You are on page 1of 13

¹Ò§¹ÇÅ

áË‹§ÁÒźչÒÊ µÍ¹¨º
พลเรือเอก ศุภกร บูรณดิลก

ในทะเลมีฉลาม บนฟาสีครามมีนกนางนวล
ทะเลนั้นเปน เหมือนถิ่นของเรา เราทหารเรือทั้งมวล
ยามสงบ เราดั่งนกนางนวล
หากศัตรูรบกวน เรารายเยี่ยงฉลาม

10 นาวิกศาสตร ปที่ ๙๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖


สถานการณทั่วไป เมื่อเริ่มตนสงคราม
หลังจากกองกำลังอารเจนตินาบุกเขายึดหมูเกาะ
มาลบีนาส ในวันที่ ๒ เมษายน ๑๙๘๒ วันรุงขึ้นไดเขา
ยึดเกาะ South Georgia ซึ่งอยูทางตะวันออกของ
หมูเกาะมาลบีนาส ประมาณ ๑,๐๐๐ ไมลทะเล กำลัง
ทางเรือเฉพาะกิจของอังกฤษไดเริ่มออกเดินทางเขาสู
เขตสงคราม ในวันที่ ๕ เมษายน ๑๙๘๒ ควบคูกับ
การดำเนิ น การทางการเมื อ งระหว า งประเทศของ
รัฐบาลอังกฤษ ที่พยายามบีบบังคับใหอารเจนตินาถอน
กำลังทหารจากเขตยึดครอง และระดมสรรพกำลังจาก
ทั้ง ๓ เหลาทัพ และภาคเอกชน มีการจัดตั้งกองกำลัง
เฉพาะกิ จ ร ว ม (กกล.ฉก.ร ว ม) โดยให พลเรื อ เอก
Sir John Fieldhouse ผูบัญชาการกองเรือยุทธการ
(Commander-in-Chief of The Fleet) ทำหนาที่
ผู บั ญ ชาการกองกำลั ง ทางเรื อ และ ผู บั ญ ชาการ
กองกำลั ง เฉพาะกิ จ ร ว ม ที่ ตั้ ง กองบั ญ ชาการอยู ที่
กองบัญชาการกองเรือยุทธการ (บก.กร.) เมือง Northwood,
London วั น ที่ ๑๒ เมษายน ๑๙๘๒ ประกาศ
“Maritime Exclusive Zone” ๒๐๐ ไมล ท ะเล
รอบหมูเกาะฟอลกแลนด (มาลบีนาส) และตอมาได
เตื อ นว า เรื อ และอากาศยานอาร เ จนติ น า ที่ มี ที ท า
คุกคามหรือขัดขวางการปฏิบัติภารกิจของกองกำลัง
เฉพาะกิจรวมจะตองถูกดำเนินการ และเมื่อไดจัดตั้ง
กองบัญชาการกองกำลังเฉพาะกิจรวมสวนหนา และ
ฐานทัพอากาศหลักในยุทธบริเวณของกองกำลังทาง
อากาศ (กองทัพอากาศ) ที่เกาะ Ascension เสร็จสิ้นแลว
กำลั ง ทางเรื อ จึ ง ได เ ดิ น ทางเข า เขตสงครามพร อ ม
เริ่มดำเนินการตามแผน โดยยึดเกาะ South Georgia
วั น เดี ย วกั น นั้ น เฮลิ ค อปเตอร ไ ด ต รวจพบเรื อ ดำน้ ำ
ชั้น ๒๐๙ ของอารเจนตินา ARA.Santa Fe’ ขณะอยู
บนผิ ว น้ ำ ระหว า งกำลั ง เดิ น ทางกลั บ ฐานทั พ ที่ เ กาะ
ดังกลาวหลังจากเสร็จสิ้นภารกิจ จึงไดทำการโจมตีและ
ยึดเรือดำน้ำดังกลาวไดที่ทาเรือ วันที่ ๑ พฤษภาคม
๑๙๘๒ เครื่องบินอังกฤษไดเริ่มโจมตีเกาะฟอลกแลนด

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖ 11


เรือดำน้ำนิวเคลียร HMS.Conqueror

ภาพเรือลาดตระเวน ARA.Belgrano กำลังจม


การบังคับบัญชาของ พลเรือตรี Sandy Woodward
ผูบัญชาการกองเรือบรรทุกเครื่องบินที่ ๑ (Flag Officer
First Flotilla) ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ผู บั ญ ชาการหมวดเรื อ
เฉพาะกิจที่ ๓๑๗.๘ หมวดเรือโจมตี ซึ่งเมื่อเขาพื้นที่
การรบกำลังทางเรือดังกลาวไดแบงกำลังออกเปน ๓ หมู
ไดแก หมูแรก หมูเรือเฉพาะกิจที่ ๓๑๗.๘.๒ ประกอบ
กำลังดวยเรือพิฆาต ๕ ลำ เรือน้ำมัน ๑ ลำ เปนกำลัง
สวนหนา ลงไปทางใตหมูเกาะเทาที่จะทำได เพื่อแสดง
(มาลบีนาส) วันตอมา ๒ พฤษภาคม ๑๙๘๒ เรือดำน้ำ กำลัง หมูที่สอง หมูเรือเฉพาะกิจที่ ๓๑๙.๙ ประกอบ
อั ง กฤษ HMS.Conqueror ได จ มเรื อ ลาดตระเวน กำลังดวยเรือสงกำลังบำรุงและเรือคุมกัน ปฏิบัติการ
ARA.General Belgrano ของกองทัพเรืออารเจนตินา ยึดเกาะ South Georgia และที่เหลือเปนกำลังของ
กำลังทางเรือของอังกฤษภายในยุทธบริเวณกอนที่ หมวดเรือเฉพาะกิจที่ ๓๑๗.๘ ซึ่งประกอบดวยเรือ
จะเริ่ ม ปฏิ บั ติ ก ารสะเทิ น น้ ำ สะเทิ น บก อยู ภ ายใต บรรทุกเครื่องบิน ๒ ลำ ที่มีเครื่องบินขับไลโจมตีทางดิ่ง

12 นาวิกศาสตร ปที่ ๙๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖


แบบ Sea Harrier เปนอาวุธหลัก เรือพิฆาต เรือฟริเกต โดยดานเหนือสุดเปนพื้นที่รับผิดชอบของ HMS.Splendid
และเรือสงกำลังบำรุงเปนกำลังโจมตีหลัก สำหรับเรือดำน้ำ ถั ด มาระหว า งแผ น ดิ น ใหญ กั บ แนวป อ งกั น เป น พื้ น ที่
นิวเคลียร มี ๓ ลำ วางกำลังปองกันพื้นที่ Maritime รับผิดชอบของ HMS.Sartan และใตสุดของแนวปองกัน
Exclusive Zone ๒๐๐ ไมล ท ะเลรอบหมู เ กาะ กับแผนดินใหญเปนหนาที่ของ HMS.Conqueror

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖ 13


๒ พฤษภาคม ๑๙๘๒ เทานั้น หลังจากนั้น จากกรณี
ที่เรือ ARA.General Belgrano ถูกเรือดำน้ำนิวเคลียร
อังกฤษจม กำลังผิวน้ำอารเจนตินาทั้งหมดไดกลับเขาไป
ในทะเลอาณาเขตของตนและไม ป รากฏบทบาท
ในการรบอีกเลย ซึ่งนอกจากเรือดำน้ำที่มีผลคุกคามตอ
กำลั ง ทางเรื อ อั ง กฤษโดยตลอดแล ว หน ว ยรบของ
กองทั พ เรื อ อาร เ จนติ น าที่ ท ำการรบจนกระทั่ ง
วาระสุดทายของสงคราม คือ กำลังนาวิกโยธินบนบก
และกำลังอากาศนาวี ซึ่งมีที่ตั้งการรบกำลังหลักที่สถานี
เรือบรรทุกเครื่องบิน ARA.Veinticinco de Mayo
การบินทหารเรือ Rio Grande ที่อยูทางตอนใตของ
กำลั ง ทางเรื อ อาร เจนติ น าในยุ ท ธบริ เวณภายใต ประเทศ หางจากหมูเกาะมาลบีนาส ๔๕๐ ไมลทะเล
การบังคับบัญชาของ พลเรือตรี Allara ซึ่งมีที่สั่งการ กำลังอากาศนาวีของกองทัพเรืออารเจนตินาเปนกำลัง
ยุทธวิธีบนเรือบรรทุกเครื่องบิน ARA.Veinticinco de ทหารเรือประเภทเดียว ที่สามารถทำความสูญเสียใหกับ
Mayo ไดวางกำลังผิวน้ำแบงเปน ๓ สวน เชนเดียวกัน กำลังทางเรือของอังกฤษตลอดสงครามทั้งที่อากาศยานรบ
คือ สวนแรก หมวดเรือเฉพาะกิจที่ ๗๙.๑ และ ๗๙.๒ มีความเสียเปรียบอยางมาก ของเดิมที่มีอยูมีสภาพเกา
ประกอบกำลังดวยเรือบรรทุกเครื่องบิน ARA.Veinticinco ขาดแคลนอะไหลอยางหนัก ของใหมเพิ่งเขาประจำการ
de Mayo พร อ มเครื่ อ งบิ น โจมตี ขั บ ไล แ บบ A-4 ยังไมพรอมใชสมบูรณ รวมทั้งมีอาวุธจำนวนจำกัด
Skyhawk ประจำเรื อ และเรื อ พิ ฆ าตคุ ม กั น ๓ ลำ
ประกอบกำลั ง เป น หมวดเรื อ โจมตี วางกำลั ง ทางทิ ศ ARA.Santa Fe’
ตะวันออกเฉียงเหนือของหมูเกาะ สวนที่สอง หมวดเรือ
เฉพาะกิ จ ที่ ๗๙.๔ ประกอบด ว ยเรื อ ฟริ เ กต ๓ ลำ
วางกำลั ง ทางทิ ศ ตะวั น ตกของหมวดเรื อ โจมตี และ
สวนที่สาม หมวดเรือเฉพาะกิจที่ ๗๙.๓ ประกอบกำลังดวย
เรื อ ลาดตระเวนติ ด อาวุ ธ ปล อ ยนำวิ ถี Exocet
ARA.General Belgrano และเรือพิฆาตคุมกัน ๒ ลำ
วางกำลังทางใตของหมูเกาะมาลบีนาส สวนเรือดำน้ำ
ที่ใชในการรบ ๓ ลำ ไดแก เรือดำน้ำที่ผลิตในเยอรมัน
ชั้น ๒๐๙ จำนวน ๒ ลำ ไดแก ARA.Santa Fe’ ARA.San
Luis และเรือดำน้ำขนาดใหญที่ผลิตในสหรัฐอเมริกา ARA Santiago del Estero
“Guppy-Class” ๑ ลำ คื อ ARA.Santiago del
Estero เรือดำน้ำ ARA.Santa Fe’ ไดกลาวมาแลว
สวนอีก ๒ ลำ นับวาเปนภัยที่นากลัว สำหรับกำลังทาง
เรืออังกฤษตลอดสงคราม
การวางกำลังผิวน้ำของอารเจนตินาที่กลาวมาแลว
เปนการวางกำลังระหวางวันที่ ๒๐ เมษายน ๑๙๘๒ ถึง

14 นาวิกศาสตร ปที่ ๙๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖


อวสาน HMS.Sheffield โดย นาวาโท Columbo ผูบังคับฝูงจะบินนำหมูเอง
ประสบป ญ หาหลั ก เรื่ อ งเครื่ อ งบิ น เติ ม น้ ำ มั น กลาง
จากการที่กำลังทางอากาศอังกฤษ ทั้งของหมวดเรือ อากาศ KC-130H Hercules Tanker ของกองทัพ
โจมตี และกองทั พ อากาศ ได เข า โจมตี ส นามบิ น อากาศไมพรอม (สถานีการบินทหารเรือ Rio Grande
บนเกาะฟอล ก แลนด (มาลบี น าส) ตะวั น ออก ใน อยูหางจากบริเวณหมูเกาะมาลบีนาส ประมาณ ๔๕๐
๑ พฤษภาคม ๑๙๘๒ คืนนั้นเอง กองทัพเรืออารเจนตินา ไมลทะเล ขณะที่ระยะบินไกลสุดของเครื่องบิน Super
ไดวางแผนที่จะโจมตีเรือบรรทุกเครื่องบินของหมวดเรือ Etandard ๔๐๐ ไมล) แผนการโจมตีที่วางไว จึงไม
ดังกลาว ใน ๒ พฤษภาคม ๑๙๘๒ โดยใชเครื่องบิน สามารถปฏิ บั ติ ไ ด ต อ งเลื่ อ นออกไป และวั น นั้ น เอง
โจมตี A-4 Skyhawk ๘ เครื่อง จากเรือบรรทุกเครื่องบิน เรือลาดตระเวน ARA.General Belgrano ถูกเรือดำน้ำ
ARA.Veinticinco de Mayo และเครื่ อ งบิ น โจมตี นิวเคลียรยิงจม ซึ่งจากกรณีนี้ เรือผิวน้ำอารเจนตินาได
Super Etandard ๒ เครื่อง จากสถานีการบินทหารเรือ กลับฐานทัพหมด และไมปรากฏบทบาทในการรบอีกเลย
Rio Grande เขาตีในเวลาเดียวกัน โดยกำหนดเวลาที่ วันที่ ๔ พฤษภาคม ๑๙๘๒ เวลาประมาณ ๐๕๐๐
เหมาะสมตั้ ง แต ด วงอาทิ ต ย ขึ้ น แต อ าจกล า วได ว า เครื่องบินลาดตระเวนทางทะเลแบบ SP-2H Neptune
เปนโชคของอังกฤษที่ตั้งแตเชามืดวันที่ ๒ พฤษภาคม จากฝูงบินลาดตระเวน หนวยบัญชาการบินทหารเรือ
๑๙๘๒ อาร เจนติ น าไม ส ามารถปฏิ บั ติ ต ามแผนได ได วิ่ ง ขึ้ น จากสนามบิ น สถานี ก ารบิ น ทหารเรื อ
เนื่ อ งจากวั น นั้ น ลมนิ่ ง ไม แรงพอที่ เ ครื่ อ งบิ น A-4 Rio Grande ผูบังคับอากาศยานและนักบินที่ ๑ คือ
Skyhawk จะวิ่งขึ้นจากเรือบรรทุกเครื่องบินได ทั้ง ๆ ที่ นาวาตรี Ernesto Proni Leston ภารกิจลาดตระเวน
ตามปกติ ล มในมหาสมุ ท รแอตแลนติ ก จะแรงมาก หาขาวในพื้นที่ประมาณ ๑๐๐ ไมลทะเล ทางใตของหมู
การขึ้น - ลงเรือบรรทุกเครื่องบินของเครื่องบิน A-4 เกาะมาลบีนาส เวลา ๐๗๕๐ เรดารตรวจการณของ
Skyhawk ไมเคยมีปญหาใด ๆ ทั้งนี้ประกอบกับเครื่องบิน เครื่องบิน Neptune ไดเริ่มพบเปา นาวาตรี Proni
Super Etendard ๒ เครื่ อ ง ที่ จ ะร ว มปฏิ บั ติ ก าร ไดรายงานไปยังหนวยบัญชาการบินทหารเรือ

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖ 15


โดยได รั บ คำสั่ ง ให ติ ด ตามเป า หมาย ต อ มาในเวลา Bedacarratz นำหมู เมื่อเริ่มเขาพื้นที่ตรวจการณเรดาร
๐๘๑๔ และ ๐๘๔๓ ได พ บอี ก ๒ เป า และเวลา อากาศของข า ศึ ก และลดระดั บ ลงมาบิ น เรี่ ย น้ ำ ใต
ประมาณ ๑๐๐๐ Proni ได เ ปลี่ ย นเข็ ม ไปยั ง จุ ด ที่ ลำคลื่น (Lobe) เรดาร ระดับความสูงต่ำมาก จนฝอย
ARA.General Belgrano เพื่อแสดงใหเห็นวาภารกิจ น้ ำ ทะเลตี ก ระจกหน า ของห อ งนั ก บิ น ฟุ ง กระจาย
ของ Neptune คื อ การค น หาและช ว ยเหลื อ ลู ก เรื อ (Wave-Top Level) แลวบินตรงไปยังเปา โดยใชขอมูล
ที่อาจยังหลงเหลืออยู การกระจายเสียงของ Neptune เวลาประมาณ ๑๐๕๐

เครื่องบิน Super Etendard รับการเติมน้ำมันกลางอากาศ


จากเครื่องบิน KC-130 H Tanker ของกองทัพอากาศ
นาวาตรี Bedacarratz และ เรือเอก Armando Mayora
Super Etandard ทั้งสองเครื่องไดบินไตระดับอยาง
ที่หนวยบิน Super Etandard สถานีการบินทหารเรือ รวดเร็วไปที่ความสูง ๕๐๐ ฟุต (Pop Up) เพื่อใชเรดาร
Rio Grande วันนั้นผูที่ทำหนาที่ทำการบิน คือ นาวาตรี คนหาเปา แตไมพบ นาวาตรี Bedacarratz ตัดสินใจ
Bedacarratz รองผูบังคับฝูง และ เรือเอก Armando ป ด เรดาร แ ล ว ลงไปบิ น เรี่ ย น้ ำ และเดิ น ทางต อ อี ก
Mayora เปนการบินหมูสอง ภารกิจตอสูเรือผิวน้ำ
หลั ง จากได รั บ ข า วและเตรี ย มการต า ง ๆ เสร็ จ สิ้ น
ทั้งสองไดนำเครื่องบิน Super Etendard ติดอาวุธ
ปลอยนำวิถี AM-39 Exocet วิ่งขึ้นจากสนามบิน Rio
Grande เมื่อเวลา ๐๙๔๐ และในเวลา ๑๐๐๔ ตำบลที่
ประมาณ ๑๕๐ ไมล ท ะเล จากสนามบิ น ได พ บกั บ
เครื่ อ งบิ น เติ ม น้ ำ มั น กลางอากาศของกองทั พ อากาศ
KC-130 H Tanker ตามที่ นั ด ไว ทำการรั บ น้ ำ มั น
กลางอากาศ จากนั้นจึงเดินทางตอ
เวลาประมาณ ๑๐๓๕ หลังจากเปลี่ยนเข็มออกมาแลว
นาวาตรี Proni ไดบินไตสูงขึ้นที่ระดับ ๓,๕๐๐ ฟุต ประมาณ ๒๕ ไมลทะเล จึง Pop up ไปที่ความสูง ๕๐ ฟุต
ใชเรดารคนหา เพื่อยืนยันตำบลที่เขาอีก ครั้งนี้เขาไดใช อีก แลวใชเรดารกวาดคนหาเปาอีกครั้ง คราวนี้ในจอ
การกระจายเสี ย ง (ไม ต อ งตอบรั บ ) ส ง ข อ มู ล เป า ทั้ ง เรดารปรากฏเปาพื้นน้ำ ๔ เปา เปนขนาดใหญ ๑ เปา
ตำบลที่และอื่น ๆ ใหกับ Bedacarratz ปานกลาง ๒ เปา และเล็ก ๑ เปา ทางดานซาย นักบิน
สำหรับ Super Etandard หมูสอง ที่ นาวาตรี ทั้งคูเมื่อเลือกเปา และใสคาการยิงตาง ๆ เรียบรอย

16 นาวิกศาสตร ปที่ ๙๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖


ได ล งไปบิ น ที่ ค วามสู ง เรี่ ย น้ ำ อี ก ตรวจสอบความ เพื่อปฏิบัติตามแผนและลาดตระเวนบริเวณนั้น ในการนี้
เรียบรอยครั้งสุดทาย จึงกดปุม “ยิง” ปลอย AM-39 แมจะตระหนักดีวา ยังไมไดการควบคุมทะเลอยางเต็มที่
Exocet เขาหาเปาหมายในระยะประมาณ ๒๗ ไมลทะเล (Sea Supremacy) เพราะกองทัพเรืออารเจนตินา
ที่เวลา ๑๑๐๔ จากนั้น จึงไดเปลี่ยนเข็มกลับสนามบิน ยังสามารถใชเรือดำน้ำ และกำลังอากาศนาวีได แตจาก
Rio Grande โดยไมไดตรวจสอบผลการโจมตี ทั้งคู การวางกำลังหมวดเรือ ณ จุดไกลสุด จากสนามบิน Rio
กลับมาลงสนามบินสถานีการบินทหารเรือ Rio Grande Grande ซึ่ ง เกิ น ระยะไกลสุ ด การปฏิ บั ติ ก ารบิ น ของ
ประมาณเวลาใกลเคียงกับเครื่องบินลาดตระเวนทาง เครื่ อ งบิ น ดั ง กล า วด ว ย พร อ มทั้ ง ไม เ คยปรากฏข า ว
ทะเลแบบ Neptune ของ นาวาตรี Proni ภารกิจนี้ ขี ด ความสามารถในการเติ ม น้ ำ มั น กลางอากาศของ
เครื่องบิน Neptune ใชเวลาบินประมาณ ๗ ชั่วโมงเต็ม นักบินทหารเรืออารเจนตินา ตลอดจนการโจมตีสนามบิน
ในขณะที่ เ ครื่ อ งบิ น โจมตี ขั บ ไล Super Etandard บนเกาะอยางหนักที่ผานมา นาจะเปนการปองปราม
ใช เวลาบิ น ประมาณ ๒ ชั่ ว โมง ๓๐ นาที เมื่ อ มาถึ ง นั ก บิ น ทหารเรื อ อาร เจนติ น าได ในการนี้ ห มวดเรื อ
นาวาตรี Bedacarratz ได รั บ การต อ นรั บ ในฐานะ เฉพาะกิ จ ที่ ๓๑๗.๘ คงเห็ น ว า ไม น า จะมี ภั ย คุ ก คาม
วีรบุรุษสงคราม ทางอากาศ เชาวันนั้นสภาวะความพรอมรบในการตอสูภัย
ทางอากาศ จึงอยูในขั้น ๒ รูปกระบวนเดินทางเปนรูป
กระบวนปองกันทางลึก โดยใชทิศทางจากสนามบิน
Rio Grande เปนแกนขบวน เรือบรรทุกเครื่องบิน ๒ ลำ
HMS.Invincible และ HMS.Hermes เปน Main Body
(MB) ที่ ต อ งป อ งกั น การป อ งกั น วงนอกสุ ด เป น ของ
เครื่องบินโจมตีขับไลขึ้นลงทางดิ่งแบบ Sea Harrier
ทำหนาที่ลาดตระเวนรบ (Combat Air Patrol /CAP)
ถัดเขามาระยะประมาณ ๒๐ ไมลทะเล จาก MB. พื้นที่
อาวุธปลอยนำวิถี (Missile Zone) เปนการวางกำลัง
ของหมูเรือพิฆาต Type 42 ที่มีเรดาร ๓ มิติ ระยะการ
นาวาตรี Bedacarratz ไดรับการตอนรับในฐานะวีรบุรุษสงคราม
ตรวจจับประมาณ ๒๐๐ ไมลทะเล และอาวุธปลอยนำ
สำหรั บ สถานการณ ฝ า ยอั ง กฤษ หลั ง จากโจมตี วิถีพื้น-สู-อากาศ Sea Dart ระยะยิงประมาณ ๔๐ ไมล
สนามบิ น บนเกาะมาลบี น าสตะวั น ออก ในวั น ที่ ๑ ทะเล เปนเครื่องมือหลักในการปองกันภัยทางอากาศ
พฤษภาคม จมเรื อ ลาดตระเวน ARA.General พื้นที่ (Area Defense) ๘ ไมลทะเล หนา MB. ตามแนวแกน
Belgrano ในวันที่ ๒ ทางตอนใตของหมูเกาะ ทำใหเรือ กระบวนเรือฟริเกต Type 22 จำนวน ๔ ลำ ทำฉากคุม
ผิวน้ำอารเจนตินาไดรับคำสั่งใหกลับเขาฐานทัพ หมวดเรือ กันแบบ Sector Screen ระหวาง Sector Screen กับ
เฉพาะกิ จ ที่ ๓๑๗.๘ ภายใต ก ารบั ง คั บ บั ญ ชาของ MB. เป น การวางกำลั ง ของเรื อ ส ง กำลั ง บำรุ ง ๓ ลำ
พลเรือตรี Woodward ไดวางแผนที่จะสงเรือและ ซึ่งทำหนาที่เปน Missile Decoy Barrier สรางความ
อากาศยานเข า ไปยิ ง ฝ ง และโจมตี ส นามบิ น บนเกาะ สับสนในการพิสูจนทราบเปาหมายใหกับขาศึก สวนใน
มาลบีนาสตะวันออกอีก ในวันที่ ๔ พฤษภาคม เชาวันนั้น พื้นที่สำคัญในสุด (Vital Area) เรือฟริเกต Type 22
Woodward ไดนำหมวดเรือของตนไปวางกำลังบริเวณ ที่ ติ ด ตั้ ง อาวุ ธ ปล อ ยนำวิ ถี พื้ น -สู - อากาศ Sea wolf
ตะวั น ออกเฉี ย งใต ใ กล เ กาะมาลบี น าสตะวั น ออก เปนอาวุธหลักในการตอสูอากาศยานจำนวน ๒ ลำ

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖ 17


ทำหนาที่ปองกันเปนจุด (Point defense) ใหกับ MB. ขับไลโจมตีติดอาวุธปลอยนำวิถีเปนอยางดี สุดทายนี้
แตละลำ ผูเขียนใครขอเสนอขอคิดเห็น และขอเสนอแนะ การปฏิบัติ
ที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ของกองทัพเรือและกองทัพอากาศไทย
ซึ่งเปนที่ทราบกันดีวาปจจุบัน เครื่องบินที่ใช คือ เครื่องบิน
ขับไลโจมตีแบบ Gripen ของกองทัพอากาศ
เกี่ยวกับเรื่องนี้ หากพิจารณาองคประกอบความ
สำเร็ จ ของเครื่ อ งบิ น ขั บ ไล โจมตี Super Etandard
ในการโจมตีหมวดเรือเฉพาะกิจที่ ๓๑๗.๘ จะเห็นวา
องค ป ระกอบดั ง กล า วประการแรก คื อ องค บุ ค คล
นอกจากความมุ ม านะในการหาทางเอาชนะข า ศึ ก
เรือ HMS.Sheffield ถูกยิงดวยอาวุธปลอยนำวิถี AM-39 Exocet ความมีจิตใจเปนนักสู กลาหาญ ยอมสละไดแมกระทั่ง
ทะลุเขาไปบริเวณหองเครื่องจักรใหญ ทำใหน้ำมันเชื้อเพลิงรั�วไหล เกิดไฟไหม ชีวิต เพื่อแลกกับการบรรลุหนาที่ที่รับผิดชอบ ตลอดจน
อยางรุนแรง เสียหายหนัก และจมลงในที่สุด
เอกราชและศักดิ์ศรีของประเทศชาติของนักบินทหารเรือ
เวลาประมาณ ๑๑๐๐ ขณะที่หมวดเรือเฉพาะกิจ อาร เจนติ น าแล ว จากการศึ ก ษาเรื่ อ งของ นาวาตรี
ที่ ๓๑๗.๘ กำลั ง อยู ท างทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต ร ะยะ Bedacarratz เขาสอบไดที่หนึ่งทุกหลักสูตร ทั้งโรงเรียน
ประมาณ ๗๐ ไมล จากหมูเกาะ เจาหนาที่บนสะพาน นายเรือ โรงเรียนการบินทหารเรือ และโรงเรียนเสนาธิการ
เดินเรือ HMS.Sheffield ไดตรวจสอบพบเปาคลาย ทหารเรือ เคยเปนตนหนเรือบรรทุกเครื่องบินเคยบิน
อากาศยานโดยสายตา และไมกี่วินาทีตอมาเมื่อเห็น เครื่องบินทะเล คร่ำหวอดอยูกับการบินขึ้น - ลง และ
ควันชัด จึงแนใจวาเปนอาวุธปลอยนำวิถีกำลังวิ่งเขาหาเรือ ปฏิบัติการในทะเลที่สภาพอากาศและสภาพทองทะเลที่
และหลังจากนั้นประมาณ ๒ – ๓ นาที โดยมีโอกาสแค รุนแรงของมหาสมุทรแอตแลนติก ในภารกิจคนหาและ
การตะโกนร อ งเตื อ น อาวุ ธ ปล อ ยนำวิ ถี AM-39 กูภัยในทะเล ทั้งกลางวันและกลางคืน ตลอด ๒ ปเต็ม
Exocet ๑ ลูก ไดวิ่งเขาชนเรือที่กลางลำเหนือแนวน้ำ ปฏิ บั ติ ก ารบิ น กั บ เรื อ บรรทุ ก เครื่ อ งบิ น เกื อ บ ๑๐ ป
ประมาณ ๘ ฟุต ทะลุเขาไปบริเวณหองเครื่องจักรใหญ ผานการฝกทางยุทธวิธีในทะเล จนนับครั้งไมถวน และ
แมหัวรบจะไมจุดระเบิดแตผลของการชนทำใหน้ำมัน ในการเตรียมการทำสงครามนักบินฝูงบินขับไลโจมตีที่ ๒ นี้
เชื้อเพลิงรั่วไหล เกิดไฟไหมอยางรุนแรง และไมสามารถ ได ท ำการฝ ก อย า งหนั ก กั บ เรื อ พิ ฆ าต Type 42 ของ
ควบคุมได ลูกเรือประมาณ ๒๙๐ นาย เสียชีวิต ๒๐ นาย กองทัพเรืออารเจนตินาที่มีอยู ๒ ลำ ซึ่งเปนเรือชั้นเดียว
บาดเจ็บ ๒๔ นาย ตัวเรือเสียหายหนัก จนใชราชการตอ กับ HMS.Sheffield อยูหลายสัปดาห จนรูจุดออน
ไม ไ ด ต อ งสละเรื อ และในที่ สุ ด ก็ จ มลงในบริ เวณนั้ น จุ ด แข็ ง ของเรื อ ชั้ น นี้ เ ป น อย า งดี ทั้ ง หมดที่ ก ล า วมา
อีกไมกี่ วันตอมา แสดงให เ ห็ น ว า นั ก บิ น ของฝู ง บิ น ขั บ ไล โจมตี ที่ ๒ นี้
มีความรอบรูในเรื่องทางยุทธวิธีทางเรือ และจุดแข็ง
ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ จุ ด อ อ นข า ศึ ก เป น อย า งดี และโดยเฉพาะ นาวาตรี
ที่กลาวมาทั้งหมด ทั้งเรื่องของ นาวาตรี Bedacarratz Bedacarratz นาจะมากกวานายทหารเรืออารเจนตินา
และการปฏิบัติของกำลังทางเรืออารเจนตินา กรณีการจม ทั้งหมด ที่รุนราวคราวเดียวกันดวยซ้ำ
ของ HMS.Sheffield คาดวาทุกทาน คงมองเห็นภาพ ขอเสนอแนะประการแรกนี้ คือ นักบินฝูงบินขับไล
รวมของการปฏิบัติการโจมตีกระบวนเรือของเครื่องบิน โจมตีแบบ Gripen ของ กองทัพอากาศและกำลังพล

18 นาวิกศาสตร ปที่ ๙๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖


ที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติการทางเรือรวม (Joint Naval ผูบังคับอากาศยานนับวามีบทบาทสำคัญไมนอยไปกวา
Operation) นอกจากการฝกและศึกษาที่เปนภาคบังคับ กำลังโจมตี ซึ่ง Proni และลูกเรือไดแสดงความเปน
ของกองทัพอากาศแลว ในดานความรอบรูในยุทธวิธีทางเรือ นักลา คนหา เกาะติด ติดตาม อยางมืออาชีพ ๗ ชั่วโมง
และความเปนนักรบในทะเล จะตองไดรับการศึกษา เต็มปฏิบัติการหลอกลอขาศึกจนสามารถนำ และชี้เปา
ตามแนวทางเดี ย วกั น นายทหารเรื อ พรรคนาวิ น ที่ พนระยะขอบฟา (Over The Horizon Targeting/
ปฏิบัติงานในเรือของกองเรือยุทธการ โดยเฉพาะตอง OTHT) ใหกับเครื่องบิน Super Etendard ในการ
ผานหลักสูตรนายทหารพรรคนาวินของ กรมยุทธศึกษา เขาหาและโจมตีขาศึกจนภารกิจลุลวงทั้ง ๆ ที่ถูกตรวจ
ทหารเรือ หลักสูตรผูบังคับการเรือ และสงครามเรือ จับทางอิเล็คทรอนิกสไดแลว ทั้งนี้นอกจากนักบิน และ
ผิ ว น้ ำ กองการฝ กกองเรือยุทธการ รวมทั้งหลักสูตร เจาหนาที่ประจำเครื่องเหมือนเครื่องบินอื่น ๆ แลว ผูที่
เสนาธิการทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ สวนการฝกบิน ปฏิบัติงานสำคัญบนเครื่องบินลาดตระเวนทางทะเล
และการใชอาวุธทางอากาศ ทั้งการฝกองคบุคคลและ ยั ง ประกอบด ว ยนายทหารประสานงานทางยุ ท ธวิ ธี
ยุทธวิธีรวมกองเรือ ควรจัดใหมีการฝกเปนประจำ โดย (Tactical Coordinator Officer/TACCO) และ
จะตองกำหนดชั่วโมงบินนอยสุด ในการปฏิบัติการใน พนักงานประจำศูนยยุทธการของเครื่องบินอีกจำนวนหนึ่ง
ทะเลกั บ กำลั ง ทางเรื อ เป น การบั ง คั บ ในแต ล ะป เพื่ อ ข อ เสนอแนะสำหรั บ กองทั พ เรื อ และกองทั พ
เปนการใหกำลังพลดังกลาวมีความคุนเคยกับการบินใน อากาศไทย ในการปฏิบัติการขั้นนี้ คือ ตองระลึกไว
ทะเล และมีความรอบรูยุทธวิธีทางเรือเปนอยางดี เสมอวา ในการรบผิวน้ำ หรือการปฏิบัติการทางเรือ
องคประกอบตอไป คือ องควัตถุ และองคยุทธวิธี สาขาอื่ น ๆ แม ก ระทั่ ง การค น หาและกู ภั ย ในทะเล
ซึ่งจะขอกลาวรวมกัน ตามขั้นตอนของการรบผิวน้ำ (Search and Reserve) องควัตถุ หรือเครื่องมือรบ
ซึ่งหลังจากขั้นการเตรียมการแลว จะเริ่มตนดวยการ สำคัญที่ขาดไมได คือเครื่องบินลาดตระเวนทางทะเล
คนหา ในขั้นนี้ ดวยคุณสมบัติในเรื่อง สูงตา ความเร็ว ปจจุบันเฮลิคอปเตอรประจำเรืออาจใชทดแทนได แตใน
สามารถปฏิบัติการในพื้นที่กวางไกล มีอุปกรณตรวจจับ ขอบเขตจำกัด โดยอาจเหมาะสมในการปฏิบัติเฉพาะแบบ
และสงผานขอมูลที่ครบครัน ปฏิบัติการไดในทุกสภาพ เชนการชี้เปาพนระยะขอบฟา การเปนกำลังโจมตีเอง
อากาศ และมีชั่วโมงปฏิบัติการที่นานกวา เมือเปรียบ หรือรวมทั้งการพิสูจนทราบ และกำหนดตำบลที่ของเปา
เทียบกับอากาศยาน เครื่องบินลาดตระเวนทางทะเล แตไมเหมาะสำหรับการคนหา ดังนั้น แมวาแนวความคิด
(Maritime Patrol Aircraft /MPA) จึงเปนเครื่องมือรบ ของกองทัพอากาศตามหลักการของการรบโดยมีเครือขาย
ที่ดีที่สุด สำหรับการปฏิบัติในขั้นนี้ เมื่อคนหาพบแลว เปนศูนยกลาง จะกำหนดเครื่องมือตรวจการณ (Sensor)
ขั้นตอไปจะเปนการพิสูจนทราบและติดตามเปา และเมื่อ เป น เช น ไรก็ ต ามแต ในการโจมตี ก ระบวนเรื อ ของ
ผู บั ง คั บ บั ญ ชาตกลงใจจะเข า ตี อ าจมอบหมายเป า ให เครื่องบินขับไลโจมตีแบบ Grippen จะตองปฏิบัติการ
หมูเรือโจมตี (Surface Attack Group/SAG) หมูบิน รวมกับเครื่องบินลาดตระเวนทางทะเลเปนเครื่องมือ
เฮลิ ค อปเตอร โจมตี (Helicopter Attack Group/ ตรวจการณของระบบในการปฏิบัติการนี้เสมอ ทั้งนี้
HAG) หรือในระยะไกลอาจเปนหมูบินโจมตี (Strike กองทัพเรือควรจัดหา หรือปรับปรุงเครื่องบินดังกลาว
Group) หนาที่เครื่องบินลาดตระเวนตอไปคือนำกำลัง ให ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ไ ด เช น เดี ย วกั บ เรื อ หลวงชุ ด นเรศวร
โจมตีเขาหาเปา ชี้เปา ใหขอมูลเปา รวมทั้งตรวจผลภายหลัง และ เรือหลวงจักรีนฤเบศร
การโจมตี ซึ่งกรณีการจมของ HMS.Sheffield เครื่องบิน ขั้นตอนสำคัญในการรบผิวน้ำตอไป คือ ขั้นการ
ลาดตระเวน Neptune ที่ มี นาวาตรี Proni เป น โจมตี ซึ่งขอพิจารณาสำคัญในขั้นนี้ คือ ขีดความสามารถ

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖ 19


ในการปฏิ บั ติ ข องเครื่ อ งบิ น ที่ ใช โจมตี และตั ว อาวุ ธ สำหรั บ ขี ด ความสามารถด า นองค วั ต ถุ ที่ ค วร
ปล อ ยนำวิ ถี ข อ สั ง เกตที่ ไ ด จ ากการโจมตี ห มวดเรื อ พิจารณาอีกประการ คือ ระยะยิงไกลที่มีโชคสูงสุด ใน
๓๑๗.๘ ของเครื่ อ งบิ น ขั บ ไล โ จมตี แ บบ Super การถูกเปาของอาวุธนำวิถีที่ใช เนื่องจากการเขาโจมตี
Etendard ที่ ก ำลั ง กล า วถึ ง มี อ ยู ๒ ประการ คื อ กระบวนเรือที่มีการปองกันภัยทางอากาศที่ดี ตามหลัก
ประการแรกเครื่องบิน Super Etendard ระยะปฏิบัติ การปองกันทางลึกจะวางกำลังที่มีขีดความสามารถใน
การบินไกลสุด (Ferry Flight) ประมาณ ๔๐๐ ไมล การปองกันภัยทางอากาศ เปนพื้นที่ในเขต Missile
ทะเล แต พื้ น ที่ ก ารรบมี ร ะยะห า งจากสนามบิ น ที่ ใช Zone ที่มีระยะหางจาก High value unit หรือ Main
ประมาณมากกวา ๔๕๐ ไมลทะเล การปฏิบัติการของ Body ที่ ต อ งป อ งกั น ประมาณเท า กั บ ระยะยิ ง อาวุ ธ
Super Etendard จึงตองมีการเติมน้ำมันกลางอากาศ ปลอยนำวิถีอากาศ-สู-พื้นของฝายโจมตี ตัวอยางเชน
แมวาสมรรถนะเครื่องบินขับไลโจมตีแบบ Gripen จะมี กรณีเครื่องบิน Super Etendard ที่สามารถหลบหลีก
รัศมีปฏิบัติการรบ (ไป-กลับ) ประมาณ ๔๒๐ ไมลทะเล การตรวจจับเขาไปจนถึงระยะยิงประมาณ ๒๐ ไมล
ซึ่งหากใชสนามบินสุราษฎรธานีเปนฐานปฏิบัติการหลัก ทะเล จากเรือใน Missile Zone หรือประมาณไมเกิน
จะสามารถปฏิ บั ติ ก ารได ทุ ก จุ ด ตั้ ง แต ป ากอ า วไทย ๔๐ ไมลทะเล จากเรือบรรทุกเครื่องบินทั้งสอง ซึ่งอยู
บริเวณรอยตอทะเลจีนใตเขามา แตในการปฏิบัติการ ในระยะปฏิบัติการหวังผลของอาวุธปลอยนำวิถี AM-39
จริงมีความเปนไปไดสำหรับสงครามทางเรือ ซึ่งเปน Exocet เอกสารบางแหลงวิชาการกลาววา แทจริงแลว
สงครามการเคลื่อนที่ อาจตองมีการปฏิบัติที่ไกลกวานั้น โอกาสในการหยุดหมวดเรืออังกฤษ ซึ่งอาจเปนจุดกลับ
อีกทั้งยุทธวิธีในการเขาโจมตีกระบวนเรือ อาจตองบิน ของสงคราม (Turn Over Point) ไดเขามาอยูในมือของ
เข า หาจุ ด ใช อ าวุ ธ และบิ น ออกมาหลั ง การโจมตี ใ น “นางนวลแหงมาลบีนาส” ทั้งสอง นาวาตรี Bedacarratz
ลักษณะบินต่ำ เพื่อใหอยูใตลำคลื่น (Lobe) ของเรดาร และ เรือเอก Mayora แลว หากทั้งสองมีเวลาในการ
อากาศขาศึก ระยะประมาณเกือบ ๑๕๐ ไมลทะเล จึงจะ วิเคราะหเปาจากจอเรดารใหดีกวานี้ เรือที่จมอาจไมใช
ขึ้นบินสูง เปนการบินลักษณะ High Low Low High HMS.Sheffield แตอาจจะเปน HMS.Invincible หรือ
(HLLH) จนเกือบจะเปนบินต่ำตลอดทาง Low Low (LL) HMS.Hermes และผลของสงครามอาจออกมาอี ก
ซึ่ ง เป น การใช น้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง มากกว า เดิ ม ถึ ง ๓ เท า รูปแบบหนึ่ง
ตลอดจนเครื่องบินแบบ Gripen มีกิจหลักสำคัญที่ตอง
กระทำในการรบทางเรืออีก คือ การปองกันภัยทางอากาศ
ใหกองเรือ ซึ่งอาจจะตองทำหนาที่ลาดตระเวน (CAP)
ประจำสถานีหนากระบวนเรือ เปนเวลานาน ดังนั้นขอ
เสนอแนะขอนี้คือ กองทัพอากาศควรพัฒนาขีดความ
สามารถในการเติมน้ำมันกลางอากาศใหกับฝูงบินนี้ซึ่ง
เปนไปตามหลักการทั่วไปของเครื่องบินขับไลโจมตีใน
ทะเลที่ใชฐานบินบก ที่ตองมีขีดความสามารถในการ
เติ ม น้ ำ มั น กลางอากาศ ซึ่ ง เครื่ อ งบิ น Gripen ของ
กองทัพอากาศที่เพิ่งจัดหาใหม ไดติดตั้งระบบรับน้ำมัน
ไวเรียบรอยแลว

20 นาวิกศาสตร ปที่ ๙๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖


ข อ เสนอแนะในเรื่ อ งนี้ คื อ เครื่ อ งบิ น Gripen สำหรับขั้นการคนหา ซึ่งจะตามดวยการพิสูจนทราบ
ของกองทั พ อากาศ สามารถติ ด อาวุ ธ ปล อ ยนำวิ ถี และแบงมอบเปาหมาย สวนใหญเปนความรับผิดชอบ
อากาศ-สู-พื้น AGM-65 Maverick ระยะยิงประมาณ ของเครื่ อ งบิ น ลาดตระเวนทางทะเล และผู มีอ ำนาจ
๑๕ ไมลทะเล และอาวุธปลอยนำวิถีแบบ RBS-15 ที่มี ตั ด สิ น ใจ แต ใ นขั้ น การโจมตี ทั้ ง การโจมตี ร ะยะไกล
ระยะยิงประมาณ ๑๓๐ ไมลทะเล ได โดยที่ปจจุบัน หากเปนการโจมตีระยะไกล อาจมอบหมายใหเปนหนาที่
ดูเหมือนวา ไดจัดหามาเฉพาะ AGM-65 Maverick ของหมูบินโจมตี ซึ่งมีการปฏิบัติที่สำคัญตามลำดับ คือ
ในการนี้ควรที่จะจัดหา RBS-15 ไวใชในราชการดวย ขั้นการเขาหาหรือเขาถึงจุดใชอาวุธ และขั้นการใชอาวุธ
เพื่อใชในการโจมตีกระบวนเรือที่มีการปองกันภัยทาง ต อ ตี ข า ศึ ก จากการปฏิ บั ติ ข องเครื่ อ งบิ น Super
อากาศเป น อย า งดี ส ว น AGM-65 อาจเลื อ กใช กั บ Etandard ที่กลาวมาแลว มีขอสังเกตสำคัญที่นาจะเปน
เป า หมายที่ เ ดิ น ทางโดยอิ ส ระ หรื อ ที่ ไ ม มี ร ะบบการ บทเรียน คือ การโจมตีกระบวนเรือที่มีการปองกันที่ดี
ปองกันที่ดี ของเครื่องบินขับไลโจมตีที่หวังผลการจูโจม (Surprise)
การรบผิวน้ำหรือการตอสูเรือผิวน้ำ อาจแบงออก ขาศึกดวยนั้น ยุทธวิธีในการหลบหลีกการตรวจจับของ
ตามลำดั บ ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ไ ด เ ป น ขั้ น เตรี ย มการ เรดารตรวจการณทางอากาศขาศึก โดยการบินต่ำใต
ขั้นการคนหา ขั้นการโจมตี และขั้นภายหลังการโจมตี ลำคลื่น (Lobe) เรดาร จนถึงจุดใชอาวุธปลอยนำวิถี นาจะ
การปฏิบัติทางดานยุทธวิธีที่สำคัญของเครื่องบินขับไล เป น วิ ธี ก ารที่ ดี ที่ สุ ด ในเรื่ อ งนี้ ข อเสนอแนะให ฝู ง บิ น
โจมตีในแตละขั้น จากการปฏิบัติของหนวยบิน Super Gripen ของกองทัพอากาศกำหนดใหมีการฝกนักบิน
Etendard ที่กลาวมาแลว คือ ในขั้นการเตรียมการ เปนประจำโดยอาจฝกรวมกับเรือของกองทัพเรือที่มี
จากการที่ทุกอยางเปนไปดวยความราบรื่นเรียบรอย เรดาร ดั ง กล า ว โดยให เ ครื่ อ งบิ น ฝ ก บิ น เรี่ ย น้ ำ เข า หา
นับตั้งแตปลุกนักบินตื่นตั้งแตเชามืด วางแผนประสานงาน และเรื อ ฝ ก การตรวจจั บ หรื อ เครื่ อ งบิ น ฝ ก บิ น เรี่ ย น้ ำ
รับทราบขาวสารขอมูล วิ่งขึ้นปฏิบัติอยางไดผล และ เขาหาเรือ ดวยทิศทาง ความเร็ว ความสูง เหมือนกับ
กลับมาสนามจนเปนผลสำเร็จ แสดงใหเห็นวา มีการ การโคจรของอาวุธปลอยนำวิถีในการวิ่งเขากระทบเปา
ทำงานเปนทีมอยางดี ตามขั้นตอนปฏิบัติที่ไดกำหนดไว เพื่อใหเรือฝกการตอตานอาวุธปลอยนำวิถีไปในตัวดวย
นับตั้งแต ผูบังคับบัญชา ฝายอำนวยการ การเตรียม ซึ่งการฝกแบบนี้อาจเสนอเปนหัวขอการฝกในการฝก
การดานตาง ๆ ของฝูงบิน เครื่องบินเติมน้ำมันกลาง ผสมกั บ มิ ต รประเทศได เช น การฝ ก Cobra Gold
อากาศ เครื่องบินลาดตระเวนทางทะเล เครื่องบินโจมตี กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เคยฝกการปฏิบัติดังกลาวกับ
ระบบควบคุ ม และสั่ ง การ ตลอดจนการบริ ก ารด า น เครื่องบินโจมตีแบบที่ ๑ “A-7 Corsair” ของกองทัพเรือ
การบิน และการสนับสนุนตาง ๆ ของสถานีการบิน ไทยมาแลว ซึ่งการฝกตอตานอาวุธปลอยนำวิถีนี้ ใน
ขอเสนอแนะในเรื่องนี้ คือ กองทัพเรือและกองทัพอากาศ ครั้งนั้นเรียก “Bear Exercise” หรือในการฝกผสมการ
ควรจัดหาคูมือปฏิบัติการรวม (ปกร.) ในเรื่องนี้โดยดวน ยิงอาวุธปลอยนำวิถี Harpoon ซึ่งมีเปนประจำระหวาง
(อาจรวมถึงการปฏิบัติการในการปองกันภัยทางอากาศ กองทัพเรือไทยและกองทัพเรือสิงคโปร นั้น กองทัพเรือ
ใหกับกองเรือดวย) โดยอาจแยกจากคูมือปฏิบัติการรวม สิ ง คโปร ใช เ ครื่ อ งบิ น ขั บ ไล โจมตี แ บบ F-16 กองทั พ
ที่มีอยูเดิม หรือแกไขเพิ่มเติมจากคูมือปฏิบัติการรวม อากาศที่ ม าปฏิ บั ติ ร าชการเป น ประจำกั บ กองเรื อ
ลาสุดที่มีอยูก็ได และเมื่อจัดทำเสร็จสิ้นจะตองมีการ ยุทธการสิงคโปร เปนเครื่องบิน “Chaser” มีหนาที่ใน
ทดสอบ และฝกตามขั้นตอนตาง ๆ เปนประจำเพื่อให การฝก คือ ยิงทำลายอาวุธปลอยนำวิถี Harpoon หรือ
เกิดการทำงานเปนทีมที่ดี สงสัญญาณ “ตัดน้ำมัน” ที่ตัวอาวุธปลอยฯ ใหหยุดการ

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖ 21


โคจรตกน้ำ หากอาวุธปลอยนำวิถีดังกลาวออกนอกวิถี
โคจรที่กำหนดไว โดยจะบินเรี่ยน้ำตามอาวุธปลอยนำวิถี
Harpoon ในระยะใกล ตั้งแตออกจากทอยิง จนกระทั่ง
กระทบเปา ขอเสนอแนะใหเพิ่มการฝกของเครื่องบิน
Gripen ของกองทั พ อากาศเข า ไปด ว ย โดยติ ด ตั้ ง
อุ ป กรณ ที่ จ ำเป น เช น เดี ย วกั บ เครื่ อ งบิ น F -16 ของ
กองทั พ เรื อ สิ ง คโปร ใ ห ซึ่ ง น า จะได ป ระโยชน คื อ
นอกจากทำใหฝายไทยมีกำลัง และเครื่องมืออุปกรณ
ตาง ๆ ทัดเทียมกับสิงคโปรแลว ยังชวยใหนักบินทหาร
อากาศไทยมีความคุนเคยกับการปฏิบัติการทางยุทธวิธี
ของกองกำลังทางเรือ และไดฝกการเขาโจมตีกระบวนเรือ
ไปในตัวดวย

สรุป
สุดทายนี้ ผูเขียนหวังเปนอยางยิ่งวา แมจะเปน สำหรับสาระของบทความนี้ โดยเฉพาะสิ่งที่ดี ๆ คาดวา
เรื่ อ งการทำสงครามที่ ผ า นมากว า ๓๐ ป แล ว แต บรรดานักรบในทะเล คงยึดถือเปนเยี่ยงอยางตอไป สวน
บทความนี้คงทำใหทานที่ชอบเรื่องการรบ การสงคราม ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะสวนตัว ที่เกี่ยวของกับการ
มีความเพลิดเพลินบาง รวมทั้งบางทานที่โตไมทันยุค ปฏิบัติการรวม กองทัพเรือ – กองทัพอากาศในการใช
Eighty คงตามทันหากมีผูกลาวถึงสงครามมาลบีนาส เครื่องบิน Gripen ของกองทัพอากาศโจมตีกระบวนเรือ
หรือสงครามฟอลกแลนดครั้งที่ ๒ ในการนี้ เมื่อประมาณ ในทะเล ซึ่งสรุปได คือ การใหการฝกหัดศึกษานักบิน
ปลายปที่แลว สื่อตาง ๆ ตลอดจนเว็บไซตตางประเทศ ฝูงบินดังกลาว ใหมีความชำนาญและคุนเคยกับการบิน
เริ่มกลาวถึงสงครามนี้กันมาก โดยเฉพาะเมื่อกองทัพเรือ ในทะเล และการปฏิบัติการทางเรือในสวนที่เกี่ยวของ
อังกฤษไดสงเรือพิฆาต Type 45 HMS.Dauntless ตลอดจนมีความรอบรูในยุทธวิธีทางเรือเปนอยางดี การ
ไปปฏิบัติการบริเวณหมูเกาะ เวลาเดียวกัน เรืออากาศ ปรับปรุงหรือจัดหาเครื่องบินลาดตระเวนทางทะเลใหม
เอก Prince William แหงกองทัพอากาศอังกฤษไดทรง ใหสามารถปฏิบัติการรวมกับเครื่องบิน Gripen และเรือ
ไปปฏิบัติราชการในตำแหนงนักบินเฮลิคอปเตอรหนวย ตาง ๆ ของกองทัพเรือในระบบการรบที่มีเครือขายเปน
บินคนหาและกูภัย ที่มีที่ตั้งเกาะฟอลกแลนดตะวันออก ศู น ย ก ลางได การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการเติ ม
เชนเดียวกับ เรือโท Prince Andrew (พระยศในสมัย น้ำมันกลางอากาศใหกับเครื่องบิน Gripen ตลอดจน
นั้น) ที่เคยไปปฏิบัติราชการสงครามที่นั่น ในตำแหนง จัดหาอาวุธปลอยนำวิถี แบบ RBS-15 การจัดทำคูมือ
นักบินเฮลิคอปเตอร ฝูงบินทหารเรือที่ ๘๒๐ ประจำเรือ ปฏิบัติการรวม การฝกการทำงานเปนทีม และการฝก
บรรทุกเครื่องบิน HMS.Invincible ภายใตการบังคับ ทางยุ ท ธวิ ธี ใ นการหลบหลี ก การตรวจจั บ เข า โจมตี
บัญชาของ นาวาโท Nigel Ward โดยเฮลิคอปเตอรทรง กระบวนเรือ ทั้งนี้อาจเปนประโยชนบางสำหรับบางทาน
ของพระองค ท ำหน า ที่ ป ราบเรื อ ดำน้ ำ รบผิ ว น้ ำ ที่ มี อ ำนาจหน า ที่ เ กี่ ย วข อ งนำไปใช ป ระกอบการ
เปน Missile Decoy และคนหากูภัยระหวางสงคราม พิจารณาพัฒนาปรับปรุงในสิ่งที่เห็นดวยตอไป

22 นาวิกศาสตร ปที่ ๙๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖

You might also like