You are on page 1of 28

Previously: Topic 1 Overview of technology management &

Topic 2 Digital transformation and innovative organization culture

1 2 3

4 5
Last week: Topic 3 Technology management activities

การพยากรณเทคโนโลยี

การประเมินเทคโนโลยี

การถายโอนเทคโนโลยี

การดูดซับเทคโนโลยี

อื่น ๆ (เชน การจัดการทีม R&D, สราง/ซื้อเทคโนโลยี,


การรวมลงทุน เปนตน) ซึ่งจะอธิบายในสัปดาหตอไป
Last week: Topic 3 Technology management activities
การพยากรณเทคโนโลยี การประเมินเทคโนโลยี การถายโอนเทคโนโลยี

การดูดซับเทคโนโลยี

อื่น ๆ (เชน การจัดการทีม R&D, สราง/ซื้อเทคโนโลยี, การรวมลงทุน เปนตน) ซึ่งจะ


อธิบายในสัปดาหตอไป
Topic 4
แนวทางการสงเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Approaches for the
promotion of technology and innovation)
บทนํา
• ในรายงาน Global Innovation 1000 ของปค.ศ. 2018 จัดทําโดยบริษัท Price waterhouse Coopers
(PwC) ระบุวาประเทศที่ประสบความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจมีลักษณะรวมกันประการหนึ่ง คือ มีการ
ลงทุนในการวิจัยและพัฒนาในระดับสูงและตอเนื่อง โดยกลุมประเทศที่มีรายไดสูงจะมีสัดสวนคาใชจายดานการ
วิจัยและพัฒนาตอ GDP อยูที่ 2.5%-3.0% ในขณะที่กลุมประเทศรายไดปานกลาง มีสัดสวนดังกลาวต่ํากวา
2.0%
• ในขณะที่ภาครัฐบาลและภาคการศึกษาในแตละประเทศมีสัดสวนการลงทุนในการวิจัยและพัฒนาตอ GDP มาก
นอยแตกตางกันไป ในภาคเอกชนโดยเฉพาะองคกรขนาดใหญระดับโลกตางก็ใหความสําคัญกับการพัฒนา
เทคโนโลยีและการสรางนวัตกรรมกันมากขึ้นเพื่อสรางขอไดเปรียบทางการแขงขัน
บทนํา (ตอ)
• อยางไรก็ตาม หลายองคกรมีทรัพยากรที่จํากัดหรือมีกระบวนการทํางานในองคกรที่ไมเอื้ออํานวยตอการพัฒนา
นวัตกรรมใหไดอยางรวดเร็ว หลายองคกรพยายามหาแนวทางตาง ๆ ในการสงเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรม
โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑหรือบริการใหตรงกับความตองการของตลาดมากที่สุด
ไดเปรียบหรือแตกตางจากคูแขง สรางผลตอบแทนที่คุมคา และรวดเร็วพอที่จะทันตอการเปลี่ยนแปลงของ
ตลาดได
• ในบทนี้ จะนําเสนอ 4 แนวทางสําคัญในการสงเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่องคกรระดับโลกนิยมใชเพื่อ
วัตถุประสงคดังกลาว ไมวาจะเปนการแยกหนวยธุรกิจยอย (Spin-off) การจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร
(Corporate Venture Capital หรือ CVC) การใชกลยุทธนวัตกรรมเปด (Open Innovation) และ
แพลตฟอรมการระดมทุน (Crowdfunding platform)
แนวทางที่ 1 Spin-off
การแยกหนวยธุรกิจยอย (Spin-off)
• ธีรยุส วัฒนาศุภโชค (2547) ไดนิยามกลยุทธการแยกหนวยธุรกิจยอย (Spin-off) ไววา “การที่กิจการมีการแยกหนวย
ธุรกิจยอยออกมาจากองคการหลักของตน และใหมีการดําเนินการในรูปแบบของบริษัทอิสระโดยบริษทั แมยังคงถือหุน
เปนสัดสวนใหญในธุรกิจ ไมไดมีการเปลีย่ นผูเปนเจาของ”
• ดังนั้น การแยกหนวยธุรกิจยอยไมใชการขายธุรกิจออกไป แตเปนเพียงการแยกหนวยธุรกิจออกมาใหมีขนาดเล็กลง มี
อํานาจในการบริหารและดําเนินงานเองเพื่อใหกระชับและรวดเร็วมากขึ้น นอกจากนี้ทําใหกิจการขนาดใหญยังคง
สามารถมุงเนนธุรกิจทีต่ นเองถนัดไดอยูและไมถูกเบี่ยงเบนความสนใจไปกับธุรกิจที่ตวั เองไมถนัด
• ตัวอยาง แพลตฟอรมสําหรับซื้อขายสินคาออนไลน eBay ไดแยกเอาหนวยธุรกิจ PayPal ออกมาเพื่อทําหนาทีเ่ ปน
ตัวกลางรับ-สงเงินออนไลนจากผูใชงานโดยเฉพาะ
• ตัวอยาง Agilent Technologies บริษัทผูนําดานเทคโนโลยีดานการสือ่ สาร, อิเล็กทรอนิกส, ชีววิทยาและการวิเคราะห
ทางเคมี ไดแยกเอาหนวยธุรกิจ Hewlett-Packard ออกมาเพื่อทําหนาทีเ่ ปนบริษัทผูผลิตเทคโนโลยีสารสนเทศ
โดยเฉพาะ
• ตัวอยาง IBM ที่มีธุรกิจดัง้ เดิมคือการใหบริการลูกคาดานฮารดแวรและระบบโครงสรางพื้นฐานไอที ไดแยกหนวยธุรกิจ
สวนที่สองออกมาเพื่อทําหนาที่ขับเคลื่อนเทคโนโลยีใหม เชน การใหบริการ Hybrid Cloud ปญญาประดิษฐ และการ
ทําดิจิทัลทรานสฟอรเมชั่น
ทําไมองคกรตัดสินใจแยกหนวยธุรกิจยอย
ตองหทัย กุวานนท (2564) ระบุวาองคกรตัดสินใจแยกหนวยธุรกิจยอยเนื่องดวยเหตุผลสําคัญ 3 ประการ
ดังตอไปนี้
ประการที่ 1 องคกรใหญหรือบริษัทแมมีโครงสรางองคกรและลําดับขั้นของการดําเนินงานที่ซับซอนเกินไปของทํา
ใหพัฒนาธุรกิจใหมไมทัน หนวยธุรกิจเดิมที่ยังสรางรายไดหลักหลอเลี้ยงองคกร มีแนวโนมชะลอตัวแตกลับใช
ทรัพยากรขององคกรมากขึ้นเรื่อย ๆ ทําใหไมสามารถใหความสําคัญกับธุรกิจที่มีแนวโนมดีไดมากพอ การแยก
หนวยธุรกิจยอยออกมาจะทําใหการบริหารจัดการทรัพยากรมีประสิทธิภาพขึ้นและผูบริหารสามารถตัดสินใจทาง
ธุรกิจไดตรงจุดมากขึ้น
ทําไมองคกรตัดสินใจแยกหนวยธุรกิจยอย
ประการที่ 2 องคกรไดรับแรงกดดันจากผูถือหุน กลาวคือเมื่อผลประโยชนของผูถือหุนลดลง ผูถือหุนจะบีบบังคับ
ใหองคกรจําเปนตองปรับเปลี่ยนโครงสรางธุรกิจเพื่อใหเกิดการเติบโตในระยะใหม

ประการที่ 3 เมื่อธุรกิจหลักขององคกรเริ่มเขาสูจุดอิ่มตัวหรืออยูในระยะเติบโตเต็มที่ของวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ
เมื่อบริษัทแมตองการลงทุนในธุรกิจใหมก็จะเจอกับขอจํากัดวาบริษัทแมยังตองใชเงินลงทุนเพื่อการรักษาหรือ
ประคับประคองธุรกิจเดิม ดังนั้น การแยกหนวยธุรกิจยอยตัวใหมออกมาจะทําใหการตัดสินใจลงทุนมีความ
คลองตัวมากขึ้น
ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจแยกหนวยธุรกิจยอย
องคกรที่จะตัดสินใจแยกหนวยธุรกิจยอยจําเปนตองพิจารณาปจจัย 4 ขอดังตอไปนี้
1.ปจจัยดานเทคโนโลยีหรือการวิจัยทางวิทยาศาสตร องคกรตองประเมินกอนวาศักยภาพทางดานเทคโนโลยี
หรือการวิจัยทางวิทยาศาสตรของหนวยธุรกิจยอยที่จะแยกออกไปนั้นเพียงพอและเหมาะสมกับการตอยอดไปสู
การพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑหรือบริการไดหรือไม
2. ปจจัยดานตลาด องคกรจําเปนตองศึกษาตลาดหรือทําการวิจัยตลาดกอนวาหนวยธุรกิจยอยที่จะแยกออกไป
นั้นจะตองแขงขันกับผูเลนหลัก (Incumbants) และ ผูเลนหนาใหม (New Entrants) ในตลาดรายใดบาง และจะ
มีศักยภาพสูงพอที่จะแขงขันไดหรือไม จะมีอุปสรรคใดบางเมื่อหนวยธุรกิจยอยเขาสูตลาดและกลายเปนผูเลนหนา
ใหมแลว และหนวยธุรกิจยอยจะสรางความเติบโตในตลาดไดอยางยั่งยืนในอนาคตไดหรือไม อยางไร
ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจแยกหนวยธุรกิจยอย (ตอ)
3. ศักยภาพในการปกปองนวัตกรรม (Appropriability) ไมวาจะเปนความสามารถของหนวยธุรกิจยอยในการ
จดสิทธิบัตร การออกใบอนุญาต การจดลิขสิทธิ์ การรักษาความลับทางการคา รวมไปถึงความสามารถของหนวย
ธุรกิจยอยในการพัฒนา ปรับปรุงและสรางผลิตภัณฑ / บริการใหม ๆ ใหเร็วกวา มีประสิทธิภาพมากกวา และโดด
เดนกวาคูแขงได (Stalk and Hout, 1990)
4. ความเชื่อมตอยึดโยงกันระหวางบริษัทแมกับหนวยธุรกิจยอย (Alignment) องคกรตองมีแนวทางหรือ
มาตรการตาง ๆเพื่อใหแนใจวาหนวยธุรกิจยอยที่จะแยกออกไปนั้นมีวัฒนธรรมองคกร วิสัยทัศน ภารกิจ
วัตถุประสงค และขั้นตอนการดําเนินงานที่เชื่อมตอยึดโยง (Alignment) กับของบริษัทแม และบริษัทแมยังคงมี
อํานาจควบคุมคุณภาพของหนวยธุรกิจยอยไดในระดับที่เหมาะสม ไมมากเกินไปจนหนวยธุรกิจยอยไมมีอิสระใน
การตัดสินใจหรือทํางานลาชา และไมนอยเกินไปจนหนวยธุรกิจยอยตัดสินใจทําในสิ่งที่ขัดแยงกับทิศทางของ
องคกร
แนวทางที่ 2 การจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร (Corporate Venture Capital
หรือ CVC)
แนวทางที่ 2 การจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร (Corporate Venture
Capital หรือ CVC)
การจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร (Corporate Venture Capital
หรือ CVC)
• ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดนิยาม Corporate Venture Capital (CVC) ไววา “เปนบริษัทในเครือของ
องคกรขนาดใหญ ที่กอตั้งขึ้นเพื่อบริหารกองทุนที่ไดรับจัดสรรจากบริษัทแม มุงเนนการลงทุนในสตารทอัพที่มี
นวัตกรรม เทคโนโลยี ที่จะชวยเพิ่มความแข็งแกรง สงเสริมกลยุทธ และความสามารถในการแขงขันของบริษัท
แมเปนหลัก ควบคูไปกับการสรางผลตอบแทนทางการเงินดวย”

แผนภาพ 13.1 โครงสรรางของเงินรวมลงทุนขององคกร


(ดัดแปลงจาก Ernst et al, 2005)
(ที่มา: https://www.fundingsage.com) Enrico Forti & Laura Tochi
– Department of Management University of Bologna)
การจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร (Corporate Venture Capital
หรือ CVC) (ตอ)
• Henry Chesbrough (2002) ระบุวา การจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร มี 4 รูปแบบ แบงตาม
จุดประสงคของการลงทุน และความเชื่อมโยงกับความสามารถในการดําเนินงาน ดังนี้
• จุดประสงคของการลงทุน โดยแบงเปนลงทุนเพื่อสงเสริมดานกลยุทธ กับลงทุนเพื่อสงเสริมดานการเงิน
• ความเชื่อมโยงกับความสามารถในการดําเนินงานของตัวองคกร โดยแบงเปนเชื่อมโยงเกี่ยวของมาก กับ
เชื่อมโยงเกี่ยวของนอย

แผนภาพ 13.2 รูปแบบของการจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร


(ที่มา: Chesbrough, H. W. 2002)
การจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร (Corporate Venture Capital
หรือ CVC) (ตอ)
จากแผนภาพที่ 13.2 การจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร (Corporate Venture Capital หรือ CVC) มีอยู 4 แนวทาง
ดังนี้
แนวทางที่ 1 Driving Investment เปนการลงทุนที่มุงเนนประโยชนทางดานกลยุทธเปนหลัก มีความเกี่ยวเนื่องกับ
ธุรกิจเดิมในระดับสูง เชน บริษัท Agilent Technologies ลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวของกับกลยุทธขององคกร 3 ประเภท
ไดแก วิทยาศาสตรชีวภาพ (Life Sciences), การติดตอสื่อสารไรสาย (Wireless Communications) และการ
สื่อสารทางแสง (Optical Communications) มีการแบงปนขอมูล หาโอกาสและอภิปรายโอกาสในการลงทุนรวมกัน
ระหวางสตารทอัพและองคกร ในกรณีนี้ Agilent ลงทุนในธุรกิจขนาดเล็กที่เกี่ยวของกับการทําอุปกรณที่ใชคลื่น
ความถี่แบบไรสาย (Wireless Radio-frequency Devices) โดย Agilent จะไดผลประโยชนจากการที่สตารทอัพที่
Agilent เขาไปลงทุนไดลองผิดลองถูกเรียบรอยแลว กรณีนี้คลายกับกรณีของ Microsoft ที่ลงทุนในสตารทอัพไปกวา
1 พันลานเหรียญสหรัฐกับการพัฒนาโครงขายการใหบริการทางอินเทอรเน็ต “.Net” ซึ่งจะชวยใหระบบปฏิบัติการ
Window สามารถใหบริการบนอินเทอรเน็ตในรูปแบบอื่น ๆ ที่หลากหลาย ทําให Microsoft ตั้งมาตรฐานการ
ใหบริการในรูปแบบใหมที่จะชวยใหไดเปรียบทางการแขงขัน การลงทุนในแนวทาง Driving เปนการตอยอดหรือ
พัฒนาการดําเนินงานขององคกรที่เปนในแนวทางเดียวกับกลยุทธที่องคกรกําหนดไว
การจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร (Corporate Venture Capital
หรือ CVC) (ตอ)
แนวทางที่ 2 Emergent Investment เปนการลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานหลักขององคกร
คอนขางสูง แตไมมุงเนนผลประโยชนเรื่องการตอยอดกลยุทธเดิมที่องคกรวางเอาไว แตหากเกิดผลกระทบจาก
ปจจัยสิ่งแวดลอมทางธุรกิจ หรือกลยุทธขององคกรมีการเปลี่ยนแปลง ธุรกิจใหมที่ลงทุนจะกลายเปนขอไดเปรียบ
ดานการแขงขันในเชิงกลยุทธ ซึ่งการลงทุนในลักษณะนี้ถือเปนตัวเลือกที่ชวยพลิกวิกฤตได โดยไมตองคํานึงถึง
ผลประโยชนทางการเงินมากนัก เชน เมื่อองคกรเห็นโอกาสของตลาดกลุมเปาหมายใหม การสํารวจตลาดและ
พฤติกรรมของกลุมเปาหมายใหมเปนสิ่งที่ทํายากและซับซอน เพราะองคกรยังมีภาระตองดูแลตลาดกลุมเปาหมาย
ปจจุบันของตนอยู การลงทุนในสตารทอัพที่เจาะกลุมตลาดเปาหมายใหมที่องคกรสนใจอยูเปนการชวยใหองคกร
เขาถึงกลุมเปาหมายใหมที่ไมเคยเขาถึงไดมากอนไดงายขึ้น
การจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร (Corporate Venture Capital
หรือ CVC) (ตอ)
แนวทางที่ 3 Enabling Investment เปนการลงทุนที่มุงเนนผลประโยชนทางดานกลยุทธเปนหลัก แตมีความ
เชื่อมโยงเกี่ยวของต่ํา หลักการของการลงทุนประเภทนี้คือ การทําใหองคกรที่ลงทุนไดรับประโยชน แตไมใช
ผลประโยชนที่มาจากการเกื้อกูลกันในแงของการดําเนินงานในกิจกรรมหลัก กลาวคือ เปนการใชแนวคิดของ
ผลิตภัณฑที่สงเสริมกัน (Complementarity) เชน การที่ผูบริโภคครอบครองผลิตภัณฑชนิดหนึ่ง แลวตองการจะ
ครอบครองผลิตภัณฑอีกประเภทหนึ่งตามมาดวย องคกรสามารถไดรับประโยชนจากหลักการนี้ผานการจัดตั้งเงินรวม
ลงทุนขององคกร เพื่อพัฒนาระบบนิเวศในหวงโซอุปทาน (Supply Chain) ไมวาจะเปนกระบวนการผลิต ผูคา
วัตถุดิบ (Suppliers) หรือลูกคา (Customers)
ตัวอยางเชน บริษัท Intel Capital ตระหนักถึงประโยชนที่จะไดจากการการสนับสนุนสตารทอัพที่พัฒนาสินคา
สงเสริมตัวผลิตภัณฑของ Intel ซึ่งจะสงผลใหความตองการ (Demand) ของผลิตภัณฑ Intel สูงขึ้นตามไปดวย
ดังนั้น Intel จึงลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวของกับ วีดีโอ ระบบเสียง และระบบกราฟฟกทั้ง Hardware และ Software ซึ่ง
การพัฒนาระบบภายในเครื่องคอมพิวเตอรตองอาศัยระบบประมวลผลที่มีศักยภาพสูงตามไปดวย จึงทําใหชิพ
ประมวลผลของ Intel มีความตองการสูงขึ้น
การจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร (Corporate Venture Capital
หรือ CVC) (ตอ)
แนวทางที่ 4 Passive Investment แนวทางนี้ สตารทอัพที่จะไดรับการสนับสนุนจะมีสวนเกี่ยวของกับการ
ดําเนินงานหลัก และกลยุทธขององคกรที่ลงทุนอยูนอยมาก เชน บริษัท Dell Ventures ที่เลือกลงทุนในธุรกิจที่มี
ความสัมพันธกับองคกรเทานั้น ซึ่งหากการลงทุนประสบผลสําเร็จจะสามารถชวยเพิ่มความตองการในคอมพิวเตอร
สวนบุคคลของ Dell ได แตทวา สวนแบงการตลาดของ Dell มีนอยเกินกวาที่จะสรางโอกาสนั้นได เมื่อการลงทุน
ประสบปญหา Dell จึงไมหลงเหลือผลประโยชนในแงของกลยุทธแตอยางใด ตางจากการลงทุนในรูปแบบ
Emergent ที่ยังหลงเหลือดานกลยุทธเพื่อมาชดเชยในสวนที่ขาดทุนทางดานการเงินได
การจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร (Corporate Venture Capital
หรือ CVC) (ตอ)
ขั้นตอนการการจัดตั้งเงินรวมลงทุน มีดังตอไปนี้
1. ระบุขอบเขตของงานแตละขั้นตอนในมุมกวาง
2. ระบุจุดประสงคของการลงทุน รวมไปถึงการระดมทุน
3. มองหาโอกาสและจุดแข็งของตัวธุรกิจที่จะลงทุน ตอยอดในการลงทุน
เพื่อเสริมจุดแข็งขององคกร
4. ประเมิน และตัดสินใจเลือกธุรกิจที่ดีที่สุด โดยพิจารณาที่ศักยภาพในการ
เติบโตและความสามารถในการทํากําไรของธุรกิจในอนาคต โครงสราง
สถานะทางการเงิน เปนตน

แผนภาพ 13.3 ขั้นตอนการจัดตั้งเงินรวมลงทุน


(ที่มา : Umeå School of Business, UMEÅ UNIVERSITY 2006)
การจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร (Corporate Venture Capital
หรือ CVC) (ตอ)
5. วางแผนกลยุทธการพัฒนา การบริหารทรัพยากรที่เกี่ยวของใหแข็งแกรงขึ้น เชน
การพัฒนากลยุทธ, การแตงตั้งคณะกรรมการบริหาร, สรรหาผูเชี่ยวชาญจาก
ภายนอกองคกร, รวมไปถึงการเขาถึงขอมูลหรือทรัพยากร หนวยงานที่เปนประโยชน
ตอการดําเนินธุรกิจ การจัดทําแผนการลงทุนในแตละสภาวะของการดําเนินงาน เปน
ตน
6. การประเมินสถานการณของธุรกิจที่บริษัทลงทุน เพื่อกําหนดยุทธศาสตรทางออก
(Exit strategies) เชน การ IPO, M&A, การเปนพันธมิตรทางธุรกิจ หรือแมกระทั่ง
การขายธุรกิจนั้น

แผนภาพ 13.3 ขั้นตอนการจัดตั้งเงินรวมลงทุน


(ที่มา : Umeå School of Business, UMEÅ UNIVERSITY 2006)
การจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร (Corporate Venture Capital
หรือ CVC) (ตอ)
• ตัวอยางเชน Johnson & Johnson กอตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร ชื่อวา Johnson &
Johnson Development Corporation (JJDC) เมื่อป ค.ศ. 1973 กลุมอุตสาหกรรมที่ JJDC
สนใจลงทุนมีอยู 4 กลุม ไดแก Consumer, Pharmaceuticals, Global Public Health และ
Medical Devices
• ธุรกิจที่ JJDC ลงทุนอาทิเชน Grail เปนสตารทอัพที่คิดคนวิธีตรวจโรคมะเร็งผานการตรวจเลือด
CVRx เปนสตารทอัพที่คิดคนวิธีรักษาโรคหัวใจลมเหลว ความดันโลหิตโดยการติดตั้งอุปกรณ
ทางการแพทยภายในรางกาย และ Fusion Pharmaceuticals เปนสตารทอัพที่คิดคนวิธีรักษา
โรคมะเร็งผานการฉายรังสี
การจัดตั้งเงินรวมลงทุนขององคกร (Corporate Venture Capital
หรือ CVC) (ตอ)
• ตัวอยางเชน Kellogg’s กอตั้งบริษัทเพื่อดําเนินการลงทุนแบบ CVC ในชื่อ Eighteen94
Capital เมื่อป ค.ศ.1894 โดยธุรกิจที่ Kellogg’s เขาไปรวมลงทุนนั้น ไดแก
• บริษัท CARGO เปนธุรกิจทีค่ ิดคน Platform เพื่อการจําหนายสินคาภายในรถโดยสารโดยเฉพาะรถ
แท็กซี่
• บริษัท Myco Technology เปนธุรกิจที่คิดคนวิจัยผลิตและสกัดสารโปรตีนจากเห็ด เพื่อนําเอามาใช
ประโยชนในอุตสาหกรรมตาง ๆ
• บริษัท Kuli Kuli เปนธุรกิจที่ผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑที่ทํามาจากมะรุม คํานึงถึง
การเกษตรแบบยั่งยืน ชวยเหลือชาวบานในประเทศไนเจอร ซึ่งเปนแหลงเพาะปลูกมะรุม
แนวทางที่ 3 นวัตกรรมเปด (Open innovation)
แนวทางที่ 3 นวัตกรรมเปด (Open innovation)
แนวทางที่ 3 นวัตกรรมเปด (Open innovation)
แนวทางที่ 4 แพลตฟอรมการระดมทุน (Crowdfunding platform)

You might also like