You are on page 1of 5

แนวทางการเขียนวิธีปฏิบัติที่เป็ นเลิศ (Best Practice)

ชื่อผลงาน......................................................................................
โรงเรียน.....................................................
สังกัด..........................................................
1. ความสำคัญของผลงาน
1.1 ความสำคัญสภาพปั ญหา
1.2 แนวทางการแก้ปัญหาและพัฒนา
2. จุดประสงค์และเป้ าหมาย
3. กระบวนการผลิตผลงานหรือขัน
้ ตอนการดำเนินงาน
3.1 การออกแบบผลงาน/นวัตกรรม ใช้ Flow Chart
3.2 การดำเนินงานตามกิจกรรม (ตามวงจร ADLI)
1) การวางแนวปฏิบัติ (Approach)
2) การดำเนินการ (Deployment)
3) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Learning)
4) การบูรณาการ (Integration)
3.3 ประสิทธิภาพของการดำเนินงาน
3.4 การใช้ทรัพยากร
4. ผลการดำเนินการ/ผลสัมฤทธิ/์ ประโยชน์ที่ได้รับ
4.1 ผลที่เกิดตามจุดประสงค์
4.2 ผลสัมฤทธิข์ องงาน
4.3 ประโยชน์ที่ได้รับ
5. ปั จจัยความสำเร็จ
6. บทเรียนที่ได้รับ ปรับคุณภาพมุ่งพัฒนาต่อไป
6.1 บทเรียนที่ได้รับ
6.2 ปรับคุณภาพมุ่งพัฒนาต่อไป
6.3 ข้อควรพึงระวัง
7. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ
7.1 การเผยแพร่
7.2 การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ
ภาคผนวก
ภาพจัดกิจกรรม
การจัดการความรู้ (KM) ในการนำมาเขียนบทเรียนที่ได้รับ
อ้างอิง/บรรณานุกรม
แนวทางการดำเนินงานตามกิจกรรม (ตามวงจร ADLI)
1) การวางแนวปฏิบัติ (Approach)
กระบวนการ วัตถุประสง ตัววัด/ตัวชี ้ เป้ า
...................................................... ค์ วัด หมาย
...............

วัดวิเคราะห์และจัดการ

ผ่านหรือไม่
ปรับปรุง/แก้ไข
2) การดำเนินการ (Deployment) เล่าแต่ละขัน
้ ตอนของ
Approach ว่าทำอะไรบ้าง
3) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Learning) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ค้นหาข้อบกพร่องเพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไข และค้นหาวิธีปฏิบัติที่เป็ นเลิศ
ได้นวัตกรรมอะไรบ้างจากการกระบวนการปฏิบัติงาน
4) การบูรณาการ (Integration) ถอดบทเรียนจากการแลกเปลี่ยน
รู้ หรือ PLC โดยใช้ KM
 

ในกระบวนการการจัดการความรู้ในแต่ละองค์กร ควรประกอบ
ด้วยบุคคลดังต่อไปนี ้
            1. "คุณเอื้อ" คือผู้ททำ
ี่ ให้เกิดผลงาน KM มีหน้าที่คัดเลือกหาทีม
งานจากหลายสังกัดมาเป็ นแกนนำ สนับสนุน ส่งเสริมให้เกิดเวทีแลก
เปลี่ยนความรู้ที่เกิดจากความสำเร็จหลากหลายรูปแบบ  

            2. "คุณอำนวย" ทำหน้าที่อำนวยความสะดวกในการจัดการ


ความรู้ ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และอำนวยความสะดวกต่อ
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้  ทัง้ ในเชิงกิจกรรม เชิงระบบ และเชิงวัฒนธรรม  

            3. "คุณกิจ" ผู้ดำเนินกิจกรรมจัดการความรู้ร้อยละ 90-95 อาจ


สรุปได้ว่าคุณกิจคือผู้จัดการความรู้ตัวจริง เป็ นผู้มีความรู้ (Explicit
Knowledge) และเป็ นผู้ต้องมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ใช้ หา สร้าง แปลง
ความรู้เพื่อการปฏิบัติให้บรรลุถึง “เป้ าหมาย/หัวปลา” ที่ตงั ้ ไว้ 

            4. "คุณลิขิต" ทำหน้าที่จดบันทึก ในกิจกรรมการจัดการความรู้


อาจทำหน้าที่เป็ นการเฉพาะกิจ หรือทำหน้าที่เป็ นระยะยาว กึ่งถาวรใน
กิจกรรมจัดการความรู้ของกลุ่ม หรือ หน่วยงาน หรือองค์กร สิ่งที่ “คุณ
ลิขิต” จดบันทึกได้แก่ เรื่องเล่าจากกิจกรรม ขุมความรู้จากกิจกรรมแลก
เปลี่ยนเรียนรู้ บันทึกการประชุมและบันทึกอื่นๆ  

            5. "คุณวิศาสตร์" คือ นัก IT ที่เข้ามาช่วยเป็ นทีมงาน KM คำว่า


"วิศาสตร์" มาจากคำว่า "IT wizard" หรือพ่อมดไอที จะเข้ามาช่วยคิด
เรื่องการวางระบบ IT ที่เหมาะกับการดำเนินการ KM

            6. "คุณประสาน" ในการทำ KM แบบเครือข่าย มีการแลก


เปลี่ยนเรียนรู้ข้ามองค์กร "คุณประสาน" จะทำหน้าที่ประสานงานให้มีการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันกันภายในเครือข่าย ทำให้เกิดการเรียนรู้ฝังลึก
เกิดการหมุนเกลียวความรู้ได้อย่างมีพลังมาก เรียกว่า "การหมุนเกลียว
ความรู้ผ่านเขตแดน"

You might also like