You are on page 1of 15

1 มกราคม – มิถุนายน 2561 ปที่ 41 เลมที่ 1 วารสารสุขศึกษา

สุขภาวะของผูสูงอายุ: แนวคิดและปจจัยที่เกี่ยวของ

อัจศรา ประเสริฐสิน1, ทัชชา สุริโย2, ปพน ณัฐเมธาวิน2


1
อาจารย สํานักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2
อาจารย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

บทคัดยอ
สุขภาวะ หมายถึง ภาวะที่บุคคลสามารถแสดงออกไดเหมาะสมตามบทบาททางสังคม สามารถ
ทํางานไดตามบทบาทอยางเต็มประสิทธิภาพ สามารถปรับตัวกับสถานการณและสิ่งแวดลอมได เปนภาวะที่
แตละบุคคลรับรูตอสภาวการณที่เปนอยู รูสึกมีความสุข ไมวาความสุขนั้นจะเกิดจากความสุขภายนอกหรือ
ความสุขภายใน มีคุณภาพชีวิต มองโลกในแงดี มีความพึงพอใจตอการดําเนินชีวิต มีความสมบูรณทั้งทางกาย
จิ ต ใจ อารมณ ป ญ ญา สั ง คมและสิ่ ง แวดล อ ม โดยมี แ นวคิ ด ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ สุ ข ภาวะของผู สู ง อายุ ดั ง นี้
1) สุขภาวะตามแนวคิดของอดัมส 2) สุขภาวะตามแนวคิดของไมเยอร 3) สุขภาวะแบบองครวมแนวพุทธ
พระพรหมคุณาภรณ 4) สุขภาวะตามมุมมองแบบเฮโนดิกสและยูไดโมนิกส และ 5) สุขภาวะของผูสูงอายุ
ตามแนวคิดของไรฟ การที่ผูสูงอายุจะมีสุขภาวะที่ดีหรือไมนั้น ขึ้นอยูกับหลายปจจัยดังนี้ ปจจัยภายใน ไดแก
การทํางานของรางกาย ความสามารถทางกาย ความสามารถทางจิต การมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
การเห็นคุณคาในตนเอง การมองโลกในแงดี ความหมายในชีวิต ความเปนอิสระ คุณภาพชีวิต ความเหงา
ความโดดเดี่ยว ความหดหูตึงเครียด และปจจัยภายนอก ไดแก การเกษียณอายุโดยสมัครใจ การทํากิจกรรม
ทางกาย ความปลอดภัย ลักษณะการดําเนินชีวิต การนับถือศาสนา (ในประเทศกําลังพัฒนา) การสนับสนุน
ทางสังคม เครือขายในสังคม กิจกรรมทางสังคม รายได การสมรส การศึกษา ถิ่นที่อยูอาศัย ความสะดวกใน
การเดินทาง หากบุคคลเกิดความพอใจ รับรู และปรับตัวตอสถานการณที่เปนอยู ปจจัยเหลานี้แสดงใหเห็น
วาบุคคลนั้นๆมีแนวโนมที่จะมีสุขภาวะที่ดี ดังนั้น การศึกษาแนวคิด และปจจัยที่เกี่ยวของกับสุขภาวะของ
ผูสูงอายุ ซึ่งเปนแนวทางใหบุคคลที่เกี่ ยวของ นําไปประยุกตใช ในการจัดกิจ กรรมที่เหมาะสม เพื่อดูแ ล
ผูสูงอายุโดยเฉพาะ และผลักดันนโยบาย เพื่อสงเสริมสุขภาวะของผูสูงอายุใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

คําสําคัญ: สุขภาวะ/ ผูสูงอายุ

Corresponding author: อัจศรา ประเสริฐสิน, อีเมล: ubib_p@hotmail.com, โทร: 0815546241


Journal of Health Education January – June 2018 Vol. 41 No. 1 2

Well-Being of Elderly People: The Various Concepts and Factors Involved

Ujsara Prasertsin1, Tatcha Suriyo2, Papon Nutmatawin2


1
Lecturer, Educational and Psychological Test Bureau Srinakharinwirot University
2
Lecturer, Graduate school Srinakharinwirot University

Abstract
Well-Being refers to individual can be expressed by suitable social role. Able to
work effectively. Able to adapt to the situation and environment. A condition in which
individuals recognize on the situation it is to feel happy. Whether happiness is caused by
external or inner happiness. Individual have quality of life, optimistic, life satisfaction,
wealth of physical and mental, good of emotion and environment. The concepts
associated with the well-being of the elderly as follows. 1) The perceived wellness model
by Adams 2) Wheel of wellness model by Myers 3) Buddhist holistic health 4) Hedonic &
eudaimonic perspectives and 5) Six-factor model of psychological well-being by Ryff. The
elderly will be in good health or not depends on several factors, as follows: internal
factors include the physical function, physical capability, mental capability having a, good
physical and mental health, self-esteem, optimistic, meaning of life, autonomy, quality of
life, loneliness, depression and external factors include the voluntariness of retirement,
physical activity, security, lifestyle, religion (in developing countries), social support, social
network, social activities, income, marriage, education, local residential and transportation
convenience. If a person takes pleasure to recognize and adapt to the situation, this shows
that people are more likely to have well-being. So the study about the concepts and
factors related to the well-being of the elderly people. It is a way for the person
concerned can apply to the appropriate activities to care for the elderly. And push policy
to promote the well-being of the elderly with better quality of life.

Keywords: Well-being/ Elderly people

Corresponding author: Ujsara Prasertsin, Email: ubib_p@hotmail.com, Tel: 0815546241


3 มกราคม – มิถุนายน 2561 ปที่ 41 เลมที่ 1 วารสารสุขศึกษา

บทนํา นอกจากการเสื่อมของสภาพรางกายแลว การสูญเสีย


ปจจุ บันหลายประเทศทั่วโลกมี ประชากร บทบาททางสังคม ยังสงผลโดยตรงตอสภาพจิตใจของ
ผู สู งอายุ เพิ่ มมากขึ้ นอย างรวดเร็ วจนเข าสู สั งคม ผูสู งอายุ 4 ทํ าให สังคมต องหั นมาใหความสํ าคั ญกั บ
ผูสูงอายุ (Aging Society) ซึ่งมีผลกระทบตอสภาพ มาตรการที่จะมีใหกับประชากรผูสูงอายุ จําเปนตองมี
สังคม สภาวะเศรษฐกิจและการจางงาน ตลอดจนการ การพั ฒนาตั้ งแต วั นนี้ ไม ว าจะเป นในด านสุ ขภาพ
จัดสรรทรัพยากรทางสุขภาพและสังคมของประเทศ อนามั ย ความเป นอยู หรื อเรื่ องของสุ ขภาวะของ
อยางตอเนื่องในระยะยาว1 ดังเชนประเทศสิงคโปรเปน ผูสูงอายุ
สังคมผูสูงอายุ มีสัดสวนผูสูงอายุใกลเคียงกับไทย แม สุขภาวะ ถูกใชเรียกในแบบตางกัน ไมวาจะ
สิงคโปรจะเตรียมแผนการรับมือกับปญหานี้มากอน เปนความอยูดีมีสุข ความผาสุก Well-being หรือ
แตก็ยังคงเผชิญกับปญหาการมีบุตรนอยและผูสูงอายุ Wellness ซึ่งหมายถึง การมีสุขภาพที่ดี ทั้งนี้ องคการ
อาศัยอยูตามลําพังมากขึ้น สวนประเทศเกาหลีใตได อนามัยโลก และพ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ5 ไดนิยามไววา
เข าสู สั งคมผู สู งอายุ โดยสมบู รณ แล ว และผู สู งอายุ สุขภาพ หมายถึง สุขภาวะที่สมบูรณทั้งทางกาย จิตใจ
จํานวนมากยังมีฐานะยากจน แตยังไมมีแผนการรองรับ สังคม และปญญา ไมใชเพียงปราศจากโรคหรือความ
ที่ เป นรู ปธรรม สํ าหรั บสถานการณ ด านโครงสร าง พิการเทานั้น หรือสุขภาวะที่สมบูรณทุกทางเชื่อมโยง
ประชากรของประเทศไทยประสบกับการเปลี่ยนแปลง กัน สะท อนถึ งความเป นองค รวมอย างแท จริ งของ
อย างรวดเร็ ว จํ านวนผู สูงอายุ เพิ่ มเร็ วขึ้ น เนื่องจาก สุขภาพที่เกื้อหนุนและเชื่อมโยงกันทั้ง 4 มิติ5 จากการ
วิ ท ยาการทางการแพทย ส มั ย ใหม การพั ฒ นา ทบทวนวรรณกรรม พบว า นั ก วิ ช าการได ใ ห
สาธารณสุขที่ดีขึ้น การขยายตัวทางเศรษฐกิจ รายได ความหมายของสุขภาวะ ไวหลากหลาย ดังนี้
ตอบุคคลที่เพิ่มขึ้น การพัฒนาในดานสังคม การศึกษา Wu6 กลาววา สุขภาวะ คือ ความรูสึกผาสุก
ลวนแตเปนสาเหตุใหประชากรในประเทศมีแนวโนม สามารถทํ างานตามบทบาทได อย างเต็ มศั กยภาพ
อายุยืนมากยิ่งขึ้น2 สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดาน สามารถยืดหยุนหรือปรับตัวทามกลางสถานการณ
โครงสรางของประชากร ภาวะเจริญพันธุ ที่ลดต่ํ าลง ตางๆที่รายรอบได
และประชากรมี ชี วิ ตยื นยาวขึ้ นทํ าให ประเทศไทย ประเวศ วะสี6 กลาววาสุขภาวะ คือ ภาวะที่
กลายเป นสั งคมผู สูงอายุ โดยจะเป นสั งคมผู สูงอายุ เป นสุ ข มี ความสมบู รณ ทางกาย จิ ตใจ อารมณ
อยางสมบูรณในป พ.ศ. 2568 โดยมีสัดสวนประชากร ปญญา สังคมและสิ่งแวดลอม เชน รางกายแข็งแรง มี
วั ยสู งอายุ เพิ่ มเป นร อยละ 14.83 สอดคล องกั บ สติ มีสังคมที่สันติ มีปญญารอบรูเทาทัน เปนตน
การศึกษาของ พนิดา ไยวะพุย และคณะ2 แสดงผลการ ทวีชัย เชสูงเนิน และปยธิดา คูหิรัญญรัตน7
คาดการณว าในป พ.ศ. 2593 จะมีผู สูงอายุ ที่มี อายุ กลาววา สุขภาวะ คือ การพิจารณาถึงวัตถุและจิตใจ
มากกว า 65 ป มากถึ ง 15 ล านคน คิ ดเป นสั ดส วน เป นสํ าคั ญ การที่ บุ คคลมี ความคิ ดเชิ งบวก ในด าน
ร อยละ 21.72 จากการที่ สั งคมไทยกลายเป นสั งคม สุ ขภาพ สั งคม เศรษฐกิ จ และสิ่ งแวดล อม อย างไม
ผู สู งอายุ ซึ่ งเป นกลุ มที่ มี ภาวะเสี่ ยงทางสุ ขภาพสู ง สามารถแยกออกจากกันได
Journal of Health Education January – June 2018 Vol. 41 No. 1 4

บัวพันธ พรหมพักพิง8 กลาววา สุขภาวะ เกี่ยวกับผูสูงอายุ เพื่อประโยชนในการสรางนโยบาย


คือ ภาวะที่เกิดจากความพึงพอใจตอการดําเนินชีวิต หรือแนวทางรับมือสังคมผูสูงอายุที่จะเกิดขึ้นไดใน
และภาวะที่เกิดจากเงื่อนไขทางเศรษฐกิจและสังคม อนาคต และมีความสําคัญอยางยิ่งในการยกระดับ
ที่ดี เชน การมีที่อยูอาศัยที่เหมาะสม เปนตน คุณภาพชี วิ ตของผูสู งอายุ ซึ่ งจํ าเป นต องวางแผน
รักชนก ชูพิชัย9 กลาววา สุขภาวะ คือ การ ตั้งแตเนิ่นๆ อีกทั้งเปนแนวทางใหบุคคลที่เกี่ยวของ
รับรูตอสภาวการณที่เปนอยูของแตละบุคคล มีความ และหนวยงานตางๆ เชน บุคลากรสาธารณสุข และ
พึ งพอใจและความสุ ขที่ เกิ ดขึ้ นภายในจิ ตใจ การ บุคลากรในภาคสวนอื่นๆที่ตองดูแลผูสูงอายุ นําไป
แสดงออกดวยความยินดี การบรรลุถึงอุดมคติแหงตน ประยุกตใชในการจัดกิจกรรม เพื่อสงเสริมสุขภาวะ
และเกิดเปนลักษณะประจําตัวของบุคคลนั้น ของผูสูงอายุใหถูกทาง และอาจนําไปแกไขในสวนที่
สํานักคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ บกพรอง รวมทั้งปองกันป ญหาที่อาจเกิ ดขึ้นไดใน
สังคมแหงชาติ10 กลาววา สุขภาวะ หมายถึง การมี อนาคต ทําใหสังคมมีผูสูงอายุที่มีคุณภาพ เปนพลัง
สุขภาพที่ดีทั้งทางรางกายและจิตใจ มีครอบครัวที่ สํ า คั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นสั ง คม ในฐานะผู ที่ มี
อบอุนมั่นคงอยูในสภาพแวดลอมที่ดี มีความรูและ ประสบการณมากอน
หนาที่การงานที่เหมาะสม มีรายไดเพียงพอตอการ
แนวคิดที่เกี่ยวของกับสุขภาวะของผูสูงอายุ
ดํารงชีวิต ภาครัฐมีระบบบริหารจัดการที่ดี
มี แนวคิ ดที่ เกี่ ยวข องกั บสุ ขภาวะต างๆ
จากการศึกษาความหมายของสุขภาวะ ซึ่งมี
มากมาย โดยแนวคิ ดที่ ได รั บการยอมรั บแพร หลาย
การศึกษากันมาอยางยาวนานทั้งในตางประเทศและ
ไดแก สุขภาวะตามแนวคิดของอดัมส สุขภาวะตาม
ประเทศไทย ผูวิจัยสรุปไดวา สุขภาวะ หมายถึง ภาวะ
แนวคิดของไมเยอร สุขภาวะแบบองครวมแนวพุทธพระ
ที่บุคคลสามารถแสดงออกไดเหมาะสมตามบทบาท
พรหมคุณาภรณ สุขภาวะตามมุมมองแบบเฮโนดิกส
ทางสังคม สามารถทํางานได ตามบทบาทอย างเต็ ม
และยูไดโมนิกส และแนวคิดของไรฟที่กลาวถึงสุขภาวะ
ประสิ ทธิ ภาพ สามารถปรั บตั วกั บสถานการณและ
ของผูสูงอายุโดยเฉพาะ ดังรายละเอียด ตอไปนี้
สิ่ งแวดล อมได เป นภาวะที่ แต ละบุ คคลรั บรู ต อ
สภาวการณที่เปนอยู รูสึกมีความสุข ไมวาความสุข สุขภาวะตามแนวคิดของอดัมส11
นั้นจะเกิดจากความสุขภายนอกหรือความสุขภายใน มี อดัมสไดอธิบายถึงโมเดลสุขภาวะวาดานบน
คุณภาพชีวิต มองโลกในแงดี มีความพึงพอใจตอการ ของกรวยเป นภาวะที่ มี สุ ขภาพดี หรื อมี สุ ขภาวะ
ดําเนินชีวิต มีความสมบูรณทั้งทางกาย จิตใจ อารมณ ดานลางของกรวยเปนภาวะความเจ็บปวย เมื่อสุขภาวะ
ปญญา สังคมและสิ่งแวดลอม ในดานในดานหนึ่งมีการพัฒนาจะสงผลใหสุขภาวะใน
สุขภาวะที่ ดี จะสงผลตอตัวผูสู งอายุเอง ด านอื่ นๆพั ฒนาด วย สุ ขภาวะด านต างๆ 6 ด าน
และมีผลต อการอยูร วมกับบุคคลอื่น ทั้งนี้ การได เชื่อมโยงกัน (ภาพประกอบ 1) มีรายละเอียดดังนี้
ศึกษาแนวคิด และปจจัยที่เกี่ยวของกับสุขภาวะของ 1. สุ ข ภาวะด า นร า งกาย (Physical)
ผูสูงอายุ เปนความรูขั้นพื้นฐานในการทําความเขาใจ หมายถึ งการรั บรู ของบุ คคล ว าตนเองมี สุ ขภาพที่
5 มกราคม – มิถุนายน 2561 ปที่ 41 เลมที่ 1 วารสารสุขศึกษา

แข็งแรง มีความคาดหวังที่ดีตอสุขภาพกาย และมี สุขภาวะตามแนวคิดของไมเยอร11


พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ เชน การออกกําลังกาย ไมเยอร แ ละคณะ อธิ บ ายว า โมเดล
การรับประทานอาหารอยางเหมาะสม ไมเจ็บปวย กงล อ แห ง ความสุ ข เป น กงล อ แห ง สุ ข ภาวะที่
ทางกาย เปนตน บูรณาการสุขภาวะ 5 ดานหลักอยางสมดุล เนน
2. สุขภาวะดานจิตวิญญาณ (Spiritual) การสงเสริมคุณภาพชีวิตและการปองกันปญหา
หมายถึง การรับรูในแงบวกของความหมายและความ ดานจิตใจในทุกชวงวัย หากดานใดดานหนึ่งเกิด
ตองการของชีวิต การมีชีวิตอยูอยางมีคุณคา มีความ การเปลี่ ย นแปลงไม ว า จะเพิ่ ม ขึ้ น หรื อ ลดลง
เชื่ อ มี สิ่ งยึ ดเหนี่ยวจิ ตใจ การนั บถื อศาสนา มี การ จะสงผลตอดานอื่นเชนเดียวกัน (ภาพประกอบ 2)
ดําเนินชีวิตอยางมั่นคง โดยมีรายละเอียดแตละดาน ดังนี้
3. สุ ข ภาวะด า นป ญญาและการรู คิ ด 1. ด า นจิ ต วิ ญ ญาณ (Spirituality)
(Intellectual) หมายถึง มีก ระบวนการทาง หมายถึง การตระหนักรูถึงการดํารงอยู มีความคิด
ปญญาที่เหมาะสม เชน ความคิดที่เปนเหตุผล มี เชิ ง บวก มองโลกในแง ดี ตระหนั ก รู ถึ ง การ
ความคิดริเริ่มสรางสรรค มีการเรียนรูสิ่งใหมๆ เชื่ อ มโยงของตนกั บ สิ่ ง ต า งๆรอบตั ว เป น
4. สุ ข ภ า ว ะ ด า น สั ง ค ม (Social) คุณลักษณะสําคัญและเปนแหลงที่มาของสุขภาวะ
หมายถึง การรับรูถึงการสนับสนุนจากเพื่อนหรือ ในทุกดาน
ครอบครั ว ในยามจํ า เป น การตระหนั ก ถึ ง 2. ด านการมี ทิ ศทางของตนเองและมี
ความสัมพันธระหวางตนเองกับผูอื่น รับรูวาตน เปาหมายของชีวิต (Self–Direction) หมายถึง
เปนสวนหนึ่งของสังคม เปนผูใหการสนับสนุนที่มี ลั กษณะส วนบุ คคลที่ เกี่ ยวกั บการกํ าหนด
คุณคา การชวยเหลือและเขาใจซึ่งกันและกัน กฎระเบียบ การดําเนินชีวิตแตละวันสอดคลองกับ
5. สุ ขภาวะด านอารมณ (Emotional) เปาหมายระยะยาว การมีความตั้งใจและเจตนาใน
หมายถึง การมีอารมณที่ มั่นคง มีความนับถือและ การทํ า ภารกิ จหลั ก ของชี วิ ต ประกอบด ว ย
เคารพตนเอง สามารถตระหนักและเขาใจอารมณ คุณลั กษณะยอย 12 คุณลั กษณะ ได แก การรั บรู
ความรู สึ กของตนเองและผู อื่ น และมี การจั ดการ คุณคาแหงตน (Sense worth) การรับรูถึงการ
อารมณไดอยางเหมาะสม ควบคุม (Sense of control) ความเชื่อบนพื้นฐาน
6. สุขภาวะดานจิตใจ (Psychological) ของความเปนจริง (Realistic beliefs) การตระหนัก
หมายถึ ง การรับรู ทั่วไปเกี่ยวกั บประสบการณ เชิ ง รู ใ นอารมณ แ ละการเผชิ ญ ป ญ หา (Emotional
บวกในสถานการณ ต างๆของชี วิ ต เชื่ อใน awareness and coping) การแกไขปญหาและ
ความสามารถของตนเอง มองโลกในแง ดี และมี การสรางสรรค (Problem solving and creativity)
ความหวัง การมีอารมณขัน (Sense of humor) การมีภาวะ
Journal of Health Education January – June 2018 Vol. 41 No. 1 6

โภชนาการที่ ดี (Nutrition) การออกกํ า ลั ง กาย อยูกับธรรมชาติ บริโภคปจจัยสี่ตลอดจนเทคโนโลยี


(Exercise) การดูแลตนเอง (Self–care) การจัดการ เครื่องใชใหมีคุณคาสูงสุด กินใชดวยความฉลาดพอดีๆ
กับความเครียด (Stress management) การมี มีสติไมลุมหลง และปฏิบัติตอสิ่งทั้งหลายอยางมีสติ
เอกลักษณทางเพศ (Gender identify) และการมี มิใหเกิดโทษ โดยเฉพาะใหรูจัก ดู ฟงอยางมีสติ และให
เอกลักษณทางวัฒนธรรม (Cultural identify) ไดปญญา ดูแลเอาใจใสสุขภาพรางกายใหแข็งแรง
3. การทํ า งานและการใช เ วลาว า ง 2. ศีลภาวนา (Moral development;
(Work and Leisure) หมายถึง การมีความพึง Social development) หมายถึง พัฒนาดาน
พอใจในหนาที่การงาน มีรายไดที่เหมาะสม การ พฤติกรรมกายวาจาใหเหมาะสมในสังคม มีพฤติกรรม
รับรูถึงสิ่งแวดลอมและความสามารถของตนเอง ที่ดีในการอยูรวมกับผูอื่น การมีความสัมพันธที่เกื้อกูล
ในการทํางาน มีความสัมพันธที่ดีกับเพื่อนรวมงาน กั บสิ่ งแวดล อมทางสั งคม รู จั กช วยเหลื อกั น ไม
ความพึง พอใจในการทํ างานเป นปจจัย หนึ่งของ เบียดเบี ยน หรื อกอใหเกิดความเดื อดรอนเสียหาย
การมีอายุที่ยืนยาวตลอดจนการรับรูคุณภาพชีวิต ใหแกผูอื่น มีความสุจริตในการประกอบอาชีพ เคารพ
การใชเวลาวางกับกิจกรรมสนุกสนานเพลิดเพลิน กฎเกณฑ จรรยาบรรณ และกฎหมาย
ที่สงผลเชิงบวกตอการนับถือตนเอง 3. จิ ตภาวนา (Emotional develop-
4. ดานมิตรภาพ (Friendship) หมายถึง ment, Psychological development) หมายถึง
การติดตอสื่อสารกับบุคคลในสังคมนอกเหนือจาก การพัฒนาดานจิตใจใหเจริญงอกงามขึ้นดวยคุณธรรม
บุคคลในครอบครัว มีความสัมพันธที่ดีมีคุณภาพ มีสุขภาพจิตที่ดี มีน้ําใจเมตตากรุณา เอื้อเฟอเผื่อแผ
กับบุคคลอื่ นๆ และการไดรั บการสนั บสนุนทาง มีความศรัทธา และความเชื่อดวยปญญา มีความเคารพ
สังคม ออนโยน ซื่อสัตย กตัญู มีจิตใจที่เขมแข็งมั่นคง ขยัน
5. ดานความรัก (Love) หมายถึง เปน เพียรพยายาม อดทน รับผิดชอบ มีสติ มีความราเริง
ความสัมพันธที่เกิดขึ้นในระยะยาวบนความสนิท เบิกบาน สดชื่น อิ่มใจ ผองใส และสงบสุข
สนมความผูก พัน และได รับความรักจากบุ คคล 4. ปญญาภาวนา (Cognitive develop-
รอบขาง ment, Mental development, Intellectual
development) หมายถึง การพัฒนาใหรูจักคิด
สุ ข ภาวะแ บบองค ร วมแนวพุ ท ธ
โดยการฝกอบรม เสริมสรางความรูความคิดความ
พระพรหมคุณาภรณ
เข า ใจ ให รู จั ก คิ ด พิ จ ารณา วิ นิ จ ฉั ย ไตร ต รอง
ป.อ. ปยุตโต อธิบายวา สุขภาวะ เปนความ
แกปญหา ดําเนินการตางๆดวยปญญา มองเห็นสิ่ง
สมดุ ลของชี วิ ตแบบเป นองค รวม เนื่ องมาจากการ
ตางๆ ตามความจริง ปราศจากอคติ รูวิชาชีพการ
พัฒนาตนตามหลักภาวนา 411,13 มีรายละเอียดดังนี้
งานที่เปนหนาที่ของตนเอง มีความรูที่ตองใชในการ
1. กายภาวนา (Physical development)
ดํ าเนิ นชี วิ ต มี ป ญญารู เท าทั นโลกและชี วิ ตตาม
หมายถึง การพัฒนารางกายใหอยูดีมีสุขอยางเกื้อกูล
สภาวะ ทําใหจิตใจเปนอิสระ
กันกับธรรมชาติ เห็นคุณคา ดูแลรักษา มีความสุขเมื่อ
7 มกราคม – มิถุนายน 2561 ปที่ 41 เลมที่ 1 วารสารสุขศึกษา

สุขภาวะตามมุมมองแบบเฮโนดิกสและ 2. สุ ขภาวะในรู ปแบบของยู ไดโมนิ กส


ยูไดโมนิกส (Eudaimonic) หรือสุขภาวะทางจิต (Psychological
มาร ติ น เซลิ กแมน นํ าเสนอให ศาสตร Well-Being: PWB) เปนสุขภาวะที่ใหความสําคัญกับ
จิตวิทยาเชิงบวกเลิกใชคําวาความสุข โดยมีสาเหตุจาก การเจริญงอกงามเติบโตทางจิตวิญญาณ ความสุขที่
คํ าว า ความสุ ข ถู กใช มากเกิ นไปจนทํ าให สู ญเสี ย แทจริง คือการทําสิ่งที่มีคุณคา การใชชีวิตใหเกิดผล
ความหมาย เกิดความคลาดเคลื่อน และมีชองวาง โดย ในทางที่ ดี งาม บุ คคลมี ความงอกงามในตนเอง มี
เปลี่ ยนมาศึ กษาเรื่ องสุ ขภาวะโดยแบ งออกเป น คุ ณ ลั กษณะทางจิ ต ด า นบวกในการดํ าเนิ น ชี วิ ต
2 มุมมองคือ มุมมองแบบเฮโนดิกสและมุมมองแบบ ตระหนักรูตนเอง การทําหนาที่อยางเต็มศักยภาพ
ยูไดโมนิกส14 มีรายละเอียดดังนี้ และการพัฒนาศักยภาพสูงสุดของบุคคล14 ในขณะที่
1. สุขภาวะในรูปแบบของเฮโดนิ กส Campbell กลาววา สุขภาวะทางจิต คือ การรับรูตอ
(Hedonic) หรือ สุขภาวะเชิงอัตวิสัย (Subjective เหตุ การณ ที่ เกิ ดขึ้ นเปรี ยบเที ยบกั บเหตุ การณ ที่
Well-Being: SWB) เปนสุขภาวะที่ใหความสําคัญ ตองการหรือปรารถนาใหเปน ความขัดแยงระหวาง
กั บอารมณ ความรู สึ กของบุ คคลที่ เน นความรู สึ ก การรับรูเหตุการณที่เปนจริงและเหตุการณที่บุคคล
ทางบวก การมี ความสุ ขมากที่ สุ ด ได รั บความพึ ง ตองการจะสงผลตอความพึงพอใจ หากบุคคลเกิ ด
พอใจมากที่สุด และลดการมีความรูสึกทางลบอยาง ความพึงพอใจแสดงวามีสุขภาวะทางจิตที่ดี โดยมี
ความรูสึกเจ็บปวดใหนอยที่สุด ความรูสึกยินดีและ องคประกอบที่สําคัญคือ ความพึงพอใจในการทํางาน
ความรูสึกพึงพอใจเปนสิ่งที่นําไปสูความสุข เปน การมีสัมพันธภาพกับบุคลอื่นๆ เชิงบวก มีความรัก
การประเมิ น ความรู สึ ก และความคิ ดของบุ ค คล ความอบอุนในชีวิตคู16
โดยรวมเกี่ยวกับความพึงพอใจในชีวิต อารมณเชิง
สุขภาวะของผูสูงอายุตามแนวคิดของไรฟ
บวกและอารมณ เ ชิ ง ลบ 14 ในขณะที่ Diener
ไรฟ กลาววา สุขภาวะทางจิต คือการ
กลาววา สุขภาวะเชิงอัตวิสัย คือการคิด ตัดสินใจ
รับรูของบุคคลเกี่ยวกับการดําเนินชีวิตของตนเอง
แล ะ ค ว า มรู สึ ก ต อเ หตุ ก า ร ณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น บ น
ในเชิงบวก17 สุขภาวะในผูสูงอายุจากการศึกษาของ
ประสบการณเชิงบวกในการดําเนินชีวิตของบุคคล
ไรฟ (Ryff)18 พบวาประกอบดวยมิติทั้ง 6 ดาน คือ
ประกอบด ว ย ความสุ ข ความพึ ง พอใจในชี วิ ต
1. การยอมรับตนเอง (Self-acceptance)
ความรูสึกเชิงบวก เชนเดียวกับ Seligman และ
หมายถึง มีทัศนคติเชิงบวกตอตนเอง เขาใจและ
Csikzentmihalyi กลาววา สุขภาวะเชิงอัตวิสัย
ยอมรับในคุณลักษณะของตนเอง การมีสุขภาพจิต
คือ การประเมินผลเชิงบวกของบุคคล เกี่ยวกับ
ที่ดี มีความพึงพอใจ มีความพรอมทางวุฒิภาวะ
อารมณทางบวก ความผูกพัน ความพึงพอใจ และ
2. การมี สั ม พั น ธภาพที่ ดี กั บ ผู อื่ น
การใหความหมาย ในการดําเนินชีวิต15
(Positive relation with other) หมายถึง ผูมี
สุ ข ภาพจิ ต ดี จ ะมี ค วามสั ม พั น ธ ที่ อ บอุ น รู สึ ก
Journal of Health Education January – June 2018 Vol. 41 No. 1 8

ไววางใจและเห็นใจผูอื่น มีความหวงใยความรูสึก 3. ความสงบสุ ข และการยอมรั บ


ผูอื่น เปนผูรับและผูให มีความรักตอผูอื่น (Calmness & acceptance) คือ การปลอยวาง
3. ความเปนตัวของตัวเอง (Autonomy) การทําใจยอมรับและหาความสงบในจิตใจ
หมายถึง ความมีอิสระ สามารถตัดสินใจสิ่งตางๆ 4. การเคารพนับถือ (Respect) คือ
ไดดวยตนเอง การรับรูเกี่ยวกับความรูสึกในการใหเกียรติ การ
4. ค วา ม ส า ม าร ถ ใน ก ารจั ดก า ร เคารพของผูสูงอายุ บุคคลในครอบครัวรับฟงและ
สิ่งแวดลอม (Environmental mastery) หมายถึง ปฏิบัติตามคําแนะนําของผูสูงอายุ
ความสามารถของบุคคลในการเลือก สราง หรือจัดการ 5. ความเบิกบาน (Enjoyment) คือ
สภาพแวดลอมใหสอดคลองเหมาะสมกับตนเอง ความรู สึ ก ความสนุ ก สนานสดชื่ น ในการทํ า
5. จุดมุงหมายในชีวิต (Purpose in life) กิจกรรมหรือสิ่งแวดลอมรอบตัว ผูสูงอายุไมรูสึก
หมายถึ ง การมี ค วามเข า ใจในเป า หมายและ เหงาหรือโดดเดี่ยว
ทิศทางในการดําเนินชีวิตของตนเอง มีความตั้งใจ จากการทบทวนวรรณกรรมแนวคิ ด
นําไปสูชีวิตที่มีความหมาย ตางๆ ที่เกี่ยวของกับสุขภาวะ มีการแบงสุขภาวะ
6. ความเจริ ญ ทั้ ง ด า นร า งกายและ ออกเปนมิติที่แตกตางกัน มิติสําคัญที่แนวคิดตางๆ
จิตใจของบุคคล (Personal growth) หมายถึง ได ก ล า วถึ ง ส ว นมาก แบ ง เป น หมวดหมู ห ลั ก ๆ
การพัฒ นาอย างต อเนื่ อ งทางร า งกายและจิ ต ใจ ไดแก ดานรางกาย ดานจิตใจ ดานสังคม ดานจิต
บุคคลมีการพัฒนาศักยภาพตนเองอยางเต็มที่ วิญญาณ และดานปญญา โดยใชคําจํากัดความที่
นอกจากนี้ จิราพร เกศพิญชวัฒนา และ แตกตางกัน เปนการใหคําอธิบายที่กวาง ซึ่งอาจ
18
คณะ ไดศึกษาความผาสุกทางใจของผูสูงอายุ ได หมายความรวมถึ งสุ ขภาวะในชว งวัย อื่น ๆ ดว ย
ใหนิยาม ความผาสุกทางใจ หมายถึง การรับรูของ ไมไดมีความเฉพาะเจาะจงเกี่ยวกับกลุมผูสูงอายุ
บุคคลเกี่ยวกับสภาพสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สวนแนวคิดของไรฟ ตางจากแนวคิดอื่นๆ เปน
ซึ่ ง ส ง ผลต อ ความรู สึ ก และการรั บ รู ใ นมิ ติ ต า งๆ แนวคิ ด ที่ อธิ บ ายถึ ง สุ ข ภาวะของผู สู งอายุ อ ย า ง
ประกอบดวย 5 มิติ ดังนี้ เฉพาะเจาะจง และแนวคิดของไรฟถูกนํามาใชเปน
1. ความสามัคคีปรองดอง (Harmony) ฐานคิดในการวิจัยเกี่ยวกับสุขภาวะของผูสูงอายุที่
คือ การที่บุคคลในครอบครัว สังคม มีความรักใคร หลากหลาย ดังเชน กิ่งแกว ทรัพยพระวงศ19 ศึกษา
สามัคคีกลมเกลียว ประสบความสําเร็จในชีวิต ทําให เรื่องสุขภาวะทางจิตของผูสูงอายุไทย โดยวัดสุข
ผูสูงอายุเกิดความสุขทางจิตใจ ภาวะทางจิตแบงออกเปน 6 มิติ คือ การยอมรับ
2. ก า ร พึ่ ง พ า อ า ศั ย กั น แ ล ะ กั น ตนเอง การมีสัมพันธภาพที่ดีตอผูอื่น ความเปนตัว
(Interdependence) คือ ความสุขใจที่เกิดจาก ของตัวเอง ความสามารถในการควบคุม จัดการ
ผูสูงอายุสามารถทําประโยชนหรือชวยเหลือบุคคล สิ่งแวดลอม จุดมุงหมายในชีวิต และการเจริญทั้ง
อื่นๆในครอบครัว ดูแลซึ่งกันและกัน ทางรางกายและจิตใจของบุคคล และการศึกษา
9 มกราคม – มิถุนายน 2561 ปที่ 41 เลมที่ 1 วารสารสุขศึกษา

ปจจัยทํานายความผาสุกทางใจของผูสูงอายุที่เปน สอดคลองกับ Keith Bender22 ศึกษาปจจัยตางๆที่มี


โรคเบาหวาน ที่มารับบริการโรงพยาบาลสงเสริม ผลต อสุ ขภาวะผู สู งอายุ ในวั ยเกษี ยณ โดยศึ กษา
สุ ข ภาพ ของกั ญ ญา นพเกตุ 20 ซึ่ ง กล า วถึ ง บทบาทของเงินบํานาญ สุขภาพ และความสมัครใจใน
องคประกอบ 6 ดานของความผาสุกทางใจใน การเกษียณอายุ ตัวอยางการวิจัยเปนชาวอังกฤษ อายุ
ผูสูงอายุที่สงผลใหผูสูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 51 ป ขึ้ นไป จํ านวน 2,000 คน ผลการวิ จั ยพบว า
เชนกัน สําหรับการศึกษาเรื่องสุขภาวะ มีแนวโนม ผู ชายมี ความพึ งพอใจในการเกษี ยณอายุ น อยกว า
ที่จะเนนการศึกษาในเรื่องของสภาพจิตใจ ไมวา ผูหญิง และผูที่เกษียณอายุที่มีอายุมากจะมีความพึง
จะเป น การศึ ก ษาเพื่ อ ให เ ข า ใจสาเหตุ ก ารมี สุ ข พอใจในการเกษียณอายุมากกวาผูที่อายุต่ํากวา 62 ป
ภาวะ หรือปจจัยที่เปนอุปสรรคตอการมีสุขภาวะ รวมไปถึงการเพิ่มขึ้นของปจจัยด านเศรษฐกิจ เช น
ซึ่งปจจัยที่เกี่ยวของกับสุขภาวะของผูสูงอายุ ไดมี รายไดทําใหระดับสุขภาวะสูงขึ้น ผูที่ไดรับเงินบํานาญ
การศึกษาไวจํานวนมาก จะมี สุ ข ภาวะสู ง กว า คนที่ ไ ม ไ ด รั บ เงิ น บํ า นาญ
นอกจากนี้ ยังพบวาผูที่สมัครใจเกษียณอายุจะมีสุข
ปจจัยที่เกี่ยวของกับสุขภาวะของผูสูงอายุ
ภาวะมากกว าผู ที่ เกษี ยณอายุ อั ตโนมั ติ โดยที่ ไม ได
ปจจัยที่เกี่ยวของกับสุขภาวะของผูสูงอายุ
สมัครใจ การเกษียณอายุโดยไมสมัครใจมีผลกระทบ
พบวา การเกษียณอายุเปนปจจัยที่มีนักวิจัยหลายคน
เชิงลบอยางมากตอสุขภาวะเพราะกลุมคนเหลานี้ไมมี
สนใจศึกษา Bonsang และ Tobias Klein21 ศึกษา
การวางแผนเตรียมตัวลวงหนา เชน การเตรียมพรอม
อิทธิพลของการเกษียณอายุตอความพึงพอใจในชีวิต
ทางการเงิน และทางจิตใจ ทําใหความพึงพอใจลดลง
โดยใชการวัดสุขภาวะเชิงอัตวิสัย (Subjective Well-
หรือการมีสุขภาพที่ไมดีจะสงผลใหระดับสุขภาวะลด
being) ในแบบสอบถามความพึงพอใจ The German
ต่ํ าลงด วย สามารถสรุ ปได ว าตั วแปรที่ ส งผลต อ
Socio-Economic Panel (GSOEP) เปนเครื่องมือที่ใช
สุขภาวะของผูสูงอายุคือ ความสมัครใจในการเขาสูวัย
ในการวิจัย โดยตัวอยางการวิจัยเปนกลุมผูสูงอายุเพศ
เกษี ย ณ ลั ก ษณะของเงิ น บํ า นาญและสุ ข ภาพ
ชายชาวเยอรมนี อายุ 50-70 ป จํานวน 4,541 คน
เช น เดี ย วกั บ Latif23 ศึ ก ษาผลกระทบของการ
ผลการวิจัยพบวา การเกษียณอายุโดยสมัครใจสงผล
เกษียณอายุที่มี ตอสุ ขภาวะทางจิ ต (Psychological
ต อสุ ขภาวะเชิ งอั ตวิ สั ย ดั งนี้ การเกษี ยณอายุ โดย
Well–Being) โดยใชวิธีการวัดรายได ความปลอดภัย
สมัครใจมีอิ ทธิพลเชิงบวกต อความพึงพอใจในชีวิ ต
ในชีวิต และพฤติกรรมการเกษียณอายุ ผลการวิจัย
ความพึงพอใจในเวลาวาง ความพึงพอใจในสุขภาพ
พบว า การเกษี ยณอายุ ส งผลกระทบเชิ งบวกต อ
และการเกษียณอายุโดยสมัครใจมีอิทธิพลเชิงลบตอ
สุขภาวะทางจิต การเกษียณอายุชวยเพิ่มสุขภาวะทาง
ความพึงพอใจกั บรายได ในครัวเรือน ในขณะที่ การ
จิตทั้ งเพศชายและเพศหญิง การเกษี ยณอายุส งผล
เกษียณอายุแบบอัตโนมัติทําใหความพอใจในรายได
กระทบเชิงบวกตอสุขภาวะของแตละบุคคลอยางมี
ลดต่ําลงเพราะสวนใหญแลวผูสูงอายุชอบที่จะทํางาน
นัยสําคัญในกลุมผูมีอายุ 55 ปขึ้นไป ในทางตรงกัน
เพื่อมีรายไดไวใชมากกวา และความพึงพอใจในเวลา
ขามการเกษียณอายุไมมีผลกระทบตอสุขภาวะทางจิต
วางลดนอยลง และไมมีผลตอความพึงพอใจในสุขภาพ
Journal of Health Education January – June 2018 Vol. 41 No. 1 10

ในกลุมอายุ 45-54 ป ขอมูลดังกลาวขางตนสามารถ ผูสู งอายุ เพศหญิ ง มี ความหดหู ตึ งเครี ยดมากกว า


ยืนยันแนวคิดที่วาการเกษียณอายุเปนการสงเสริมสุข ผู สู ง อายุ เ พศชาย และสุ ข ภาวะทั่ ว ไปทางจิ ต มี
ภาวะอยางแทจริง ความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญกับการมีอายุยืนของ
นอกจากการเกษี ยณอายุ ยั งมี ป จจั ยอี ก ผูสูงอายุเพศชาย แตไมพบความสัมพันธในผูสูงอายุ
มากมายที่เกี่ยวของกับสุขภาวะของผูสูงอายุ ดังเรื่อง เพศหญิ ง และพบว า สุ ข ภาวะทั่ ว ไปทางจิ ต มี
ของสุขภาพและการมีอายุที่ยืนยาว Garatachea และ ความสัมพันธกับอัตราการเสียชีวิตของผูสูงอายุ ทั้งนี้
คณะ24 ที่ศึ กษาความสัมพันธระหวางสุ ขภาวะใน ความสัมพันธไมไดเกิดขึ้นเพราะประสบการณชีวิต
ผูสูงอายุกับกิจกรรมทางกาย (Physical activity) และ อยางเดียว แตรวมถึง บุคลิกภาพ ลักษณะ ที่สงผลตอ
การทํางานของรางกาย (Physical function) ตัวอยาง ความคิด ความรูสึก และพฤติกรรมของผูสูงอายุดวย
ในการวิจัยเปนผูสูงอายุชาวสเปนจํานวน 151 คน เปน ในขณะที่ Koistinen และคณะ26 ศึ กษาประวั ติการ
เพศหญิงจํานวน 89 คน และเพศชายจํานวน 62 คน ประเมินสุขภาวะดวยตนเอง และกิจกรรมเพื่อสุขภาพ
อายุ 60-98 ป เครื่ องมื อที่ ใช วั ดสุ ขภาวะทางจิ ต ในผูสูงอายุ ตัวอยางการวิจัยคือผูสูงอายุชาวฟนแลนด
(Psychological Well –Being) ของการวิจัยนี้เปน อายุ 80 ป ที่ อาศั ยอยู กั บบ านในชุ มชนที่ ยากจน
แบบสอบถาม Escala de Bienestar Psicologico จํานวน 360 คน เปนเพศหญิงจํานวน 238 คน และ
(EBP) ของสเปน ผลการวิจัยพบวาการทํางานของ เพศชายจํานวน 122 คน การวิจัยนี้ใชการประเมินสุข
รางกายและกิจกรรมทางกายมีความสัมพันธกับสุข ภาวะผู สู ง อายุ แ บบใหม เรี ย กว า “OLDWELL-
ภาวะ สุขภาพมีความสัมพันธกับคุณภาพชีวิตซึ่งไดแก ACTIVE” ซึ่งเปนการประเมินสุขภาวะที่นาเชื่อถือกับ
ทางดานกายภาพ การรูคิด รวมทั้งสุขภาวะในชีวิตดวย การประเมินตัวแปรของสุขภาวะ ผลการวิจัยพบวา
โดยบทบาทของกิจกรรมทางกายกอใหเกิดการพึ่งพา ประวัติสุขภาวะแบบใหมมีความสอดคลองภายในที่ดี
ตนเอง ลดการพึ่งพาผูอื่น ซึ่งมีผลตอการทํางานของ เหมาะสมแกการประเมินดวยตนเอง โดยแบบสอบถาม
รางกายและสุ ขภาพจิต ป องกันการเกิดความหดหู แบงเปน 9 หัวขอ ไดแก ความเปนอิสระ ความสามารถ
โดดเดี่ยว กดดัน และเพิ่มความเห็นคุณคาในตนเอง ทางกาย ความสามารถทางจิต การทํางานของเครือขาย
ของผู สู งอายุ เช นเดี ยวกั บ Nilsson และคณะ25 ทางสังคม ความโดดเดี่ ยว ความปลอดภัย สุขภาพ
ไดศึกษาความสัมพันธระหวางสุขภาวะทั่วไปทางจิต โดยรวม ลักษณะการดําเนินชีวิต และคุณภาพชีวิต ซึ่ง
(Psychological General Well-Being: PGWB) กับ การประเมินสุขภาวะตนเองของผูสูงอายุสามารถใชใน
การมีอายุยืนของผูสูงอายุชาวสวีเดน ตัวอยางในการ การชวยประเมินตนเองได และเปนกลยุทธพื้นฐานใน
วิจัย จํานวน 417 คน เปนเพศชาย จํานวน 204 คน การดูแลผูสูงอายุ นอกจากนี้ Luo และคณะ 27 ศึกษา
และเพศหญิ ง จํ านวน 213 คน มี อายุ เฉลี่ ย 75 ป เรื่ องความเหงา สุ ขภาพ และอั ตราการเสี ยชี วิ ตใน
เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ PGWB questionnaire ผูสู งอายุ โดยศึ กษากลุ มตั วอย างซึ่งเป นผูสู งอายุ ใน
ผลการวิจัยพบวา สุขภาวะทั่วไปทางจิตมีนัยสําคัญใน สหรัฐอเมริกาจํานวน 2,101 คน อายุ 50 ปขึ้นไป
ผูสูงอายุเพศชายมากกวาผูสูงอายุเพศหญิง เนื่องจาก เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ The Revised UCLA
11 มกราคม – มิถุนายน 2561 ปที่ 41 เลมที่ 1 วารสารสุขศึกษา

Loneliness Scale เปนมาตรวัดความเหงา ผลการวิจัย ไดรับความหมายในชีวิตที่ดี หมายความวามีสุขภาวะ


พบวาความเหงาทําใหอาการหดหูมีระดับที่สูงขึ้น ทํา เชิงอัตวิสัยที่ดี
ใหเกิดอาการไมสบายเสียสุขภาพ และทําใหอัตราการ ในขณะที่ Philip Brown และ Tierney29
เสียชีวิตเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ความเหงายังสงผลตอ ศึกษาอิทธิพลของศาสนาตอสุขภาวะเชิงอัตวิสัย ของ
ความรูสึกและการมีสุขภาพรางกายที่สมบูรณ ทําให ผูสูงอายุ 22 จังหวัดในประเทศจีน ตัวอยางการวิจัย
ระดั บสุ ขภาวะในผู สู งอายุ ลดต่ํ าลง แสดงให เห็ นว า เป นผู สู งอายุ จํ านวน 9,619 คน แบ งเป นเพศหญิ ง
ความเหงาเปนปจจัยเสี่ยงตอความเจ็บปวยและเพิ่ม จํ านวน 5,436 คน และเพศชายจํ านวน 4,183 คน
โอกาสในการเสียชีวิต อายุระหวาง 80-105 ป เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ
เมื่อพิจารณาปจจัยที่เกี่ยวของกับสุขภาวะ The Chinese Longitudinal Healthy Longevity
ของผูสูงอายุ นอกจากปจจัยดานรางกายแลวปจจัย Survey ผลการวิ จั ย พบว า การนั บ ถื อ ศาสนามี
ด านจิ ตใจย อมมี ความเกี่ ยวข องกั บสุ ขภาวะของ ความสัมพันธเชิงบวกกับการมีความสุขของผูสูงอายุใน
ผูสูงอายุ ไมวาจะเปนการรับรูในดานบวกหรือลบ Ju ประเทศกํ า ลั ง พั ฒ นา และการนั บ ถื อ ศาสนามี
และคณะ 28 ศึ ก ษาการเป น ตั ว แปรส ง ผ า นของ ความสั มพั นธ เชิ งลบกั บสุ ขภาวะเชิ งอั ตวิ สั ยของ
ความหมายในชีวิตบนความสัมพันธระหวางการมอง ผูสูงอายุที่อยูในประเทศที่ร่ํารวยที่มีการจัดการดาน
โลกในแงดีกับสุขภาวะในผูสูงอายุ ตัวอยางในการวิจัย ประชากร เชน ดานสุขภาพ ความพิการ การจัดที่อยู
เป น เพศหญิงชาวเกาหลี ใต อายุ 61-91 ป จํ านวน อาศัย ความมั่งคั่งและรายได ลักษณะการดําเนินชีวิต
252 คน เครื่องมือที่ใชวัดสุขภาวะเชิงอัตวิสัย ของการ เครื อข า ยทางสั ง คม และทํ าเลที่ ตั้ ง นอกจากนี้
วิจัยนี้ คือ The Happiness Scale ซึ่งเปนการวัดใน 3 ผลการวิจัยพบวาศาสนาสงผลเชิงลบตอสุขภาวะเชิง
หัวขอ ไดแก ความพึงพอใจในชีวิต ความรูสึกทางบวก อัตวิสัยในเพศชายมากกวาเพศหญิงอีกดวย รวมไปถึง
และความรูสึกทางลบ ผลการวิจัยพบวาการมองโลกใน Saito และคณะ30 ศึกษาผลการใชโปรแกรมปองกัน
แงดีมีความสัมพันธเชิงบวกตอความหมายในชีวิตและ ความโดดเดี่ยวทางสังคมบนความเหงา ความหดหู และ
สุขภาวะของผูสูงอายุ ความสัมพันธระหวางการมอง สุขภาวะเชิงอัตวิสัยของผูสูงอายุ ตัวอยางในการวิจัย
โลกในแงดีตอสุขภาวะเปนการสงผานแบบบางสวน เป นผู สู งอายุ ที่ อพยพเข ามาในญี่ ปุ นจํ านวน 63 คน
(partial mediation) โดยมีความหมายในชีวิตเปนตัว อายุ 65 ปขึ้นไป แบงเปนกลุมควบคุมจํานวน 42 คน
แปรสงผาน ผูสูงอายุที่มีความหมายในชีวิต จะชวย และกลุ มทดลอง 21 คน ใช โปรแกรมเป นเวลานาน
เพิ่มหนทางนําไปสูการมีสุขภาวะเชิงอัตวิสัยที่ดีในชวง 6 เดือน โดยจุดประสงคของโปรแกรมคือ เพื่อสงเสริม
บั้นปลายของชีวิต แมวาแหลงความมั่นคงภายใน เชน ความรู ของชุมชนและเครือข ายความสัมพันธกับคน
การมองโลกในแงดีและแงราย จะสงผลตอสุขภาวะ อื่นๆเพื่อปองกันความโดดเดี่ยวทางสังคม เครื่องมือที่
เชิงอัตวิสัยของเขา ซึ่งผูสูงอายุที่มีทัศนคติการมองโลก ใชวัดสุขภาวะเชิงอัตวิสัยของการวิจัยนี้คือ The Life
ในแงดีเกี่ยวกับอนาคตของตนเองจะเปนผูคนพบและ Satisfaction Index A (LSI-A) ผลการวิจัยพบวา
โปรแกรมมี ความสั มพั นธ เชิ งบวกกั บสุ ขภาวะเชิ ง
Journal of Health Education January – June 2018 Vol. 41 No. 1 12

อัตวิสัย การสนับสนุนทางสังคม และความเปนสวน หญิ ง มี ห น า ที่ ดู แ ลบ า นและครอบครั ว มากกว า


หนึ่งของชุมชน มี ความสัมพั นธเชิ งลบกั บความรูสึ ก ผูสูงอายุที่สมรสมีสุขภาวะทางจิตสูงกวากลุมที่เปน
เหงาโดดเดี่ยว และไมมีความสัมพันธกับความหดหูใน หมายเนื่องจากการมีคูสมรสชวยในการเปนที่ปรึกษา
ผู สู งอายุ และยั งพบว า ป จจั ยด านความเหงา การ และปรั บทุ กข ซึ่ งกั นและกั น ผู สู งอายุ ที่ มี ระดั บ
สนับสนุนทางสังคม เครือขายในสังคม และกิจกรรม การศึกษาสูงและปานกลางมีสุขภาวะทางจิตสูงกวา
ทางสั งคม มีผลตอสุขภาวะเชิงอั ตวิสั ยของผูสู งอายุ กลุมไมไดรับการศึกษาเนื่องจากผูมีการศึกษาสูงกวา
โดยปจจัยดานความเหงามีผลตอสุขภาวะเชิงอัตวิสัย สามารถปรับตัวไดดีกวา ผูสูงอายุที่มีรายไดสูงมีสุข
ของผูสูงอายุมากกวาดานอื่นๆ ดังนั้นจึงสรุปวา การ ภาวะทางจิ ตสู งกว ากลุ มรายได น อยเนื่ องจากกลุ ม
ปองกันความโดดเดี่ยวทางสังคมของผูสูงอายุ จะมีผล รายไดนอยเผชิญปญหาดานคาใชจายในการดําเนิน
เมื่ อใช แหล งชุ มชนที่ มี อยู ให เป นประโยชน ทํ าตาม ชีวิต และผูสูงอายุที่มีถิ่นที่อยูแตกตางกันมีสุขภาวะ
ความต อ งการเฉพาะของแต ล ะบุ ค คล และหา ทางจิตดานการยอมรับตนเองแตกตางกัน เชนเดียวกับ
กลุมเปาหมายที่สามารถรวมแบงปนประสบการณที่ ทวีชัย เชสูงเนิน และ ปยธิดา คูหิรัญญรัตน 7 ศึกษา
เหมือนกันได ความอยูดีมีสุขและปจจัยที่เกี่ยวของของผูสูงอายุที่
สําหรับในประเทศไทย พบการศึกษาปจจัย เปนสมาชิกสมาคมขาราชการบําเหน็จบํานาญจังหวัด
ที่ เกี่ ยวข องกั บสุ ขภาวะของผู สู งอายุ ของกิ่ งแก ว ขอนแกน ตัวอยางการวิจัยเปนผูสูงอายุ ที่มีอายุตั้งแต
ทรัพยพระวงศ 19 โดยศึกษาเรื่อง สุขภาวะทางจิตของ 60 ปขึ้นไป จํานวน 648 ราย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
ผูสูงอายุไทย มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับสุขภาวะ คือ แบบสอบถามประเมินตนเอง แบงเปน 3 สวน คือ
ทางจิตของผูสูงอายุไทยตอปจจัยทางสังคมไมวาจะ แบบสอบถามคุณลักษณะทางประชากร แบบประเมิน
เปนดานเพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได ปจจัยที่เกี่ยวของกับความอยูดีมีสุขแบงเปนปจจัย
และถิ่นที่อยูอาศัย ตัวอยางในการวิจัยเปนผูสูงอายุ ภายนอกเชน ภาวะทางเศรษฐกิจ สภาพแวดลอมทาง
จํานวน 403 คน แบงเปนเพศชาย 181 คน และเพศ สั งคม การเข าร วมกิ จกรรมทางสั งคม และป จจั ย
หญิ ง 222 คน เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย คื อ ภายในเชน การตระหนักรูถึงบทบาท การรูสึกมีคุณคา
แบบสอบถามปจจัยทางสังคม แบบวัดสุขภาวะทางจิต การยอมรับการเปลี่ยนแปลง และแบบสอบถามแบบ
เปนมาตรวัดประมาณคา 7 ระดับ การวัดสุขภาวะทาง สุดทาย แบบวัดความอยู ดีมีสุข ผลการวิ จัยพบว า
จิตแบงออกเปน 6 มิติ คือ การมีจุดมุงหมายในชีวิต, สัดสวนของระดับความอยูดีมีสุขของผูสูงอายุโดยรวม
ความสามารถในการจั ดการกั บสถานการณ ต างๆ, อยู ที่ระดับความอยู ดี มีสุ ขมากร อยละ 79.80 ส วน
การมี สัมพันธภาพที่ดี กับผูอื่ น, การยอมรั บตนเอง, ป จจั ยที่ เกี่ ยวข องกั บความอยู ดี มี สุ ข ได แก ภาวะ
การมีความงอกงามในตน และความเปนตัวของตัวเอง ซึมเศรา และรถยนตสวนบุคคล ดังนั้นแนวทางในการ
ผลการวิ จั ยพบว า ผู สู งอายุ ไทยมี สุ ขภาวะทางจิ ต พัฒนาความอยูดีมีสุขของผูสูงอายุควรหาแนวทางใน
โดยรวมในระดับปานกลาง เพศชายมีสุขภาวะทางจิต การปองกันภาวะซึมเศราที่อาจเกิดขึ้นและพัฒนาการ
โดยรวมสูงกวาเพศหญิงเนื่องจากวัฒนธรรมไทย เพศ อํานวยความสะดวกในการเดินทางของผูสูงอายุ
13 มกราคม – มิถุนายน 2561 ปที่ 41 เลมที่ 1 วารสารสุขศึกษา

จากการทบทวนวรรณกรรม พบวา ปจจัยที่ ดังนั้นการที่ผูสูงอายุจะมีสุขภาวะที่ดีหรือไม


เกี่ยวของกับสุขภาวะของผูสูงอายุ สามารถแบงเปน นั้น ขึ้นอยูกับหลายปจจัยดังนี้ ปจจัยภายในไดแก การ
ปจจั ยภายใน และปจจัยภายนอก ซึ่งปจจั ยภายใน ทํางานของรางกาย ความสามารถทางกาย ความสามารถ
ไดแก การทํางานของรางกาย ความสามารถทางกาย ทางจิต การมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี การเห็น
ความสามารถทางจิต การมีสุขภาพกายและสุขภาพจิต คุณคาในตนเอง การมองโลกในแงดี ความหมายในชีวิต
ที่ ดี การเห็ นคุ ณค าในตนเอง การมองโลกในแง ดี ความเปนอิสระ คุณภาพชีวิต ความเหงา ความโดดเดี่ยว
ความหมายในชี วิ ต ความเป นอิ สระ คุ ณภาพชี วิ ต ความหดหู ตึ งเครี ยด และป จจัยภายนอก ได แก การ
ความเหงา ความโดดเดี่ยว ความหดหูตึงเครียด และ เกษียณอายุโดยสมัครใจ การทํากิจกรรมทางกาย ความ
ปจจัยภายนอก ไดแก การเกษียณอายุโดยสมัครใจ ปลอดภัย ลักษณะการดําเนินชีวิต การนับถือศาสนา
การทํากิจกรรมทางกาย ความปลอดภัย ลักษณะการ การสนับสนุนทางสังคม เครือขายในสังคม และกิจกรรม
ดําเนินชีวิต การนับถือศาสนา การสนับสนุนทางสังคม ทางสังคม รายได การสมรส การศึกษา ถิ่นที่อยูอาศัย
เครือขายในสังคม และกิจกรรมทางสังคม รายได การ ความสะดวกในการเดินทาง หากบุคคลเกิดความพอใจ
สมรส การศึกษา ถิ่นที่อยูอาศัย ความสะดวกในการ รับรู และปรับตัวตอสถานการณที่เปนอยู ปจจัยเหลานี้
เดินทาง หากบุคคลเกิดความพอใจ รับรู และปรับตัว แสดงใหเห็นวาบุคคลนั้นๆ มีแนวโนมที่จะมีสุขภาวะที่ดี
ตอสถานการณที่เปนอยู สิ่งเหลานี้ลวนเปนปจจัยที่ ทั้งนี้ การไดศึกษาแนวคิด และปจจัยที่เกี่ยวของกับสุข
ทําใหเกิดสุขภาวะทั้งสิ้น ภาวะของผูสู งอายุ เป นแนวทางให บุคคลที่ เกี่ ยวของ
เชน ผูดูแลผูสูงอายุ บุคลากรสาธารณสุข และบุคลากร
สรุป
ในภาคสวนอื่นๆที่ตองดูแลผูสูงอายุ นําไปประยุกตใชใน
แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาวะ ผูสูงอายุจะมีสุข
การจั ดกิ จกรรมที่ เหมาะสมทั้ งด านร างกาย จิ ตใจ
ภาวะที่ดีเมื่อพวกเขารับรูประสบการณในการดําเนิน
อารมณ และสังคม รวมทั้ง จัดตั้งสถานบริการเพื่อดูแล
ชีวิตเกี่ยวกับสุขภาพรางกายแข็งแรง ชีวิตมีความหมาย
ผูสูงอายุโดยเฉพาะ และผลักดันนโยบาย เพื่อสงเสริมสุข
และคุณคา มีกิจกรรมทางปญญาที่เหมาะสม เปนสวน
ภาวะของผูสูงอายุใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
หนึ่งของสังคม มีความสัมพันธที่ดี เขาใจอารมณตนเอง
เคารพตนเอง มีความเชื่อในความสามารถของตนเอง เอกสารอางอิง
มองโลกในแงดี มีความหวัง มีความพึงพอใจในดาน 1. พรทิ พ ย สุ ข อดิ ศั ย ,จั น ทร ช ลี มาพุ ท ธ,รุ ง ฟ า
ตางๆ มีเปาหมาย มีอิสระ มีสุขภาพจิตที่ดี ตระหนักรู กิติญาณุสัน ต. วิถีชีวิต และแนวทางการมีสุขภาวะ
เกี่ยวกับตนเอง พัฒนาศักยภาพของตน และสามารถ ของผูสูงอายุในภาคตะวันออก.วารสารการศึกษา
และการพัฒนาสังคม 2557;10:92.
จั ดการสิ่ งแวดล อมรอบตั วได อย างเหมาะสม โดย
2. พนิดา ไยวะพุย, อักษราณัฐ ภักดีสมัย, ประภัสสร วงษศรี.
แนวคิดของไรฟ เปนแนวคิดที่อธิบายถึงสุขภาวะของ
การส งเสริ มสุ ขภาพผู สู งอายุ [อิ นเตอร เน็ ต]. 2554
ผู สู งอายุ ได เฉพาะเจาะจงที่ สุ ด เป นแนวคิ ดที่ มี การ [เขาถึงเมื่อ 7 สิงหาคม 2560]; เขาถึงไดจาก: (http://
นําเอาไปเปนฐานคิดในการวิจัยที่หลากหลาย www.smnc.ac.th/group/research/images/storie
s/nurse /promotion.pdf)
Journal of Health Education January – June 2018 Vol. 41 No. 1 14

3. ชูชัย สมิทธิไกร. การฝกอบรมบุคลากรในองคการ. 12. Hattie JA, Myers JE, Sweeney TJ. A factor
พิ ม พ ค รั้ ง ที่ 9. กรุ ง เทพฯ: สํ า นั ก พิ มพ แ ห ง structure of wellness: theory, assessment,
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย; 2558. analysis and practice. Journal of Counseling
4. ณรงค สหเมธาพัฒน. คูมือความสุข 5 มิติสําหรับ and Development 2004; 82: 354–364.
ผูสูง อายุ. กรมสุข ภาพจิ ต กระทรวงสาธารณสุข . 13. พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโต). สุขภาวะองครวม
นนทบุรี : โรงพิม พชุม นุม สหกรณการเกษตรแหง แนวพุทธ [อินเตอรเน็ต]. 2549. [เขาถึงเมื่อ 10
ประเทศไทย จํากัด. 2555. สิงหาคม 2560]; เขาถึงไดจาก: (thaicamdb.info/
5. นิรนาม. ความหมายของสุขภาวะ [อินเตอรเน็ต]. Downloads/PDF/สุขภาวะองครวมแนวพุทธ.pdf).
2554 [สืบคนเมื่อ 9 มกราคม 2557]; เขาถึงได 14. อรพิ น ทร ชู ช ม. โครงสร า งของความสุ ข และสุ ข
จาก: (http:// preaw03.blogspot.com/ ภาวะในจิ ต วิ ท ยาเชิ ง บวก. วารสารจิ ต วิ ท ยา
6. ฉัตรกมล สิงหนอย. เอกสารประกอบการสอนจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 2559; 6(2): 1-7.
การกีฬา เรื่องการสรางสุขภาพและการมีสุขภาวะที่ดี 15. พิทักษ ไทยแกว. ความสัมพันธระหวางคุณลักษณะ
[อินเตอรเน็ต]. [สืบคนเมื่อ 10 สิงหาคม 2560]; เขาถึงได เดนของบุคคล ทุนทางจิตวิทยาและสุขภาวะเชิงอัต
จาก: (https://www.scribd.com/doc/323522 27/ 3 วิสัย กับพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคการ.
การสรางสุขภาพและการมีสุขภาวะทีด่ ี). [วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ:
7. ทวีชัย เชสูงเนิน, ปยธิดา คูหิรัญญรัตน. ความอยูดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร; 2557.
มีสุขและปจจัยที่เกี่ยวของของผูสูงอายุที่เปนสมาชิก 16. ศรัณยา ชาญวั ฒนวิริยะกุล. ความสัมพันธระหวาง
สมาคมข า ราชการบํ า เหน็จ บํา นาญและผูสู ง อายุ บุ คลิ ก ภาพห าองค ป ระกอบ การมองโลกในแง ดี
จั ง หวั ด ขอนแก น . วารสารการประชุ ม วิ ช าการ ความรูสึกเห็นคุณคาในตนเอง ความเชื่ออํานาจควบคุม
คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย ขอนแกน 2554; กับสุ ขภาวะทางจิ ต. [วิทยานิพนธศิ ลปศาสตรมหา
26: 190-194. บัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร; 2557.
8. บัวพันธ พรหมพักพิง. ความอยูดีมีสุข:แนวคิดและ 17. กฤษวรรณ หนองมา. ความสัมพันธระหวางสุขภาวะ
ประเด็ น การศึ ก ษาวิ จั ย . วารสารมนุ ษ ยศาสตร ทางจิ ต คุ ณ ภาพชี วิ ต ในการทํ า งานและการรั บ รู
สังคมศาสตร (มข) 2549; 23: 1-31. ความสําเร็จในอาชีพ. [วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหา
9. รักชนก ชูพิชัย. ความผาสุกของผูสูงอายุที่เปนสมาชิก บัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร; 2554.
ชมรมผู สู ง อายุ โ รงพยาบาลพระนั่ ง เกล า จั ง หวั ด 18. ภมรพรรณ ยุระยาตร. แนวคิดความผาสุกในผูสูงอายุ
นนทบุ รี . [วิ ท ยานิ พนธ วิ ท ยาศาสตร ม หาบั ณฑิ ต ]. [อินเตอรเน็ต]. 2555. [สืบคนเมื่อ 9 มกราคม 2557];
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร; 2550. เขาถึงไดจาก: (https://www.l3nr.org/posts/479900)
10. สํา นั ก คณะกรรมการพั ฒนาเศรษฐกิ จ และสั ง คม 19. กิ่งแกว ทรัพยพระวงศ. สุขภาวะทางจิตของผูสูงอายุ
แหงชาติ. ยุทธศาสตรแผน 10. กรุงเทพฯ; 2548. ไทย [อินเตอรเน็ต]. 2553. [สืบคนเมื่อ 18 สิงหาคม
11. บุญ โรม สุว รรณพาหุ, อรั ญ ญา ตุ ย คํ า ภีร , วรรณี 2560]; เขาถึงไดจาก: (https://www.tci-thaijo.org/
แกมเกตุ. สุขภาวะของวัยรุน: กรอบมโนทัศนและ index.php/buacademicreview/article/view/81
เครื่องมือประเมิน ทางจิต วิท ยา. Journal of 056/64504)
Behavioral Science 2556; 19(2): 127-138.
15 มกราคม – มิถุนายน 2561 ปที่ 41 เลมที่ 1 วารสารสุขศึกษา

20. กัญญา นพเกตุ.ปจจัยทํานายความผาสุกทางใจของ 26. Koistinen POI, Elo S, Ahlroth M, Kokko J,


ผู สู ง อายุ ที่ เ ป น โรคเบาหวานที่ ม ารั บ บริ ก าร Suistio S, Kujala V, Naarala M, and
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ. Journal of Nursing Rissanen T. OLDWELLACTIVE - A self-rated
and Health care 2560; 35(4): 122-131. wellness profile for the assessment of
21. Bonsang E, and Tobias Klein J. Retirement wellbeing and wellness activity in older
and subjective well-being. Journal of people. European Geriatric Medicine 2013;
Economic Behavior & Organization 2012; 4(2): 82–85.
83(3): 311–329. 27. Luo Y, Hawkley LC, Waite LJ, and Cacioppo JT.
22. Keith BA. An analysis of well-being in Loneliness, health, and mortality in old age: A
retirement: The role of pensions, health, national longitudinal study. Social Science &
and ‘voluntariness’ of retirement. The Medicine 2012; 74(6): 907-914.
Journal of Socio-Economics 2012; 41(4): 28. Ju H, Shin JW, Kim CW, Hyun MH, and Park
424–433. JW. Mediational effect of meaning in life
23. Latif E. The impact of retirement on on the relationship between optimism and
psychological well-being in Canada. The well-being in community elderly. Archives
Journal of Socio-Economics 2011; 40(4): of Gerontology and Geriatrics 2013; 56(2):
373–380. 309–313.
24. Garatachea N, Molinero O, Martınez GR, 29. Philip BH, and Tierney B. Religion and
Jimenez JR, Gonzalez GJ, and Marquez S. subjective well-being among the elderly in
Feelings of well being in elderly people: China. The Journal of Socio-Economics
Relationship to physical activity and 2009; 38(2): 310–319.
physical function. Archives of Gerontology 30. Saito T, Kai I, and Takizawa A. Effects of a
and Geriatrics 2009; 48(3): 306–312. program to prevent social isolation on
25. Nilsson G, Ohrvik J, Lonnberg I, and loneliness, depression, and subjective well-
Hedberg P. Low Psychological General being of older adults: A randomized trial
Well-Being (PGWB) is associated with among older migrants in Japan. Archives of
deteriorated 10-year survival in men but Gerontology and Geriatrics 2012; 55(3):
not in women among the elderly. Archives 539–547.
of Gerontology and Geriatrics 2011; 52(2):
167–171.

You might also like