You are on page 1of 31

จรรยาบรรณ

ในการประกอบวิชาชีพ

ที่ปรึกษาคณะทํางาน นายสมศักดิ์ เลิศบรรณพงษ


นายบุญชู ปโกฏิประภา

ประธานคณะทํางาน นายเกชา ธีระโกเมน

คณะทํางาน นายอนุชิต เจริญศุภกุล


นายตุลย มณีวัฒนา
นางศันสนีย สุภาภา
1. คํานํา
คนส ว นใหญ มั ก จะมองข า มความสํ า คั ญ ของจรรยาบรรณ หรื อ ไม เข า ใจว า
จรรยาบรรณคืออะไร โดยมองเรื่องของจรรยาบรรณเปนนามธรรม รูแตวาเปนคุณสมบัติ
ของผูประกอบวิชาชีพ เชน หมอ ทนายความ บัญชี และวิศวกรที่พึงมี เปนเรื่องของจริย
ธรรมและจิตสํานึกในการประกอบวิชาชีพที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของความถูกตอง
อันที่จริง จรรยาบรรณเปนสิ่งที่จับตองได และเปนรูปธรรม รวมทั้งเปนปจจัย
พื้นฐานสูความสําเร็จในการประกอบวิชาชีพ
คุณสมบัติของคนๆหนึ่งประกอบดวยสวนที่เปนพื้นฐานของคนๆนั้นซึ่งเปนสวนที่
เปนตัวตน กับการกระทําซึ่งเปนสวนที่แสดงออกมา
คนมักจะมองสวนที่แสดงออกมาเนื่องจากเปนสวนที่มองเห็นไดงาย แตความจริง
สวนนี้เปนสวนที่แปรเปลี่ยนอยูตลอดเวลาและไมแนนอน สวนที่เปนตัวตนที่แทจริงคือสวน
ภายในที่เปนพื้นฐาน เปรียบเสมือนโครงสรางและฐานราก การที่จะเปนวิศวกรที่ดีที่มีอนาคต
ก็ตองเริ่มที่การมีพื้นฐานที่ดี ซึ่งการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาไดใหพื้นฐานในสวนของวิชา
การวิศวกรรมมาแลว เมื่อออกมาประกอบวิชาชีพจึงตองมีการเสริมความแข็งแรงดวยพื้นฐาน
ในการปฏิบัติวิชาชีพในแนวทางที่ถูกตอง ซึ่งมีจรรยาบรรณเปนปจจัยสําคัญที่สุด
สังเกตไดวา วิศวกรที่มีความกาวหนาและประสบความสําเร็จในอาชีพทุกคนจะมี
คุณสมบัติทางดานจรรยาบรรณที่ดีเปนพื้นฐานดวยกันทุกคน

2. ขาคือวิศวกร
คําวา “วิศวกร” มิไดนิยามดวยปริญญาบัตร แตนิยามดวยคุณสมบัติและวิญญาณ
ของความเปนวิศวกร ดังนั้น การที่จะเปนวิศวกรที่ดีมิไดอยูที่เกียรตินิยม หากแตอยูที่ความ
มุงมั่นที่จะเปนวิศวกรที่ดี
“ขาคือวิศวกร” เปนคําปฏิญาณของวิศวกรทุกคน ที่ไดปฏิญาณไวแลวดังนี้

“ข า ฯ มี ค วามภู มิ ใ จอย า งยิ่ ง กั บ อาชี พ ของข า ฯ แต ทั้ ง นี้ มิ ใ ช เพราะความ
อหังการ ขาฯ มีพันธกรณีที่จะตองปฏิบัติตามโดยดุษณี ซึ่งขาฯ เองก็กระหายใครจะปฏิบัติอยู
แลว
ในฐานะที่เปนวิศวกร ขาฯ จะเขาไปมีสวนเกี่ยวของเฉพาะในงานที่สุจริตเทา
นั้น ผูใดก็ตามที่มารับบริการจากขาฯ ไมวาจะเปนผูจาง หรือลูกคาของขาฯก็ตาม เขายอมได
รับบริการที่ดีที่สุด ดวยความซื่อตรงเที่ยงธรรมอยางที่สุด
เมื่อถึงคราวที่จําเปน ขาฯ จะทุมเทความรูและทักษะของขาฯใหกับกิจการที่เปน
ประโยชนแกสาธารณะอยางเต็มกําลัง เพราะใครคนใดมีความสามารถพิเศษดานใด เขาคนนั้น
ยอมมีพันธกรณีที่จะตองใชความสามารถดานนั้นอยางดี เพื่อประโยชนแกมวลมนุษย ขาฯ ขอ
รับความทาทายตามนัยนี้

2
ดวยความมุ งมั่ น ที่ จะธํารงไวซึ่ งเกีย รติ ภู มิ แห งงานอาชี พ ของข าฯ ขาฯ จะ
พยายามปกปองผลประโยชนและชื่อเสียงของวิศวกรทุกคนที่ขาฯรูดีวาสมควรจะไดรับความ
ปกปองคุมครอง พรอมกันนี้ขาฯ ก็จะไมหลบเลี่ยงภาระหนาที่ที่จะตองเปดเผยความจริงเกี่ยว
กับบุคคลใดก็ตามที่ไดกระทําผิดทํานองคลองธรรม ซึ่งก็เปนการแสดงใหเห็นวาเขาไมมีศักดิ์
ศรีพอที่จะอยูในวงงานอาชีพวิศวกรรมได
ความเจริญกาวหนาของมนุษยไดเริ่มมีมาตั้งแตสมัยดึกดําบรรพก็เพราะอัจฉริยะ
ภาพของบรรพชนในวงงานอาชีพของขาฯ ทานเหลานั้นไดนําทรัพยากรวัสดุและพลังงานมาก
มายในธรรมชาติ ออกมาใชใหเกิดประโยชนแกเพื่อนมนุษยดวยกัน หลักการทางวิทยาศาสตร
และความรูทางเทคโนโลยีที่ไดมีการพัฒนา และนํามาปฏิบัติตราบเทาทุกวันนี้ ก็ลวนแตเปนผล
งานของบรรพชนทั้งหลายเหลานั้น ถาปราศจากมรดกตกทอดที่เปนประสบการณสั่งสมเหลานี้
ผลงานจากความเพียรพยายามของขาฯ ก็คงจะต่ําตอยดอยคุณคาลงไปมาก ขาฯ จึงขออุทิศตน
เพื่อการเผยแพรความรูทางวิศวกรรมโดยเฉพาะอยางยิ่งในการแนะนําสั่งสอน ใหสมาชิกรุน
หลังๆ ในวงงานอาชีพของขาฯ ไดเรียนรูถึงศิลปะและขนบธรรมเนียมประเพณีทุกอยางในงาน
อาชีพนี้
ขาฯ ขอใหคํามั่นสัญญาตอเพื่อนรวมอาชีพของขาฯ อยางแข็งขัน เชนเดียวกับที่
ขาฯ เรียกรองจากพวกเขาวา ขาฯ จะดํารงไวซึ่งความซื่อสัตยสุจริต และยุติธรรม ความอดทน
และความเคารพตอผูอื่นอีกทั้งการอุทิศตนเพื่อมาตรฐานและศักดิ์ศรีแหงอาชีพวิศวกรรมของ
เรา ทั้งนี้ดวยการระลึกอยูเสมอวาความเชี่ยวชาญพิเศษของพวกเราที่เปนวิศวกรนั้น มีมา
พรอมกับพันธกรณีที่จะตองรับใชมนุษยชาติ ดวยความจริงใจถึงที่สุด”
คําปฏิ ญ าณนี้สื่อความหมายถึงความมุงมั่น ความรักในอาชีพ และศักดิ์ศรีข อง
วิศวกร หนาที่และความรับผิดชอบของวิศวกรตอการพัฒนาวิศวกรรม ตอสังคมและประเทศ
ชาติโดยรวม
วิศวกรที่ จะประสบความสําเร็จในวิช าชี พ วิศ วกรรม จะต องมี ค วามภูมิ ใจใน
ความเปนวิศวกร มีความมุงมั่นและรักในอาชีพอยางแรงกลา เพราะจะเปนแรงผลักดันให
วิศวกรคนนั้น ขวนขวายเพื่อพัฒนาตนเองใหเปนวิศวกรที่ดี วิศวกรทุกคนจะตองตอบตนเอง
ใหไดวาเปาหมายในชีวิตของตนเองคืออะไร เพราะเมื่อไรที่ยังลังเลหรือไมแนใจวาจะยึดอาชีพ
นี้หรือไม ก็จะไมมีทางที่จะเปนวิศวกรที่ประสบความสําเร็จได

3. ศีลของวิศวกร
จรรยาบรรณคือ “ศีลของวิศวกร”
จรรยาบรรณคือ “กติกา” รวมกันของสังคมวิศวกรรม ที่กําหนดขึ้นเพื่อใชเปนแนว
ทางปฏิบัติรวมกัน ซึ่งอยูบนหลักการของจริยธรรมและความถูกตอง

3
หากนําไปเทียบกับหลักทางพุทธศาสนา จะพบวาหลักการแหงจริยธรรมและความ
ถูกตองนั้นสอดคลองกันเปนอยางยิ่ง แมกระทั่งวิชาการทางดานวิศวกรรมเองก็อยูบนหลักการ
ของเหตุและผลเฉกเชนกัน
หลักของ “กฎแหงกรรม” ก็เหมือนกับหลักกิริยาเทากับปฏิกิริยา ซึ่งเปนทฤษฎี
หลักทางดานวิศวกรรม และนําไปสูขอสรุปที่วา “บุญ กรรมนั้นมีจริง” ซึ่งเปนขอสรุปที่ไม
ตองการพิสูจนอีกแลว ดังนั้น การสรางสรรคผลงานที่ดีจะนํามาสูชื่อเสียง และความสําเร็จใน
อาชีพ การนําเสนองาน และเลื่อนระดับวิศวกร การสมัครงาน ตองอาศัยผลงาน ผลงานก็คือ
กรรมที่ทําไว หากทํากรรมดีก็ยอมไดรับผลที่ดีตามมา ตัวอยางพอจะเห็นและจับตองได การ
สอนงาน การเขียนหนังสือเพื่อถายทอดวิทยาการ ก็เปนการทําบุญ ถึงแมวาจะจับตองไดยาก
แตเชื่อเถิดวาจะสงผลใหนําไปสูความเจริญทั้งสิ้น

4. คุณคาของวิศวกร
“คุณคาของวิศวกรอยูที่ไหน”
คําตอบก็คือ “การยอมรับทางสังคม”
ความจริงวิศวกรมีเงินเดือนสูงกวาหลายอาชีพอยูแลว หากสามารถสรางการยอม
รับและความเชื่อมั่นวาวิศวกรมีความสามารถ มีฝมือไมแพวิศวกรในระดับ นานาชาติ เชน
วิศวกรไทยที่มีความสามารถไปทํางานในตางประเทศก็สามารถสรางรายไดที่สูงได
การที่คาตัววิศวกรฝรั่งสูงกวาวิศวกรไทย ก็เพราะความเชื่อที่วาวิศวกรฝรั่งเกง มี
มาตรฐานการทํางานที่ดี เปนมืออาชีพกวาวิศวกรไทย ความเชื่อนี้ถึงจะไมเปนจริงเสียทีเดียว
แตโดยภาพรวมก็ตองยอมรับวาวิศวกรไทยสวนใหญยังไมใชวิศวกรระดับวิศวกรขามชาติ ยัง
ไมเปนมืออาชีพ ไม ใชนักวางแผนที่ ดี วิศวกรไทยจํานวนมากยังออนเรื่องการทํ างานเป น
ระบบ การใชมาตรฐาน การใชภาษา การนําเสนอ การจัดทํารายงาน แมกระทั่งการทําบันทึก
งาน
ประสบการณจากการสอบสัมภาษณวิศวกรที่ขอเลื่อนระดับจากภาคีเปนสามัญ
วิศวกร พบวา ยังมีปญหาในการเขียนรายงานประวัติผลงาน การพัฒนาประสบการณ ทักษะ
ทางดานชาง และสวนใหญยังไมเขาใจการใชมาตรฐาน บางคนไมรูจักมาตรฐานของวิศวกรรม
สถานแหงประเทศไทย ไมรูจักมาตรฐานสากล ไมเคยเปนสมาชิกสมาคมวิชาชีพ
การเปนสมาชิกสมาคมวิชาชีพคือการขึ้นทะเบียนเปนวิศวกรมืออาชีพ โดยการ
เปนสมาชิกสมาคมวิชาชีพในสายอาชีพที่ตรงกับอาชีพที่ปฏิบัติ เพื่อใชสมาคมวิชาชีพเปน
ศูนยกลางของการสมานความรวมมือของผูประกอบอาชีพในสายอาชีพ และพัฒนายกระดับ
มาตรฐานวิชาชีพใหสูงขึ้น การเปนสมาชิกสมาคมวิชาชีพไมใชเปนโดยมีจุดประสงคเพื่อ
ตองการผลประโยชนตอบแทนตางๆ และสวนลดจากสมาคม แตทุกคนมีหนาที่เปนสมาชิก
ที่มีหนาที่ในการชวยกันพัฒนาสมาคมใหเขมแข็ง เพื่อใชเปนองคกรในการพัฒนาวิชาชีพ
และรักษาประโยชนอันพึงมีของอาชีพวิศวกรไทย

4
การทดสอบวิศวกรเพื่อเลื่อนระดับจากภาคีเปนสามัญวิศวกร จะเนนการทดสอบ
ทักษะและประสบการณ ไมเนนการคํานวณทางทฤษฎี เพราะสามัญวิศวกรแตกตางจากภาคี
วิศวกรที่ทักษะและประสบการณ ความรูที่เกี่ยวกับการปฏิบัติและมาตรฐาน เพื่อใหสามารถ
เปนผูทําหนาที่ดูแลและควบคุมการปฏิบัติงานของภาคีวิศวกร สวนวุฒิวิศวกรจะตองมีวุฒิ
ภาวะในการใหการปรึกษาละการแนะนําในการแกปญหาในแนวทางที่ถูกตอง เปนธรรม และ
อยูบนหลักการของจรรยาบรรณ
ดังนั้น คุณคาของวิศวกรอยูที่การยอมรับทางสังคม อยูที่ความสามารถใน
การสรางการยอมรับ และระดับของการยอมรับ

5. ขอบังคับสภาวิศวกร
ตนแบบของขอกําหนดจรรยา
บรรณนาจะมาจาก พระเจริญวิศวกรรม
ดังนี้

จะเห็นไดวา สิ่งที่พระเจริญ
วิศวกรรมไดเขียนไวครอบคลุมคุณ
สมบัติอันพึงมีของวิศวกรทีด่ ีไวอยาง
ครบถวน

ข อ บั ง คั บ สภาวิ ศ วกร ว า
ดวยจรรยาบรรณแหงวิชาชีพวิศวกรรม
และการประพฤติผิดจรรยาบรรณอันจะนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ พ.ศ.
๒๕๔๓ ไดกําหนดจรรยาบรรณแหงวิชาชีพของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ดังตอไป
นี้

1. ไมกระทําการใดๆ อันอาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ
บทบัญ ญั ติในขอนี้เปนกฎเกณฑที่มีลักษณะกวางเพื่อใหครอบคลุมพฤติกรรม
หรือลักษณะการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของวิศวกรผูไดรับใบอนุญาตใหตั้งอยูบน
พื้นฐานของความซื่อสัตยสุจริต ยึดมั่นอยูในหลักศีลธรรมอันดี มีความภาคภูมิใจในเกียรติศักดิ์
แหงวิชาชีพของตนเอง

5
2. ตองปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ
บทบัญญั ติในขอนี้มีวัตถุประสงคในการควบคุมใหผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุมที่ไดรับใบอนุญาตจากสภาวิศวกร ตองรับผิดชอบในผลการปฏิบัติหนาที่ใหถูกตอง
ตามหลัก ปฏิ บั ติและวิช าการ โดยจะตองศึ กษาถึ งหลักเกณฑ ข องงานวิศวกรรม และหลั ก
เกณฑของกฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของกับการประกอบวิชาชีพ เชน กฎหมายควบคุมอาคาร
กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมความปลอดภัยในการทํางานสาขาตางๆ เปนตน
กรณี ศึ ก ษา 1 วิศวกร ด ไดรับ ใบอนุ ญ าตระดับ ภาคี วิศวกร สาขาวิศวกรรม
โยธา ไดรับจางทําการปรับปรุงและตอเติมอาคารพาณิชย 4 ชั้น โดยมิไดมีการยื่นขออนุญาต
ดัดแปลงอาคารกับ เจาพนักงานทองถิ่น ระหวางกอสรางผูวาจางไดขอแกไขเปลี่ยนแปลงงาน
เพิ่มเติมนอกเหนือจากที่ปรากฏในสัญญาดวยวาจา มิไดทําเปนลายลักษณอักษร เชน เพิ่ม
งานตอเติมหลังคา และสรางหองน้ําเพิ่มในชั้นบนสุด โดยวิศวกร ด ไดทําการฝงทอขนาด 4
นิ้ว ตั้งแตชั้น 4 ลงมาจนถึงชั้นลางสุดไวกอนตั้งแตขณะเริ่มทําการกอสราง และภายหลังไดทํา
การสกัดบริเวณพื้นผิวคานรอบทอที่ฝงไวเพื่อตอเชื่อมทอ แตผูวาจางเขาใจวาวิศวกร ด ไดทํา
การเจาะคานเพื่อจะฝงทอ คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลว เห็นวาวิศวกร ด ทําการ
ออกแบบคํานวณตามขั้นตอน ประกอบกับทําการฝงทอระบายน้ําขนาด 4 นิ้วไวกอนขณะกอ
สราง ถือวาเปนการปฏิบัติงานที่ถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการแลว แตการที่วิศวกร ด
เขารับทํางานโดยทราบกอนแลววาอาคารดังกลาวไมสามารถยื่นขออนุญาตแกไขดัดแปลงให
ถูกตองตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ได แตก็ยังรับทํางานนี้ ถือวาเปนการ
สนับสนุนใหมีการทําผิดกฎหมาย จึงเห็นสมควรใหลงโทษพักใชใบอนุญาตของวิศวกร ด มี
กําหนดระยะเวลา 6 เดือน
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 9/2548 ลงวันที่ 25 เมษายน 2548)

กรณี ศึ กษา 2 วิศวกร จ ไดรับใบอนุญ าตระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรม


โยธา ไดรับควบคุมงานกอสรางอาคารพักอาศัย 5 ชั้น ระหวางการกอสรางวิศวกร จ ไดตรวจ
สอบพบวามีการกอสรางพื้นปดชองเปดบริเวณ Grid line 4-6 ในชั้น 2 โดยวางพื้นสําเร็จรูป
และเทคอนกรีตทับหนาปดชองเปดดังกลาว จึงไดมีหนังสือถึงเจาของอาคารใหทําการรื้อถอน
พื้นในบริเวณดังกลาวออก แตเจาของอาคารไมดําเนินการ จึงไดทําหนังสือฉบับที่ 2 ใหทําการ
แกไขโดยเร็ว หากเจาของอาคารยังคงเพิกเฉย ขอยกเลิกออกจากการเปนผูควบคุมงาน คณะ
กรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลวเห็นวาวิศวกร จ ไดประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมถูก
ตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการแลว เนื่องจากเมื่อพบวามีการกอสรางอาคารผิดไปจากแบบที่
ไดรับอนุญาต ก็ไดมีหนังสือแจงใหเจาของอาคารทําการแกไขใหถูกตองถึง 2 ครั้ง และขอยก
เลิกออกจากการเปนผูควบคุมงาน แตเนื่องจากตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
กําหนดไววาหากผูควบคุมงานมีความประสงคจะบอกเลิกการเปนผูควบคุมงาน ใหมีหนังสือ

6
แจงใหเจาพนักงานทองถิ่นทราบ จึงเห็นสมควรใหตักเตือนวิศวกร จ ใหใชความระมัดระวังใน
การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมใหครบถวนถูกตองตามกฎหมาย
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 6/2548 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ 2548)

กรณี ศึ กษา 3 วิ ศวกร ส ได รับ ใบอนุ ญ าตระดับ ภาคีวิศ วกร สาขาวิศ วกรรม
โยธา ไดรับงานออกแบบคํานวณอาคารพักอาศัยสองชั้น จํานวน 29 หลัง ในโครงการหมูบาน
น โดยมีนาย บ ซึ่งมิใชวิศวกรเปนผูควบคุมงาน ตอมาเจาของกรรมสิทธิ์บานหลังหนึ่งไดตรวจ
สอบพบวาการกอสรางมิไดเปนไปตามแบบแปลนที่ไดรับอนุญาต จึงไดรองเรียนไปยังเจา
พนักงานทองถิ่น ปรากฏวาวิศวกร ส ไดทําการรวมมือกับบริษัทเจาของโครงการ ยื่นเรื่องขอ
อนุญาตดัดแปลงอาคารดังกลาวยอนหลัง โดยทําการแกไขแบบและรายการคํานวณใหมให
ตรงกับที่ไดมีการกอสรางจริง คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลวเห็นวาวิศวกร ส ใน
ฐานะผูออกแบบคํานวณ เมื่อทราบเรื่องการกอสรางไมเปนไปตามแบบแปลนที่ไดรับอนุญาต
ควรแจงใหเจาพนักงานทองถิ่นทราบ แตกลับเพิกเฉยไมดําเนินการแตอยางใด ประกอบกับ
แบบแปลนและรายการคํานวณไมถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ จึงใหลงโทษพักใชใบ
อนุญาตของวิศวกร ส มีกําหนดระยะเวลา 1 ป และทําหนังสือตักเตือนเพื่อใหมีจิตสํานึกและ
คุณธรรมในการประกอบวิชาชีพใหมากกวาเดิม
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 14/2548 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2548)

กรณีศึกษา 4 วิศวกร ม ไดรับใบอนุญาตระดับสามัญ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร


ไดทําการควบคุมการทําเหมืองแรในเขตประทานบัตรติดตอกัน 2 แปลง โดยทําการเปดหนา
ดินและผลิตแร ไปกอนที่จะไดรับหนังสืออนุญาตแผวถางปาจากกรมปาไม และใบอนุญาตใหมี
ใช และขนยายวัตถุระเบิดจากกระทรวงมหาดไทย ประกอบกับบอเหมืองมีลักษณะคอนขางสูง
ชัน ไมมีการทําบอเหมืองเปนขั้นบันได คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลวเห็นวา จาก
การไปตรวจสอบพื้นที่ประทานบัตรของประธานอนุกรรมการไตสวน ปรากฏขอเท็จจริงวามี
การลวงล้ําเขาไปเปดเหมืองในเขตประทานบัตรทั้งสองจริงเนื่องจากเปนแนวเขตติดตอกัน
และมีการเปดบอเหมืองในลักษณะที่ไมปลอดภัย เห็นไดวาวิศวกร ม ไดละเลยไมเอาใจใสเทา
ที่ควรในเรื่องของการรักษาแนวเขตเหมืองแร ซึ่งเปนเงื่อนไขสําคัญในโครงการทําเหมือง และ
มีความบกพรองในการปฏิบัติงานใหถูกตองตามหลักวิชาการ จึงใหลงโทษภาคทัณฑวิศวกร
ม โดยมีกําหนดระยะเวลา 3 ป
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 3/2548 ลงวันที่ 24 มกราคม 2548)

กรณีศึกษา 5 วิศวกร อ ไดรับใบอนุญาตระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรม


เครื่องกล ไดลงชื่อรับรองความปลอดภัยในการใชหมอไอน้ําของโรงงาน บ. แตมีพยานยืนยัน
วามิไดไปทําการตรวจหมอไอน้ําจริง ซึ่งวิศวกร อ ไดอธิบายลักษณะของหมอไอน้ํา ขั้นตอน

7
วิธีการ และเครื่องมือที่ใชในการตรวจสอบสับสนขัดกันเอง และไมสามารถอธิบายถึงสาเหตุ
การระเบิดของหมอไอน้ํา ซึ่งสงผลใหมีผูเสียชีวิตได กรณีนี้ถือวาวิศวกร อ ขาดความรูความ
สามารถในการตรวจทดสอบหมอไอน้ําใหถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ วิศวกร อ จึงถูก
ลงโทษพักใชใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมมีกําหนดเวลา 5 ป
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 1/2546 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ 2546)

กรณี ศึกษา 6 วิศวกร ส ไดรับใบอนุญาตระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรม


เครื่องกล ไดรับการวาจางใหทําการตรวจทดสอบหมอไอน้ําของโรงงานบริษัท ท โดยไดลง
ลายมือชื่อรับ รองความปลอดภัยในการใชหมอไอน้ํา แตเมื่อเจาหนาที่กรมโรงงานอุตสาห
กรรมไดทําการตรวจสอบความถูกตองของการตรวจทดสอบความปลอดภัยในการใชหมอไอ
น้ํา พบวาวิศวกร ส ไมไดทําการตรวจทดสอบสภาพหมอไอน้ําดวยการอัดน้ํา (Hydrostatic
Test) จริ ง ตามที่ รั บ รองมาแต อ ย า งใด ซึ่ ง วิ ศ วกร ส ได รั บ สารภาพกั บ คณะกรรมการ
จรรยาบรรณวาไมไดทําการตรวจทดสอบสภาพหมอไอน้ําดวยการอัดน้ํา เนื่องจากเจาหนาที่
โรงงานไมไดหยุดการใชหมอไอน้ําและถายเทความรอนไวกอนลวงหนา 24 ชั่วโมง ขณะไป
ตรวจหมอไอน้ําจึงยังคงรอนอยู ทําใหไมสามารถเขาไปตรวจสอบภายในได การกระทําของ
วิศวกร ส เปนการปฏิบัติงานที่ไมถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ แตไดรับการลดโทษกึ่ง
หนึ่ง เนื่องจากใหการรับสารภาพอันเปนประโยชนตอการไตสวนจรรยาบรรณ ประกอบกับ
หม อไอน้ํ าดั งกล าว ยั งไม ได เกิ ดความเสียหายอั น จะก อ ให เกิ ด อั น ตรายต อสาธารณชนได
วิศวกร ส จึงถูกลงโทษพักใชใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม มีกําหนดเวลา 1 ป
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 4/2546 ลงวันที่ 12 พฤษภาคม 2546)

กรณีศึกษา 7 วิศวกร ข ไดรับใบอนุญาตระดับวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา


ไดรับการวาจางใหทําการสํารวจความเสียหายและใหคําแนะนําแกไข อาคารทาวเฮาส 3 ชั้น
ซึ่งเกิดการทรุดตัวและแตกราว ในโครงการหนึ่ง โดยวิศวกร ข ไดไปทําการสํารวจเฉพาะ
อาคารที่ไดรับการวาจาง แตมิไดเขาไปสํารวจอาคารขางเคียง และสภาพแวดลอมของบริเวณ
ใกลเคียง ประกอบกับมิไดนําผลการตรวจสอบสภาพชั้นดินซึ่งอยูในความครอบครองของ
บริษัทที่วิศวกร ข ทํางานอยูมาใชประกอบการพิจารณาแตกลับนําขอมูลของวิศวกรผูออก
แบบอาคารเดิมที่เกิดเหตุมาใช ซึ่งขอมูลการออกแบบเดิมนั้น คาสวนความปลอดภัยไมผาน
เกณฑมาตรฐาน ตอมาวิศวกร ข ไดทําหนังสือใหความเห็นวาความเสียหายเกิดจากการตอ
เติมอาคารของบานขางเคียงซึ่งมีโครงสรางเชื่อมตอกัน ทําใหเกิดการฉุดรั้งจากการทรุดตัว
ของฐานราก การกระทําของวิศวกร ข เปนการปฏิบัติงานที่ไมถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชา
การ จึงถูกลงโทษพักใชใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมมีกําหนดเวลา 2 ป
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 11/2547 ลงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2547)

8
กรณีศึกษา 8 วิศวกร ม ไดรับใบอนุญาตระดับวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา
ไดรับออกแบบปายโฆษณาโดยมีความสูง 22 เมตร ยาว 31.5 เมตร ขนาด 1,024 ตารางเมตร
จํานวน 2 ปาย หางกัน 4 เมตร แตในการกอสรางจริงเหลือเพียงหนึ่งป ายมีความสูง 47
เมตร ยาว 82 เมตร ขนาด 3854 ตารางเมตร ซึ่งไมเปนไปตามแบบที่ไดรับอนุญาต โดยมี
วิศวกร ร เปนผูควบคุมงาน ตอมาปายโฆษณาดังกลาวไดลมลงทับดาดฟาอาคารขางเคียง
เปนเหตุใหมีผูเสียชีวิตและบาดเจ็บ หลายราย จากการตรวจสอบพบวาสาเหตุเกิดจากการกอ
สรางที่ไมเปนไปตามแบบ แตเมื่อ คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแบบแปลนแลวพบขอ
บกพรองรายละเอี ย ดของแบบ (Detail Drawing) ในเรื่องการเชื่อมโครงสรางตามแบบ ซึ่ ง
วิศวกร ม ไดออกแบบใหใชวิธีการเชื่อมรอยตอทุกจุดแตมิไดระบุรายละเอียดวิธีการเชื่อมตอ
ของเหล็กโครงสรางไวในแบบ และเมื่อสรางจริงกลับใชวิธีการใสสลักเกลียว อันเปนความ
ประมาทเลินเลอที่ไมตรวจสอบแบบใหถูกตองกอนลงลายมือชื่อ จึงใหทํ าหนั งสือตักเตือน
วิศวกร ม ใหใชความระมัดระวังในการประกอบวิชาชีพใหมากขึ้นกวาเดิม สวนวิศวกร ร ผูคุม
งาน ไดขอเท็จจริงวาไมไดมีสวนเกี่ยวของกับการควบคุมงานกอสรางปายโฆษณา เนื่องจากมี
ผลการตรวจสอบลายมือชื่อจากกองพิสูจนหลักฐาน สํานักงานตํารวจแหงชาติ วามีการปลอม
ลายมือชื่อของวิศวกร ร จริง จึงใหยกขอกลาวหาวิศวกร ร
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 8/2546 ลงวันที่ 14 สิงหาคม 2546)

3. ตองประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมดวยความซื่อสัตยสุจริต
บทบัญญัติในขอนี้มีวัตถุประสงคเพื่อใหผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตอง
ประกอบวิชาชีพดวยความซื่อสัตยสุจริต เพื่อเปนการสงเสริมมิใหเกิดความเสียหายแกผูอื่น
หากเปนกรณีที่มิใชเรื่องเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม แตผูประกอบวิชาชีพ
ไดกระทําการใดๆ อยางไมซื่อสัตยสุจริตตอผูอื่น และไตสวนแลวเห็นวามีความผิดจริง อาจลง
โทษโดยไมใชบทบัญญัตินี้ แตไปใชบทบัญญัติตามขอ 1 คือกระทําการใดๆอันอาจนํามาซึ่ง
ความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพแทนได
กรณีศึกษา 1 วิศวกร พ ไดรับใบอนุญาตระดับภาคี สาขาวิศวกรรมโยธา ไดรับ
เปนผูป ระสานงานหาผูออกแบบและควบคุมงานกอสรางอาคารสูง 7 ชั้นใหกับ ผูวาจางใน
หลายโครงการ ปรากฏวามีการปลอมลายมือชื่อของวิศวกรผูออกแบบและควบคุมงาน โดย
วิศวกรที่ถูกปลอมลายมือชื่อนั้นไดเสียชีวิตไปแลวจํานวน 2 ราย และยังมีชีวิตอยูแตมิไดรูเห็น
เกี่ยวกับการกอสรางดังกลาวอีก 1 ราย โดยในแบบแปลนที่ไดรับอนุญาตปรากฏลายมือชื่อ
วิศวกร พ เปนผูออกแบบรวมกับวิศวกรที่ไดเสียชีวิตไปแลว และไดลงลายมือชื่อเปนผูควบคุม
งานในการกอสรางอาคารแหงหนึ่งทั้งๆ ที่วิศวกร พ ทํางานรับราชการอยูในหนวยงานราช
การ อันเปนการพนวิสัยที่จะมาทําการควบคุมงานกอสรางได และจากการพิจารณาไตสวน
วิศวกร พ ยอมรับวาไดจายเงินจํานวน 70000 บาท ใหกับเจาพนักงานทองถิ่นเพื่ อเปนคา
ตอบแทนในการออกใบอนุญาตใหภายใน 3 วันนับแตวันยื่นขออนุญาต อันเปนการสนับสนุน

9
ใหเจาหนาที่กระทําผิดกฎหมาย คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลว เห็นวาวิศวกร พ
ในฐานะผูประสานงาน ยอมไมอาจปฏิเสธวาไมมีสวนรูเห็นเกี่ยวกับการกระทําความผิดดัง
กลาวได ประกอบกับภายหลังไดขอถอนตัวออกจากการเปนผูควบคุมงาน โดยอางวาไมอยาก
เขาไปมีสวนเกี่ยวของกับการกอสรางอาคารผิดแบบของเจาของอาคารนั้น รับฟงไมได เนื่อง
จากกอนเขารับงาน วิศวกร พ ทราบแลววาเจาของอาคารไดทําการกอสรางไปกอนที่จะไดรับ
อนุญาต แตก็ยินยอมเขาไปรับดําเนินการเปนผูติดตอประสานงานหาผูออกแบบ ผูควบคุม
งาน และประสานงานในการยื่นขอรับใบอนุญาตเพื่อใหการกอสรางอาคารดังกลาวถูกตองตาม
กฎหมาย อันเปนการผิดวิสัยของบุคคลซึ่งอยูในฐานะเปนขาราชการจะกระทํากัน และเมื่อเกิด
การขัดแยงกับเจาของอาคาร ก็ยังไดดําเนินการใหผูควบคุมงานที่ตนจัดหามานั้น ถอนตัวออก
จากการเปนผูควบคุมงานทั้งหมด ซึ่งผูเกี่ยวของแตละรายก็ยอมรับวาเคยรูจักและบางรายได
รับการติดตอกับวิศวกร พ มากอน กรณีนี้เห็นวาวิศวกร พ ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมโดยไม
สุจริต จึงใหลงโทษเพิกถอนใบอนุญาตของวิศวกร พ
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 1/2548 ลงวันที่ 24 มกราคม 2548)

กรณี ศึ ก ษา 2 วิ ศ วกร ป ได รั บ ใบอนุ ญ าตระดั บ ภาคี วิ ศ วกร สาขา


วิศวกรรมโยธา ไดลงลายมือชื่อรับรองสําเนาความถูกตองของเอกสารใบอนุญาตประกอบวิชา
ชีพวิศวกรรมควบคุมแทนวิศวกรอื่นซึ่งทํางานรวมกันโดยพลการ และไดนําเอกสารดังกลาว
ไปยื่ น ประกอบการประมู ล งานของหน ว ยงานราชการ การกระทํ าของวิศ วกร ป เป น การ
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมโดยไมสุจริต แตเนื่องจากวิศวกร ป ใหการรับสารภาพและ
ใหการอันเปนประโยชนตอการพิจารณาไตสวน จรรยาบรรณ คณะกรรมการจรรยาบรรณจึง
ลดหยอนโทษให วิศวกร ป ถูกลงโทษพักใชใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม มี
กําหนดเวลา 2 ป
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 12/2547 ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2547)

4. ไมใชอํานาจหนาที่โดยไมชอบธรรม หรือใชอิทธิพล หรือใหผลประโยชนแก


บุคคลใดเพือ่ ใหตนเองหรือผูอื่นไดรับหรือไมไดรับงาน
บทบั ญ ญั ติข อนี้มี วัต ถุ ป ระสงคเพื่ อควบคุ ม ผู ไดรับ ใบอนุ ญ าตประกอบวิช าชี พ
วิศวกรรม ที่มีอํานาจหนาที่ในตําแหนงที่สามารถใหคุณใหโทษแกผูอื่นในดานตางๆ ใช
อํานาจหนาที่อันเปนการ บีบบังคับ เพื่อใหตนเองหรือผูอื่นไดรับงาน หรือบังคับผูอื่นไมให
งานนั้นแกฝายตรงกันขาม ทั้งนี้งานนั้น ไมจําเปนจะตองเปนงานเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
วิ ศ วกรรมควบคุ ม และบุ ค คลทั่ ว ไปหากต อ งเสี ย ประโยชน จ ากการกระทํ าของผู ได รับ ใบ
อนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมดังกลาว ก็ถือวาเปนผูเสียหาย สามารถรองเรียนกลาวหาผู
ไดรับ ใบอนุญ าตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมนั้น เพื่ อให คณะกรรมการจรรยาบรรณ
พิจารณาความผิดทางจรรยาบรรณแหงวิชาชีพได

10
5. ไมเรียก รับ หรือยอมรับทรัพยสิน หรือผลประโยชนอยางใดสําหรับตนเอง
หรือผูอื่นโดยมิชอบ จากผูรับเหมา หรือบุคคลใดซึ่งเกี่ยวของในงานที่ทํา
อยูกับผูวาจาง
บทบัญญัติขอนี้มีวัตถุประสงคเพื่อใหผูไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุมเมื่อไดรับงานจากผูวาจางแลว ตองรักษาผลประโยชนของผูวาจาง เสมือนกับที่วิญู
ชนทั่วไปพึงรักษาผลประโยชนของตนเอง จรรยาบรรณแหงวิชาชีพในขอนี้ มีเจตนารมณเพื่อ
ควบคุมใหผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมประกอบวิชาชีพของตนเองดวยความซื่อสัตย
สุจริต ไมรับผลประโยชนอื่นที่มิควรได นอกจากคาจางที่ไดรับทํางานใหกับผูวาจาง เพราะ
หากปลอยใหผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เอารัดเอาเปรียบผูวาจางแลว ความเสื่อม
ศรัทธาตอบุคคลและสถาบันแหงวิชาชีพจะเกิดขึ้น บทบัญญัติในขอนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อคุม
ครองผลประโยชนของบุคคลทั่วไปดวย

6. ไมโฆษณา หรือยอมใหผูอื่นโฆษณา ซึ่งการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบ


คุมเกินความเปนจริง
บทบัญญัติขอนี้มีวัตถุประสงคเพื่อปองกันมิใหผูไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมแขงขันกันรับงานโดยการโฆษณา ซึ่งอาจกอใหเกิดการแตกแยก เนื่องจาก
การแยงงานกันทํา และสงผลใหเกิดการแตกความสามัคคีในกลุมผูประกอบวิชาชีพเดียวกัน

กรณีศึกษา 1 วิศวกร จ ไดรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรม


โยธา ไดทํา ใบปลิวโฆษณา โดยระบุวา รับเหมา-ตอเติมทุกชนิด ดวยทีมงานมืออาชีพ เชน
แกปญหารอยแตกราวของโครงสราง การทรุดตัวของโครงสราง งานปลูกสรางอพารทเม็นท
หอพัก ควบคุมการกอสรางดวย ทีมงานวิศวกร ฯลฯ ซึ่งเปนการโฆษณาใหผูอื่นเขาใจวาตนมี
ความรูความสามารถที่จะประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม จนเปนเหตุใหบุคคลภายนอกหลง
เชื่อตามขอความที่ปรากฏในใบโฆษณานั้นและไดติดตอตกลงทําสัญญากับวิศวกร จ ซึ่งใน
ความเปนจริงแลว วิศวกร จ ไมสามารถทํางานวิศวกรรม ควบคุมบางประเภทตามขอความ
ที่ไดโฆษณาไว เนื่องจากเกินความรูความสามารถ และไมมีทีมงานประจํา บางครั้งตองไปจาง
วิศวกรผูอื่นเขามาดําเนินการแทน กรณีนี้ถือวาวิศวกร จ ทําการโฆษณา เกินความเปนจริง
แตเมื่อดูจากเจตนาและประสบการณแลวเห็นวาวิศวกร จ ไดกระทําไปโดยความรูเทาไมถึง
การณเนื่องจากอายุยังนอย จึงเห็นสมควรใหลงโทษสถานเบา โดยการภาคทัณฑ วิศวกร จ
ไว มีกําหนดระยะเวลา 1 ป
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 11/2546 ลงวันที่ 1 พฤศจิกายน 2546)

11
7. ไมประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถที่ตนเองจะกระทําได
บทบัญญัติขอนี้มีวัตถุประสงคเพื่อปองกันมิใหผูไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมรับงานโดยไมคํานึงถึงความสามารถที่ตนเองมีอยู ซึ่งอาจกอใหเกิดความเสีย
หายตอประชาชนและสังคมได อนึ่ง การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถที่
ตนเองจะทําไดนั้น หมายถึงการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถตามที่
กฎหมายกําหนด และรวมถึงความสามารถที่ตนเองจะทําไดตามความเปนจริงดวย

กรณี ศึ ก ษา 1 วิศ วกร พ ไดรับ ใบอนุญ าตระดับ ภาคีวิศ วกร สาขาวิศ วกรรม
โยธา ไดรับงานออกแบบคํานวณอาคารอเนกประสงคขององคการบริหารสวนตําบลแหงหนึ่ง
โดยไดลงลายมือชื่อในแบบที่ผูอื่นออกแบบคํานวณมาใหกอนที่จะทําการตรวจสอบความถูก
ตองของแบบ ตอมาคณะกรรมการตรวจการจางไดตรวจสอบพบวาแบบแปลนดังกลาวไมมี
ความมั่นคงแข็งแรงเพียงพอ คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลวเห็นวาการที่วิศวกร พ
ลงลายมือชื่อในแบบโดยมิไดตรวจสอบความถูกตองของแบบและรายการคํานวณใหรอบคอบ
กอนนั้น ประกอบกับเมื่อตรวจสอบก็พบวาแบบโครงสรางของอาคารดังกลาวออกแบบไมถูก
ต องตามหลัก ปฏิ บั ติ และวิ ช าการ และเป น การประกอบวิช าชี พ เกิ น ขอบเขตความรูค วาม
สามารถของผูไดรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกรจะสามารถกระทําได เนื่องจากอาคารดังกลาว
เปนอาคารสาธารณะ แสดงใหเห็นวาเปนการจงใจฝาฝนบทบัญญัติแหงกฎหมาย จึงใหลงโทษ
พักใชใบอนุญาตของวิศวกร พ มีกําหนดระยะเวลา 5 ป
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 10/2548 ลงวันที่ 25 พฤษภาคม 2548)

กรณีศึกษา 2 วิศวกร ส และวิศวกร ม ไดรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกร สาขา


วิศวกรโยธา ไดทําสัญญารับเหมาซอมแซมปรับปรุงอาคารพาณิชยสูง 4 ชั้น โดยทราบวาเจา
ของอาคารมิไดยื่นขอรับใบอนุญาตตอเติมหรือดัดแปลงอาคารตอเจาพนักงานทองถิ่นใหถูก
ตองตามกฎหมาย คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลวเห็นวาวิศวกรทั้งสองไมสามารถ
ออกแบบอาคารพาณิชยสูงเกิน 3 ชั้นได จึงเปนการประกอบวิชาชีพเกินความรูความสามารถ
ที่กฎหมายกําหนด ประกอบกับมิไดแจงใหเจาของอาคารดําเนินการขออนุญาตกอสรางให
ถูกตองตามกฎหมายเสียกอน จึงใหลงโทษพักใชใบอนุญาตของวิศวกรทั้งสอง มีกําหนดระยะ
เวลา 1 ป
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 13/2547 ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2547)

8. ไมละทิง้ งานที่ไดรับทําโดยไมมีเหตุอันสมควร
บทบั ญ ญั ติในขอนี้ มีวัต ถุประสงคเปนการควบคุมให ผูประกอบวิชาชีพ เมื่อรับ
ปฏิบัติงานแลว ตองมีความรับผิดชอบในงานที่ไดรับทํา เพราะหากปลอยใหมีการละทิ้งงาน

12
อาจกอใหเกิดความเสียหายแกชีวิตและทรัพยสินของประชาชนได อีกทั้งเปนการปองกันมิให
มีการประกอบวิชาชีพอันอาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียแหงวงการวิชาชีพ
กรณีศึกษา 1 วิศวกร ข ไดรับใบอนุญาตระดับภาคี สาขาวิศวกรรมโยธา ได
รับควบคุมงานกอสรางอาคารสูง 6 ชั้น ขณะกอสรางถึงโครงสรางชั้นที่ 6 โดยไดทํานั่งราน
และแบบชั้นหลังคา แลวเสร็จ โดยขณะเริ่มเทคอนกรีตชั้นหลังคาซึ่งเปนคานยื่น 6 เมตร และ
พื้นอัดแรง (Post Tension) วิศวกร ข มิไดอยูควบคุมงานโดยมอบหมายใหหัวหนาคนงานเปน
ผูดูแลแทน ปรากฏวานั่งรานรับน้ําหนักไมไหวจึงยุบตัว ทําใหแบบแตกพังลงมา และคนงาน
พลัดตกลงมาเสียชีวิตหนึ่งราย ไดรับบาดเจ็บอีกสองราย คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณา
แลวเห็นวา ในวันเกิดเหตุ วิศวกร ข ไดเขาไปตรวจสอบความเรียบรอยกอนเทคอนกรีต และ
อยูดูแลจนถึงประมาณเที่ยงวัน วิศวกร ข รูสึกไมสบายจึงไดกลับไปพักผอนที่บาน โดยมอบ
หมายใหหัวหน าคนงานดูแลแทนนั้น ยั งไมมีน้ํ าหนักเพี ยงพอที่จะรับ ฟ งได เนื่องจากหาก
วิศวกร ข ไมสามารถที่ จะทําการควบคุมงาน หรือจัดใหบุ คคลที่ มีความรูความสามารถใน
ระดับเดียวกัน เขาควบคุมการกอสรางแทนตนเองได จะตองสั่งใหมีการหยุดการกอสรางใน
สวนโครงสรางที่สําคัญไวกอน กรณีนี้ถือวาวิศวกร ข ในฐานะผูควบคุมงานไดละทิ้งงานโครง
สรางที่สําคัญในความรับผิดชอบของตนโดยไมมีเหตุอันสมควร ประกอบกับมาตรการปองกัน
วัต ถุ ต กหล น และฝุ น ละอองที่ จั ด ทํ าไวนั้ น ไม ส มบู รณ เนื่ อ งจากตามกฎหมายแรงงานและ
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานในสถานที่ที่มีอันตรายจาก
การตกจากที่สูง วัสดุกระเด็น ตกหลน และการพังทลาย กําหนดใหมีการจัดหาตาขายและวัสดุ
ที่ชวยปองกันความปลอดภัยไวตลอดเวลา ซึ่งหากสถานที่เกิดเหตุยังกอสรางไมแลวเสร็จ
วิศวกร ข ก็ไมอาจที่จะละเลยความปลอดภัยในการทํางานโดยการถอดอุปกรณปองกันความ
ปลอดภัยออก เพื่อตระเตรียมการกอสรางถนนชั้นลาง ตามที่กลาวอางไดแตอยางใด จึงเห็น
สมควรใหลงโทษพักใชใบอนุญาตของวิศวกร ข โดยมีกําหนดระยะเวลา 1 ป 6เดือน
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 2/2548 ลงวันที่ 24 มกราคม 2548)

กรณีศึกษา 2 วิศวกร น ไดรับใบอนุญาตระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ได


รับออกแบบและควบคุมงานกอสรางอาคารพาณิชยแหงหนึ่ง ตอมาเจาของอาคารไดดําเนินการ
ตอกเสาเข็มไปโดยมิไดแจงใหวิศวกร น ในฐานะผูควบคุมงานทราบ หลังจากตอกเสาเข็มไป
ประมาณ 19 ตน จากจํานวนเสาเข็มทั้งหมด 28 ตน เจาพนักงานทองถิ่นไดมีคําสั่งใหระงับการ
กอสรางอาคารและแจงใหวิศวกร น ทราบ ซึ่งหลังจากทราบเรื่อง วิศวกร น ไดไปยังสถานที่กอ
สรางและแจ งให เจาของอาคารระงับ การก อ สรางไวก อน แต ป รากฏวาเจาของอาคารยั งคง
เพิกเฉยตอคําสั่งดังกลาว วิศวกร น จึงไดมีหนังสือถึงเจาพนักงานทองถิ่นขอถอนตัวออกจาก
การเปนวิศวกรควบคุมงาน คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลวเห็นวาวิศวกร น มีเหตุผล
อันสมควรในการบอกเลิกจากการเปนผูควบคุมงาน เมื่อพบวาเจาของอาคารจงใจฝาฝนคําสั่ง
ของเจาพนักงานทองถิ่นและคําสั่งของตนในฐานะเปนผูควบคุมงานตามกฎหมาย เพราะหาก

13
วิศวกร น ยังรับเปนผูควบคุมงานตอไปก็จะกอใหเกิดความเสียหายตอวิศวกร น ได เมื่อการ
บอกเลิกจากการเปนผูควบคุมงานถูกตองตามกฎหมายแลว จึงไมอาจถือวาวิศวกร น จงใจ
ละทิ้งงานควบคุมการกอสรางแตอยางใด ใหยกขอกลาวหาวิศวกร น
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 10/2547 ลงวันที่ 13 กันยายน 2547)

9. ไมลงลายมือชื่อเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ในงานที่ตนเองไมได
รับทํา ตรวจสอบ หรือควบคุมดวยตนเอง
บทบัญญัติในขอนี้มีวัตถุประสงคมุงควบคุมใหผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมมี
ความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น หากไมสามารถรับปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมไดแลว ก็ไมควรลงลายมือชื่อเปนผูรับทํางานนั้น เพราะจะกอใหเกิดความ
เสียหายตอผูวาจาง และบุคคลภายนอกได

10. ไมเปดเผยความลับของงานที่ตนไดรับทํา เวนแตไดรับอนุญาตจากผูว าจาง


บทบัญญัติขอนี้มีวัตถุประสงคเพื่อคุมครองวงการของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมให
เปนที่ไววางใจของบุคคลทั่วไป เนื่องจากหากบุคคลทั่วไปไมเชื่อถือผูประกอบวิชาชีพแลว ก็
จะเกิดความเสื่อมศรัทธาตอผูประกอบวิชาชีพและสถาบันแหงวิชาชีพได ผูประกอบวิชาชีพอยู
ในฐานะที่รูความลับของผูวาจาง ซึ่งถือวาเปนเอกสิทธิ์และหนาที่ที่จะไมเปดเผยความลับนั้น
ถาเปดเผยความลับโดยประการที่นาจะกอใหเกิดความเสียหายแกผูวาจางก็ถือวาเปนการผิด
จรรยาบรรณแหงวิชาชีพ

11. ไมแยงงานจากผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น
บทบัญญัติขอนี้มีวัตถุประสงคเพื่อปองกันมิใหเกิดความแตกแยก ไมมีความสามัคคี
โดยมุงใหเกิดความสามัคคีระหวางผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมดวยกัน

12. ไมรับทํางาน หรือตรวจสอบงานชิน้ เดียวกันกับที่ผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรม


ควบคุมอื่นทําอยู เวนแตเปนการทํางานหรือตรวจสอบตามหนาที่ หรือแจงให
ผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นนั้นทราบลวงหนาแลว
บทบัญญัติขอนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการปองกันมิใหเกิดความแตกแยกความ
สามัคคีในกลุม ของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมดวยกัน
กรณีศึกษา 1 วิศวกร จ ไดรับใบอนุญาตระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา
ไดรับงานออกแบบโรงงานแปรรูปเนื้อไกใหกับบริษัทแหงหนึ่ง โดยกอนรับงานไดเดินทางไปดู
สถานที่กอสรางและพบวาไดมีการตอกเสาเข็มไปบางสวนแลวประมาณรอยละ 40 ซึ่งสวน
ใหญจะเปนเข็มกลุม จึงคาดวานาจะมีผูออกแบบกอนแลวและไดแจงใหผูวาจางดําเนินการแจง
ใหผูออกแบบเดิมทราบกอน ตอมาไดรับใบสั่งงานจากผูวาจาง จึงเขาใจวาผูวาจางไดแจงใหผู

14
ออกแบบเดิมทราบแลว วิศวกร จ จึงไดทําการออกแบบตามที่ไดรับการวาจาง โดยมิไดติด
ตามทวงถามวาผูวาจางไดแจงใหผูออกแบบเดิมทราบกอนแลวหรือไม จึงเปนพฤติกรรมที่ไม
เหมาะสม เพราะวิศวกร จ ยังคงมีหนาที่ตองติดตอประสานงานไปยังวิศวกรผูออกแบบเดิม
กอน เพื่ อให รับ ทราบลวงหนาถึงการเขามารับงานของตน คณะกรรมการจรรยาบรรณจึง
เห็นควรใหลงโทษตักเตือนวิศวกร จ ใหใชความระมัดระวังในการประกอบวิชาชีพใหมากกวา
เดิม
(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 7/2547 ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2547)

13. ไมรับดําเนินงานชิ้นเดียวกันใหแกผูวาจางรายอื่น เพื่อการแขงขันราคา เวน


แตไดแจงใหผูวาจางรายแรกทราบลวงหนาเปนลายลักษณอักษร หรือไดรับ
ความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากผูวาจางรายแรก และไดแจงใหผูวาจาง
รายอื่นนั้นทราบลวงหนาแลว
บทบั ญ ญั ติ ข อ นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เพื่ อ ควบคุ ม ความประพฤติ ข องผู ป ระกอบวิ ช าชี พ
วิศวกรรมควบคุมใหมีความซื่อสัตยสุจริตตอผูวาจาง ในกรณีที่มีการแขงขัน เปนการรักษาขอ
มูลและความลับของผูวาจาง
14. ไมใชหรือคัดลอกแบบ รูป แผนผัง หรือเอกสาร ที่เกี่ยวกับงานของผูประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น เวนแตจะไดรับอนุญาตจากผูประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมอื่นนั้น
บทบั ญ ญั ติ ข อ นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เพื่ อ ควบคุ ม ความประพฤติ ข องผู ป ระกอบวิ ช าชี พ
วิศวกรรมควบคุมใหมีความซื่อสัตยสุจริตตอเพื่อนรวมวิชาชีพเดียวกัน มิใหเอารัดเอาเปรียบ
ซึ่งกันและกัน เกี่ยวกับรายการคํานวณอันเปนเอกสารที่เกี่ยวของกับงานของผูประกอบวิชา
ชีพวิศวกรรมควบคุม

15. ไมกระทําการใดๆ โดยจงใจใหเปนที่เสื่อมเสียแกชื่อเสียง หรืองานของผู


ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น
บทบัญญัติขอนี้มีวัตถุประสงคที่จะเสริมสรางความสามัคคีของกลุมผูมีวิชาชีพเดียวกัน
คือตองมีความซื่อสัตยตอเพื่อนรวมวิชาชีพ โดยไมกระทําการใดๆ ใหเปนที่เสื่อมเสียชื่อเสียง
หรืองานของ ผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น

15
6. จรรยาบรรณวิศวกรของ ว.ส.ท.

7.

7. บรรทัดฐานของจรรยาบรรณ
ขอกําหนดจรรยาบรรณเปรียบเสมือนกติกาทางสังคมของวิศวกร มีตุลาการคือ
คณะกรรมการจรรยาบรรณของสภาวิศวกร เพื่อใชในการควบคุมดูแลความประพฤติของ
วิศวกรทั้งบุคคลและนิติบุคคลใหอยูในกรอบแหงความชอบธรรมที่ไดตกลงกันไว
ดั ง นั้ น ข อ กํ า หนดจรรยาบรรณจึ ง มี ค วามสํ า คั ญ และมี ผ ลทางกฎหมายต อ ผู
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม เปนมาตรการควบคุมดูแลใหวิศวกรมีความรับผิดชอบตอความ
ปลอดภัย และการสรางใหเกิดสังคมที่เปนอารยะ

16
หากคณะกรรมการจรรยาบรรณมีมติวาเปนการประพฤติผิดจรรยาบรรณ จะนํา
ไปสูการลงโทษตามอํานาจที่กําหนดไวใน พ.ร.บ. วิศวกร และจะนําไปสูความผิดทั้งทางแพง
และอาญาตามกฎหมายปกติในลําดับตอไป
ความรับผิดชอบของวิศวกรนั้นสูงมาก เมื่อมีเหตุที่เกิดจากงาน ก็มักจะเลี่ยงความ
รับผิดชอบไมพน(ดูกรณีตัวอยางมติของคณะกรรมการจรรยาบรรณสภาวิศวกร)
เพื่อความเขาใจในบรรทัดฐานของงานวิศวกรรม และใชอางอิงในการปฏิบัติงาน
บรรทัดฐานที่ใชในการปฏิบัติงาน มีอยู 3 สวนคือ
1. กฎหมาย
กฎหมายที่เกี่ยวของกับงานวิศวกรรมมีอยูมากมาย เชน พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร
พ.ร.บ. สิ่งแวดลอม พ.ร.บ. ผังเมือง พ.ร.บ. ระงับและปองกันอัคคีภัย พ.ร.บ. โรงงาน พ.ร.บ.
แรงงาน ซึ่งวิศวกรตองปฏิบัติงานโดยไมขัดกับขอกําหนดใน พ.ร.บ. ตางๆเหลานี้
2. มาตรฐาน
มาตรฐานงานวิ ศ วกรรมใช ใ นการอ า งอิ ง ถึ ง วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ง านวิ ศ วกรรม
สําหรับประเทศไทยกําลังอยูในขั้นของการพัฒนามาตรฐานวิศวกรรมแหงชาติ อยางไรก็ตาม
วิศวกรสามารถอางอิงมาตรฐานทางดานวิศวกรรมไทยไปกอนได หากพบวามาตรฐานทาง
ดานวิศวกรรมไทยไมครอบคลุมเนื้อหาที่ตองการ จึงนํามาตรฐานสากลที่เปนที่ยอมรับมาใชใน
ลําดับตอไป
สาเหตุที่การอางอิงมาตรฐาน ใหเริ่มที่มาตรฐานทางดานวิศวกรรมไทยกอน ก็
เพื่อความเปนเอกภาพ
ยกตัวอยาง ในอดีตมาตรฐานทางไฟฟาในประเทศไทยมีความหลากหลายมาก
ทํ า ให อุ ป กรณ ไ ฟฟ า มี ห ลายมาตรฐานและสร า งความสู ญ เสี ย อย า งมหาศาล ในป จ จุ บั น
วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยมีมาตรฐานไฟฟาแหงประเทศไทยที่ทุกสถาบันนําไปใชรวม
กัน ทําใหเกิดเอกภาพ ลดขอขัดแยง และการสูญเสียลงไปได
ในตางประเทศทุกประเทศ ตางก็มีมาตรฐานทองถิ่นดวยกันทั้งสิ้น แมกระทั่งใน
สหรัฐ แตละมลรัฐก็มีขอกําหนดทองถิ่นที่เปนของตนเอง
มาตรฐานทางดานวิศวกรรมไทย สามารถเปนมาตรการปองกันไมใหวิศวกรตาง
ชาติเขามาทํางาน โดยใชมาตรฐานจากประเทศของตนเองไดอยางเสรี และไมสามารถวางตัว
เองอยูเหนือขอกําหนดทองถิ่นได
3. ขอกําหนดจรรยาบรรณ
นอกจากกฎหมายและมาตรฐานอันเปนขอกําหนดที่ตราไวอยางชัดเจนแลว การ
ปฏิบัติงานของวิศวกรที่มีความซับซอน หลากหลายที่กฎหมายและมาตรฐานไมครอบคลุม ยัง
อยูในดุลยพินิจและการตัดสินใจของวิศวกรเปนอยางมาก ดังนั้น การปฏิบัติงานในสวนนี้ ไม
สามารถกําหนดกรอบที่ชัดเจนได ขึ้งอยูกับวิศวกรเอง โดยมีพื้นฐานที่สอดคลองกับขอกําหนด
จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ

17
8. จรรยาบรรณคือเครื่องมือสูความสําเร็จ
คําวา “ไม” ในขอกําหนดจรรยาบรรณอาจจะสื่อแลวทําใหวิศวกรมีความรูสึก
วาขอกําหนดจรรยาบรรณคือ “ขอหาม” และหากปฏิบัติตามอยางเครงครัด จะประกอบวิชาชีพ
ไมได
ขอกํ าหนดจรรยาบรรณเปนขอกําหนดที่มีกรอบที่กวางพอ และเป ดโอกาสให
วิศวกรใชชวงกวางนี้ เพื่อใหวิศวกรสามารถประกอบธุรกิจอยางมีกติกา อันจะยังผลใหสังคม
ธุรกิจวิศวกรรม เปนธุรกิจที่พัฒนาไปในแนวทางของมาตรฐานงานที่ดี
การจัดการขอขัดแยง มีความละเอียดและซับซอนตามความซับซอนของธุรกิจ แต
หากตั้งอยูบนหลักการสมดุล ความเปนธรรม และจรรยาบรรณ ก็สามารถจัดการไดไมยาก
จรรยาบรรณจึงไมใชขอหาม แตหากรูจักนําไปใช กลับกลายเปนเครื่องมือในการ
ประกอบธุรกิจที่มีแนวทางที่เหมาะสมไดเปนอยางดี
การพัฒนาวิชาชีพตอเนื่อง
หลายคนเข าใจผิ ด วา การจบการศึ ก ษาและได ป ริญ ญาบั ต รคื อการสําเร็จการ
ศึกษา แตลืมไปวาการสําเร็จการศึกษาที่วานี้ เปนการสําเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษา แท
ที่จริงคือการสําเร็จการศึกษาวิชาการวิศวกรรม”พื้นฐาน” ยังไมไดเรียนรูวิธีการประกอบวิชา
ชีพวิศวกรรมเลย วิศวกรที่เริ่มทํางานในปแรก ที่แทคือ”วิศวกรฝกงาน” จึงตองบังคับเสมอให
ตองทํางานภายใตการควบคุมของสามัญวิศวกร
การศึกษาวิธีปฏิบัติงาน เกิดจากการทํางานจริงเทานั้น เพราะไมวาจะจบปริญญา
โทหรือเอก หากไมผานการปฏิบัติงานจริง ก็ทํางานไมได
เพราะงานวิศวกรรมเปนงานที่ตองอาศัยการเรียนรูดวยตนเอง การสราง
ทักษะและการหาประสบการณดวยตนเอง
วิศวกรที่จบมาหลายป แตไมไดทํางานในสายอาชีพ เชน จบมาแลว ทําแตงาน
บริหาร ไมไดทํางานชางควบคูกันไป ถึงจะมีตําแหนงเปนผูจัดการ ก็ยากที่จะขอเลื่อนขั้นเปน
สามัญหรือวุฒิวิศวกร
การพัฒนาวิศวกรรมจะสําเร็จได ก็ดวยวิศวกรทุกคนพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง
ตลอดเวลา และจะตองมีระบบสงเสริมการพัฒนาวิศวกรอยางตอเนื่อง

9. บทสรุป
วิศวกรเมื่อรูวา “ขาคือวิศวกร”จะตองพัฒนาทักษะ และสั่งสมประสบการณอยาง
ตอเนื่อง ไมวาจะอยูในตําแหนงหนาที่อะไร จึงจะแสดงตนวาเปนวิศวกรไดอยางภาคภูมิ สม
ศักดิ์ศรีของความเปนวิศวกร
วิศวกรเปนผูที่ดูแลรักษาสิ่งแวดลอม รูคุณคาของพลังงาน และเห็นความสําคัญ
เรื่องความปลอดภัย

18
หากพบเรื่องที่ผิด ตองหาทางแก อยาปลอยทิ้งไว แตถาเปนเรื่องสุดวิสัย
ใหเลี่ยงเสีย และที่สําคัญ ตองไมทําตามอยางที่ไมถูกตอง
คุณคาของวิศวกรอยูที่ผลงานที่ดี
ตราบใดที่ยังมีตึกถลม นั่งรานถลม ปายถลม น้ําทวม อัคคีภัยรายแรง หมอน้ํา
ระเบิด กาซระเบิด แมกระทั่งอาคารที่เปลืองพลังงาน โรงงานสรางมลภาวะตอสิ่งแวดลอม มี
การกอสรางที่เลี่ยงกฎหมาย แสดงวางานวิศวกรรมของไทยยังมีปญหา และวิศวกรไทยยังไม
มีคุณภาพ สังคมก็จะขาดการยอมรับ

พื้นฐานคืออนาคต สมรรถนะคือปจจุบัน จรรยาบรรณคือพื้นฐานของวิศวกร

10. กรณีศึกษา
กรณีศึกษานี้เปนกรณีตัวอยางเพื่อจะไดเปนการศึกษาจากเหตุการณที่เกิดขึ้น
จริง ที่นําสูการรองเรียน สอบสวน และลงโทษในแตละกรณี การยกเอากรณีตัวอยางเหลา
นี้มาพิจารณา จะใชนามสมมุติ รวมทั้งการลําดับเรื่องเฉพาะที่เปนสาระสําคัญเทานั้น
กรณีศึกษา 1 : โครงเหล็กเสาตอมอโครงการทางยกระดับโคนลม
การไมปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ

เรื่องยอ: โครงเหล็กเสาตอมอโครงการทางยกระดับเกิดโคนลม ทําใหมีผูไดรับบาดเจ็บจํานวน


3 คน ก.ว. จึงมีคําสั่งแตงตั้งคณะอนุกรรมการไตสวนผูมีสวนเกี่ยวของ ซึ่งพอสรุปไดดังนี้

เรื่อง: นาย ป (ภาคีวิศวกรโยธา) เปนวิศวกรโครงการ ทํางานกับบริษัท ก มีหนาที่รับผิดชอบ


ดูแลการกอสรางฐานรากกับเสา รับวาที่เกิดเหตุอยูในความรับผิดชอบของตน และในวันเกิด
เหตุไดมอบหมายใหหัวหนาคนงานควบคุมคนงาน 8 คน ในการผูกเหล็ก ยกเหล็ก หลังจาก
สั่งงานแลวไดเดินทางไปดูการกอสรางบริเวณอื่นและไมไดอยูในที่เกิดเหตุ การขึ้นโครงเหล็ก
ดังกลาวมีการดําเนินการแลวเสร็จอีกดานหนึ่งของหนางาน นาย ป จึงเขาใจวาลักษณะการ
ทํางานในที่เกิดเหตุจึงนาจะเปนไปดวยความเรียบรอยเพราะเปนลักษณะงานเชนเดียวกัน อีก
ทั้งทีมตั้งแบบและ ยึดโยงโครงเหล็กดังกลาวเคยมีประสบการณจากการทํางานเชนนี้ในโครง
การอื่นมาแลว การติดตั้งใชรถเครนในการยก และติดตั้งยึดโยงดวยลวดสลิงจํานวน 8 เสนที่
ระดับความสูง 2 ใน 3 ของความสูง 15 เมตรของตอมอขนาด 1.5 x 2 เมตร สันนิษฐานวาเหตุ
เกิดจากการรูดตัวของลวดสลิงที่ใชยึดโครงเหล็ก ภายหลังการเกิดเหตุ บริษัท ก ไดปรับปรุง
วิธีการทํางานโดยวิธีการติดตั้งโครงเหล็กแบงการทํางานเปน 2 สวน โดยยกสวนลางที่มีความ
สูง 7.5 เมตร ติดตั้งกอนการติดตั้งสวนบนอีก 7.5 เมตร

19
การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา นาย ป เปนวิศวกรควบคุมงาน เมื่อไมอยู
ควบคุมการกอสรางใหแลวเสร็จ และมิไดมอบหมายใหวิศวกรคนอื่นควบคุมงานแทนถือวาบก
พรองในการทํางาน ไมปฏิบัติงานที่ไดรับทําใหถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ ซึ่งเปน
ความผิดมรรยาทแหงวิชาชีพตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2529) ออกตามความในพระ
ราชบัญญัติ วิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2502 ขอ 2 (2) “ตองปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตาม
หลักปฏิบัติและวิชาการ”

การลงโทษ: นาย ก ถูกลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม 6 เดือน

กรณีศึกษา 2 : สะพานสรางใหมคูขนานกับสะพานเดิมเกิดเหตุพังทลายในขณะกอ
สราง
การไมปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ

เรื่องยอ: สะพานสรางใหมขามแมน้ําคูขนานกับสะพานเดิมเกิดเหตุพังทลายในขณะกอสราง
ทํ า ให มี ค นงานเสี ย ชี วิ ต 4 คน และได รั บ บาดเจ็ บ 6 คน ก .ว . จึ ง มี คํ า สั่ ง แต ง ตั้ ง คณ ะ
อนุกรรมการไตสวนผูมีสวนเกี่ยวของ ซึ่งพอสรุปไดดังนี้

เรื่อง: นาย ช (ภาคีวิศวกรโยธา) เปนวิศวกรควบคุมการกอสรางของบริษัท ฉ ในวันเกิดเหตุ


มีการติดตั้งแมแรงเพื่อนําโครงสรางสวนบนลงบนคานขวางรับโครงถัก เมื่อหยุดพักเที่ยงเกิด
ฝนตกลงมา นาย ช ไดแจงใหคนงานทราบวา ใหรอคําสั่งจากนาย ช กอนจึงเริ่มทํางานในชวง
บายได แตนาย ม ผูชวยหัวหนาคนงานไดใหคนงานเริ่มทํางานโดยไมมีคําสั่งใหเริ่มทํางาน
จากนาย ช ทําใหเกิดเหตุสะพานพังทลาย สันนิษฐานวาสาเหตุการพังทลายเกิดจากการลด
ระดับแมแรงที่ยกคานใหไดระดับทางดานขวาเพียงดานเดียว (ซึ่งปกติการลดระดับแมแรงตอง
ใหลดระดับพรอมเพรียงกัน) ทําใหเกิดการตะแคงของโครงถัก เกิดการสไลดไปกระแทกตัว
สต็อปเปอร เปนเหตุใหคานสวนอื่น ๆ หลนตามลงมา ทําใหคานหลุดจากตอมอ เปนเหตุใหคน
งานเสียชีวิตในที่เกิดเหตุทันที 2 คน และไดรับบาดเจ็บ 8 คน ภายหลังเกิดเหตุคนงานเสีย
ชีวิตเพิ่มอีก 2 คน จากการตรวจสอบพบวาเหตุไมไดเกิดจากความบกพรองของแบบแปลน
สะพานของกรมทางหลวง แตเกิดจากการกระทําของคนงานในระหวางการกอสรางและยังพบ
อีกวานาย ช ไมเคยควบคุมการกอสรางสะพานขามแมน้ําที่มีคานชวงยาว เคยแตควบคุมการ
สรางสะพานขามคลอง

20
การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวน ฯ วินิจฉัยวา โดยที่ในเวลาเกิดเหตุนั้น เปนเวลาทํางาน
ในชวงหลังจากหยุดพักกลางวันแลว ซึ่งโดยปกติวิศวกรผูควบคุมงานตองอยูควบคุมการกอ
สรางในสถานที่กอสราง แตนาย ช มิไดอยูในสถานที่กอสราง ถึงแมจะอางวาฝนตกจึงออกมา
ควบคุมงานชาก็ไมอาจปฏิเสธความรับผิดชอบได จึงถือวา นาย ช บกพรองตอหนาที่ฐาน
ควบคุมงานไมถูกตองตามหลักปฏิบัติ ซึ่งเปนความผิดมรรยาทแหงวิชาชีพตามกฎกระทรวง
ฉบั บ ที่ 8 (พ .ศ . 2529) ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ วิ ช าชี พ วิศ วกรรม พ .ศ . 2505 ข อ 2
(2) ”ตองปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ”

การลงโทษ : นาย ช ถูกให ลงโทษพั กใบอนุญ าตเปนผูประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุมมี


กําหนด 1 ป

กรณีศึกษา 3 : นั่งรานกอสรางสะพานขามแมน้ําพังทลาย
การไมปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ

เรื่องยอ: นั่งรานกอสรางสะพานขามแมน้ําซึ่งอยูระหวางการกอสรางเทคอนกรีตในสวนของ
คานยื่นตอมอตนที่ 8 ไดเกิดพังทลายลงมา เปนเหตุใหมีผูเสียชีวิต 4 คน และบาดเจ็บหลาย
คน ก.ว. จึงมีคําสั่งแตงตั้งคณะอนุกรรมการไตสวนผูมีสวนเกี่ยวของ ซึ่งพอสรุปไดดังนี้

เรื่อง: นาย พ (สามั ญ วิศวกรโยธา) เปน วิศวกรผู ควบคุมการก อสรางของบริษั ท ส ในการ


ทํางาน กอนวันเกิดเหตุไดมาทําการตรวจสอบนั่งรานพบวา สภาพนั่งรานยังไมเรียบรอย
เชน ระยะของคานรัดแตละชั้นยังไมแนนหนา อีกทั้งเหล็กค้ํายันและโยงยึดยังไมครบถวนตาม
แบบที่ไดคํานวณออกแบบใชในการกอสราง จึงไดสั่งการเปนหนังสือจํานวน 5 ขอ ใหนาย ง
ซึ่งเปนโฟรแมนของบริษัท ส ดําเนินการแกไข ซึ่งนาย ง ไดเซ็นรับทราบ ตอมานาย พ ตอง
เดินทางไปประชุมเพื่อเรงรัดงานกอสรางสะพานที่กรมโยธาธิการ กอนไปประชุมไดสั่งกําชับ
นาย ง ใหดําเนินการแกไขนั่งรานตามที่ไดสั่งการและใหนาย พ ทราบเพื่อตรวจสอบอีกครั้ง
กอนดําเนินการตอไป นาย ง ไดปฏิบัติงานตามสั่ง คือ ไดแบงคนงานสวนหนึ่งเตรียมเหล็ก
เพื่อทําค้ํายันเพิ่ม รวมทั้งเพิ่มโยงยึด แตยังไมทันเสร็จ ปรากฏวามีรถคอนกรีตผสมเสร็จมาสง
คอนกรีต นาย ง จึงใหคนงานไปเทคอนกรีตกอนโดยการยายคนงานที่ไปทําค้ํายันไปชวย
เกลี่ยคอนกรีต งานเทคอนกรีตดําเนินการไดพักใหญจึงพังลงมา สําหรับเรื่องการสั่งคอนกรีต
ผสมเสร็จเขาหนางานนั้นเปนไปตามแผนเดิม เมื่อมีการแกไขนั่งราน นาย ง ซึ่งเปนผูดูแลเรื่อง
แผนงานการสงคอนกรีตผสมเสร็จลืมสั่งยกเลิกคอนกรีตผสมเสร็จตามแผนเดิม เรื่องดินทรุดก็
ไมปรากฏเพราะมีการเช็คระดับโดยใชกลองตลอดเวลา หลังเกิดเหตุ นาย ง ถูกดําเนินคดี

21
อาญา โดยพนักงานอัยการสั่งฟองโทษฐานทําใหผูอื่นถึงแกความตายและอันตรายสาหัสโดย
ประมาท และศาลตัดสินโทษไปแลว

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา กรณีนั่งรานสะพานเกิดการพังทลายมิได


เกิดจากการออกแบบสะพานไมถูกตอง แตเกิดจากการควบคุมงานของวิศวกรผูควบคุมงาน
กอสราง นั่งรานเพื่อการกอสราง ซึ่งเปนสวนหนึ่งของเทคนิคการกอสรางในสวนของการควบ
คุมงาน แมในระหวางการเกิดเหตุ นาย พ ไมไดอยูในสถานที่เกิดเหตุ และแมจะไดกําชับ
นาย ง ใหควบคุมดูแลและดําเนินการตามที่สั่งการแลวก็ตาม แตนาย พ ในฐานะวิศวกรควบ
คุมงานของบริษัทผูรับเหมาและเปนผูรับผิดชอบในการควบคุมงานใหถูกตองตามหลักปฏิบัติ
และวิชาการทุกขั้นตอน โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อไดตรวจสอบและเห็นวายังมีการดําเนินการไม
เรียบรอยของนั่งรานในสวนที่เปนสวนสําคัญ ซึ่งอาจจะกอใหเกิดอันตรายได แมการสั่งการ
ใหผูมีหนาที่ปฏิบัติงานแทนก็ตองติดตามตรวจสอบวาผูรับมอบหมายไดดําเนินการตามที่สั่ง
หรือไม แตไดปลอยไวจนกระทั่งเกิดความเสียหายขึ้น ไมอาจเปนเหตุใหวิศวกรผูรับผิดชอบ
พนจากความรับผิดดานวิศวกรรม จึงเปนการกระทําเขาขายผิดมรรยาทแหงวิชาชีพ มีมติวา
นาย พ ปฏิบัติหนาที่ในฐานะวิศวกรควบคุมงานไมปฏิบัติหนาที่ในฐานะวิศวกรควบคุมงานให
ถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ เปนเหตุใหเกิดความเสียหายและมีผูเสียชีวิต เปนการฝา
ฝ น มรรยาทแห งวิ ช าชี พ ตามกฎกระทรวงฉบั บ ที่ 8 (พ .ศ . 2529) ออกตามความในพระราช
บัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 ขอ 2 (2) “ตองปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลัก
ปฏิบัติและวิชาการ”

การลงโทษ: นาย พ ถูกลงโทษเพิกถอนใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม

กรณีศึกษา 4 : อาคาร 7 ชั้นเกิดการทรุดเอียงเสียหายใชการไมได


การไมปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ

เรื่องยอ: อาคาร 7 ชั้นริมถนนเกิดการทรุดเอียงเสียหายใชการไมได ก.ว. จึงมีคําสั่งแตงตั้ง


คณะอนุกรรมการไตสวนผูมีสวนเกี่ยวของ ซึ่งพอสรุปไดดังนี้

เรื่อ ง: นาย ณ เจ าของโครงการต องการก อสรางอาคารโดยทํ าการกู เงิน จากธนาคาร และ
ธนาคารอนุมัติใหจํานองที่ดินและอาคารที่จะทําการกอสรางในวงเงินที่จะกอสราง 5 ชั้น นาย

22
ณ ไดติดตอขาราชการกรุงเทพมหานคร คือนาย ส ใหชวยจัดหาสถาปนิกและวิศวกรในการ
ออกแบบรวมทั้งใหนาย ส ชวยเปนธุระในการขอใบอนุญาต

เรื่องยอ: นาย อ (สามัญวิศวกรโยธา) เปนผูคํานวณและออกแบบโครงสรางโดยมิไดไปดูสถาน


ที่กอสรางหรือทดสอบดิน กําหนดใหใชเข็มตอกขนาด I .35 x .35 เมตร รับน้ําหนักปลอดภัย
60 ตัน/ตน อาคารที่ออกแบบเปนอาคาร 8 ชั้น โดยมิไดคํานวณแรงลม กอนไดรับใบอนุญาต
ปลูกสรางอาคาร 8 ชั้น นาย ณ ไดทําการกอสรางฐานรากโดยใชเข็มเจาะขนาดเสนผานศูนย
กลาง .35 เมตร ยาว 20 เมตร การเลือกเข็มเจาะดังกลาวเนื่องจากผูรับเหมางานฐานรากไดดู
จากตารางการรับน้ําหนักของเสาเข็มเจาะขนาดระบุวาสามารถรับน้ําหนักอาคาร 5 ชั้น ตามขอ
มูลเงินกูที่ทําไวกับธนาคาร ตอมาเมื่อทําการกอสรางสวนที่เหนือฐานราก นาย ณ ไดผูรับ
เหมาใหมและมี นาย ค (ภาคีวิศวกรโยธา) เปนผูควบคุมงานกอสราง เขาควบคุมงานกอ
สรางสัปดาหละ 1 ครั้ง โดยเริ่มงานจากงานฐานรากที่ดําเนินการแลวเสร็จกอนหนานั้นและได
รับคําชี้แจงจากนาย ส วาฐานรากเข็มเจาะสามารถรับน้ําหนักตามแบบที่กําหนดได และไมได
ตรวจสอบวาฐานรากเข็มเจาะจะสามารถรับน้ําหนักไดจริงหรือไม การควบคุมงานกอสรางใน
สวนโครงสรางเหนือพื้นดินตั้งแตชั้น 1 ถึง ชั้น 5 เมื่อพบวาการกอสรางชิดแนวเขตเกินไป ไม
ตรงตามแผนผังบริเวณที่ไดรับอนุญาต และเขตไดระงับการกอสรางและแจงใหแกไขแบบให
ถูกตอง เนื่องจากที่ดินบริเวณติดชิดแนวเขตเปนที่ดินของบิดานาย ณ และยินยอมใหใชที่ดิน
โฉนดขางเคียงประกอบการขออนุญาตดวยในการขอใบอนุญาตครั้งที่ 2 นาย ณ ไดขอแกไข
อาคารจาก 8 ชั้น มาเปน 7 ชั้นดวย ภายหลังการไดรับใบอนุญาตครั้งที่ 2 นาย ค เขาไปควบ
คุมงานเพียงครั้งเดียว เนื่องจากหมดงบประมาณและการกอสรางระงับไป และเกิดเหตุอาคาร
ทรุดในอีก 1 ปตอมา

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา นาย อ เปนวิศวกรคํานวณและออกแบบ


โครงสรางอาคารโดยมิไดไปดูสถานที่กอสรางและมิไดกําหนดรายละเอียดประกอบรายการ
คํานวณวาจะตองมีการเจาะสํารวจดินกอนทําการกอสราง อีกทั้งมิไดคํานวณแรงลมเนื่องจาก
เปนอาคารสูง ถือวาปฏิบัติหนาที่วิศวกรออกแบบและคํานวณโครงสรางอาคารไมครบถวน
และไมมีความรอบคอบเพียงพอ จึงไมเปนไปตามหลักปฏิบัติและวิชาการ ทําใหแบบมีความ
บกพรอง เมื่อใชในการกอสรางและเกิดความเสียหายทรุดเอียง จึงเปนความผิดมรรยาทแหง
วิ ช าชี พ ตามกฎกระทรวงฉบั บ ที่ 8 (พ .ศ . 2529) ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ วิ ช าชี พ
วิศวกรรม พ.ศ. 2505 ขอ 2 (2) “ตองปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชา
การ”

23
การลงโทษ: นาย อ ถูกลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม มีกําหนด
6 เดือน

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา นาย ค เปนวิศวกรควบคุมการกอสรางเขา


ควบคุมงานโครงสรางชั้น 1 ถึง ชั้น 5 โดยไมไดตรวจสอบวาฐานรากที่ดําเนินการแลวโดยใช
เข็มเจาะนั้นสามารถรับน้ําหนักของอาคารไดหรือไม แตไดสอบถามนาย ส ซึ่งเปนผูประสาน
งานยืนยันวาสามารถรับน้ําหนักไดตามแบบที่กําหนด ในฐานะที่เปนวิศวกรจะตองใชความ
ละเอียดรอบคอบและตรวจสอบรายการคํานวณโครงสรางของอาคารที่กอสรางฐานรากแลววา
สามารถรับน้ําหนักไดหรือไม การละเลยการตรวจสอบความถูกตองดังกลาวและอาคารเกิด
การทรุดเอียงเสียหาย จึงเปนการปฏิ บั ติหนาที่ของวิศวกรควบคุมงานไมถู กตองตามหลัก
ปฏิบัติและวิชาการ อันเปนความผิดมรรยาทแหงวิชาชีพตามกฎกระทรวงฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2529)
ออกตามความในพระราช-บัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 ขอ 2 (2) “ตองปฏิบัติงานที่ได
รับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ”

การลงโทษ : นาย ค ถู ก ลงโทษพั ก ใบอนุ ญ าตเป น ผู ป ระกอบวิ ช าชี พ วิ ศ วกรรมควบคุ ม มี


กําหนด 6 เดือน

การรองทุกข: นาย ส เปนขาราชการกรุงเทพมหานคร ไดรับจางปลูกสรางอาคารและเปนธุระ


ในการจัดหาวิศวกรและสถาปนิก ทั้งเปนผูยื่นขออนุญาตปลูกสราง ทําหนาที่ของวิศวกรและ
สถาปนิกในการใหคําแนะนําและจัดทําแบบแปลนที่ใชในการกอสราง ตลอดจนเขาควบคุมงาน
กอสรางในบางครั้งดวย อันเปนการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมและสถาปตยกรรมควบ
คุมตามพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 และพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม
ควบคุม พ.ศ. 2508 ตามมาตรา 15 และมีความผิดฐานประกอบวิชาชีพฯโดยไมมีใบอนุญาต
เห็นควรรองทุกขดําเนินคดีตามกฎหมาย

กรณีศึกษา 5 : อาคารคอนโดมิเนียมทรุดตัวพังทลาย
การกระทําซึ่งนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติแหงวิชาชีพ
การไมปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ

เรื่องยอ: อาคารคอนโดมิเนียมทรุดตัวและพังทลาย ก.ว. จึงมีคําสั่งแตงตั้งคณะอนุกรรมการไต


สวน ผูมีสวนเกี่ยวของ ซึ่งพอสรุปไดดังนี้

24
เรื่อง: นาย ค (ภาคีวิศวกรโยธา) เปนวิศวกรควบคุมการกอสรางอาคารคอนโดมิเนียมซึ่งมีญาติ
ผูใหญเปนผูขออนุญาตปลูกสรางและเกิดการทรุดตัวพังทลาย นาย ค แจงวาไดควบคุมการ
กอสรางตามแบบที่ไดรับอนุญาต

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา นาย ค ควบคุมการกอสรางในการตอกเสา


เข็มผิดไปจากแบบแปลนที่กําหนดใหใชเสาเข็มทอนเดียวกัน แตนาย ค ใชเสาเข็มที่ญาติผู
ใหญจัดหามาใหโดยเปนเสาเข็ม 2 ทอนตอ แมนาย ค อางวาไมสามารถใชเสาเข็มทอนเดียว
เนื่องจากไมสามารถขนสงเสาเข็มมายังพื้นที่ที่กอสรางได เพราะทางเขาเปนซอยแคบ แตนาย
ค ไมไดแจงขออนุญาตจากวิศวกรผูออกแบบและคํานวณโครงสราง เมื่อมีความเสียหายเกิด
ขึ้นจึงไมอาจปฏิเสธความรับผิดชอบในฐานะวิศวกรควบคุมการกอสรางได ถือวาเปนการ
กระทําความผิดมรรยาทแหงวิชาชีพ ไมควบคุมงานที่ไดรับใหถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชา
การ อันเปนความผิดตามกฎกระทรวงฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2529) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
วิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 ขอ 2 (2) “ตองปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติ
และวิชาการ”

การลงโทษ: นาย ค ถูกลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมมีกําหนด


1 ป

เรื่อง: นาย อ (สามัญวิศวกรโยธา) เปนผูมีชื่อในแบบแปลนการกอสรางเปนผูออกแบบและ


คํานวณโครงสราง แตนาย อ ปฏิเสธวาตนเองมิไดเปนผูออกแบบและคํานวณโครงสราง มิได
ลงลายมือชื่อในแบบแปลนอาคารคอนโดมิเนียม เพราะตนเปนขาราชการไมเคยออกแบบให
หนวยงานอื่นนอกจากหนวยงานตนสังกัด

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา นาย อ เปนผูตรวจสอบรายการคํานวณ


และแบบแปลนรวมทั้งลงนามในฐานะเปนวิศวกรออกแบบและคํานวณโครงสราง และ นาย อ
ปกปดความจริงวาตนไมเกี่ยวของกับการกอสรางคอนโดมิเนียม อันเปนความผิดตามกฎ
กระทรวงฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2529) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505
ขอ 2 (1) ”ไมกระทําการใดๆอันอาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ” อีกทั้ง
กอนหนาเหตุการณนี้ ก.ว. เคยลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
ของนาย อ เปนเวลา 1 ป ฐานกระทําความผิดมรรยาทวิชาชีพโดยปกปดความจริง กรณีออก

25
แบบและคํานวณอาคารซึ่งเกิดการทรุดตัวที่จังหวัดอื่น คณะอนุกรรมการไตสวนจึงลงโทษ
นาย อ ในสถานหนักเนื่องจากเคยทําความผิดมาแลว

การลงโทษ: ใหเพิกถอนใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของนาย อ

กรณีศึกษา 6 : อาคารทาวนเฮาส 3 ชั้น มีโครงสรางบางสวนนาจะกอใหเกิดอันตราย


แกผูอยูอาศัยในอาคาร
การไมปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ
และไมทิ้งงานโดยไมมีเหตุอันควร

เรื่องยอ: อาคารทาวนเฮาส 3 ชั้น จํานวนกวาสามรอยหองในหมูบาน ม มีโครงสรางอาคารบาง


สวนนาจะกอใหเกิดอันตรายแกผูอยูอาศัยในอาคาร ก.ว. จึงมีคําสั่งแตงตั้งคณะอนุกรรมการ
ไตสวนผูมีสวนเกี่ยวของ ซึ่งพอสรุปไดดังนี้

เรื่อง: นาย พ (ภาคีวิศวกรโยธา) เปนวิศวกรผูออกแบบและคํานวณโครงสราง และเปนวิศวกร


ผูควบคุมการกอสรางอาคารทาวนเฮาส 3 ชั้น โดยรับจางบริษัท บ เจาของโครงการหมูบาน ม
นาย พ ควบคุมการกอสรางอาคารทาวนเฮาสดังกลาวไมตอเนื่องโดยไปบางเปนครั้งคราว
เนื่องจากไดรับควบคุมงานที่อื่นอีก 2 - 3 แหงดวยในขณะเดียวกัน ซึ่งเกินความสามารถที่จะ
ควบคุมการกอสรางไดอยางทั่วถึง ทําใหการกอสรางอาคารดังกลาวมีการกอสรางไมตรงกับ
แบบแปลนที่ไดรับอนุญาต เชน แบบแปลนที่ไดรับอนุญาตตอทางราชการกําหนดใหใชเหล็ก
ขนาด 9 มิลลิเมตร และเสริมเหล็กตะแกรงสองชั้น แตในการกอสรางจริงใชเหล็กขนาด 6
มิลลิเมตร และเสริมเหล็กตะแกรงเพียงชั้นเดียว เปนตน และเมื่อพบวามีการกอสรางผิดไป
จากแบบแปลน นาย พ ก็มิไดสั่งระงับการกอสราง จึงมีความผิดฐานควบคุมงานที่ไดรับทํา
อยางไมถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ และไมอยูควบคุมอยางตอเนื่องเปนเหตุใหมี
การก อ สรางผิ ด ไปจากแบบแปลนที่ ได รับ อนุ ญ าต ซึ่ งเป น ความผิ ด ตามที่ กํ าหนดโดยกฎ
กระทรวงฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2529) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505
ขอ 2 (2) “ตองปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ” และ (8) “ไมละ
ทิ้งงานที่ไดรับทําโดยไมมีเหตุอันควร”

การลงโทษ: นาย พ ถูกลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม 1 ป

26
การร อ งทุ ก ข : นาย ป ซึ่ ง เป น กรรมการผู จั ด การของบริ ษั ท ซ รั บ เหมาก อ สร า งอาคาร
ทาวนเฮาส 3 ชั้นนั้น ไมมีวิศวกรควบคุมการกอสราง นาย ป จึงมีความผิดฐานประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรควบคุมโดยไมมีใบอนุญาต ก.ว. อันเปนความผิดตามมาตรา 15 แหงพระราช
บัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 ใหรองทุกขดําเนินคดีตอนาย ป

กรณีศึกษา 7 : ภาคีวิศวกรสาขาวิศวกรรมเครื่องกลตรวจสอบหมอไอน้ํา
การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินขอบเขตที่ไดรับอนุญาต

เรื่อง: นาย ก เปนภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล ไดรับงานตรวจสอบหมออัดไอน้ําให


แกโรงงาน ข และไดดําเนินการไปเรียบรอยแลว

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา ตามกฎหมายที่กําหนดลักษณะและขนาด


ของงานที่ผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแตละประเภทสามารถกระทําไดนั้น หามภาคี
วิศวกรสาขาวิศวกรรมเครื่องกล ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมในลักษณะงานพิจารณา
ตรวจสอบ ซึ่งเป นการกระทํ าผิ ดฐานประกอบวิช าชีพ วิศวกรรมผิดประเภทที่ ระบุไวในใบ
อนุญาต การกระทําของนาย ก จึงเปนการฝาฝนมารยาทแหงวิชาชีพตามกฎกระทรวงฉบับที่
8 (พ.ศ.2529) ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ วิ ช าชี พ วิ ศ วกรรม พ.ศ.2505 ข อ 2(1) “ไม
กระทําการใดๆอันอาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ”

การลงโทษ: ใหลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมมีกําหนด 6 เดือน

กรณี ศึ ก ษา 8 : สามั ญ วิ ศ วกรลงลายมื อ ชื่ อ เป น ผู ต รวจสอบหม อ น้ํ า 8 แห ง เสร็ จ
ภายในวันเดียว
การปฏิบัติงานไมถูกตองตามวิธีการและขั้นตอน

เรื่อง: นาย ศ เปนสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล ไดลงลายมือชื่อเปนผูตรวจสอบหมอ


น้ําของโรงงาน 8 แหง ในจังหวัดสุโขทัยและจังหวัดฉะเชิงเทราเสร็จภายในวันเดียว

27
การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา ในเอกสารการตรวจสอบหมอไอน้ําของกรม
โรงงานอุตสาหกรรม หนา 1 ไดระบุไววา ผูตรวจจะตองทําการตรวจสภาพ และหรือทดสอบ
อยางถูกตองตามหลักวิศวกรรม แตในทางปฏิบัติ นาย ศ ไมไดดําเนินการตรวจสภาพหรือ
ตรวจสอบตามวิธีการและขั้นตอนที่กําหนดไวในเอกสารหนา 2 และหนา 3 จึงมีเจตนาหลีก
เลี่ยงที่จะตรวจสอบหมอไอน้ําใหถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ การกระทําของนาย ศ
เปนการฝาฝนมารยาทแหงวิชาชีพตามกฎกระทรวงฉบับที่ 8 (พ.ศ.2529) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ.2505 ขอ 2(2) “ตองปฏิบัติที่ไดรับทําอยางถูกตองตาม
หลัก ปฏิ บั ติ แ ละวิ ช าการ” และข อ 2 (1) “ไม ก ระทํ าการใดๆอั น อาจนํ ามาซึ่ งความเสื่ อมเสี ย
เกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ”

การลงโทษ: ใหลงโทษพักใบอนุญาตวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของนาย ศ มีกําหนด 1 ป

กรณีศึกษา 9 : ภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล ออกแบบและควบคุมการ


สรางหมออบไอน้ํา
การประกอบวิ ช าชี พ วิ ศ วกรรมควบคุ ม เกิ น ความสามารถที่ ต นเองจะ
กระทําได

เรื่อง: นาย ช เปนภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล ไดรับจางใหคํานวณและออกแบบหมอ


อบไอน้ําโดยลอกเลียนแบบจากรูปแบบที่กําหนดโดยบริษัท จ ที่เปนผูวาจางสงมาใหและจัดทํา
เปนพิมพเขียวและ ไดรับเปนวิศวกรควบคุมการสรางหมออบไอน้ําดังกลาวมาตลอด

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา โดยที่กฎหมายกําหนดวางานออกแบบ


และคํานวณอีกทั้งงานควบคุมการสรางหมออบไอน้ําเปนงานที่ผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุมสาขาวิศวกรรมเครื่องกล ประเภทภาคีวิศวกรไมมีอํานาจกระทํา จึงถือวาการกระทํา
ของนาย ก เปนการฝาฝนมารยาทแหงวิชาชีพตามกฎกระทรวงฉบับที่ 8 (พ.ศ.2529) ออก
ตามความในพระราชบั ญ ญั ติ วิ ช าชี พ วิ ศ วกรรม พ.ศ.2505 ข อ 2(7) “ไม ป ระกอบวิ ช าชี พ
วิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถที่ตนเองจะกระทําได”

การลงโทษ: ใหลงโทษเพิกถอนใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของนาย ช

28
กรณี ศึ ก ษา 10 : ภาคี วิศ วกรสาขาอุต สาหการ ประกอบวิช าชี พ ในสาขาวิศ วกรรม
เครื่องกล
การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมผิดประเภทหรือผิดสาขา

เรื่อง: นาย ช เปนภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ไดประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบ


คุมในสาขาวิศวกรรมเครื่องกล โดยการตรวจสอบรับรองความปลอดภัยในการใชหมอไอน้ํา
โรงสี ศ

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา นาย ช ซึ่งเปนภาคีวิศวกรสาขาวิศวกรรม


อุตสาหการไมมีอํานาจกระทําได เพราะเปนงานของสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล
เทานั้นที่จะมีอํานาจกระทําได การกระทําของนาย ช เปนการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบ
คุมผิดประเภทหรือผิดสาขาที่ระบุไวในใบอนุญาต จึงมีความผิดตามกฎกระทรวงฉบับที่ 8
(พ.ศ.2509) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ.2505 ขอ 2(1) “ไมกระทํา
การใดๆอันอาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ”

การลงโทษ: ใหลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของนาย ช เปน


เวลา 6 เดือน

กรณีศึกษา 11 : ภาคีวิศวกรควบคุมโรงงานที่มีคนงานกวา 800 คนและใบอนุญาต


หมดอายุ
การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินขอบเขตที่ไดรับอนุญาตและ
ใบอนุญาต หมดอายุ

เรื่อง: นาย ส เปนภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ประกอบวิชาชีพควบคุมโรงงาน ใน


ขณะที่ใบอนุญาตหมดอายุ เปนความผิดตามกฎหมาย อีกทั้งโรงงานที่นาย ส ควบคุมและรับ
ผิดชอบอยูมีคนงานกวา 800 คน

การไต ส วน : คณะอนุ ก รรมการไต ส วนฯ วิ นิ จ ฉั ย ว า นาย ส ประกอบวิ ช าชี พ ในขณะที่ ใบ


อนุญาตฯหมดอายุ ซึ่งเปนความผิดตามกฎหมายอีกทั้งควบคุมงานเกินขอบเขตความรับผิด
ชอบของภาคีวิศวกรสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ จึงเปนการฝาฝนกฎกระทรวงฉบับที่ 8 (พ.ศ.

29
2529) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ.2505 ขอ 2(1) “ไมกระทําการ
ใดๆอันอาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ”

การลงโทษ : ใหลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของนาย ส มี
กําหนด 9 เดือน

กรณีศึกษา 12 : วิศวกรทํางานใหบริษัทหนึ่งแลวไปตั้งบริษัทของตนเองเพื่อแขงขัน
ราคา
การรับงานชิ้นเดียวใหแกผูวาจางรายอื่น

เรื่อง: นาย ร เปนสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟา แขนงไฟฟาสื่อสาร ในขณะที่ทํางานเปน


วิศวกรของบริษัท ฟ มีหนาที่ออกแบบ คิดราคาและควบคุมการติดตั้งระบบไฟฟา ระหวางที่
ทํางานกับบริษัท ฟ นาย ร ไดไปตั้งบริษัท ส โดยมีนาย ร เปนกรรมการผูจัดการและมีนาย ช
ซึ่งเปนวิศวกรของบริษัท ฟ ทําหนาที่เดียวกันกับนาย ร เปนกรรมการ ตอมาบริษัท ฟ ไดยื่น
ประกวดราคาประมูลงานโดยมีนาย ร เปนผูคิดราคางาน ปรากฏวาบริษัท ส ไดเสนอราคาแขง
ขันกับบริษัท ฟ โดยที่ นาย ร ไมไดแจงใหบริษัท ฟ ทราบลวงหนา

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา การกระทําของนาย ร และนาย ช เปนการ


สอเจตนาไมสุจริตตอนายจาง พฤติการณดังกลาวของนาย ร และนาย ช ถือไดวาผิดมารยาท
แหงวิชาชีพ ตามกฎกระทรวงฉบับ ที่ 8 ออกตามความในพระราชบัญ ญั ติวิชาชีพ วิศวกรรม
พ.ศ.2505 ขอ 2(1) “ไมกระทําการใดๆอันอาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ”
นํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ และขอ 2 (13) “ไมรับดําเนินงานชิ้นเดียวกัน
ใหแกผูวาจางรายอื่นเพื่อการแขงขันราคา เวนแตไดแจงใหผูวาจางรายแรกทราบลวงหนาเปน
ลายลักษณอักษร และมิไดรับความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากผูวาจางรายแรก และได
แจงใหผูวาจางรายอื่นนั้นทราบลวงหนาแลว”

การลงโทษ: นาย ร ถูกลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมมีกําหนด


1 ป และนาย ช ถูกลงโทษพั กใบอนุญ าตเปนผูป ระกอบวิช าชีพวิศวกรรมควบคุมมี กําหนด
6 เดือน

30
สรุปและพิจารณ
กรณีศึกษาทั้ง 12 กรณีที่ยกมาเปนตัวอยางเพื่อประกอบการพิจารณานั้น เปนกรณีที่
เกิดขึ้นจริงและมีการลงโทษไปแลว จะเห็นไดวาในบางกรณีก็เกิดความเสียหายที่ปรากฏชัด
แจงแลว เชน ในกรณีพังทลาย และบางกรณีมีผูเสียชีวิต แตในบางกรณีความเสียหายชัดแจง
อาจยังไมปรากฏแตมีสิ่งบอกเหตุวาอาจเกิดความเสียหายที่รายแรงได การลงโทษหนักเบามี
ความแตกตางกัน โทษหนักจะเปนการกระทําผิดซ้ําซากหรือการไมควบคุมดูแลอยางใกลชิด
เมื่อรูอยูวางานที่ควบคุมกอสรางนั้นไมถูกหลักปฏิบัติและวิชาการ สําหรับการลงโทษทุกกรณี
จะเปนไปตามอํานาจที่ระบุไวในกฎหมายและจะมีการสงตอใหรองทุกขดําเนินคดีตอไป

กรณีศึกษาทั้ง 12 กรณีเปนการไตสวนและพิจารณาลงโทษตามกฎกระทรวงฉบับที่ 8
(พ.ศ. 2529) ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ วิ ช าชี พ วิ ศ วกรรม พ.ศ. 2505 ซึ่ ง ได กํ า หนด
มรรยาทแหงวิชาชีพของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เมื่อรางขอบังคับสภาวิศวกรวา
ดวยจรรยาบรรณแหงวิชาชีพวิศวกรรมและประพฤติผิดจรรยาบรรณ อันอาจจะนํามาซึ่ง
ความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ พ.ศ. 2543 ไดผานขั้นตอนการลงนามจากรัฐมนตรีและ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว การไตสวนและพิจารณาโทษก็จะใชจรรยาบรรณแหงวิชาชีพฯ
แทนมรรยาทแหงวิชาชีพฯ แตเนื่องจากสาระของจรรยาบรรณแหงวิชาชีพฯ เหมือนกับ มรรยาท
แหงวิชาชีพฯทุกประการ จึงคาดวาการดําเนินการไตสวนพิจารณาโทษจะมีความตอเนื่องและไมมี
ความแตกตางจากแนวเดิมที่เคยปฏิบัติกันมา

หมายเหตุ
ขอแนะนําใหอานหนังสือดังตอไปนี้
1. ”กรณี ศึ ก ษาเพื่ อ การเรีย นการสอนส งเสริม คุ ณ ธรรมและจรรยาบรรณ
สําหรับวิศวกร” ในโครงการสงเสริมคุณ ธรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยศาสตราจารย
ดร.มงคล เดชนครินทร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

31

You might also like