You are on page 1of 22

คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน

ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ


เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 1 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

ผูจัดทํา
1. 2.
…………………………………… ……………………………………
(นางนุชนาถ สุพรรณศรี) (นายอภิวัฒน เธียรพิรากุล)
ผูอ ํานวยการสวนวิชาการและการกํากับขอมูลกากอุตสาหกรรม ผูอาํ นวยการสวนอนุญาตการประกอบการ
............../..................../.............. ............../..................../..............

3. 4.
…………………………………… ……………………………………
(นายภัทรพล ลิ้มภักดี) (นางสาวปทมวรรณ คุณประเสริฐ)
ผูอ ํานวยการสวนจัดการกากอุตสาหกรรมระหวางประเทศ ผูอ ํานวยการสวนจัดการกากอุตสาหกรรมภายในประเทศ
............../..................../.............. ............../..................../..............

5. 6.
…………………………………… ……………………………………
(นายวสันต ศานติธรรมนุกูล) (นายทาวัน ทวีถาวรสวัสดิ์)
ผูอํานวยการสวนกํากับและตรวจสอบโครงการ ผูอ ํานวยการสวนกํากับการประกอบการและการขนสง
............../..................../.............. ............../..................../..............

ผูตรวจสอบ ผูอนุมตั ิ

…………………………………… ……………………………………
(นายจุลพงษ ทวีศรี) (นายพสุ โลหารชุน)
ผูอ ํานวยการสํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม
............./..................../.............. ............/..................../..............
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 2 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

1. วัตถุประสงค
เพื่อใหกระบวนการพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน เปนไปดวยความถูกตอง
เปนธรรม โปรงใส และรวดเร็ว เปนไปตามกฎหมายวาดวยโรงงาน
2. ขอบเขต
เริ่มตั้งแตรับคําขออนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน ตรวจสอบเอกสาร พิจารณาดําเนินการ
แจงผลการพิจารณา
3. คํานิยาม
3.1 “ประกอบกิจการโรงงาน” หมายถึง การประกอบกิจการโรงงานตาม
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
3.2 “ขยายโรงงาน” หมายถึง การขยายโรงงานตามพระราชบัญญัติโรงงาน
พ.ศ.2535
3.3 “โรงงานลําดับที่ 106” หมายถึง โรงงานลําดับที่ 106 ตาม พระราชบัญญัติ
โรงงาน พ.ศ. 2535
3.4 “สกอ.” หมายถึง สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
3.5 “อรอ.” หมายถึง อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม
3.6 “รรอ.” หมายถึง รองอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม
3.7 “ผอ.” หมายถึง ผูอํานวยการสํานักบริหารจัดการกาก
อุตสาหกรรม
3.8 “ผส.” หมายถึง ผูอํานวยการสวน
3.9 “วิศวกร” หมายถึง วิศวกรประจําสวนงาน
3.10 “นักวิทยาศาสตร” หมายถึง นักวิทยาศาสตรประจําสวนงาน
3.11 “จนท.เวร” หมายถึง พนักงานเจาหนาที่ผไู ดรับมอบหมายใหปฏิบัติ
หนาที่เวรประจําวัน หรือผูใหคําปรึกษาและ
พิจารณาคําขอของศูนยสารพันทันใจ
3.12 “สล.” หมายถึง สํานักงานเลขานุการกรม
3.13 “ศูนยสารพันทันใจ” หมายถึง หนวยงานที่ใหบริการที่เดียวแบบเบ็ดเสร็จ
3.14 “EIA” หมายถึง รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 3 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

3.15 “EHIA” หมายถึง รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม


สําหรับโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิด
ผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดาน
คุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและ
สุขภาพ
3.16 “ESA” หมายถึง รายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการปองกัน
และแกไขผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม
และความปลอดภัย
3.17 “รัฐมนตรี” หมายถึง รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม
3.18 “กพร.” หมายถึง คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
4. ความรับผิดชอบ
สล. เปนผูรับเรื่อง (กรณีตางจังหวัด) โดยศูนยสารพันทันใจทําหนาที่เปนหนวยงานที่ทําหนาที่
รับเรื่องตอจาก สล. (กรณีตางจังหวัด) แตเปนหนวยงานที่รับเรื่องโดยตรง (ในกรณีกรุงเทพมหานคร) รวมทั้งพิจารณา
เอกสาร คําขอและรับเรื่องการขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการ / ขยายโรงงาน ทั้งนี้ สกอ. ทําหนาที่เปนหนวยงาน
พิจารณาอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน / ขยายโรงงานลําดับที่ 106 ซึ่งอยูในความรับผิดชอบ

5. ระเบียบปฏิบัติ
ดําเนินการใหแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนด 15 วัน
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 4 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

6. ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
ศูนยสารพันทันใจ รับคําขอและตรวจสอบความครบถวน สล.รับเรื่อง (โรงงานในตางจังหวัด)
(โรงงานใน กรุงเทพฯ) กรณีเอกสารไมครบถวน จนท.เวร
ทําบันทึกความบกพรองรวมกับผูยื่นคําขอ ขอเอกสารเพิ่มเติม
ศูนยสารพันทันใจ รับเรื่อง

ไมเปนไปตามบันทึกฯ คืนเรื่อง
สงเรื่องให สกอ.

บันทึกขอมูลในระบบคอมพิวเตอร

มอบหมายงาน

วิศวกร / นักวิทยาศาสตรพิจารณาเรื่อง ตรวจทําเลที่ตั้ง


(เฉพาะโรงงานในเขต กรุงเทพฯ) และจัดทํารายงาน

ไมเห็นชอบ ผส. พิจารณา เห็นชอบ

ไมเห็นชอบ ผอ.พิจารณา เห็นชอบ

ไมเห็นชอบ รรอ. พิจารณา


เห็นชอบ

(กรณีมีรายงาน EIA/EHIA/ESA)

รับทราบ
สั่งการอื่นๆ อรอ. รับรายงาน

แจงผูยื่นคําขอทราบเหตุผลทุก ๗ วัน พรอมสําเนาแจง กพร. พิจารณาไมแลวเสร็จตามกําหนดเวลา

จบ แจงผูยื่นคําขอทราบภายใน ๗ วัน ลงนามในใบอนุญาตหรือหนังสือแจงผล


คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 5 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

7. รายละเอียดการปฏิบัติงาน
7.1 จนท.เวร ที่ปฏิบัติงานที่ศูนยสารพันทันใจ รับและตรวจสอบความครบถวนถูกตองของเอกสารที่ยื่น
ขออนุญาต เฉพาะในเขตกรุงเทพมหานคร
การพิจารณาความครบถวนถูกตองของเอกสาร การอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน (ภาคผนวก 1)
7.๒ หาก จนท.เวร ตรวจสอบพบวา คําขอและรายการเอกสารหรือหลักฐานที่ยื่นพรอมคําขอ ไมถูกตองหรือ
ยังขาดเอกสารหรือหลักฐานใดใหแจงใหผูยื่นคําขอทราบทันที ถาเปนกรณีที่สามารถแกไขหรือเพิ่มเติมไดในขณะนั้น
ใหแจงใหผูยื่นคําขอดําเนินการแกไขหรือยื่นเอกสารหรือหลักฐานเพิ่มเติมใหครบถวน
ถาเปนกรณีที่ไมอาจดําเนินการไดในขณะนั้นใหบันทึกความบกพรองและรายการเอกสารหรือหลักฐานที่
จะตองยื่นเพิ่มเติมพรอมทั้งกําหนดระยะเวลาที่ผูยื่นคําขอจะตองดําเนินการแกไขหรือยื่นเพิ่มเติมไวในบันทึกดังกลาว
ดวย และให จนท.เวร และผูยื่นคําขอลงนามไวในบันทึกนั้น
ในกรณีที่ผูยื่นคําขอไมแกไขเพิ่มเติมคําขอหรือไมสงเอกสารหรือหลักฐานเพิ่มเติมตามที่ จนท.เวร แจงใหทราบ
หรือ ตามที่ปรากฏในบันทึกที่จัดทําขางตนให จนท.เวร คืนคําขอใหแกผูยื่นคําขอ พรอมทั้งแจงเปนหนังสือถึงเหตุ
แหงการคืนคําขอใหทราบดวย
กรณีที่ จนท.เวร เห็นวา คําขอและรายการเอกสารหรือหลักฐานที่ยื่นพรอมคําขอครบถวนและถูกตอง ใหสง
เรื่องให สกอ. ตอไป
7.3 กรณีเปนเรื่องของจังหวัดที่สงใหกรมโรงงานอุตสาหกรรม พิจารณาอนุญาต ซึ่งคําขอและรายการ
เอกสารหรือหลักฐานที่ยื่นพรอมคําขอนั้นครบถวนและถูกตอง ใหสงเรื่องให สกอ. ตอไป
7.๔ เจาหนาที่ดานบริหารงานทั่วไปของ สกอ. บันทึกขอมูลลงในระบบคอมพิวเตอร พรอมนําสงเรื่องดวย
DIW-08-AD-FG-01 และสง ผส. ดําเนินการ
7.5 ผส. มอบหมายใหวิศวกร / นักวิทยาศาสตร เพื่อพิจารณาดําเนินการ
7.6 วิศวกร / นักวิทยาศาสตร พิจารณาเรื่องและตรวจสอบความถูกตองของเอกสารดังนี้ (กรณีขออนุญาต
ในเขตกรุงเทพมหานคร ขอใชรถยนตตรวจโรงงานตามระเบียบการขอใชรถยนตตรวจโรงงาน แลวจัดทํารายงาน)
การพิจารณาคําขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน (ภาคผนวก 2) และวิธีปฏิบัติงาน (Work
Instruction) สําหรับการพิจารณาอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน (ภาคผนวก 3)
7.7 วิศวกร/นักวิทยาศาสตร ตรวจสอบความถูกตองครบถวนและจัดเรียงเอกสารพรอมลงนามแลว
นําเสนอโดย DIW-08-LC-FN-03
7.8 ผส. พิจารณา/กลั่นกรอง กรณีใหแกไขหรือทบทวน คืน 7.7 ถาเห็นชอบลงนามและนําเสนอ
ผอ. พิจารณา
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 6 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

7.9 ผอ. พิจารณากลั่นกรอง กรณีใหแกไขหรือทบทวนคืน 7.8 ถาเห็นชอบลงนามหรือนําเสนอ รรอ.


ลงนามเพื่อรายงานให อรอ. รับทราบ
7.10 เมื่อ อรอ. รับทราบแลว รรอ.ลงนามในใบอนุญาต หรือหนังสือแจงผลไมอนุญาตฯ (คําสั่งไมอนุญาต)
ภายใน 7 วัน
หมายเหตุ :
1) กรณีที่การพิจารณาไมแลวเสร็จตามกําหนดเวลา ใหแจงผูยื่นคําขอทราบเหตุผลทุก ๗ วัน พรอมสําเนาแจง กพร.
ดวย จนกวาจะพิจารณาแลวเสร็จ
2) กรณีที่ไมอนุญาตใหแจงผูยื่นคําขอทราบสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรี ภายใน 30 วัน นับแตวันที่ไดรับคําสั่งไมอนุญาต
3) เรื่องที่ผานการพิจารณาอุทธรณ เรื่องกลับจากหนวยงานอื่น และเรื่องที่ผูยื่นคําขอสงรายละเอียดเพิ่มเติมตามที่ขอ
จะสงผาน สล. ให สกอ. ดําเนินการตอไป
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 7 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

ภาคผนวก 1
การพิจารณาความครบถวนถูกตองของเอกสาร การอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน

1. ความครบถวนของเอกสาร : ตรวจสอบจํานวนเอกสารที่ยื่นวาครบถวนหรือไม และมีการลงนาม


รับรองเอกสารโดยผูขออนุญาตทุกหนา โดยแบงเอกสารที่ตรวจสอบเปนดังนี้
1.1 คําขอรับใบอนุญาต (ร.ง.3)
1.2 เอกสารประกอบคําขออนุญาต
1.2.1 เอกสารแสดงสถานะผูขออนุญาต กรณีเปนบุคคล
1.2.2 เอกสารแสดงสถานะผูขออนุญาต กรณีเปนนิติบุคคล
1.2.3 เอกสารการมอบอํานาจ
1.2.4 เอกสารแสดงการมีสิทธิ์ใชที่ดิน
1.2.5 หนังสือแสดงความมั่นคงแข็งแรงและความปลอดภัยของอาคารโรงงาน
1.2.6 แบบแปลนแผนผังอาคารโรงงาน
1.3 แผนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักร
1.4 ระบบการจัดการและขจัดมลพิษและปญหาสิ่งแวดลอมดานน้ําเสีย และอากาศเสีย
1.5 ระบบการจัดการกากอุตสาหกรรมและมลพิษอื่น ๆ
1.6 วิธีการปองกันเหตุเดือดรอนรําคาญ
1.7 รายงาน EIA/EHIA กรณีเขาขายตามที่กฎหมายกําหนด
1.8 รายงาน ESA กรณีเขาขายตามที่กฎหมายกําหนด
1.9 หนังสือแสดงการไดรับการสงเสริมการลงทุน จากสํานักงานคณะกรรมการสงเสริม
การลงทุน (BOI) (ถามี)
1.10 เอกสารการตรวจสอบพิจารณาเอกสาร และขอเท็จจริงและจัดทํารายงานรับรองแทน
การปฏิบัติหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ (กรณีมอบหมายใหเอกชนเปนผูตรวจสอบ)

กรณีเปนเรื่องของจังหวัดที่สงใหกรมโรงงานอุตสาหกรรมพิจารณา ตองมีเอกสารเพิ่มเติมดังนี้
ก. เอกสารเกี่ยวกับการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมกําหนด
ข. รายงานผลการตรวจสอบของเจาหนาที่ที่มีการลงนามของผูตรวจสอบ หัวหนาฝายโรงงาน
ที่เกี่ยวของและอุตสาหกรรมจังหวัด
ค. หนังสือนําสงเรื่องใหกรมโรงงงานอุตสาหกรรมที่ลงนามโดยผูวา ราชการจังหวัดหรือผูไดรับ
มอบหมายหรืออุตสาหกรรมจังหวัด ใหระบุความเห็นวา “เห็นควรอนุญาต” หรือ “เห็นควรไมอนุญาต” ในหนังสือ
นําสงดวย
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 8 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

2. ความถูกตองของเอกสาร : ตรวจดูรายละเอียดของเอกสารวาถูกตองหรือไม
2.1 คําขออนุญาต (จํานวน 3 ชุด)
2.1.1 ตองเปนแบบคําขอ (รง.3) ที่กําหนดตามประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง
กําหนดหลักเกณฑการขออนุญาต และการอนุญาตเกี่ยวกับโรงงานจําพวกที่ 3 พ.ศ. 2550 แบบคําขอสามารถถาย
สําเนาหรือดาวนโหลดไดจากเว็บไซตของกรมโรงงานอุตสาหกรรมหามเปลี่ยนหรือดัดแปลงรูปแบบเอกสาร
2.1.2 รายละเอียดการกรอกขอมูลในคําขอ ตองครบถวน (ถาไมมีใหระบุวา “ไมม”ี หรือใช
เครื่องหมาย “-” แทน)
2.1.3 คําขอทุกหนาตองมีการลงลายมือชื่อของผูขออนุญาต (ในกรณีที่เปนนิติบุคคล ใหปฏิบัติ
ตามขอกําหนดในหนังสือรับรองการจดทะเบียนเปนนิติบุคคล) หรือผูที่ไดรับมอบอํานาจใหลงนามแทนผูขออนุญาต หาม
ถายสําเนาลายมือชื่อ
2.1.4. รายการเครื่องจักร วัตถุดิบ (ของเสีย) ผลิตภัณฑ ตองเปนภาษาไทย หรือเปน
ภาษาไทยโดยมีภาษาอื่นกํากับ
2.1.5 กรณีมีรายการแกไขขอมูลตองลงนามกํากับการแกไขโดยผูขออนุญาตหรือผูที่ไดรับ
มอบหมายใหดําเนินการแทน
2.2 เอกสารประกอบคําขออนุญาต (จํานวน 3 ชุด)
2.2.1 เอกสารแสดงสถานะผูข ออนุญาตกรณีเปนบุคคล
(1) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูขออนุญาต
(๒) สําเนาทะเบียนบานของผูขออนุญาต
(3) กรณีเปนบุคคลตางดาวใหใชสําเนาหนังสือเดินทาง (Passport)
(๔) เอกสารตาม (๑) – (๓) ตองมีการลงนามรับรองเอกสารโดยผูขออนุญาตทุกหนา
2.2.๒ เอกสารแสดงสถานะผูข ออนุญาต กรณีเปนนิติบุคคล
(1) สําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล ตองคัดสําเนาไวไมเกิน 3 เดือน
นับตั้งแตวันคัดสําเนาจนถึงวันที่ยื่นคําขอฯ โดยมีวัตถุประสงคของนิติบุคคลตรงกับประเภทของการประกอบกิจการ
โรงงาน
(2) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูแทนนิติบุคคล
(3) สําเนาทะเบียนบาน
(4) กรณีเปนบุคคลตางดาวใหใชสําเนาหนังสือเดินทาง (Passport)
(5) เอกสารตาม (1) – (4) ตองมีการลงนามรับรองเอกสารโดยผูขออนุญาต
๒.2.3 เอกสารการมอบอํานาจ
(1) ตนฉบับมอบอํานาจใหดําเนินการแทนอยางใดอยางหนึ่งเพียงอยางเดียวที่ติด
อากรแสตมป 10 บาท หรือสําเนาตนฉบับหนังสือมอบอํานาจกรณีเปนการมอบหมายใหดําเนินการแทนหลายอยาง
โดยใหติดอากรแสตมป 30 บาท แลวแตกรณี (ตองมีพยาน 2 คน)
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 9 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

(2) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูมอบและผูรับมอบอํานาจ
(3) สําเนาทะเบียนบานของผูมอบและผูรับมอบอํานาจ
(4) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของพยาน 2 คน
(5) เอกสารตาม (1) – (4) ตองมีการลงนามรับรองเอกสารโดยผูขออนุญาตทุกหนา
๒.2.4 เอกสารแสดงการมีสิทธิ์
(1) กรณีผูขออนุญาตเปนเจาของที่ดิน ใหแนบหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดิน คือ
สําเนาโฉนดที่ดิน (นส.4) หนังสือรับรองการใชประโยชนที่ดนิ (นส.3 หรือ นส.3.ก.)
(2) กรณีผูขออนุญาตไมไดเปนเจาของที่ดิน ใหแนบหนังสือยินยอมใหใชที่ดิน
เพื่อขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานหรือขยายโรงงานจากผูเปนเจาของที่ดิน พรอมสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน
ของเจาของที่ดิน
(3) กรณีเปนที่ดินของรัฐตองไดรับการอนุญาตใหใชที่ดินเพื่อขออนุญาตตั้งโรงงาน
จากหนวยงานของรัฐที่กํากับดูแลที่ดินตามกฎหมาย
(4) กรณีที่ใชที่ดินหลายแปลงในการขออนุญาตใหแนบแผนผังรวมโฉนดที่ดินโดยมี
คํารับรองจากสํานักงานที่ดินในทองที่ที่จะตั้งโรงงาน
(5) เอกสารตาม (1) – (4) ตองมีการลงนามรับรองเอกสารโดยผูขออนุญาตทุกหนา
๒.2.5 หนังสือแสดงความมั่นคงแข็งแรงและความปลอดภัยของอาคารโรงงาน
(1) กรณีอยูในเขตควบคุมอาคารตามกฎหมายวาดวยการควบคุมเอกสารใหแนบ
สําเนาเอกสารการอนุญาตตามกฎหมายดังกลาว
(2) กรณีอยูนอกเขตควบคุมตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคารใหแนบ
แบบรายการกอสรางอาคารโรงงานที่มีการรับรองของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมทุกหนา
(3) กรณีเปนอาคารเดิม (อาคารเกาที่มีกอสรางมากอน) หรืออาคารที่ไมไดรับ
อนุญาตกอสรางเปนโรงงาน ใหแนบเอกสารการตรวจสอบรับรองความมั่นคง แข็งแรงและความปลอดภัยของอาคาร
จากผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมทุกหนา
(4) เอกสารตาม (1) – (3) ตองมีการลงนามรับรองเอกสารโดยผูขออนุญาตทุกหนา
๒.2.6 แบบแปลนแผนผังอาคารโรงงาน
(1) แผนที่แสดงบริเวณที่ตั้งโรงงาน และสิ่งปลูกสรางตางๆ ในพื้นที่ใกลเคียง ถามี
สาธารณสถานใหระบุระยะหางไวดวย
(2) แผนผังแสดงรายละเอียดสิ่งปลูกสรางตางๆ ภายในบริเวณโรงงาน
(3) แบบแปลนอาคารโรงงานที่มีขนาดเหมาะสม ถูกตองตามมาตราแสดงภาพ
ลักษณะอาคารดานหนา ดานขาง ประตูทางเขา-ออก บันได ทางหนีไฟ
(4) มีการลงนามรับรองความมั่นคง แข็งแรง และปลอดภัยจากผูประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมในแบบแปลน ในแผนผังตามขอ (1) – (3) ทุกหนา
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 10 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

๒.3 แผนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักร (จํานวน 3 ชุด)


แผนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักรในอาคารขนาดเหมาะสมถูกตองตามมาตราสวน พรอมรายละเอียด
เครื่องจักรที่เปนภาษาไทย และถูกตองตรงกับลําดับรายการเครื่องจักรที่แสดงในคําขอรับใบอนุญาต (ร.ง.3) พรอมมี
การลงนามรับรองเกี่ยวกับความปลอดภัยในการติดตั้งเครื่องจักรของวิศวกร ตามขอกําหนดของสภาวิศวกร รวมทั้งตอง
มีการลงนามรับรองเอกสารโดยผูขออนุญาตทุกหนา
๒.4 ระบบการจัดการและขจัดมลพิษและปญหาสิ่งแวดลอมดานน้ําเสีย และอากาศเสีย (จํานวน 3 ชุด)
๒.4.1 แผนภูมิแสดงรายละเอียดขั้นตอนการผลิต ปริมาณและจุดที่เกิดปญหาสิ่งแวดลอม
ไดแก น้ําเสีย อากาศเสีย และมลพิษอื่นๆ ตองมีการลงนามรับรองการออกแบบของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรควบคุม
ทุกหนา
๒.4.2 เอกสารแสดงคําอธิบายรายละเอียดรายการคํานวณการออกแบบคุณลักษณะของ
มลพิษที่ใชในการออกแบบ ชนิดของระบบบําบัด วิธีการปองกันเหตุเดือดรอนรําคาญ ความเสียหาย อันตราย และ
การควบคุมการปลอยของเสีย ตองมีการลงนามรับรอง โดยผูประกอบวิชาชีพวิศวกรควบคุมทุกหนา

๒.4.3 แบบแปลน แผนผังของระบบฯตองมีการลงนามรับรองการออกแบบของผูประกอบ


วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมทุกหนา
๒.4.4 เอกสารตามขอ ๒.๔.1-๒.๔.3 ตองมีการลงนามรับรองเอกสารโดยผูขออนุญาตทุกหนา
๒.5 ระบบการจัดการกากอุตสาหกรรมและมลพิษอื่นๆ (จํานวน 3 ชุด)
เอกสารแสดงคําอธิบายถึงรายละเอียดชนิด วิธีการการกําจัด จัดเก็บ และปองกันเหตุเดือดรอน
รําคาญ ความเสียหายอันตราย และการควบคุมกากอุตสาหกรรม และตองมีการลงนามรับรองเอกสาร โดยผูขอ
อนุญาตทุกหนา
๒.6 วิธีการปองกันเหตุเดือดรอนรําคาญ (จํานวน 3 ชุด)
เอกสารแสดงคําอธิบายถึงรายละเอียด รายการคํานวณการออกแบบชนิด วิธีการปองกันเหตุ
เดือดรอนรําคาญ ความเสียหาย อันตรายและการควบคุมการปลอยมลพิษอื่นๆ เชน มลพิษทางเสียง แสง ความ
สั่นสะเทือนตองมีการลงนามรับรองโดยผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม และตองมีการลงนามรับรองเอกสาร
โดยผูขออนุญาตทุกหนา
๒.7 รายงาน EIA/EHIA กรณีเขาขายตามที่กฎหมายกําหนด (จํานวน 3 ชุด)
๒.7.1 รายงาน EIA/EHIA ฉบับสมบูรณทผี่ านความเห็นชอบจากสํานักงานนโยบายและ
แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) และตองมีการลงนามรับรองเอกสารโดยผูขออนุญาตทุกหนา
๒.7.2 เอกสารแสดงผลการพิจารณาเห็นชอบรายงาน EIA/EHIA จากสํานักงานนโยบาย
และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) และสําเนา 2 ชุด ตองมีการลงนามรับรองตนฉบับและสําเนา
โดยผูขออนุญาตทุกหนา
๒.8 รายงาน ESA กรณีเขาขายตามที่กฎหมายกําหนด (จํานวน 3 ชุด)
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 11 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

รายงาน ESA แสดงผลการพิจารณาเห็นชอบรายงานฯ จากหนวยงานที่เกี่ยวของ ตองมีการลงนาม


รับรองเอกสารโดยผูขออนุญาตทุกหนา
๒.9 การไดรับสงเสริมการลงทุน (จํานวน 3 ชุด)
หนังสือแสดงการไดรับการสงเสริมการลงทุน จากสํานักงานการสงเสริมการลงทุน (BOI) พรอม
สําเนา 2 ชุด และตองมีการลงนามรับรองเอกสารโดยผูขออนุญาตทุกหนา
๒.10 เอกสารการตรวจสอบพิจารณาเอกสารและขอเท็จจริงและจัดทํารายงานรับรองแทนการปฏิบัติ
หนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ (กรณีมอบหมายใหเอกชนเปนผูตรวจสอบ) ตามระเบียบกระทรวงอุตสาหกรรมวาดวย
การตรวจสอบพิจารณาเอกสารและขอเท็จจริงและจัดทํารายงานรับรองแทนการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่
พ.ศ. ๒๕๕๗
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 12 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

ภาคผนวก 2
การพิจารณาคําขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
1 ทั่วไป
1.1 โรงงานจําพวกที่ 3 ไดแก โรงงาน ประเภท ชนิด และขนาด ตามบัญชีทายกฎกระทรวง (พ.ศ.
2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ที่การตั้งโรงงานจะตองไดรับใบอนุญาตกอนจึงจะ
ดําเนินการได ทั้งนี้ รวมถึงเมื่อมีประกาศของรัฐมนตรีตามมาตรา 32(1) ใหโรงงานที่กําหนดในประกาศดังกลาว
เปนโรงงานจําพวกที่ 3 ดวย
๑.๒ หามตั้งโรงงานจําพวกที่ 3 นอกเขตประกอบการอุตสาหกรรมตามมาตรา 30 แหง
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 หรือนิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายวาดวยการนิคมอุตสาหกรรมกอนไดรับ
ใบอนุญาต
1.3 การยื่นคําขอรับใบอนุญาต
1. โรงงานในเขตกรุงเทพมหานคร ใหทําคําขอตามแบบ ร.ง.3 จํานวน 2 ฉบับ ยื่นตอ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
(2) โรงงานในสวนภูมิภาคใหทําคําขอตามแบบ ร.ง.3 จํานวน 3 ฉบับ ยื่นตอสํานักงาน
อุตสาหกรรมจังหวัด
1.4 ขั้นตอนและระยะเวลาดําเนินการที่กําหนดในกฎกระทรวง กําหนดหลักเกณฑการอนุญาตและ
การอนุญาตเกี่ยวกับโรงงานจําพวกที่ 3 พ.ศ. 254๙ และประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการลดระยะเวลา
การปฏิบัติงานฯ พ.ศ. 2557
1.5 ผูอนุญาต คือ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมหรือผูซึ่งปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมมอบหมาย
2.2 เรื่องที่ตั้งและสภาพแวดลอมของโรงงาน
พิจารณาหลักเกณฑเกี่ยวกับที่ตั้งโรงงาน ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม กฎกระทรวงวาดวยการประกาศใช
ผังเมืองตามกฎหมายวาดวยผังเมือง พื้นที่หามตั้งโรงงานตามกฎหมายควบคุมอาคาร กฎกระทรวงและประกาศ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กําหนดเขตพื้นที่และมาตรการปองกันสิ่งแวดลอมตามกฎหมาย
สิ่งแวดลอม และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้ คือ
2.2.1 ที่ตั้งและสภาพแวดลอมโรงงาน ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
(๑) หามตั้งโรงงานจําพวกที่ 3 ในบริเวณ
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 13 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

(1.1) บานจัดสรรเพื่อการพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย และบานแถวเพื่อการพัก


อาศัย ตามขอ 2(1) แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
(1.2) ภายในระยะ 100 เมตร จากเขตติดตอสาธารณสถาน ไดแก โรงเรียนหรือ
สถาบันการศึกษา วัดหรือศาสนสถาน โรงพยาบาล โบราณสถาน และสถานที่ทําการงานของหนวยงานของรัฐ และ
ใหหมายความรวมถึงแหลงอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด ตามขอ 2(2)
แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

หมายเหตุ : 1) สถานที่ทําการงานของหนวยงานของรัฐตาม ข. ไมหมายความรวมถึงสถานที่ทําการงานโดยเฉพาะ


เพื่อการควบคุม กํากับ ดูแล อํานวยความสะดวก หรือใหบริการแกการประกอบกิจการของโรงงานแหงนั้น ๆ ตาม
ขอ 3 แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
2) มีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ใหรนหรือไมใชบังคับขอกําหนดเกี่ยวกับระยะทางระหวาง
โรงงานและเขตติดตอสาธารณสถาน พ.ศ. ๒๕๔๕ ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ลงวันที่
2 กันยายน พ.ศ. 254๕ มิใหใชบังคับและใหรนระยะหางตามขอ 2.2.1(1.2) สําหรับโรงงานบางประเภท

(2) โรงงานตองตั้งอยูในทําเลและสภาพแวดลอมที่เหมาะสม มีบริเวณเพียงพอที่จะ


ประกอบกิจการอุตสาหกรรม ตามขนาดและประเภทหรือชนิดของโรงงาน โดยไมอาจกอใหเกิดอันตรายเหตุรําคาญ
หรือความเสียหายตอบุคคลหรือทรัพยสินของผูอื่น ตามขอ 4 แหงกฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
2.2.2 ที่ตั้งโรงงาน ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรมไดออกประกาศควบคุมการตั้งโรงงานในบางทองที่โดยอาศัยอํานาจ
ตามมาตรา 32(1) แหงพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ตามมาตรา 33(1) แหงพระราชบัญญัติโรงงาน
พ.ศ. 2512 ที่มีผลบังคับ รวมทั้งรัฐมนตรีไดมีนโยบายโดยออกประกาศที่มิไดอางขอกฎหมาย ซึ่งจะตองนํามา
ประกอบการพิจารณา
2.2.3 ที่ตั้งโรงงานตามกฎกระทรวงวาดวยการบังคับใชผงั เมืองตามกฎหมายวาดวยผังเมือง
ใหนําขอบังคับผังเมืองรวมตามกฎหมายวาดวยการผังเมือง มาประกอบการพิจารณาดวย
2.2.4 ที่ตั้งโรงงานตามกฎหมายควบคุมอาคาร
กฎกระทรวง ฉบับที่ 17 (พ.ศ. 2530) และเทศบัญญัติและขอบัญญัติตาง ๆ เกี่ยวกับการ
หามกอสรางอาคารโรงงานที่ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ตองนํามาประกอบการ
พิจารณาดวย
2.2.5 ที่ตั้งโรงงานตามกฎกระทรวง และประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม กําหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุมครองสิ่งแวดลอมตามกฎหมายสิ่งแวดลอม การกําหนดพื้นที่หามตั้ง
โรงงานตามกฎหมายสิ่งแวดลอม ตองนํามาประกอบการพิจารณาดวย
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 14 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

2.2.6 ที่ตั้งโรงงานตามมติคณะรัฐมนตรี
2.2.7 หลักเกณฑเกี่ยวกับที่ตั้งโรงงานอื่น ๆ เชน เกณฑเกี่ยวกับที่ตั้งและบริเวณเนื้อที่
โรงงานบางประเภท
หมายเหตุ : กรณีทตี่ ั้งโรงงานขัดตอหลักเกณฑตาม (2.2.2) ถึง (2.2.7) ขอใดขอหนึ่งหรือหลายขอรวมกัน ใหถือวา
ขัดตอกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 หมวด ๑ ขอ 4
ตาม (1.2) ดวย
2.3 เรื่องลักษณะอาคารโรงงาน
พิจารณาความเหมาะสมและถูกตองเกี่ยวกับอาคารโรงงานที่แสดงตามแบบแปลน (กรณีสรางใหม)
หรือที่ตรวจพบ (กรณีอาคารมีอยูเดิม) วาเปนไปตามขอ 5 แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535)
ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 หรือไม ดังนี้ คือ
2.3.1 ตองมั่นคง แข็งแรง เหมาะสม และมีบริเวณเพียงพอที่จะประกอบกิจการอุตสาหกรรม
นั้น ๆ โดยมีคํารับรองของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ทั้งนี้ เกี่ยวกับเรื่องโครงสรางความแข็งแรง การกอสราง และ
การใชอาคาร
สําหรับโรงงานในเขตกรุงเทพมหานคร การตรวจจะตรวจสอบสภาพอาคาร ที่ปรากฏเห็น
เชน อาคารมีการแตกราว หรือทรุดตัว หรือมีสภาพผิดปกติ เนื่องจากอยูในเขตควบคุมการกอสรางตามกฎหมาย
ควบคุมอาคาร ดังนั้น ใหอยูในการควบคุมดูแลของกรุงเทพมหานคร
สําหรับโรงงานในสวนภูมิภาค
โรงงานในเขตควบคุมการกอสรางอาคารตามกฎหมายควบคุมอาคารใหอยูในการควบคุมดูแล
ของหนวยงานกระทรวงมหาดไทย ในสวนของพนักงานเจาหนาที่สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดจะตรวจสอบสภาพ
อาคาร เชน อาคารมีการแตกราว หรือทรุดตัว หรือมีสภาพผิดปกติ
โรงงานนอกเขตควบคุมการกอสรางอาคารตามกฎหมายควบคุมอาคารจะใหผูไดรับอนุญาต
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมรับรองในเรื่อง ดังกลาว ในสวนของพนักงานเจาหนาที่สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
จะตรวจสอบสภาพอาคาร เชน อาคารมีการแตกราว หรือทรุดตัว หรือมีสภาพผิดปกติ
2.3.2 มีการระบายอากาศที่เหมาะสม โดยใหมีพื้นที่ประตู หนาตาง และชองลม รวมกันโดย
ไมนับที่ติดตอระหวางหองไมนอยกวา 1 ใน 10 สวนของพื้นที่ของหอง หรือมีการระบายอากาศไมนอยกวา 0.5
ลูกบาศกเมตรตอนาที ตอคนงานหนึ่งคน
2.3.3 มีประตูหรือทางออกใหพอกับจํานวนคนในโรงงานที่จะหลบหนีภัยออกไปไดทันทวงที
เมื่อมีเหตุฉุกเฉินขึ้นอยางนอยสองแหงอยูหางกันพอสมควร บานประตูเปดออกไดงายมีขนาดกวางไมนอยกวา 110
เซนติเมตร และสูงไมนอยกวา 200 เซนติเมตร แตถามีคนในโรงงานที่จะตองออกตามทางนี้มากกวา 50 คน ตองมี
ขนาดกวางเพิ่มขึ้นในอัตราสวนไมนอยกวา 2 เซนติเมตรตอหนึ่งคน และมีบันไดระหวางชั้นอยางนอยสองแหงอยู
หางกันพอสมควร
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 15 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

2.3.4 บันไดตองมั่นคงแข็งแรง มีลักษณะ ขนาด และจํานวนที่เหมาะสมกับอาคารโรงงาน


และการประกอบกิจการอุตสาหกรรมนั้น ๆ ขั้นบันไดตองไมลื่นและมีชวงระยะเทากันโดยตลอด บันไดและพื้นทางเดิน
ที่อยูสูงจากระดับพื้นตั้งแต 1.50 เมตร ขึ้นไป อยางนอยตองมีราวที่มั่นคงแข็งแรง และเหมาะสม ทั้งนี้ อาจมี
สวนประกอบอื่นเพื่อปองกันอันตรายหรือยกเวนการจัดใหมีราวดังกลาวไดตามที่รัฐมนตรีกําหนดและประกาศในราช
กิจจานุเบกษา
2.3.5 ระยะดิ่งระหวางพื้นถึงเขตเพดานโดยเฉลี่ยตองไมนอยกวา 3.00 เมตร เวนแตจะมี
การจัดระบบปรับอากาศหรือมีการระบายอากาศที่เหมาะสม แตระยะดิ่งดังกลาวตองไมนอยกวา 2.30 เมตร

หมายเหตุ : อาคารที่มีความสูงหลายระดับ มีการคํานวณความสูงเฉลี่ยของอาคาร


2.3.6 พื้นตองมั่นคง แข็งแรง ไมมีน้ําขัง หรือลื่น อันอาจกอใหเกิดอุบัติเหตุไดงาย
2.3.7 บริเวณหรือหองทํางานตองมีพื้นที่ปฏิบัติงานไมนอยกวา 3 ตารางเมตร ตอคนงาน
หนึ่งคน โดยการคํานวณพื้นทีใ่ หนับรวมพื้นที่ที่ใชงานโตะปฏิบัติงาน เครื่องจักร ผลิตภัณฑ หรือวัสดุที่เคลื่อนไปตาม
กระบวนการผลิตดวย
2.3.8 วัตถุที่ใชในการกอสรางตองเหมาะสมกับการประกอบกิจการอุตสาหกรรม ตามขนาด
ประเภทหรือชนิดของโรงงาน รวมทั้งที่ไมกอใหเกิดการลุกลามของอัคคีภัย
2.3.9 จัดใหมีสายลอฟาตามความจําเปนและเหมาะสม
2.3.10 จัดใหมีที่เก็บรักษาวัตถุหรือสิ่งของที่อาจกอใหเกิดอันตรายหรืออัคคีภัยไดงายไวใน
ที่ปลอดภัย
2.3.11 ในกรณีมีลิฟต ลิฟตตองมีสวนปลอดภัยไมนอยกวาสี่เทาของน้ําหนักที่กําหนดใหใช
ทั้งนี้ โดยถือวาคนที่บรรทุกมีน้ําหนัก 70 กิโลกรัมตอหนึ่งคน และตองเปนแบบที่จะเคลื่อนที่ไดก็ตอเมื่อประตูไดปด
แลว รวมทั้งตองมีระบบสงสัญญาณเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินดวย ลิฟตตองมีปายระบุจํานวนคนหรือน้ําหนักที่จะบรรทุกได
ใหเห็นไดงายและชัดเจน
2.3.12 มีหองสวม ที่ปสสาวะ และสถานที่ทําความสะอาดรางกาย ดังตอไปนี้ มีหองสวม
อยางนอยในอัตราคนงานไมเกิน 15 คน 1 ที่นั่ง คนงานไมเกิน 40 คน 2 ที่นั่ง คนงานไมเกิน 80 คน 3 ที่นั่ง และ
เพิ่มขึ้นตอจากนี้ในอัตราสวน 1 ที่นั่งตอจํานวนคนงานไมเกิน 50 คน สําหรับโรงงานที่มีคนงานชายและคนงานหญิง
รวมกันมากกวา 15 คน ใหจัดสวมแยกไวสําหรับคนงานหญิงตามอัตราสวนที่กําหนดขางตนดวย อาคารโรงงานที่มี
คนงานทําอยูหลายชั้น ตองจัดใหมีหองสวมและที่ปสสาวะในชั้นตาง ๆ ตามความจําเปนและเหมาะสม
หมายเหตุ : 1) กิจการบางประเภท มีขอกําหนดเกี่ยวกับลักษณะอาคารโดยเฉพาะ ตองนําหลักเกณฑดังกลาวมา
ประกอบการพิจารณาดวย
2) มีขอกําหนดเกี่ยวกับลักษณะอาคารตามกฎหมายอื่น เชน กฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร
สามารถใชเปนแนวทางได
2.4 เรื่องเครื่องจักร อุปกรณ หรือสิ่งที่นํามาใชในโรงงาน
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 16 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

2.4.1 พิจารณาความเหมาะสมเกี่ยวกับเครื่องจักร เครื่องอุปกรณ ที่ตองมีมาตรการปองกันตาง ๆ


(1) ความสั่นสะเทือน เสียง คลื่นวิทยุรบกวนผูอยูอาศัยใกลเคียง
(2) อันตรายจากสวนที่เคลื่อนไหวของเครื่องจักร
(3) อันตรายจากหมอน้ํา หมอตมที่ใชของเหลวเปนสื่อนําความรอน เครื่องอัดกาซ ถังปฏิกิริยา
และระบบทอ เครื่องจักรหรือภาชนะที่ทํางานสนองกัน ภาชนะบรรจุที่มีความกดดันตางจากบรรยากาศ ภาชนะบรรจุ
วัตถุอันตราย เครื่องยก เครื่องลําเลียง เปนตน ตามขอ 6 แหงกฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
2.4.2 ประเมินกําลังแรงมาเครื่องจักร ที่แสดงไวในแบบแปลนแสดงการติดตั้งเครื่องจักรตาม
หลักเกณฑและวิธีการที่กําหนด หรือโดยอาศัยความรูทางดานวิศวกรรม
หมายเหตุ : 1) การใชเครื่องจักร อุปกรณ ของโรงงานบางชนิด ที่มีขอกําหนดเฉพาะ ตองนําหลักเกณฑดังกลาวมา
ประกอบการพิจารณาดวย
2) มาตรการความปลอดภัยในการใชงานเครื่องจักร มีกําหนดในกฎหมายคุมครองแรงงาน
สามารถศึกษาเปนแนวทางได
๒.๕ เรื่องกระบวนการผลิต
ศึกษากระบวนการผลิตโดยละเอียด และพิจารณารายการและคุณลักษณะของเครื่องจักรสําคัญที่ใช
รายละเอียดชนิดของวัตถุดิบ แหลงที่มาของวัตถุดิบ กําลังการผลิต การสมดุลมวลสาร รวมทั้ง พิจารณาประเภทของ
วัตถุดิบวาเปน ของเสียอันตรายหรือไม
2.5.1 การตรวจสอบแบบแปลน แผนผัง และคําอธิบาย
(๑) กรรมวิธีการรีไซเคิลของเสียเปนขั้นตอน แสดงใหทราบวา ของเสียออกจากจุดใด
และมีคุณสมบัติอยางไร
(๒) ปริมาณสารเคมีและไฟฟาที่ใชในกระบวนการผลิต
(๓) อัตราการปอนวัตถุดิบตอชั่วโมงหรือตอวัน
(๔) รายละเอียดการคํานวณและที่มาของคาตางๆ ในการออกแบบ พรอมเอกสารอางอิง
ของการคํานวณ
(๕) แบบแปลนการกอสรางของระบบ ตองมีลายมือชื่อของวิศวกรผูออกแบบและวงเล็บ
ตัวบรรจง พรอมดวยหมายเลขใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม และลายมือชื่อของผูรับใบอนุญาตฯ และประทับตราเปน
สําคัญ ทั้งในรายการคํานวณและแบบแปลน
2.5.2 การพิจารณาความถูกตองแบบแปลน แผนผัง และคําอธิบาย
(๑) กรณีขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
ตรวจสอบคุณสมบัติ และปริมาณของของเสีย เพื่อประเมินถึงขนาดและหนวยปฏิบัติการ
(Operation unit) ที่ควรจะตองใชในระบบ
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 17 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

ก. ตรวจสอบแบบแปลนระบบรีไซเคิล ไดแก ขั้นตอนการรีไซเคิล (Flow diagram)


และหนวยปฏิบัติการ (Operation unit) แปลนระบบ (Plant layout) และระดับชลศาสตร (Hydraulic profile) (ถามี)
รูปตัดแสดงรายละเอียดของหนวยปฏิบัติการในระบบ (Cross-section of operation unit) เพื่อประเมินความ
เหมาะสมวาแบบแปลนถูกตอง ตามหลักวิชาการและตรงกับคาที่ใชในการคํานวณหรือไม
ข. ตรวจสอบรายละเอียดการคํานวณและที่มาของคาตางๆ ที่ใชในการออกแบบ
ไดแก ขอมูล และคาตางๆ ที่ใชในการคํานวณออกแบบ การออกแบบขั้นกระบวนการ (Process design) ซึ่งจะแสดง
ไวในรายการคํานวณ โดยพิจารณาถึงกระบวนการบําบัดที่เสนอมาวาถูกตองใชไดตามหลักวิชาการหรือไม
ค. ตรวจสอบคาที่เหมาะสมที่ใชในการคํานวณ (Design criteria) โดยพิจารณาจาก
คาที่ไดจากการทดลองในหองปฏิบัติการ จากคาที่เปนมาตรฐานในหนังสืออางอิงที่เชื่อถือไดหรือจากตัวอยางของ
ระบบอื่น ๆ ที่ใชไดผลและเคยศึกษารวบรวมไว วาสอดคลองมีความเปนไปได ตามคาทีอ่ อกแบบไวหรือไม หากคาใด
ผิดแปลกไปก็ตองมีหลักฐานอางอิงที่เชื่อถือได
ง. ตรวจสอบการออกแบบทางดานวิศวกรรม (Engineering design) โดยพิจารณา
ตรวจสอบจากรายละเอียดทางดานวิศวกรรม ซึ่งจะแสดงไวในแบบแปลนพิมพเขียววามีลกั ษณะถูกตองใชไดตาม
หลักเกณฑพื้นฐานทางวิศวกรรมหรือไม เพราะเปนจุดสําคัญมากที่จะทําใหระบบสามารถใชงานไดตามที่ไดรับการ
ออกแบบมา
จ. ประเมินมาตรการปองกันการปนเปอนของสภาพแวดลอมและความสามารถใน
การรองรับของแหลงรองรับความสกปรกวาสามารถรองรับไดหรือไม และจะมีผลกระทบใดเกิดขึ้นหรือไม
(๒) กรณีขออนุญาตขยายโรงงาน
หลักเกณฑการพิจารณาตลอดจนการตรวจแบบจะเหมือนกับการขออนุญาตประกอบ
กิจการโรงงาน มีรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้
ก. ลักษณะและปริมาณของเสียสวนที่ไดรับอนุญาตเดิม ตลอดจนประสิทธิภาพของ
ระบบเดิมวาเหมาะสมเพียงไร (Past performance)
ข. ลักษณะและปริมาณของเสียที่จะเกิดขึ้นจากสวนขยาย
ค. ความสามารถของระบบเดิมที่จะรับของเสียจากสวนขยายไดหรือไม
ง. ความจําเปนที่จะตองขยายระบบเดิมหรือสรางระบบใหม หากระบบเดิมไมพอ
จ. ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นตอสภาพแวดลอมและแหลงรองรับในการรับความ
สกปรกที่จะเพิ่มขึ้นจากการขยายโรงงาน
การพิจารณาแบบแปลนระบบใหอยูในดุลยพินิจตามหลักวิชาการของเจาหนาที่วิศวกร
ผูตรวจแบบ
2.5.3 หลักเกณฑการพิจารณา
(1) กรณีที่ขอมูลการคํานวณและแบบแปลนถูกตองตามหลักวิชาการและมีทฤษฎี
รองรับแหลงอางอิงที่นาเชื่อถือไดวาระบบมีประสิทธิภาพและมีวิศวกรลงนามถูกตอง อยูในเกณฑอนุญาต
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 18 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

(2) กรณีที่ขอมูลขัดแยงกับหลักวิชาการโดยสิ้นเชิง ไมมีทฤษฎีรองรับหรือแหลงอางอิง


ที่นาเชื่อถืออยูในเกณฑไมอนุญาต
(3) กรณีที่ขอมูลเปนไปตามหลักวิชาการ แตขาดความสมบูรณ หรือขัดแยงกับคาใน
การออกแบบหรือทฤษฎีที่เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไป หรือไมสามารถอางอิงหลักฐานทางวิชาการไดพอเพียง ควรขอ
เอกสารการชี้แจงเพิ่มเติม เพื่อขยายความของระบบบําบัดใหละเอียดประกอบการพิจารณาตามหลักวิชาการอยางสม
เหตุผล
2.6 เรื่องมาตรการควบคุม การปลอยของเสีย/มลพิษ
(1) ตองเปนไปตามมาตรการปองกันและลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมตามที่กําหนดใน EIA/EHIA/ESA
(2) กรณีที่มีสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ตองปฏิบัติตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการ
กําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว พ.ศ.2548 ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
3 วิธีการกําหนดเงื่อนไขที่ผูประกอบกิจการตองปฏิบัติเปนพิเศษไวในใบอนุญาต
กรณีเรื่องที่มิไดมีหลักเกณฑกําหนดไวตามกฎกระทรวง หรือประกาศกระทรวงแหงพระราชบัญญัติโรงงาน
พ.ศ. 2535 ใหพิจารณาโดยคํานึงถึงความปลอดภัยของบุคคลหรือทรัพยสินที่อยูในโรงงาน หรือเปนกรณีที่ตองปฏิบัติ
ตามประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามมาตรา 32 ในการนี้จะกําหนดเงื่อนไขที่ผูประกอบกิจการโรงงานจะตองปฏิบัติ
เปนพิเศษไวในใบอนุญาตก็ได
เงื่อนไขที่กําหนดในใบอนุญาตดังกลาว หากผูอนุญาตเห็นสมควรยกเลิก หรือเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเงื่อนไข
ใหเหมาะสม เพื่อใหผูรับใบอนุญาตปฏิบัติในการประกอบกิจการโรงงาน ก็ใหมีหนังสือสั่งการใหปฏิบัติได
ผูรับใบอนุญาตผูใดตองการยกเลิก หรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่ตองปฏิบัติในการประกอบกิจการโรงงาน
ใหยื่นคําขอและชี้แจงเหตุผลตอผูอนุญาต ใหผูอนุญาตพิจารณาและมีหนังสือสั่งการโดยมิชักชา
การพิจารณากําหนดเงื่อนไข ตองสอดคลองกับรายการที่ผูขออนุญาตแสดงพรอมคําขอ และเปนเรื่องที่
ผูประกอบกิจการสามารถจะปฏิบัติได ตัวอยางเชน กากของเสียที่เหลือจากกระบวนการผลิตขั้นสุดทายตองนําไป
กําจัดโดยใชบริการโรงงานผูให บริการกําจัดกากอุตสาหกรรม (Waste processor) ที่ไดรับอนุญาตจากกรมโรงงาน
อุตสาหกรรมแลวเทานั้น เปนตน
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 19 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

ภาคผนวก 3
วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction)
สําหรับการพิจารณาอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
1. การดําเนินการ
เมื่อไดรับเรื่องราวการขออนุญาตจากหัวหนาสวนแลว ใหวิศวกร / นักวิทยาศาสตร ดําเนินการดังตอไปนี้
1.1 เตรียมเอกสารแบบฟอรมการตรวจ
- กรณีขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ใหใชแบบรายงานผลการตรวจและพิจารณาการขอรับ
ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (DIW-08-SI-FR-01)
- กรณีขออนุญาตขยายโรงงาน ใหใชแบบรายงานผลการตรวจและพิจารณาการขอรับใบอนุญาต
ขยายโรงงาน (DIW-08-SI-FR-03)
- กรณีอาคารโรงงานมีพื้นที่ไมเกิน 70 ตารางเมตร และไมมีแผนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักร
ใหจัดเตรียมเอกสารเพื่อเขียนแผนผังดวย
1.2 ตรวจโรงงาน
- เจาหนาที่จะตองเตรียมตัวไปตรวจสอบโรงงานใหเปนไปตามที่ไดนัดหมายกับผูขออนุญาตและตรง
ตอเวลา หากไมสามารถไปไดตามวันเวลาที่นัดหมาย จะตองแจงใหหัวหนาสวนทราบเพือ่ จะไดมอบหมายให
เจาหนาที่ผูอื่นทําการแทน
- กรอกรายละเอียดในแบบฟอรมรายงานผลการตรวจฯ ใหครบถวนทุกหัวขอ
- กรณีที่มีอาคารโรงงานอยูแลว และพื้นที่ไมเกิน 70 ตารางเมตร ใหเขียนแผนผังแสดงการติดตั้ง
เครื่องจักร
- ตรวจความครบถวนและความถูกตองของเอกสาร ถาเอกสารที่ยังไมไดแนบในคราวยื่นคําขอ
หรือยังไมถูกตอง จะตองขอใหครบถวนและแกไขใหถูกตองในวันที่ไปตรวจโรงงาน ถาผูข ออนุญาตไมสามารถ
จัดเตรียมใหได ใหทําหนังสือขอเอกสารเพิ่มเติมพรอมคราวเดียวกันกับขอรายละเอียดอื่น ๆ ตอไป (ถามี)
1.3 พิจารณาความถูกตองในการขออนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน ดังนี้
1.3.1 ทําเลที่ตั้งโรงงาน
- ตองไมขัดกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ขอ 2 ขอ 3 และขอ 4
ออกตามความใน พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
- ตองไมขัดมติคณะรัฐมนตรี นโยบายของของกรมโรงงานอุตสาหกรรม และกฎหมายอื่น
ที่เกี่ยวของ1.3.2 อาคารโรงงาน
ตองมีลักษณะใหเปนไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ขอ 5 ออกตาม
ความใน พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และนโยบายที่เกี่ยวของ
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 20 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

1.3.3 เครื่องจักร
ตองมีลักษณะใหเปนไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ขอ 6 และ ขอ 7
ออกตามความใน พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และกฎหมายที่เกี่ยวของ
1.3.4 ปญหาสิ่งแวดลอม
ตองมีมาตรการปองกันและระบบบําบัดมลพิษทางน้าํ และอากาศ และกากของเสีย
แลวแตกรณี
1.3.5 ประเภทหรือชนิดของกิจการ
ถูกตองตามบัญชีทายกฎกระทรวงและเปนไปตามนโยบายกระทรวงอุตสาหกรรรม
1.3.6 นโยบายหรือระเบียบอื่น ๆ เกี่ยวกับเรื่องกรณีพิเศษนอกเหนือจากที่กําหนดดังกลาว
หมายเหตุ : แนวทางการพิจารณาแตละขอ ใหเปนไปตามคูมือการพิจารณาคําขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการ/
ขยายโรงงาน
1.4 จัดทําเอกสารสงใหฝายบริหารฯ ดําเนินการโดย
- กรณีอนุญาต ใหใชแบบใบสั่งพิมพใบอนุญาตประกอบฯ (DIW-08-AD-FG-03) หรือ
ใบสั่งพิมพใบอนุญาตขยาย (DIW-08-AD-FG-04)
- กรณีไมอนุญาต ใหรางคําสั่งในแบบคําสั่งไมออกใบอนุญาต มาตรา 12 (DIW-08-LC-FL-03)
หรือ มาตรา 18 (DIW-08-LC-FL-04)
- กรณีขอรายละเอียด ใหรางลงในแบบแจงใหโรงงานสงหลักฐานเพิ่มเติม (DIW-08-LC-FL-05)
- กรณีหารือหรือกรณีที่ไมอาจใชแบบฟอรมสั่งพิมพได ใหจัดทํารางหนังสือ ตามแตกรณี
- กรณีโรงงานที่ตองเสนอรัฐมนตรี หรือปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ทราบหรือเห็นชอบกอน
ใหจัดทําบันทึกสรุปเสนอเรื่อง เรียนปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมดวย
- กรณีการออกใบอนุญาตที่ไดรับอนุญาตโดยการอุทธรณ ใหพิมพใน ร.ง.4 ลําดับที่ 1 มุมลาง
ดานซายวา “หมายเหตุ ไดรับการอนุญาตตามมาตรา 16 แหงพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535” และบันทึก
ใน ร.ง.4 ลําดับที่ 7 ดวย
1.5 เตรียมเอกสารนําเสนอ
1.5.1 ตรวจสอบความถูกตองของเอกสารที่สั่งพิมพ
1.5.2 จัดแยกเอกสารสวนทีค่ ืนผูขอ และสวนที่จัดเก็บที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม ใหชัดเจน
1.5.3 กรอกรายละเอียดในใบนําเสนอเกี่ยวกับการขออนุญาต (DIW-08-LC-FN-03)
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 21 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

8. เอกสารอางอิง
8.1 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
8.2 คูมือขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่อง หนังสือสงออก (DIW-01-PM-03)
8.3 คูมือขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่อง การใหคําปรึกษาหรือตอบขอหารือกฎหมาย (DIW-03-PM-02)
8.4 คูมือขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่อง การบริการทางวิชาการดานความปลอดภัย (DIW-04-PM-04)
8.5 คูมือขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่อง การใหคําปรึกษาดานสิ่งแวดลอม (DIW-13-PM-09)
8.6 คูมือขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่อง การจําหนายเรื่องการขออนุญาต (DIW-08-PM-15)
8.7 วิธีปฏิบัติงาน การพิจารณาความครบถวนถูกตองของเอกสาร (DIW-08-WI-01)
8.8 วิธีปฏิบัติงานการพิจารณาคําขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน (DIW-08-WI-02)
8.9 วิธีปฏิบัติงาน การพิจารณาอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน (DIW-08- WI-03)
8.10 วิธีปฏิบัติงาน การจายใบอนุญาต (DIW-08- WI-04)
8.11 วิธีปฏิบัติงาน การแนบเรื่องเดิม (DIW-08- WI-05)
8.12 วิธีปฏิบัติงาน การเก็บเรื่องรอดําเนินการ (DIW-08- WI-10)
8.13 คูมือการปฏิบัติงานศูนยสารพันทันใจ
9. แบบฟอรมที่เกี่ยวของ
9.1 คําขอรับใบอนุญาต (ร.ง.3)
9.2 ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง.4)
9.3 ใบนําสงเรื่อง (DIW-08-AD-FG-01)
9.4 ใบนําเสนอเกี่ยวกับการขออนุญาต (DIW-08-LC-FN-03)
9.5 ใบแจงเอกสารไมครบถวน (DIW-08-LC-FN-04)
9.6 รายงานผลการตรวจและพิจารณาการขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (DIW-08-SI-FR-01)
9.7 รายงานผลการตรวจและพิจารณาการขอรับใบอนุญาตขยายโรงงาน (DIW-08-SI-FR-03)
9.8 ใบสั่งพิมพใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (DIW-08-AD-FG-03)
9.9 ใบสั่งพิมพใบอนุญาตขยายโรงงาน (DIW-08-AD-FG-04)
9.10 หนังสือแจงโรงงานไดพิจารณาอนุญาตแลวฯ (DIW-08-LC-FL-02)
9.11 คําสั่งไมออกใบอนุญาต มาตรา 12 (DIW-08-LC-FL-03)
9.12 คําสั่งไมออกใบอนุญาต มาตรา 18 (DIW-08-LC-FL-04)
9.13 หนังสือแจงใหโรงงานสงหลักฐานเพิ่มเติม (DIW-08-LC-FL-05)
คูมือการปฏิบัติงานเรื่อง : การพิจารณาการอนุญาตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
ประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลว หรือ
ของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑใหม
โดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
สํานัก/กลุม : สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
หมายเลขเอกสาร : WI-IW-LC(106)-(00) หนาที่ : 22 / 22
วันที่เริ่มใช : แกไขครั้งที่ :

10. เอกสารบันทึก
ชื่อเอกสาร ผูรับผิดชอบ สถานที่จัดเก็บ ระยะเวลาจัดเก็บ วิธีจัดเก็บ
ร.ง.3 ฝายบริหาร สกอ. 1 ป เรียงตามรหัส
ร.ง.4 ฝายบริหาร สกอ. 1 ป เรียงตามรหัส
DIW-08-AD-FG-01 ฝายบริหาร สกอ. 1 ป เรียงตามรหัส
DIW-08-AD-FG-03 ฝายบริหาร สกอ. 1 ป เรียงตามรหัส
DIW-08-AD-FG-04 ฝายบริหาร สกอ. 1 ป เรียงตามรหัส
DIW-08-LC-FN-03 ฝายบริหาร สกอ. 1 ป เรียงตามรหัส
DIW-08-LC-FN-04 ฝายบริหาร สกอ. 1 ป เรียงตามรหัส
DIW-08-SI-FR-01 ฝายบริหาร สกอ. 1 ป เรียงตามรหัส
DIW-08-LC-FL-02 ฝายบริหาร สกอ. 1 ป เรียงตามรหัส
DIW-08-LC-FL-03 ฝายบริหาร สกอ. 1 ป เรียงตามรหัส
DIW-08-LC-FL-04 ฝายบริหาร สกอ. 1 ป เรียงตามรหัส
DIW-08-LC-FL-05 ฝายบริหาร สกอ. 1 ป เรียงตามรหัส

You might also like