชัว่ โมง) เมื่อใหน้ํานานประมาณ 1-3 ชั่วโมง (ขึ้นกับชนิดดิน
ระยะและอัตราการหยด) พื้นที่เปยกของแตละจุดที่หยดจะบรรจบกัน

ทอน้ําหยดที่อยูในมวน ลักษณะรูหยดที่มีเปนระยะ เชน ทุก 30 ซม.

ทอน้ําหยดมีทั้งแบบทอบางและแบบเหนียวกวา ซึ่งราคาและอายุการใชงานจะตางกัน ควรใชงาน


ดวยความระมัดระวัง การเคลื่อนยายหรือเก็บทอน้ําหยดควรทําในขณะที่อากาศไมรอนปองกันการยืดและ
เสียหาย และควรเปดปลายทอระบายลางตะกอนทุก 2-3 สัปดาห

5. อุปกรณอื่นตามความจําเปน
• ประตูน้ําใหญสําหรับปด-เปดควบคุมน้ํา
• มาตรหรือเกจวัดแรงดันน้ําไวตรวจสอบแรงดัน และถาตองสงน้ําขึ้นเนินตองมีประตูกันน้ํา
ไหลกลับ (เช็ควาลว) ที่ตนทาง เปนตน
• ที่มวนเก็บและวางสายทอน้ําหยด ชวยลดความเสียหายจากการพันกัน การเก็บรักษา การ
พับเก็บจะทําใหเกิดมุมหักของสาย การขูดขีด ทําใหรั่วงาย

การออกแบบหรือการวางระบบทอน้ําหยดในแปลง

หลักการพิจารณาเบื้องตน
1. ความยาวของทอน้ําหยดแตละแถวไมควรเกิน 120-150 ม. เพื่อสะดวกในการจัดการและดูแล
รักษาระบบน้ําหยด
- ความยาวสูงสุดประมาณ 120 ม. สําหรับทอน้ําหยดที่มีอัตราการไหลประมาณ 2.2 ลิตร/ชม.
- ความยาวสูงสุดประมาณ 150 ม. สําหรับทอน้ําหยดที่มีอัตราการไหลนอยกวา 1.5 ลิตร/ชม.
2. เลือกใชอัตราการไหลของน้ําหยดที่เหมาะสม อัตราการไหลของน้ําหยดแตกตางกันในแตละ
ผูผลิตหรือแตละรุน ทําใหเวลาที่ใชในการใหน้ําไมเทากัน
3. การแบงพื้นที่ใหน้ําใหเหมาะสมในแตละครั้ง

31
4. พื้นที่มีความลาดเทมาก ตองหลีกเลียงการสงน้ําขึ้นเนิน อาจวางทอเมนพีวีซีเปนแนวยอยๆ
เพื่อใหมีการติดตั้งทอน้ําหยดออกจากทอพีวีซีดานเดียวที่เปนดานลงตามความลาดเท

การแบงพื้นที่ใหน้ํา (แบงโซนการใหน้ํา)
ทอน้ําหยดแตละรุนมีอัตราการจายน้ําไมเทากัน ระยะแถวของมันสําปะหลังแตละแปลงก็ไมเทากัน
จึงเปนการยากที่จะระบุไดวาระบบน้ําหยดไดครั้งละกี่ไร แตถารูวาอัตราการหยด ขนาดทอสงน้ําที่ตอออก
จากปมน้ํา ก็สามารถกําหนดความยาวรวมของทอน้ําหยดทั้งหมดที่จะสามารถเปดไดในแตละครั้งดังตาราง

ตารางแนะนําความยาวของทอน้ําหยดรวมมากที่สุดที่จะสามารถเปดใหน้ําไดในแตละครั้ง (โซน)
ขนาดทอเมน ที่อัตราการไหลของทอน้ําหยดแตละจุด
(นิ้ว) 1.0 ลิตร/ช.ม. 1.5 ลิตร/ช.ม. 2.0 ลิตร/ช.ม. 2.5 ลิตร/ช.ม.
2 3,900 ม. 2,600 ม. 2,000 ม. 1,600 ม.
2 1/2 6,000 ม. 4,000 ม. 3,000 ม. 2,400ม.
3 9000 ม. 6,000 ม. 4,500 ม. 3,600 ม.
หมายเหตุ : ถาปมน้ํามีแรงมาจํากัดหรือระยะแปลงใหนา้ํ อยูไกลมากอาจสงน้ําไดนอยกวาที่ระบุ

ตัวอยางที่ 1
สมมุติวาเกษตรกรมีพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง 10 ไร เปนพื้นที่ราบ กวาง 65 ม. ยาว 250 ม. ระยะ
ระหวางแถว 1.2 ม.
ใชทอน้ําหยดแบบระยะหยดทุก 30 ชั่วโมง อัตราการไหล 2.1 ลิตรตอชั่วโมง
แนวคิดในการออกแบบ :
1) หาความยาวของทอน้ําหยดแตละแถวไมควรเกิน 120-150 ม.
พิจารณาจากอัตราไหล 2.1 ลิตร/ชม. และความยาวของพื้นที่ 250 ม. พบวา เกินความยาวของทอ
น้ําหยดแตละแถวที่แนะนําไววาอยูในชวงไมเกิน 120 ม. (สําหรับทอน้ําหยดอัตรา 2.2 ลิตร/ชม.) จึงแบง
ความยาวแปลง 250 ม. ออกเปน 2 ชวงๆ ละ 125 ม. (เกิน 120 ม. ไปเล็กนอย อนุโลมวาใชได)
2) กําหนดแนวทอเมนสงน้ํา เขากลางแปลงระหวาง 2 ชวงของแถวปลูกขางละ 125 ม. และให
ทอน้ําหยดออกจากทอเมน 2 ดาน ลักษณะคลายกางปลา (เนื่องจากเปนพื้นที่ราบ)
3) หาจํานวนระยะความยาวรวมของทอน้ําหยดที่เปดใชในแตละครัง้ (โซน)
- หาจํานวนแถวในแปลง โดยนับหรือคํานวณจากหนากวาง 65 ม.หารดวยระยะแถว 1.2 ม.= 54 แถว
- คํานวณความยาวรวมแตละโซน เชน ทดลองแบงเปน 6 โซนๆ ละ 18 แถว
จากจํานวนแถว x ความยาวแถว = 18 x125 ไดความยาวรวมโซนละ = 2,250 ม.
- นําไปเทียบกับตารางแนะนําความยาวของทอน้ําหยดรวมที่มีอัตราไหล 2.0 ลิตร/ชม.(ใกลเคียง) จะได
• ถาใชทอ 2 นิ้ว เปดใชในแตละโซนไมเกิน 2,000 ม. ซึ่งนอยกวา 2,250 ม. จึงใชไมได
• ถาใชทอ 2 1/2 นิ้ว เปดใชในแตละโซนไมเกิน 3,000 ม. ซึ่งมากกวา 2,250 ม. จึงใชได
ดังนั้นจึงเลือกเปดใหน้ําแตละโซน จากพื้นที่ทั้งหมด 6 โซน โดยใชทอเมนขนาด 2 1/2 นิ้ว
32
การตอทอน้ําหยดจากทอเมน
มีวาลวน้ําออก 2 ดาน

การวางระบบทอในแปลงน้าํ หยดในพื้นที่ราบ
ตัวอยางที่ 2
พื้นที่มีความลาดเทเกิน 2 % ทอน้ําหยดไมควรสงน้ําขึน้ เนินมาก เพราะจะทําใหนา้ํ หยดที่ปลายทางนอยกวา
ตนทางทําใหจายน้ําไมสม่ําเสมอ จึงจําเปนตองวางทอเมนใหจายน้ําออกดานเดียวลงตามลาดเท

การวางระบบทอในแปลงน้าํ หยดในพื้นที่ลาดเท

33
การติดตั้งทอน้ําหยดกับทอจายน้ําพีวีซี

อุปกรณ
- ทอพีวีซี
- สวานไฟฟาหรือสวานแบบชารจแบตเตอรี่ (ดอกสวานควรซื้อจากรานขายขอตอทอน้ําที่จะใส
โดยเฉพาะ เพื่อไมใหเกิดการรั่วซึมถาขนาดรูเจาะผิดไปจากขนาดขอตอ)
- ลูกยางกันรั่ว
- วาลว ปด-เปดน้ํา ขนาด 1/2 นิ้ว
- ทอน้ําหยด
วิธีการติดตั้ง
1) วางทอเมนและทอจายน้ําพีวีซีตามแนวที่ไดออกแบบไว
2) เจาะรูทอพีวีซีตรงแนวกลางแถวรองปลูกดวยสวานไฟฟา
3) ใสลูกยางกันรั่วที่รูเจาะ
4) ใสวาลว ปด-เปดน้ํา ขนาด 1/2 นิ้ว
5) วางทอน้ําหยดบนแปลง
6) ตอทอน้ําหยดเขากับทอจายน้ําพีวีซี
7) ลางสิ่งที่จะไปอุดตันน้ําหยดออกจากระบบทอกอนเปดใชงานน้ําหยด

เจาะทอจายน้ําดวยสวานใหตรงแถว ใสลูกยางกันรัว่ ที่รูเจาะ

วาลวน้ําออกดานเดียว วาลวน้ําออก 2 ดาน

34
ลากทอน้ําหยดไปสุดปลายแถวทุกแถว วางทอที่โคนทอนพันธุขัดสลับตนใหทออยูบนสันแปลง

ใสทอน้ําหยดที่โรยไวตามแถวเขาวาลว การลางสิ่งที่จะไปอุดตันน้ําหยดออกจากกอนใชงาน

การดูแลรักษา
• ปญหาแรงดันน้ําระหวางใชงาน
ควรใหน้ํามีแรงดันน้ําของทอน้ําหยดที่แปลงอยางนอย 0.4 บาร หากแรงดันนอยกวานี้แมน้ําจะหยด
ออกมาได แตปริมาณน้ําจะนอยและตองใชเวลานานขึ้น หรืออาจเกิดการอุดตันที่รูหยดได

การตรวจวัดแรงดันที่ทอน้ําหยดดวยเกจวัดแรงดันน้ํา ควรมีแรงดันน้ําที่แปลงอยางนอย 0.4 บาร


กรณีที่ไมมีเกจวัดแรงดันน้ําสามารถตรวจสอบไดจากการสังเกต เชน การจับทอน้ําหยดพิจารณา
จากความออนและความแข็งของทอน้ําหยดขณะใหน้ํา ทอตองคอนขางแข็งเพื่อใหแรงดันที่แปลงพอ

35
ทอนิ่มมากพับหักเปนมุมเมื่อยก ทอคอนขางแข็ง
แสดงวาแรงดันที่แปลงนอยกวา 0.4 บาร แสดงวาแรงดันที่แปลงมากกวา 0.4 บาร
การแกไข
- เปลี่ยนปมน้ํา หรือเครื่องยนตใหม อาจเนื่องจากปมที่ไมไดมาตรฐานจากโรงงานผลิตตามสมรรถนะที่
ระบุไว หรือเสื่อมสภาพจากการใชงาน
- ถาไมเปลี่ยนปม ตองปรับรอบเครื่องยนตเพิ่ม (แตควรอยูในระดับที่ไมเรงมากจนเกินไป) ถาคิดวาเรง
รอบเครื่องที่เหมาะสมแลวยังไดแรงดันน้ําต่ํามากเกินไป อาจตองเพิ่มขนาดเครื่องยนต
- ถาไมเปลี่ยน หรือเพิ่มขนาดเครื่องยนต ควรลดจํานวนการเปดวาลวทอน้ําหยดลง

• ทอน้ําหยดพับทําใหเกิดมุมหักและรั่ว
ทอน้ําหยด ที่ถูกเก็บพับแลวขนมากองรวมกัน
การพับทําใหเกิดมุมหักและรั่วงาย
การแกไข
ควรใชเครื่องมวนทอน้ําหยด โดยทําเปนโครงขาตั้ง
รูปตัวเอเชื่อมติดกัน ที่ดานบนมีรองหรือหวงไวใสเพลาโรล
มวนทอและทําแขนหมุนไวสวมขณะมวนทอ เมื่อตองการ
วางทอน้ําหยดก็นําเอามวนทอเกาหรือมวนใหมมาใสเพลา
เหล็กวางบนโครงขาตั้งที่หัวแปลง แลวใชคนลากไปสุดแปลง

เครื่องมวนทอน้ําหยด วางมวนเทปน้ําหยดไปตามสันรอง มวนเทปน้ําหยดเกามาวางในฤดูปลูกใหม


36
การปลูกมันสําปะหลังหลังการทํานา
การปลูกมันสําปะหลังหลังการทํานาเปนทางเลือกหนึ่งที่เกษตรกรหลายพื้นที่ปฏิบัติ เพื่อเพิ่มรายได
และใชพื้นที่นาที่ทิ้งไววางเปลาในฤดูแลงใหเกิดประโยชนกอนการทํานาในปถัดไป เปนการใชประโยชนจาก
ความชื้นและธาตุอาหารพืชที่เหลือจากการทํานา โดยหลังเก็บเกี่ยวขาวใหไถกลบฟางขาว และปลูกมัน
สําปะหลังทันทีเพื่ออาศัยความชื้นสําหรับการงอก ดังนั้นพื้นที่ที่เหมาะสมสําหรับปลูกมันสําปะหลังหลังนาได
จะตองมีเงื่อนไขสําคัญดังนี้
• ดินเปนดินรวนปนทราย มีความชื้น หรือระดับน้ําใตดินตื้น และระบายน้ําดีเพื่อที่น้ําจะไมขัง
ในชวงฝนตกกอนเก็บเกี่ยว ซึ่งจะทําใหหัวเนาได
• มีชวงเวลาหลังเก็บเกี่ยวขาว ถึงเตรียมปลูกขาวใหม อยางนอย 6 เดือน ควรปลูกมัน
สําปะหลังใหเร็วที่สุดหลังเก็บเกี่ยวขาว ชวงเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน
• ควรใชพันธุมันสําปะหลังที่สะสมน้ําหนักเร็ว เชน สายพันธุอายุสั้น CMR-33-38-48 พันธุ
ระยอง 72 เกษตรศาสตร 50 ระยอง 7 เปอรเซ็นตแปงที่อายุ 6 เดือน เฉลี่ย 13.7-18.0
เปอรเซ็นต

พันธุที่มีศักยภาพในการปลูกหลังนา
พันธุ คุณลักษณะ
CMR 33-38-48 มีคุณสมบัติดีเดนดานผลผลิตและเปอรเซ็นตแปงลดลงไมมากนักเมื่อกระทบฝน
ชวงเก็บเกี่ยว
ระยอง 72 มีการตอบสนองตอการใชปุยเคมีอัตรา 50 กก./ไร
ระยอง 7 มีตอบสนองกับดินที่มีความอุดมสมบูรณสูง
เกษตรศาสตร 50 ผลผลิตและเปอรเซ็นตแปงปานกลาง ไมตอบสนองตอการใชปุยในนา ในสภาพ
ที่ไมมีการใหน้ํา

การใชปุยเคมี
การใชปุยเคมีใหผลผลิตสูงกวาไมใชปุย การใชปุยเคมีสูตร 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร ใหผลผลิต
มันสําปะหลังสูงกวาการไมใสปุยเคมี การใชปุยอัตราสูงไมทําใหผลผลิตเพิ่มขึ้น ในสภาพที่ไมมีการใหน้ํา
แตพันธุเกษตรศาสตร 50 เปนพันธุที่ไมตอบสนองตอการใชปุยเคมี โดยการใสปุยและไมใสปุยให
ผลผลิตไมแตกตางกัน ในสภาพที่ไมมีการใหน้ํา

ขอควรคํานึง
อาจมีปญหาตลาดที่จะรับซื้อผลผลิตเนื่องจากเปอรเซ็นตแปงต่ํา และหัวเนาเนื่องจากน้ําขังแปลง
โดยเฉพาะพื้นที่นาลุม

37
CMR 33-38-48 ระยอง 72 เกษตรศาสตร 50

ผลผลิต(กก./ไร)

ผลผลิตมันสําปะหลังที่ปลูกหลังนาในดินรวนปนทรายชุดเรณูโดยไมมีการใหน้ําที่พิษณุโลก เก็บ
เกี่ยวอายุ 6 เดือน

38
การจัดการดินดานในการผลิตมันสําปะหลัง
การปลูกมันสําปะหลังติดตอกันเปนเวลานาน มีผลทําใหเกิดชั้นดินดานใตชั้นไถพรวนทําให
มันสําปะหลังไมสามารถใชน้ําใตดินที่มีอยู และเมื่อฝนตกลงมาน้ําไมสามารถซึมผานชั้นดานนี้
ได ทําใหเกิดการทวมขัง สงผลใหหัวมันเนา

ชั้นดานแบงเปน 2 ชนิด
1. ชั้นดานเปราะ ชั้นดานเปราะพบในดินทั่วๆไป เปนชั้นดานที่มีความหนาแนนสูงกวาชั้นดินบน
และลาง และมีปริมาณอินทรียวัตถุต่ํา
2. ชั้นดานแข็ง เปนชั้นดินที่มีการเชื่อมตัวกันแนนทึบและแข็ง เกิดขึ้นโดยการยึดเกาะกันระหวาง
อนุภาคของเม็ดดินกับสารเชื่อมตางๆ ที่มีอยูในดิน
สาเหตุการเกิดดินดาน
ในพื้นที่ที่มีการปลูกมันสําปะหลังติดตอกันมาหลายป และบางปมีการเขตกรรมที่ไมเหมาะสม ทําให
พื้นที่นั้นมีโอกาสเกิดดินดานขึ้นได ซึ่งสาเหตุที่สําคัญ คือ การใชเครื่องยนตหรือรถขนาดใหญลงไปในพื้นที่
ขณะดินเปยก ทําใหดินลางลึกประมาณ 30-50 เซนติเมตรถูกบดอัดจนไมมีโครงสราง หรืออาจเกิดจากการ
ไถพรวนที่ไมถูกวิธี เชน การไถขณะที่ดินมีความชื้นสูงเกินไป หรือการไถดวยผาลพรวน เปนตน

หนาตัดดินที่มีชั้นดาน ชั้นดานเปนอุปสรรคตอการใชน้ําของพืช

น้ําที่อยูใตชั้นดานไมสามารถผานขึ้นมาเปนประโยชนตอพืชในชวงแลงได รวมทั้งหากฝนตกมากน้ํา
จะไมซึมผานชั้นดานไดทําใหน้ําขังและอาจหัวเนาได

39
ทราบไดอยางไรวาแปลงปลูกมีชั้นดาน
• ความหนาแนนของดินเกินกวา 1.76 ก./มล.ในดินทราย หรือ 1.66 ก./มล.ในดินรวน หรือ 1.46
ก./มล.ในดินเหนียว
• ดินที่มีอนุภาคทรายแปงเปนสวนประกอบอยูมาก เชน ดินชุดกําแพงแสน เมื่อมีการไถพรวนไม
ถูกวิธี อนุภาคทรายแปงจะตกอยูในชั้นดินลึกประมาณ 40-50 เซนติเมตร และถูกบดอัดทําให
เกิดชั้นดาน
• การสังเกตจากเวลาฝนตก ถาเปนพื้นทีร่ าบน้ําจะแชทวมขังอยูนาน เนื่องจากน้ําไมสามารถซึม
ลงไปในดินชัน้ ลางได ถาเปนพื้นที่ลาดเอียงฝนตกลงมาน้ําจะไมซึมลงไปดินชั้นลาง แตจะไหล
บาบนผิวดิน ทําใหเกิดการชะลางพังทลายบนผิวดิน
การแกไขและปองกัน
ดินปลูกมันสําปะหลังที่มีชั้นดินดาน ควรทําการไถระเบิดดานทุก 3 หรือ 5 ป โดยการไถ 2 แนวตัด
กันเปนตารางหมากรุก หลังจากนั้นก็ทําการไถพรวนตามปกติ การไถเบิกดินดานไมจําเปนตองทําทุกป
ขึ้นอยูกับชนิดของดินและวิธกี ารเขตกรรม

ลักษณะของไถระเบิดดินดาน การไถระเบิดดินดานเปนแนวตาขาย
หลังการไถดินดานควรเตรียมดินใหลึกและรวนซุย ทําลายวัชพืชใหหมด เพื่อใหทอนพันธุสมั ผัสดิน
และความชื้นในดินไดดี เมื่องอกเปนตนแลว ก็จะสามารถเจริญเติบโตมีชีวติ อยูรอดได และใหผลผลิตดี
• ชั้นดานนี้ไมควรอยูลึกเกินกวา 70 เซนติเมตรจากผิวดิน เนื่องจากการไถระเบิดดานตองใชรถ
แทรกเตอรขนาดหนัก มีแรงมามากกวา 95 แรง และไถไดลึกไมเกิน 70 เซนติเมตรเทานั้น
• หากชั้นดานอยูลึกเกินกวานี้ จะเสียคาจายโดยเปลาประโยชน
• ในเขตที่มีฝนตกนอยกวา 1,000 มิลลิเมตร และมากกวา 1,400 มิลลิเมตร จะเห็นผลของการไถ
ระเบิดดานมากกวาเขตฝน 1,000-1,400 มิลลิเมตร
• ในดินที่มีชั้นเกลือใตดินไมควรไถเบิกดินดาน เนื่องจากจะทําใหเกลือขึ้นมาพรอมกับน้ําใตดิน

40
การเก็บเกี่ยวมันสําปะหลัง
การเก็บเกี่ยวมันสําปะหลังควรเลือกเก็บเกี่ยวในชวงทีเ่ หมาะสมตั้งแตอายุ 12-18 เดือน ผลผลิต
สูงขึ้นเมื่อเก็บเกี่ยวที่อายุมากขึ้น การเก็บเกี่ยวมันสําปะหลังที่อายุขามป จะไดผลผลิตเพิ่มขึน้ เกือบสองเทา
เมื่อเทียบกับเก็บเกี่ยวในปเดียว เปนการเพิ่มผลผลิตโดยไมตองลงทุนปลูกใหม แตหัวมันสําปะหลังที่อายุ
เกิน 18 เดือนจะใหเปอรเซ็นตแปงในหัวสดต่ํา คุณภาพของแปงไมไดมาตรฐาน มีปริมาณเสนใยสูง โดย
ลดลงในชวงทีผ่ านแลงแลวไดรับฝนทําใหแตกใบออน

ผลผลิต(ตัน/ไร) ปริมาณน้ําฝน(ม.ม.)
14 ระยอง 9 450

12 ระยอง 7 400
ระยอง 72 350
10
ปริมาณฝน 300
8 250
6 200
150
4
100
2 50
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค.
ปลูก เก็บที่ 6 เดือน 8 เดือน 10 เดือน 12 เดือน 14 เดือน 16 เดือน
ผลผลิตมันสําปะหลังที่เก็บเกี่ยวอายุตางกันตั้งแต 6 – 16 เดือน

การเก็บเกี่ยวมี 2 รูปแบบ คือ ใชแรงงานคนทั้งหมด และการใชเครื่องขุดมันสําปะหลังพวงรถ


แทรกเตอรรว มกับการใชแรงงานคน โดยรูปแบบหลังชวยลดตนทุนและการใชแรงงานลง 37 และ 8%
ตามลําดับ จากปญหาการขาดแคลนแรงงานในการเก็บเกี่ยวหลังจากการถอนหรือขุดขึ้นมาจากดินตองใช
แรงงานคนทั้งหมด และเครื่องขุดมันสําปะหลังที่มีใชงานในปจจุบันมีหลายแบบแตกตางกันตามขนาดรถ
แทรกเตอรตน กําลัง ชนิดของผาลขุด ปกไถ ลักษณะการพลิกดิน กรมวิชาการเกษตรจึงไดพัฒนาเครื่องขุด
มันสําปะหลังเพื่อลดแรงลากจูง อัตราการสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง ลดการสึกหรอของรถแทรกเตอร ความ
สูญเสียและความเสียหายของหัวมันสําปะหลังจากการขุด เรียกวา เครื่องขุดมันสําปะหลังแบบไถหัวหมู

คุณลักษณะของเครื่องขุดมันสําปะหลัง
เปนแบบไถหัวหมูซึ่งมีผาลขุดแบบจานโคง สามารถปรับมุมและความยาวปกไถตามชนิดและ
ความชื้นดินซึง่ แกปญหาขอจํากัดเรื่องพื้นที่ไดมากขึ้น ปรับเลื่อนตามระยะระหวางแถวไดสะดวก ตองการ
แรงลากจูงต่ํา

41
(ก) (ข) (ค) (ง)
เครื่องขุดมันสําปะหลังแบบไถหัวหมู (ก) สามารถปรับมุมปกไถสวนหนาได 15 องศาจากการปรับ
ปกไถปานสุด (ข) สามารถปรับมุมปกไถสวนหลังไดในชวง 0-45 องศากับแนวทิศทางการเคลื่อนที่ (ค) ปก
ไถสวนหลังสามารถปรับเลือ่ นเพื่อเพิ่มความยาวได 10 เซนติเมตร เพื่อใหสามารถสงดินและเหงา
มันสําปะหลังออกจากรองการขุดไดมากขึ้น (ง)

ประสิทธิภาพการทํางาน
- มีความสามารถในการทํางาน 1.4 ไรตอ ชั่วโมง
- อัตราการสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง 2.9-3.4
ลิตรตอชั่วโมง
- มีความสูญเสียหัวมันสําปะหลัง 2.3-5.0 %
(ความเสียหายเนื่องจากการแตกหักและหัวหลุดออกจากตน)
ซึ่งนอยกวาผลการทดสอบเครื่องขุดที่มีใชงานอยูแลว

ลักษณะการทํางาน/ความสามารถ
ลักษณะการขุดแบบมีการพลิกดิน ใหมีการพลิกดินออกทั้งสองขางของผาลขุด และแบบใหมีการ
พลิกดินออกขางเดียว ทําใหเก็บรวบรวมหัวมันสําปะหลังงายและสะดวก แตตองใชแรงงานจํานวนมากพอ
ในการเก็บหัวมันออกจากรองขุดตลอดการขุดของแตละรอง เพื่อใหทันการขุดของรถแทรกเตอร ไมใหลอรถ
แทรกเตอรเหยียบหัวมันเมือ่ ทําการขุดรองตอไป

การทดสอบสมรรถนะการทํางานของเครื่องตนแบบในสภาพดินรวนปนทราย
เกียร ความสามารถใน การสิ้นเปลือง ความเร็ว การลื่นไถล %สูญเสีย
แทรกเตอร การทํางานจริง นํ้ามันเชื้อเพลิง แทรคเตอร (%) ผลผลิต
(ไรตอชั่วโมง) (ลิตรตอไร) (ขณะขุด)
เกียร 4 Low 1.47 3.16 3.61 19.50 2.74
เกียร 1 High 1.59 3.54 4.07 23.33 4.79

สามารถสอบถามขอมูลเพิม่ เติมไดที่ สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม กรมวิชาการเกษตร


42
เครือขายเกษตรกรกับสังคมการเรียนรู
บทบาทหนาที่ในการวิจัย พัฒนา ถายทอดเทคโนโลยีและการบริการวิชาการดานการผลิตพืชของ
กรมวิชาการเกษตร สามารถนํามาใชเปนเครื่องมือสนับสนุนการสรางสังคมแหงการเรียนรูทั้งระดับประเทศ
และระดับทองถิ่นได มีหนวยงานระดับจังหวัด (ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตร) เปนผูปฏิบัติหนาที่ดานวิจัย
พัฒนา การถายทอดเทคโนโลยีและการบริการวิชาการการผลิตพืชอยางทั่วถึงในทุกพื้นที่และมีงานวิจัย
พัฒนาเพื่อแกปญหาเฉพาะพื้นที่ในทุกแหลงผลิตพืชของประเทศ จึงมีโอกาสที่จะใชกิจกรรมการวิจัย พัฒนา
ถายทอดเทคโนโลยีและการบริการวิชาการเปนเครื่องมือเสริมสรางสังคมฐานปญญาไดในทุกพื้นที่
แนวทางและขั้นตอนการสรางสังคมการเรียนรูของเกษตรกร
รูปแบบการพัฒนาสังคมฐานความรู จึงควรดัดแปลงงานวิจัย พัฒนาและถายทอดเทคโนโลยีใหเปน
เครื่องมือในการจัดสรางสังคมการเรียนรูของเกษตรกรเปาหมายที่ในพื้นที่ทั้งระดับตัวบุคคล ระดับกลุมใน
พื้นที่และเครือขายระหวางพื้นที่ เนนการกระตุนกลุมเปาหมายใหมีหลักคิดในการผลิต ใชหลักวิชาในการ
ยกระดับผลผลิต และสรางหลักปฏิบัติเพื่อการเรียนรูดวยตนเอง
ภาพรวมของกิจกรรมการแกปญหาการผลิตพืชในแตละพื้นที่จึงประกอบดวยขั้นตอนและแนวทาง
ปฏิบัติตางๆ ดังนี้
1. กําหนดเปาหมายเชิงนโยบาย
1.1 พื้นที่เปาหมาย เชน เขตจังหวัด อําเภอ ตําบล หมูบาน และเขตโรงงาน
1.2 กลุมเปาหมาย เชน อาชีพหลัก และพืชหลักในพื้นที่
1.3 บุคคลเปาหมาย ควรเปนเกษตรกรผูนํา (ทางความคิด)ที่จะเปนผูนําความรูไปใชเฉพาะแตละพื้นที่
2. คนหาเกษตรกรผูรู/ผูนํา
คือ การคนหาเกษตรกร (ผูนําการใชความรู) ในแตละพื้นที่เพื่อดึงเอาความรู วิธีการปฏิบัติ ที่ดี
ที่สุดของเกษตรกรนําไปเผยแพร
3. การจัดการความรู
3.1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู เปนจุดเริ่มตนของการสรางความรู จึงตองใชวิทยากร
กระบวนการเปนผูจัดเวทีและตองออกแบบการเสวนาใหเกษตรกรไดเรียนรูอยางนอย 3 เรื่อง คือ หลักคิด
หลักวิชา และหลักปฏิบัติ
วิทยากรกระบวนการ หมายถึง คนกลางที่ชวยจัดและดําเนินงานการพบปะ ประชุมอบรมใหเกิดการคิดที่เปน
ระบบ มีอิสระทางความคิดและสามารถสื่อสารทําความเขาใจกันอยางตรงไปตรงมา
ดวยการใชเทคนิคและกระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวมเปนหัวใจสําคัญ

3.2 เกษตรกรฝกวิเคราะห ปญ หา เกษตรกรแตละคนนําเสนอข อมูล การผลิ ตของตนเอง เชน


วิธีการเพาะปลูก ความรูที่ใชรวมถึงตนทุนและกําไรที่ได ขั้นตอนนี้เกษตรกรจะรูวาตัวเองมีปญหาผลผลิต
และตนทุนหรือไม อยางไร

43
3.3 เกษตรกรฝกวิเคราะหสาเหตุของปญหา จากขอมูลของตนเองวา เกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุใด
และศึกษาขอมูลจากผูรวมแลกเปลี่ยนเรียนรูจากพื้นที่อื่น ขั้นตอนนี้เกษตรเกิดการเรียนรูอยางนอย 2
ประเด็นคือ
• เกษตรกรไดคิดแลววาตนเองมีผลผลิตต่ําหรือตนทุนสูงเพราะเหตุใด
• เกษตรกรไดรับรูแลววาผูรวมแลกเปลี่ยนเรียนรูมีปญหาและมีวิธีแกปญหาอยางไร
3.4 การถายทอดเทคโนโลยี
จากขั้ น ตอนที่ 3.1-3.3 นั ก วิ ช าการสามารถตรวจสอบได แ ล ว ว า เกษตรกรมี ป ญ หาในการผลิ ต
แตกตางกันอยางไร เกษตรกรใชความรูถูกตองมากนอยเพียงได ควรใชประเด็นปญหาใดเปนโจทยวิจัย/
พัฒนา และประเด็นปญหาใดที่มีผลการวิจัยแลว ตองรีบถายทอดความรูและนําเสนอหลักวิชาที่ถูกตองให
เกษตรกรไดรับรูทันที โดยรวมแลวความรูที่เกษตรกรไมรู หรือใชไมเปน ไดแก
- หลักวิชาการเพิ่มผลผลิต ไดแก ตัวพืช พันธุพืช อาหาร (ปุย) และน้ํา
- ปจจัยที่ตองปรับปรุงเพื่อเพิ่มผลผลิต ไดแก ดินและความอุดมสมบูรณของดิน
- ปจจัยควบคุมไมใหลดผลผลิต ไดแก โรค แมลง วัชพืช
- ปจจัยที่ตองลงทุน ไดแก การปรับปรุงดิน การใชปุย ยา แรงงาน เครื่องมือ
4. การฝกทําแผนปฏิบัติเพือ่ แกปญหาของตนเอง
นักวิชาการควรกระตุนใหเกษตรกรตัดสินใจนําความรูท ี่ไดนี้ไปทดลองใชแกปญหาของตนเองทันที
โดยนักวิชาการเปนผูแนะนําเกษตรกรแตละรายใหฝกทําแผนปฏิบัตขิ องตนเอง โดยมีหลักการดังนี้
- ตั้งเปาหมายยกผลผลิตและลดตนทุนใหมากกวาเดิมอีกเทาตัว
- ทําแผนการปฏิบัติทุกขั้นตอนตั้งแตปลูกถึงเก็บเกี่ยวและสรุปผล
- แสดงวิธีการ เครื่องมือ และความรูที่จะใชในการปฏิบัติทุกขั้นตอน
- แสดงวิธีการใหมที่ทดลองเพิ่มผลผลิตและลดตนทุนการผลิต (คือการทดสอบในพื้นที่)
- คํานวณตนทุนที่จะตองใชทุกขั้นตอน
- คํานวณผลตอบแทนตอไรและผลตอบแทนตอกิโลกรัมหรือตอตัน
- นําแผนไปทดลองปฏิบัติทันที
- นักวิชาการเสนอแผนสนับสนุนตามโจทยของเกษตรกร ไดแก การถายทอดเทคโนโลยี การ
บริการวิชาการ การทดสอบเทคโนโลยีและการวิจัยแกปญหาที่ยังไมรูวิธีแกไข
5. การเรียนรูดวยการปฏิบัติ เกษตรกรนําความรูไปทดลองปฏิบัติ โดยใชแปลงเกษตรกรเปน
แหลงเรียนรูของตนเอง
- จัดเวทีสรุปผลการทดลองเปนความรูระหวางเพื่อนเกษตรกร
- เชิญเกษตรกรใกลเคียงเปนสมาชิกเรียนรูในชุมชนทองถิ่น
6. สรางเครือขายการเรียนรู นักวิชาการควรหนุนเสริมใหเกษตรกรที่สามารถเรียนรูดวยการ
ปฏิบัติ ใหสรางเครือขายการเรียนรูรวมกันในระยะยาว โดย
6.1 กําหนดตัวผูประสานงานระดับกลุม และเครือขาย และกําหนดบทบาทหนาที่ใหชัดเจน
6.2 ผูประสานงานมีการรวมวางแผนงานเพื่อสรางสังคมการเรียนรูในระยะยาว เชน

44
- มีการนัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกลุม
- มีการประชุมสรุปผลในแปลงทดลอง และการประชุมสรุปผลประจําป
- มีการประสานงานกับภาคีการพัฒนา เชน ผูประกอบการ และนักวิชาการเพื่อรวมวางแผน
และรวมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู ดูงานตางๆ
กลุมและเครือขายเกษตรกร
นักวิชาการสามารถประสานและจัดการใหเกษตรกรรายบุคคลหรือกลุมเกษตรกรตาง ๆ สามารถ
รวมตัวกันเปนกลุมและเครือขายการพัฒนาอาชีพโดยมีวัตถุประสงคและเปาหมายการเรียนรูการผลิตและ
การจัดการรวมกันในดานตาง ๆ คือ 1) การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ความรูและเทคโนโลยี 2) พัฒนา
เทคโนโลยีแบบมีสวนรวม 3) รวมจัดการซื้อปจจัยการผลิต และ 4) รวมจัดการจําหนายผลผลิต

เครือขายเกษตรกร

องคประกอบหลักของเครือขายเกษตรกร ไดแก 1) ผูประสานงาน มีหนาที่ประสานงานกับ


ผูเกี่ยวของใหเกิดกิจกรรมตามวัตถุประสงค 2) ภาคีการพัฒนา ไดแกผูมีสวนไดเสีย เชนผูประกอบการและ
ผูรับซื้อผลผลิต 3) ผูสนับสนุน ไดแกผูรู ผูใหคําแนะนํา ที่ปรึกษา หนวยงานหรือองคกรที่รวมงาน
ผูประสานงาน เปนกลไกหลักในการประสานงานกับผูเกี่ยวของใหเกิดกิจกรรมตามวัตถุประสงค
และเปาหมายทั้งระดับบุคคล ระดับกลุมและระดับเครือขาย

เครือขายเกษตรกร (สังคมเรียนรู) กับภารกิจของกรมวิชาการเกษตร


กรมวิชาการเกษตรมีหนวยงานในพื้นที่แตละจังหวัดทําหนาที่วิจัย พัฒนา ถายทอดเทคโนโลยีและ
บริการวิชาการในพื้นที่ของตนเองทั่วประเทศ ดังนั้นหนวยงานระดับเขตจึงสามารถใชกิจกรรมถายทอด
เทคโนโลยีเปนเครื่องมือสนับสนุนการนําความรูไปใชในพื้นที่ โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. จัดทําบัญชีรายชื่อเกษตรกรที่เปนผูนําการเรียนรูจากการวิจัย พัฒนาและถายทอดเทคโนโลยีใน
พื้นที่ตาง ๆ
2. สืบคนความรูที่เกษตรกรผูน ําไดพัฒนาตอยอดจนถึงปจจุบัน
45
3. ประสานงานและจัดประชุมเกษตรกรผูนําการเรียนรูทุกปเพื่อแลกเปลีย่ นเรียนรูและนําความรูไป
ตอยอด ดังนี้
เกษตรกร นักวิชาการ
-ตั้งเปาหมายการเพิ่มผลผลิตหรือลดตนทุน -จําแนกปญหาเปนโจทยวจิ ัย พัฒนา และถายทอด
การผลิต เทคโนโลยี
-เสนอประเด็นปญหาที่ยังไมรูวิธีแกไข -เสนอผลการวิจัยที่ไดผลแลว (หลักวิชา)ใหเกษตรกร
-นําผลการวิจยั ที่ไดผลแลวไปทดลอง นําไปทดลองแกปญหา
แกปญหา -นําวิธีการทีเ่ กษตรกรทําการทดลองมาเขียนเปน
กิจกรรมการทดสอบในพื้นที่
- นําโจทยที่ยังไมมีวิธีแกไขมาทําการวิจยั และพัฒนา

4. สนับสนุนใหเกษตรกรประสานงานกันเปนเครือขายการเรียนรู
- กําหนดผูประสานงานแตละพื้นที่ระดับบุคคล ระดับกลุม ระดับจังหวัดและระดับประเทศ
- มีวัตถุประสงคการแกปญหาอาชีพและใชความรูในการยกระดับผลผลิตและรายได
- วางแผนการขับเคลื่อนการเรียนรู
5. มีการหนุนเสริมจากนักวิชาการ สนับสนุนการแกปญหาของเกษตรกรตามประเด็นปญหา คือ
- การจัดประชุมสรุปผลในพื้นที่ การฝกอบรม และการจัดทําเอกสารวิชาการตาง ๆ
- การจัดกิจกรรมเรียนรู ดูงานในแปลงเกษตรกรที่ประสบความสําเร็จเพื่อสรางกลุมเรียนรูใน
พื้นที่และใหเกษตรกรเปนวิทยากร
- ใหบริการวิชาการ เชน บริการตรวจสอบดิน น้ําพืช หรือใหคําแนะนําตาง ๆ
- ทดสอบเทคโนโลยีที่เกษตรกรจะนําความรูไปทดลองเอง
- วิจัยเพื่อแกปญหาที่ยังไมรูวิธีแกไข

มารวมกันสรางสังคมแหงการเรียนรูกัน

46
เครือขายเกษตรกรที่ประสบความสําเร็จ
นายสม ทะนาสินธุ

เกษตรกรผูปลูกมันสําปะหลังบานหนองนกทา ตําบลโพธิ์
ศรี อําเภอโพธิ์ชัย จังหวัดรอยเอ็ด สูเกษตรกรตนแบบใน
ระดับนานาชาติ จากการทําการเกษตรในพื้นที่ 12 ไร

เสนทางเกษตรกรตนแบบ
นายสม ทะนาสินธุ เกษตรกรธรรมดา ๆ ทํานา ทําไร ปลูกพืชหลายชนิดทั้งปอ แตงโม ออย และ
เริ่มหันมาปลูกมันสําปะหลังตั้งแต พ.ศ.2515 จากการดําเนินการปลูกมันสําปะหลังตามแบบวิธีการเขตกรรม
ของตนเองคือ การเตรียมดินโดยการใชรถไถผาล 3 ใชระยะปลูกระหวางตนเพียง 30 เซนติเมตร และมีการ
ใสปุยตามความพอใจของตนเอง ซึ่งจากวิธีดังกลาวทําใหไดผลผลิตมันสําปะหลังสูงสุดพียง 4 ตันตอไร
ตอมาในป 2548 ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรรอยเอ็ด ไดเขามาใหความรู ทดสอบงานวิจัยแปลงมัน
สําปะหลังในพื้นที่ และนายสม ไดอาสาทํางานวิจัยรวมกับกรมวิชาการเกษตร ทําใหไดเทคโนโลยีมาปรับใช
ใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของตน และไดรวมทดสอบ แลกเปลี่ยนเรียนรู จากการดูงานแปลงเกษตรกร
ตนแบบในหลายพื้นที่ แลวนํามาทําการทดลองดวยตนเอง โดยมีฐานความรูดานวิชาการ ตั้งแตการเลือก
พันธุใหเหมาะสมกับพื้นที่ คือ พันธุระยอง 7 และการปรับใชเทคโนโลยีการปลูกมันสําปะหลัง จนกระทั่ง
ผลผลิตเพิ่มขึ้นมาเรื่อยๆ จากเดิม 4 ตันตอไร เปน 5 ตันตอไร และ 16 ตันตอไร ตามลําดับ

วิจัยดวยตนเองตลอดเวลา
เทคโนโลยีที่นายสมนํามาปรับใช คือ การปลูกจากเดิมใชระยะปลูกถี่ มาเปนระยะปลูก 1x1 เมตร ที่
กรมวิชาการเกษตรแนะนํา ตอมาในป 2550 ไดทดลองขุดหลุมปลูกกับมันสําปะหลัง ทําใหในปนั้นนายสมได
ผลผลิตถึง 16 ตัน/ไร
เมื่อไดผลผลิตมันสําปะหลังตรงตามเปาหมาย นายสมก็ไมหยุดการพัฒนาการปลูกมันสําปะหลัง มี
การศึกษาหาความรูใหมและทดลองทําอยางตอเนื่องทุกป ปจจุบันนายสมไดมีการปรับเปลี่ยนการใชปุยเคมี
รวมกับการปลูกพืชหมุนเวียน ซึ่งในพื้นที่การเกษตรของนายสม จะแบงพื้นที่เปนสัดสวน มีทั้งออย แตงโม
และมันสําปะหลัง หลังปลูกออยแลวจะปรับเปลี่ยนมาปลูกแตงโม แลวจึงปลูกมันสําปะหลังหมุนเวียนกันไป

47
รองหลุมปลูกดวยอินทรียวัตถุ การปลูกแบบขุดหลุมปลูกทีต่ ําบลโพธิ์ศรี

แนวทางการขยายเทคโนโลยี
เทคโนโลยีของเกษตรกรตนแบบ จากแปลงตนแบบของนายสม ไดรับความสนใจจากเกษตรกร
ทั่วไปในตําบลโพธิ์ศรี พบวา สามารถทําไดจริง จึงเขามาศึกษาเรียนรูผานแปลงตนแบบ และนําเทคโนโลยีที่
ทําไดนี้ ไปปรับใชในพื้นที่ของตน ทัง้ ในอําเภอโพธิ์ชัย อําเภอหนองพอกและอําเภอโพนทอง รวมทั้ง
เกษตรกรที่อยูจังหวัดกาฬสินธุ และอุดรธานี การมาดูงานของเกษตรกรทั้งในและนอกพื้นที่ทําใหเทคนิคการ
ปลูกมันสําปะหลังของนายสมไดขยายพื้นที่ออกไป รวมทั้งไดรวบรวมเกษตรกรผูผลิตมารวมเปนเครือขาย
ในการซื้อขายผลผลิตและทอนพันธุมันสําปะหลัง ทําใหเกิดเครือขายการผลิตแบบนายสม จนไดรับการ
ยอมรับจากเกษตรกรผูปลูกมันสําปะหลังวาเปนเกษตรกรตนแบบในการบริหารจัดการของไรมันสําปะหลัง
ขนาดเล็กจนประสบความสําเร็จ
และประสบความสําเร็จอีกครั้งเมื่อกรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชยไดเลือกนายสม ทะนา
สินธุ เปน “เกษตรกรที่ประสบความสําเร็จดานการบริหารจัดการในไรมันสําปะหลังขนาดเล็ก”
รางวัลระดับนานาชาติ จากงานประชุมสัมมนามันสําปะหลังนานาชาติ ป พ.ศ. 2554 (World Tapioca
Conference 2011) จากกรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย

รวมเสวนากับเกษตรกรอําเภอโพธิ์ชัย วงสนทนากับเกษตรกรตนแบบในงานนิทรรศการ
48
บรรณานุกรม
กรมวิชาการเกษตร. 2548. คําแนะนําการใชปุยกับพืชเศรษฐกิจ. เอกสารวิชาการลําดับที่ 8/2548. ISBN 974-436-434-3
กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 121 หนา.
กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ วัลลีย อมรพล ศรีสุดา ทิพยรักษ วินัย ศรวัติ และเกษม ชูสอน. 2554. การตอบสนองของพันธุ
มันสําปะหลังตอการจัดการธาตุอาหารเพื่อผลิตเอทานอลในจังหวัดขอนแกน. รายงานผลงานวิจัยศูนยวิจัยพืชไร
ขอนแกนประจําป 2553. สถาบันวิจัยพืชไร. กรมวิชาการเกษตร. 15 หนา.
กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ ศรีสุดา ทิพยรักษ วินัย ศรวัต วัลลีย อมรพล และดนัย ศุภาหาร. 2550. การตอบสนองของพันธุมัน
สําปะหลัง 2 พันธุ ตอการจัดการธาตุอาหารเพื่อผลิตเอทานอลในจังหวัดขอนแกน. ใน: รายงานการสัมมนาเรื่อง
แนวทางการวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสําปะหลัง. สถาบันวิจัยพืชไร 24-26 กรกฎาคม 2550
ณ โรงแรมขวัญมอ จังหวัดขอนแกน.
โชติ สิทธิบุศย, 2539. แนวทางพัฒนาระบบการใหคําแนะนําการใชปุยกับพืชไร. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ. ISBN 974-7465-15-9.
เถลิงศักดิ์ วีระวุฒิ สุเทพ สหายา อัมพร วิโนทัย วลัยพร ศะศิประภา เมธาพร พุฒขาว และ ดารารัตน มณีจันทร . 2554.
คูมือ การจัดทําแปลงขยายทอนพันธุมันสะอาดและเหมาะสมกับพื้นที่. กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพ 16 หนา.
วลัยพร ศะศิประภา ณิชา โปทอง และเถลิงศักดิ์ วีระวุฒิ. 2552. การจําแนกพันธุมันสําปะหลัง. สํานักงานพุทธศาสนา
แหงชาติ, กรุงเทพ. 32 หนา.
วลัยพร ศะศิประภา สุกิจ รัตนศรีวงษ โสพิศ ใจปาละ นายวินัย ศรวัติ เถลิงศักดิ์ วีระวุฒิ นรีลักษณ วรรณสาย โสภิตา
สมคิด สันติ พรหมคํา นพดล แดงพวง วิภารัตน ดําริเขมตระกูล แคทลิยา เอกอุน ณรงคศักดิ์ ศรีสุวอ สุภาพร รา
จันทึก จิราลักษณ ภูมิไธสง และอิสระ พุทธสิมมา. 2553. แผนที่ความเหมาะสมของเทคโนโลยีการผลิตมัน
สําปะหลังเฉพาะพื้นที่. ISBN :978-974-436-745-7. สํานักงานพุทธศาสนาแหงชาติ, กรุงเทพ 62 หนา.
วลัยพร ศะศิประภา. 2554. การแพรกระจายของแตนเบียนเพลี้ยแปงมันสําปะหลังสีชมพูในพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังจังหวัด
กําแพงเพชร. 10 หนา.
วินัย ศรวัต วุฒินันท ผาบสิมมา และเพียงเพ็ญ ศรวัต. 2553. การใหผลผลิตของมันสําปะหลังในการปลูกหมุนเวียนตลอด
ทั้งปในสภาพดินรวนปนทรายของจังหวัดขอนแกน รายงานเรื่องเต็มผลการวิจัยที่สิ้นสุด ปงบประมาณ 2553
ศูนยวิจัยพืชไรขอนแกน, กรมวิชาการเกษตร.12 หนา.
วินัย ศรวัต วุฒินันท ผาบสิมมาและกอนทอง พวงประโคน. 2551. ผลของการใหน้ําตอพันธุมันสําปะหลังในสภาพดินรวน
ปนทราย. ศูนยวิจัยพืชไรขอนแกน, กรมวิชาการเกษตร. 12 หนา.
สุเทพ สหายา อัมพร วิโนทัย วลัยพร ศะศิประภา รังษี เจริญสถาพร รวีวรรณ เชื้อกิตติศักดิ์ เถลิงศักดิ์ วีระวุฒิ สมลักษณ
จูฑังคะ สมศักดิ์ ทองศรี อนุวัฒน จันทราสุวรรณ ชลิดา อุณหวุฒิ มานิตา คงชื่นสิน เมธาพร พุฒขาว และดารา
รัตน มณีจันทร. 2553. คูมอื การเพิ่มผลผลิตมันสําปะหลังโดยการกระจายพันธุดีและขยายทอนพันธุมันสะอาด.
กรมวิชาการเกษตร. 33 หนา.
อัจฉรา ลิ่มศิลา และกอบเกียรติ ไพศาลเจริญ. 2551. ศักยภาพของมันสําปะหลังใน 10 ชุดดิน. ใน: รายงานการประชุมแผน
งานวิจัยมันสําปะหลังประจําป 2551. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ.
โอภาษ บุญเส็ง. ไมระบุ. ปลูกมันสําปะหลังแบบมีการใหน้ําชวยเพิ่มผลผลิตและปองกันเพลี้ยแปง. ศูนยวิจัยพืชไรระยอง.
สถาบันวิจัยพืชไร กรมวิชาการเกษตร. 11 หนา.
Howeler R.H. 2002. Cassava Mineral Nutrition and Fertilization. p 115-147. In: R.J.Hillock, J.M.Thresh and
A.C.Bellotti (eds). CAB International. Cassava: Biology, Production and Utilization.:

49

You might also like