You are on page 1of 41

บทที่ 6

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

สาระการเรียนรู : การพัฒนาหลักสูตร

จากบทที่แลวในเรื่องหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สูหลักสูตร


ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 นั้น สถานศึกษาตองศึกษาและนําองคความรูสูการปฏิบัติ ในบทนี้จะเปน
บทสุ ด ท า ยของเอกสารปรั ช ญาการศึ ก ษาและการพั ฒ นาหลั ก สู ต ร เรื่ อ ง การพั ฒ นาหลั ก สู ต ร
สถานศึกษา โดยผูที่จะประกอบวิชาชีพครู ครูผูสอน หรือผูมีสวนเกี่ยวของในสถานศึกษา ตองศึกษา
และนําไปปฏิบัติลงสูผูเรียน ในเนื้อหาของบทนี้ประกอบดวย ความจําเปนของการจัดทําหลักสูตร
สถานศึ ก ษา ความหมายและความสํ า คั ญ ของหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา ข อควรคํ า นึ ง ในการจั ด ทํ า
หลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา การจั ด ทํ า หลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา ขั้ น ตอนการจั ด ทํ า หลั ก สู ตรสถานศึ ก ษา
องคประกอบสําคัญของหลักสูตรสถานศึกษา ไดแก 1) สวนนํา 2) คําอธิบายรายวิชา 3)โครงสราง
รายวิช า 4) กิจ กรรมพั ฒนาผูเ รี ยน และ5) เกณฑการจบการศึกษา) การเรีย บเรีย งในการจัดทํา
หลักสูตรสถานศึกษา และการวิจัยและติดตามผลการใชหลักสูตรสถานศึกษา

ความจําเปนของการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา
1. เจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 กําหนดไวอยางชัดเจนวา
ใหการศึกษาเปนเครื่องมือสําคัญในการพัฒนากําลังคน คุมครองสิทธิ สรางความเสมอภาคใหโอกาส
ทุกคนไดรับการศึกษาอยางทั่วถึงไมนอยกวา 12 ป
2. การกระจายอํานาจทางการศึกษาใหสถานศึกษาเปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวมพัฒนา
ภารกิจ รวมตัดสินใจ จัดสรรสิ่งอํานวยความสะดวก เพื่อสงเสริมคุณภาพการศึกษาไปสูมาตรฐาน
การศึกษาที่พึงประสงคเกี่ยวกับหลักสูตรและการจัดการเรียนรู พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ
พ.ศ. 2542 แก ไ ขเพิ่ ม เติ ม (ฉบั บ ที่ 2 ) พ.ศ. 2545 ในมาตรา 27 กํ าหนดใหค ณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน กําหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อความเปนไทย ความเปน
พลเมืองดีของชาติ การดํารงชีวิต และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาตอ ใหสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานมีหนาที่จัดทําสาระของหลักสูตรโดยนําสาระของหลักสูตรแกนกลางของประเทศไทยไป
ผนวกกับสาระในสวนที่เกี่ยวของกับปญหาในชุมชน และสังคม ภูมิปญญาทองถิ่น จัดการเรียนรูให
สอดคลองกับสภาพชุมชน และทรัพยากรทองถิ่น เพื่อใหผูเรียนมีคุณภาพตามเกณฑที่กําหนดไวใน
หลักสูตรแกนกลาง หรือหลักสูตรระดับชาติ
116

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปนหลักสูตรระดับชาติ ที่จัดทํา


ขึ้ น สํ า หรั บ ท อ งถิ่ น และสถานศึ ก ษาได นํ า ไปใช เ ป น กรอบ และทิ ศ ทางในการจั ด ทํ า หลั ก สู ต ร
สถานศึกษา และจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ใหมีคุณภาพดานความรู และทักษะที่จําเปนสําหรับการดํารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และ
แสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551)
จากเหตุผล และความจําเปนดังกลาวขางตน มีผลใหสถานศึกษาตาง ๆ มีหนาที่สําคัญใน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยพิจารณาใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน และรายละเอียดที่เขตพื้นที่การศึกษา หรือหนวยงานตนสังกัดอื่น ๆ ในระดับทองถิ่นได
จัดทําเพิ่มเติม รวมทั้ง สถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมในสวนที่เกี่ยวกับสภาพปญหาในชุมชน สังคม ภูมิ
ปญญาทองถิ่น และความตองการของผูเรียน โดยทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา

ความหมายของหลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษา (School Curriculum) หมายถึง แผนหรือแนวทางในการจัดประมวล
ความรู ประสบการณ ซึ่งจัดทําโดยคณะบุคคลในระดับสถานศึกษา เพื่อใชในการพัฒนาผูเรียนใหมี
ความรูความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู และสงเสริมใหผูเรียนรูจักตนเอง มีชีวิตอยูในโรงเรียน
ชุมชน และสังคมอยางมีความสุข การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาพิจารณาจากหลักสูตรแกนกลาง
และกรอบหลักสูตรระดับทองถิ่น นอกจากนั้น สถานศึกษาแตละแหงสามารถพัฒนาเพิ่มเติมในสวนที่
สอดคลองเหมาะสมกับบริบท และจุดเนนของสถานศึกษา ตลอดจนความตองการ ความถนัด และ
ความสามารถของผูเรียน

ความสําคัญของหลักสูตรสถานศึกษา
หลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา เป น หลั ก สู ต รที่ มี หุ น ส ว นการทํ า งานร ว มกั น ของบุ ค คลภายใน
สถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และชุมชนที่มีการวางแผนและออกแบบหลักสูตร
ที่ครอบคลุมภาระงาน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกดานของสถานศึกษา การกําหนดคุณลักษณะ
อั น พึ ง ประสงค ข องผู เ รี ย นจึ ง เป น เป า หมายของคุ ณ ภาพการศึ ก ษา อั น เป น แนวทางการจั ด
กระบวนการเรียนรูที่สอดคลองกับภูมิสังคม คือ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมของชุมชน ซึ่งเปน
มวลประสบการณที่จะเกิดขึ้นกับผูเรียนตามศักยภาพ ของแตละบุคคล
หลักสูตรสถานศึกษาที่มีคุณภาพ ตองเปนหลักสูตรที่พัฒนามาจากขอมูลสารสนเทศดาน
ตาง ๆ ของสถานศึกษา และชุมชน สอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตร
จะตองสนองตอบตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และเศรษฐกิจ และเปลี่ยนไปตามธรรมชาติของ
117

การศึ กษา ผูส อนตองปรับปรุงกระบวนการเรียนรู และประเมินกระบวนการเรียนรูของตน เพื่ อ


สนองตอบต อความตองการของผูเ รี ย นที่เปลี่ย นแปลง และผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลงทาง
เศรษฐกิจ สังคม และวั ฒนธรรมการศึกษาจะเจริญกาวหน ายิ่งขึ้ น ถ าหลักสูตรมีการปรับ ปรุ งให
เปนไปตามความตองการและความจําเปนตลอดเวลา
หลักสูตรสถานศึกษามีความสําคัญหลายประการ ดังนี้
1. เปนขอกําหนดที่ทุกคนในสถานศึกษาตองปฏิบัติตามเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตาม
มาตรฐานที่กําหนด และพัฒนาใหสอดคลองกับความถนัด ความสนใจ และความตองการของผูเรียน
สอดคลองกับสภาพ และความตองการของสถานศึกษา และทองถิ่น
2. เปนเอกสารที่บุคคลภายนอก หรือหนวยงานตาง ๆ มีไวใชประโยชนในกรณีที่ตองการ
ศึกษาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
3. เปนเอกสารที่ใชประกอบการประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อประเมินใหสอดคลองกับ
สภาพการปฏิบัติจริงของสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษา มีความสําคัญตอการชวยพัฒนาผูเรียนในทุก ๆ ดาน สามารถชี้แนะ
ให ผู บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา ครู ตลอดจนผู เ กี่ ย วข อ งกั บ การจั ด การศึ ก ษาได พ ยายามจั ด มวล
ประสบการณ ใ ห แ ก ผู เ รี ย น ได พั ฒ นาตนเองในด า นความรู ทั ก ษะ คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และ
คุณลักษณะอันพึงประสงคบรรลุตามจุดหมายของการจัดการศึกษา
สถานศึกษาจะตองทํางานรวมกับครอบครัว ชุมชน ทองถิ่น วัด หนวยงาน และสถานศึกษา
ทั้งภาครัฐ และเอกชนในทองถิ่น เพื่อใหเกิดผลตามจุดมุงหมายของหลักสูตร 2 ประการ ดังนี้
1. หลักสูตรสถานศึกษา ควรพัฒนาใหเด็กเกิดความสนุก และความเพลิดเพลินในการเรียนรู
เปรียบเสมือนเปนวิธีสรางกําลังใจ และเราใจใหเกิดความกาวหนาแกผูเรียนใหไดมากที่สุด มีความรู
สูงสุด สําหรับผูเรียนทุกคน ควรสรางความเขมแข็ง ความสนใจ และประสบการณใหผูเรียนและ
พัฒนาความมั่ นใจให เรีย น และทํ างานอยางเปน อิสระ และรวมใจกั น ควรใหผู เรีย นมีทักษะการ
เรียนรูสําคัญ ๆ ใน การอานออก เขียนได คิดเลขเปน ไดขอมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีสื่อสาร
สงเสริมจิตใจที่อยากรู อยากเห็น และมีกระบวนการคิดอยางมีเหตุผล
2. หลักสูตรสถานศึกษา ควรสงเสริมการพัฒนาดานจิตวิญญาณ จริยธรรมสังคม และ
วัฒนธรรม โดยเฉพาะพัฒนา หลักการในการจําแนกระหวางถูก และผิด เขาใจ และศรัทธาในความ
เชื่อของตน ความเชื่อ และวัฒนธรรมที่แตกตางกัน มีอิทธิพลตอตัวบุคคล และสังคม หลักสูตร
สถานศึกษาตองพัฒนาหลักคุณธรรม และความอิสระของผูเรียน และชวยใหเปนพลเมืองที่มีความ
รับผิดชอบ สามารถชวยพัฒนาสังคมใหเปนธรรมขึ้น มีความเสมอภาค ควรพัฒนาความตระหนัก
เขาใจ และยอมรับสภาพแวดลอมที่ตนดํารงชีวิตอยู ยึดมั่นในขอตกลงรวมกันตอการพัฒนาที่ยั่งยืน
ทั้งใน ระดับสวนตน ระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับโลก หลักสูตรสถานศึกษา ควรสรางให
118

ผูเรียนมีความพรอมในการเปนผูบริโภคที่ตัดสินใจแบบมีขอมูล และเปนอิสระ และเขาใจในความ


รับผิดชอบ
สรุปไดวา หลักสูตรสถานศึกษามีความสําคัญดังนี้
1. เปนเอกสารของทางราชการ เพื่อใหบุคคลที่เกี่ยวของกับการศึกษาไดปฏิบัติตาม
และเขาใจตรงกัน
2. เปนแผนการปฏิบัติงานของครูในการจัดการเรียนรูใ หกบั ผูเรียน
3. เปนมาตรฐานในการจัดการศึกษาระดับตาง ๆ
4. เปน แนวทางในการสงเสริมความเจริ ญงอกงามและพัฒนาการของผูเรีย นตาม
จุดมุงหมายของการศึกษา
5. เปนเครื่องกําหนดแนวทางในการจัดประสบการณการเรียนรูใหกบั ผูเรียนเพื่อให
ไดรับประโยชนทั้งตอตนเอง ชุมชน และสังคม
6. เปนตัวกําหนดลักษณะและรูปแบบของสังคมในอนาคตและเปนเครื่องชีว้ ัด
ความเจริญกาวหนาของประเทศ
7. เปนแผนการดําเนินงานของผูบริหารสถานศึกษาในการบริหารงานตามนโยบาย ของ
การจัดการศึกษา
ขอควรคํานึงในการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา
1. หลักสูตรสถานศึกษา ตองเชื่อมโยงกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งเปน
กรอบสําคัญของการจัดการศึกษาสําหรับสถานศึกษาทั่วประเทศ สวนสําคัญที่ตองยึดถือมาตรฐาน
การเรี ย นรู ของกลุ มสาระการเรี ย นรู ตา ง ๆ และมาตรฐานการเรีย นรู ซึ่งมาตรฐานดังกลาว เป น
คุณภาพที่เกิดกับผูเรียนทั่วประเทศ หลังจากที่จบจากการศึกษาแตละระดับชั้น หรือจบการศึกษาขั้น
พื้นฐาน
2. หลักสูตรสถานศึกษา จะตองพัฒนาผูเรียนใหเต็มศักยภาพ ซึ่งจะเปนสวนที่เพิ่มเติมจาก
ขอ 1 หลักสู ตรจะตองตอบสนองตอความถนั ด ความสนใจ และความตองการของผูเ รียน ความ
แตกตางของแตละบุคคล เปนการชวยใหผูเรียนไดพัฒนาถึงขีดสูงสุด
สถานศึ กษา สามารถออกแบบหลักสูตรของตนเองไดอยางอิส ระ โดยยึดนโยบาย และ
กฎหมายที่เกี่ยวของหลักวิชาการที่เกี่ยวของในการจัดการศึกษา มีความถูกตองเหมาะสมสอดคลอง
กับบริบทของสถานศึกษา ชุมชนและทองถิ่นและมีความเปนไปได

ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
สกิลเบ็ก (Skillbeck.1984 ) ไดใหความหมายของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาไววา
หมายถึง การวางแผน การออกแบบ การนําไปใช และการประเมินผล การกําหนดการเรียนรูของ
119

นักเรียน ดําเนินการโดยสถานศึกษา เนนการตัดสินใจรวมกันระหวางบุคลากรภายในสถานศึกษา


ไมใชกําหนดจากบุคคลภายนอก
กรมวิ ช าการ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร (2544 ) ได ให ความหมายการพัฒ นาหลั กสูต ร
สถานศึกษาวา คือ พันธกิจ หรือภาระหนาที่ที่สถานศึกษา และชุมชนรวมกันในการพัฒนาผูเรียนให
เหมาะสมกับยุคสมัย โดยกําหนดเปนวิสัยทัศน เปาหมาย มาตรฐานการเรียนรู สาระการเรียนรู
และผลการเรีย นรู ที่คาดหวั ง เพื่ อใหครูทุกคนนํ าไปออกแบบการเรีย นรู มีการวางแผนรว มกันทั้ง
สถานศึกษาเปนหลักสูตร ที่ครอบคลุมภาระงานการจัดการศึกษาทุกดานของสถานศึกษา
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นที่ 1 การศึกษา และวิเคราะหขอมูลตาง ๆ
1.1 ขอมูลเกี่ยวกับสภาพ และความตองการของชุมชน
1.2 การวิเคราะหศักยภาพของโรงเรียน
1.3 การวิเคราะหหลักสูตรแกนกลาง
ขั้นที่ 2 การรางหลักสูตร
2.1 การกําหนดจุดประสงคของหลักสูตร
2.2. การกําหนดเนื้อหาสาระ
2.3 การจัดการเรียนรู กิจกรรม และสื่อตาง ๆ
2.4 การกําหนดวิธีวัด และประเมินผลผูเรียน
ขั้นที่ 3 การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร
ขั้นที่ 4 การนําหลักสูตรไปใช
ขั้นที่ 5 การประเมินผลหลักสูตร
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่กําหนดขึ้น เปนการพัฒนาหลักสูตรครบ
วงจรคือ เริ่มตั้งแตการศึกษา และวิเคราะหขอมูลพื้นฐาน การรางหลักสูตร การตรวจสอบคุณภาพ
ของหลักสูตร การนําหลักสูตรไปใชสถานการณจริง รวมทั้งการประเมินหลักสูตร โดยหวังวาขั้นตอน
การพัฒนาหลักสูตรที่สมบูรณทําใหไดหลักสูตรที่มีประสิทธิภาพ
120

การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา
การจัดทําหลักสูตรศึกษา เปนกระบวนการที่ตองอาศัยการมีสวนรวมของฝายตาง ๆ เชน
ฝายบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน ผูปกครอง ชุมชน โดยทั่วไปนั้นมีการดําเนินการใน 2 สวน คือ
1. การดําเนินการระดับสถานศึกษา : ดําเนินการโดยองคคณะบุคคลในระดับสถานศึกษา
ไดแกคณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการ เพื่อพิจารณา
จัดทําหลักสูตรสถานศึกษา รวมทั้งแนวปฏิบัติตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เชน ระเบียบการวัดประเมินผลการ
เรี ย นรู ร ว มทั้ ง พิ จ ารณาเกี่ ย วกั บ เอกสารบั น ทึ ก และรายงานผลการเรี ย น ซึ่ ง ต อ งใช ร ว มกั น ใน
สถานศึกษานั้น ๆ
2. การดําเนินการระดับชั้นเรียน : ดําเนินการโดยครูผูสอนแตละคนในการออกแบบหนวย
การเรียนรูและจัดการเรียนรู เพื่อใหสอดคลองเหมาะสมกับผูเรียนแตละกลุม ซึ่งอาจมีความแตกตาง
กัน ดังนั้น จึงมีความเปนไดที่ครูผูสอนรายวิชาเดียวกัน ระดับชั้นเดียวกัน อาจพิจารณาออกแบบ
หนวย การเรียนรูที่แตกตางกันได เพราะผูเรียนที่ครูแตละคนรับผิดชอบนั้นอาจมีความตองการ และ
ความสามารถแตกตางกัน ดังนั้น กิจกรรมการเรียนรู หรืองานที่มอบหมายใหผูเรียนปฏิบัติ สื่อการ
สอน หรือวิธีการวัดประเมินผล อาจตองปรับใหเหมาะสมกับผูเรียนแตละกลุม
121

ขั้นตอนการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา
การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา โดยทั่วไปนั้นดําเนินการโดยคณะกรรมการ หรือคณะทํางาน
ซึ่งมีขั้นตอนการดําเนินงานโดยสังเขป ดังนี้
1. แตงตั้งคณะกรรมการ/คณะทํางาน : คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ
ของสถานศึกษา ประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา และครูผูสอน
2. ศึกษา วิเคราะหขอมูลจากแหลงตาง ๆ : มีแหลงขอมูลสําคัญมากมายที่เปนประโยชนตอ
การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา อาทิ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 กรอบหลักสูตรระดับทองถิ่น ขอมูลจากการวิเคราะห สภาพ
ปญหา จุดเนน ความตองการของชุมชน และของสถานศึกษาแตละแหง ตลอดจนความตองการของ
ผูเรียน
3. จัดทําหลักสูตรสถานศึกษา : พิจารณาจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา ซึ่งมีองคประกอบ
สําคัญไดแก ความนํา วิสัยทัศน สมรรถนะสําคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค โครงสราง
หลักสูตรสถานศึกษา (เวลาเรียน รายวิชาพื้นฐาน/เพิ่มเติม ) คําอธิบายรายวิชา กิจกรรมพัฒนา
ผูเรียน และเกณฑการจบหลักสูตร พรอมกันนี้สถานศึกษาจะตองจัดทําเอกสารระเบียบการวัดผล
ประเมินผล เพื่อใชควบคูกับหลักสูตรสถานศึกษา
4. ตรวจสอบองค ป ระกอบหลักสูต รสถานศึก ษา โดยพิ จ ารณาความถูก ตอง และความ
เหมาะสม
5. นําเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณาใหความเห็นชอบ : นําเสนอรางเอกสาร
หลักสูตรสถานศึกษา และระเบียบการวัดประเมินผลตอคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อพิจารณาให
ความเห็นชอบ หากมีขอเสนอแนะจากคณะกรรมการก็นําขอเสนอแนะดังกลาวไปพิจารณาปรับปรุง
กอนการอนุมัติใชหลักสูตร
6. จัดทําเปนประกาศหรือคําสั่งเรื่องการใชหลักสูตรสถานศึกษา โดยผูบริหารสถานศึกษา
และประธานกรรมการสถานศึกษาเปนผูลงนาม หรือผูบริหารสถานศึกษาเปนผูลงนาม
7. ใชหลักสูตรสถานศึกษา : ครูผูสอนนําหลักสูตรสถานศึกษาไปกําหนดโครงสรางรายวิชา
และออกแบบหนวยการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามเปาหมาย
8. วิจัยและติดตามผลของหลักสูตร : ดําเนินการติดตามผลการใชหลักสูตรอยางตอเนื่อง
เป น ระยะ ๆ เพื่ อ นํ า ผลจากการติ ดตามมาใชเปน ขอมูล พิจ ารณาปรับ ปรุงหลักสูตรใหมีคุณภาพ
และมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น
122

องคประกอบสําคัญของหลักสูตรสถานศึกษา
เอกสารหลักสูตรสถานศึกษาเปนเอกสารสําคัญที่ครูจะใชสําหรับการจัดทําหนวยการเรียนรู
การจัดการเรียนรู และการประเมินผลเพื่อพัฒนาผูเรียน ดังนั้น เอกสารหลักสูตรสถานศึกษา ควรมี
ขอมูลที่ชัดเจนในการนําไปสูการปฏิบัติ องคประกอบที่สําคัญของหลักสูตรสถานศึกษา ไดแก
1) สวนนํา : ขอมูลในสวนนี้ชวยใหครูผูสอนและผูเกี่ยวของทราบถึงเปาหมายโดยรวมของ
สถานศึกษา ในการพัฒนาผูเรียน ประกอบดวย ความนํา วิสัยทัศน สมรรถนะสําคัญของผูเรียน และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค ตามหลักสูตรแกนกลางฯ เปนตน
2) โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา : เปนสวนที่ใหขอมูลเกี่ยวกับการกําหนดรายวิชาที่จัด
การเรียนรูในแตละป/ภาคเรียน ประกอบดวยรายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม พรอมทั้งจํานวนเวลา
เรียน หรือหนวยกิต ของรายวิชาเหลานั้น (โครงสรางเวลาเรียน และโครงสรางหลักสูตรชั้นป)
3) คําอธิบายรายวิชา : สวนนี้เปนรายละเอียดที่ชวยใหทราบวาผูเรียนจะรูอะไรจากรายวิชา
นั้น ๆ ในคําอธิบายรายวิชาจะประกอบดวยรหัสวิชา ชื่อวิชา ประเภทรายวิชา (พื้นฐาน/เพิ่มเติม)
กลุมสาระการเรียนรู ระดับชั้นที่สอน พรอมทั้งคําอธิบายใหทราบวา เมื่อเรียนรายวิชานั้นแลว ผูเรียน
จะมีความรู ทักษะ คุณลักษณะ หรือเจตคติอะไร ซึ่งอาจระบุใหทราบถึงกระบวนการเรียนรู หรือ
ประสบการณสําคัญที่ผูเรียนจะไดรับดวยก็ได
4) กิจกรรมพัฒนาผูเรียน : เปนสวนหนึ่งที่สถานศึกษากําหนดใหผูเรียนไดพัฒนาตนเอง
ตามศักยภาพ ประกอบดวยกิจกรรม 3 ลักษณะ ไดแก กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และ
กิจ กรรมเพื่อสั งคมและสาธารณประโยชน โดยระบุแนวการจัด เวลา และแนวทางการประเมิน
กิจกรรม
5) เกณฑการจบการศึกษา : เปนสวนที่สถานศึกษากําหนดคุณสมบัติของผูที่จะจบ
การศึกษาในแตละระดับ โดยพัฒนาเกณฑดังกลาว ใหสอดคลองสัมพันธกับเกณฑการจบหลักสูตร
ตามหลักสูตรแกนกลางฯ และสถานศึกษาจะตองจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการ
เรียนเพื่อใชควบคูกับหลักสูตรสถานศึกษา

ในสว นการจั ดทํ า รูป เล ม และการจัดแบงจํานวนเลมของหลักสูตรสถานศึกษาขึ้น อยูกับ


สถานศึกษาจะพิจารณาตามที่เห็นสมควร สถานศึกษาบางแหงอาจรวมองคประกอบทั้ง 4 ประการ
ขางตนไวในเลมเดียวกันทั้งหมด แตบางแหงอาจจะแยกคําอธิอบายรายวิชาตามกลุมสาระการเรียนรู
ทั้ ง 8 กลุ ม ก็ ไ ด เพื่ อ ไม ใ ห เ อกสารหนาเกิ น ไป และเพื่ อ ให ก ารนํ า ไปใช มี ค วามสะดวก และมี
ประสิทธิภาพสูงสุด สําหรับปกของหลักสูตรนั้นควรประกอบไปดวยตราสัญลักษณของโรงเรียน ชื่อ
โรงเรี ย น ป พ.ศ. ที่ เ ริ่ มใช ห ลั กสู ตร และหน ว ยงานที่ โ รงเรี ย นสั งกั ด สํ าหรั บ ปที่ เริ่ มใช ห ลัก สูต ร
สถานศึกษานั้นหากหลังจากใชไประยะหนึ่งแลวสถานศึกษามีการปรับปรุงหลักสูตรก็ปรับเปลี่ยนป
พ.ศ. ใหมใหสอดคลองกับหลักสูตรที่ปรับปรุง
123

1. การเขียนสวนนําของหลักสูตรสถานศึกษา : ปกหลักสูตรสถานศึกษา ประกาศหรือ


คํา สั่ งให ใชห ลั กสู ตรสถานศึ กษา ความนํา วิสั ย ทั ศน โ รงเรี ยน สมรรถนะสําคั ญ ของผูเรีย น และ
คุณลักษณะที่พึงประสงค
1.1 ปกหลักสูตรสถานศึกษา ควรประกอบดวยตราสัญลักษณของโรงเรียน ชื่อโรงเรียน
ป พ.ศ. ที่ เ ริ่ ม ใช ห ลั ก สู ต ร และหน ว ยงานที่ โ รงเรี ย นสั ง กั ด หากหลั ง จากที่ ใ ช ไ ประยะหนึ่ ง แล ว
สถานศึกษามีการปรับปรุงหลักสูตร ใหปรับเปลี่ยนป พ.ศ. ใหมใหสอดคลองกับปที่ปรับปรุง
1.2 ประกาศหรือคําสั่งใหใชหลักสูตรสถานศึกษา หลังจากคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานเห็นชอบแลว ใหจัดทําประกาศหรือคําสั่ง โดยผูบริหารสถานศึกษาและประธานกรรมการ
สถานศึกษาเปนผูลงนาม หรือผูบริหารสถานศึกษาเปนผูลงนามแตเพียงผูเดียว
1.3 ความนํา เขียนแสดงใหเห็นความเชื่อมโยง ระหวางหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้ น ฐาน พุ ทธศั ก ราช 2551 มาตรฐานการเรี ย นรูแ ละตัว ชี้วั ดกลุ มสาระการเรี ย นรูค ณิต ศาสตร
วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตร ในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560 รวมทั้ง คําสั่งและประกาศตาง ๆ ที่เกี่ยวของ กรอบหลักสูตรระดับทองถิ่น
จุดเนน และความตองการของโรงเรียน
1.4 วิสัยทัศนโรงเรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได
กําหนดวิสัยทัศนหลักสูตรไวในระดับชาติ เพื่อใหสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกแหงใช
เปนทิศทางการจัดการศึกษาของตน เพื่อพัฒนาไปสูเปาหมายเดียวกัน อยางไรก็ตามหากสถานศึกษา
มีความตองการหรือจุดที่ตองการเนนเพิ่มเติมก็สามารถปรับเพื่อแสดงการเนนเพิ่มเติมใหชัดเจนใน
วิสัยทัศนของสถานศึกษาได
วิสัยทัศนของโรงเรียน เปนเจตนารมณ อุดมการณ หลักการ ความเชื่อ อนาคตที่
พึงประสงค เอกลักษณของโรงเรียนเพื่อสรางศรัทธา จุดประกายความคิดในการพัฒนาองคกร และ
คุณภาพผูเรียนที่สอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรอบ
หลักสูตรระดับทองถิ่น และความตองการของโรงเรียน
1.4.1 ศึกษาขอมูล ตอไปนี้
1) ศึ ก ษา วิ เ คราะห วิ สั ย ทั ศ น ห ลั ก สู ต รแกนกลาง การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน
พุทธศักราช 2551
2) ศึกษากรอบหลักสูตรระดับทองถิ่น
3) ศึกษาขอมูลความตองการ จุดเนนของทองถิ่นและโรงเรียน
1.4.2 กําหนดคําสํา คัญที่ มุงบอกถึ งเจตนารมณ อุ ดมการณ หลั กการ ความเชื่อ
อนาคตที่พึงประสงคที่จะพัฒนาผูเรียนไปสูจุดหมายของหลักสูตร
1.4.3 ลักษณะของวิสัยทัศนที่สมบูรณ ควรประกอบดวยประเด็นตอไปนี้
124

1) สอดคล อ งกั บ จุ ด หมาย หลั ก การของหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น


พื้นฐานพุทธศักราช 2551
2) สอดคลองกับกรอบหลักสูตรระดับทองถิ่น
3) แสดงภาพอนาคตของผูเรียนที่ครอบคลุมสภาพความตองการของโรงเรียน
ชุมชน และทองถิ่น
4) ใชภาษากะทัดรัด ชัดเจน สามารถปฏิบัติได
หมายเหตุ ไม ค วรลอกวิ สั ย ทั ศ น ข องหลั ก สู ต รแกนกลาง ฯ มาทั้ ง หมด ควรนํ า มา
เทียบเคียงและปรับใหเปนของสถานศึกษาเอง
1.5 สมรรถนะสําคัญของผูเรียน เปนสมรรถนะจําเปนพื้นฐาน 5 ประการ ที่ผูเรียนพึงมี
ซึ่ ง กํ า หนดไว ใ นหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน สมรรถนะเหล า นี้ ไ ด ห ลอมรวมอยู ใ น
มาตรฐานการเรี ย นรู และตั ว ชี้ วั ดของกลุมสาระการเรีย นรูตาง ๆ ทั้ ง 8 กลุ มสาระการเรีย นรู
สมรรถนะสําคัญ 5 ประการ ดังนี้
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการคิด
3) ความสามารถในการแกปญหา
4) ความสามารถในการใชทักษะชีวิต
5) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
1.6 คุณลักษณะที่ พึงประสงค คุ ณลักษณะที่พึงประสงค 8 ประการที่กําหนดไวใน
หลักสูตรแกนกลางนั้นเปนคุณลักษณะที่ตองการใหเกิดแกผูเรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ดังนี้
1) รักชาติ ศาสน กษัตริย
2) ซื่อสัตยสุจริต
3) มีวินัย
4) ใฝเรียนรู
5) อยูอยางพอเพียง
6) มุงมั่นในการทํางาน
7) รักความเปนไทย
8) มีจิตสาธารณะ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กําหนดคุณลักษณะอันพึง


ประสงคกําหนดไว 8 ประการ เปนคุณลักษณะที่ตองการใหเกิดแกผูเรียนทุกคนในระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน โรงเรียนอาจจะเพิ่มตามจุดเนนของโรงเรียนตามความเหมาะสม
125

2. การกําหนดโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา
การจัดทําโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา จะตองจัดทํา 2 สวน ไดแก โครงสรางเวลา
เรียน และโครงสรางหลักสูตรชั้นป โดยพิจารณาจากขอมูล ตอไปนี้
2.1 เวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กําหนด
ภายหลังจากประกาศใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551เมื่อ
วันที่ 11 กรกฎาคม 2560 ไดมีคําสั่ง ประกาศ และหนังสือราชการ เกี่ยวกับโครงสรางเวลาเรียน
หลายฉบับ ซึ่งบางฉบับยังมีผลบังคับใช และบางฉบับยกเลิกไปแลว โดยสรุป ดังนี้
126

โครงสรางเวลาเรียนระดับประถมศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 และ หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560
เวลาเรียน
กลุมสาระการเรียนรู/ กิจกรรม ระดับประถมศึกษา
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6
 กลุมสาระการเรียนรู
ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160
คณิตศาสตร 200 200 200 160 160 160
วิทยาศาสตร 80 80 80 80 80 80
สังคมศึกษา ศาสนา
120 120 120 120 120 120
และวัฒนธรรม
o ประวัติศาสตร (40) (40) (40) (40) (40) (40)
o ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
o หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม
และการดําเนินชีวิตใน
สังคม (80) (80) (80) (80) (80) (80)
o เศรษฐศาสตร
o ภูมิศาสตร
สุขศึกษาและพลศึกษา 80 80 80 80 80 80
ศิลปะ 80 80 80 80 80 80
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80
ภาษาตางประเทศ 40 40 40 80 80 80
รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 840 840 840 840 840 840
 รายวิชา / กิจกรรม
ที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม ปละไมนอยกวา 40 ชั่วโมง
(หนาที่พลเมือง)
 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
o กิจกรรมแนะแนว
o กิจกรรมนักเรียน
- ลูกเสือยุวกาชาด 120 120 120 120
- ชุมนุม 120 120
o กิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน
รวมเวลา
120 120 120 120 120 120
กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
รวมเวลาทั้งหมด ไมนอ ยกวา 1,000 ชั่วโมง/ป ไมนอยกวา 1,000 ชั่วโมง/ป

หมายเหตุ ใหโรงเรียนระบุเวลาเรียนตามที่โรงเรียนกําหนด
127

โครงสรางเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551และ
หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560
เวลาเรียน
กลุมสาระการเรียนรู/ กิจกรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4 – 6
 กลุมสาระการเรียนรู
ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
คณิตศาสตร 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
วิทยาศาสตร 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
สังคมศึกษา ศาสนา
160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 320 (8 นก.)
และวัฒนธรรม
o ประวัติศาสตร 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 80 (2 นก.)
o ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
o หนาที่พลเมือง
วัฒนธรรม และการ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
ดําเนินชีวิตในสังคม
o ภูมิศาสตร
o เศรษฐศาสตร
สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.)
ศิลปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.)
การงานอาชีพและ
80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.)
เทคโนโลยี
ภาษาตางประเทศ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 1,640 (41 นก.)
ปละไมนอยกวา 200 ชั่วโมง ไมนอยกวา 1,600 ชั่วโมง
 รายวิชาเพิ่มเติม
ใหมีรายวิชาหนาทีพ่ ลเมือง 40 ชม. (1 นก./1 ป) (ใหมรี ายวิชาหนาที่พลเมือง 80 ชม. (2 นก.)/3 ป)

 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
o กิจกรรมแนะแนว
o กิจกรรมนักเรียน
- ลูกเสือ ยุวกาชาดฯ 120 120 120 360
- ชุมนุม
o กิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน
รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผูเรียน 120 120 120 360
รวม 3 ป
รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไมนอยกวา 1,200 ชัว่ โมง/ป
ไมนอยกวา 3,600 ชั่วโมง
128

หมายเหตุ
1. ชั้น ป.1 – 3 อาจจัดเวลาเรียนเพิ่มเติมใหเปนเวลาสําหรับสาระการเรียนรูพื้นฐานในกลุม
สาระการเรียนรูภาษาไทย และคณิตศาสตร
2. การจัดสรรเวลาเรียนในรายวิชาพื้นฐาน ผูเรียนตองมีศักยภาพตามมาตรฐานการเรียนรู
และตัวชี้วัดที่หลักสูตรแกนกลาง ฯ กําหนด
3. การจัดเวลาเรียนตองใหสอดคลองกับเกณฑการจบ และคํานึงถึงศักยภาพของผูเรียน
4. วิ ช าหน า ที่ พ ลเมื อง สถานศึ กษาตองจัด การเรีย นการสอนหนาที่ พลเมือ ง เปาหมาย
การจั ด คื อ การส ง เสริ ม การสร า งความเป น พลเมื อ งดี ข องชาติ ต ามความพร อ ม และบริ บ ทของ
สถานศึกษา โดยมีทางเลือกในการจัดการเรียนการสอน 4 ทางเลือก ดังนี้
1) เพิ่มวิชาหนาที่พลเมืองในหลักสูตรสถานศึกษา โดยจัดเปนรายวิชาเพิ่มเติมในกลุม
สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (วัดผลรายวิชาเพิ่มเติมหนาที่พลเมือง)
ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 - 6) และระดับมัธยมศึกษาตอนตน
(ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 – 3) ใหสถานศึกษาจัดรายวิชา “หนาที่พลเมือง” เปนรายวิชาเพิ่มเติม จํานวน
40 ชั่วโมงตอป ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6) เปนรายวิชาเพิ่มเติม
จํานวน 80 ชั่วโมง ตลอด 3 ป (2 หนวยกิต)
2) บูรณาการกับการเรียนรูในรายวิชาอื่นทั้งรายวิชาพื้นฐาน หรือเพิ่มเติมในกลุมสาระ
การเรียนรูสังคมศึกษา ฯ (วัดผลรวมอยูในรายวิชานั้น ๆ)
3) บูรณาการกับการเรียนรูในรายวิชาพื้นฐาน หรือรายวิชาเพิ่มเติม ในกลุมสาระการ
เรียนรูอื่น (วัดผลรวมอยูในรายวิชานั้น ๆ)
4) บู ร ณาการกั บ กิ จ กรรมพั ฒ นาผู เ รี ย น หรื อกิ จ กรรม/โครงการ/โครงงานหรื อ วิ ถี
ชีวิตประจําวันในโรงเรียน (วัดผล ผาน – ไมผาน ตามลักษณะของกิจกรรม)
ทั้งนี้ สถานศึกษาควรระบุไดวาจัดการเรียนการสอนหนาที่พลเมืองในลักษณะใด ผลการจัด
บรรลุเปาหมายหรือไม
กําหนดรายวิชาหนาที่พลเมือง
ระดับประถมศึกษา
ชั้นเรียน รหัสวิชา ชื่อวิชา จํานวนชั่วโมง
ประถมศึกษาปที่ 1 ส11231 หนาที่พลเมือง 1 40
ประถมศึกษาปที่ 2 ส12232 หนาที่พลเมือง 2 40
ประถมศึกษาปที่ 3 ส13233 หนาที่พลเมือง 3 40
ประถมศึกษาปที่ 4 ส14234 หนาที่พลเมือง 4 40
ประถมศึกษาปที่ 5 ส15235 หนาที่พลเมือง 5 40
ประถมศึกษาปที่ 6 ส16236 หนาที่พลเมือง 6 40
129

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

ชั้นเรียน ภาคเรียน รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต/ชั่วโมง


มัธยมศึกษาปที่ 1 1 ส21231 หนาที่พลเมือง 1 0.5/20
2 ส21233 หนาที่พลเมือง 2 0.5/20
มัธยมศึกษาปที่ 2 1 ส22233 หนาที่พลเมือง 3 0.5/20
2 ส22234 หนาที่พลเมือง 4 0.5/20
มัธยมศึกษาปที่ 3 1 ส23235 หนาที่พลเมือง 5 0.5/20
2 ส23236 หนาที่พลเมือง 6 0.5/20

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ชั้นเรียน รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต/ชั่วโมง


ส30231 หนาที่พลเมือง 1 0.5/20
มัธยมศึกษาปที่ 4 - 6 ส30232 หนาที่พลเมือง 2 0.5/20
ส30233 หนาที่พลเมือง 3 0.5/20
ส30234 หนาที่พลเมือง 4 0.5/20

5. การเรียนการสอนประวัติศาสตร ระดับประถมศึกษาใหเรียนประวัติศาสตร 40 ชม./ป


ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 40 ชม./ป (3 หนวยกิต) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 80 ชม./3 ป
(2 หนวยกิต)
6. การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ สถานศึกษาทุกแหงยังคงตองจัดการเรียน การสอน
ภาษาอังกฤษ ในชั้น ป.1-3 จํานวน 200 ชั่วโมง/ป โดยมีทางเลือก ดังนี้
1) จัดการเรียนรูภาษาอังกฤษ เปนรายวิชาพื้นฐาน จํานวน 200 ชั่วโมง/ป
2) จัดการเรียนรูภาษาอังกฤษ เปนรายวิชาพื้นฐาน อยางนอยจํานวน 120 ชั่วโมง/
ปและจัดเปนรายวิชาเพิ่มเติม หรือกิจกรรมพัฒนาผูเรียน หรือกิจกรรมเสริมหลักสูตร 80 ชั่วโมง/ป
รวมเวลาเรียนภาษาอังกฤษทั้งหมด จํานวน 200 ชั่วโมง/ป
2.2 จํานวนมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด และลักษณะตัวชี้วัด
1) จํานวนมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด
ศึกษาและพิจารณาจํานวนตัวชี้วัดชั้นปและตัวชี้วัดชวงชั้นในแตละกลุมสาระการ
เรียนรู เพื่อการกําหนดเวลาเรียนในแตละวิชาตามโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาใหเปนไปอยาง
130

เหมาะสม สําหรับจํานวนมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร และ


กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ( ฉบับปรับปรุง พ . ศ. 2560)
2) ลักษณะตัวชี้วัด
การทํ า ความเข า ใจลั กษณะตัว ชี้วัด เพื่อนําไปใชป ระกอบการพิจ ารณาตัดสิน ใจ
กําหนดรายวิชาโดยศึกษา ความยากงาย และลําดับความตอเนื่องสัมพันธของแตละตัวชี้วัด
2.3 เปาหมาย จุดเนน การพัฒนาผูเรียนของทองถิ่นและของโรงเรียน
เพื่อใหการจัดการศึกษาของแตละโรงเรียนสงผลตอคุณภาพผูเรียนตาม ที่ทองถิ่น
และโรงเรียนตองการ ดังนั้น โรงเรียนควรพิจารณากําหนดรายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผูเรียนใน
โครงสร า งหลั กสู ตรสถานศึ กษาให ส อดคลองกับ เปาหมาย /จุดเนน การพัฒ นาผูเรีย นของกรอบ
หลักสูตรระดับทองถิ่น (จัดทําโดยเขตพื้นที่การศึกษา) และความตองการ/จุดเนนของโรงเรียน
2.4 ระเบียบ แนวปฏิบัติในการบริหารจัดการหลักสูตร ไดแก
1) การกําหนดรายวิชา สถานศึกษาจะตองนําความรูและทักษะตามมาตรฐานการ
เรียนรูของแตละ “กลุมสาระการเรียนรู ” (Learning areas) ไปจัดทําเปน “รายวิชา ”
(Courses) โดยตั้งชื่อ รายวิชาใหสะทอนสิ่งที่สอนในรายวิชานั้น ๆ กําหนดรหัสวิชา รวมทั้งระบุ
จํานวนเวลาเรียน หรือจํานวนหนวยกิตของรายวิชาเหลานั้นกํากับไวดวย ทั้งนี้ ระดับประถมศึกษา
จัดทํารายวิชาเปนรายป ระดับมัธยมศึกษาจัดทําเปนรายภาคเรียน
การตั้งชื่อรายวิชา ควรสะทอนจุดเนนและเนื้อหาสาระที่สอน และระดับความยาก
งายของสิ่งที่สอนในรายวิชานั้น เชน

1. รายวิชาพื้นฐาน ใหใชชื่อตามกลุมสาระการเรียนรู
ประถมศึกษา 2. รายวิชาเพิ่มเติม ใหใชชื่อใหสอดคลองกับเนื้อหาสาระ
ของรายวิชา

1. รายวิชาพื้นฐาน ใหใชชื่อตามกลุมสาระการเรียนรูหรือใช
ชื่อที่สอดคลองกับเนื้อหาสาระของรายวิชา
มัธยมศึกษาตอนตน /
2. รายวิชาเพิ่มเติม ใหใชสื่อที่สอดคลองกับเนื้อหาสาระ
ตอนปลาย
รายวิชา
131

ตัวอยาง เชน
ภาษาไทย: ภาษาไทย 1/ภาษาไทยพื้นฐาน 2/วรรณคดี 1/การอานเชิงวิเคราะห
คณิตศาสตร: คณิตศาสตร 1/คณิตศาสตรพื้นฐาน 1/คณิตศาสตรพื้นฐาน 2/เรขาคณิต/สถิติ
วิทยาศาสตร : วิทยาศาสตร 1/วิทยาศาสตรทั่วไป 2/ฟสิกส 1/เคมี 2
สังคมศึกษาฯ: สังคมศึกษา 1/ประวัติศาสตร 1/ประวัติศาสตรไทย 1/ พระพุทธศาสนา 1
ศิลปะ: ศิลปะ 1 / ทัศนศิลป 2/ดนตรีและนาฏศิลป 1
การงานอาชีพและเทคโนโลยี: การงานอาชีพ 1/เทคโนโลยี 2/งานเกษตร/งานประดิษฐ
ฯลฯ

2) ประเภทของรายวิชา มีดังนี้
2.1) รายวิชาพื้นฐาน : เปนรายวิชาที่เปดสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนตามมาตรฐานการ
เรียนรู /ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางที่ กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลาง ซึ่ง เปนสิ่ง ที่
ผูเรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตองเรียนรู การตั้งชื่อรายวิชาพื้นฐานควรสอดคลองกับ
กลุมสาระการเรียนรู หรือสะทอนถึงจุดเนนและเนื้อหาสาระที่สอน และระดับความยากงายของสิ่งที่
สอนในรายวิชานั้น
2.2) รายวิชาเพิ่มเติม : เปนรายวิชาที่สถานศึกษาแตละแหงสามารถเปดสอน
เพิ่มเติมจากสิ่งที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลาง เพื่อใหสอดคลองกับจุดเนน ความตองการและ
ความถนัดของผูเรียนหรือความตองการของทองถิ่น โดยมีการกําหนด “ผลการเรียนรู ” เปน
เป าหมายในการพั ฒ นาผู เ รีย น ทั้งนี้ จ ะตองสอดคลองกับ เกณฑการจบ การศึกษา สําหรับ ชื่อ
รายวิชาเพิ่มเติมนั้น ควรสอดคลองกับกลุมสาระการเรียนรู หรือสะทอนถึงจุดเนนและเนื้อหาสาระที่
สอน และระดับความยากงายของสิ่งที่สอนในรายวิชานั้น

ประเภทรายวิชา
1. เปนรายวิชาที่เปดสอนเพื่อพัฒนาผูเรียน ตามมาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด
1. รายวิชาพื้นฐาน
และสาระการเรียนรูแกนกลางที่กําหนดไว
2. ผูเรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตองเรียน

1. รายวิชาที่พัฒนาผูเรียนใหเรียนรูนอกเหนือจากมาตรฐาน / ตัวชี้วัดที่กําหนด
ไวในหลักสูตรแกนกลาง
2. รายวิชาเพิ่มเติม 2. สถานศึกษาสามารถเปดสอนรายวิชาเพิ่มเติมใหสอดคลองกับจุดเนนความ
ตองการ ความถนัดของผูเรียน ความตองการของทองถิ่น
3. กําหนด “ผลการเรียนรู” เปนเปาหมายการพัฒนาผูเรียนในรายวิชาเพิ่มเติม
132

3) การจัดรายวิชา
1) ระดับประถมศึกษา
รายวิชาพื้นฐาน
1. ใหสถานศึกษาจัดรายวิชาพื้นฐานตามกลุมสาระการเรียนรู กลุมละ 1 รายวิชา
ตอปยกเวนกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กําหนดเปนรายวิชาสังคมศึกษา
และรายวิชาประวัติศาสตร โดยรายวิชาประวัติศาสตรใหจัดการเรียนการสอน 40 ชั่วโมงตอป
2. สาระเทคโนโลยี เปนสาระหนึ่งในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร จึงจัดอยูใน
รายวิชาวิทยาศาสตร โดยไมแยกเปนรายวิชาเฉพาะ
รายวิชาเพิ่มเติม
สถานศึ ก ษาสามารถกํ า หนดรายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม ตาม ความพร อ ม จุ ด เน น ของ
สถานศึกษา ความตองการ และความถนัดของผูเรียน โดยจัด เปนรายป และมีการกําหนดผลการ
เรียนรูของรายวิชานั้น ๆ
2) ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน
รายวิชาพื้นฐาน
- ในแตละกลุมสาระการเรียนรู รวมทั้งกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรและ
วิทยาศาสตร อาจจัดไดมากกวา 1 รายวิชาในแตละภาค/ป
- สามารถจัดรายวิชาพื้นฐานใน 1 ภาคเรียน ใหเรียนครบ / ไมครบทั้ง 8 กลุม
สาระการเรียนรูได แตเมื่อจบหนึ่งปการศึกษา สถานศึกษาตองจัดใหเรียนรายวิชาพื้นฐานครบทั้ง 8
กลุมสาระการเรียนรู
- กําหนดให 1 รายวิชามีคาน้ําหนัก ไมนอยกวา 0.5 หนวยกิต (1 หนวยกิต คิดเปน
40 ชั่วโมง/ภาคเรียน) และเมื่อรวมจํานวนหนวยกิตของรายวิชาพื้นฐานในแตละกลุมสาระการเรียนรู
แลว ตองมีเวลาเรียนรวม 880 ชั่วโมงตอป (22 หนวยกิต)
- กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ใหจัดสาระประวัติศาสตร
เปนรายวิชาเฉพาะ ภาคเรียนละ 1 รายวิชา (0.5 หนวยกิต) ทุกภาคเรียน รวม 6 รายวิชา
(3.0 หนวยกิต)
รายวิชาเพิ่มเติม
สถานศึกษาสามารถกําหนดรายวิชาเพิ่มเติมตาม ความพรอม จุดเนนของสถานศึกษา
ความตองการ และความถนัดของผูเรียน โดยจัดเปนรายภาค และมีการกําหนดผลการเรียนรูของ
รายวิชานั้น ๆ
3) ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาพื้นฐาน
- ในแตละกลุมสาระการเรียนรู รวมทั้งกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร และ
133

วิทยาศาสตร อาจจัดไดมากกวา 1 รายวิชา โดยภายใน 3 ป ตองครบทุกตัวชี้วัดที่กําหนดในกลุม


สาระการเรียนรูนั้น ๆ
- กําหนดให 1 รายวิชามีคาน้ําหนัก ไมนอยกวา 0.5 หนวยกิต (1 หนวยกิต คิดเปน
40 ชั่วโมง/ภาคเรียน) และเมื่อรวมจํานวนหนวยกิตของรายวิชาพื้นฐานในแตละกลุมสาระการเรียนรู
แลว ตองมีเวลาเรียนรวม 1,640 ชั่วโมงตอ 3 ป (41 หนวยกิต)
- กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร และวิทยาศาสตร กําหนดตัวชี้วัดเปนรายป ใน
การนําไปใช อาจจัดใหตรงตามชั้นปที่กําหนด หรือยืดหยุนระหวางป ซึ่งอาจจัดไมตรงตามชั้นปที่
กําหนดไดตามความเหมาะสมและศักยภาพของผูเรียน
- กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ใหจัดรายวิชาประวัติศาสตร
ใหครบ 2 หนวยกิต ภายใน 3 ป
รายวิชาเพิ่มเติม
สถานศึกษาสามารถกําหนดรายวิชาเพิ่มเติมตาม ความพรอม จุดเนนของสถานศึกษา
ความตองการ และความถนัดของผูเรียน โดยจัดเปนรายภาค และมีการกําหนดผลการเรียนรูของ
รายวิชานั้น ๆ
การจัดรายวิชา
รายวิชาพื้นฐาน : กําหนดรายวิชาพื้นฐานตามกลุม สาระการเรียนรูไ ดตามความ
เหมาะสม ในแตละกลุมสาระการเรียนรู จัดได 1 รายวิชาตอป ใหชื่อตามกลุม
สาระการเรียนรู
ระดับประถมศึกษา
รายวิชาเพิ่มเติม : กําหนดรายวิชาเพิ่มเติมตามความเหมาะสม ตั้งชื่อใหสอดคลอง
กับเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น

รายวิชาพื้นฐาน
1. กําหนดรายวิชาพื้นฐานตามกลุม สาระการเรียนรู ตามความเหมาะสม
2. ในแตละกลุม สาระการเรียนรูอาจจัดไดมากกวา 1 รายวิชาใน 1 ภาคเรียน
3. ใหชื่อรายวิชาตามกลุมสาระการเรียนรูหรือตามเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น
4. กําหนดให 1 รายวิชามีคาน้ําหนักไมนอยกวา 0.5 หนวยกิต
ระดับมัธยมศึกษา (1หนวยกิต คิดเปน 40 ชั่วโมง / ภาคเรียน)
ตอนตน และ 5. เมื่อรวมจํานวนหนวยกิตรายวิชาพื้นฐานในแตละกลุมสาระการเรียนรูแลวให
มัธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาเพิ่มเติม
1. กําหนดรายวิชาเพิ่มเติมไดตามความเหมาะสม
2. กําหนดชื่อรายวิชาใหสอดคลองกับเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น
3. เมื่อรวมเวลาเรียนของวิชาเพิ่มเติมทั้งหมดสอดคลองกับโครงสรางเวลาเรียนที่
กําหนดในหลักสูตรแกนกลาง
134

4) การกํ า หนดรหั ส วิ ชา เพื่ อใหเกิดความสะดวกและความเขาใจตรงกัน ในการ


สื่อสาร สถานศึกษาจําเปนตองกําหนดรหัสวิชาอยางเปนระบบ
ระบบรหัส วิชา การกําหนดรหัสวิ ชาควรใช ตัวเลขอารบิก เพื่อสื่อสารและการ
จั ด ทํ า เอกสารหลั ก ฐานการศึ กษา สํ า หรับ รายวิช าพื้น ฐานและรายวิ ช าเพิ่ มเติม ตามหลั กสู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบดวยตัวอักษรและตัวเลข 6 หลัก ดังนี้

หลักที่ 1 เปนรหัสตัวอักษรแสดงกลุมสาระการเรียนรู คือ


ท หมายถึง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ค หมายถึง กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ว หมายถึง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ส หมายถึง กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
พ หมายถึง กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา
ศ หมายถึง กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ
ง หมายถึง กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
� หมายถึง กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศใหใชรหัสของแตละภาษาตาม
รายการ
หมายเหตุ รหัสตัวอักษรกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ
1) รายการรหัสตัวอักษรกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศที่จะนําไปใสแทน � มีดังนี้
ก หมายถึง ภาษาเกาหลี ข หมายถึง ภาษาเขมร
135

จ หมายถึง ภาษาจีน ซ หมายถึง ภาษารัสเซีย


ญ หมายถึง ภาษาญี่ปุน ต หมายถึง ภาษาเวียดนาม
น หมายถึง ภาษาลาติน บ หมายถึง ภาษาบาลี
ป หมายถึง ภาษาสเปน ฝ หมายถึง ภาษาฝรั่งเศส
ม หมายถึง ภาษามลายู ย หมายถึง ภาษาเยอรมัน
ร หมายถึง ภาษาอาหรับ ล หมายถึง ภาษาลาว
อ หมายถึง ภาษาอังกฤษ ฮ หมายถึง ภาษาฮินดู

2) กรณีที่มีสถานศึกษาใดจัดทํารายวิชาภาษาตางประเทศอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กําหนด
ไว ใ ห ส ถานศึ ก ษาทํ า เรื่ อ งเสนอสํ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานเพื่ อ กํ า หนด
รหัสตัวอักษรกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศเพิ่มเติม และประกาศใหสถานศึกษาทั่วประเทศ
ไดรับทราบ และใชใหตรงกัน
ทั้งนี้ ตั้งแตปการศึกษา 2563 ใหเปลี่ยนชื่อกลุมสาระการเรียนรู สวน อักษรยอ ใชคงเดิม
ดังนี้
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เปน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ
ใหใชรหัสวิชา ง
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เปน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีให
ใชรหัสวิชา ว
หลักที่ 2 เปนรหัสตัวเลขแสดงระดับการศึกษาในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน และ
มัธยมศึกษาตอนปลาย สะทอนระดับความรูและทักษะในรายวิชาที่กําหนดไว ดังนี้
1 หมายถึง รายวิชาระดับประถมศึกษา
2 หมายถึง รายวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนตน
3 หมายถึง รายวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักที่ 3 เปนรหัสตัวเลขแสดงปที่เรียนของรายวิชา ซึ่งสะทอนระดับความรู และทักษะใน
รายวิชาที่กําหนดไวในแตละป ดังนี้
0 หมายถึง รายวิชาที่ไมกําหนดปที่เรียน จะเรียนปใดก็ไดในระดับประถมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษาตอนปลาย
1 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปที่ 1 ของระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน
และมัธยมศึกษาตอนปลาย (ป. 1 ม. 1 และ ม. 4)
2 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปที่ 2 ของระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน
และมัธยมศึกษาตอนปลาย (ป. 2 ม. 2 และ ม. 5)
136

3 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปที่ 3 ของระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน


และมัธยมศึกษาตอนปลาย (ป. 3 ม. 3 และ ม. 6)
4 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปที่ 4 ของระดับประถมศึกษา (ป. 4)
5 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปที่ 5 ของระดับประถมศึกษา (ป. 5)
6 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปที่ 6 ของระดับประถมศึกษา (ป. 6)
หลักที่ 4 เปนรหัสตัวเลขแสดงประเภทของรายวิชา คือ
1 หมายถึง รายวิชาพื้นฐาน
2 หมายถึง รายวิชาเพิ่มเติม
หลักที่ 5 และหลักที่ 6 เปนรหัสตัวเลขแสดงลําดับของรายวิชาแตละกลุมสาระการเรียนรู
ในป/ระดับการศึกษาเดียวกัน ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน หรือมัธยมศึกษาตอน
ปลาย มีจํานวนตั้งแต 01-99 ดังนี้
รายวิชาที่กําหนดปที่เรียน ใหนับรหัสหลักที่ 5-6 ตอเนื่องในปเดียวกัน หากจัดรายวิชาเปนรายภาค
ใหกําหนดเรียงลําดับรายวิชาในกลุมสาระการเรียนรูเดียวกันใหเสร็จสิ้นในภาคเรียนแรกกอน แลวจึง
กําหนดตอในภาคเรียนที่สองรายวิชาที่ไมกําหนดปที่เรียน ใหนับรหัสหลักที่ 5-6 ตอเนื่อง ใน
ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษาตอนปลายทั้งนี้ รหัสหลักที่ 5 และหลักที่ 6
ของรายวิชาเพิ่มเติม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 4 – 6) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ให
กําหนดรหัสวิชา เปนชวงลําดับ ดังนี้
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ลําดับที่ 01 - 19 หมายถึง รายวิชาในกลุมฟสิกส
ลําดับที่ 21 - 39 หมายถึง รายวิชาในกลุมเคมี
ลําดับที่ 41 - 59 หมายถึง รายวิชาในกลุมชีววิทยา
ลําดับที่ 61 - 79 หมายถึง รายวิชาในกลุมโลกและอวกาศ
ลําดับที่ 81 - 99 หมายถึง รายวิชาในกลุมวิทยาศาสตรอื่น ๆ
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ลําดับที่ 01 - 19 หมายถึง รายวิชาในกลุมศาสนา
ลําดับที่ 21 - 39 หมายถึง รายวิชาในกลุมหนาที่พลเมือง
ลําดับที่ 41 - 59 หมายถึง รายวิชาในกลุมเศรษฐศาสตร
ลําดับที่ 61 - 79 หมายถึง รายวิชาในกลุมประวัติศาสตร
ลําดับที่ 81 - 99 หมายถึง รายวิชาในกลุมภูมิศาสตร
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ลําดับที่ 01 - 19 หมายถึง รายวิชาในกลุมการดํารงชีวิตและครอบครัว
ลําดับที่ 21 - 39 หมายถึง รายวิชาในกลุมการออกแบบและเทคโนโลยี
137

ลําดับที่ 41 - 59 หมายถึง รายวิชาในกลุมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร


ลําดับที่ 61 - 79 หมายถึง รายวิชาในกลุมอาชีพ

5. เกณฑการจบการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กําหนดเกณฑกลาง
สําหรับการจบการศึกษาเปน 3 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และ
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
5.1 เกณฑการจบระดับประถมศึกษา
1) ผูเรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม โดยเปน
รายวิชาพื้นฐาน ตามโครงสรางเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนด และ
รายวิชา /กิจกรรมเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากําหนด
2) ผูเรียนมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผานเกณฑการประเมินตามที่
สถานศึกษากําหนด
3) ผูเรียนมีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ในระดับผาน
เกณฑการประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
4) ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคในระดับผานเกณฑ
การประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
5) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑ
การประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
5.2 เกณฑการจบระดับมัธยมศึกษาตอนตน
1) ผูเรียนเรียนรายวิชาพืน้ ฐานและเพิ่มเติม โดเปนรายวิชาพื้นฐาน 66
หนวยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากําหนด
2) ผูเรียนตองไดหนวยกิตตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 77 หนวยกิต โดยเปน
รายวิชาพื้นฐาน 66 หนวยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไมนอยกวา 11 หนวยกิต
3) ผูเรียนมีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนในระดับผานเกณฑ
การประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
4) ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ในระดับผานเกณฑการ
ประเมินตามที่สถานศึกษา
5) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการ
ประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
138

5.3 เกณฑการจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
1) ผูเ รียนเรีย นรายวิชาพื้นฐานและเพิ่ มเติ ม โดยเป นรายวิชาพื้นฐาน 41
หนวยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากําหนด
2) ผูเรียนตองไดหนวยกิตตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 77 หนวยกิต โดยเปน
รายวิชาพื้นฐาน41 หนวยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไมนอยกวา 36 หนวยกิต
3) ผูเรียนมีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนในระดับผานเกณฑ
การประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
4) ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประ สงค ในระดับผานเกณฑการ
ประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
5) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการ
ประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
นอกจากนั้น การจัดทําโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จะตอง
ใหความสําคัญกับเงื่อนไขคุณสมบัติผู สมัครสอบเขาเรียนตอในระดับอุดมศึกษา คณะ/สาขาตางๆ
เช น แพทยศาสตร วิ ศ วกรรมศาสตร พยาบาลศาสตรแ ละสถาปต ยกรรมศาสตร สถานศึ กษา
จําเปนตองจัดทําโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาใหมีรายวิชาและหนวยกิตที่เรียนครบตามคุณสมบัติ

3. คําอธิบายรายวิชา
เมื่อสถานศึกษากําหนดรายวิชาที่จะเปดสอนในแตละป / ภาคเรียน เรียบรอยแลว จะตอง
เขียนคําอธิบายรายวิชา ทั้งรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติมไวในหลักสูตรสถานศึกษาดวย
คําอธิบายรายวิชาคืออะไร
คําอธิบายรายวิชา เปนขอมูลรายละเอียดของแตละรายวิชา ประกอบดวยมาตรฐาน
การเรียนรู เนื้อหาสาระ เวลาเรียน รหัสวิชา ชื่อวิชา จํานวนหนวยกิต ระดับชั้น เพื่อใชเปน
กรอบทิศทางที่ผูสอนใชในการวางแผนและออกแบบการเรียนรู
คําอธิบายรายวิชามีไวเพื่ออะไร
1. เพื่อสรางความเขาใจวาในรายวิชานั้น ผูเรียนจะไดเรียนรูองคความรู ฝกทักษะ/
กระบวนการและมีคุณลักษณะอันพึงประสงคที่สําคัญอะไรบาง
2. เพื่อเปนแนวทางใหผูสอนนําไปออกแบบการจัดการเรียนรู
คําอธิบายรายวิชามีลักษณะอยางไร
คํ า อธิ บ ายรายวิ ช ามี ลั ก ษณะเป น ความเรี ย งที่ ป ระกอบด ว ยองค ค วามรู ทั ก ษะ/
กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค คําอธิบายรายวิชาของรายวิชาพื้นฐาน ใหวิเคราะห
จากตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางที่หลักสูตรแกนกลางฯ กําหนด สําหรับคําอธิบายรายวิชา
139

เพิ่มเติม ใหวิเคราะห จากผลการเรียนรูที่สถานศึกษากําหนดขึ้น คําอธิบายรายวิชาเขียนเปนรายป


สําหรับระดับประถมศึกษา และเปนรายภาคเรียนสําหรับระดับมัธยมศึกษา
องคประกอบสําคัญของคําอธิบายรายวิชาคืออะไร
องคประกอบสําคัญของคําอธิบายรายวิชา... จําแนกได 3 สวน ดังนี้
สวนที่ 1 ประกอบดวย รหัสวิชา......ชื่อรายวิชา……กลุมสาระการเรียนรู....... ชั้นป .......
จํานวนชั่วโมงหรือหนวยกิต
ส ว นที่ 2 ประกอบด ว ย องค ความรู ทั กษะ /กระบวนการ และคุ ณลั กษณะอั น พึ ง
ประสงค โดยมีแนวการเขียนที่สําคัญ ดังนี้
1. ผูเรียนไดเรียนรูอะไรบาง
2. ผูเรียนสามารถทําอะไรไดบาง
3. ผูเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงคอะไรบาง ตามหลักสูตรแกนกลาง ฯ และ
ตามธรรมชาติของวิชา
สวนที่ 3 ประกอบดวยรหัสตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรูทั้งหมดในรายวิชานั้น
คําอธิบายรายวิชาเขียนอยางไร
รายวิชาพื้นฐาน
รายวิชาพื้นฐาน เปนรายวิชาที่สอนใหผูเรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การเขียนคําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน มีขั้นตอนดังนี้
1. วิเคราะหตัวชี้วัดชั้นปในระดับประถมศึกษา สําหรับมัธยมศึกษาตอนตนวิเคราะห
ตัวชี้วัดชั้นป เพื่อกําหนดเปนรายภาค หรือตัวชี้วัดชวงชั้นในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเปนราย
ภาคและสาระการเรี ย นรู แกนกลางตามที่ กํ าหนดไวในหลัก สูตรแกนกลางการศึกษาขั้ น พื้น ฐาน
พุทธศักราช 2551
2. วิเคราะหสาระการเรียนรูทองถิ่นจากกรอบหลักสูตรระดับทองถิ่นของสํานักงานเขต
พื้ น ที่ การศึ กษา ความต องการและบริบ ทของโรงเรีย น เพื่อ กําหนดสาระการเรี ย นรู ทองถิ่น ที่
เกี่ยวของกับตัวชี้วัดในรายวิชานั้น
3. จัดกลุมตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรียนรูทองถิ่นที่มีความเชื่อมโยง
สัมพันธกันเพื่อหลอมรวมและเรียบเรียง เขียนเปนความเรียง ใหเห็นสิ่งที่ตองการใหผูเรียน มีความรู
ความสามารถ และคุณลักษณะในรายวิชานั้น
4. เขียนรายละเอียดตามองคประกอบของคําอธิบายรายวิชา
รายวิชาเพิ่มเติม
รายวิชาเพิ่มเติมเปนรายวิชาที่ โรงเรียนกําหนดขึ้นตามจุดเนน ความตองการของโรงเรียน
หรือทองถิ่น การเขียนคําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม มีขั้นตอนดังนี้
140

1. กําหนดผลการเรียนรูซึ่งโรงเรียนเปนผูกําหนดขึ้น
2. กําหนดสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับผลการเรียนรู
3. จัดกลุมผลการเรียนรู สาระการเรียนรู ทีม่ ีความเชื่อมโยงสัมพันธกันเพื่อหลอมรวม
และเรี ย บเรี ย ง เขี ย นเป น ความเรี ย งให เห็น สิ่ง ที่ตอ งการให ผูเรี ย นมี ความรู ความสามารถ และ
คุณลักษณะในรายวิชานั้น
4. เขียนรายละเอียดตามองคประกอบของคําอธิบายรายวิชา
4) ในโครงสรางหลักสูตรฯ จะระบุรายวิชา และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
4.1) ที่เปดสอนแตละป (ประถมศึกษา)
4.2) เปดสอนแตละภาคเรียน (มัธยมศึกษา)
4.3) รวมทั้งเวลาเรียน / จํานวนหนวยกิต ของรายวิชา / กิจกรรมเหลานั้น

1. รายวิชาพื้นฐาน กําหนดรายวิชาพื้นฐานในแตละกลุม สาระการเรียนรูไ ด 1 รายวิชา/ป


การกําหนดรายวิชา
2. รายวิชาเพิ่มเติม กําหนดรายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรม ไดตามความเหมาะสมทั้งนั้น เมื่อ
ระดับประถมศึกษา
รวมเวลาเรียนแลว ตองไมเกิน 40 ชั่วโมง ตอป

1. รายวิชาพื้นฐาน กําหนดรายวิชาพื้นฐานในแตละกลุม สาระการเรียนรูไ ดตามความ


เหมาะสม อาจจัดไดมากกวา 1 รายวิชาใน 1 ป / ภาคเรียน
การกําหนดรายวิชา 2. ระดับมัธยมศึกษาตอนตน อาจจัดรายวิชาพื้นฐานไมครบทั้ง 8 กลุมสาระการเรียนรูไ ด
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ใน 1 ภาคเรียน แตตองเรียนรายวิชาครบ 8 กลุมสาระการเรียนรูใน 1 ปการศึกษา รวม 66
และมัธยมศึกษาตอนปลาย หนวยกิต
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถจัดรายวิชาพื้นฐานไดตามความเหมาะสม ไม
จําเปนตองครบทั้ง 8 กลุมสาระการเรียนรูไดใน 1 ภาคเรียน / ปการศึกษา แตเมื่อจบชวงชั้น
แลว ตองเรียนรายวิชาพื้นฐานครบทั้ง 8 กลุมสาระการเรียนรู รวม 41 หนวยกิต
4. รายวิชาเพิ่มเติม สามารถกําหนดรายวิชาเพิม่ เติม / กิจกรรม ไดตามความเหมาะสม
ทั้งนี้เมื่อรวมเวลาเรียนของรายวิชาเพิ่มเติมและกิจกรรมทั้งหมดแลว
- ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ไมนอยกวา 11 หนวยกิต
- ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อยางนอย 36 หนวยกิต
โดยพิจารณาใหสอดคลองกับความพรอม จุดเนนของสถานศึกษา และเกณฑการจบหลักสูตร
141

การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู /ตัวชี้วัด
การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด สถานศึกษาสามารถทําไดหลายวิธี ในที่นี้ได
เสนอตัวอยางการวิเคราะหตัวชี้วัดประกอบการสรางความรูความเขาใจ 2 รูปแบบ ดังตอไปนี้
รูปแบบที่ 1 การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด เปนสิ่งที่ผูเรียนควรรูและสามารถปฏิบัติได
แบบบันทึกการวิเคราะหเพื่อจัดทําคําอธิบายรายวิชา
กลุมสาระการเรียนรู ......................................... รายวิชา ...............................ชั้น...............................
สาระ.........................................................................
มาตรฐาน ............................................................................................................................................

ตัวชี้วัด รูอะไร ทําอะไรได สาระการเรียนรู สาระการเรียนรู


แกนกลาง ทองถิ่น

รูปแบบที่ 2 การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู /ตัวชี้วัด เปนความรู ทักษะ/กระบวนการ และ


คุณลักษณะอันพึงประสงค
แบบบันทึกการวิเคราะหเพื่อจัดทําคําอธิบายรายวิชา
กลุมสาระการเรียนรู ......................................... รายวิชา ...............................ชั้น...............................
สาระ.........................................................................
มาตรฐาน ............................................................................................................................................

ตัวชี้วัด ความรู ทักษะ / คุณลักษณะอันพึง สาระการเรียนรู


กระบวนการ ประสงค ทองถิ่น
142

รูปแบบของการเขียนคําอธิบายรายวิชา
การเขียนคําอธิบายรายวิชา มีหลากหลายรูปแบบ โรงเรียนอาจเลือกไดตามความเหมาะสม
ดังตัวอยางตอไปนี้
รูปแบบที่ 1

รหัสวิชา.. ชื่อรายวิชา..
รายวิชาพื้นฐาน (หรือรายวิชาเพิ่มเติม) กลุม สาระการเรียนรู……………… สวนที่ 1
ชั้น.................................................. เวลา .. ชั่วโมง (จํานวนหนวยกิต)

(เขียนเปนความเรียงใหไดใจความวาผูเรียนไดเรียนรูอะไร สามารถทําอะไรได
มีคุณลักษณะอันพึงประสงคใดบางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และธรรมชาติ
ของวิชา)
................................................................................................................................
........................................................................................................................................
สวนที่ 2
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................

ผลการเรียนรู (รายวิชาเพิ่มเติม)
รหัสตัวชี้วัด (รายวิชาพื้นฐาน) หรือ 1...............................
............................................................... 2............................... สวนที่ 3
............................................................... 3...............................
............................................................... รวมทั้งหมด................... ผลการเรียนรู
รวมทั้งหมด................... ตัวชี้วัด
143

รูปแบบที่ 2

รายวิชาพื้นฐาน (หรือรายวิชาเพิ่มเติม)
รหัสวิชา.. ชื่อรายวิชา.. กลุมสาระการเรียนรู……………… สวนที่ 1
ชั้น................................ เวลา .. ชั่วโมง (จํานวนหนวยกิต)

(เขียนเปนความเรียงใหไดใจความวาผูเรียนไดเรียนรูอะไร สามารถทําอะไรได
มีคุณลักษณะอันพึงประสงคใดบางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และธรรมชาติ
ของวิชา)
................................................................................................................................
........................................................................................................................................
สวนที่ 2
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................

รหัสตัวชี้วัด (รายวิชาพื้นฐาน) หรือ


............................................................... ผลการเรียนรู (รายวิชาเพิ่มเติม)
1............................... สวนที่ 3
...............................................................
............................................................... 2...............................
รวมทั้งหมด................... ตัวชี้วัด 3...............................
รวมทั้งหมด................... ผลการเรียนรู
144

(ตัวอยาง คําอธิบายรายวิชา)

ท15101 ภาษาไทย 5
รายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 เวลา 160 ชั่วโมง
มีทักษะในการอานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง สามารถอธิบายความหมาย
ของคํา ประโยค และขอความที่เปนการบรรยายและการพรรณนา โดยนัยอยางหลากหลาย
สามารถแยกขอเท็จจริง ขอคิดเห็น วิเคราะห แสดงความคิดเห็นจากการอานงานเขียนเชิงอธิบาย
คําสั่ง ขอแนะนํา และปฏิบัติตามได เห็นคุณคาของวรรณคดี และสามารถเลือกอานหนังสือหรือ
วรรณกรรมที่มีคุณคา ระบุความรูขอคิดเห็นจากการอาน โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการ
แสวงหาความรูกระบวนการคิดวิเคราะห และสรุปความ และมีมารยาทในการอาน
มีทักษะในการคัดลายมือดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัด สามารถเขียนสื่อสาร
เขี ย นแผนภาพโครงเรื่ อง แผนภาพความคิด เขีย นยอความเขีย นบัน ทึก อธิบายความ เขีย นจด
หมายถึงผู ปกครอง และญาติ เขี ยนแสดงความรูสึ ก และความคิ ดเห็ น กรอกแบบรายการต าง ๆ ได
สามารถเขียนเรียงความตามจินตนาการและแตงบทรอยกรอง โดยใชกระบวนการเขียน กระบวนการสื่อ
ความ การฝกปฏิบัติและมีมารยาทในการเขียน
มีทักษะในการฟง การดู และการพูดแสดงความรูสึก ความคิดเห็น การตั้งคําถาม ตอบ
คําถาม โดยใชทักษะการคิดวิเคราะหอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการฟงและ
พูด และมีมารยาทในการฟง การดู และการพูด
รู จั กหน าที่ ของคํ า ในประโยค สามารถจํา แนกส ว นประกอบของประโยค เปรี ย บเที ย บ
ภาษาไทยและภาษาถิ่น ใชคําราชาศัพท คําภาษาตางประเทศ ในภาษาไทยใชสํานวนภาษาไทยได
ถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการอนุรักษภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนําความรู
ไปใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันไดอยางถูกตองเหมาะสม

รหัสตัวชี้วัด
ท 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7,ป.5/8
ท 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7,ป.5/8,ป.5/9
ท 3.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
ท 4.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7
ท 5.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
145

ตัวอยางโครงสรางรายวิชา
รายวิชา................................................... กลุมสาระการเรียนรู...............................................
ชัน้ .......................................... ภาคเรียนที่............................ จํานวน................... หนวยกิต

หนวยที่ ชื่อหนวย มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระสําคัญ เวลา (ชม.) คะแนน

รวมทั้งสิ้น

5) จัดทําหนวยการเรียนรู โดยการนําเอาสาระการเรียนรูรายปหรือรายภาคที่กําหนดไว
ไปบูรณาการจัดทําเปนหนวยการเรียนรูยอย ๆ เพื่อความสะดวกในการจัดการเรียนรูและผูเรียนได
เรียนรูในลักษณะองครวม หนวยการเรียนรู แตละหนวยประกอบดวย ผลการเรียนรูที่คาดหวัง สาระ
การเรียนรู และจํานวนเวลาสําหรับการจัดการเรียนรู ซึ่งเมื่อเรียนครบทุกหนวยยอยแลว ผูเรียน
สามารถบรรลุตามผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปหรือรายภาคของทุกวิชา
ในการจัดทําหนวยการเรียนรู อาจบูรณาการทั้งภายในและระหวางกลุมสาระการเรียนรู
หรือเปนการบูรณาการเฉพาะเรื่องตามลักษณะสาระการเรียนรู หรือเปนการบูรณาการที่สอดคลอง
กับวิถีชีวิตของผูเรียน โดยพิจารณาจากมาตรฐานการเรียนรูที่มีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธกับการจัดการ
เรียนรูสําหรับหนวยการเรียนรูในชั้น สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนไดเรียนรูโดยการปฏิบัติโครงงาน
อยางนอย 1 โครงงาน

4. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
กิจกรรมพัฒนาผูเรียน แบงเปน 3 ลักษณะ คือ 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กิจกรรมนักเรียน
และ3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน โดยพิจารณาจากโครงสรางเวลาเรียนที่กําหนดไว
ในหลักสูตรแกนกลาง และเปาหมาย/จุดเนนของทองถิ่น พรอมทั้งพิจารณาความตองการและจุดเนน
ของสถานศึ ก ษา เพื่ อจั ด เวลาเรี ย นให เ หมาะสมกับ บริ บ ทของสถานศึ ก ษาแต ล ะแห ง หลั ก สู ต ร
แกนกลางไดกําหนดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนสําหรับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปที่ 3 ป
ละ 120 ชั่วโมง และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4- 6 จํานวน 360 ชั่วโมง จํานวนเวลาที่กําหนด เปน
146

เวลารวมในการปฏิ บั ติ กิ จ กรรมแนะแนว กิ จ กรรมนั ก เรี ย น และกิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คมและ


สาธารณประโยชน ในสวนของกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนนั้น หลักสูตรแกนกลางระบุ
ใหสถานศึกษาจัดสรรเวลาใหผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
ระดับประถมศึกษา (ป.1-6) รวม 6 ป จํานวน 60 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.1-3) รวม 3 ป จํานวน 45 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) รวม 3 ป จํานวน 60 ชั่วโมง
จากโครงสรางเวลาเรียนดังกลาว สถานศึกษาสามารถพิจารณาจัดแบงจํานวนเวลาสําหรับ
ผูเรียนแตละระดับชั้นปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนไดตามความเหมาะสม และ
อาจจัดใหผูเรียนไดทํากิจกรรมดังกลาวในบางชั่วโมงของลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด หรือกิจกรรม
ชุมนุมตางๆ ก็ได นอกจากนั้นยังสามารถสอดแทรกในการเรียนการสอนรายวิชาตางๆ โดยมีหลักฐาน
ที่สามารถยืนยันเวลาที่ผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรมดังกลาวครบตามเวลาที่สถานศึกษากําหนด พรอมทั้ง
การประเมินการปฏิบัติไวอยางชัดเจน
การจบหลักสูตรในแตละระดับ ผูเรียนจะตองเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนแตละประเภท
ดังนี้
ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนตน จัดใหผูเรียนเขารวมกิจกรรมดังนี้
1. กิจกรรมแนะแนว
2. กิจกรรมนักเรียน
2.1 ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชน
2.2 ชุมนุม ชมรม
ผูเรียนตองเขารวมและไดรับการประเมินกิจกรรมทั้ง 2.1 และ 2.2
3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดใหผูเรียนไดเขารวมกิจกรรมดังนี้
1. กิจกรรมแนะแนว
2. กิจกรรมนักเรียน
2.1 ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชน หรือนักศึกษาวิชาทหาร
2.2. ชุมนุม ชมรม
ผูเรียนสามารถเขารวมกิจกรรมทั้ง 2.1 และ 2.2 หรือเลือกอยางใดอยางหนึ่งไดตาม
ความเหมาะสม
3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนบําเพ็ญตน
ใหเปนประโยชนตอสังคม ชุมชน และทองถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึง
ความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอสังคม มีจิตสาธารณะ เชน กิจกรรมอาสาพัฒนาตาง ๆ
กิจกรรมสรางสรรคสังคม
147

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน กําหนดไวในชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปละ


120ชั่วโมง และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 จํานวน 360 ชั่วโมง เปนเวลาสําหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะ
แนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ในสวนกิจกรรมเพื่อสังคม
และสาธารณประโยชนใหสถานศึกษาจัดสรรเวลาใหผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
ระดับประถมศึกษา (ป. 1 – 6) รวม 6 ป จํานวน 60 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม. 1 – 3) รวม 3 ป จํานวน 45 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 4 – 6) รวม 3 ป จํานวน 60 ชั่วโมง
การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน โรงเรียนอาจจัดทําไดหลายรูปแบบ เชน
1) จัดแบงสัดสวนเวลาของกิจกรรมตาง ๆ แลวกําหนดเวลาเรียนในตารางเวลาเรียน
เชนเดียวกันกับกลุมสาระอีก 8 กลุมสาระ
2) จัดแบงสัดสวนเวลาของกิจกรรมตาง ๆ แลวกําหนดเวลาเรียนบางสวนในตารางเวลา
เรียนปกติ และบางสวนเรียนนอกเวลา
3) จัดกิจกรรมตาง ๆ ไปดวยกัน โดยวางแผนรวมกันของกลุมอาจารยที่ปรึกษากิจกรรม
กําหนดเวลาเรียนบางสวนในตารางเวลาเรียนปกติ บางสวนเรียนนอกเวลา ฯลฯ
สถานศึกษา ตองจัดใหผูเรียนทุกคนเขารวมกิจกรรมใหเหมาะสมกับวัยวุฒิภาวะและความ
แตกตางระหวางบุคคลของผูเรียน

แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
แนวการเขี ย นการจั ด กิ จ กรรมพั ฒ นาผู เ รี ย นของโรงเรี ย น แบ ง เป น 3 ลั ก ษณะ ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดแก 1 ) กิจกรรมแนะแนว 2)
กิจกรรมนักเรียน และ 3 ) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ในแตละกิจกรรมใหระบุแนว
การจัดกิจกรรม เวลาการจัดกิจกรรม และแนวทางการประเมินกิจกรรมที่โรงเรียนกําหนด
ตัวอยางกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
กิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนกิจกรรมที่มุงใหผูเรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอยาง
รอบดานเพื่อความเปนมนุษยที่สมบูรณ ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม เสริมสรางให เปน
ผูมีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝงและสรางจิตสํานึกของการทําประโยชนเพื่อสังคม
สามารถจัดการตนเองได และอยูรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข
โรงเรียน ....................................................................... ไดจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน โดยแบง
ออกเปน 3 ลักษณะ ดังนี้
1. กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาผูเรียนให
..............................................................................................................................................................
..................................................................…………………………………………………………………………………
148

นักเรียนทุกคนควรเขารวมกิจกรรมแนะแนว ระดับประถมศึกษา .......... ชั่วโมงตอปการศึกษา


ระดับมัธยมศึกษา..........ชั่วโมงตอภาคเรียน
แนวการจัดกิจกรรมแนะแนว
............................................................................................................................. ..............................
..............................................................................................................................................................
.... ........................................................ ............................................................................................
...........................................................................................................................................................
2. กิจกรรมนักเรียน เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาผูเรียนให
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
กิจกรรมนักเรียนประกอบดวย
2.1 กิจกรรมลูกเสือ /เนตรนารี /ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชน และนักศึกษาวิชาทหาร
นั ก เรี ย นทุ ก คนต องเข า ร ว มกิ จ กรรมลู ก เสื อ / เนตรนารี / ยุ ว กาชาด ผู บํ าเพ็ ญ ประโยชน และ
นักศึกษาวิชาทหาร ระดับประถมศึกษา .......... ชั่วโมงตอปการศึกษา ระดับมัธยมศึกษา..........
ชั่วโมงตอภาคเรียน
แนวการจัดกิจกรรมลูกเสือ /เนตรนารี /ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชน และนักศึกษาวิชา
ทหาร
............................................................................................................................. .....................
..................... ................... ..........................................................................................................
2.2 กิจกรรมชุมนุม/ชมรม ผูเรียนทุกคนตองเขารวมกิจกรรมชุมนุม ระดับประถมศึกษา
.......... ชั่วโมงตอปการศึกษา ระดับมัธยมศึกษา..........ชั่วโมงตอภาคเรียน
แนวการจัดกิจกรรมชุมนุม
.............................................................................................................................
............................................................................................................................................................
หมายเหตุ สามารถระบุช่อื กิจกรรมชุมนุมที่โรงเรียนจัดใหผูเรียนเลือกเรียน หรือชื่อกิจกรรมชุมนุม
ที่โรงเรียนจัดใหมี
3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาผูเรียนให
..............................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
ผูเรียนทุกคนตองเขารวมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ระดับประถมศึกษา ..........
ชั่วโมงตอปการศึกษา ระดับมัธยมศึกษา..........ชั่วโมงตอภาคเรียน
149

แนวการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
แนวทางการประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
..............................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
หมายเหตุ การประเมินผลอาจเขียนแยกการประเมินผลแตละกิจกรรม หรือเขียนรวมในภาพรวม
ของกิจกรรมพัฒนาผูเรียนก็ได

5. เกณฑการจบการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กําหนดเกณฑกลางสําหรับการจบ
การศึกษาเปน 3 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย
5.1 เกณฑการจบระดับประถมศึกษา
1) ผูเรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม โดยเปน
รายวิชาพื้นฐาน ตามโครงสรางเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนด และ
รายวิชา /กิจกรรมเพิ่มเติมตามทีส่ ถานศึกษากําหนด
2) ผูเรียนมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผานเกณฑการประเมินตามที่
สถานศึกษากําหนด
3) ผูเรียนมีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ในระดับผาน
เกณฑการประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
4) ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคในระดับผานเกณฑ
การประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
5) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑ
การประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
5.2 เกณฑการจบระดับมัธยมศึกษาตอนตน
1) ผูเรียนเรียนรายวิชาพืน้ ฐานและเพิ่มเติม โดเปนรายวิชาพื้นฐาน 66 หนวย
กิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากําหนด
2) ผูเรียนตองไดหนวยกิตตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 77 หนวยกิต โดยเปน
รายวิชาพื้นฐาน 66 หนวยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไมนอยกวา 11 หนวยกิต
3) ผูเรียนมีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนในระดับผานเกณฑ
การประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
150

4) ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ในระดับผานเกณฑการ
ประเมินตามที่สถานศึกษา
5) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการ
ประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
5.3 เกณฑการจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
1) ผูเ รียนเรีย นรายวิชาพื้นฐานและเพิ่ มเติ ม โดยเป นรายวิชาพื้นฐาน 41
หนวยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากําหนด
2) ผูเรียนตองไดหนวยกิตตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 77 หนวยกิต โดยเปน
รายวิชาพื้นฐาน 41 หนวยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไมนอยกวา 36 หนวยกิต
3) ผูเรียนมีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนในระดับผานเกณฑ
การประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
4) ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประ สงค ในระดับผานเกณฑการ
ประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
5) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการ
ประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด
นอกจากนั้น การจัดทําโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จะตอง
ใหความสําคัญกับเงื่อนไขคุณสมบัติผู สมัครสอบเขาเรียนตอในระดับอุดมศึกษา คณะ/สาขาตางๆ
เช น แพทยศาสตร วิ ศ วกรรมศาสตร พยาบาลศาสตรแ ละสถาปต ยกรรมศาสตร สถานศึ กษา
จําเปนตองจัดทําโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาใหมีรายวิชาและหนวยกิตที่เรียนครบตามคุณสมบัติ

การเรียบเรียงในการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา
จากกระบวนการดังกลาวขางตน สถานศึกษาจะมีรายละเอียดที่ครอบคลุมภาระงานการจัด
การศึกษาทุกดาน ในขั้นนี้ จึงเปนการวิเคราะหและเรียบเรียง เพื่อใหเปน หลักสูตรสถานศึกษาที่
สมบูรณ ในการกําหนดหลักสูตรสถานศึกษาควรคํานึงวาสิ่งที่ปรากฏในหลักสูตรเปนสิ่งที่สถานศึกษา
จะตองดําเนินการ ตั้งแตตน คือ การกําหนดวิสัยทัศน จนกระทั่งการนําหลักสูตรสูหองเรียน คือ การ
จัดทําแผนการเรียนรู รวมทั้งการบริหารจัดการหลักสูตรใหประสบความสําเร็จ ใชศักยภาพทั้งของ
สถานศึ ก ษาและชุ ม ชนเต็ ม ที่ เกิ ด ประโยชน ต อ การพั ฒ นาผู เ รี ย นอย า งแท จ ริ ง ประการสํ า คั ญ
หลักสูตรสถานศึกษาจะตองสามารถบอกใหผูที่เกี่ยวของและบุคคลในชุมชนทราบอยางชัดเจนวา จะ
จัดการศึกษาอยางไรในสถานศึกษาดังนั้น เอกสารหลักสูตรสถานศึกษาอาจมีหลายเลม ซึ่งในเลมแรก
ควรเปนเลมที่กําหนดภาพรวม และมีเลมอื่น ๆ อีก ตามความเหมาะสม ซึ่งอาจแยกเลมตามกลุม
สาระการเรียนรู หรือหนวยการเรียนรู
151

การเรียบเรียง เปนหลักสูตรสถานศึกษา ควรประกอบดวย สวนสําคัญ ดังนี้


1) สวนหนา ประกอบดวย ปก ปกรอง คํานํา คําชี้แจง (ถามี) สารบัญ
2) สวนของเนื้อหา ประกอบดวย
ตอนที่ 1 สวนนํา ประกอบดวย
1. ความนํา
2. วิสัยทัศน
3. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
4. คุณลักษณะอันพึงประสงค
5. อื่น ๆ ตามความเหมาะสมและจําเปน
ตอนที่ 2 โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา ประกอบดวย โครงสรางและรายละเอียด
เกี่ยวกับโครงสรางของหลักสูตรสถานศึกษาทั้งหมด
ตอนที่ 3 คําอธิบายรายวิชา ประกอบดวยคําอธิบายรายวิชาทุกกลุมสาระการเรียนรู
ทุกระดับชั้น
ตอนที่ 4 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
ตอนที่ 5 เกณฑการจบหลักสูตร ประกอบดวยเกณฑการวัดและประเมินผล เกณฑการ
จบหลักสูตรของสถานศึกษา
ตอนที่ 6 อื่น ๆ ตามความจําเปน เชน
- แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร เชน การนิเทศติดตามผลการใชหลักสูตร
การวิจัยผลการใชหลักสูตร
- คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ
- บรรณานุกรมหรือเอกสารอางอิง
- คณะผูจัดทําเอกสาร
สถานศึ ก ษาอาจกํ า หนดหั ว ข อ เพิ่ ม เติ ม หรื อ เปลี่ ย นแปลงได ต ามความจํ า เป น และ
เหมาะสม เมื่อสถานศึกษาจัดทํารางหลักสูตรสถานศึกษาตามหัวขอดังกลาวเสร็จเรียบรอยแลว
สถานศึ กษาจะต องตรวจสอบแต ล ะหั ว ขอเพื่อใหส อดคลองกับ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้ น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 หรือหลักสูตรแมบท รวมทั้งสอดคลอง
และเหมาะสมกั บ บริ บ ท/สภาพของสถานศึ ก ษา จากนั้ น นํ า ร า งหลั ก สู ต รดั ง กล า วเสนอต อ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใหความเห็นชอบ
152

การวิจัยและติดตามผลการใชหลักสูตรสถานศึกษา
การวิจัยจะเปนที่มาของขอมูลขาวสารที่แมนตรงแสดงจุดแข็ง จุดออน ปญหา สาเหตุ และ
แนวทางปรับปรุงพัฒนาใหสถานศึกษาสามารถจัดหลักสูตรการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ
ดังนั้น สถานศึกษาควรดําเนินการ ดังนี้
1. การวิจัยพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา มุงเนนการวิจัยเพื่อนําผลมาประกอบการพิจารณา
ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาใหเหมาะสม สอดคลองกับผูเรียนและความตองการของผูปกครอง ชุมชน
1) การประเมิน ความต องการจําเปน ในการศึกษาตอ และการประกอบอาชีพของผู
เรียนในอนาคต เพื่อนํามาใชกําหนดโครงการเรียนรู และเวลาเรียน
2) การประเมินความตองการของพอแมผูปกครอง และชุมชนในการพัฒนาผูเรียน เพื่อ
นํามาใชกําหนดโปรแกรมการเรียน และโครงการตาง ๆ
3) การประเมิ น ผลหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา โดยมี หั ว ข อ ในการพิ จ ารณา เช น ความ
ครบถวนขององคประกอบหลักสูตร ความสอดคลองของแตละองคประกอบสอดคลองกับหลักสูตร
แกนกลางฯ และกรอบหลั ก สู ต รระดั บ ท อ งถิ่ น สอดคล อ งกั บ ความต อ งการของผู เ รี ย น พ อ แม
ผูปกครองและชุมชน ความเหมาะสมของแนวทางการจัดการเรียนรู การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
และระบบการวัดและประเมินผล เปนตน
2. การวิจัย ประเมินผลการใชหลักสูตร
การประเมินผลการใชหลักสูตรเปนสวนสําคัญสวนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
ซึ่งสถานศึกษาจะตองมีความตระหนักในการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรอยางตอเนื่อง เพื่อเปน
หลักประกันวาผูเรียนจะไดรับการพัฒนาทั้งดานสติปญญา ราง กาย คุณธรรม บรรลุตามมาตรฐาน
การเรียนรูระดับชาติ และสามารถดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุข กระบวนการประเมินผลการ
ใชหลักสูตรสามารถดําเนินการได ทั้งระหวางการใชหลักสูตร และเมื่อนําหลักสูตรไปใชเรียบรอย
แลว หรือการติดตามจากผลผลิตของหลักสูตร คือ ผูเรียนที่จบการศึกษาตามหลักสูตร
เพื่อใหการประเมินผลการใชหลักสูตรบรรลุเปาหมายของการควบคุมคุณภาพ สถานศึกษา
ควรจัดใหมีการประเมินทั้งระบบ คือ
1) กําหนดใหมีการประเมินการใชหลักสูตรเปนกิจกรรมหลักของสถานศึกษา
2) สร า งความเข า ใจเกี่ ย วกั บ การประเมิ น การใช ห ลั กสู ต รด ว ยตนเองให เ กิ ด ขึ้ น กั บ
คณะครู
3) วางระบบเครือขายการทํางานและมอบหมายงานการประเมินใหคณะผูปฏิบัติงานแต
ละคณะดําเนินการประเมินเปนระยะ ๆ โดยกําหนดใหชัดเจนวาคณะใดตองประเมินรายการใดบาง
4) สรุ ป ผลการประเมิ น และนํ า ผลการประเมิ น มาปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาหลั ก สู ต ร
สถานศึกษา
การประเมินผลการใชหลักสูตรมีแนวทางการดําเนินการที่สําคัญ คือ พิจารณาองค ประกอบ
153

ของหลักสูตรที่จะประเมิน พิจารณาหลักเกณฑท่ีจะใชในการประเมิน ออกแบบการจัดเก็บขอมูล


ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล เพื่อใชพิจารณาตัดสินใจในการปรับปรุงหลักสูตรตอไป
สํ าหรั บ ประเด็ น ในการประเมิ น นั้ น สามารถประเมิน ได ทั้ง เรื่ องปจ จัย ที่มี ผ ลตอ การใชห ลัก สูต ร
กระบวนการใชห ลักสูตร และผลจากการใช หลักสู ตร อย างไรก็ตาม สถานศึกษาควรมุงเนน การ
ประเมินสวนที่เกี่ยวของตอคุณภาพของผูเรียนเปนสําคัญและควรคํานึงถึงทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
รูและคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน สถานศึกษาจะตองใหความสําคัญ โดยนําผลการประเมิน
ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติมาพิจารณาทั้งผลการประเมินในภาพรวม
และผลการประเมิ น ที่แยกรายวิ ช า และแยกรายมาตรฐาน หากผลการประเมินไมเปนไปตาม
เปาหมายที่คาดหวัง ควรศึกษาวิเคราะหเพื่อคนหาสาเหตุที่แทจริง ซึ่งสาเหตุยอมเกิดมาจากปจจัย
และกระบวนการใชหลักสูตรสถานศึกษานั้นเอง จากนั้นจึงหาวิธีแกปญหาเพื่อพัฒนาคุณภาพตอไป

ท า ยที่ สุ ด นี้ เ พื่ อ ให นั กศึ ก ษามี ความรู ในเรื่ อ งคณะกรรมการสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานซึ่ ง มี
บทบาทในการพิจารณาอนุมัติหลักสูตรสถานศึกษา จึงควรศึกษาดังนี้
ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 38
ประกอบกั บ กฎกระทรวง กํ า หนดจํ า นวนกรรมการ การเลื อกประธานกรรมการและกรรมการ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ. 2546 ไวดังนี้
องคประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
1. จํานวนคณะกรรมการ
(1) สถานศึกษาขนาดที่ 1 มีจํานวนนักเรียนนอยกวา 120 คนลงมา ใหมีคณะกรรมการ
จํานวน 9 คน
(2) สถานศึกษาขนาดที่ 2 – สถานศึกษาขนาดที่ 7 มีจํานวนนักเรียนตั้งแต 120 คนขึ้น
ไป ใหมีคณะกรรมการจํานวน 15 คน
คณะกรรมการสถานศึกษาประกอบดวยกรรมการที่เปนผูแทนกลุมบุคคล หรือผูแทน
องคกรตาง ๆ ดังนี้
1) ประธานกรรมการ
2) กรรมการผูแทนผูปกครอง จํานวน 1 คน
3) กรรมการที่เปนผูแทนครู จํานวน 1 คน
4) กรรมการที่เปนผูแทนองคกรชุมชน จํานวน 1 คน
5) กรรมการที่เปนผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวน 1 คน
6) กรรมการที่เปนผูแทนศิษยเกา จํานวน 1 คน
7) กรรมการที่เปนผูแทนพระภิกษุสงฆและหรือผูแทนองคกรศาสนาในพื้นที่
- สถานศึกษาขนาดเล็ก จํานวน 1 รูป หรือ 1 คน
154

- สถานศึกษาขนาดใหญ จํานวน 2 รูป หรือ 2 คน


8) กรรมการผูทรงคุณวุฒิ
1) สถานศึกษาขนาดเล็ก จํานวน 2 คน
2) สถานศึกษาขนาดใหญ จํานวน 7 คน
9) ผูอํานวยการสถานศึกษา เปนกรรมการและเลขานุการ โดยตําแหนง
หมายเหตุ ประธานกรรมการ (คณะกรรมการสถานศึกษาเลือกจากผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 1 คน)

2. ขนาดของโรงเรียน ป จ จุ บั น สํ า หรั บ โรงเรี ย นในสั ง กั ด สํ า นั ก งานคณะกรรมการ


การศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.1. แยกตามจํานวนนักเรียนตอครูของโรงเรียน เปน 7 ขนาด คือ
โรงเรียนขนาดที่ 1 มีจํานวนนักเรียน 1-120 คน
โรงเรียนขนาดที่ 2 มีจํานวนนักเรียน 121-200 คน
โรงเรียนขนาดที่ 3 มีจํานวนนักเรียน 201-300 คน
โรงเรียนขนาดที่ 4 มีจํานวนนักเรียน 301-499 คน
โรงเรียนขนาดที่ 5 มีจํานวนนักเรียน 500-1,499 คน
โรงเรียนขนาดที่ 6 มีจํานวนนักเรียน 1,500-2,499 คน
โรงเรียนขนาดที่ 7 มีจํานวนนักเรียนตั้งแต 2,500 คนขึ้นไป
2.2. แยกตามระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา
1.2.1 ระดับประถมศึกษา สังกัด สพป. แบงขนาดสถานศึกษาเปน 4 ขนาด คือ
โรงเรียนขนาดเล็ก มีจํานวนนักเรียน นอยกวา 120 คน
โรงเรียนขนาดกลาง มีจํานวนนักเรียน ตั้งแต 121 – 600 คน
โรงเรียนขนาดใหญ มีจํานวนนักเรียน ตั้งแต 601 – 1,500 คน
โรงเรียนขนาดใหญพิเศษ มีจํานวนนักเรียนมากกวา 1,500 คน
1.2.2 ระดับมัธยมศึกษา สังกัด สพม. แบงขนาดสถานศึกษาเปน 4 ขนาด คือ
โรงเรียนขนาดเล็ก นอยกวา 500 คน
โรงเรียนขนาดกลาง ตั้งแต 501 -999 คน
โรงเรียนขนาดใหญ ตั้งแต 1,000-1,499 คน
โรงเรียนขนาดใหญพิเศษ 1,500 คนขึ้นไป
155

สรุป
หลั ก สู ต รสถานศึ ก ษาเป น หั ว ใจสํ า คั ญ สํ า หรั บ การจั ด การศึ ก ษาให มี คุ ณ ภาพ ผู เ รี ย นมี
คุณลักษณะอันพึงประสงค การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตองใชความรวมมือ รวมใจของบุคคลที่
เกี่ ย วข อ งทุ ก ฝ า ย ทั้ ง ผู บ ริ ห าร ครู ผู ป กครอง ชุ ม ชน ตลอดจนตั ว ผู เ รี ย น ส ว นการใช ห ลั ก สู ต ร
สถานศึกษาก็จะตองมีระบบการควบคุมคุณภาพในดานการจัดการเรียนรู และกระบวนการวัดและ
ประเมินผลผูเรียนใหเปนไปตามที่หลักสูตรสถานศึกษากําหนดไว สุดทายคือการประเมินหลักสูตร
สถานศึกษาที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่องเปนระบบครบวงจรและนําผลการประเมินมาปรับปรุง
และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาใหมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
การจั ดทํา หลักสู ตรสถานศึกษา ตอง มีองคประกอบสําคัญ ไดแก 1) สว นนํา ( ความนํา -
วิสัยทัศน – สมรรถนะสําคัญของผูเรียน – คุณลักษณะอันพึงประสงค) 2) โครงสรางหลักสูตร
สถานศึกษา (เวลาเรียน รายวิชาพื้นฐาน/เพิ่มเติม) 3) คําอธิบายรายวิชา 4 )กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
และ 5) เกณฑการจบหลักสูตร หลักสูตรสถานศึกษาของแตละโรงเรียนจะมีลักษณะที่แตกตางกัน
ออกไป ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับปจจัยหลาย ๆ ดาน เชน บริบทของชุมชน ปญหาที่พบของแตละโรงเรียน
ความต อ งการของผู เ รี ย น ตลอดจนความต อ งการของชุ ม ชน แต สิ่ ง ที่ ค ล า ยกั น คื อ หลั ก สู ต ร
สถานศึกษาที่จัดทําขึ้นของแตละโรงเรียนสวนใหญแลวจะยึดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 เปนเกณฑ เพื่อพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหมีคุณภาพ
ดานความรู และทักษะที่จําเปนสําหรับการดํารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเอง
อยางตอเนื่องในอนาคต
การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา จะประสบความสําเร็จตามเปาหมายที่คาดไว โดยทุกฝาย
ที่เกี่ยวของ อาทิ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลที่เกี่ยวของเขามามีสวนรวมกันทํางานอยางเปนระบบ
และตอเนื่อง ในการวางแผน ดําเนินการ สงเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไข เพื่อ
พัฒนาเยาวชนของชาติใหมีคุณภาพตามมาตรฐานที่ไดกําหนดไว ใหไดมากที่สุด

คําถามทายบท

1. ใหนักศึกษาแสดงความรูแนวทางการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา อธิบายพอสังเขป
2. จงแสดงความคิดเห็น ถาโรงเรียนไมมีหลักสูตรสถานศึกษา ในการบริหารจัดการในหลักสูตร และ
กิจกรรมตาง ๆ ของโรงเรียน จะเปนอยางไร

You might also like