You are on page 1of 51

สิง� แวดล้อมสําหรับวิศวกร

หัวข้ออบรม
มลพิษสิง� แวดล้อม และผลกระทบ
ปั ญหาภาวะโลกร้อน (Global Warming)
แนวทางการแก้ไขปั ญหามลพิษ และลดผลกระทบ
การจัดการสิง� แวดล้อม
มาตรฐานการจัดการสิง� แวดล้อม (ISO 14000)
ความสําคัญของการจัดทํารายงานการประเมินผลกระทบสิง� แวดล้อม
เบือ� งต้น (IEE) การประเมินผลกระทบสิง� แวดล้อม (EIA) และการ
ประเมินผลกระทบสิง� แวดล้อมและสุขภาพ (EHIA)
มลพิษสิง� แวดล้อม
มลพิษนํา�
มลพิษขยะมู ลฝอยและของเสียอันตราย
มลพิษดิน
มลพิษอากาศ
มลพิษเสียง และความสัน� สะเทือน
ภาวะโลกร้อน
มลพิษทางนํา�

นํา� เสีย … เกิดขึน� จากกิจกรรมของมนุษย์ เช่ น การปล่อยนํา� เสีย


จากชุ มชนโรงงาน ฟาร์มปศุสัตว์ การทําเกษตร เหมืองแร่ และ
คราบนํา� มันจากเรือหางยาวในแม่นํา� เป�นต้น
นํา� เสียที�มีสารอาหาร N กับ P มากจะส่งผลกระทบให้เกิด
ยู โทรฟิ เคชัน (Eutrophication) หรือ แอลจีบลูม (Algae Bloom)
หรือขีป� ลาวาฬ
มลพิษทางนํา� ..... มีการระบายหรือทิง� สิง� สกปรก ลงไปในนํา� มาก
เกินไป จนทําให้แหล่งนํา� นัน� ไม่สามารถฟอกตัวเอง (Self
Purification) ได้ทันตามธรรมชาติ ... นํา� จึงเน่าเสีย

4
นํา� เน่า ได้แก่ นํา� ที�มีสารอินทรีย์ปะปนอยู ่มาก
• จุ ลินทรีย์ใช้ ออกซิเจนในการย่อยสลายจนเหลือ
ละลายอยู ่น้อย
• นํา� มีสีดําคลํา� และส่งกลิน� เหม็น เนื�องจากการ
ปล่อยก๊าซไข่เน่า หรือก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S)
จากการย่อยสลายของแบคทีเรียชนิดที�ไม่ใช้
ออกซิเจน (Anaerobic Bacteria)

5
การย่อยสลายสารอินทรีย์
1. Aerobic Bacteria (ใช้ O2อิสระ)
สารอินทรีย์
(C, H, O, N, S)

เปลี�ยนเป�น

-
NO3 +SO4 -2 +H2O+CO2 +...energy
ผลิตภัณฑ์ท�ีละลายนํา� ได้มีกลิน� ไม่รุนแรง
6
การย่อยสลายสารอินทรีย์
2. Anaerobic Bacteria (ไม่ใช้ O2อิสระ)
สารอินทรีย์
(C, H, O, N, S)

เปลี�ยนเป�น

CH4+H2S+H2O+N2+CO2 +...energy
ผลิตภัณฑ์ท�ีละลายนํา� ได้น้อย
ก๊าซไข่เน่า มีกลิน� เหม็นมาก
ผลกระทบจากมลพิษนํา�

 เกิดนํา� เน่าเสีย
ทําให้มีกลิน� เหม็น
 สูญเสียระบบนิเวศ
 เกิดทัศนียภาพที�ไม่น่าดู
 เป�นอันตรายต่อสุขภาพและอนามัย
 ทําให้เกิดโรคระบาด
 เกิดผลกระทบด้านการพักผ่อนหย่อนใจ
สิง� ที�ควรทราบเรื�องนํา� เสีย
• BOD5 (Biochemical Oxygen Demand) เป�นค่าบ่งชีถ� ึงความสกปรกของนํา� เสีย
ในรูปของสารอินทรีย์ (กระบวนการทางชีวภาพ)
• COD (Chemical Oxygen Demand) เป�นตัวบ่งชีถ� ึงความสกปรกของนํา� เสีย
ในรูปของสารอินทรีย์ (กระบวนการทางเคมี)
• เช่ น นํา� เสียจากโรงงานสุรา BOD5 ≈ 30,000-50,000 mg/L
• เช่ น นํา� เสียจากโรงอาหาร BOD5 ≈ 600-1,000 mg/L
• เช่ น นํา� เสียจากบ้านอยู ่อาศัย BOD5 ≈ 150-250 mg/L
• เช่ น BOD5 = 20 mg/L เป�นค่ามาตราฐานนํา� ทิง� ทัว� ไป
COD = 120 mg/L เป�นค่ามาตรฐานนํา� ทิง� สําหรับโรงงานอุ ตสาหกรรม
• DO (Dissolved Oxygen) เป�นค่าออกซิเจนละลายอยู ่ในนํา� จําเป�นในการ
ดํารงชีวิตของสิง� มีชีวิตในนํา�
มลพิษอากาศ หรือ อากาศเสีย
หมายถึง ภาวะของอากาศที�มีการเจือปนของสารหรือสิง�
ปนเปื� อนในปริมาณที�มากพอ ทําให้อากาศเสื�อมคุณภาพ หรือ
ในปริมาณที�สูงกว่าระดับปกติเป�นเวลานานพอที�จะทําให้เกิด
อันตรายต่อมนุษย์ สัตว์ และ พืช ทัง� ทางตรงและทางอ้อม
สารปนเปื� อนในอากาศมีทัง� ในรูปของแข็ง ฝุ ่ นละอองขนาดต่างๆ
กัน ไอระเหย หรือก๊าซ รวมทัง� กลิน� เขม่า ควัน สาร
กัมมันตรังสี สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ปรอท ตะกัว�
ออกไซด์ของไนโตรเจน กํามะถัน และคาร์บอน เป�นต้น
สิง� ที�ควรทราบในเรือ� ง มลพิษอากาศ
• PM2.5 คือ สารอนุภาค (Particulate Matter) ทีม� ีขนาดเล็กมาก ๆ (ไม่เกิน 2.5 micron) ซึ�งสามารถ
แขวนลอยอยู ่ได้ในอากาศในชัว� ขณะหนึ�ง และถูกสูดเข้าไปได้ในปอด
• 1 micron =1/1,000,000 m.=1/1,000 mm.
• PM2.5 มีขนาดเล็กกว่าเส้นผม 20 – 30 เท่า เช่ น ไอเสียรถยนต์ ควันจากการเผาไหม้(ควันบุ หรี�,ไฟป่ า)
และกระบวนการอุ ตสาหกรรม
• PM2.5 มีหน่วยเป�น ไมโครกรัม / ลบ.ม ของอากาศในเวลา 24 ชัว� โมง
• VOCs (Volatile Organic Compounds) เป�นสารอินทรีย์ระเหยง่าย เป�นสารเกิดมะเร็ง
• ฝนกรด (Acid Rain) หมายถึงนํา� ฝนที�มีค่าความเป�นกรด-เบส (pH value) ตํา� กว่าระดับ 5.6 กรดในนํา� ฝน
เกิดจากการละลายนํา� ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และไนทริกออกไซด์ ที�มีอยู ่ใน
บรรยากาศซึ�งเกิดขึน� เองตามธรรมชาติ และจากการกระทําของมนุษย์
ระบบภาวะมลพิษอากาศ
(Air Pollution System)
อากาศหรือบรรยากาศ
(Atmosphere)

สารมลพิษ การแพร่กระจาย
(Pollutants) (Dispersion)

แหล่งกําเนิดมลพิษอากาศ ผู ้รับผลเสียหรือผลกระทบ
(Emission Sources) (Receptors)
แหล่งกําเนิดจากกิจกรรมของมนุษย์

1. แหล่งกําเนิดที�เคลื�อนที�ได้ (Mobile Sources)


• รถยนต์
• เรือยนต์
• เครื�องบิน
2. แหล่งกําเนิดที�อยู ่กับที� (Stationary Sources)
• หลุมฝั งกลบขยะ
• ฟาร์มปศุสัตว์
• โรงงานอุ ตสาหกรรม
สภาวิศวกร
ก๊าซเรือนกระจก มาจากไหน ?
• ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป�นก๊าซชนิดที�ทําให้เกิดพลังงาน
ความร้อนสะสมในบรรยากาศของโลกมากที�สุดในบรรดาก๊าซเรือนกระจกชนิด
อื�น ๆ เป�นตัวการสําคัญที�สุดของปรากฏการณ์เรือนกระจกที�มนุษย์เป�น
ผู ้กระทํา ซึ�งเกิดจากการเผาไหม้เชือ� เพลิงถ่านหินเพื�อผลิตไฟฟ้ า การตัดไม้
ทําลายป่ า
• ก๊าซมีเทน (CH4) เป�นก๊าซที�เกิดขึน� เองตามธรรมชาติ เกิดจากของเสีย
จากสัตว์เลีย� ง เช่ น วัว ควาย การทํานาที�ลุ่มนํา� ท่วมขัง การเผาไหม้เชือ� เพลิง
ถ่านหินก๊าซธรรมชาติ และการทําเหมืองถ่านหิน
สภาวิศวกร
ก๊าซเรือนกระจก มาจากไหน ?
• ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) เกิดขึน� เองตามธรรมชาติ และจากการใช้ ปุ๋ ยไนเตรดในไร่นา การขยายพืน� ที�
เพาะปลูก การเผาไหม้ เผาหญ้า มู ลสัตว์ท�ยี ่อยสลาย และเชือ� เพลิงถ่านหินจากอุ ตสาหกรรมที�ใช้ กรดไนตริกใน
กระบวนการผลิต เช่ น อุ ตสาหกรรมผลิตเส้นใยไนลอน อุ ตสาหกรรมเคมี หรืออุ ตสาหกรรมพลาสติกบางชนิด
• คลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbons - CFCs) เป�นก๊าซที�สังเคราะห์ขนึ� เพื�อใช้ ในการ
ผลิตทางอุ ตสาหกรรม เช่ น ใช้ ในเครื�องทําความเย็นชนิดต่าง ๆ เป�นก๊าซขับดันในกระป๋ องสเปรย์ และเป�นสาร
ผสมทําให้เกิดฟองในการผลิตโฟม เป�นต้น CFCs มีผลกระทบรุ นแรงต่อบรรยากาศ ทัง� ในด้านทําให้โลกร้อน
ขึน� ทําให้เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก และทําลายบรรยากาศโลกจนเกิดรูโหว่โอโซนในชัน� สตราโตสเฟี ยร์บริเวณ
ขัว� โลก
ขยะมู ลฝอย

• พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535,
พ.ศ.2560
• มู ลฝอย หมายถึง เศษกระดาษ เศษผ้า
เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุถุงพลาสติก
ภาชนะที�ใส่อาหาร เถ้า มู ลสัตว์ ซากสัตว์
หรือสิง� อื�นใดที�เก็บกวาดจากถนน ตลาด
ที�เลีย� งสัตว์ หรือที�อื�น และหมายความ
รวมถึงมู ลฝอยติดเชือ� มู ลฝอยที�เป�นพิษ
หรืออันตรายจากชุ มชน
กําจัดอย่างไม่ถูกวิธี 63% (เทศบาลและอบต.)
สภาวิศวกร

เตาเผา
กรุ งเทพฯและพัทยา 24%
เท เทศบาล 12%
กอง อบต. 1%
หมักทําปุ๋ ย
ฝั งกลบ
กําจัดอย่างถูกวิธี 37%
สภาวิศวกร
สิง� ที�ควรทราบในเรือ� งขยะมูลฝอย

• ปริ มาณขยะ (มูลฝอย) จากการทิ ้งของแต่ละคน ≈ 1 กก./คน/วัน


• ขยะทัว่ ไปสามารถนํามา Reduce Reuse Recycle (หลักการ 3R)
ได้ เกือบทังหมด

• ขยะก่อให้ เกิดปั ญหากลิน่ เหม็น การปนเปื อ้ นต่อคุณภาพนํ ้า ก่อให้ เกิดโรค
และก๊ าซเรื อนกระจก
สภาวิศวกร
สิง� ที�ควรทราบในเรือ� งของเสียอันตราย
• ของเสียอันตราย (Hazardous Waste) หรื อกากของเสีย
อุตสาหกรรม มีลกั ษณะหลักอยู่ 4 ข้ อ
• ข้ อ 1 ติดไฟได้
• ข้ อ 2 กัดกร่อนได้
• ข้ อ 3 เกิดปฏิกิริยาเคมีได้
• ข้ อ 4 มีความเป็ นพิษ
• มีลกั ษณะเพียงข้ อใดข้ อหนึง่ ก็จดั ได้ วา่ เป็ นของเสียอันตราย
ระดับความรุ นแรง และอันตรายของมลพิษ
- ความสามารถในการฟอกตัวเองของระบบนิเวศโดยการย่อย
สลายหรือลดความเข้มข้นของมลพิษ (Self Puritication)
- ขีดความสามารถรองรับมลพิษของระบบนิเวศ (Assimilative
Capacity)
ดัชนีวัดคุณภาพสิง� แวดล้อม
- ดัชนีคุณภาพนํา�
- ดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index, AQI)
- ดัชนีวัดคุณภาพดิน
แนวทางการแก้ไขปั ญหามลพิษและผลกระทบ
- การป้ องกันไม่ให้เกิดมลพิษ (Pollution Prevention) หรือการลด
มลพิษที�แหล่งกําเนิด (Source Reduction) เป�นแนวทางการ
พัฒนาที�ยงั� ยืน
- การควบคุมมลพิษด้วยวิธีบําบัดมลพิษ หรือการบําบัดที�ปลายท่อ
(End of Pipe Treatment) ก่อนปล่อยทิง� เป�นการบําบัดที�ปลายเหตุ
หน่วยงานภาครัฐที�มีหน้าที�รับผิดชอบเกี�ยวกับ
การจัดการสิง� แวดล้อม
กระทรวงอุ ตสาหกรรม
• สํานักงานอุ ตสาหกรรมจังหวัด
• กรมโรงงานอุ ตสาหกรรม
• การนิคมอุ ตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง� แวดล้อม
• กรมควบคุมมลพิษ
• สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง� แวดล้อม
กระทรวงอื�นๆ
• กระทรวงเกษตรฯ - กรมชลประทาน
• กระทรวงคมนาคม - กรมเจ้าท่า
• กระทรวงมหาดไทย - กรมโยธาธิการและผังเมือง
กฎหมายที�เกี�ยวข้องกับการจัดการสิง� แวดล้อม
พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. 2535, พ.ศ. 2562 (ฉบับที� 3)
พ.ร.บ.การส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง� แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535,
พ.ศ. 2561 (ฉบับที� 2)
พ.ร.บ.การนิคมอุ ตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ.2522, พ.ศ. 2562
(ฉบับที� 5)
พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ.2535, พ.ศ.2562 (ฉบับที� 4)
พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535, พ.ศ. 2560 (ฉบับที� 3)
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรือ� งการกําจัดสิง� ปฏิกลู หรือวัตถุทไ�ี ม่ใช้
แล้วออกนอกบริเวณโรงงาน พ.ศ. 2561
เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology)

การลดที�แหล่งกําเนิด
CT
การนํากลับมาใช้ ใหม่/การใช้ ซ��า

การบําบัด

การกําจัด

การจัดการสิง� แวดล้อม
เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) (ต่อ)

เทคนิคของเทคโนโลยีสะอาด
การบําบัดและการกําจัดมลพิษ
- วิธีทางกายภาพ (Physical Method)
การกวาด,ตักด้วยตะแกรง,ทําให้ลอย,ตกตะกอน, การกรอง การ
ดูดซึม การดูดซับ การเผา (burning) ฯลฯ
- วิธีทางเคมี (Chemical Method)
การทําให้เป�นกลาง, การทําให้ตกตะกอน การเติมและลดออกซิเจน
การช่ วยการตกตะกอน การเผา (Incineration) ฯลฯ
- วิธีทางชีวภาพ (Biological Method)
การกําจัดแบบใช้ ออกซิเจน การกําจัดแบบไม่ใช้ ออกซิเจน การเติม
คลอรีน ฯลฯ
- วิธีทางกายภาพและทางเคมี (Physical – Chemical Method)
การใช้ ถ่านดูดซึม การแลกเปลี�ยนประจุ วิธีซึมย้อนกลับ ฯลฯ
สภาวิศวกร
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
โดยคํานึงเฉพาะผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์
กับปัญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดจากการพัฒนา

ทรัพยากรร่อยหรอ
(Resource Depletion)

การใช้ ทรัพยากร Benefit ผลประโยชน์ท�ี


ธรรมชาติ มนุษย์ได้รับ
และสิ�งแวดล้อม Cost มนุษย์
จากการพัฒนา
เพื�อการพัฒนา

ปั ญหามลภาวะ
(Pollution)
ประโยชน์ของอนุกรมมาตรฐาน ISO 14000
• ทรัพยากรธรรมชาติสามารถนํามาใช้ ให้เกิดประโยชน์ได้มากที�สุด
• ลดปริมาณของเสียภายในโรงงาน ลดค่าใช้ จ่ายในการบําบัดของเสีย
• เพิม� ประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต
• เพิม� ศักยภาพในการแข่งขันการตลาด โดยเฉพาะสินค้าส่งออก
• สร้างภาพพจน์ท�ดี ีแก่ผู้ประกอบ ในการมีส่วนร่วมรักษาสิง� แวดล้อม
• ขจัดปั ญหา ขอเรียกร้องจากชุ มชน กรณีพิพาทด้านกฎหมาย
สิง� แวดล้อม
การใช้ เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology)
การใช้ กรรมวิธีหรือกระบวนการผลิต
ที�ไม่ก่อให้เกิดกากของเสียหรือเกิดน้อยที�สุด(Waste Minimization)
เน้นการป้ องกัน (Prevention and Precaution)
มาตรฐานว่าด้วยการจัดการด้านสิง� แวดล้อม
ถูกกําหนดโดย องค์กรระหว่างประเทศ
เพื�อการจัดทํามาตรฐาน (The International Organization for Standardization :ISO)
ที�เรียก อนุกรมมาตรฐาน ISO 14000
เป�นมาตรฐานที�ว่าด้วยการจัดระบบโครงสร้างองค์กร ระเบียบปฎิบัติ
กระบวนการและทรัพยากร เพื�อการจัดการสิง� แวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ
เป�นที�ยอมรับและนํามาใช้ ปฏิบัติในระดับสากล
ISO 9,000 Quality management การจัดการระบบ
คุณภาพในภาคธุ รกิจต่างๆ
ISO 14,000 Environmental management การ
จัดการสิง� แวดล้อม เป�นมาตรฐานในการจัดการธุ รกิจที�มี
ผลกระทบต่อสิง� แวดล้อมได้อย่างเป�นระบบ
มอก. 18,000 Occupation Health and safety
การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย, ISO
45,000
สภาวิศวกร
หลักการของ ISO 14001

การรับรองมาตรฐาน ISO 14001- ใบรับรองมีอายุ 3 ปี


• การประเมินผลกระทบสิง� แวดล้อมเบือ� งต้น
(Initial Environmental Evaluation, IEE)
• เป�นการตรวจสอบเบือ � งต้นถึงผลกระทบสิง� แวดล้อมที�อาจเกิดขึน�
จากโครงการที�เสนอ มักใช้ ข้อมู ลเบือ� งต้นที�มีอยู ่หรือข้อมู ลที�
สามารถหาได้ทันที โดยทัว� ไป IEE เป�นการศึกษาเพื�อให้ทราบว่า
จะต้องทํารายงานประเมินผลกระทบสิง� แวดล้อม (EIA) ต่อหรือไม่
• การประเมินผลกระทบสิง� แวดล้อม (Environmental Impact
Assessment, EIA)
• การประเมินผลกระทบสิง� แวดล้อมและสุขภาพ (Environmental
and Health Impact Assessment, EHIA)
สภาวิ
การประเมินผลกระทบสิ ศวกร
ง� แวดล้ อมในประเทศไทย
ประกาศประเภทและขนาด
โครงการเพิม� เติมจาก 22 เป�น
ประเทศไทยประกาศใช้ 35 ประเภท
พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษา พ.ศ. 2560
คุณภาพสิง� แวดล้อม
แห่งชาติ พ.ศ. 2518
จดทะเบียนนิติบุคคล พ.ศ. 2535
ทํารายงาน
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2527 พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิง� แวดล้อมแห่งชาติ ประกาศประเภทและขนาด
พ.ศ. 2535 มีการพัฒนาและ โครงการมีผลกระทบอย่าง
พ.ศ. 2524 ปรับปรุ งขัน� ตอนการพิจารณา รุ นแรงตามมาตรา 58 ของ
รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560
สิง� แวดล้อม EHIA 12 รายการ
ประกาศกําหนดประเภท
และขนาดทํารายงาน
ผู ้เกี�ยวข้สภาวิ ศวกร
องกับการจั ดทํารายงานฯ
เสนอรายงาน
เจ้าของโครงการ

• ตรวจสอบความถูกต้อง/
ผู ้มีสิทธิจัดทํารายงาน สผ. ครบถ้วนสมบู รณ์
• พิจารณาเบือ� งต้น
ผู ้เกี�ยวข้องกับการ
จัดทํารายงาน • สรุ ปความเห็นเสนอต่อ
จัดทํารายงานฯ คณะกรรมการช�านาญการ

หน่วยงานผู ้ให้อนุญาต คณะกรรมการผู ้ช�านาญการ


(กชก.)
รอผลการพิจารณารายงาน พิจารณาขัน� สุดท้าย
ประกอบการออกใบอนุญาต
สภาวิศวกร
องค์ประกอบของการประเมินผลกระทบสิง� แวดล้อม (EIA)
1. ทรัพยากรกายภาพ
ศึกษาถึงผลกระทบทางกายภาพว่ามีการเปลี�ยนแปลงอย่างไร

2. ทรัพยากรชีวภาพ
ศึกษาการเปลี�ยนแปลงที�มีต่อระบบนิเวศ
3. คุณค่าการใช้ ประโยชน์ของมนุษย์
ศึกษาการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรทัง� ทางกายภาพและชีวภาพของมนุษย์
ว่าได้รับผลกระทบมากน้อยเพียงใด
4. คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต
ศึกษาผลกระทบต่อมนุษย์ ชุ มชน ระบบเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ
วัฒนธรรมประเพณี ความเชื�อ ค่านิยม ทัศนียภาพ คุณค่าความสวยงาม
แสดงหัวข้อและประเด็นศึ กษาในการจัดทํา สภาวิศวกร
รายงานผลกระทบสิง� แวดล้อม
หัวข้อ ประเด็นศึ กษา
1. ทรัพยากรสิ�งแวดล้อมทางกายภาพ
ภูมิสันฐาน ลักษณะภูมิประเทศระดับความสูงลักษณะโดดเด่นเฉพาะทางกายภาพ (Unique physical feature)
เช่ น เกาะ หน้าผา ฯลฯ
ดิน ชนิดประเภท สัดส่วน (Profile of soil type extent of each) กษัยการของดิน (erosion)
การตกตะกอน คุณสมบัติ กายภาพเคมี
ธรณีวิทยา ชีวภาพ สมรรถนะและศักยภาพของดินลักษณะทางธรณีวิทยา
ทรัพยากร การเกิดแผ่นดินไหว แหล่งแร่ธาตุชนิดปริมาณแร่ธาตุในพืน� ที�และบริเวณใกล้เคียงโครงการ
นํา� ผิวดิน/นํา� ใต้ดิน แหล่งนํา� ปริมาณนํา� คุณภาพนํา� อัตราการไหล
นํา� ทะเล ลักษณะทางสมุ ทรศาสตร์คุณภาพนํา� การหมุ นเวียนของนํา� การแบ่งชนชัน� ของนํา� (Stratification)
อากาศ ภูมิอากาศ (ปริมาณนํา� ฝน ความชุ ก อุ ณหภูมิ) ปรากฏการณ์ชนั � อุ ณหภูมิผกผัน (inversion)
หมอก พายุ คุณภาพอากาศ
เสียง ระดับความเข้มของสียง ความถี�
แสดงหัวข้อและประเด็นศึ กษาในการจัดทํา สภาวิศวกร
รายงานผลกระทบสิง� แวดล้อม
หัวข้อ ประเด็นศึ กษา
2. ทรัพยากรสิง� แวดล้อมทางชีวภาพ
สัตว์ / พืช นิเวศวิทยา ชนิด ปริมาณ การแพร่กระจาย
สิง� มีชีวิตที�หายาก แหล่งที�อยู ่อาศัย การอพยพย้ายถิน� ชนิด ปริมาณ ความสําคัญ
แสดงหัวข้อและประเด็นศึ กษาในการจัดทํา สภาวิศวกร
รายงานผลกระทบสิง� แวดล้อม
หัวข้อ ประเด็นศึ กษา
3. คุณค่าการใช้ ประโยชน์ของมนุษย์
นํา� ดื�ม/นํา� ใช้ แหล่งนํา� ปริมาณ คุณภาพ ความเพียงพอ
การขนส่ง เส้นทางคมนาคม (ทางหลวง ทางรถไฟ การคมนาคม ขนส่งทางนํา� )
การไฟฟ้ าและพลังงาน แหล่งที�มา ชนิด ประเภท ความเพียงพอ
การควบคุมนํา� ท่วม/การระบายนํา� ระบบการควบคุม ประสิทธิภาพ
การเกษตรกรรม การพัฒนาการเกษตร การเพาะเลีย� งสัตว์นาํ � การชลประทาน การปลูกป่ า
การอุ ตสาหกรรม ลักษณะการทําอุ ตสาหกรรม
เหมืองแร่ ลักษณะการทําเหมืองแร่
สันทนาการ รูปแบบลักษณะการใช้ พนื� ที�สันทนาการ พืน� ที�พักผ่อนหย่อนใจของสาธารณะ พืน� ที�สีเขียว
การเกษตรกรรม การพัฒนาการเกษตร การเพาะเลีย� งสัตว์นาํ � การชลประทาน การปลูกป่ า
แสดงหัวข้อและประเด็นศึ กษาในการจัดทํา สภาวิศวกร
รายงานผลกระทบสิง� แวดล้อม
หัวข้อ ประเด็นศึ กษา
4. คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต
เศรษฐกิจสังคม ข้อมู ลประชากร (จํานวนอาชีพ รายได้ ภาษา ศาสนา ฯลฯ) การตัง� ถิน� ฐาน ทัศนคติของ
ประชาชนที�มีต่อโครงการ
การสาธารณสุข อัตราการเจ็บป่ วย โรคระบาด โรคประจําถิน� การบริการทางสาธารณสุข
อาชีวอนามัย โรคจากการทํางาน อุ บัติเหตุจากการทํางานความเสี�ยง (กรณีโครงการที�มีความเสี�ยง)
ประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ โบราณคดี ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมดัง� เดิม
สุนทรียภาพ คุณค่าความงดงามของแหล่งท่องเที�ยว สถานที�สําคัญทางธรรมชาติแหล่งธรรมชาติอัน
ควรอนุรักษ์
โครงการและขนาดของโครงการหรือกิจการซึง� ต้องจัดทํารายงานการ
ประเมินผลกระทบสิง� แวดล้อม (EIA) ตามประกาศ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง� แวดล้อม
1. การทําเหมืองแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่
2. การพัฒนาปิ โตรเลียม
3. โครงการระบบขนส่งปิ โตรเลียมและนํา� มันเชือ� เพลิงทางท่อ
4. นิคมอุ ตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุ ตสาหกรรม
หรือโครงการที�มีลักษณะ เช่ นเดียวกับนิคมอุ ตสาหกรรมหรือ
โครงการจัดสรรที�ดินเพื�อการอุ ตสาหกรรม
5. อุ ตสาหกรรมปิ โตรเคมี ที�มีกระบวนการผลิตทางเคมี
(100 ตัน ต่อวัน)
โครงการ (EIA) ต่อ
6. อุ ตสาหกรรมกลัน� นํา� มันปิ โตรเลียม
7. อุ ตสาหกรรมแยกหรือแปรสภาพก๊าซธรรมชาติ
8. อุ ตสาหกรรมคลอร์-แอลคาไล (Chlor alkali industry) และ
อุ ตสาหกรรมที�ใช้ คลอรีน (Cl2) หรือไฮโครเจนคลอไรด์ (HCl)
9. อุ ตสาหกรรมผลิตปู นซีเมนต์
10. อุ ตสาหกรรมผลิตเยื�อกระดาษ (50 ตัน ต่อวัน)
11. อุ ตสาหกรรมที�ผลิตสารออกฤทธิ� หรือสารที�ใช้ ป้องกันหรือกําจัด
ศัตรูพืช หรือสัตว์ โดยใช้ กระบวนการทางเคมี
12. อุ ตสาหกรรมผลิตปุ๋ ยเคมี โดยกระบวนการทางเคมี
13. อุ ตสาหกรรมประกอบกิจการเกี�ยวกับนํา� ตาล
โครงการ (EIA) ต่อ
14. อุ ตสาหกรรมเหล็กหรือเหล็กกล้า (100 ตัน ต่อวัน)
15. อุ ตสาหกรรมถลุงหรือแต่งแร่ หรือหลอมโลหะซึ�งมิใช่
อุ ตสาหกรรมเหล็กหรือเหล็กกล้า (50 ตัน ต่อวัน)
16. อุ ตสาหกรรมผลิตสุราแอลกอฮอล์รวมทัง� ผลิตเบียร์และไวน์
17. โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมเฉพาะสิง� ปฏิกูล หรือวัสดุท�ไี ม่
ใช้ แล้วตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน
18. โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนทุกประเภทยกเว้นโรงไฟฟ้ าพลังความ
ร้อนที�ใช้ ขยะมู ลฝอยเป�นเชือ� เพลิงโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนที�ใช้
ขยะมู ลฝอยเป�นเชือ� เพลงที�ได้รับการยกเว้น ต้องไม่ใช่ โรงไฟฟ้ า
ที�ตงั � อยู ่พนื� ที�ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรฯ
โครงการ (EIA) ต่อ
19. ระบบทางพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการทางพิเศษหรือ
โครงการที�มีลักษณะเช่ นเดียวกับทางพิเศษ
20. ทางหลวงหรือถนน ซึ�งมีความหมายตามกฎหมายว่าด้วยทาง
หลวงที�ตัดผ่านพืน� ที�เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าและเขตห้ามล่า
สัตว์ป่า อุ ทยานแห่งชาติ พืน� ที�ลุ่มนํา� ชัน� 2 พืน� ที�ป่าชายเลน
พืน� ที�ชายฝั� งทะเลในระยะ 50 เมตรจากระดับนํา� ทะเลขึน� สูงสุด
พืน� ที�ชุ่ มนํา� และพืน� ที�ใกล้โบราณสถาน (ในระยะ 1 กิโลเมตร)
21. ระบบขนส่งมวลชนที�ใช้ ราง
22. ท่าเทียบเรือ (500 ตัน กรอส หน้าท่า 100 ม.,1,000 ตร.ม.)
23. ท่าเทียบเรือสําราญกีฬา (50 ลํา หรือท่า 1,000 ตร.ม.)
โครงการ (EIA) ต่อ
24. การถมที�ดินในทะเล
25. การก่อสร้างหรือขยายสิง� ก่อสร้างบริเวณหรือในทะเล
26. โครงการระบบขนส่งทางอากาศ (ทางวิง� 1,100 ม.)
27. อาคารตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
(สูง 23 ม.,10000 ตร.ม.)
28. การจัดสรรที�ดินเพื�อเป�นที�อยู ่อาศัยหรือเพื�อประกอบการ
พาณิชย์ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที�ดิน
(500 แปลง, 100 ไร่)
29. โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วย
สถานพยาบาล (ใกล้แม่นาํ � ทะเล ชายหาด 30 เตียง (ค้างคืน)
ขึน� ไป)
โครงการ (EIA) ต่อ
30. โรงแรมหรือสถานที�พักตากอากาศตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม
(ตัง� แต่ 80 ห้องพักหรือ 4,000 ตร.ม.)
31. อาคารที�อยู ่อาศัยตามกฎหมายว่ากฎหมายควบคุมอาคาร
32. การชลประทาน (80,000 ไร่)
33. โครงการทุกประเภทที�อยู ่ในพืน� ที�ท�คี ณะรัฐมนตรีได้มีมติ
เห็นชอบกําหนดให้เป�นพืน� ที�ชนั � คุณภาพลุ่มนํา� ชัน� 1
34. การผันนํา� ข้ามลุ่มนํา� (25 ลุ่มนํา� หลัก)
35. ประตูระบายนํา� ในแม่นํา� สายหลัก (23 แม่นํา� สายหลัก)
ประเภทและขนาดของโครงการทีต� อ้ งทํารายงานการประเมินผลกระทบ
สิง� แวดล้อมที�อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุ มชนอย่างรุ นแรงทัง� ด้าน
คุณภาพสิง� แวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ (EHIA)
1. การถมทะเลหรือทะเลสาบนอกแนวเขตชายฝั� งเดิม ยกเว้นการ
ถมทะเลที�เป�นการฟื� นฟู สภาพชายหาด
2. การทําเหมืองแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่
3. นิคมอุ ตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุ ตสาหกรรม
หรือโครงการที�มีลักษณะเช่ นเดียวกับนิคมอุ ตสาหกรรม
4. อุ ตสาหกรรมปิ โตรเคมี
5. อุ ตสาหกรรมถลุงแร่หรือหลอมโลหะ
โครงการ (EHIA) ต่อ
6. การผลิตมีไว้ครอบครองหรือใช้ ซ�ึงพลังงานปรมาณูจากเครื�อง
ปฏิกรณ์ปรมาณู
7. โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม หรือโรงงานประกอบกิจการ
เกี�ยวกับการฝั งกลบสิง� ปฏิกูลหรือวัสดุท�ไี ม่ใช้ แล้ว
8. โครงการระบบขนส่งทางอากาศ (ทางวิง� ตัง� แต่ 3,000 ม.)
9. ท่าเทียบเรือ (หน้าท่า 300 เมตร หรือ 10,000 ตร.ม.)
10. เขื�อนเก็บกักนํา� หรืออ่างเก็บนํา� (100 ล้านลบ.ม., 15 ตร.กม.)
11. โรงไฟฟ้ าพลังความร้อน (100/150 เมกะวัตต์ขึน� ไป/นิวเคลียร์)
12. อุ ตสาหกรรมผลิตถ่านโค้ก (ทุกขนาด)
ประเภทและขนาดโครงการตามประกาศพืน� ทีค� มุ้ ครองสิง� แวดล้อม
โครงการตามมติคณะรัฐมนตรีเกีย� วกับป่าอนุรกั ษ์เพิม� เติม
เจ้าของโครงการ
 เห็นความสําคัญของ EIA และปฏิบัติให้เป�นไปตามมาตรการ
 มีความรับผิดชอบต่อสังคมและประชาชนที�อยู ่โดยรอบ
(CSR – Corporate Social Responsibility)
 ให้ความสําคัญต่อกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนตัง� แต่เริม
� จัดทํา
โครงการ
“ผู ้ใดเป�นผู ้ก่อมลพิษ ผู ้นนั � ต้องรับผิดชอบ”
(Polluter Pays Principle)
• หลักการผู ้ก่อมลพิษคือ ผู ้จ่าย คือ ผู ้ก่อให้เกิดมลพิษควรเป�น
ผู ้รับผิดชอบในความเสียหาย
• การผู ้รับผิดชอบในความเสียหายมี 4 ชนิดใหญ่ได้แก่
1) เก็บเงินค่ามลพิษ
2) สร้างระบบเบีย� ประกัน จู งใจให้มีเบีย� ประกันลดลง
3) เงินอุ ดหนุน เช่ น ลดภาษี เงินกู้ดอกเบีย� ตํา�
4) ปรับในการกระทําผิด ปิ ดโรงงาน
สภาวิศวกร

Thank you.

You might also like