You are on page 1of 27

ปั ญหาพิเศษ ปริญญาตรี

การเจริญเติบโตของช่ อดอกกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์บอมโจและขาว 5 เอ็น


ในฤดูกาลที่ต่างกัน
Inflorescence Growth of ‘Bom Jo’ and ‘Khao 5 N’ Dendrobium in Different
Seasons

นางสาวพนิดา ศรี แสงทรัพย์

ภาควิชาพืชสวน
คณะเกษตร กาแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน
พ.ศ. 2554
การเจริญเติบโตของช่ อดอกกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์บอมโจและขาว 5 เอ็นในฤดูกาลที่ต่างกัน

นางสาวพนิดา ศรี แสงทรั พย์

บทคัดย่ อ

การศึกษานี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อเปรี ยบเทียบการเจริ ญเติบโตของช่อดอกกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์


บอมโจและพันธุ์ขาว 5 เอ็น ในฤดูกาลต่างๆ โดยติดตามการเจริ ญเติบโตของช่อดอกที่เกิดจากลาหน้ าของ
ต้ นกล้ วยไม้ ที่มีอายุ 2 ปี ขึ ้นไปเมื่อเริ่ มแทงช่อดอกที่ปลายยอด ความยาว 2.5 ซม. จนกระทัง่ พร้ อมตัดช่อ
ดอก พบว่าช่อดอกกล้ วยไม้ ทงสองพั ั้ นธุ์มีรูปแบบการเติบโตที่เหมือนกัน โดยแบ่งระยะการเติบโตได้ เป็ น 5
ระยะ ระยะที่ 1 ช่อดอกยืดตัวอย่างรวดเร็ ว ยังมองเห็นดอกตูมยังไม่ชดั เจน ใช้ เวลาพัฒนา 13 ถึง 14 วัน
ระยะที่ 2 ช่อดอกยืดตัวเร็ ว เห็นดอกตูมชัดเจน พันธุ์บอมโจมีจานวน 5 - 7 ดอกต่อช่อ พันธุ์ขาว 5 เอ็น มี
จานวน 8 -10 ดอกต่อช่อ ใช้ เวลาพัฒนา 7 วัน ระยะที่ 3 ช่อดอกยังคงยืดตัวแต่ในอัตราที่ช้าลง ดอกตูมมี
ขนาดใหญ่ขึ ้น พันธุ์บอมโจมีจานวน 8 – 11 ดอกต่อช่อ พันธุ์ขาว 5 เอ็น มีจานวน 12 - 16 ดอกต่อช่อ ใช้
เวลาพัฒนา 7 วัน ระยะที่ 4 ช่อดอกยังคงยืดตัวแต่ช้ากว่าในระยะที่ 3 ดอกตูมมีขนาดใหญ่ขึ ้น จานวน
ดอกตูมไม่เพิ่มขึ ้น เริ่ มมีการบานของดอกตูมดอกแรก ใช้ เวลาพัฒนา 4 - 7 วัน ระยะที่ 5 ช่อดอกมีความ
ยาวคงที่ ดอกตูมมีขนาดใหญ่ขึ ้น ดอกบานมี 4 ดอกขึ ้นไป พร้ อมตัดดอกได้ พันธุ์บอมโจมีจานวน 8 – 11
ดอกต่อช่อ พันธุ์ขาว 5 เอ็น มีจานวน 12 - 16 ดอกต่อช่อ ใช้ เวลาพัฒนา 2 ถึง 7 วัน ซึง่ พันธุ์ขาว 5 เอ็นให้
ช่อดอกที่มีความยาวมากกว่าพันธุ์บอมโจ ในฤดูฝนมีอณ ุ หภูมิเฉลี่ย 26C ซึง่ ต่ากว่าในช่วงฤดูร้อนและ
ฤดูหนาวในปี ที่ศกึ ษา และมีระดับความชื ้นสัมพัทธ์สงู ช่อดอกของกล้ วยไม้ ทงสองพั ั้ นธุ์มีจานวนดอกต่อ
ช่อมากที่สดุ มีความยาวช่อดอกมากที่สดุ และมีการพัฒนาจนพร้ อมเก็บเกี่ยวได้ เร็ วที่สดุ เมือ่ เปรี ยบเทียบ
กับช่วงฤดูอื่นที่ศกึ ษา และมีแนวโน้ มว่าลาหน้ าที่ออกดอกได้ มีขนาดใหญ่และจานวนรากที่สมบูรณ์
มากกว่าในช่วงฤดูอื่นๆ

คาสาคัญ : ลาหน้ า ช่อดอก


สาขาวิชา : สรี รวิทยาพืชสวน
ปั ญหาพิเศษ : ปริ ญญาตรี ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร. ลพ ภวภูตานนท์
ปี ที่พิมพ์ : 2554
จานวนหน้ า : 19
Inflorescence Growth of ‘Bom Jo’ and ‘Khao 5 N’ Dendrobium in Different Seasons

Miss Panida Srisangsub


Abstract

The objective of this study is to investigate inflorescence growth of ‘Bom Jo’ and ‘Khao
5 N’ Dendrobium in different seasons. Growth was monitored from an initial inflorescence with
2.5 cm in length emerged from a mature current shoot of >2 years old plants until it reached
the harvesting stage. It was found that the inflorescence growth pattern of both cultivars was
similar and could be divided into 5 stages. Stage 1 inflorescence length increased rapidly and
bud flowers were not clearly seen (development duration:13-14 days), Stage 2:inflorescence
length increased rapidly and bud flowers were clearly seen, 5 – 7 buds/inflorescence for ‘Bom
Jo’ and 8 – 10 buds/inflorescence for ‘Khao 5 N’ (development duration: 7 days), Stage 3:
inflorescence length still increased at slower rate and number of bud flowers increased to 8 –
11 buds /inflorescence for ‘Bom Jo’ and 12–16 buds/inflorescence for ‘Khao 5 N’
(development duration: 7 days), Stage 4: inflorescence length increased at slower rate than in
stage 3, bud flowersenlarged without an increase in bud numbers and the first bud flower
began to open (development duration : 4 – 7 days) and Stage 5:harvesting stage,
inflorescence length remained constant, bud flowers enlarged, 4 or more opened flowers and
8 – 11 total flowers/inflorescence for ‘Bom Jo’ and 12 – 16 total flowers/inflorescence for ‘Khao
5 N’ (development duration: 2 – 7 days). ‘Khao 5 N’ generally had longer inflorescences than
‘Bom Jo’. The average temperature in the rainy season was 26C which was lower than those
in summer and cool season in the studying year while the relative humidity in the rainy season
was higher. Inflorescence growth, final length, total flowers /inflorescence were greatest in the
rainy season resulting in earlier harvesting as compared to other seasons. Flowering current
shoots in the rainy season tended to be larger with more active roots than those in other
seasons.

Keywords : current shoot, inflorescence


Field : Horticultural Crop Physiology
Degree : B.S. (Agric.), Department of Horticulture, Faculty of Agriculture at
Kamphaeng Sean, Kasetsart University
Advisor : Asst. Prof. Dr. Lop Phavaphutanon
Year : 2011
Page : 19
คานา

กล้ วยไม้ สกุลหวาย (Dendrobium) เป็ นพืชเศรษฐกิจที่ทารายได้ จากการส่งออกให้ กบั ประเทศปี


ละหลายพันล้ านบาท นิยมปลูกเลี ้ยงเพื่อเป็ นไม้ ตดั ดอกและเป็ นไม้ กระถาง ปั จจุบนั ประเทศไทยมีการ
ผลิตกล้ วยไม้ สกุลหวายมากกว่าสกุลอื่นๆ (สมศักดิ์, 2540) เนื่องจากเป็ นสกุลที่ เจริ ญเติบโตเร็ ว และ
สามารถออกดอกได้ เกือบตลอดทังปี ้ (จิตราพรรณ, 2529) โดยจังหวัดที่ปลูกเลี ้ยงกล้ วยไม้ มากที่สดุ คือ
จังหวัดนครปฐม และจังหวัดใกล้ เคียง ได้ แก่ กรุ งเทพฯ นนทบุรี ราชบุรี สมุทรสาคร และชลบุรีตามลาดับ
(กรมส่งเสริ มการเกษตร, 2553) ซึง่ ในปี พ.ศ.2553 ประเทศไทยส่งออกดอกกล้ วยไม้ 22,323 ตัน คิด
เป็ นมูลค่ากว่า 2,322 ล้ านบาท และในปี 2554 อุตสาหกรรมการส่งออกกล้ วยไม้ มีแนวโน้ มสูงขึ ้นเรื่ อยๆ
(สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2553)

การเจริญเติบโตของกล้ วยไม้ สกุลหวาย

กล้ วยไม้ สกุลหวายมีระบบรากกึ่งอากาศ (มาลินี , 2530) และเป็ นกล้ วยไม้ ประเภทที่มีลกั ษณะ
การเจริ ญเติบโตแบบแตกกอ (Sympodial ) (บรรณ, 2534) คือมีการเจริ ญไปตามแนวนอนด้ วยเหง้ า
(rhizome ) ซึ่งเป็ นลาต้ นที่แท้ จริ ง และมีลาต้ นเทียมหรื อลาลูกกล้ วย (pseudo-bulb) ทาหน้ าที่สะสม
อาหาร เมื่อลาต้ นเจริ ญเติบโตเต็มที่แล้ วจึงแตกหน่อเป็ นลาต้ นใหม่ และเจริ ญเติบโตต่อไปเรื่ อยๆจนเป็ น
กอ ใบมีลกั ษณะแข็งหนาสีเขียว เป็ นใบเดี่ยว สาหรับลาที่เกิดใหม่เรี ยกว่า ‚ ลาหน้ า ’’ (current shoot)
ส่วนลาที่เกิดก่อนเรี ยกว่า ‚ลาหลัง’’ บางต้ นเมื่อสมบูรณ์ เต็มที่อาจแตกตาสองตาพร้ อมกัน ทาให้ มีการ
เจริ ญแยกเป็ นสองทางเรี ยกว่าไม้ สองหน้ า คือมีหน่อใหม่เกิดขึ ้นสองหน่อพร้ อมกันแต่เกิดต่างลากัน ความ
สมบูรณ์ของต้ นกล้ วยไม้ อาจสังเกตได้ จากการเจริ ญเติบโตของลาลูกกล้ วยในกอ (บรรณ, 2534) ซึง่ พบว่า
ในสามปี แรกกล้ วยไม้ สกุลหวายมีการเจริ ญเติบโตดี แต่หลังจากนัน้ แล้ วมักเจริ ญเติบโตได้ ลดลงและให้
ผลผลิตที่ไม่ดี ดังนันกล้
้ วยไม้ สกุลหวายส่วนมากจึงต้ องมีการตัดแยกอยู่เป็ นระยะๆ (ไพบูลย์ , 2521) และ
มีการเปลี่ยนวัสดุปลูกที่เสื่อมสภาพด้ วย จึงจะมีการเติบโตที่สมบูรณ์ให้ ดอกเต็มที่ (วันชัย, 2540)

โดยทัว่ ไปแล้ วกล้ วยไม้ สกุลหวายมีการเจริ ญเติบโตดีกว่ากล้ วยไม้ สกุลอื่นๆลาต้ นมีการเจริ ญเติบ
โตเต็มที่ในช่วง 3 - 6 เดือน เมื่อเจริ ญสุดลาแล้ วสามารถออกดอกได้ 1 - 3 ช่อ จากตาที่ปลายลาและตาที่
ถัดลงมา ช่อดอกใช้ ระยะเวลาพัฒนา 45 - 60 วัน จึงพร้ อมตัดดอกได้ (จงวัฒนา, 2547; จิตราพรรณ,
2546)ปริ มาณกล้ วยไม้ ที่ผลิตได้ ในแต่ละปี มีจานวนไม่แน่นอนขึ ้นอยู่กับสภาวะอากาศเป็ นสาคัญโดยทัว่
ไปแล้ วกล้ วยไม้ จะออกดอกชุกในช่วงฤดูฝน คือปริ มาณเดือน กรกฎาคม – ตุลาคม หลังจากนันจะให้ ้ ดอก
น้ อยลงเรื่ อยๆ จนถึงฤดูแล้ ง ปริ มาณกล้ วยไม้ จะเหลือน้ อยจนถึงเดือนมิถนุ ายน (สุเทพ, 2544)
2

พันธุ์กล้ วยไม้ ตดั ดอกสกุลหวายที่นิยมปลูกเลี ้ยงเพื่อการส่งออกในปั จจุบนั มีสีดอก ลักษณะดอก


และนิสยั การเติบโตที่แตกต่างกัน เช่น
ดอกสีม่วงเข้ มโคนกลีบขาว เช่น บอมโจ (Dendrobium Sonia ‘Bom Jo’) มีลกั ษณะต้ นเตี ้ย
ดอกสีเข้ ม มีความคงทนดี ออกดอกดก ค่อนข้ างสม่าเสมอตลอดปี ก้ านช่อดอกค่อนข้ างสัน้

ดอกสีมว่ งอ่อน เช่น แอนนา (Dendrobium Anna) มีลกั ษณะดอกฟอร์ มกลม ออกดอกดก ดอก
มีสีตรงตามความต้ องการของตลาดญี่ปนุ่ ความคงทนดี ช่วงหน้ าแล้ งไม่คอ่ ยออกดอก (ดวงพร, 2545)

ดอกสีมว่ ง เช่น อินทุวงศ์ (Dendrobium Intuwong) เป็ นพันธุ์ที่ปลูกเลี ้ยงง่าย ให้ ผลผลิตดีตลอด
ปี ปริ มาณช่อยาวพิเศษมาก ให้ ดอกดกในช่วงฤดูร้อน ทนต่อสภาพอากาศ ไม่คอ่ ยประสบปั ญหาเรื่ องดอก
ตูมฝ่ อ

ดอกสีขาว เช่น ขาวสนาน และ ขาว 5 เอ็น มีลกั ษณะฟอร์ มดอกหวายกึ่งฟอร์ มกลม เป็ นพันธุ์ที่
ปลูกเลีย้ งง่าย ก้ านช่อดอกยาว ให้ ผลผลิตดีดอกดกในช่วงฤดูฝนมีกลิ่นหอมอ่อนๆ เมื่อสภาพอากาศ
เปลี่ยนแปลง โดยฝนมักประสบปั ญหาเรื่ องดอกตูมร่ วง/ฝ่ อ การแตกหน่อใหม่ค่อนข้ างช้ า (สานักงาน
เกษตรอาเภอพุทธมณฑล, มปป)

ความต้ องการใช้ กล้ วยไม้ มีเพิ่มขึ ้นทุกปี แต่กลับมีปริ มาณไม่เพียงพอต่อความต้ องการ โดยใน
บางพันธุ์ที่มีความต้ องการใช้ มากในช่วงฤดูร้อน เช่น พันธุ์บอมโจ และ พันธุ์ขาว 5 เอ็น กลับไม่คอ่ ยออก
ดอก ซึง่ การแก้ ปัญหาผลผลิตตกต่าในฤดูแล้ ง (มีนาคม – พฤษภาคม) จากการสอบถามผู้ปลูกเลี ้ยง
กล้ วยไม้ สง่ ออกหลายท่านแนะนา ให้ บงั คับให้ หน่อใหม่แทงออกมาในช่วงตุลาคม – พฤศจิกายน แล้ ว
หน่อใหม่จะพัฒนาจนสุดลาในเดือน มีนาคม – เมษายน และสามารถออกดอกได้ ในช่วงพฤษภาคม –
มิถนุ ายน ซึง่ ตรงกับช่วงที่ดอกกล้ วยไม้ มีราคาแพงพอดี หรื อบางรายจะตัดหน่อใหม่ทิ ้งในช่วงเดือน
กุมภาพันธ์ ซึง่ ในกล้ วยไม้ สกุลหวายจะแทงหน่อใหม่ในช่วงนี ้การตัดหน่อทิ ้งจะเป็ นการบังคับให้ ลาหลัง
แทงช่อดอกออกมา แต่ข้อมูลความรู้ ตา่ งๆ เช่น สภาพอากาศที่แตกต่างกันแต่ละฤดูน่าจะมีผลต่อการ
พัฒนาการของดอก และวันเก็บเกี่ยวในกล้ วยไม้ พนั ธุ์การค้ า ยังมีการรายงานไว้ คอ่ นข้ างน้ อย องค์ความรู้
ที่มีมกั มาจากการสังเกตหรื อการบอกต่อกันในกลุม่ ผู้ปลูกเลี ้ยงเป็ นส่วนใหญ่ จึงจาเป็ นต้ องศึกษาและนา
ความรู้ นี ้ไปใช้ เพื่อพัฒนาระบบการผลิตกล้ วยไม้ สกุลหวายต่อไป

การศึกษานีจ้ ึงมีวตั ถุประสงค์ เพื่อเปรี ยบเทียบการเจริ ญเติบโตของช่อดอกกล้ วยไม้ สกุลหวาย


พันธุ์บอมโจ และพันธุ์ขาว 5 เอ็น ซึง่ เป็ นพันธุ์ทางการค้ า ในฤดูกาลต่างๆ
3

อุปกรณ์ และวิธีการ

ศึกษาการเจริ ญเติบโตของช่อดอกกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์บอมโจ และขาว 5 เอ็น โดยคัดเลือก


ตัวแทนต้ นกล้ วยไม้ ที่มีอายุ 2 ปี ขึ ้นไปและเป็ นลาหน้ า (ภาพที่ 1) พร้ อมออกช่อดอก ปลูกอยู่ในโรงเรื อน
กล้ วยไม้ บนกาบมะพร้ าววางแบบเรื อใบซ้ อนสองชัน้ มีจานวนลา 4 - 5 ลาต่อกอ รดน ้าวันเวันสองวัน แต่
ถ้ าในสภาพอากาศที่ร้ อนมากๆ ก็จะรดน ้ามากขึ ้นโดยจะรดวันเว้ นวัน และในฤดูฝนแทบจะไม่ได้ รดเลย
เพราะฝนตกเกื อบทุกวัน ให้ ปุ๋ ยช่วงเช้ า ทุก ๆ 5 วัน การพ่ นยาป้ องกัน กาจัดศัตรู พื ช ในช่วงเย็ น ในวัน
เดียวกันกับการให้ ปยุ๋ บันทึกข้ อมูลการพัฒนาช่อดอกทุกสัปดาห์ การพัฒนาทางลาต้ น อุณหภูมิและ
ความชื ้นสัมพัทธ์ภายในโรงเรื อนในรอบวัน ช่วงเช้ า 8.00 น. ช่วงกลางวัน 12.00 น. และช่วงเย็น 18.00 น.
ในช่วงทาการศึกษา

ลาหน้ า

ภาพที่ 1 ลาหน้ าของกล้ วยไม้ สกุลหวายที่กาลังเจริ ญเติบโตและสามารถออกดอกได้ เมื่อเจริ ญเติบโตจนสุดลา

บันทึกข้ อมูลการพัฒนาของช่ อดอก

1. วัดความยาวช่อดอกทุกสัปดาห์ เริ่ มวัดเมื่อช่อดอกช่อแรกของลาหน้ ามีขนาด 2.5 ซ.ม. กรณี


มีมากกว่า 1 ช่อต่อลา จะวัดช่อแรกที่แทงช่อก่อน ทาการศึกษาเปรี ยบเทียบ 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน (ช่วงเดือน
เมษายน – เดือนพฤกษภาคม) ฤดูฝน (ช่วงเดือนกรกฎาคม – เดือนกันยายน) และฤดูหนาว (ช่วงเดือน
ตุลาคม – เดือนธันวาคม)
2. วันดอกแรกบาน
3. วันพร้ อมตัดช่อดอกโดยมีดอกบานในช่อ 4-5 ดอก
4. จานวนดอกทังหมดของช่
้ อ
4

การเจริญทางลาต้ นของกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์บอมโจ และขาว 5 เอ็น

บันทึกความสูงของลาหน้ าเมื่อเจริ ญสุดลา ขนาดเส้ นรอบวงของลาบริ เวณเหนือจากโคนขึ ้นไป


20 ซม. จานวนใบ และจานวนรากสมบูรณ์ที่มีปลายรากสีเขียวชัดเจน เพื่อแสดงขนาดและความสมบูรณ์
ของลาหน้ าที่ใช้ ศกึ ษาพัฒนาการของช่อดอกในแต่ละช่วงฤดู

วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) เปรี ยบเทียบความ


แตกต่างของค่าเฉลี่ยด้ วยวิธี Duncan’s new multiple range test (DMRT) กาหนดให้ สิ่งทดลองคือ
ฤดูกาลที่ตา่ งกัน 3 ฤดู แยกทาการทดลองทีละพันธุ์

ระยะเวลาและสถานที่ทาการทดลอง

ทาการศึกษาระหว่างเดือนเมษายน – เดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 ณ สวนกล้ วยไม้ คุณขวัญเรื อน


ศรี แสงทรัพย์ อาเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
5

ผล

การเจริญเติบโตทางช่ อดอกของกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์บอมโจ ในแต่ ละฤดูกาล

การเจริ ญเติบโตของช่อดอกที่เกิดจากลาหน้ าของต้ นกล้ วยไม้ ที่มีอายุ 2 ปี ขึ ้นไป เมื่อเริ่ ม


แทงช่อดอกที่ปลายยอด ความยาว 2.5 ซม.จนกระทัง่ พร้ อมตัดช่อดอกของกล้ วยไม้ พนั ธุ์บอมโจ มีการ
เจริ ญเติบโตทัง้ 3 ช่วงฤดูกาลที่ศึกษาที่สามารถแบ่งได้ เป็ น 5 ระยะ คือระยะที่ 1 ช่อดอกยืดตัวอย่าง
รวดเร็ ว ยังมองเห็นดอกตูมยังไม่ชัดเจน ใช้ เวลาพัฒนา 13 ถึง 14 วัน ซม. ระยะที่ 2 ช่อดอกยืดตัวเร็ ว
เห็นดอกตูมชัดเจน มีจานวน 5 – 7 ดอกต่อช่อ ใช้ เวลาพัฒนา 7 วัน ระยะที่ 3 ช่อดอกยังคงยืดตัวแต่ใน
อัตราที่ช้าลง ดอกตูมมีขนาดใหญ่ขึ ้น มีจานวน 8 – 11 ดอกต่อช่อ ใช้ เวลาพัฒนา 7 วัน ระยะที่ 4 ช่อดอก
ยังคงยืดตัวแต่ช้ากว่าในระยะที่ 3 ดอกตูมมีขนาดใหญ่ขึ ้น จานวนดอกตูมไม่เพิ่มขึ ้น เริ่ มมีการบานของ
ดอกตูมดอกแรก ใช้ เวลาพัฒนา 4 – 7 วัน ระยะที่ 5 ช่อดอกมีความยาวคงที่ ดอกตูมมีขนาดใหญ่ขึ ้น ดอก
บานมี 4 ดอกขึ ้นไป พร้ อมตัดดอกได้ มีจานวน 8 – 11 ดอกต่อช่อ ใช้ เวลาพัฒนา 2 ถึง 7 วัน ในฤดูฝนมี
จะการเจริ ญเติบโตที่เร็ วและสามารถเก็บเกี่ยวได้ เร็ วกว่าในฤดูอื่น (ภาพที่ 2)

ความยาวช่อดอกของกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์บอมโจ ในวันพร้ อมตัด ในฤดูฝนมีความยาวเฉลี่ย


43.2 ซม. ซึง่ มีความยาวมากกว่าในฤดูร้อน ที่มีความยาวเฉลี่ย 36.7 ซม. และในฤดูหนาว ที่มีความยาว
เฉลี่ย 37.6 ซม. (ภาพที่ 2 และ ตารางที่ 1) ระยะเวลาการพัฒนาช่อดอกจนกระทัง่ พร้ อมตัดดอก ในฤดู
ฝนใช้ ระยะเวลาเฉลี่ย 37.2 วัน ซึง่ เร็ วกว่าในฤดูร้อน ที่ใช้ เวลา 40.4 วัน และในฤดูหนาว ที่ใช้ เวลา 37.6
วัน โดยความยาวช่ อดอก และระยะเวลาการพั ฒ นาช่ อดอกจนกระทั่งตัดดอก ในแต่ล ะฤดูมีความ
แตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง (ตารางที่ 1)

การเจริ ญเติบโตของช่อดอกกล้ วยไม้ พนั ธุ์บอมโจ จนถึงวันที่ดอกแรกเริ่ มบาน พบว่า ในฤดูฝนใช้


เวลาเฉลี่ย 26.3 วันซึง่ เร็ วกว่าในฤดูร้อน ที่ใช้ เวลาเฉลี่ย 30.9 วัน และในฤดูหนาว ที่ใช้ เวลาเฉลี่ย 33.3 วัน
ระยะเวลาที่ใช้ ในการพัฒนาของช่อดอกจนถึงระยะที่ดอกแรกเริ่ มบาน ในแต่ละฤดูมีความแตกต่างกัน
ทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง (ตารางที่ 1)

จานวนดอกทังหมดของช่
้ อ ในแต่ละฤดู มีความแตกต่างทางสถิติกนั อย่างมีนยั สาคัญยิ่ง โดยใน
ฤดูฝน มีจานวนดอกเฉลี่ย 11.3 ดอกต่อช่อ ซึง่ มากกว่าในฤดูร้อน มีจานวนดอกเฉลี่ย 8.9 ดอกต่อช่อ และ
ในฤดูหนาว มีจานวนดอกเฉลี่ย 8.4 ดอกต่อช่อ (ตารางที่ 1)
6

เวลา (สัปดาห์)

ภาพที่ 2 การเจริ ญเติบโตของช่อดอกกล้ วยไม้ พนั ธุ์บอมโจตังแต่


้ เริ่ มแทงช่อดอกมีความยาว 2.5 ซม.
จนถึงระยะพร้ อมตัดช่อดอก (มีดอกบานในช่อ 4 ดอกขึ ้นไป) ในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว
พ.ศ. 2553

ตารางที่ 1 พัฒนาการของช่อดอกกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์บอมโจ ในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว พ.ศ.


2553

ฤดู ความยาวช่อดอก วันดอกแรกบาน วันพร้ อมตัดดอก จานวนดอก


(ซม.) (วัน) (วัน) (ดอก/ช่อ)
ฤดูร้อน 36.7 b 30.9 b 40.4 b 8.9 b
ฤดูฝน 43.2 a 26.3 c 37.2 c 11.4 a
ฤดูหนาว 37.6 b 33.3 a 43.2 a 8.3 b

** ค่าเฉลี่ยในคอลัมน์ที่ตามด้ วยตัวอักษรต่างกัน มีความแตกต่างกันทางสถิติเมื่อวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยโดย


วิธี Duncan’s new multiple-range test ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 %
7

การเจริญเติบโตทางช่ อดอกของกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์ขาว 5 เอ็น ในแต่ ละฤดูกาล

การเจริ ญเติบโตของช่อดอกที่เกิดจากลาหน้ าของต้ นกล้ วยไม้ ที่มีอายุ 2 ปี ขึ ้นไป เมื่อเริ่ มแทงช่อ


ดอกที่ ปลายยอด ความยาว 2.5 ซม.จนกระทั่งพร้ อมตัดช่อดอกของกล้ วยไม้ พันธุ์ขาว 5 เอ็น มีการ
เจริ ญเติบโตทัง้ 3 ช่วงฤดูกาลที่ศกึ ษาที่สามารถแบ่งได้ เป็ น 5 ระยะ เช่นเดียวกับพันธุ์บอมโจ คือระยะที่ 1
ช่อดอกยืดตัวอย่างรวดเร็ ว ยังมองเห็นดอกตูมยังไม่ชดั เจน ใช้ เวลาพัฒนา 13 ถึง 14 วัน ระยะที่ 2 ช่อ
ดอกยืดตัวเร็ ว เห็นดอกตูมชัดเจน มีจานวน 8 – 10 ดอกต่อช่อ ใช้ เวลาพัฒนา 7 วัน ระยะที่ 3 ช่อดอก
ยังคงยืดตัวแต่ในอัตราที่ช้าลง ดอกตูมมีขนาดใหญ่ขึ ้น มีจานวน 12 – 16 ดอกต่อช่อ ใช้ เวลาพัฒนา 7
วัน ระยะที่ 4 ช่อดอกยังคงยืดตัวแต่ช้ากว่าในระยะที่ 3 ดอกตูมมีขนาดใหญ่ขึ ้น จานวนดอกตูมไม่เพิ่มขึ ้น
เริ่ มมีการบานของดอกตูมดอกแรก ใช้ เวลาพัฒนา 4 – 7 วัน ระยะที่ 5 ช่อดอกมีความยาวคงที่ ดอกตูมมี
ขนาดใหญ่ขึ ้น ดอกบานมี 4 ดอกขึ ้นไป พร้ อมตัดดอกได้ มีจานวน 12 – 16 ดอกต่อช่อ ใช้ เวลาพัฒนา 2
ถึง 7 วัน ในฤดูฝนช่อดอกมีการพัฒนาที่ เร็ วกว่าและสามารถเก็บเกี่ ยวช่อดอกได้ เร็ วกว่าในฤดูอื่นๆ
เช่นเดียวกับพันธุ์บอมโจ (ภาพที่ 3)

ความยาวช่อดอกของกล้ วยไม้ สกุล หวายพันธุ์ขาว 5 เอ็น ในวันพร้ อมตัด ในฤดูฝนมีความยาว


เฉลี่ย 52.1 ซม. ซึง่ มีความยาวมากกว่าในฤดูร้อน ที่มีความยาวเฉลี่ย 48.6 ซม. และในฤดูหนาวที่มีความ
ยาวเฉลี่ย 41.1 ซม. (ตารางที่ 2) ระยะเวลาการพัฒนาช่อดอกจนกระทั่ง พร้ อมตัดดอก ในฤดูฝนใช้
ระยะเวลา 36.4 วัน ซึง่ ใช้ เวลาเร็ วกว่าในฤดูร้อน ที่ใช้ เวลา 39.7 วัน และในฤดูหนาว ที่ใช้ เวลา 41.1 วัน
โดยความยาวช่อดอก และ ระยะเวลาการพัตนาช่อดอกจนกระทัง่ ตัดดอก ในแต่ละฤดูมีความแตกต่างกัน
ทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง (ตารางที่ 2)

การเจริ ญเติบโตของช่อดอกกล้ วยไม้ พนั ธุ์ขาว 5 เอ็น จนถึงวันที่ดอกแรกเริ่ มบาน พบว่า ฤดูฝน
ใช้ เวลาเฉลี่ย 25.9 วัน ซึง่ เร็ วกว่าในฤดูร้อน ที่ใช้ เวลาเฉลี่ย 33 วัน และในฤดูหนาว ที่ใช้ เวลาเฉลี่ย 32.1
วัน ระยะเวลาที่ ใ ช้ ใ นการพัฒ นาการของช่ อดอกจนถึงระยะที่ ดอกแรกเริ่ มบานในแต่ล ะฤดูมีความ
แตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง (ตารางที่ 2)

จานวนดอกทังหมดของช่
้ อในแต่ละฤดู มีความแตกต่างทางสถิติกนั อย่างมีนยั สาคัญยิ่ง โดยใน
ฤดูฝน มีจานวนดอกเฉลี่ย 16.8 ดอกต่อช่อ ซึง่ มากกว่าในฤดูร้อน ที่มีจานวนดอกเฉลี่ย 15.3 ดอกต่อช่อ
และในฤดูหนาว ที่มีจานวนดอกเฉลี่ย 11.8 ดอกต่อช่อ (ตารางที่ 2)
8

เวลา (สัปดาห์)

ภาพที่ 3 การเจริ ญเติบโตของช่อดอกกล้ วยไม้ พนั ธุ์ขาว 5 เอ็นตังแต่


้ เริ่ มแทงช่อดอกมีความยาว 2.5 ซม.
จนถึงระยะพร้ อมตัดช่อดอก (มีดอกบานในช่อ 4 ดอก ขึ ้นไป) ในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว
พ.ศ. 2553

ตารางที่ 2 พัฒนาการทางช่อดอกกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์ขาว 5 เอ็น ในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว


พ.ศ.2553

ความยาวช่อดอก วันดอกแรกบาน วันพร้ อมตัดดอก จานวนดอก


ฤดู
(ซม.) (วัน) (วัน) (ดอก/ช่อ)
ฤดูร้อน 48.6 b 33.0 a 39.7 b 15.3 b

ฤดูฝน 52.1 a 25.9 c 36.4 c 16.8 a

ฤดูหนาว 41.1 c 32.1 b 42.4 a 11.8 c

ค่าเฉลี่ยในคอลัมน์ที่ตามด้ วยตัวอักษรต่างกันมีความแตกต่างกันทางสถิติ เมื่อวิเคราะห์คา่ เฉลี่ยโดยวิธี


Duncan’s new multiple-range test ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 %
9

การเจริญทางลาต้ นของกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์บอมโจ และขาว 5 เอ็น

จากผลการศึกษาพบว่า ความสูงของลาหน้ าของกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์บอมโจ ในฤดูฝ นมี


ความยาวเมื่อสุดลาเฉลี่ย 48.6 ซม. ซึง่ มีความยาวมากกว่าในฤดูร้อน ที่มีความยาวเฉลี่ย 45.7 ซม. และ
ในฤดูหนาว ที่มีความยาวเฉลี่ย 42.8 ซม. จานวนรากที่สมบูรณ์ ในฤดูฝน มีรากเฉลี่ย 6.5 รากต่อลา ซึง่ มี
มากกว่าในฤดูร้อน ที่มีรากเฉลี่ย 4.4 รากต่อลา และในฤดูหนาว ที่มีรากเฉลี่ย 4.8 ราก โดยความสูงของ
ลา และจานวนรากที่สมบูรณ์ในแต่ละฤดูมีความแตกต่างกันทางสถิติโดยมีนยั สาคัญยิ่ง (ตารางที่ 3) เส้ น
รอบวงของลาในฤดูฝนมีขนาด 5.01 ซม. ซึง่ มากกว่าในฤดูร้อน ที่มีขนาด 4.93 ซม. และในฤดูหนาว ที่มี
ขนาด 4.83 ซม. จานวนใบในฤดูฝน ฤดูร้อน และในฤดูหนาวมี ค่าเฉลี่ยใกล้ เคียงกันระหว่าง 6 – 7 ใบ
โดยเส้ นรอบวงของลาและจานวนใบในแต่ละฤดูไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (ตารางที่ 3)

ความสูงของลาหน้ าของกล้ วยไม้ พนั ธุ์ขาว 5 เอ็น ในฤดูฝ นมีความยาวเมื่อสุดลาเฉลี่ย 48.5 ซม.
ซึง่ มีความยาวมากกว่าในฤดูร้อน ที่มีความยาวเฉลี่ย 46.0 ซม. และในฤดูหนาว ที่มีความยาวเฉลี่ย 45.2
ซม. แต่ความสูงของลาหน้ าในแต่ละฤดูไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (ตารางที่ 4) จานวนรากที่สมบูรณ์
ในฤดู ฝน มีรากเฉลี่ย 7 รากต่อลา ซึง่ มีมากกว่าในฤดูร้อน ที่มีรากเฉลี่ย 5.7 รากต่อลา และในฤดูหนาว ที่
มีรากเฉลี่ย 4.9 รากต่อลา เส้ นรอบวงของลาในฤดูฝนมีขนาด 5.56 ซม. ซึง่ มากกว่าในฤดูร้อน ที่มีขนาด
4.66 ซม. และในฤดูหนาว ที่มขี นาด 4.75 ซม. โดยจานวนรากที่สมบูรณ์ และ เส้ นรอบวงของลาในแต่ละ
ฤดูมีความแตกต่างทางสถิติกนั อย่างมีนยั สาคัญยิ่ง (ตารางที่ 4) จานวนใบในฤดูฝน ฤดูร้อน และในฤดู
หนาวมี ค่าเฉลี่ย ใกล้ เคียงกันระหว่าง 10 – 11 ใบ ซึง่ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (ตารางที่ 4)

อุณหภูมิและความชืน้ สัมพัทธ์ ระหว่ างการทดลอง

ในฤดูฝน มีอณ ุ หภูมิเฉลี่ย 26C ซึง่ ต่ากว่าในฤดูร้อนที่มีอณ ุ หภูมิเฉลี่ย 29 C และในฤดูหนาวที่


มีอณุ หภูมิเฉลี่ย 27 C ในช่วงกลางวันของทุกฤดูมีอณ ุ หภูมิที่สงู กว่าในช่วงเช้ าและช่วงเย็น (ภาพที่ 4 6
และ 8) ความชื ้นสัมพัทธ์ ในแต่ละฤดู พบว่า ในฤดูฝนมีความชื ้นสัมพัทธ์ เฉลี่ย 86 % ซึง่ สูงกว่าในฤดูร้อน
ที่มีความชื ้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 75 % และในฤดูหนาว ที่มีความชื ้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 81 % (ภาพที่ 5 7 และ 9)
10

ตารางที่ 3 ขนาดของลาหน้ าเมื่อเริ่ มมีการออกดอก จานวนใบ และจานวนรากที่มีความสมบูรณ์มีปลาย


รากสีเขียว ของกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์บอมโจ ในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว พ.ศ. 2553

ความยาวลา เส้ นรอบวงลา จานวนใบ จานวนรากที่สมบูรณ์


ฤดู
(ซม.) (ซม.) (ใบ) (ราก/ลา)

ฤดูร้อน 45.7 b 4.9ns 6.6ns 4.4 c

ฤดูฝน 48.6 a 5.0 6.8 6.5 a

ฤดูหนาว 42.8 c 4.8 6.9 4.8 b

ns = ค่าเฉลี่ยในคอลัมน์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
ค่าเฉลี่ยในคอลัมน์ที่ตามด้ วยตัวอักษรต่างกันมีความแตกต่างกันทางสถิติ เมื่อวิเคราะห์คา่ เฉลี่ยโดยวิธี
Duncan’s new multiple-range test ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 %

ตารางที่ 4 ขนาดของลาหน้ าเมื่อเริ่ มมีการออกดอก จานวนใบ และจานวนรากที่มีความสมบูรณ์มีปลาย


รากสีเขียว ของกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์ขาว 5 เอ็น ในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว พ.ศ.2553

ความยาวลา เส้ นรอบวงลา จานวนใบ จานวนรากที่สมบูรณ์


ฤดู
(ซม.) (ซม.) (ใบ) (ราก/ลา)

ฤดูร้อน 46.0ns 4.7 b 10.1ns 5.7 b

ฤดูฝน 48.5 5.6 a 10.3 7.0 a

ฤดูหนาว 45.2 4.8 b 10.0 4.9 c

ns = ค่าเฉลี่ยในคอลัมน์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
ค่าเฉลี่ยในคอลัมน์ที่ตามด้ วยตัวอักษรต่างกันมีความแตกต่างกันทางสถิติ เมื่อวิเคราะห์คา่ เฉลี่ยโดยวิธี
Duncan’s new multiple-range test ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 %
11

ช่วงเวลาที่ทาการศึกษา (วัน/เดือน)

ภาพที่ 4 อุณหภูมิภายในโรงเรื อนปลูกกล้ วยไม้ ระหว่างการทดลองในช่วงฤดูร้อน ระหว่างเดือนเมษายน


ถึง เดือนพฤกษภาคม พ.ศ. 2553 บันทึกวันละ 3 เวลา คือ 8.00 น.12.00 น. และ 18.00 น.

ช่วงเวลาที่ทาการศึกษา (วัน/เดือน)

ภาพที่ 5 ความชื ้นสัมพัทธ์ภายในโรงเรื อนปลูกกล้ วยไม้ ระหว่างการทดลองในช่วงฤดูร้อน ระหว่างเดือน


เมษายน ถึง เดือนพฤกษภาคม พ.ศ. 2553 บันทึกวันละ 3 เวลา คือ 8.00 น.12.00 น. และ
18.00 น.
12

ช่วงที่ทาการศึกษา (วัน/เดือน)

ภาพที่ 6 อุณหภูมิภายในโรงเรื อนปลูกกล้ วยไม้ ระหว่างการทดลองในช่วงฤดูฝน ระหว่างเดือนกรกฎาคม


ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2553 บันทึกวันละ 3 เวลา คือ 8.00 น.12.00 น.และ 18.00 น.

ช่วงที่ทาการศึกษา (วัน/เดือน)

ภาพที่ 7 ความชื ้นสัมพัทธ์ภายในโรงเรื อนปลูกกล้ วยไม้ ระหว่างการทดลองในช่วงฤดูฝน ระหว่างเดือน


กรกฎาคม ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2553 บันทึกวันละ 3 เวลา คือ 8.00 น.12.00 น. และ
18.00 น.
13

ช่วงที่ทาการศึกษา (วัน/เดือน)

ภาพที่ 8 อุณหภูมิภายในโรงเรื อนปลูกกล้ วยไม้ ระหว่างการทดลองในช่วงฤดูหนาว ระหว่างเดือนตุลาคม


ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 บันทึกวันละ 3 เวลา คือ 8.00 น.12.00 น. และ 18.00 น.

ช่วงเวลาที่ทาการศึกษา (วัน/เดือน)

ภาพที่ 9 ความชื ้นสัมพัทธ์ภายในโรงเรื อนปลูกกล้ วยไม้ ระหว่างการทดลองในช่วงฤดูหนาว ระหว่างเดือน


ตุลาคม ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 บันทึกวันละ 3 เวลา คือ 8.00 น. 12.00 น. และ
18.00 น.
14

วิจารณ์

จากผลการศึกษาเห็นได้ ว่าช่อดอกของกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์บอมโจและพันธุ์ขาว 5 เอ็น มี


รู ปแบบการเจริ ญเติบโตที่เหมือนกัน แต่มีความยาวช่อดอกในระยะพร้ อมตัดดอกที่ต่างกัน โดยพันธุ์ขาว
5 เอ็นมีความยาวของช่อดอกมากกว่า และใช้ เวลาในการเจริ ญเติบโตเร็ วกว่าพันธุ์บอมโจประมาณ 2 วัน
ความยาวช่อดอกที่ แ ตกต่างกัน นี เ้ ป็ นผลจากพัน ธุ ก รรมที่ ต่างกัน ซึ่งความยาวช่ อดอกที่ บัน ทึก ได้ ใ น
การศึกษาครัง้ นี ้อยู่ในช่วงเดียวกับที่มีรายงานในกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์อื่นๆ (นวรัตน์ , 2553) จงวัฒนา
(2547) พบว่าช่อดอกกล้ วยไม้ สกุลหวายทัว่ ไปมีการเจริ ญจนตัดช่อดอกใช้ ระยะเวลา 45 - 60 วัน และ
Rotor (1952) รายงานว่าการพัฒนาช่อดอกกล้ วยไม้ สกุลหวายใช้ เวลาประมาณ 6 สัปดาห์ (42 วัน) ส่วน
ในการศึกษาครัง้ นี ้พบว่า ทังสองพั
้ นธุ์ใช้ ระยะเวลา 36 – 43 วัน ในการพัฒนาจนกระทัง่ ตัดช่อดอก แสดง
ให้ เห็นว่ากล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์บอมโจและพันธุ์ขาว 5 เอ็น มีการพัฒนาของช่อดอกค่อนข้ างเร็ ว ซึ่ง
เหมาะสาหรับการใช้ เป็ นตัดดอก ช่อดอกกล้ วยไม้ สกุลหวายทังสองพั ้ นธุ์มีการเติบโตอย่างรวดเร็ วในช่วง 3
สัปดาห์แรก (ระยะที่ 1 และ 2) คล้ ายคลึงกัน และเป็ นช่วงที่ดอกตูมมีการพัฒนาจนครบ คาดว่าเป็ นระยะ
ที่มีความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้ อมที่ได้ รับ สภาพแวดล้ อมที่ไม่เหมาะสมในช่วงนี ้
อาจทาให้ ช่อดอกพัฒนาไม่เต็มที่ ได้ ช่อดอกที่สนั ้ ดอกตูมพัฒนาไม่เต็มที่ ส่งผลให้ มีจานวนดอกต่อช่อ
น้ อยลงในระยะพร้ อมตัดดอกได้

การทดลองนีเ้ ปรี ยบเทียบช่อดอกที่เกิดจากลาหน้ า ดังนันในแต่


้ ละฤดู จึงต้ องเก็บข้ อมูล จากลา
ใหม่ในกอใหม่ ไม่สามารถติดตามข้ อมูลจากลาเดิมได้ ต่อเนื่ อง ความแตกต่างของขนาดช่อดอกหรื อ
พัฒนาการของช่อดอกที่ตา่ งกัน อาจเป็ นผลจากขนาดของลาหน้ าที่แตกต่างกันได้ จึงพยายามเลือกลา
หน้ าที่ มีลักษณะใกล้ เคียงกันมากที่ สุด มี ขนาดลา และจานวนรากสมบูรณ์ แตกต่างกันเล็กน้ อย ส่วน
จ านวนใบไม่ มี ค วามแตกต่ า งกัน ในทุ ก ฤดู (ตารางที่ 3 และ 4) ความแตกต่ า งนี น้ ่ า จะมาจาก
สภาพแวดล้ อมและการปฏิบตั ิดแู ลรักษามากกว่าตัวพืชเอง กล้ วยไม้ สกุลหวายที่เจริ ญเติบโตได้ ดีสงั เกต
ได้ จากการเจริ ญเติบโตของลาลูกกล้ วย (บรรณ, 2534) เพราะลาลูกกล้ วยเป็ นแหล่งสะสมน ้าและสะสม
อาหารที่สาคัญของกล้ วยไม้ สกุลนี ้ (Ng and Hew, 2000) ซึง่ ขนาดของลาลูกกล้ วยเมื่อเติบโตเต็มที่แล้ ว
จะแตกต่างกันไปในแต่ละพันธุ์ (Goh and Yang, 1978) ในประเทศไทยกล้ วยไม้ สกุลหวายมีการ
เจริ ญเติบโตแตกต่างกันในแต่ละฤดู โดยในฤดูร้อนซึ่งมีอณ ุ หภูมิสูงมักมีการเจริ ญเติบโตทางลาต้ นมาก
และในฤดูฝนมีการเจริ ญทางช่อดอกที่ ดีกว่า (ระพี , 2530) ในการศึกษาครั ง้ นีพ้ บว่าลาลูกกล้ วยของ
กล้ วยไม้ สกุลหวายทังสองพั
้ นธุ์ ในช่วงฤดูฝนมีขนาดใหญ่กว่า และมีจานวนรากสมบูรณ์ ต่อลามากกว่า
ในช่วงฤดูอื่นๆ ซึง่ น่าจะเป็ นส่วนหนึง่ ที่ทาให้ พฒ
ั นาการของช่อดอกในฤดูฝนดีกว่าในฤดูอื่นๆ ด้ วย
15

กล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์ที่ทาการศึกษาเป็ นกล้ วยไม้ พันธุ์เขตร้ อนซึง่ สามารถเจริ ญเติบโตได้ ดีที่
อุณหภูมิก ลางวัน สูงกว่า 21 C อุณหภูมิกลางคืนสูงกว่า 18 C และชอบสภาพแดดจัด (จงวัฒ นา,
2547) ในช่วงที่ทาการศึกษาครัง้ นี ้ระหว่างเดือนเมษายน ถึง เดือนพฤกษภาคม มีอณ ุ หภูมิเฉลี่ย 29 C
(ภาพที่ 4) ในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึงเดือน กันยายน มีอณ ุ หภูมิเฉลี่ย 26 C (ภาพที่ 6) และในช่วงเดือน
ตุลาคม ถึงเดือนธันวาคม มีอณ ุ หภูมิเฉลี่ย 27 C (ภาพที่ 8) ดังนันการเติ
้ บโตและพัฒนาการของช่อดอก
ที่ แ ตกต่างกัน ในแต่ละช่ วงฤดูอาจจะไม่ไ ด้ มีผ ลโดยตรงจากสภาพอุณ หภูมิที่ ต้นกล้ วยไม้ ไ ด้ รั บ สิ่ ง ที่
แตกต่างกันคือ ระดับความชื ้นสัมพัทธ์ ในบรรยากาศในแต่ละช่วงฤดู ซึง่ พบว่ าในฤดูฝนมีค่าสูงกว่าในฤดู
อื่นๆ และระดับความชื ้นสัมพัทธ์ในรอบวันไม่แตกต่างกันมากนัก ในสภาพที่บรรยากาศมีความชื ้นต่าอาจ
ทาให้ ปากใบหรี่ และการสังเคราะห์ แสงลดลงแม้ จะมีระดับอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการสังเคราะห์แสงก็
ตาม (ดวงพร, 2545) ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อการพัฒนาของช่ อดอกได้ Leonhardt (2000) ได้ รายงาน
เกี่ยวกับการเจริ ญเติบโตทางช่อดอกของกล้ วยไม้ สกุลหวายในฮาวายว่าสามารถให้ ผลผลิตได้ ดีที่อณ ุ หภูมิ
10 - 13 C แต่ผลผลิตในฤดูหนาวมีน้อยลงเมื่อเทียบกับฤดูกาลอื่น (Paull et al., 1995) เนื่องจากดอกมี
พัฒนาการช้ าเมื่ออุณหภูมิต่าลง (Roter, 1952) ดังนัน้ ในเขตกึ่งร้ อน ช่อดอกกล้ วยไม้ สกุลหวายจึง
เจริ ญเติบโตได้ ดีในช่วงฤดูใบไม้ ผลิและฤดูร้อน (Sakai et al., 1998) ในการศึกษาครัง้ นี ้ แม้ ช่วงฤดูหนาว
มีอณ ุ หภูมิเฉลี่ยไม่ต่ามาก แต่มีระดับความชื ้นสัมพัทธ์ ในบรรยากาศต่ากว่าในฤดูอื่นๆ ผลต่อการพัฒนา
ของช่อดอกที่พบเหมือนกันทังสองพั
้ นธุ์คือ ตัดดอกได้ ช้ากว่าในฤดูอื่นๆ และในพันธุ์ขาว 5 เอ็น ช่อดอกจะ
สันกว่
้ าและมีจานวนดอกต่อช่อน้ อยกว่า เมื่อเปรี ยบเทียบกับฤดูอื่นๆ

การทราบว่ากล้ วยไม้ สกุลหวายมีรูปแบบการพัฒนาของช่อดอกอย่างไร ช่วงใดมีการพัฒนา


อย่างรวดเร็ วและน่าจะอ่อนไหวต่อสภาพแวดล้ อม รวมถึงการพัฒนาของช่อดอกช้ าเร็ วในแต่ละฤดู จะ
เป็ นประโยชน์ ต่อชาวสวนในการปฏิบตั ิดแู ลรักษาอย่างเหมาะสม และสามารถประเมินปริ มาณผลผลิต
และช่วงเวลาที่ผลผลิตจะออกสูต่ ลาดได้
16

สรุ ป

1. ช่อดอกกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์บอมโจมีการเติบโตเป็ น 5 ระยะ มีรูปแบบการเติบโตในแต่ละ


ฤดูเหมือนกัน คือระยะที่ 1 ช่อดอกยืดตัวอย่างรวดเร็ ว ยังมองเห็นดอกตูมยังไม่ชดั เจน ระยะที่ 2 ช่อดอก
ยืดตัวเร็ ว เห็นดอกตูมชัดเจน ระยะที่ 3 ช่อดอกยังคงยืดตัวแต่ในอัตราที่ช้าลง ดอกตูมมีขนาดใหญ่ขึน้
ระยะที่ 4 ช่อดอกยังคงยืดตัวแต่ช้ากว่าในระยะที่ 3 ดอกตูมมีขนาดใหญ่ขึ ้น จานวนดอกตูมไม่เพิ่มขึน้
เริ่ มมีการบานของดอกตูมดอกแรก ระยะที่ 5 ช่อดอกมีความยาวคงที่ ดอกตูมมีขนาดใหญ่ขึ ้น ดอกบานมี
4 ดอกขึน้ ไป พร้ อมตัดดอกได้ โดยในฤดูฝนช่อดอกพัฒนาเร็ วกว่า ให้ ช่อดอกที่ยาวกว่า (ความยาวช่อ
43.2 ซม.) และสามารถเก็บเกี่ยวได้ เร็ วกว่า (ใช้ เวลา 36 วัน) ในฤดูร้อนและฤดูหนาว

2. ช่อดอกกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์ขาว 5 เอ็นมีการเติบโตเป็ น 5 ระยะ มีรูปแบบการเติบโตในแต่


ละฤดูเหมือนกัน เช่นเดียวกับพันธุ์บอมโจ โดยในฤดูฝนช่อดอกพัฒนาเร็ วกว่า ให้ ช่อดอกที่ยาวกว่า (ความ
ยาวช่อ 52 ซม.) และสามารถเก็บเกี่ยวได้ เร็ วกว่า (ใช้ เวลา 36 วัน) ในฤดูร้อนและฤดูหนาว
17

เอกสารอ้ างอิง

กรมส่งเสริ มการเกษตร. 2553. ข้ อมูลการเกษตร : ข้ อมูลเนื ้อที่เพาะปลูก : กล้ วยไม้ [Online]. Available
: http://production.doae.go. th/index_info.php?P_group=06&P_name=กล้ วยไม้
[26 ธันวาคม 2553].

จงวัฒนา พุ่มหิรัญ. พันธุ์กล้ วยไม้ , น.14 - 20. ใน เอกสารวิชาการกล้ วยไม้ , ลาดับที่ 15/2547. กรม
วิชาการเกษตร. โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, กรุ งเทพฯ

จิตราพรรณ พิลกึ . 2529. การผลิตกล้ วยไม้ เพื่อการส่งออก. พิมพ์ครัง้ ที่1. กรมการส่งเสริ มการเกษตร,
กรุ งเทพฯ.

___________. 2546. การปลูกเลี ้ยงกล้ วยไม้ , น. 445 - 465. ใน จริ งแท้ ศิริพานิช (ผู้รวบรวม).
หลักการพืชสวน. พิมพ์ครัง้ ที่ 3, ภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .

ดวงพร บุญชัย. 2545. ศึกษาอัตราการสังเคราะห์แสงสุทธิของใบกล้ วยไม้ สกุลหวายตัดดอก. ปั ญหา


พิเศษ ปริ ญญาตรี . มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุ งเทพฯ 42 น.

นวรัตน์ ศีลสังวรณ์. 2553. การเจริ ญเติบโตของกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์แดงพิริยาและเอียสกุล. ปั ญหา


พิเศษปริ ญญาตรี . มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุ งเทพฯ 17 น.

บรรณ บูรณะชนบท. 2534. กล้ วยไม้ สกุลหวาย. ฐานเกษตรกรรม. 95 น.

ไพบูลย์ ไพรี พ่ายฤทธิ์. 2521. ตารากล้ วยไม้ สาหรับผู้เริ่ มเล่น. อาทรการพิมพ์, กรุ งเทพฯ 432 น.

มาลินี อนุพนั ธุ์สกุล. 2530. การปลูกกล้ วยไม้ . เรื องแสงการพิมพ์ , กรุ งเทพฯ 72 น.

ระพี สาคริ ก. 2530. กล้ วยไม้ . บริ ษัท ประชาชน จากัด, กรุ งเทพฯ 140 น.

__________. 2546. การปลูกกล้ วยไม้ เป็ นการค้ าและการพัฒนาบนพื ้นฐานความมัน่ คง.


มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุ งเทพฯ
18

__________. 2548. กล้ วยไม้ สาหรับผู้เริ่ มต้ น. พิมพ์ครัง้ ที่ 2, บริ ษัท วศิระ จากัด, กรุ งเทพฯ 222 น.

วันชัย เล็กประสงค์. 2540. การปลูกเลี ้ยงกล้ วยไม้ สกุลหวาย, น 111 - 118. ใน สมศักดิ์ รักไพบูลย์
สมบัติ (ผู้รวบรวม). การปลูกเลี ้ยงกล้ วยไม้ จากประสบการณ์. บริ ษัทธรรมสารจากัด. กรุ งเทพฯ.

สุเทพ รักจิตร. 2544. การวิเคราะห์ปัจจัยที่มผี ลกระทบต่ออุปทานและอุปสงค์การส่งออกกล้ วยไม้ ตดั


ดอกของประเทศญี่ปน. ุ่ วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุ งเทพฯ

สานักงานเกษตรอาเภอพุทธมณฑล. มปป. นานาชนิดของกล้ วยไม้ [Online]. Available :


http://nakhonpathom.doae.go.th/phutthamonthon/Index3.htm [30 มีนาคม 2553]

สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2553. ฐานความรู้ ด้านพืช กรมวิชาการเกษตร. [ออนไลน์]. เข้ าถึงได้


จาก: http://www.doa.go.th/pl_data/ORCHID/1stat/st02.html. [24 ธันวาคม 2553]

สมศักดิ์ รักไพบูลย์สมบัติ. 2540. การปลูกเลี ้ยงกล้ วยไม้ จากประสบการณ์. บริ ษัทธรรมสารจากัด.


กรุ งเทพฯ

Goh, C.J. and A.L.Yang. 1978. Effects of growth regulators and decapitation on flowering of
Dendrobium orchid hybrids. Plant Science Letter 12 : 287-292.

Leonhardt, K.W. 2000. Potted, blooming Dendrobium orchids. HortTechnology 10 : 431.

Ng, C.K.Y., and C.S. Hew. 2000. Orchids pseudobulbs – ‘false’ bulbs with a genuine
importance in orchid growth and survival. Scientia Hort. 83 : 165-172.

Paull, R.E., K.W. Leonhardt, T. Higaki and J. lmamura. 1995. Seasonal flowering of
Dendrobium ‘Jaquelyn Thomas’ in Hawaii. Scientia Hort. 61 : 263-272.
19

Rotor, G.B. 1952. Day length and temperature in relation to growth and flowering of orchids.
Cornell University. Agriculture Experiment Station Bulletin. 885 : 3-47.

Sakai, W.S., J.C. Suttle, J. Clarke and R. Kaipo. 1998. Inducing Dendrobium orchid
inflorescence growth by injection of a solution of benzyladenine. Hawiian Pacific
Agriculture. 9 : 33-36.
11

40
35
30
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)
25
20
15
8.00 น.
10
12.00 น.
5
18.00 น.
0
10-เม.ย. 17-เม.ย. 24-เม.ย. 1-พ.ค. 8-พ.ค. 15-พ.ค. 22-พ.ค.
ช่วงเวลาที่ทาการศึกษา (วัน/เดือน)

ภาพที่ 4 อุณหภูมิภายในโรงเรื อนปลูกกล้ วยไม้ ระหว่างการทดลองในช่วงฤดูร้อน ระหว่างเดือนเมษายน


ถึง เดือนพฤกษภาคม พ.ศ. 2553 บันทึกวันละ 3 เวลา คือ 8.00 น.12.00 น. และ 18.00 น.

100

80
ความชื ้นสัมพัทธ์ (%)

60

40
8.00 น.
20 12.00 น.
18.00 น.
0
10-เม.ย. 17-เม.ย. 24-เม.ย. 1-พ.ค. 8-พ.ค. 15-พ.ค. 22-พ.ค.

ช่วงเวลาที่ทาการศึกษา (วัน/เดือน)

ภาพที่ 5 ความชื ้นสัมพัทธ์ภายในโรงเรื อนปลูกกล้ วยไม้ ระหว่างการทดลองในช่วงฤดูร้อน ระหว่างเดือน


เมษายน ถึง เดือนพฤกษภาคม พ.ศ. 2553 บันทึกวันละ 3 เวลา คือ 8.00 น.12.00 น. และ
18.00 น.
12

40
35
30
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) 25
20
15
8.00 น.
10
12.00 น.
5
18.00 น.
0
30-ก.ค. 6-ส.ค. 13-ส.ค. 20-ส.ค. 27-ส.ค. 3-ก.ย. 10-ก.ย.

ช่วงที่ทาการศึกษา (วัน/เดือน)

ภาพที่ 6 อุณหภูมิภายในโรงเรื อนปลูกกล้ วยไม้ ระหว่างการทดลองในช่วงฤดูฝน ระหว่างเดือนกรกฎาคม


ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2553 บันทึกวันละ 3 เวลา คือ 8.00 น.12.00 น.และ 18.00 น.

100

80
ความชื ้นสัมพัทธ์ (%)

60

40
8.00 น.
20 12.00 น.
18.00 น.
0
30-ก.ค. 6-ส.ค. 13-ส.ค. 20-ส.ค. 27-ส.ค. 3-ก.ย. 10-ก.ย.

ช่วงเวลาที่ทาการศึกษา (วัน/เดือน)

ภาพที่ 7 ความชื ้นสัมพัทธ์ภายในโรงเรื อนปลูกกล้ วยไม้ ระหว่างการทดลองในช่วงฤดูฝน ระหว่างเดือน


กรกฎาคม ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2553 บันทึกวันละ 3 เวลา คือ 8.00 น.12.00 น. และ
18.00 น.
13

40
35
30
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) 25
20
15
8.00 น.
10
12.00 น.
5 18.00 น.
0
30-ต.ค. 6-พ.ย. 13-พ.ย. 20-พ.ย. 27-พ.ย. 4-ธ.ค. 11-ธ.ค.

ช่วงที่ทาการศึกษา (วัน/เดือน)

ภาพที่ 8 อุณหภูมิภายในโรงเรื อนปลูกกล้ วยไม้ ระหว่างการทดลองในช่วงฤดูหนาว ระหว่างเดือนตุลาคม


ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 บันทึกวันละ 3 เวลา คือ 8.00 น.12.00 น. และ 18.00 น.

100

80
ความชื ้นสัมพัทธ์ (%)

60

40
8.00 น.
20 12.00 น.
18.00 น.
0
30-ต.ค. 6-พ.ย. 13-พ.ย. 20-พ.ย. 27-พ.ย. 4-ธ.ค. 11-ธ.ค.

ช่วงเวลาที่ทาการศึกษา (วัน/เดือน)

ภาพที่ 9 ความชื ้นสัมพัทธ์ภายในโรงเรื อนปลูกกล้ วยไม้ ระหว่างการทดลองในช่วงฤดูหนาว ระหว่างเดือน


ตุลาคม ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 บันทึกวันละ 3 เวลา คือ 8.00 น. 12.00 น. และ
18.00 น.
6

50

40

ความยาวช่อ (ซม.) 30

20
รุ่ นที่ 1 ฤดูร้อน
10 รุ่ นที่ 2 ฤดูฝน
รุ่ นที่ 3 ฤดูหนาว
0
0 1 2 3 4 5 6 7
เวลา (สัปดาห์)

ภาพที่ 2 การเจริ ญเติบโตของช่อดอกกล้ วยไม้ พนั ธุ์บอมโจตังแต่


้ เริ่ มแทงช่อดอกมีความยาว 2.5 ซม.
จนถึงระยะพร้ อมตัดช่อดอก (มีดอกบานในช่อ 4 ดอกขึ ้นไป) ในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว
พ.ศ. 2553

ตารางที่ 1 พัฒนาการทางช่อดอกกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์บอมโจ ในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว พ.ศ.


2553

ฤดู ความยาวช่อดอก วันดอกแรกบาน วันพร้ อมตัดดอก จานวนดอก


(ซม.) (วัน) (วัน) ทังหมดของช่
้ อ
(ดอก)
ฤดูร้อน 36.7 b 30.9 b 40.4 b 8.9 b
ฤดูฝน 43.2 a 26.3 c 37.2 c 11.4 a
ฤดูหนาว 37.6 b 33.3 a 43.2 a 8.3 b

** ค่าเฉลี่ยแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง เมื่อวิเคราะห์คา่ เฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s new


multiple-range test ที่ระดับความเชื่อมัน่ 99 %
8

60

50

40

30
ความยาวช่อ (ซม.)

รุ่ นที่ 1 ฤดูร้อน


20
รุ่ นที่ 2 ฤดูฝน
10
รุ่ นที่ 3 ฤดูหนาว
0
0 1 2 3 4 5 6 7
เวลา (สัปดาห์)

ภาพที่ 3 การเจริ ญเติบโตของช่อดอกกล้ วยไม้ พนั ธุ์ขาว 5 เอ็นตังแต่


้ เริ่ มแทงช่อดอกมีความยาว 2.5 ซม.
จนถึง ระยะพร้ อมตัดช่อดอก (มีดอกบานในช่อ 4 ดอก ขึ ้นไป) ในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว
พ.ศ. 2553

ตารางที่ 2 พัฒนาการทางช่อดอกกล้ วยไม้ สกุลหวายพันธุ์ขาว 5 เอ็น ในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว

พ.ศ.2553

ฤดู ความยาวช่อดอก วันดอกแรกบาน วันพร้ อมตัดดอก จานวนดอกทังหมด



(ซม.) (วัน) (วัน) ของช่อ (ดอก)
ฤดูร้อน 48.6 b 33 a 39.7 b 15.3 b

ฤดูฝน 52.1 a 25.9 c 36.4 c 16.8 a

ฤดูหนาว 41.1 c 32.1 b 42.4 a 11.8 c

** ค่าเฉลี่ยแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง เมื่อวิเคราะห์คา่ เฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s new


multiple-range test ที่ระดับความเชื่อมัน่ 99%

You might also like