แผนเผชิญเหตุโควิด 19

You might also like

You are on page 1of 73

คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม

และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการแพร่ระบาดของ
โรคติดต่อเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVOD-19)สถานศึกษา

ปีการศึกษา 2564

โรงเรียนทีปราษฎร์พท
ิ ยา
อาเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร
คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

คำนำ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19) มีการระบาด ในวงกว้าง
โดยเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ.2563 องค์การอนามัยโลก ได้ประเมินสถานการณ์ และประกาศให้โรค COVID-
19 เป็ น ภาวะฉุ ก เฉิ น ทางสาธารณสุ ข ระหว่ า งประเทศ (Public Health Emergency of International
Concern) โดยแนะนำให้ทุกประเทศเร่งรัด การเฝ้าระวังและป้องกันความเสี่ยงจากเชื้อ COVID-19 และ
สำหรับในประเทศไทยนั้น ซึ่งถึงแม้ว่าตัวเลขผู้ป่วยติดเชื้อในแต่ละวันจะมีจ ำนวนลดน้อยลง แต่ก็ยังคงอยู่ใน
สภาวการณ์ที่ไม่อาจวางใจได้ ดังนั้น เพื่อลดความเสี่ยง ของประชาชนทุกคนต่อการสัมผัสเชื้อโรค และป้องกัน
ไม่ให้ประชาชนได้รับผลกระทบ ต่อสุขภาพ ต้องให้ความสำคัญตั้งแต่การรักษาสุขวิทยาส่วนบุคคล โดยเฉพาะ
ในประชาชน กลุ่มเสี่ยง ทั้งเด็ก ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีโรคประจำตัว รวมถึงการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
อย่างถูกสุขลักษณะและเหมาะสมในทุกพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่สาธารณะ
โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา ตระหนักถึง ความสำคัญในการดูแลนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา จึงได้จัดทำคู่มือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
ในสถานศึกษา ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศึกษา 2564
เพื่อให้โรงเรียนใช้เป็นแนวทางใน การป้องกันอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

โรงเรียนทีปราษฎร์พทิ ยา

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

สารบัญ
หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทที ่ 1 ข้ อ มู ล พื ้ น ฐานของสถานศึ ก ษา สภาพทั ่ ว ไป ลั ก ษณะทางภู ม ิ ศ าสตร์ 1
การปกครอง ข้อมูลด้านสาธารณสุข
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด 19 9
บทที่ 3 แผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคไวรัสโควิด 2019 28
บทที่ 4 แนวทางปฏิบัติสำหรับสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 46
มัธยมศึกษา สุราษฎร์ธานี ชุมพร กรณีสงสัยว่านักเรียน หรือบุคลากร มีสภาวะ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID – 19)
บทที่ 5 การสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วน การสนับสนุน หน่วยงานที่ 49
รับผิดชอบ
ภาคผนวก

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

บทที่ 1
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา

1. ข้อมูลทั่วไป
โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา ตั้งอยู่เลขที่ 255 หมู่ที่ 1 ตำบลแม่น้ำ อำเภอเกาะสมุย จังหวัด
สุ ร าษฎร์ธ านี รหั ส ไปรษณีย ์ 84330 โทรศั พ ท์ 077-425053 โทรสาร 077-425470 เว็ บ ไซต์
www.tpp.ac.th ประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2520 เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีเขตพื้นที่บริการ 2 ตำบล ได้แก่ ตำบลแม่น้ำ และตำบลบ่อผุด
โดยมีผู้บริหารชื่อ นางเพียงแข ชิตจุ้ย

ประวัติโดยย่อของโรงเรียน
โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศตั้งเป็นโรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา
เมื ่ อ วันที่ 26 พฤษภาคม 2520 เป็ นโรงเรี ย นมัธ ยมศึ ก ษาขนาดกลาง โดยมี พ ระครู วิ ภาตทีปกร
เจ้าคณะอำเภอเกาะสมุยเป็นผู้นำในการบุกเบิกและสร้างร่วมกับชาวบ้านตำบลแม่น้ำและตำบลบ่อผุด
ด้วยความช่วยเหลือของนายสุพล กาญจนพงศ์ ผู้ช่วยศึกษาธิการจังหวัดสุราษฎร์ธานี และมีนายภิญโญ
สาธร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นผู้ลงนามในประกาศ
วันที่ 26 พฤษภาคม 2520 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้จัดตั้งโรงเรียนโดยใช้อาคาร
เรียน โรงเรียนบ้านแม่น้ำเป็นที่เรียนชั่ว คราว โรงเรียนได้เปิดทำการสอนเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2520
ได้ประกาศรับสมัครนักเรียน จำนวน 2 ห้องเรียน มีนักเรียนทั้งหมด 87 คน นักเรียนชาย 49 คน
นักเรียนหญิง 38 คน โดยนายปรีชา แสงสุวรรณ ผู้ช่วยศึกษาธิการอำเภอเกาะสมุย คณะครูโรงเรียน
วัดภูเขาทอง และโรงเรียนองค์ก ารบริหารส่วนจังหวัด โรงเรียนบ้านแม่น้ำเดิม ในขณะนั้นโรงเรียนยัง
ไม่มีครูสอนประจำ ทางจังหวัดจึงมีคำสั่งให้ นายสุทธิ วีระธรรม อาจารย์ ๑ โรงเรียนเกาะสมุยมาช่วย
ราชการโดยทำหน้าที่เป็นครูใหญ่
วันที่ 12 มิถุนายน 2520 ประชาชนตำบลแม่น้ำและตำบลบ่อผุดโดยการนำของพระครูวิภาต
ทีปกรได้เริ่มปรับพื้นที่ที่ตั้งโรงเรียนในปัจจุบัน
ปีพ.ศ. 2526 โรงเรียนได้เข้าร่วมโครงการโรงเรียนมัธยมศึกษาเพื่อพัฒนา
วันที่ 20 กันยายน 2527 เริ่มก่อสร้างอาคารเรียนถาวร อาคารประกอบพร้อมปรับปรุง
บริเวณตามโครงการ มพช.ชนบท มพช.2 รุ่นที่ 2

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

วันที่ 29 มีนาคม 2543 กรมสามัญได้แต่งตั้งนายบรรจง ภูวเศรษฐาวร มาดำรงตำแหน่ง


อาจารย์ใหญ่ และวันที่ 1 ตุลาคม 2545 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการโรงเรียน เริ่มพัฒนา
ปรับปรุงอาคารสถานที่ส่วนที่ชำรุดและพัฒนาเพิ่มเติมมีการพัฒนาโรงเรียนเข้าสู่ยุคปฏิรูปการศึกษา
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2551 นายพิสิษฐ ศักดา ได้ย้ายมาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนถึง
วันที่ 12 พฤศจิกายน 2557
วันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 นายประยงค์ อินนุพัฒน์ ได้ย้ายมาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ
โรงเรียนถึงวันที่ 24 เมษายน 2561
วันที่ 25 เมษายน 2561 นางเพียงแข ชิตจุ้ย ได้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนจนถึง
ปัจจุบัน

คติพจน์ของโรงเรียน
“ ปญญานราน๐ปทีปา โหนติ ” ปัญญาเป็นแสงสว่างแห่งนรชน

ตราสัญลักษณ์โรงเรียน

สีประจำโรงเรียน
สีน้ำทะเล เปรียบเหมือนแหล่งกำเนิดแห่งความดีและจะรักษาไว้ประดุจเกลือรักษา
ความเค็ม
สีเหลืองทอง เปรียบเหมือนสิ่งที่มีค่า แม้ว่าจะอยู่ในภาวะใดย่อมมีค่าประดุจทองคำ

ระบบโครงสร้างการบริหาร
โรงเรียนจัดระบบโครงสร้างการบริหารสถานศึกษาเป็น 5 กลุ่มงานคือ 1.กลุ่มบริหารงาน
ทั่วไป 2.กลุ่มบริหารงานงบประมาณและสินทรัพย์ 3.กลุ่มบริหารงานวิชาการ 4.กลุ่มบริหารงานบุคคล
5.กลุ่มบริหารงานกิจการนักเรียน มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานร่วมกำหนดนโยบาย ส่งเสริม
ช่วยเหลือ ควบคุม กำกับ ติดตามการบริหารงานของโรงเรียน มีคณะกรรมการบริหารประกอบด้วย

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนซึ่งแต่งตั้งขึ้นภายในเพื่อความเหมาะสมในการปฏิบัติงาน หัวหน้ากลุ่มงาน
หัวหน้าระดับชั้นเป็นที่ปรึกษา และเป็นแกนนำในการปฏิบัติงานของโรงเรียน
วิสัยทัศน์
“เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ คู่คุณธรรม มีคุณภาพ ตามมาตรฐานสากล โดยยึดหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง บนพื้นฐานของความเป็นไทย”

อัตลักษณ์ของสถานศึกษา
“ตามรอยหลวงพ่อ”

เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
“วิชาการเด่น กิจกรรมดี มีคุณธรรม ก้าวล้ำเทคโนโลยีบรรยากาศดี ชุมชนมีส่วน
ร่วม”

พันธกิจ
1. จัดหลักสูตรและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นคนดี ใฝ่
เรียนรู้ มีปัญญาสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุขตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
2. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และเป็นบุคคลที่มี
คุณภาพตามมาตรฐาน
3. ปลูกฝังค่านิยมไทย ให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง เป็นคนดี มีความสุขและอยู่อย่าง
พอเพียง
4. พัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ
5. ส่งเสริมการบริหารการจัดการด้วยระบบคุณภาพ ตามมาตรฐานสากล
6. ส่งเสริมอนุร ัก ษ์ สื บทอด เผยแพร่ ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ศิ ล ปะ และ
วัฒนธรรมไทย

เป้าหมาย
1. ผู้เรียนมีคุณภาพตามลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
2. ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

3. ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการดำรงชีวิต และการอยู่ร่วมกับผู้อ่นื ได้


อย่างมีความสุข
4. ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลกสามารถผลิตผลงานอย่างสร้างสรรค์ ที่เกิดประโยชน์
ต่อตนเองและสังคม
5. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานตรงตามหลักสูตร มีศักยภาพในการแข่งขันทาง
วิชาการ
6. ผู้เรียนมีความสามารถในการแสวงหาความรู้พร้อมก้าวสู่ประชาคมอาเซียนได้
อย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7. ผู้เรียนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของความเป็นไทย ใช้ภาษาไทยในการ
สื่อสารได้อย่างถูกต้อง
8. ผู้เรียนสามารถอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมประเพณี และ
วัฒนธรรมไทยได้อย่างยั่งยืน
9. ครูมีความรู้ ความสามารถ และเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ด้านวิชาการ และวิชาชีพใช้
กระบวนการวิจัย สื่อนวัตกรรม เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
10. โรงเรียนมีการบริหารจัดการด้วยระบบธรรมาภิบาลน้อมนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

2. ข้อมูลครูและบุคลากรปีการศึกษา 2564

2.1 จำนวนบุคลากร
บุคลากร ผู้บริหาร ครูผู้สอน พนักงานราชการ ครูอัตราจ้าง เจ้าหน้าที
อื่นๆ
ปีการศึกษา 2564 4 76 3 3 15

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

2.2 วุฒิการศึกษาสูงสุดของคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา

ต่่ากว่าปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี

สูงกว่าปริญญาตรี

ปริญญาตรี

ต่ากว่าปริญญาตรี
ปริญญาตรี

ข้อมูลนักเรียน
จำนวนนักเรียนปีการศึกษา 2564 ข้อมูล ณ 25 มิถุนายน 2564 รวม 1,779 คน
เพศ
ระดับชั้น รวม
ชาย หญิง
ม.1 205 176 381
ม.2 175 179 354
ม.3 174 180 354
รวม 554 535 1,089
ม.4 129 133 262
ม.5 104 138 242
ม.6 90 96 186
รวม 323 367 690
รวมนักเรียนทั้งหมด 877 902 1,779

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

จำนวนนักเรียนแยกตามระดับชั้น
96
90
ม.5 138
104
133
129
ม.3 180
174
175179
ม.1 176 205
0 50 100 150 200 250
หญิง ชาย

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

ข้อมูลด้านสาธารณสุข
เกาะสมุยมีโรงพยาบาลรัฐบาล 1 แห่ง คือโรงพยาบาลเกาะสมุย มีโรงพยาบาล เอกชน 4 แห่ง
คื อ โรงพยาบาลสมุ ย อิ น เตอร์ โรงพยาบาลบ้ า นดอนอิ น เตอร์ โรงพยาบาลกรุ ง เทพสมุ ย และ
โรงพยาบาลไทยอินเตอร์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล/หมู่บ้าน 9 แห่ง และคลินิกแพทย์
เวชกรรมเฉพาะทาง 29 แห่ง โดยสถานพยาบาลของเอกชนส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในตำบลอ่างทอง ตำบล
มะเร็ต และตำบลบ่อผุด ซึ่งเป็นศูนย์รวมชุมชนและศูนย์รวมบริการหลักของธุรกิจท่องเที่ยว และใน
ตำบลที่มีแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ ๆ ซึ่งมีจำนวนนักท่องเที่ยวหนาแน่น
ที่ สถานบริการสาธารณสุข จำนวน(แห่ง) จำนวนเตียง
1 โรงพยาบาลเกาะสมุย 1 166
2 โรงพยาบาลบ้านดอนอินเตอร์ 1 32
3 โรงพยาบาลไทยอินเตอร์เนชั่นแนล 1 50
4 โรงพยาบาลกรุงเทพสมุย 1 50
5 โรงพยาบาลสมุยอินเตอร์ 1 50
6 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 1 -
7 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล/หมู่บ้าน 9 -
8 ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศเกาะสมุย 1 -
9 คลินิกแพทย์ 29 -
10 ร้านขายยาแผนปัจจุบัน 145 -
11 ทันตกรรม 18 -
12 สถานพยาบาล 9 -
13 คลินิกแพทย์แผนไทย 1 -
1ภ คลินิกเทคนิคการแพทย์(Lab) 1 -
15 ศูนย์บริการสาธารณสุขบางรักษ์ 1 -

ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเกาะสมุย

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

ข้อมูลร้อยละการรับวัคซีนของครูและบุคลากรในสถานศึกษา และผู้เกี่ยวข้อง
105.00 100
92.08
90.00 78.57
75.00
60.00
45.00
30.00 21.43
15.00 7.92
0.00
0.00
ครูและบุคลากร แม่ค้าโรงอาหาร รถรับส่ง
รับวัคซีนแล้ว ยังไม่รับวัคซีน

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

บทที่ 2
สถานการณโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และเกณฑ์การพิจารณาความเสี่ยง

ความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด 19

โรคโควิด 19 (Coronavirus disease 2019, COVID-19) เกิดจากการติด เชื้อ ไวรัสโคโรนา


สายพันธุ์ ซาร์ส-โควี-2 (SARS-CoV-2) ซึ่งได้มีการค้นพบการระบาดครั้งแรกที่ เมืองอู่ฮั่น ประเทศ
สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งแต่ช่วงปลายปี พ.ศ. 2562 และได้มีการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆ
ทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง เชื้อซาร์ส-โควี-2 เป็นไวรัสชนิด (+) Single strand RNA อยู่ใน Coronaviridae
family จัดอยู่ใน Betacoronavirus เช่นเดียวกับ SARS-CoV และ MERS-CoV เชื้อนี้มีเปลื อ กหุ้ม
(Envelop) ซึง่ เป็นสารจ่าพวกไกลโคโปรตีน เมื่อส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนจะเห็นกลุ่มของ
คาร์โบไฮเดรต เป็นปุ่ม (Spike) ยื่นออกจากอนุภาคไวรัส ทำให้มีลักษณะคล้ายมงกุฎ ล้อมรอบ
เชื้อนี้มีระยะฟักตัวตั้งแต่ 2 - 14 วัน เชื้อนี้สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนผ่านฝอยละออง
จากการไอ จาม น้ำมูก น้ำลาย เสมหะของผู้ป่วย อัตราการแพร่กระจายเชื้อเฉลี่ย 2 - 4 คน (Basic
Reproductive Number: R0 เท่ากับ 1.4 – 3.9) ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของประชากร ผู้ป่วยด้วย
โรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 จะมีอาการระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ มีไข้ ไอ มีน้ ำมูก หายใจถี่
หายใจล่าบาก ในกรณีที่ อาการรุนแรงมาก อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ปอดอักเสบ
ไตวาย หรืออาจเสียชีวิต จากอาการ แสดงที่เกิด ขึ ้ นหลายประการคล้ายคลึ งกั บไวรัสชนิ ด อื่ นที่
ก่อให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจ จึงต้องอาศัยการ ทดสอบทางห้องปฏิบัติการเพื่ อยืนยันเชื้อ โดย
การรักษาจะเป็นการรักษาแบบประคับประคองเพื่อบรรเทาอาการ ป่วยต่าง ๆ สำหรับกลุ่มเสี่ยงต่อ
การสัมผัสเชื้อนี้สามารถเกิดขึ้นได้ทุกเพศทุกวัย แต่ในกลุ่มเสี่ยงสูงที่ อาจเกิดการ สัมผัสเชื้อมาก ได้แก่
ผูท้ ี่อาศัยในพื้นทีเ่ สี่ยงต่อการสัมผัสโรคหรือประเทศหรือเมืองที่มีการระบาดของโรคอย่าง ต่อเนื่อง ผู้ที่
เดินทางเข้า-ออกหรือแวะเปลี่ยนเครื่องบินในประเทศหรือเมืองที่ มีการระบาดของโรคอย่างต่อเนื่ อง
บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข บุคคลที่ทำงานให้บริการนักท่องเที่ยว และผู้ ที่มีอายุ > 50 ปี
และมีโรค ประจ่าตัวเรื้อรัง เช่น เบาหวาน โรคหลอดเลือด และหัวใจ เป็นต้น
จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก และกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 22
มกราคม 2564 พบว่า ประชากรกว่า 96 ล้านรายทั่วโลก เป็นโรคโควิด 19 และมีประชากรกว่า 2
ล้านรายเสียชีวิตจากการติดเชื้อ ดังกล่าว (1) สำหรับสถานการณ์ในประเทศไทยพบว่าประชากร
มากกว่า 13,000 รายติดเชื้อ และมี 71 รายเสียชีวิตจาก โรคโควิด 19 (2) แม้ว่าคนส่วนใหญ่ที่เป็นโรค
นี้จะไม่มีอาการรุนแรง เพียงประมาณ ร้อยละ 20 เท่านั้นที่มีอาการ ป่วย และมีอัตราการเสียชีวิตต่ำ

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

กว่าร้อยละ 1 แต่เนื่องจากเป็นโรคใหม่จึงไม่มีภูมิคุ้ มกันในคนทั่วไปทำให้จำนวนผู้ ที่ติดเชื้อมีมาก จึง


ส่งผลให้เกิดการเสียชีวิตจำนวนมาก ทำให้ระบบสาธารณสุขรองรับไม่ได้ ซึ่งมาตรการป้องกันต่าง ๆ ที่
ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ การสวมหน้ากากอนามัย การล้างมือ การรักษาระยะห่างทางสังคม (Social
distancing) และการกักตัว ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และระบบเศรษฐกิจ
และไม่สามารถป้องกันการ แพร่ระบาดของโรคได้อย่างสมบูรณ์ หลายประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศ
ไทยจึงได้มีการคิดค้นและพัฒนาวัคซีนโควิด 19 ซึ่งเป็นความหวังใหม่ในการป้องกันการติด เชื้อ การ
แพร่ระบาดของโรค และการลดความรุนแรงจากการติดเชื้อ

โรคโควิด 19 แพร่กระจายเชื้อได้อย่างไร
โรคชนิดนี้มีความเป็นไปใด้ที่มีสัตว์เป็นแหล่งรังโรค ส่วนใหญ่แพร่กระจายผ่าน การสัมผัสกับผู้
ติ ด เชื้อ ผ่า น ทางละอองเสมหะจาการไอ น้ ำ มู ก น้ ำ ลาย ปั จ จุ บั นยั ง ไม่ ม ี หลั ก ฐานสนั บสนุ นการ
แพร่กระจายเชื้อผ่านทางพื้นผิวสัมผัสที่มีไวรัสแล้วมาสัมผัส ปาก จมูกและตา สามารถแพร่เชื้อผ่าน
ทางเชื้อที่ถูกขับถ่ายออกมากับอุจจาระ เข้าสู่อีกคนหนึ่งโดยผ่านเข้าทางปาก (Feco-oral route) ได้
ด้วย

โรคโควิด 19 รักษาได้อย่างไร
ยังไม่มียาสำหรับป้องกันหรือรักษาโรคโควิค 19 ผู้ที่ติดเชื้ออาจต้องได้รับการรักษาแบบ
ประคับประคอง ตามอาการ โดยอาการที่มีแตกต่างกัน บางคนรุนแรงไม่มากลักษณะเหมือนไข้หวัด
ทั่วไป บางคนรุนแรงมาก ทำให้เกิดปอดอักเสบไต้ ต้องสังเกตอาการ ใกลัชิดร่วมกับการรักษาด้วยการ
ประดับประคองอาการจนกว่า จะพ้นอาการช่วงนั้น และยังไม่มียาตัวใดที่มีหลักฐานชัดเจนว่า รักษา
โรคโควิด 19 ได้โดยตรง

ใครบ้างที่เสี่ยงสูงต่อการติดโรคโควิด 19
กลุ่มเสี่ยงโดยตรงที่อาจสัมผัสกันเชื้อ ได้แก่ ผู้ที่เพิ่งกลับจากพื้นที่เสี่ยง สัมผัสใกล้ชิด ผู้ป่วย
สงสัยติดเชื้อ กลุ่มเสี่ยงที่ต้องระวัง หากติดเชื้ออาจมีอาการรุนแรง ได้แก่ ผู้สูงอาย 70 ปีขึ้นไป ผู้ป่วย
โรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ ภูมิแพ้ เด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี

สถานการณ์ที่กำลังเผชิญเหตุภายในประเทศ
รายการสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทยปัจจุบัน (ข้อมูล ณ วันที่ 1
เมษายน – 5 กรกฎาคม 2564) พบว่า ผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อสะสมจำนวน 289,233 ราย ผู้ป่วยรายใหม่

10

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

จำนวน 6,166 ราย หายป่วยจำนวน 223,437 ราย เสียชีวิตสะสมจำนวน 2,276 ราย และปัจจุบันมีผู้
ที่ได้รับวัคซีนแล้ว จำนวน 10,777,748 ราย และรายการสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่า ผู้ป่วยยืนยันติด เชื้อสะสมจำนวนทั้งหมด 2,078 ราย เสียชีวิตสะสม 13
ราย รายละเอียดดังภาพ (ข้อมูล ณ วันที่ 5 กรกฎาคม 2564)

11

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

สถานการณโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทยและจำนวนผู้ติดเชื้อจังหวัดสุราษฎร์ธานี


ข้อมูลวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

ประเมินความเสี่ยงสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
จากการเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์การติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
(ระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน – 4 กรกฎาคม 2564) พบผู้ติดเชื้อรวม 38,620 ราย ซึ่งเป็นผู้ติด เชื้อ
ภายในประเทศ 38,532 ราย (ร้อยละ 99.8) ซึ่งในจานวนนี้พบว่าเป็นผู้ติดเชื้อภายในชุมชนจากการ
สัมผัสผู้อื่น 15,829 ราย (ร้อยละ 41.1) เป็นผู้ติดเชื้อที่ พบจากการคัดกรองและเฝ้าระวังเชิงรุกใน
ชุมชน 11,594 ราย (ร้อยละ 30.1) โดยจังหวัดที่พบผู้ติดเชื้อภายในประเทศ มากที่สุด 5 อันดับแรก
ได้ แ ก่ กรุ ง เทพมหานคร 13,054 ราย (ร้ อ ยละ 33.9) สมุ ท รปราการ 3,326 ราย (ร้ อ ยละ 8.6)
สมุทรสาคร 2,342 ราย (ร้อยละ 6.1) ปทุมธานี 1,984 ราย (ร้อยละ 5.1) และชลบุรี 1,799 ราย (ร้อย
ละ 4.7) สาหรับใน 5 จังหวัดนี้ความเสี่ยงที่พบมากที่สุด คือ สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยยืนยันรายก่อนหน้า

12

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

7,021 ราย (ร้อยละ 31.2) การติดต่อกันภายในสถานที่ทางาน 1,562 ราย (ร้อยละ 6.9) ถึงแม้ว่าใน
หลาย ๆ จังหวัดที่พบผู้ป่วยจานวนมากจะมี การระงับการรวมตัวของคนงานในแคมป์ก่อสร้างแล้วก็
ตาม แต่จังหวัดต่าง ๆ ที่ยังคงมีโรงงาน สถานประกอบการ หรือบริษัทที่มีพนักงานจานวนมากยังคง
ความเสี่ยงสูงที่จะพบการแพร่กระจายเชื้อได้เนื่องจากความแออัดของ พนักงานและลูกจ้าง จึงควรลด
ความเสี่ยงโดยการงดหรือหลีกเลี่ยงการรวมตัวของผู้คน ในสถานที่ทางาน (work from home) อีก
ทั้งต้องเน้นย้ำการป้องกันการแพร่กระจายในโรงงาน สถานประกอบการ หรือบริษัท โดยจะต้องดา
เนินการ ตามมาตรการป้องกันส่วนบุคคลอย่างเข้มข้น เช่น งดการรับประทานอาหารร่วมโต๊ะกัน ควร
ให้แต่ละคนแยกกัน รับประทานอาหารหรือจัดแบ่งช่วงเวลาในการรับประทานอาหารเพื่อลดความ
แออัด การออกกฎให้ทุกคนสวมใส่ หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าตลอดเวลาแม้กระทั่งอยู่ภายใน
อาคารสถานที่ การรณรงค์ให้หมั่นล้างมือ รวมถึงการ จัดเตรียมแอลกอฮอล์เจลสนับสนุนไว้ตามจุด
เสี่ยงต่าง ๆ เช่น ลิฟต์ ราวบันได ลูกบิดประตู เป็นต้น

เกณฑ์การพิจารณากรอบการปฏิบัติตามตารางประสานสอดคล้องในการบริหาร สถานการณ์โควิด
19 ในสถานศึกษา
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2563, น.6-35) ได้กำหนดเกณฑ์การพิจารณาความเสี่ยง
และการ เฝ้าระวังโรคโควิด 19 ดังนี้
วัตถุประสงค์
1. เพื่อจัดระดับความรุนแรงของการระบาดของโควิด 19
2. เพื่อน่าไปใช้ในการกำหนดมาตรการ การป้องกันควบคุมโรค ระดับประเทศ
3. เพื่อให้จังหวัดน่าไปปรับใช้ในระดับจังหวัดจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด
19 ที่ก่าลัง ดำเนินอยู่อย่างต่อเนื่อง จึงได้มี การกำหนดเกณฑ์การพิจารณาระดับความรุนแรงของการ
ระบาด ความเสี่ยงและ การเฝ้าระวัง โดยจ่าแนกเย็น 3 ระดับ กล่าวคือ ระดับประเทศ ระดับชุมชน
และระดับสถานศึกษา มีดังนี้
3.1 เกณฑ์การพิจารณาระดับความรุนแรงของการระบาดของโรคโควิด 19 ระดับประเทศ
การพิจารณาระดับความรุนแรงของการระบาดของโรคโควิด 19 ระดับประเทศ ควรคำนึงถึง
ความส่าคัญของคุณลักษณะ 3 ประเด็น ได้แก่
1) จำนวนผู้ตดิ เชื้อรายใหม่สะสมต่อสัปดาห์
2) ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพ

13

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

3) การกระจายของโรคตามลักษณะทางระบาดวิทยา แต่ละประเด็น มีการจ่าแนก


ระดับความรุนแรงของการระบาดของโรคโควิด 19 ตามลักษณะสีแบ่งเป็น 5 สี ได้แก่ สีขาว
เขียว เหลือง ส้ม แดง มีรายละเอียดคุณลักษณะ ดังนี้
สีขาว (ปลอดภัย มีวัคชีน) หมายถึง ไม่มีผู้ติดเชื้อในประเทศมีผู้ติดเชื้อมาจาก
ต่ า งประเทศ ผู ้ เ ดิ น ทางมา จากต่ า งประเทศเข้ า สถานที ่ ก ั ก กั น ผู ้ ต ิ ด เชื ้ อ เข้ า รั ก ษาใน
โรงพยาบาลที่กำหนด
สีเขียว (ไม่รุนแรง ไม่มีวัคซีน) หมายถึง มีผู้ติดเชื้อในประเทศมีผู้ติดเชื้อมาจาก
ต่างประเทศ ผู้เดินทางจาก ต่างประเทศเข้าสถานที่กักกัน ผู้ติดเชื้อเข้ารักษาในโรงพยาบาลที่
กำหนด
สีเหลือง (รุนแรงน้อย) หมายถึง จ่านวนผู้ติดเชื้อรายใหม่สะสมต่อสัป ดาห์น้อยกว่า
300 ราย ต่อสัปดาห์ ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพ ไม่เกิน 1
จังหวัดต่อเขต และไม่เกิน 3 เขตการกระจาย ของโรคตามลักษณะทางระบาดวิทยา ระบาด
ในวงจ่ากัด มีไม่เกิน 3 กลุ่มก้อน (Cluster)
สีส้ม (รุนแรงปานกลาง) หมายถึง จ่านวนผู้ติดเชื้อรายใหม่สะสมต่อสัปดาห์ 300-
900 ราย ต่อสัปดาห์ ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพ ไม่เกิน 1
จังหวัดต่อเขต จ่านวน 4-6 เขตหรือ มากกว่า 1 จังหวัดต่อเขต และไม่เกิน 3 เขต การ
กระจายของโรคตามลักษณะทาง ระบาดวิทยา ระบาดในวงจ่ากัด มีมากกว่า 3 กลุ่มก้อน
(luster) และมีความเชื่อมโยงกัน
สีแดง (รุนแรงมาก) หมายถึง จ่านวนผู้ติดเชื้อรายใหม่สะสมต่อสัปดาห์มากกว่า
900 ราย ต่อสัปดาห์ ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพ ไม่เกิน 1
จังหวัดต่อเขต และเกิน 6 เขต หรือ มากกว่า 1 จังหวัดต่อเขต และเกิน 3 เขต การกระจาย
ของโรคตามลักษณะทางระบาด วิทยา มีการระบาดใน วงกว้าง หาสาเหตุไม่ได้

14

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

เกณฑ์การพิจารณาความเสี่ยงและการเฝ้าระวัง ระดับชุมชน
จากสถานการณ์ความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 กระทรวงสาธารณสุขจึง
กำหนดเกณฑ์การพิจารณาความเสี่ยงและการเฝ้าระวังในการประเมิน ความเสี่ ยงกรณเกิดปัจจัยเสี่ยง
ของคนในครอบครัวในชุมชนหรือหมู่บ้านกับความเชื่อมโยงสถานศึกษา สำหรับให้สถานศึกษาใช้เป็น
มาตรการดำเนินการให้สอดคล้องตามสถานการณ์ จำแนกเป็น 4 สี ได้แก่ แดง ส้ม เหลือง และเขียว
มีดังนี้
สีแดง หมายถึง กรณีมีปัจจัยเสี่ยงมีผู้ป่วยในชุมชนใน 7 วัน คนในครอบครัวสัมผัสใกล้ชิดกับ
ผู้ป่วย อาการของคนในครอบครัวป่วยยืนยัน โรควิด 19 ระดับความเสี่ยงสูงมาก มาตรการดำเนินการ
สำหรับนักเรียนต้องเรียนอยู่ที่บ้าน 28 วัน ส่วนสถานศึกษาถือปฏิบัติต ามมาตรการสูงสุดอย่าง
เคร่งครัด
สีส้ม หมายถึง กรณีมีปัจจัยเสี่ยงมีผู้ป่วยในชุมชนใน 14 วัน คนในครอบครัวสัมผัสไม่ใกล้ชิด
กับผู้ป่วย อาการของคนในครอบครัวรอยืนยันโรคโควิด 19 ระดับความเสี่ ยงสูง มาตรการดำเนินการ
สำหรับนักเรียนต้องเรียนอยู่ที่บ้าน 14 วัน ส่วนสถานศึกษาถือปฏิบัติตามมาตรการสูง
สีเหลือง หมายถึง กรณีมีปัจจัยเสี่ยงมีผู้ป่วยในชุมชนใน 28 วัน คนในครอบครัวไปในพื้นที่
สถานที่เสี่ยง หรือมีพฤติกรรมเสี่ยง อาการของคนในครอบครัวป่วยแต่ไม่เป็น โรควิด 19 ระดับ ความ
เสี่ยงปานกลาง มาตรการดำเนินการสำหรับนักเรียนเรียนอยู่ที่บ้าน 7 วัน ส่วนสถานศึกษาถือปฏิบัติ
ตามมาตรการพื้นฐาน

15

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

สีเขียว หมายถึง กรณีไม่มีผู้ป่วยในชุมชน 28 วันขึ้นไป คนในครอบครัวไม่มีพฤติกรรมเสี่ยง


อาการของคนในครอบครัวปกติ ระดับความเสี่ยงต่ำ มาตรการดำเนินการสำหรับนักเรียน ไปโรงเรียน
ได้ ส่วนสถานศึกษาถือปฏิบัติตามมาตรการผ่อนคลาย

ระดับการบริหารสถานการณ์ : ระดับขาว
กรอบการปฏิบัติ
1. สามารถเดินทางข้ามจังหวัดได้
2. ให้จัดกิจกรรมรวมกลุม่ ได้ แต่ต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคที่กำหนด
3. ให้ดำเนินกิจการหรือกิจกรรมได้ทกุ ประเภทตามปกติ ผู้ประกอบการหรือผู้จัด
กิจกรรม ต้องมีการ คัดกรอง ผู้ใช้บริการและต้องปฏิบัติตามมาตรการหลัก ได้แก่
- ทำความสะอาดพื้นผิวที่มีการสัมผัสบ่อย ๆ
- การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าที่พนักงานผู้ใช้บริการผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- ให้มีจดุ บริการล้างมือด้วยสบู่หรือแอลกอฮอล์เจลหรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค
- ให้มีการควบคุมจำนวนผู้ใช้บริการมิให้แออัด
ตัวอย่างระดับการผ่อนคลายกิจการ/กิจกรรมที่สำคัญ

16

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

- โรงเรียนเปิดการเรียนการสอนที่โรงเรียน 100%
- สนามกีฬากลางแจ้งเปิดให้มีผู้ชมได้ 70% / 50% (5000)
- สนามกีฬากลางในร่มเปิดให้มีผู้ชมได้ 50% / 25% (2000/1000)
- ขนส่งสาธารณะบรรทุกผู้โดยสารได้ 100%
- โรงภาพยนตร์เปิดให้มผี ู้ชมได้ 100%
ตารางประสานสอดคล้องในการบริหารสถานการณ์โรคโควิด 19
ระดับการบริหาร กรอบการปฏิบัติ ตัวอย่างระดับการผ่อน
สถานการณ์ คลายกิจการ/ กิจกรรม
ที่สำคัญ

ระดับขาว o สามารถเดินทางข้ามจังหวัดได้ - โรงเรียนเปิดการเรียนการ


o ให้จัดกิจกรรมรวมกลุม่ ได้แต่ต้องปฏิบัติ สอนที่โรงเรียน 100%
ตามมาตรการ ป้องกันโรคที่กำหนด - สนามกีฬากลางแจ้งเปิดให้
o ให้ดำเนินกิจการหรือกิจกรรมได้ทกุ มีผู้ชมได้
ประเภทตามปกติ ผู้ประกอบการหรือผู้ 70%/50% (5000)
จัดกิจกรรม ต้องมีการคัดกรอง - สนามกีฬากลางในร่มเปิดให้
ผู้ใช้บริการ และต้องปฏิบัติตามมาตรการ มีผู้ชมได้ 50%/25%
หลัก ได้แก่ (2000/1000)
▪ ทำความสะอาดพื้นผิวที่มีการสัมผัส - ขนส่งสาธารณะบรรทุก
บ่อย ๆ ผู้โดยสารได้ 100% - โรง
▪ การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าที่ ภาพยนตร์เปิดให้มีผู้ชม
พนักงานผู้ใช้บริการ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้100%
▪ ให้มีจุดบริการล้างมือด้วยสบู่
หรือแอลกอฮอล์ เจลหรือน้ำยาฆ่าเชื้อ
โรค
▪ ให้มีการควบคุมจำนวน
ผู้ใช้บริการ มิให้แออัด

17

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

ระดับการบริหารสถานการณ์ : ระดับเขียว
กรอบการปฏิบัติ
ตามข้อกำหนดฉบับที่ 13
1. ให้จัดกิจกรรมรวมกลุม่ ได้แต่ต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคที่กำหนด
2. สามารถเดินทางข้ามจังหวัดได้
3. ให้ดำเนินกิจการหรือกิจกรรมได้ทกุ ประเภท แต่ผู้ประกอบการหรือผู้จัดกิจกรรม
ต้องมีการคัดกรอง ผูใ้ ช้บริการ และต้องปฏิบัติตามมาตรการหลัก ได้แก่
- ทำความสะอาดพื้นผิวที่มีการสัมผัสบ่อย ๆ
- การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าที่พนักงานผู้ใช้บริการผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- ให้มีจดุ บริการล้างมือด้วยสบู่หรือแอลกอฮอล์เจลหรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค
- ให้มีการควบคุมจำนวนผู้ใช้บริการมิให้แออัด
- ลงทะเบียนใช้งาน“ไทยชนะ”และแอปพลิเคชันที่รัฐกำหนด
* ผู้วา่ ราชการจังหวัด กำหนดมาตรการเพิ่มเติมได้
ตัวอย่างระดับการผ่อนคลายกิจการ/กิจกรรมที่สำคัญ
- โรงเรียนเปิดการเรียนการสอนที่โรงเรียน 100%
- สนามกีฬากลางแจ้งเปิดให้มีผู้ชมได้50% / 25% (3000/2000)
- สนามกีฬากลางในร่มเปิดให้มีผู้ชมได้25% / 15% (1000/500)
- ขนส่งสาธารณะบรรทุกผู้โดยสารได้100%
- โรงภาพยนตร์เปิดให้มผี ู้ชมได้70%
*ศบค ที่ 8/ 2563 หรือ ตามที่คณะกรรมการเฉพาะกิจพิจารณาการผ่อน
คลายฯ กำหนด

18

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

ตารางประสานสอดคล้องในการบริหารสถานการณ์โรคโควิด 19

ระดับการ ตัวอย่างระดับการผ่อน
บริหาร กรอบการปฏิบัติ คลายกิจการ/ กิจกรรม
สถานการณ์ ที่สำคัญ

ระดับเขียว ตามข้อกำหนดฉบับที่ 13 - โรงเรียนเปิดการเรียน


o ให้จดั กิจกรรมรวมกลุ่มได้แต่ต้องปฏิบัติ การสอนที่ โรงเรียน
ตามมาตรการ ป้องกันโรคที่กำหนด 100%
o สามารถเดินทางข้ามจังหวัดได้ - สนามกีฬากลางแจ้งเปิด
o ให้ดำเนินกิจการหรือกิจกรรมได้ทกุ ให้มีผู้ชมได้ 50%/25%
ประเภทแต่ผู้ประกอบการหรือผู้จัดกิจกรรมต้อง (3000/2000)
มีการคัดกรอง ผู้ใช้บริการ และต้องปฏิบัติตาม - สนามกีฬากลางในร่ม
มาตรการหลัก ได้แก่ เปิดให้มีผู้ชมได้
▪ ทำความสะอาดพื้นผิวที่มีการสัมผัสบ่อย ๆ 25%/15% (1000/500)
▪ การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าที่ พนักงาน - ขนส่งสาธารณะบรรทุก
ผู้ใช้บริการ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผู้โดยสารได้ 100%
▪ ให้มจี ุดบริการล้างมือด้วยสบู่หรือแอลกอฮอล์ - โรงภาพยนตร์เปิดให้มี
เจลหรือ น้ำยาฆ่าเชื้อโรค ผู้ชมได้70%
▪ ให้มีการควบคุมจำนวนผู้ใช้บริการมิให้แออัด
▪ ลงทะเบียนใช้งาน “ไทยชนะ” และแอป
พลิเคชันที่รัฐ กำหนด
* ผู้วา่ ราชการจังหวัด/กทม. สามารถกำหนด
มาตรการเพิ่มเติมได้

19

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

ระดับการบริหารสถานการณ์ : ระดับเหลือง
กรอบการปฏิบัติ
ตามข้อกำหนดฉบับที่ 9
1. สามารถเดินทางข้ามจังหวัดได้
2. ให้ดำเนินการหรือทำกิจกรรมด้านเศรษฐกิจและการดำเนินชีวิตตลอดจนด้านการออก
กำลังกาย หรือดูแลสุขภาพหรือสันทนาการ ได้แก่ ผู้ประกอบการหรือผูจ้ ดั กิจกรรม ต้องมีการคัดกรอง
ผู้ใช้บริการและต้อง ปฏิบัติตามมาตรการหลัก
- ทำความสะอาดพื้นผิวที่มีการสัมผัสบ่อย ๆ
- การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าที่พนักงานผู้ใช้บริการผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- ให้มีจดุ บริการล้างมือด้วยสบู่หรือแอลกอฮอล์เจลหรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค
- ให้มีการเว้นระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตร
- ให้มีการควบคุมจำนวนผู้ใช้บริการมิให้แออัด
- ลงทะเบียนใช้งาน“ไทยชนะ”และแอปพลิเคชันที่รัฐกำหนด
* ผู้วา่ ราชการจังหวัด สามารถกำหนดมาตรการเพิ่มเติมได้
ตัวอย่างระดับการผ่อนคลายกิจการ/กิจกรรมที่สําคัญ
- โรงเรียนเปิดการเรียนการสอนที่โรงเรียน ได้แก่ ถ้ามีความแออัดให้จดั นักเรียนสลับ
นักเรียน - สนามกีฬากลางแจ้งเปิดให้มีผู้ชมได้ 25%/15% (3000/1000)
- สนามกีฬากลางในร่มเปิดไม่ให้มีผู้ชมได้
- ขนส่งสาธารณะทางอากาศและ BTS บรรทุกผู้โดยสารได้100%
- รถขนส่งสาธารณะบรรทุกผู้โดยสารได้ 70%
- โรงภาพยนตร์เปิดให้มผี ู้ชมได้ 50%
- อื่นๆ ตามคำสั่ง ศบค ที่ 3/2563, 4/2563, 5/2563 และ6/2563 หรือตามที่
คณะกรรมการ เฉพาะกิจพิจารณาการผ่อนคลายฯ กำหนด

20

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

ตารางประสานสอดคล้องในการบริหารสถานการณ์โรคโควิด 19

ระดับการ ตัวอย่างระดับการผ่อนคลาย
บริหาร กรอบการปฏิบัติ กิจการ/กิจกรรมที่สำคัญ
สถาณ
การณ์

ระดับเหลือง ตามข้อกำหนดฉบับที่ 9 - โรงเรียนเปิดการเรียนการสอนที่


o สามารถเดินทางข้ามจังหวัดได้ โรงเรียน ได้แก่ ถ้ามีความแออัดให้ จัด
o ให้ดำเนินการหรือทำกิจกรรมด้านเศรษฐกิจและ นักเรียนสลับนักเรียน
การดำเนิน ชีวติ ตลอดจนด้านการออกกำลังกาย - สนามกีฬากลางแจ้งเปิดให้มีผู้ชม
หรือดูแลสุขภาพหรือ สันทนาการ ได้แก่ ได้ 25%/15% (3000/1000)
ผู้ประกอบการหรือผู้จดั กิจกรรม ต้องมี การคัด - สนามกีฬากลางในร่มเปิดไม่ให้มี ผู้ชมได้
กรองผู้ใช้บริการและต้องปฏิบัติตามมาตรการ - ขนส่งสาธารณะทางอากาศ
หลัก และ BTS บรรทุกผูโ้ ดยสาร
- ทำความสะอาดพื้นผิวที่มีการสัมผัสบ่อย ๆ ได้100%
- การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าที่พนักงาน - รถขนส่งสาธารณะบรรทุกผู้โดยสาร ได้
ผู้ใช้บริการ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 70%
- ให้มีจุดบริการล้างมือด้วยสบู่หรือ - โรงภาพยนตร์เปิดให้มผี ู้ชมได้ 50%
แอลกอฮอล์เจลหรือ น้ำยาฆ่าเชื้อโรค - อื่น ๆ ตามคาสั่งศบค.ที่ 3/2563,
- ให้มีการเว้นระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตร 4/2563, 5/2563 แ ล ะ6/2563
- ให้มีการควบคุมจำนวนผู้ใช้บริการมิให้แออัด หรือตามที่คณะกรรมการเฉพาะกิจ
- ลงทะเบียนใช้งาน“ไทยชนะ”และแอปพลิเค
ชันที่รัฐ กำหนด
* ผู้วา่ ราชการจังหวัด สามารถกำหนดมาตรการ
เพิ่มเติมได้

21

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

ระดับการบริหารสถานการณ์: ระดับส้ม
กรอบการปฏิบัติ
ตามข้อกำหนด ฉบับที่ 6
1. จำกัดการเดินทางข้ามจังหวัด
2. ให้ด ำเนินการหรือ ทำกิ จ กรรมบางอย่ า งได้ เ ฉพาะ เพื ่ อ เป็ นการอำนวยความสะดวก
ประชาชน ในการ ทำกิจกรรมด้านเศรษฐกิจและการดำเนินชีวิตตลอดจนด้านการออกกำลังกาย หรือ
ดูแลสุขภาพหรือสันทนาการ ที่ไม่เสี่ยงต่อการแพร่ระบาดและผู้ประกอบการ หรือผู้จัดกิจกรรมต้องมี
การคัดกรองผู้ใช้บริการและต้องปฏิบัติ ตามมาตรการหลัก ได้แก่
- ทำความสะอาดพื้นผิวที่มีการสัมผัสบ่อย ๆ
- การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าที่พนักงานผู้ใช้บริการผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- ให้มีจดุ บริการล้างมือด้วยสบู่หรือแอลกอฮอล์เจลหรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค
- ให้มีการเว้นระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตร
- ให้มีการควบคุมจำนวนผู้ใช้บริการมิให้แออัด
- ลงทะเบียนใช้งาน“ไทยชนะ”และแอปพลิเคชันท่ีรัฐกำหนด
* ผู้วา่ ราชการจังหวัด สามารถกำหนดมาตรการเพิ่มเติมได้
ตัวอย่างระดับการผ่อนคลายกิจการ/กิจกรรมที่สำคัญ
- สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนออนไลน์และ/หรือออนแอร์
- ร้านอาหารจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มได้(เว้น เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ใน
สถานที่ต่าง ๆ ) - ปิดสถานบริการผับบาร์
- ร้านค้าปลีก/ตลาดนัด/ตลาดสดเปิดได้แต่ต้องปฏิบัติมาตรการที่กำหนด
- สนามกีฬา ลานกีฬา ประเภทกลางแจ้งและเป็นกีฬาที่ไม่มีการปะทะกัน
สวนสาธารณะเปิดทำการได้ - อื่น ๆ ตามคำสั่ง ศบค. ที่ 2/2563 หรือ ตามที่คณะกรรมการเฉพาะกิจ
พิจารณาการผ่อนคลายฯ กำหนด

22

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

ตารางประสานสอดคล้องในการบริหารสถานการณ์โรคโควิด 19
ระดับการบริหาร กรอบการปฏิบัติ ตัวอย่างระดับการผ่อนคลาย
สถาณการณ์ กิจการ/กิจกรรมที่สำคัญ

ระดับส้ม o จำกัดการเดินทางข้ามจังหวัด - สถานศึกษาจัดการเรียนการ


o ให้ดำเนินการหรือทำกิจกรรมบางอย่าง สอน ออนไลน์และ/หรือออน
ได้ เฉพาะ เพื่อเป็นการอำนวยความ แอร์
สะดวก ประชาชน ในการทำกิจกรรมด้าน - ร้านอาหารจำหน่ายอาหาร
เศรษฐกิจและ การดำเนินชีวิตตลอดจน และ เครื่องดื่มได้(เว้น เครื่องดื่ม
ด้านการออกกำลังกายหรือดูแลสุขภาพ ที่มีแอลกอฮอล์ในสถานที่ต่าง ๆ
หรือสันทนาการที่ไม่เสี่ยงต่อ การแพร่ ) - ปิดสถานบริการผับบาร์
ระบาดและผู้ประกอบการ หรือผู้จดั - ร้านค้าปลีก/ตลาดนัด/ตลาด
กิจกรรมต้องมีการคัดกรองผู้ใช้บริการและ สด เปิดได้แต่ต้องปฏิบัติ
ต้อง ปฏิบัติตามมาตรการหลัก ได้แก่ มาตรการที่กำหนด
- ทำความสะอาดพืน้ ผิวที่มีการสัมผัส - สนามกีฬา ลานกีฬาประเภท
บ่อย ๆ กลางแจ้งและเป็นกีฬาที่ไม่มีการ
- การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าที่ ปะทะกัน สวนสาธารณะเปิดทำ
พนักงาน ผู้ใช้บริการผู้เข้าร่วมกิจกรรม การได้อื่น ๆ ตามคำสั่ง ศบค. ที่
- ให้มีจดุ บริการล้างมือด้วยสบู่หรือ 2/2563 หรือ ตามที่
แอลกอฮอล์ เจลหรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค คณะกรรมการ เฉพาะกิจ
- ให้มีการเว้นระยะห่างอย่างน้อย 1 พิจารณาการผ่อนคลายฯ
เมตร กำหนด
- ให้มีการควบคุมจำนวนผู้ใช้บริการมิ
ให้แออัด - ลงทะเบียนใช้งาน“ไทยชนะ”
และแอปพลิเค ชันที่รัฐกำหนด
* ผู้ว่าราชการจังหวัด สามารถกำหนด
มาตรการ เพิ่มเติมได้

23

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

ระดับการบริหารสถานการณ์: ระดับสีแดง
กรอบการปฏิบัติ
ตามข้อกำหนดฉบับที่ 1
- เน้นที่การห้ามเข้าพื้นทีเ่ สี่ยงและการปิดสถานที่เสี่ยงต่อการติดต่อโรค
- ปิดช่องทางเข้ามาในราชอาณาจักร เว้นบุคคลบางประเภท
- ห้ามชุมนุม ตามข้อกำหนดฉบับที่ 2 และ 3
- ห้ามบุคคลใดทั่วราชอาณาจักรออกนอกเคหะสถาน เว้นบุคคลที่มีเหตุจำเป็นตาม
ข้อกำหนดฉบับที่ 5 * ผู้ว่าราชการจังหวัด สามารถกำหนดมาตรการเพิ่มเติมได้

ตัวอย่างระดับการผ่อนคลายกิจการ/กิจกรรมที่สำคัญ
- สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนออนไลน์ และ/หรือออนแอร์
- ห้ามการเดินทางข้ามจังหวัด ยกเว้นขนส่งสินค้า
- ปิดกิจการ/กิจกรรมต่าง ๆ ยกเว้นกิจการที่จำเป็นต่อการดำรงชีวติ เช่น ธนาคาร
โรงงาน สถานบริการเชื้อเพลิง บริการส่งสินค้าและอาหารตามสั่งหรือตามที่คณะกรรมการเฉพาะ
กิจ พิจารณาการผ่อนคลายฯ ที่กำหนด

24

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

ตารางประสานสอดคล้องในการบริหารสถานการณ์โรคโควิด 19
ระดับการบริหาร กรอบการปฏิบัติ ตัวอย่างระดับการผ่อนคลาย
สถาณการณ์ กิจการ/กิจกรรมที่สำคัญ

ระดับสีแดง ตามข้อกำหนดฉบับที่ 1 - สถานศึกษาจัดการเรียนการสอน


- เน้นที่การห้ามเข้าพื้นทีเ่ สี่ยงและการ ออนไลน์ และ/หรือ ออนแอร์
ปิด สถานที่เสี่ยงต่อการติดต่อโรค - ห้ามการเดินทางข้ามจังหวัด
- ปิดช่องทางเข้ามาในราชอาณาจักร ยกเว้น ขนส่งสินค้า
เว้น บุคคลบางประเภท - ปิดกิจการ/กิจกรรมต่าง ๆ
- ห้ามชุมนุม ตามข้อกำหนดฉบับที่ 2 ยกเว้น กิจการทีจ่ ำเป็นต่อการ
และ 3 ดำรงชีวิต เช่น ธนาคาร โรงงาน
- ห้ามบุคคลใดทั่วราชอาณาจักรออก สถานบริการเชื้อเพลิง บริการส่ง
นอกเคหะสถาน เว้นบุคคลที่มีเหตุ สินค้าและอาหาร ตามสั่งหรือ
จำเป็น ตามข้อกำหนดฉบับที่ 5 ตามที่คณะกรรมการเฉพาะกิจ
* ผู้วา่ ราชการจังหวัด สามารถกำหนด พิจารณาการผ่อนคลายฯ กำหนด
มาตรการ เพิ่มเติมได้

แนวปฏิบัติสำหรับสถานศึกษารองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ที่มีความรุนแรงมากขึ้นทัว่ โลกและประเทศ
ใกล้เคียง อาทิ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ซึ่งประเทศไทยมีพื้นที่ชายแดนด้านเมียนมากำลังเป็น
พื้นที่วิกฤตที่สดุ จำนวนผู้ป่วยติดเชื้อสะสมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อาจเป็นภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรค
โควิด 19 ในเขตพื้นที่ ของชุมชนและสถานศึกษา อาจส่งผลกระทบต่อการจัดการเรียนการ
สอน ดังนั้นสถานศึกษามีแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนตามตารางประสานสอดคล้องตาม
สถานการณ์ความรุนแรงของการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ของสถานศึกษามีดังนี้

25

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

1. กลุม่ นักเรียน - สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนตามปกติ (ครบคน ครบห้อง ครบชั้นเรียน)


สีขาว - สีเขียว - สถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่ไม่พบผู้ตดิ เชื้อไม่น้อยกว่า 90 วัน (พื้นที่สี
เขียว) ได้รับการพิจารณาอนุญาตจากศูนย์ปฏิบัตกิ ารควบคุมโรคจังหวัด ให้
จัดการเรียนการสอน ได้ตามปกติ
- โรงเรียนมีมาตรการให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และเจ้าหน้าที่ทุก
คน สวมหน้ากากอนามัย มีอุปกรณ์ล้างมือและล้างมือบ่อย ๆ มีการทำความ
สะอาดห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ หรือโรงฝึกงาน และทำความสะอาดอุปกรณ์
ที่ใช้ในการเรียนการสอน การฝึกปฏิบัติ ก่อนและหลังใช้งานทุกครั้ง ตาม
มาตรการของกระทรวงสาธารณสุข
สีเหลือง - สีส้ม - สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน โดยมีการสลับวันเรียนแต่
ละชั้นเรียน หรือมีการแบ่งจำนวนนักเรียนให้เหมาะสมกับการเว้นระยะห่าง
(Social distancing) - มีมาตรการให้นักเรียน ครูบุคลากรทางการศึกษา
และเจ้ากน้าที่ทุกคน สวมหน้ากากอนามัย มีอุปกรณ์ล้างมือและล้างมือบ่อย

- มีการทำความสะอาดห้องเรียน ห้องปฏิบัติการหรือโรงฝึกงาน และทำความ
สะอาดอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน การฝึกปฏิบัติ ก่อนและหลังใช้งาน
ทุกครั้ง
สีแดง - สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนแบบ Online หรือ On air

26

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

ตารางประสานความสอดคล้องของสถานศึกษา
กลุ่ม กิจกรรม/ สถานการณ์การแพร่ระบาด
กิจการ

นักเรียน สถานศึกษา - สถานศึกษาที่ตั้งอยู่ใน - สถานศึกษาจัดการเรียน - สถานศึกษา จัดการ


จัดการเรียน พื้นที่ที่ไม่ พบผู้ติดเชื้อไม่ การสอน แบบผสมผสาน เรียนการสอนแบบ
การสอน น้อยกว่า 90 วัน (พื้นที่สี โดยมีการสลับวันเรียน แต่ Online หรือ On air
ตามปกติ เขียว) ได้รับการพิจารณา ละชั้นเรียนหรือมีการแบ่ง
(ครบคน ครบ อนุญาตจากศูนย์ จ ำ น ว น น ั ก เ ร ี ย น ใ ห้
ห้อง ปฏิบัติการ ควบคุมโรค เหมาะสมกับการเว้นระยะ
ครบชั้นเรียน) จังหวัด ให้จดั การเรียน ห่ า งระหว่ า งกั น (Social
การสอนได้ตามปกติ distancing) - มี ม าตรการ
- โรงเรี ย นมี ม าตรการให้ ให้ นั ก เรี ย น ครู บุ ค ลากร
นั ก เรี ย น ครู บุ ค ลากร ทางการศึ ก ษา และเจ้ า ก
ทางการศึกษา และ น้าที่ทุกคน สวมหน้ากาก
เจ้ า หน้ า ที ่ ท ุ ก คนสวม อนามัย มีอุปกรณ์ล้าง มือ
ห น ้ า ก า ก อ น า ม ั ย มี และล้างมือบ่อย ๆ
อุ ป กรณ์ ล ้ า งมื อ และล้ า ง - มี ก ารทำความสะอาด
มือบ่อย ๆ มีการทำความ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ
สะอาด ห้องเรียน หรื อ โรงฝึ ก งาน และ ทำ
ห้ อ งปฏิ บ ั ต ิ ก ารหรื อ โรง ความสะอาดอุปกรณ์ที่ใช้
ฝึ ก งาน และทำความ ในการ เรียนการสอน การ
สะอาด อุ ป กรณ์ ท ี ่ ใ ช้ ใ น ฝึกปฏิบัติ ก่อน และหลังใช้
การเรียนการสอน การฝึก งานทุกครั้ง
ปฏิ บ ั ต ิ ก่ อ นและหลั ง ใช้
งาน ทุ ก ค รั้ง ต าม ม า
ต รก ารข อ ง กระทรวง
สาธารณสุข

27

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

บทที่ 3
แผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคไวรัสโควิด 2019

แนวปฏิบัติแผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษามีดังนี้
1. การป้องกันเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากต่างประเทศ
o มีครูต่างประเทศต้องรับการกักกันในสถานที่ที่รัฐจัดให้ (State quarantine) เป็น
เวลา 14 วัน
o มีนักเรียนนักศึกษาต่างประเทศ / ต่างด้าวที่พักอาศัยอยู่ในประเทศไทยให้จัดการ
เรียนการสอนตามปกติสำหรับนักเรียนนักศึกษาที่ไม่ได้พักอาศัยอยู่ในประเทศไทย
เมื่อเข้าประเทศไทยต้องรับการกักกันในสถานที่ที่รัฐจัดให้ (State guaranine /
Local Quarantine) เป็นเวลา 14 วัน
2. การป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ภายในประเทศ
o มีศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโค
วิด 19
• โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยามีการจัดตั้ง ศบค.ทพ โดยมีอาคารนางนวล เป็นที่
ทำการศูนย์เฉพาะกิจ

ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา

28

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

o พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด
19
• โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยามีการจัดทำแบบประเมินความเสี่ยงโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา2019 (COVID – 19) สำหรับข้าราชการครู บุคลากรทางการ
ศึกษาและผู้ปกครองนักเรียนผ่าน google forms ทุกๆ 7 วัน

แบบประเมินความเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

• ดำเนินการเยี ่ ย มบ้ า นนั ก เรี ย นรู ป แบบออนไลน์ โดยบั นทึ ก ข้ อ มู ล ผ่ า น


google forms ร้อยละ 100

บันทึกการเยี่ยมบ้านนักเรียนออนไลน์
• ดำเนินการตรวจสอบ ยื นยั นตั ว ตน ระบุ พ ิ ก ั ด ที ่ อ ยู ่ ของข้ า ราชการครู
บุคลากรทางการศึกษา ผ่านระบบเวลาปฏิบัติราชการออนไลน์ โรงเรียนทีป
ราษฎร์พิทยา

บันทึกการเยี่ยมบ้านนักเรียนออนไลน์

29

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

o เปิดศูนย์รับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคโควิด 19
• โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยาเปิดหน้าต่างรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัด
การศึก ษาทางไกลในสถานการณ์ก ารแพร่ ระบาดของโรคโควิ ด 19 บน
เว็บไซต์ http://tpp.ac.th/

หน้าต่างรับฟังความคิดเห็น

o จัดทำแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคโควิด 19
• แนวทางการจัดการเรียนการสอนและมาตรการป้องกันของสถานศึกษาใน
สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

30

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

31

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

32

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

o จัดทำแนวทางการบริหารจัดการสำหรับโรงเรียนเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่
ระบาดของโรคโควิด 19
o แนวทางรับมือตอบโต้ภาวะฉุกเฉินกรณีการระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา
• โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยามีการจัดทำแนวทางรับมือตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
กรณีการระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

33

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

3. การเฝ้าระวังและการสอบสวนโรค
-คัดกรองนักเรียน ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผู้เกี่ยวข้อง มีการสวมหน้ากาก การล้างมือ การ
เว้นระยะห่าง การทำความสะอาด (ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน อาคารเรียน โรงอาหาร โรง
อาหาร โรงนอน พื้นที่ส่วนกลาง) และลดความแออัด
คัดกรอง (Screening) ผู้ที่เข้ามาในสถานศึกษาทุกคน ต้องได้รับการคัดกรอง วัดอุณหภูมิ ร่างกาย

34

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

-มีแนวโน้มปฏิบัติสำหรับผู้บริหาร ครู และบุคลากรในสถานศึกษาในการดำเนินการเกี่ยวกับ


โรคโควิด 19 เช่น จัดทำแนวทางการบริหารจัดการสำหรับโรงเรียนเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่
ระบาดของโรคโควิด 19 มาตรการคัดกรองสุขภาพด้านสาธารณสุข การดำเนินการเมื่อมีกลุ่มเสี่ยงหรือ
ผู้ป่วยยืนยันในสถานศึกษา

35

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

บุคลากรโรงเรียนได้รับวัคซีนโรคโควิด 19 คิดเป็นร้อยละ 91.67

36

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

37

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

38

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

จัดทำแนวทางการบริหารจัดการสำหรับโรงเรียนเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
โควิด 19
สวมหน้ากาก (Mask) ทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากาก อนามัย ตลอดเวลาที่อยู่ใน
สถานศึกษา

ล้างมือ (Hand Washing) ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ นานอย่าง น้อย 20 วินาทีหรือใช้


เจลแอลกอฮอล์ หลีกเลี่ยงการสัมผัสบริเวณจุดเสี่ยง รวมทั้ง ไม่ใช้มือสัมผัส ใบหน้า ตา ปาก จมูก โดย
ไม่จำเป็น

39

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

เว้นระยะห่าง (Social Distancing) เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร


รวมถึงการจัดเว้นระยะห่างของสถานที่

ทำความสะอาด (Cleaning) เปิดประตู หน้าต่าง ให้อากาศถ่ายเท ทำความสะอาด ห้องเรียน


และบริเวณต่าง ๆ โดยเช็ดทำความสะอาดพื้นผิวสัมผัสของโต๊ะ เก้าอี้ และวัสดุอุปกรณ์ ก่อนเข้า เรียน
ช่วงพักเที่ยง และหลังเลิกเรียนทุกวัน รวมถึงจัดให้มีถังขยะมูลฝอยแบบมีฝาปิด และรวบรวมขยะออก
จากห้องเรียน เพื่อนำไปกำจัดทุกวัน

40

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

41

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

แสดงสัญลักษณ์เพื่อเว้นระยะห่าง

แนวทางการบริหารจัดการสำหรับโรงเรียนเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
ห้องพยาบาล

-การปิดสถานศึกษาที่เกิดการระบาดและควบคุมการระบาดในสถานศึกษา

42

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

-รายงานการประเมินสถานการณ์ผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และให้ข้อเสนอแนะแก่


หน่วยงาน ต้นสังกัด และคณะกรรมการโรคติดต่อระดับจังหวัดเพื่อการตัดสินใจ รายงานการประเมิน
จากสถานการณ์จากนักเรียน ผู้ปกครอง และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา โดยใช้ข้อมูลจากการ
สำรวจข้อมูลยืนยันตัวตนระบุพิกัดที่อยู่

43

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

4.การสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วน
-มี ศ ู น ย์ ป ระสานงานและติ ด ตามข้ อ มู ล ระหว่ า งสถานศึ ก ษาและหน่ ว ยงานต่ า ง ร่ ว มกั บ
โรงพยาบาลส่งเสริมประจำตำบล และโรงพยาบาลอำเภอ

44

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

-สถานศึกษาจับคู่โรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพในความร่วมมือป้ องกันการแพร่
ระบาดของโรคโควิด 19

-สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ประกอบด้วย
เจ้ า หน้าที่ส าธารณสุข เจ้า หน้าที่องค์ กรการปกครองส่วนท้ อ งถิ ่น ฝ่ า ยปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษา

45

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

บทที่ 4
แนวทางปฏิบัติส ำหรับ สถานศึก ษา ในสังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่ ก ารศึ ก ษา
มัธยมศึกษา สุราษฎร์ธานี ชุมพร กรณีสงสัยว่านักเรียน หรือบุคลากร มีสภาวะเสี่ยง
ต่อการติดเชื้อไวรัส โค โรนา2019 (COVID – 19)

แนวทางปฏิบัติเมื่อพบผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา
1) ส่ารวจคัดกรองนักเรียนและบุคลากรทุกคน บริเวณทางเข้าสถานศึกษา โดยใช้เครื่อง วัด
อุณหภูมิ
o หากพบนักเรียนหรือบุคลากรมีอุณหภูมิกายได้ตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไปให้
นั่งพักคอยเป็น เวลา 15 นาที เพื่อวัดอุณหภูมิซ้ำอีกครั้ง ถ้าอุณหภูมิไม่ลดลง
• กรณีนักเรียนประสานผู้ปกครองมารับกลับบ้านเพื่อสังเกตอาการ (โรงเรียน
ติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง)
• กรณีบุคลากรให้กลับไปสังเกตอาการ ณ บ้านพักตนเอง (โรงเรียนติดตาม
อาการอย่างต่อเนื่อง)
o หากพบนักเรียนหรือบุคลากรมีอุณหภูมิกายได้ตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป
ร่วมกับอาการทางเดินหายใจอย่ างใดอย่างหนึ่ง (ไอ น้ำมูก เจ็บคอ หายใจเร็วหรือ
หายใจเหนื่อยหรือหายใจล่าบาก)
• ให้แยกนัก เรี ย นหรื อ บุ ค ลากรดั ง กล่ า วไว้ ใ นบริ เวณที ่ จ ั ด เตรี ย มไว้ แจ้ ง
ผู ้ ป กครองแจ้ ง เจ้ า หน้ า ที่ ส าธารณสุ ข สอบสวนโรค (รพ.สต.แม่ น ้ ำ /
โรงพยาบาลเกาะสมุย) และดำเนินการทำตามคำแนะนำ
2) เมื่อพบนักเรียนหรือบุคลากรมีอาการเข้าเกณฑ์ PUI ในระหว่างวัน
• ให้นักเรียนหรือบุคลากรที่มีอาการเข้าเกณฑ์ PUI ไปยังจุดพัก และประสาน
รพ.สต.แม่น้ำ หรือ โรงพยาบาลเกาะสมุย ทันที (โรงเรียนติดตามอาการ
อย่างต่อเนื่อง)
3) เมื่อได้รับแจ้งจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขว่ามี นักเรียน ครู บุคลากร เป็นผู้ป่วยยืนยัน
• ปิดสถานศึกษา/ชั้นเรียน เพื่อทำความสะอาด เป็นระยะเวลา 3 วัน โดย
ผู้อ ่า นวยการสถานศึ ก ษา มี อ ำนาจสั ่ ง ปิ ด ด้ ว ยเหตุ พ ิ เศษ ไม่ เกิ น 7 วั น
ผู้อ่านวยการเขตพื้นที่การศึกษา ไม่เกิน 15 วัน เลขาธิการคณะกรรมการ
ก า ร ศึ ก ษา ขั ้ น พ ื ้ น ฐ า น ไม่ เ ก ิ น 30 ว ั น และร ั ฐ มนต ร ี ว ่ า ก า ร

46

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ และปลัดกระทรวงศึกษาธิการสั่งปิดได้ตามความ
เหมาะสม
• ประสานผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมการควบคุมการแพร่เชื้อในโรงเรียน เช่น
ผู้บริหารสถานศึกษา ครู สมาคมผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา รพ
สต. โรงพยาบาล
• ให้ความร่วมมือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และร่วมค้นหาผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วย
ยืนยัน
• ดำเนินการตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
• ผู้สัมผัสที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง (High risk Contact) ในสถานศึกษา
ดังนี้ผู้สัมผัสที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อสู ง (High risk contact) ให้สังเกต
อาการที่บ้านเป็นเวลาอย่างน้อย 14 วันหากพบอาการผิดปกติให้ไปพบ
แพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยระหว่างรอผลให้กักตัวที่บ้านสถานศึกษาดำเนิน
กิจกรรมได้ตามปกติและสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าใจความเสี่ยงและแนว
ทางการดำเนินการในระยะต่อไป
• ผู้สัมผัสที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อต่ำ (Low risk Contact) ให้สังเกต
อาการเป็ นเวลา 14 วั นไม่ จ ำเป็ นต้ อ งหยุ ด เรี ย นและไม่ จ ำเป็ นต้ อ งปิ ด
สถานศึกษา (รักษาตามอาการหายป่วยแล้วเรียนต่อได้)
• ผู้ใกล้ชิดผู้ใกล้ชิดกับผู้สัมผัสเสี่ยงสูงจัดว่ามีความเสี่ยงต่ำไม่จำเป็นต้องหยุด
เรียน แต่ให้สังเกตอาการเป็นเวลา 14 วันผู้ใกล้ชิดกับผู้สัมผัสเสี่ยงต่ำจัดว่า
ไม่มีความเสี่ยงไม่จำเป็นต้องหยุดเรียน แต่ให้สังเกตอาการเป็นเวลา 14 วัน
หมายเหตุ ท ั ้ ง นี ้ ใ นทุ ก กรณี ข อให้ ด ำเนิ น การบนพื ้ น ฐานของข้ อ มู ล การ
สอบสวนทางระบาดวิทยาและสถานการณ์โรคในพื้นที่
4) ศบค.ทพ ทำการติดตามผู้สัมผัสทุกวันจนครบกำหนด

47

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

48

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

บทที่ 5
การสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วน การสนับสนุน หน่วยงานที่รับผิดชอบ

1.
2. มีศูนย์ประสานงานและติดตามข้อมูลระหว่างสถานศึกษาและหน่วยงานต่างๆ
o โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยาศูนย์ประสานงานและติดตามข้อมูลระหว่างสถานศึกษา
และหน่วยงานต่างๆ ดังนี้

กลุ่มประสานงาน กลุ่มประสานงาน
หัวหน้าส่วนราชการอำเภอเกาะสมุย แจ้งข้อราชการสำนักงาน สพม.สฎ.ชม
3. สถานศึกษาจับคู่โรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในความร่วมมือป้องกัน
การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
o โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยาจับคู่ความร่วมมือป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
กับโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ดังนี้

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่น้ำ โรงพยาบาลเกาะสมุย

49

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


คู่มือการเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุ
รองรับการเผยแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

4. สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นฝ่ายปกครองคณะกรรมการ
สถานศึกษา
o โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยาจัดทำประกาศเรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการป้องกันการแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ของโรงเรียนทีปราษฎร์
พิทยา ดังนี้

50

โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร


ภาคผนวก
คณะผู้จัดทำคู่มือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ใน
สถานศึกษา ของโรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา

1. นางเพียงแข ชิตจุ้ย ผู้อำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ


2. นางอุไรวรรณ จันทร์เมือง รองผู้อำนวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ
3. นางจำเรียง ใจกว้าง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ
4. นางสาวสาลีรัตน์ ทองขาว ครู คศ.๒ กรรมการ
5. นางสาววิภาวรรณ วิชยั ดิษฐ์ ครู คศ.๑ กรรมการ
6.นายจตุรงค์ ขุนปักษี ครู คศ.๑ กรรมการ
7. นายณัฐภัทร อินทรเสนีย์ ครูผู้ช่วย กรรมการ
8. นายอาวุธ จันทร์เมือง รองผู้อำนวยการโรงเรียน กรรมการ/เลขานุการ
9. นางจันทร์นิพา ขวยไพบูลย์ ครู คศ.๓ กรรมการ/ผู้ชว่ ยเลขานุการ
10. นางสาววันวิสาข์ สืบ ครู คศ.๑ กรรมการ/ผู้ชว่ ยเลขานุการ

You might also like