You are on page 1of 7

บทความนี้ เ ป็ นบทหนึ่ ง ของหนั ง สื อ เล่ ม ใหม่ ข องศุ ภ วรรณ กรี น ชื่ อ

เรื่องว่า “วิธีการหยุด คิดอย่างเป็นระบบ” เห็นว่าน่ าจะมีประโยชน์


แก่คนหม่่มาก จึงขอนำามาเผยแพร่ก่อน

บทที่ ๗
เอาสติมาตรึงทีฐ
่ าน

เข้าใจจริงหรือ?

ก่อนจะเข้าส่่ภาคปฏิบัติ ขอพ่ดถึงปั ญหาที่เกิดขึ้นในสังคมชาวพุทธที่


เนื่ องกับการปฏิบัติสติปัฏฐานก่อน เพราะสติปัฏฐาน เป็ นเรื่องสำา คัญมากที่
ช่วยให้คนปฏิบัติพบความสงบสุขอย่างแท้จริง (วิมุตติสุข) อันเป็ นเป้ าหมาย
ของชีวิต คำา ว่า “สติ” จึง ถ่กใช้กัน บ่อยมากอั น เป็ นอิท ธิพ ลของพุท ธศาสนา
โดยตรง เป็ นต้นเหตุว่าทำา ไมคนไทยจึง พ่ด คำา ว่า “สติ” กัน จนติดปาก เช่น
เธอต้องมีสตินะ ด่ซิ...ทำาอะไรซุ่มซ่าม ขาดสติอีกแล้ว เป็ นต้น แต่เมื่อต้องการ
ให้เจระนัย ขยายความว่า จะต้องทำาอะไร อย่างไรที่จะให้มีสติ หรือไม่ให้ขาด
สติ ดิฉนั เชื่อเหลือเกินว่า คนเดินถนนทั่วไปที่ไม่ได้สนใจศึกษาพุทธศาสนาจะ
อธิบายไม่ได้ แม้คนที่ศึกษาแล้ว และฝึ กฝนสติปัฏฐานแล้วด้วย ก็ยังอธิบาย
คำาว่า “สติ” ไม่ค่อยได้ สาเหตุหนึ่ งเพราะคำาๆนี้ เป็ นนามธรรม อธิบายยาก
มาก นอกจากนั้ น คนไทยเราไม่เ คยพ่ด ประโยคเต็ม ๆ “ คุณ ต้อ งมี สติน ะ”
เมื่อพ่ดให้เต็มประโยคควรเป็ น “คุณต้องเอาสติมาตรึงที่ฐานนะ” คนพ่ดกับ
คนฟั งก็จะได้ซักไซร้กันต่อว่า ไหน...ฐานของสติคืออะไรหรือ และการเอาสติ
มาตรึงที่ฐานต้องทำาอะไร อย่างไรหรือ ก็ยังพอไล่เรียงกันเพื่อเอาปั ญญามา
หาคำาตอบที่ถ่กต้องระหว่างคนร้่กับคนไม่ร้่ แต่ทุกวันนี้ ทั้งคนพ่ดคนฟั งมักจะ
เหมารวมเอาว่าทั้งสองฝ่ ายเข้าใจอย่างดีทุกครั้งที่พด ่ ว่า “ต้องมีสตินะ” ซึง
่ ข้อ
เท็จ จริง ไม่ใ ช่เ ช่น นั้ นเลย แม้เ ข้า ใจ ก็ยั ง เป็ นการเข้า ใจแบบหลวม ไม่ แน่ น
เป็ นเรื่องที่สะท้อนให้เห็นความล้มเหลวของการสอนตามประเพณีท่ีไม่ได้ย้ ำา
เรื่องสำาคัญนี้ อย่างจริงจัง

สติมีสองประเภท

อย่างไรก็ตาม การพ่ดว่า “ต้องมีสติอย่่กับฐานนะ” ก็ยังอธิบายเป็ นร่ป


ธรรมได้ยากมากว่า ต้องทำาอะไร อย่างไร จึงจะเรียกว่ามีสติอย่่กับฐาน ความ
ยากอย่่ท่ีคำาว่า สติ ซึ่งเป็ นคำาที่มีความหมายเป็ นนามธรรมมาก ตรงนี้ แหละ
ดิฉันจึงแปลงคำาว่า สติ ซึ่งเป็ นนามธรรมให้เป็ นร่ปธรรมก่อน โดยแทนด้วย
คำา ว่า “ตัวใจ” แล้วแปลงคำา ว่า “ฐาน” ให้เป็ นคำา ว่า “บ้าน” การเอาสติมา
ตรึงที่ฐาน จึงกลายเป็ น การพาตัวใจกลับบ้าน ซึ่งฟั งเข้าใจง่ายกว่าการพ่ด
ลอยๆว่า “มีสติ”

ก่อนอื่น ควรมาทำาความเข้าใจให้ถ่กต้องก่อนว่า คำาว่า สติ ในพระพุทธ


ศาสนามี ๒ ประเภทคือ
1. สัมมาสติ ในภาคปฏิบัติหมายถึงคนที่สามารถเอาสติมาตรึงกับ
ฐานของสติท้ังสี่ได้ ซึ่งร้่จักกันในนาม สติปัฏฐานสี่ อันมีฐาน กาย
(ลมหายใจ การเคลื่ อนไหว ) เวทนา (ความร้่ สึ ก เย็ น ร้อ น อ่ อ น
แข็ ง ) จิต (เห็ น การเกิ ด ดั บ ของความคิ ด ในขณะที่ มั น เกิ ด ) และ
ธรรม (รับ ร้่ ทุก อย่ า ง คื อ ภาพ เสี ย ง กลิ่ น รส สั ม ผั ส อย่ า งเป็ น
ผัสสะบริสุทธิ ์) ฉะนั้น การมีสติ คือ การทำาความร้่สึกตัวทั่วพร้อม
กับ ลมหายใจหรือ การเคลื่อนไหวของเรา ชาวพุ ทธส่ว นมากจะ
ถนั ดหลั ก การปฏิ บั ติ ข องสองฐานแรกมากที่ สุ ด หากใคร
สามารถเอาสติมาตรึงกับฐานใดฐานหนึ่ งในสี่ฐานได้แล้ว ชีวิตก็
จะเป็ นสุข สงบ ไม่ทำาอะไรซุ่มซ่าม หรือที่เรียกว่า ขาดสติ

2. มิจฉาสติ คือ กลุ่มคนที่ไม่ได้มีสติอย่่กับฐานทั้งสี่ของสัมมาสติ


นั่นเอง ด้วยเหตุผลใหญ่เพียงข้อเดียว คือ ในขณะนั้นกำาลังวน
เวียนอย่่กับการคิดและความคิด (เจอรี่) ของตนเอง เมื่อหมกมุ่น
อย่่กับความคิด การร้่สึกตัวทั่วพร้อม (มีสติ) ในขณะกำาลังหายใจ
เคลื่อนไหว จึงไม่เกิด จึงเป็ นสาเหตุให้ทำาอะไรซุ่มซ่าม เผลอไผล
ไม่ไ ด้ร ะวั ง สภาวะนี้ ชาวพุ ท ธไทยมาตั้ ง ศั พ ท์ ใ หม่ เ องว่ า “ ขาด
สติ ” แทนที่ จ ะใช้ คำา ว่ า “ มิ จ ฉาสติ ” อั น เป็ นคำา ศั พ ท์ ด้ั ง เดิ ม ของ
พระพุทธเจ้า

มนุษย์ทุกคนมีสติ

โดยข้อเท็จจริงแล้ว มนุษย์ทุกคนล้วนมีสติเหมือนกันหมด เพราะคำาว่า


สติ หมายถึง การร้่สึกตัว ซึ่งเป็ นหน้าที่ของวิญญาณขันธ์ มันเป็ น วิญญาณ
ธาตุ เป็ นธาตุ ธ รรมชาติ element ที่ ทำา หน้ า ที่ “ ร้่ สึ ก ตั ว กาย ” ฉะนั้ น คำา ว่ า
ร้่สึก+ตัว เป็ นการกล่าวถึงการทำางานของสองขันธ์คือ ร่ปขันธ์+วิญญาณ
ขันธ์ ธาตุร้่สึกมาทำาให้ก้อนดิน นำ้า ลม ไฟ (ตัวกาย) มีชีวิตชีวาขึ้นมา ฉะนั้น
มนุษย์คนไหนที่เดินเหิรได้ พ่ดได้ ทำา กิจกรรมต่างๆของชีวิตประจำา วันได้ ก็
หมายความว่า เขามีสติท้ังนั้น คือ มีความร้่สึกตัว(กาย)ทั้งนั้น คนที่ขาดสติ
จึงแปลว่า คนที่ไม่มีความร้่สึกตัว(กาย) ซึ่งมี ๔ ประเภทคือ คนหลับสนิ ท คน
หมดสติ คนอย่่ในอาการโคม่า และคนตายสนิ ท
นอกเหนื อจาก ๔ กรณี น้ี แ ล้ ว ต้ อ งจั ด ว่ า ทุ ก คนล้ ว นมี สติ ท้ั ง สิ้ น คือ มี
ความร้่ สึ ก ตั ว (กาย ) ความแตกต่ า งจึ ง อย่่ ที่ ว่ า การมี ส ติ ข องเขาเป็ น
สัมมาสติหรือมิจฉาสติ จะถ่กต้องกว่า

นิ สัยดีกับนิ สัยเสียของใจ

หากวิ เ คราะห์ ใ ห้ ดี แ ล้ ว คนกลุ่ ม ใหญ่ ข องโลกควรจั ด อย่่ ใ นกลุ่ ม ที่ มี


มิจ ฉาสติท้ัง สิ้น คือ เป็ นกลุ่มคนที่ หมกมุ่น อย่่กับ การคิด เรื่ องทำา มาหาเลี้ ยง
ชีวิต เรื่องได้เรื่องเสีย คิดเรื่องการแข่งขันเพื่อให้ได้มาซึ่งปั จจัยสี่เป็ นอย่าง
น้ อ ย คิ ด เรื่ องการหาเกี ย รติ ย ศ ชื่ อเสี ย ง หรื อ ไม่ ก็ วุ่ น กั บ การคิ ด สร้ า งฐาน
อำา นาจให้ตนเอง ซึ่งการคิดเรื่องใหญ่ๆเหล่านี้ จำา เป็ นต้องเกี่ยวข้องกับความ
คิด อัน มีร ายละเอีย ดปลีก ย่อ ยมากมายเหลื อเกิน การติ ด คิด เช่น นี้ จั ด เป็ น
“ นิ สั ยเ สี ย ” ของใจที่จะนำาไปส่่การคิดฟ้ ุงซ่าน อันเป็ นต้นตอของ
ความเครียด วิตก กังวล และความทุกข์ท้ังหลาย และเป็ นสาเหตุท่ีทำาให้คน
ทำาอะไรซุ่มซ่าม ดังที่เรียกกันผิดๆว่า “ขาดสติ”
เหตุผลใหญ่อีก ข้อหนึ่ ง ที่ดิฉัน บอกว่าคนส่ว นมากของโลกมีมิจฉาสติ
เพราะ คนที่จะมีสัมมาสติได้อย่างแท้จริงนั้น จำาเป็ นต้องผ่านขั้นตอนของการ
มีสัมมาทิฏฐิ (ความเห็นถ่กต้อง) ตามหลักมรรคมีองค์แปดประการก่อน คือ
อย่างน้อยที่สุดต้องร้่จักคำาสอนของพระพุทธเจ้าในเรื่องพ้นทุกข์ (ออกจากคุก
ชีวิต) เพื่อไปนิ พพาน ซึ่งเป็ นเป้ าหมายส่งสุดของทุกชีวิตบนโลกนี้ หลังจากมี
ความเห็นที่ถ่กต้องแล้ว จึงจะมีการปฏิบต ั ิตามสัมมาข้ออื่นๆตามลำาดับเพื่อพา
ตนเองไปส่่การพ้นทุกข์อย่างสิ้นเชิง จนมาถึงสัมมาข้อที่ ๗ คือ สัมมาสติ ซึ่งผ้่
ปฏิบัติจะต้องฝึ ก “นิ สัยดี” ให้แก่ใจ คือ แทนที่จะปล่อยให้ร้่สึกตัว (มีสติ) อย่่
กับความคิดและการคิดอย่างเรื่อยเปื่ อยเหมือนคนเดินถนนทั่ว ไป ต้องเริ่ม
เปลี่ยนนิ สัยของใจใหม่ โดยฝึ กให้ร้่สึกตัว ทั่ว พร้อม (มีสติ) อย่่กับการหายใจ
และการเคลื่อนไหวของตนเองซึ่งเป็ นฐานแรกของสติ ใครที่สร้างนิ สัยดี
ให้แก่ใจได้เช่นนี้ ก็นับว่าได้เข้าส่่ขบวนการหยุดคิดอย่างเป็นระบบ
แล้ว
เนื่ องจากเรื่องการมีสติ (สัมมาสติ นิ สัยดี) และขาดสติ (มิจฉาสติ นั ย
สั ยเสีย ) ยั ง เป็ นเรื่ องคลุม เครือ มากในหม่่ ชาวพุ ทธ เป็ นเรื่ องยากที่ สุ ด ที่ จ ะ
เข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง แม้เกี่ยวข้องกับกิจกรรมง่ายๆ พื้นๆของชีวิต เช่น ลม
หายใจ การเคลื่อนไหว และการคิด ยิ่งเป็ นเรื่องพื้นๆ ยิ่งอธิบายให้เข้าใจได้
ยาก จึงกลายเป็ นเรื่องลึกซี้งโดยปริยาย ฉะนั้น คนที่ต้องการหยุดความคิด
ฟ้ ุงซ่าน หรือ หยุดความคิดเจ็บปวดอย่างได้ผล หรือ สามารถ “หยุดคิดอย่าง
เป็ นระบบ” จึงจำาเป็ นต้องแยกแยะความแตกต่างระหว่างมิจฉาสติ (นิ สัยเสีย
ของใจ) กับสัมมาสติ (นิ สัยดีของใจ) ให้ชัดเจนเสียก่อน เพื่อจะได้นำาไปปฏิบัติ
อย่างถ่กต้อง ซึง ่ ดิฉนั จะเข้าส่่รายละเอียดของภาคปฏิบัติในบทต่อ

ชายถือถ้วยนำ้ ามันร้อน

สั ม มาสติ ท่ี จ ะสามารถทำา ให้ ห ยุ ด คิ ด อย่ า งเป็ นระบบได้ น้ั น สามารถ


อธิบ ายด้วยนิ ทานเรื่องนี้ คือ ชายคนหนึ่ ง กำา ลังเดิน โดยมือทั้ ง สองกำา ลัง ถือ
ถ้วยนำ้ามันที่ร้อนจัด สมมุติว่าเป็ นถ้วยที่กันความร้อนได้ จึงถือถ้วยได้ ถ้า
ชายคนนี้ เดิน อย่างไม่ระวัง (มิจฉาสติ) นำ้ ามันร้อนก็จะหกใส่มือและลวกมือ
ของชายคนนั้น ทำาให้เนื้ อไหม้และเจ็บปวดมาก แต่เบื้องหน้าของชายคนนี้
จะมีหญิงสาวสวยงามกำา ลังฟ้ อนรำา อย่่ตลอดเวลา ฉะนั้ น หากชายคนนี้ ไม่
ต้องการให้น้ ำ ามัน หกลวกมือจนไหม้และเจ็บ ปวดแล้ว ย่อมหมายความว่ า
ชายคนนี้ จะต้อ งไม่ม องหญิง ที่กำา ลั ง ฟ้ อนรำา อย่่ เ บื้ องหน้าเลย และต้อ งเดิ น
ช้าๆ พร้อมเอาตาจดจ่ออย่่กับถ้วยนำ้ามันที่กำาลังถืออย่่ตลอดเวลา จึงจะรอด
ปลอดภัยจากการถ่กนำ้ามันลวกได้
ตัวละครในนิ ทานเรื่องนี้ จะบอกความแตกต่างระหว่างการมีสัมมาสติ
(นิ สั ย ดี ) กั บ มิ จ ฉาสติ (นิ สั ย เสี ย ) ได้ ดี ม าก ตาเนื้ อของชายคนนี้ จะเปรี ย บ
เหมือ นตั ว “ สติ” ซึ่ง ดิ ฉัน เรีย กแทนว่า ตาใจ (ของตัว ใจ ) ถ้ว ยนำ้ ามัน เปรีย บ
เหมือน “ฐานของสติ” อันมี ลมหายใจ การเคลื่อนไหวของกาย และ ความ
ร้่สึกของกายอันมี เย็น ร้อน อ่อน แข็ง (ฐานหรือบ้าน ๑-๒)
สั ม มาสติ คื อ อาการที่ ชายคนนี้ ต้ อ งใช้ ต าใจมองลมหายใจ การ
เคลื่อนไหว และความร้่สึกของกายอย่างจดจ่อ อย่างเต็ม ที่ ร้อยเปอร์เซนต์
เหมือนชายกำาลังมองถ้วยนำ้ามันร้อนที่เต็มเปี่ ยม
หญิงฟ้ อนรำาเปรียบเหมือนความคิด (เจอรี่) ที่กำาลังหลอกล่อให้ตาของ
ชายไปมอง นั่นคือ การที่ตาใจ (สติ ตัวใจ) ไปให้ความสำา คัญต่อการคิด (ด่
หญิงฟ้ อนรำา ) เหมือนถ่กหญิงฟ้ อนรำา ลากไป อันคือ อาการคิด ติด คิด คิด
วนเวียน คำาซำ้าซาก คิดเรื่องได้เรื่องเสีย คิดฟ้ ุงซ่าน ซึ่งเป็ นมิจฉาสติ (นิ สัย
เสีย)แล้ว
ในขณะที่ชาย (ตาใจ)กำาลังให้ความสนใจต่อหญิงฟ้ อนรำา (ความคิด) นั้น
แน่ นอน ชายคนนี้ ย่อมไม่ได้ใช้ตาจดจ่ออย่่ท่ีการถือถ้วยนำ้ามันที่ร้อนระอุ (ลม
หายใจ การเคลื่ อนไหว ความร้่ สึ ก ) จึ ง ทำา ให้ ช ายคนนี้ เดิ น อย่ า งไม่ ร ะวั ง
(มิจฉาสติ) สิ่งที่ตามมาคือ นำ้ามันร้อนย่อมหกใส่มือ และลวกมือของชายคนนี้
จนไหม้ สร้างความเจ็บ ปวดยิ่ง นั ก หมายความว่า หากปล่อ ยให้ส ติ(ตาใจ )
หมกหมุ่นอย่่กับความคิดที่หลากหลายซึ่งเป็ นมิจฉาสติแล้วละก็ เท่ากับ แส่
หาความทุกข์ใส่ตัว สร้างความเจ็บปวดให้แก่ตัวใจซึ่งเป็ นตัวจริงของเราอย่าง
แน่ นอน
วิ ธี ก ารเดี ย วที่ จ ะไม่ ทำา ให้ น้ ำ ามั น ร้ อ นหกลวกมื อ จนไหม้ คื อ การมี ส ติ
จดจ่ออย่่กับการหายใจ การเคลื่อนไหว และความร้่สึกของส่วนกาย ซึ่งเป็ น
หน้าตาของฐานแห่งสติ หรือ บ้านของใจ

เอร็ดอร่อย นำ้ าลายหก ล้านเปอร์เซนต์

นิ ทานที่เล่าข้างบนนี้ ที่จริงเป็ นเรื่องที่พระพุทธเจ้าได้เล่าไว้ในพระส่ตร


ดิ ฉัน เอามาปรับ นิ ดหน่ อ ย ท่ า นไม่ ไ ด้ พ่ ด ถึ ง นำ้ ามัน ร้ อ นหกลวกมื อ แต่ใ ห้ มี
ชายอีกคนหนึ่ ง ในมือถือมีด กำา ลังเดินตามหลังชายถือถ้วยนำ้ ามัน หากชาย
ทำา มั น มัน หกเพี ยงหยดเดีย ว ชายที่ เ ดิน ตามหลั ง ก็ จ ะเอามีด ฟั นคอของชาย
เบื้องหน้าหลุดจากบ่าทันที ซึ่งหมายถึงความทุกข์เหมือนกัน
อย่างไรก็ตาม นั่นคือการแยกแยะความแตกต่างของการมีสติของคน
สองกลุ่ ม การมี สั ม มาสติ น้ั น ดิ ฉัน มั ก ใช้ ว ลี เ ช่ น เอร็ ด อร่ อ ย นำ้ าลายหก
ล้ า นเปอร์ เ ซนต์ ซึ่ ง มี ค วามหมายเดี ย วกั บ การที่ ช ายต้ อ งถื อ และมองถ้ ว ย
นำ้ามันร้อนอย่างจดจ่อล้านเปอร์เซนต์น่ันเอง
การจะมีสัมมาสติน้ัน ผ้่ป ฏิบัติจ ะต้องฝึ กฝนการร้่สึก ตัว ทั่ว พร้อมอย่่ท่ี
ลมหายใจ การเคลื่ อนไหวของตนเอง และความร้่ สึ ก ของตั ว กายอย่ า ง
เอร็ดอร่อย เหมือนชายหน่ ุมหญิงสาวที่กำาลังตกหลุมรัก ต้องการมองหน้า
ของกันและกันอย่างด่ดดื่ม ไม่อยากละสายตา หรือเหมือนกำาลังมองอาหาร
จานโปรดอย่างนำ้าลายหก ฉันใดก็ฉน ั นั้น คือ สติ (ตาใจ) ต้องให้ความสนใจ
เต็ ม ที่ ทุ่ ม เทการร้่ สึ ก ตั ว มาที่ ล มหายใจและการเคลื่ อนไหวอย่ า งล้ า น
เปอร์เซนต์ เมื่อปฏิบัติจริงๆ ก็คือร้อยเปอร์เซ็นต์ ดิฉน ั เพียงต้องการเน้นให้
มันเด่นขึ้นมา ทำาเช่นนี้ เท่านั้น จึงจะเป็ นการ “ร้่สึกตัวทัว ่ พร้อม” อย่าง
แท้ จ ริ ง นี่ จึ ง เป็ นระดั บ สติ ท่ี ส่ ง เพี ย งพอที่ จ ะเบี่ ย งเบนความสนใจออกจาก
ความคิ ด ของตนเองได้ หากไม่ มี ส ติ ใ นระดั บ “ นำ้ าลายหก” หรือ “ ล้ า น
เปอร์เซ็นต์” แล้ว จะไม่เพียงพอที่จะต้านกระแสของความคิดที่เข้าๆออกๆ
ในหัวอันมีมากมายนับล้านๆความคิดได้ ซึ่งการฝึ กฝนสติในระดับนี้ จำา เป็ น
ต้องได้รบ ั การชี้แนะจากคร่บาอาจารย์ท่ีชำานาญเรื่องสติปัฏฐานเท่านั้น

ยาแก้ทุกข์ของพระพุทธเจ้า
ดัง ที่ดิฉัน ได้บ อกแล้วว่า เรื่องพื้น ๆง่ายๆนี่ แหละกลับ กลายเป็ นเรื่องที่
ยากและลึกซึ้งมาก คนเดินถนนทุกคนล้วนหายใจ เคลื่อนไหว และมีความ
ร้่สึกของส่วนกายทั้งสิ้น แต่หาร้่ไม่ว่า เพียงการเพิ่มระดับสติหรือการร้่สึก
ตั ว ทั่ ว พร้ อ มให้ อ ย่่ ใ นระดั บ ล้ า นเปอร์ เ ซนต์ เ ท่ า นั้ น เขาก็ จ ะสามารถแปลง
กิจกรรมง่ายๆของชีวิตที่มีอย่่กับตัวแล้วเช่นลมหายใจ การเคลื่อนไหว ให้เป็ น
ยาแก้ทุกข์ของพระพุทธเจ้าไปในฉับพลัน
คนที่กำา ลัง ฝึ กฝนเรื่องการเอาสติม าตรึง ที่ ฐานกาย (ด่ลมหายใจ การ
เคลื่อนไหวของกาย ) นั้น ผ้่ฝึกจะต้องหัดทำาทุกอย่างช้าๆ (เหมือนชายถือถ้วย
นำ้ามันร้อน ต้องเดินช้า นำ้ามันจึงไม่หก) จะต้องฝึ กหายใจลึกๆ เพราะการทำา
เช่นนี้ จะช่วยเพิ่มระดับสติให้มาอย่่ในระดับล้านเปอร์เซนต์ เท่ากับเป็นการ
ผลิตยาแก้ทุกข์ให้ตนเอง ผ้่ฝึกจึงจะเริ่มเห็นความเอร็ดอร่อยของการ
หายใจและเคลื่อนไหวช้า ๆด้ วย ใครที่ ทำา เช่น นี้ ได้ ชีวิต ก็จ ะเป็ นสุข สงบ ไม่
เผลอเรอ ไม่ซุ่มซ่ามอีกต่อไป

สรุป

ดิฉันเห็นว่า ชาวพุทธไทยควรหันมาใช้คำา ว่า สติอย่างถ่กต้อง เช่น ใช้


คำาว่า มิจฉาสติ แทนคำาว่า ขาดสติ ในส่วนของสัมมาสติน้ัน ชาวพุทธไทยควร
หัดใช้วลีเต็มๆแทนที่จะพ่ดกันเพียงครึ่งวลีเท่านั้น โดยเริ่มการทักคนว่า “นี่ ...
เธอหัดให้มีสติอย่่กับฐานสิ” หรือ “เธอมีสติอย่่กับฐานแล้ว หรือยัง ” เป็ นต้น
หากทำาได้เช่นนี้ การสนทนาเรื่อง “ฐานของสติ” จะเกิด คนจะเริ่มคุยกันเอง
ว่า ฐานของสติมีอะไรบ้าง และต้องทำา อย่างไร โดยเอาง่ายๆเพียงสองฐาน
แรกก็พอแล้ว ซึ่งร้่จักกันในหม่่ผ้่ปฏิบัติว่า “ฐานกาย ฐานเวทนา” อันมีลม
หายใจ การเคลื่อนไหว และความร้่สึกของส่วนกายทั้งหมด หากช่วยกันพ่ด
สนทนาด้วยประโยคเหล่านี้ แล้ว ชาวพุทธไทยจะค่อยๆร้่จักฐานของสติมาก
ขึ้น และจะร้่ทันทีว่า ฐานของสติคือการทำาความร้่สึกตัวทั่วพร้อมที่ลมหายใจ
หรือการเคลื่อนไหวของกาย และควรเน้นให้คนร้่ด้วยว่า ต้องทำาความร้่สก ึ ตัว
ทั่ วพร้ อ มกั บ ลมหายใจอย่ า งเอร็ ด อร่ อ ย อย่ า งนำ้ าลายหก อย่ า งล้ า น
เปอร์เซ็นต์ เท่ากับเป็ นการสอนให้คนฝึ กทำาเรื่องง่ายๆ พื้นๆ ที่มีอย่่กบ ั ตัวเอง
แล้ว เพราะมนุษย์เดินถนนทุกคนในโลกนี้ ล้วนต้องหายใจ ต้องเคลื่อนไหว
และล้วนร้่สึกได้ถึงความเย็น ร้อน อ่อน แข็งทั้งสิ้น จึงไม่จำา เป็ นต้องลงทุน
อะไรเ ลย เพี ย งฝึ กฝนให้ ร้่ สึ กตั ว กั บ ก าร หายใ จและเค ลื่ อนไหว อย่ า ง
เอร็ดอร่อย ซึง ่ จะทำาที่ไหน เมื่อไร ก็ได้ท้ังนั้น สามารถทำาได้ในขณะที่กำาลังทำา
กิจกรรมอื่นๆในชีวิตประจำาวันด้วย ใครทำาได้ ก็จะเข้าส่่ข้ันตอนของการ “ห
ยุดคิดอย่างเป็นระบบ” แล้ว เป็ นเจ้าของโรงงานผลิต “ยาแก้ทุกข์ของ
พระพุทธเจ้า” ให้ตนเองได้แล้ว จะเป็ นสุขทันทีในขณะที่กำาลังทำาอย่่ และ
เมื่อสามารถทำา ได้จนติดเป็ นนิ สัยดีของใจแล้ว ก็จ ะมีผลให้ผ้่ปฏิบัติสามารถ
หมดทุกข์ได้อย่างถาวรด้วย คือ สามารถออกจากคุกชีวิตไปนิ พพานได้ด้วย
จึงเป็ นการปฏิบัติท่ม ี ีอานิ สงส์แรงมาก

You might also like