You are on page 1of 13

คณะกรรมการนักศึกษาฯ สมัยที่ 58

กฎหมายลิขสิทธิ์ สิทธิบตั ร เครื่องหมายการคา

ลักษณะทั่วไปของกฎหมายลิขสิทธิ์
1. ความหมายของกฎหมายลิขสิทธิ์
เปนไปตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 4
“ลิขสิทธิ์” หมายความวา สิทธิแตผูเดียวที่จะทําการใดๆ ตามพระราชบัญญัตินี้เกี่ยวกับงานที่ผูสรางสรรคไดทําขึ้น
สิทธิ ดังกลาวถือตามที่บัญญัติไวในมาตรา 15 คือ สิทธิแตผูเดียวที่จะทําซ้ําหรือดัดแปลง เผยแพรตอสาธารณชน ใหเชาตนฉบับ
หรือสํานางานโปรแกรมคอมพิวเตอรโสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร และสิ่งบันทึกเสียง ใหประโยชนอันเกิดจากลิขสิทธิ์แกผูอื่นใชสิทธิใน
ลิขสิทธิ์
***ลิขสิทธิ์แตกตางจากกรรมสิทธิ์ ดังนั้น ผูเปนเจาของกรรมสิทธิ์อาจจะไมใชผูเปนเจาของลิขสิทธิ์ก็ได
2. ลิขสิทธิ์เปนสิทธิที่ไมมีรูปราง = เปนสิทธิหวงกันของเจาของที่ไดรับความคุมครองตามกฎหมาย
3. การใหความคุมครองแกงานสรางสรรคอันมีลิขสิทธิ์เกิดขั้นทันที ที่สรางงานนั้นเสร็จหรือเปนการใหความคุมครองโดยอัตโนมัติ
(automatic protection) ไมมีแบบพิธีใดๆไมตองนํางานจดทะเบียนเพื่อใหเกิดลิขสิทธิ์

ประเภทของงานที่จะถือวามีลิขสิทธิ์
หลัก หากงานที่สรางสรรคขึ้นมา ไมสามารถจัดอยูในงานประเภทใดประเภทหนึ่งได งานนั้นยอมไมไดรับความคุมครองตามกฎหมาย
ลิขสิทธิ์
เวนแต จะไปเขาลักษณะของงานที่ไดรับความคุมครองตามกฎหมายอื่น เชน กฎหมายเครื่องหมายการคา, กฎหมายสิทธิบัตร
งานประเภทตางๆที่จะถือวามีลิขสิทธิ์คือ (มาตรา 6)
1. วรรณกรรม หมายถึง งานนิพนธที่ทําขึ้นทุกชนิด ไมวาจะแสดงออกมาโดยวิธีหรือรูปแบบใด เชน หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน
สิ่งพิมพ ปาฐกถา เทศนา คําปราศรัย สุนทรพจน และใหหมายความรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอรดวย (มาตรา 4) ดู บทเฉพาะกาลใน
มาตรา 78 แหง พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ดวย
“โปรแกรมคอมพิวเตอร” หมายถึง คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใดที่นําไปใชกับเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน
หรือเพื่อใหไดรับผลอยางหนึ่งอยางใด ทั้งนี้ไมวาจะเปนภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอรในลักษณะใด
2. งานนาฏกรรม
หมายความวา งานเกี่ยวกับการรํา เตน การทําทา หรือการแสดงที่ประกอบขึ้นเปนเรื่องราว และใหหมายความรวมถึงการแสดงโดย
วิธีใบดวย
หมายเหตุ - ตองเปนงานที่ประกอบขึ้นเปนเรื่องราวเทานั้น จึงจะไดรับความคุมครอง เชน
การเตนโขนในเรื่องรามเกียรติ์ # การเตนในดิสโกเธค
- “การแสดงที่ประกอบขึ้นเปนเรื่องราว” = การแสดงโดยสื่อความหมายเปน
เรื่องราว มิใชการแสดงละครหรือภาพยนตรตามบทบาท
3. ศิลปกรรม
หมายความวา งานอันมีลักษณะอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางดังตอไปนี้
(1) งานจิตรกรรม ไดแก งานสรางสรรครูปทรงที่ประกอบดวย เสน แสง สี หรือสิ่งอื่นอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกันลงบน
วัสดุอยางเดียวหรือหลายอยาง เชน การเขียนภาพ ภาพวาด
(2) งานประติมากรรม ไดแก งานสรางสรรครูปทรงที่เกี่ยวกับปริมาตรที่สัมผัสและจับตองได เชน การแกะสลักวัสดุเปนรูปตางๆ รูปปน
(3) งานภาพพิมพ ไดแก งานสรางสรรคภาพดวยกรรมวิธีทางการพิมพและหมายความรวมถึงแมพิมพหรือแบบพิมพที่ใชในการพิมพดวย


(4) งานสถาปตยกรรม ไดแก งานออกแบบอาคารหรือสิ่งปลูกสราง งานออกแบบตกแตงภายในหรือภายนอก ตลอดจนบริเวณของ
อาคารหรือสิ่งปลูกสรางหรือการสรางสรรคหุนจําลองของอาคารหรือสิ่งปลูกสรง
(5) งานภาพถาย ไดแก งานสรางสรรคภาพที่เกิดจากการใชเครื่องมือบันทึกภาพ เชน ใชกลองถายภาพหรือกรรมวิธีใดๆ ที่ทําใหเกิด
ภาพดวย
(6) งานภาพประเภทแผนที่ โครงสราง ภาพราง หรือรูปทรงสามมิติที่เกี่ยวกับภูมิศาสตร ภูมิประเทศหรือวิทยาศาสตร
(7) งานศิลปประยุกต ไดแก งานที่นําเอางานตาม (1) ถึง (6) อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกันไปใชประโยชนอยางอื่น
นอกเหนือจากการชื่นชมในคุณคาของงานดังกลาวนั้น เชน นําไปใชสอยนําไปตกแตงวัสดุหรือสิ่งของหรือนําไปใชเพื่อประโยชนทาง
การคา เชนนํางานจิตรกรรมที่มีลวดลายพิมพลงบนพรม
*** งานอันลิขสิทธิ์ทั้ง 7 ลักษณะนี้มีสาระสําคัญอยูที่ตองเปนงานสรางสรรค สวนจะมีคุณคาทางศิลปะหรือไมนั้น มิใชสาระสําคัญ
ทั้งนี้ใหหมายความรวมถึงภาพถายและแผนผังของงานดังกลาวดวย
4. ดนตรีกรรม
หมายความวา งานเกี่ยวกับเพลงที่แตงขึ้นเพื่อบรรเลงหรือขับรอง ไมวาจะมีทํานองและคํารองหรือมีทํานองอยางเดียว และให
หมายความรวมถึงโนตเพลงหรือแผนภูมิเพลงที่ไดแยกและเรียบเรียงเสียงประสานแลว
5. โสตทัศนวัสดุ
หมายความวา งานอันประกอบดวยลําดับของภาพโดยบนทึกลงในวัสดุไมวาจะมีลักษณะใด อันสามารถที่จะนํามาเลนซ้ําไดอีก
โดยใชเครื่องมือที่จําเปนสําหรับการใชวัสดุนั้นและใหหมายความรวมถึงเสียงประกอบนั้นดวยถามี
6. งานภาพยนตร
หมายความวา โสตทัศนวัสดุอันประกอบดวยลําดับภาพ ซึ่งสามารถนําออกฉายตอเนื่องไดอยางภาพยนตรหรือสามารถบันทึกลง
บนวัสดุอื่นเพื่อนําออกฉายตอเนื่องไดอยางภาพยนตร และใหหมายความรวมถึงเสียงประกอบภาพยนตรนั้นดวย ถามี
*** งานภาพยนตร ตองประกอบดวย
1. ลําดับภาพที่สามารถนําออกฉายไดตอเนื่อง หรือ
2. สามารถบันทึกลงบนวัสดุอื่นเพื่อออกฉายอยางตอเนื่องได
7. สิ่งบันทึกเสียง
หมายความวา งานอันประกอบดวยลําดับของเสียงดนตรี เสียงการแสดง หรือเสียงอื่น โดยบันทึกลงในวัสดุไมวาจะมีลักษณะ
ใดๆ อันสามารถที่จะนํามาเลนซ้ําไดอีกโดยใชเครื่องมือที่จําเปนสําหรับการใชวัสดุนั้น แตทั้งนี้มิใหหมายความรวมถึงเสียงประกอบ
ภาพยนตรหรือเสียงประกอบโสตทัศนวัสดุอยางอื่น
8. งานแพรเสียงแพรภาพ
หมายความวา งานที่นําออกสูสาธารณชนโดยการแพรเสียงทางวิทยุกระจายเสียงการแพรเสียง และหรือภาพทางวิทยุ
โทรทัศนโดยวิธีอื่นอันคลายคลึงกัน
9. งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร หรือแผนกศิลปะ
สิทธิขางเคียง ) มี 3 ประเภทคือ
1. สิทธิของนักแสดง
2. สิทธิของผูผลิตสิ่งบันทึกเสียง
3. สิทธิขององคกรแพรเสียงแพรภาพ
การไดมาซึ่งลิขสิทธิ์
การจะไดมาซึ่งความคุมครองตมกฎหมายลิขสิทธิ์ของงานทั้ง 9 ประเภทนั้น ตองเห็นงานที่ไดสรางสรรคขึ้นภายใตเงื่อนไข ดังนี้
เงื่อนไขของการไดมาซึ่งลิขสิทธิ์ มี
1. เงื่อนไขทั่วไป 2. เงื่อนไขเฉพาะ 3. เงื่อนไขที่สรางขึ้นโดยคําพิพากษาของศาล


1. เงื่อนไขทั่วไป
หลัก E , O
1) ตองเปนการแสดงออกซึ่งความคิด (Expression of idea) มิไดคุมครองความคิด
- เปนงานที่สรางสรรคตามที่บัญญัติไวในมาตรา6ซึ่งไดแสดงออกโดยวิธีหรือรูปแบบอยางหนึ่งอยางใด
- ลอกเลียนความคิดไมเปนการละเมิดลิขสิทธิ์
- ไมขยายคุมครองถึงวิธีการหรือเทคนิคที่ใชในการสรางงาน
2) งานทั้ง 9 ประเภทตองเกิดจากการริเริ่มสรางสรรคโดยตนเองของผูสรางสรรค (Originallty)

ขอสังเกต
- เกิดจากการริเริ่มขึ้นเองไมใชความคิดริเริ่มขึ้นเอง
- ไมเกิดจาการทําซ้ํา ลอกเลียน หรือดัดแปลงจากงานอันมีลิขสิทธิ์ของผูอื่นโดยไมไดรับอนุญาต (non-copying)
- งานอันมีลิขสิทธิ์จึงไมจําเปนตองงานใหม (novelly)
- คําวา “ ผูสรางสรรค ” = ผูทําหรือกอใหเกิดงานสรางสรรคอยางหนึ่งอยางใดที่เปนงานอันมีลิขสิทธิ์ตาม
พระราชบัญญัตินี้ดวยการริเริ่มของตนเอง โดยมิไดทําซ้ําหรือดัดแปลงจากอันมีลิขสิทธิ์ของผูอื่นโดยไมไดรับอนุญาต
- คําวา “ผูสรางสรรค” = ผูทําหรือกอใหเกิดงานสรางสรรคอยางใดอยางหนึ่งที่เปนงานอันมีลิขสิทธิ์ตาม
พระราชบัญญัตินี้ดวยการริเริ่มของตนเอง โดยมิไดทําซ้ําหรือดัดแปลงจากอันมีลิขสิทธิ์ของผูอื่นโดยไมไดรับอนุญาต
- งานสรางสรรคตองเปนงานที่เกิดจากความวิริยะอุตสาหะของผูสรางสรรคไดทุมเทสติปญญา กําลังความรู ความ
เชี่ยวชาญในการสรางงานนั้น

2. เงื่อนไขเฉพาะ
สัญชาติ + ดินแดน
หลัก หรือ
หลักกรณีที่ไมไดมีการโฆษณา + มีการโฆษณางานแลว

1) หลักสัญชาติ มาตรา 8 (1) ในกรณีที่ยังไมไดมีการโฆษณางาน ผูสรางสรรคตองเปนผูมีสัญชาติไทยหรืออยูในราชอาณาจักร


หรือเปนผูมีสัญชาติหรืออยูในประเทศที่เปนภาคีแหงอนุสัญญาวาดวยการคมครองลิขสิทธิ์ซึ่งประเทศไทยเปนภาคีอยูดวย ตลอดระยะเวลา
หรือเปนสวนใหญในการสรางสรรคงานนั้น
*** - ผูสรางสรรคอาจจะเปนไดทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล
- ภาคีอนุสัญญาเบอรนและขอตกลง (TRIP)
2) หลักดินแดน มาตรา 8 (2) ในกรณีที่มีการโฆษณางานแลว แยกเปน 3 กรณีคือ
(1) การโฆษณางานในครั้งแรกไดกระทําขึ้นในราชอาณาจักรหรือในประเทศที่เปนภาคี
(2) การโฆษณาครั้งแรกไดกระทํานอกราชอาณาจักรหรือในประเทศอื่นที่ไมเปนภาคี หากตอมา 30 วันนับแตวันที่ไดมีการ
โฆษณาครั้งแรกนอกราชอาณาจักร ไดมีการโฆษณางานดังกลาวในราชอาณาจักรหรือในประเทศที่เปนภาคี
(3) ผูสรางสรรคเปนผูมีลักษณะตามที่กําหนดไวในมาตรา8(1)ไมวาจะโฆษณาครั้งแรกที่ใด
[ การโฆษณาตามมาตรา 8 ซึ่งเปนเงื่อนไขของการไดมาซึ่งสิทธิ์มีความหมายเฉพาะตามมาตรา 4 ทําใหแตกตางจากการเผยแพร
ตอสาธารณชนตามมาตรา 15 (2)]
3. เงื่อนไขที่สรางขึ้นโดยคําพิพากษาของศาล
หลัก งานอันมีลิขสิทธิ์ตองเปนงานที่สรางขึ้นโดยชอบดวยกฎหมาย


บุคคลผูมีลิขสิทธิ์
หลัก โดยปกติ ลิขสิทธิ์ในงานที่สรางขึ้น จะเปนของผูสรางสรรคหรือผูสรางงานคนแรก
แต บางกรณีการไดมาซึ่งลิขสิทธือาจจะเปนของบุคคลอื่นที่มิใชผูสรางสรรคหรือผูสรางคนแรก คือ
1. นายจางตามสัญญาจางแรงนายจางตามสัญญาจางแรงงานอาจไดมาซึ่งลิขสิทธิ์ที่ลูกจางไดสรางสรรคขึ้นโดยทํา ความตกลงเปน
หนังสือกับลูกจาง (มาตรา 9)
2. ผูวาจางตามสัญญาจางทําของ
มารตรา 10 “งานที่ผูสรางสรรคไดสรางสรรคขึ้นโดยการรับจางบุคคลอื่นใหผูวาจางเปนผูมีลิขสิทธิ์ในงานนั้น เวนแต ผู
สรางสรรคและผูวาจางจะไดตกลงกันไวเปนอยางอื่น ”
3. ผูดัดแปลงงานอันมีลิขสิทธิ์ของผูอื่นโดยไดรับอนุญาต
มาตรา 11 บัญญัติใหการดัดแปลงงานอันมีลิขสิทธิ์โดยไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์ใหผูที่ดัดแปลงมีลิขสิทธิ์ในงานที่
ดัดแปลงนั้น แตไมกระทบถึงสิทธิของเจาของลิขสิทธิ์ที่มีอยูในงานสรางสรรคเดิม = สิทธิของเจาของลิขสิทธิ์ในงานเดิมมีอยูตามมาตรา 15
อยางไรสิทธินั้นก็คงมีอยูเชนเดิม มิลดลงเนื่องจากการดัดแปลง
4. ผูรวบรวมหรือประกอบเขากับงานอันมีลิขสิทธิ์หรือขอมูลหรือสิ่งอื่นใด
ตามหลักเกณฑที่มาตรา 12 ซึ่งผูนั้นไดรวบรวมหรือประกอบเขากันโดยไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์หรือนําเอาขอมูลหรือสิ่งอื่นใด
ตามที่กฎหมายบัญญัติมารวบรวมหรือประกอบเขากันโดยการคัดเลือกหรือจัดลําดับในลักษณะซึ่งมิไดลอกเลียนงานของบุคคลอื่น
*** งานรวบรวมหรือประกอบเขากันตามมาตรา 12 และงานดัดแปลงมาตรา 11 ผูสรางจะมีลิขสิทธิ์ในงานดังกลาวไดตองเปนตามเงื่อนไข
เฉพาะที่บัญญัติในมาตรา 8 ดวย
5. กระทรวง ทบวง กรม หรือหนวยงานอื่นใดของรัฐหรือของทองถิ่น
มาตรา 14 “ กระทรวง ทบวง กรม หรือหนวยงานอื่นใดของรัฐหรือของทองถิ่น ยอมมีลิขสิทธิ์ในงานที่ไดสรางสรรคขึ้นโดยการจาง
หรือตามคําสั่งหรือในความควบคุมของตน เวนแตจะไดตกลงกันเปนอยางอื่นเปนลายลักษณอักษร ”
นอกจากนั้นยังมีการไดลิขสิทธิ์โดยการรับโอนลิขสิทธิ์อีกดวย

ขอบเขตการคุมครองลิขสิทธิ์
พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ไดใหความคุมครองแกผูสรางสรรคหรือผูมีลิขสิทธิไ์ ว 2 ประการ คือ
1. สิทธิทางเศรษฐกิจ
2. สิทธิในธรรมสิทธิ์
สิทธิทางเศรษฐกิจ ถือเปนคาแหงลิขสิทธิ์ บัญญัติไวในมาตรา 15 โดยผูสรางสรรคหรือผูมีลิขสิทธิ์ยอมมีสิทธิแตผูเดียวในการ
(1) ทําซ้ําหรือดัดแปลง
(2) เผยแพรตอสาธารณชน
(3) การใหเชาตนฉบับหรือสําเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร และสิ่งบันทึกเสียง
(4) ใหประโยชนอันเกิดจากลิขสิทธิ์แกผูอื่น
(5) อนุญาตใหผูอื่นใชสิทธิตาม (1) (2) หรือ (3) โดยจะกําหนดเงื่อนไขอยางใดหรือไมก็ได แตเงื่อนไขดังกลาวจะกําหนดให
ลักษณะที่เปนการจํากัดการแขงขันโดยไมเปนธรรมไมได ฎีกา ที่ 8584/2542
สิทธิในธรรมสิทธิ์ (มุงคุมครองผูสรางสรรคโดยเฉพาะ)
เปนสิทธิใหแกผูสรางโดยมุงคุมครองชื่อเสียงและเกียรติคุณของผูสรางสรรคเพื่อมิใหบุคคลใดบิดเบือนหรือดัดแปลงงานจนกอใหเกิดความ
เสียหายตอชื่อเสียงของผูสรางสรรค (มาตรา 8 )


การกระทําอันเปนการละเมิดลิขสิทธิ์
ละเมิด บุคคลอื่นกระทําการใดๆ ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 15 โดยไมไดรับ อนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์
1. การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง ( มาตรา 27-30 ) ( ลิขสิทธิ์ชั้นตน ) เปนการกระทําอยางหนึ่งอยางใดแกงานอันมีลิขสิทธิ์ตามมาตรา
15 โดยไมไดรับอนุญาต
(1) ทําซ้ําหรือดัดแปลง
(2) เผยแพรตอสาธารณชน
(3) การใหเชาตนฉบับหรือสําเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร โสตทัศน ภาพยนตร และสิ่งบันทึกเสียง
2 . การละเมิดลิขสิทธิ์โดยออม ( ลิขสิทธิ์ชั้นรอง ) เปนการกระทําแกงานที่ไดทําขึ้น โดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอื่น = มาตรา 31

เปนการกระทําสืบเนื่องมาจากการละเมิดลิขสิทธิ์ชั้นตน
หลักเกณฑ
(1) ความรูหรือควรรูของผูกระทําวางานใดทําขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์หรือไม
(2) ความมุงหมายเพื่อหากําไรจากการกระทํานั้น
ขอยกเวนของการละเมิดลิขสิทธิ์
1. งานที่ไมไดรับความคุมครอง
2. งานที่สิ้นอายุการคุมครอง
3. งานอันไมอาจมีลิขสิทธิ์ได เชน ขาวประจําวัน ,รัฐธรรมนูญ ,กฎหมาย , ระเบียบ , ขอบังคับ ,ประกาศ , คําสั่ง , คําพิพากษา
4. มาตรา 32 - 43 เชน การกระทําเพื่อประโยชนในการศึกษามิใชหากําไร, การกระทําเพื่อใชงานสวนตัว, การกระทําเพื่อประโยชน
ของราชการ,การกระทําโดยไดรับรูความเปนเจาของลิขสิทธิ์ของผูอื่น
อายุแหงการคุมครองลิขสิทธิ์
หลักทั่วไป (มาตรา 19 ) อายุแหงการคุมครองลิขสิทธิ์สาํ หรับผูสรางสรรคซึ่งเปนบุคลธรรมดากําหนดไวตลอดอายุของผู
สรางสรรค และมีอยูตอไปอีกเปนเวลา 50 ป นับแตผูสรางสรรคงานถึงแกความตาย สวนกรณีผูสรางสรรคเปนนิติบุคคลใหลิขสิทธิ์มีอยู
50 ป นับแตไดสรางสรรคงานนั้นขึ้น และ กรณีผูสรางสรรครวมแหงการคุมครองลิขสิทธิ์จะมีอยูตลอดอายุของผูสรางสรรครวมและมีอยู
ตอไปอีกเปนเวลา 50 ป นับแตผูสรางสรรคคนสุดทายถึงแกความตาย และการนํางานอันมีลิขสิทธิ์ออกทําการโฆษณาภายหลังจากที่อายุ
แหงการคุมครองลิขสิทธิ์สิ้นสุดลงไมกอใหเกิดลิขสิทธิ์ในงานนั้นๆ ขึ้นใหม
การนับวันครบอายุแหงการคุมครองลิขสิทธิ์ (มาตรา 25 )

กฎหมายสิทธิบัตร ( patent )

กฎหมายสิทธิบัตรที่มีการแกไขลาสุด คือ พระราชบัญญัติสิทธิบัตร ( ฉบับที่ 3 ) 2542


สาระสําคัญ 4 ประการของกฎหมายสิทธิบัตร
1. สิ่งที่ไดรับความคุมครองตามกฎหมายสิทธิบัตร
2. การขอรับสิทธิบัตร
3. สิทธิและหนาที่ของผูทรงสิทธิบัตร
4. การกระทําที่เปนการละเมิดสิทธิบัตรและ ขอยกเวน
1) สิ่งที่ไดรับความคุมครองตามกฎหมายสิทธิบัตร
“ สิทธิบัตร ” หมายความวา หนังสือสําคัญที่ออกใหเพื่อคุมครองการประดิษฐหรือการออกแบบผลิตภัณฑตามที่กฎหมาย
กําหนด ดังนั้น กฎหมายสิทธิบัตรจึงคุมครอง
1. การประดิษฐ 2. การออกแบบผลิตภัณฑ 3. อนุสิทธิบัตร


สิทธิบัตรเปนสิทธิที่กอตั้งขึ้นจากหนังสือสําคัญ
1. การประดิษฐ ( inventions )
ตามมาตรา 3 แหง พ.ร.บ.สิทธิบัตร ไดใหความหมายวา “ การคิดคนหรือคิดทําขึ้นอันเปนผลใหไดมาซึ่งผลิตภัณฑหรือกรรมวิธีใดขึ้น
ใหม หรือการกระทําใดๆที่ทําใหดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑหรือกรรมวิธี
การประดิษฐ การใชความคิด ( คิดคน + คนพบ )
สิ่งประดิษฐ ผลที่เกิดขึ้นจากการประดิษฐ
การประดิษฐ สามารถแยกออกได 2 ประเภท คือ
1. ผลิตภัณฑ ( product )
2. กรรมวิธี ( process )
(1) ผลิตภัณฑ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ คือ
- ผลิตภัณฑ คือ การคิดคนสิ่งที่สามารถใชประโยชนได เปนสิ่งที่มนุษยไดผลิตขึ้นหรือทําใหเกิดขึ้น มีรูปรางหรือมีคุณสมบัติ
ทางกายภาพ
- คําวา ผลิตภัณฑ เปนผลที่ไดจากการประดิษฐ กฎหมายคุมครองลักษณะภายในของผลิตภัณฑ + ออกแบบผลิตภัณฑ ซึ่ง
คุมครองลักษณะภายนอก
- กฎหมายไมกําหนดประเภทของลิขสิทธิ์ ดังนั้น จะเปนอะไรก็ไดที่ไมตองหามตามมาตรา 9 และมีคุณสมบัติตามมาตรา 5
(2) กรรมวิธี
ถือเปนการประดิษฐในลักษณะที่เกี่ยวกับการกระทํา,วิธีการวาทําอยางไรจึงจะไดผลิตภัณฑทั้งนี้ มาตรา 3 ไดใหความหมาย
กรรมวิธีวา หมายถึง การคิดคนหรือคิดทําขึ้นในสวนที่เกี่ยวกับการกระทําหรือการปฎิบัติตอวัตถุตางๆ
กรรมวิธีในกฎหมายสิทธิบัตรมี 3 ลักษณะ คือ
1. กรรมวิธีการผลิต
2. กรรมวิธีในการรักษาคุณภาพหรือปรับปรุงคุณภาพหรือการเก็บรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ
3. การใชกรรมวิธี
*** - กรรมวิธีตองเกี่ยวกับผลิตภัณฑ ถากรรมวิธีที่ไมเกี่ยวกับผลิตภัณฑไมใชการประดิษฐ
- การจดทะเบียนสิทธิบัตรผลิตภัณฑใหความคุมครองมากกวากรรมวิธี

การออกแบบผลิตภัณฑ
การออกแบบ = เปนการใชความคิด การคิดคนหรือคิดทําขึ้น ( เปนการกระทําของมนุษย )
แบบผลิตภัณฑ = (ม. 3) หมายความวา รูปรางของผลิตภัณฑหรือองคประกอบของลวดลายหรือสีของผลิตภัณฑอันมีลักษณะพิเศษ
แบบผลิตภัณฑมี 2 ลักษณะ
1. รูปรางของผลิตภัณฑ
2. องคประกอบของลวดลายหรือสีของผลิตภัณฑ
สรุป การประดิษฐ = การคิดคนดวยผลิตภัณฑ เพื่อใหเกิดประโยชน
การออกแบบผลิตภัณฑ = มุงเนนที่รูปรางลักษณะองคประกอบภายนอก เพื่อดึงดูดความสนใจ
ลักษณะของการประดิษฐหรือการออกแบบผลิตภัณฑที่ขอรับสิทธิบัตรได
การประดิษฐที่ขอรับสิทธิบัตรได มีลักษณะ 4 ประการ คือ
1. เปนการประดิษฐขึ้นใหม (novelty) ( มาตรา 6 )
2. มีขั้นตอนการประดิษฐที่สูงขึ้น (inventive step) ( มาตรา 7 )
3. สามารถนํามาประยุกตในทางอุตสาหกรรมได ( มาตรา 8 )
4. ไมตองหามตามกฎหมาย ( มาตรา 9 )


1. การประดิษฐขึ้นใหม คือ การประดิษฐที่ไมใชงานที่ปรากฏอยูแลว
*** ไมคํานึงวาผูประดิษฐจะรูหรือไมวาสิ่งนั้นมีอยูแลว
งานใดบาง ? ที่ถือวาเปนงานที่ปรากฏอยูแลว ( มาตรา 6 วรรค 2 (1) – (5) )
(1) การประดิษฐที่มีหรือไมแพรหลายอยูแลวในราชอาณาจักรกอนวันขอรับสิทธิบัตร
หลัก - การประดิษฐใดที่แพรหลายแลวถือวาไมใหม
- ถาแพรหลายกอนวันขอรับสิทธิบัตรไมใหม
- สาธารณชนสามารถที่จะใชประโยชนหรือเขาถึงได
(2) การประดิษฐที่ไดรับการเปดเผยสาระสําคัญหรือรายละเอียดในเอกสารหรือสิ่งพิมพที่ไดเผยแพรอยูแลวไมวาในหรือนอก
ราชอาณาจักรกอนวันขอรับสิทธิบัตร
หลัก - มีขอยกเวนอยูในวรรคสุดทายของมาตรา 6
1. เปดเผยไมชอบ
2. เปดเผยโดยผูประดิษฐ
3. เปดเผยในงานแสดงตอสาธารณชน
(3) การประดิษฐที่ไดรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรแลวไมวาในหรือนอกราชอาณาจักรกอนวันขอรับสิทธิบัตร
(4) การประดิษฐที่มีผูขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรไวแลวนอกราชอาณาจักรเปนเวลาเกินกวา 18 เดือน กอนวันขอรับสิทธิบัตร
ในประเทศ
(5) กรณีที่มีการขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรไวแลวไมวาในหรือนอกราชอาณาจักรและไดประกาศโฆษณาแลวกอนวันขอรับ
สิทธิบัตรในราชอาณาจักร
*** หลักความใหมดูที่ขอเท็จจริง ไมดูเจตนา ไมดูความเขาใจ

2. เปนการประดิษฐที่มีชั้นการประดิษฐสูงขึ้น
หลัก มาตรา 7 การประดิษฐที่มีขึ้นการประดิษฐสูงขึ้น = การประดิษฐที่ไมเปนที่ประจักษโดยงาย + แกบุคคลที่มีความชํานาญใน
ระดับสามัญสําหรับงานประเภทนั้นเปนการประดิษฐที่มีพัฒนาการที่สูงขึ้น
ประจักษโดยงาย = สามารถทําใหเกิดขึ้นโดยงาย สามารถคิดคนโดยงาย
v
เนนที่การใชความสามารถ มิใช ความยุงยากในการประดิษฐ

สรุป หลักของการประดิษฐที่มีขั้นการประดิษฐที่สูงขึ้น คือ


1. ไมเนนที่การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางโครงสรางหรือองคประกอบ
2. ไมเนนวาสิ่งจะตางไปจากที่มีอยูแลวมากนอยเพียงใด
3. ใหความสําคัญที่มันทําใหเกิดผลมากหรือนอยหรือเปนที่คาดไดหรือไม เปนผลที่แตกตาง จากเดิมมาก (ไมธรรมดา)
4. ประสบความสําเร็จดานการคา
3. การประดิษฐที่สามารถประยุกตในทางอุตสาหกรรมได
หลัก มาตรา 8 บัญญัติวา การประดิษฐที่สามารถประยุกตในทางอุตสาหกรรมไดแก การประดิษฐที่สามารถนําไปใชประโยชน
ในการผลิตทางอุตสาหกรรม ทั้งหัตถกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรม
**** ตองไมใชเปนเพียงทฤษฎีหรือแนวคิด แตจะตองเปนสิ่งที่สามารถนําไปใชในทางปฏิบัติได และจะตองในทางเชิงพาณิชย +
อุตสาหกรรมดวย


4. ไมเปนการประดิษฐที่ตองหามตามกฎหมาย
หลัก มาตรา 9 บัญญัติถึงการประดิษฐที่ไมไดรับความคุมครองตามกฎหมายสิทธิบัตร
1. จุชีพและสวนประกอบสวนใดสวนหนึ่งของจุลชีพที่มีอยูตามธรรมชาติ สัตว พืช หรือสารสกัดจากสัตว หรือพืช
2. กฎเกณฑและทฤษฎีทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
3. ระบบขอมูลสําหรับการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร
4. วิธีการวินิจฉัย บําบัด หรือรักษาโรคมนุษยหรือสัตว
5. การประดิษฐที่ขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดี อนามัยและสวัสดิ์ภาพของประชาชน

การออกแบบผลิตภัณฑที่ขอรับสิทธิบัตรได
ยังไมเคยปรากฏมากอน
หลัก (มาตรา 56,57) 1. ตองออกแบบผลิตภัณฑใหม
2. เปนการออกแบบผลิตภัณฑเพื่อ แตกตางจากเดิม
อุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม เทานั้น
* การออกแบบผลิตภัณฑตอไปนี้ ไมถือเปนการออกแบบผลิตภัณฑใหม*
(1) แบบผลิตภัณฑที่มีหรือใชแพรหลายอยูแลวในราชอาณาจักรกอนวันขอรับสิทธิบัตร ( เหมือนมาตรา 6 (1) )
(2) แบบผลิตภัณฑที่ไดมีการเปดเผยภาพ สาระสําคัญ หรือรายละเอียดในเอกสารหรือสิ่งพิมพที่ไดเผยแพรอยูแลว ไมวาในหรือ
นอกราชอาณาจักรกอนวันขอรับสิทธิบัตร ( เหมือนมาตรา 6 (2) )
*** การเปดเผยการออกแบบไมมีขอยกเวน
(3) แบบผลิตภัณฑที่ไดมีการประกาศโฆษณาแลว กอนวันขอรับสิทธิบัตร
(4) แบบผลิตภัณฑที่คลายกับแบบผลิตภัณฑดังกลาวใน (1) หรือ (2) หรือ (3) จนเห็นไดวาเปนการเลียนแบบ

การขอรับสิทธิบัตร
สิทธิบัตร เปนสิทธิที่กอตั้งขึ้นจากการรับจดทะเบียน ทําใหถาไมจดทะเบียนก็ไมกอใหเกิดสิทธิบัตร จึงไมมีสิทธิใดๆทั้งสิ้น ดู
ตาม มาตรา 17 และ 59
สําคัญ คือ ขอถือสิทธิ เปนสวนที่แสดงถึงขอบเขตของสิทธิและหนาที่ของบุคคลผูทรงสิทธิบัตร

บุคคลผูมีสิทธิขอรับสิทธิบัตร
แบงออกเปน 3 กลุมบุคคล คือ
1. ผูประดิษฐหรือผูออกแบบผลิตภัณฑ ( มาตรา 10 , 15 )
ผูประดิษฐ คือ คนที่เปนเจาของความคิดที่ความคิดในการกอใหเกิดผลิตภัณฑหรือกรรมวิธีนั้นขึ้น
*** ผูประดิษฐ คนที่คิดไมใชคนที่ทํา
2. นายจางหรือผูวาจาง ( มาตรา 11 และ 12 )
จุดตางของลิขสิทธิ์ = สิทธิบัตรนายจางและผูวาจางเปนผูมีสิทธิขอรับบัตรทั้งที่ไมใชผูประดิษฐ
ดังนั้น ถาเปน ขอ 1. ตองไมเปน ขอ 2.
3. ผูรับโอนสิทธิขอรับสิทธิบัตร ซึ่งมี 2 ประเภท
( 1 ) รับโอนสิทธิโดยทางนิติกรรม
( 2 ) รับโอนโดยทางอื่น เชน รับมรดกโดยทายาทโดยธรรม
*** - ผูขอรับสิทธิบัตรตองมีคุณสมบัติตาม มาตรา 14 ดวย
- ถามีผูขอรับหลายคน ใครยื่นกอนไดกอน ( ดูวันที่ยื่นเปนเกณฑ )


สิทธิของผูทรงสิทธิบัตร
หลัก มาตรา 36 และ มาตรา 63
คือ สิทธิแตเพียงผูเดียว ในการแสวงหาประโยชนจากการประดิษฐหรือออก
แบบที่มีการจดทะเบียนสิทธิบัตรไว
สรุป มีสิทธิ ผลิต ใช ขาย และ นําเขา
ทําให ( มาตรา 85 ) ผูใดกระทําการตามมาตรา 36 หรือมาตรา 63 โดยไมไดรับอนุญาตจากผูทรงสิทธิบัตร ถือวาเปนการกระทํา
ความผิดอันเปนความผิดอาญาและเปนละเมิดในการเรียกใหใชคาเสียหาย
สวนการละเมิดสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑนั้น ถือตามหลักที่วา ผูใดก็ตามที่ไมใชผูทรงสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ ยอม
ไมมีสิทธิใชแบบผลิตภัณฑตามสิทธิบัตรหรือขายหรือมีไวขาย ซึ่งผลิตภัณฑดังกลาวได เวนแต เพื่อประโยชนในการศึกษาและวิจัย
ขอยกเวน การละเมิดสิทธิบัตรการประดิษฐ ( มาตรา 36 ว.2 ) ที่สําคัญ เชน
( 1 ) การผลิตผลิตภัณฑหรือใชกรรมวิธีตามสิทธิบัตร เพื่อประโยชนในการศึกษา คนควา ทดลองหรือวิจัย
( 2 ) กรณีที่เปนการใช การขยาย มีไวเพื่อขาย เสนอขาย หรือนําเขามาในราชอาณาจักรซึ่งผลิตภัณฑตามสิทธิบัตร หากผูทรง
สิทธิบัตรไดอนุญาตหรือยินยอมใหผลิตหรือขายผลิตภัณฑดังกลาวแลว

อายุสิทธิบัตร
1. อายุสิทธิบัตรการประดิษฐ มีอายุ 20 ป นับตั้งแตวันยื่นขอรับสิทธิบัตร
2. อนุสิทธิบัตรมีอายุ 6 ป นับตั้งแตวันขอรับสิทธิบัตร บวกครั้งละ 2 ป
3. สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑมีอายุ 10 ป นับตั้งแตวันขอสิทธิบัตรตออายุไมได

อนุสิทธิบัตร
หลัก 1. เปนการคุมครองการประดิษฐ ( ผลิตภัณฑและกรรมวิธี )
2. ตองเปนการประดิษฐที่ใหม + สามารถประยุกตในทางอุตสาหกรรมได (ไมตองมีขั้น การประดิษฐสูงขึ้น )

เครื่องหมายการคา (Trademark )
ตาม พ.ร.บ. เครื่องหมายการคา พ.ศ. 2534 แกไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.เครื่องหมายการคา (ฉบับที่ )พ.ศ. 2543
“เครื่องหมายการคา” หมายความวา เครื่องหมายที่ใชหรือจะใชเปนที่หมายเกี่ยวของกับสินคา เพื่อแสดงวาสินคาที่ใช
เครื่องหมายของเจาของเครื่องหมายการคานั้นแตกตางกับสินคาที่ใชเครื่องหมายการคาของบุคคลอื่น
ประเด็นศึกษาเกี่ยวกับเครื่องหมายการคา
1. ลักษณะทั่วไป
2. การไดมาซึ่งสิทธิในเครื่องหมายการคา
3. การละเมิดเครื่องหมายการคา

ลักษณะทั่วไป
- เพื่อคุมครองประโยชนและชื่อเสียงในทางการคา
- บงชี้วาสินคาเปนของใคร
- แยกแยะสินคาใหมีความตางในตัวเจาของ
*** หากสังเกตจากบทนิยามความหมายของเครื่องหมายการคาทําใหทราบวาเครื่องหมายการคาจะมีลักษณะ คือ


(1) เปนเครื่องหมาย ซึ่งหมายความวา “ ภาพถาย ภาพวาด ภาพประดิษฐ ตรา ชื่อ คํา ตัวหนังสือ ตัวเลข ลายมือชื่อ กลุม
ของสี (เพิ่มขึ้น) รูปรางหรือรูปทรงของวัตถุ เพิ่มขึ้นมา หรือสิ่งเหลานี้อยางหนึ่งอยางใดหรือหมายอยางรวมกัน ”
(2) ตองใชหรือจะใชเปนที่หมายหรือเกี่ยวของกับสินคา (รวมทั้งเครื่องหมายบริการดวย)
(3) เพื่อแสดงวาสินคานั้นเปนสินคาของเจาของเครื่องหมายการคา = แสดงใหรูวาเปนสินคาของใคร?
แตกตางจากคนอื่น ตองใชกับ สินคา

การไดมาซึ่งสิทธิในเครื่องหมายการคา
ประกอบดวย 2 ประการ คือ
1. โดยการจดทะเบียน + 2. โดยการใช
1. การไดสิทธิในเครื่องหมายการคาโดยการจดทะเบียน
ตามมาตรา 6 เครื่องหมายการคาอันพึงรับจดทะเบียนไดตองประกอยดวยลักษณะ ดังนี้
(1) เปนเครื่องหมายการคาที่มีลักษณะบงเฉพาะ
(2) เปนเครื่องหมายการคาที่ไมมีลักษณะตองหามตามพระราชบัญญัตินี้
(3) ไมเปนเครื่องหมายการคาที่เหมือนหรือคลายกับเครื่องหมายการคาที่บุคคลอื่นไดจดทะเบียนไวแลว
หลักกอนตั้งสิทธิ 1. บงเฉพาะ + 2. ไมตองหาม + ไมซ้ําใคร ซึ่งตองจดทะเบียน

เครื่องหมายการคาที่มีลักษณะบงเฉพาะ
มาตรา 7 “ลักษณะบงเฉพาะ” หมายความวา เครื่องหมายการคาอันมีลักษณะทําใหประชาชนหรือผูใชสินคานั้นทราบและ
เขาใจไดวาสินคาที่ใชเครื่องหมายนั้นแตกตางไปจากสินคาอื่น
หลัก อยูที่เกณฑการใช กลาวคือ เมื่อมีเครื่องหมายแลวไดใชหรือประสงคจะใชกับสินคาใดแลว ตองมีความแตกตางดวย ซึ่งมี
2 ประการ คือ
(1) ลักษณะบงเฉพาะในตัวเอง มีมาตั้งแตสรางเครื่องหมายนั้นมา
(2) ลักษณะบงเฉพาะที่เกิดขึ้นภายหลังดวยการใช
1. ลักษณะของเครื่องหมายการคาที่มีลักษณะบงเฉพาะ
มาตรา 7 วรรค 2 กําหนดใหถาเครื่องหมายการคาที่มีหรือประกอบไปดวยลักษณะอยางหนึ่งอยางใดอันเปนสาระสําคัญดังที่
ระบุใน (1) – (6) ใหถือวามีลักษณะบงเฉพาะ
1. ชื่อตัว ชื่อสกุลของบุคคลธรรมดา ที่ไมเปนชื่อสกุลตามความหมายอันเขาใจกันไดธรรมดา ชื่อนิติบุคคลหรือซึ่งในทางการคา
ซึ่งแสดงโดยลักษณะพิเศษ และไมเล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของสินคาโดยตรง
2. คําหรือขอความอันไมไดเล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของสินคานั้นโดยตรงและไมเปนชื่อทางภูมิศาสตรที่รัฐมนตรีประกาศ
กําหนด
3. กลุมของสีที่แสดงโดยลักษณะพิเศษ ตัวหนังสือ ตัวเลข หรือคําที่ประดิษฐขึ้น
4. ลายมือชื่อของผูขอจดทะเบียนหรือของเจาของเดิมของกิจกรรมผูขอจดทะเบียบหรือลายมื่อชื่อของบุคคลอื่นโดยไดรับอนุญาต
จากบุคคลนั้นแลว
5. ภาพของผูขอจดทะเบียนหรือของบุคคลอื่นโดยไดรับอนุญษตจากบุคคลนั้นแลว
6. ภาพที่ประดิษฐขึ้น
*** ในเรื่องลักษณะบงเฉพาะ หากไมมีลักษณะบงเฉพาะดังกลาว มีโอกาสทางเดียวที่จะจดทะเบียนได คือ เขาเหตุมาตรา 7
วรรคสุดทาย เทานั้น

๑๐
2. เปนเครื่องหมายการคาที่ไมมีลักษณะตองหามตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 8 บัญญัติวา เครื่องหมายการคาที่มีหรือประกอบดวยลักษณะอยางหนึ่งอยางใดดังระบุในมาตรา 8 (1)-8 (13) หามมิใหจด
ทะเบียน เชน ตราแผนดิน ธงชาติ เครื่องหมายที่ขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
สําคัญ มาตรา 8 (10) เครื่องหมายการคาที่เหมือนกับเครื่องหมายที่มีชื่อเสียงแพรหมายทั่วไปหรือคลายกับเครื่องหมายดังกลาวจน
อาจทําใหสาธารณชนสับสนหลงผิดในความเปนเจาของหรือแหลงกําเนิดของสินคา
3. เครื่องหมายการคานั้นตองไมเหมือนหรือคลายกับเครื่องหมายการคาของผูอื่นที่ไดจดทะเบียนแลว
การไดมาซึ่งสิทธิในเครื่องหมายการคาโดยการใช
เจาของเครื่องหมายการคาที่ไมจดทะเบียนอาจไดสิทธิมาโดยการใช = การนําเครื่องหมายการคาไปติดไวกับสินคาหรือไดมี
การโฆษณาโดยใชเครื่องหมายการคาใหเปนที่ประจักษแกสาธารณชน

ตารางเปรียบเทียบระหวางสิทธิของเจาของเครื่องหมายการคาจดทะเบียนและสิทธิของเจาของเครื่องหมายการคาไมจดทะเบียน

เจาของเครื่องหมายการคาจดทะเบียน เจาของเครื่องหมายการคาไมจดทะเบียน
1. สิทธิตาม ม. 44 1. สิทธิตาม ม. 46 วรรคแรก
- สิทธิแตผูเดียวในการที่จะใช - มาตรา 46 วรรคแรก
- เรียกรองคาเสียหาย -X
- ขอใหศาลหามจําเลยจดทะเบียนเครื่องหมาย - ขอใหศาลหามจําเลยใชเครื่องหมายการคาตอไป
การคา ไมได
- ใหจําเลยเก็บสินคาที่ใชเครื่องหมายการคา -X
2. สิทธิฟองคดีอาญา 2. สิทธิฟองคดีอาญา
1) ป.อ. มาตรา 272 (1), 273,274, 275 1) ป.อ. มาตรา 272 (1),272
2) พ.ร.บ. เครื่องหมายการคา ม. 108 109 110 2) X
3. สิทธิฟองใหเพิกถอนทะเบียนเครื่องหมายการคาตาม 3. 3
มาตรา 67 โดยอางวาตนมีสิทธิดีกวา
4. สิทธิที่จะใชเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียนไวทุกสี 4. มาตรา 38 วรรคสอง
( มาตรา 45 )
5. สิทธิขอเพิกถอนทะเบียนเครื่องหมายการคาเมื่อสิ่ง 5. 3
สามัญในการคาขาย ( มาตรา 66 )
6.สิทธิที่จะเรียกคาเสียหายฐานลวงขาย 6. 3

ขอสังเกต จากตารางเปรียบเทียบ
1. คําพิพากษาฎีกาที่284/2539 การจําหนายสินคาภายใตเครื่องหมายการคาที่ตนไมไดผลิตเองถือเปนการใชเครื่องหมายการคาแลว
2. ขอยกเวนของมาตรา 44 ตามมาตรา 27
3. คําพิพากษาฎีกาที่ 306-307/2505 ความผิดตามมาตรา 273 สําเร็จเมื่อปลอมเครื่องหมายการคา แมจะยังไมไดใชกับสินคา (
มาตรา 108 , ป.อ.มาตรา 273 )
4. คําพิพากษาฎีกาที่ 3799/2538 โจทกเปนเจาของเครื่องหมายการคาที่แทจริงและเคยใชเครื่องหมายการคากับสินคาในไทย
กอนที่จําเลยจะนําไปจดทะเบียนเครื่องหมายการคาและความสุจริตจําเลย วินิจฉัยวาไมจําเปนที่โจทกจะตองสงสินคาเขามาจําหนายหรือมี
ตัวแทนจําหนายในไทยกอน

๑๑
5. เรื่องการลวงขาย
เจาของเครื่องหมายการคา ( ฟองลวงขาย ) ผูอื่น

นําเครื่องหมายการคาจดทะเบียน สําหรับสินคาจําพวกหนึ่งไปใชกันสินคาตางจําพวกกับที่ไดจดทะเบียนไว
การจดทะเบียน
หลัก การจดทะเบียนเปนการกอตั้งสิทธิ ถือเปนสิทธิในทางนิเสธที่เราปฏิเสธสิทธิของผูอื่น = เมื่อจดทะเบียนแลวนอื่นไมมีสิทธิ
เลย ยกเวนไปฟองรองกัน Ex. คนที่เปนเจาของอยูกอนแลวมีสิทธิดีกวา
ดู มาตรา 9 จดทะเบียนตางจําพวกกันไมได , มาตรา 10 , มาตรา 29 ,30
ผลของการการจดทะเบียน
มาตรา 44 บุคคลผูใดไดจดทะเบียนเครื่องหมายการคาไว กฎหมายใหถือวาบุคคลนั้นเปนเจาของ มีสิทธิแตผูเดียวที่จะใช
เครื่องหมายการคานั้นกับสินคาของตน
การละเมิดสิทธิเครื่องหมายการคา
อางถึง มาตรา 44 สิทธิแตผูเดียวของเจาของเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียนละเมิด = บุคคลใดนําเครื่องหมายการคาของบุคคล
อื่น ( มาตรา 44 ) มาใชกับสินคาตนโดยไมชอบดวยกฎหมาย
การเยียวยา 1) พ.ร.บ. เครื่องหมายการคาฯ มาตรา 44 , มาตรา 46 เรื่องการลวงขาย
2) ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 271 , 272 , 273 , 274 , 275
3) ฟองละเมิดทางแพง
แยกลักษณะการละเมิด
1. เครื่องหมายการคาจดทะเบียน + สินคาจําพวกเดียวกัน
2. เครื่องหมายการคาจดทะเบียน + สินคาตางจําพวกหรือตางประเภทกัน
3. เครื่องหมายการคาที่ไมจดทะเบียน + สินคาจําพวกเดียวกันหรือตางจําพวกกัน
การโอนเครื่องหมายการคา มี 2 ประเภท
1. โอนเครื่องหมายการคาตามสัญญา ( หรือใหเปนเจาของรวม )
2. โอนทางมรดก
** ทั้ง 1 และ 2 ตองจดทะเบียน **
อายุเครื่องหมายการคา
หลัก ถาจดทะเบียนถูกตอง คุมครอง 1 ป นับแตวันที่จดทะเบียน
*** ตราบใดที่ตออายุ อายุการคุมครองยอมมีอยูอยางไมจํากัด
สรุป ถาจดทะเบียนแลวสามารถใชไดตลอดตราบที่ไดใชและตออายุ

การเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา
เพิกถอนโดยนายทะเบียนเครื่องหมายการคา ( เหตุรองขอ, ฝาฝน, เลิกตั้งสํานักงาน)
1) เจาของเครื่องหมายการคารองขอเพิกถอนเอง
2) เจาของเครื่องหมายการคาฝาฝนไมปฏิบัติตามเงื่อนไข หรือขอจํากัดที่นายทะเบียนกําหนดในการรับจดทะเบียนเครื่องหมายการคา
3) เจาของเครื่องหมายการการคาจดทะเบียนหรือตัวแทนเลิกตั้งสํานักงานหรือสถานที่ที่ไดจดทะเบียนไวในประเทศไทย

๑๒
เพิกถอนโดยคณะกรรมการเครื่องหมายการคา ( เหตุไมบง , ตองหาม, ขัดความสงบ,ใชไมสุจริต)
1) ผูมีสวนไดเสียหรือนายทะเบียนแสดงไดวาขณะที่จดทะเบียน เครื่องหมายการคานั้นไมมีลักษณะบงเฉพาะหรือมีลักษณะ
ตองหามตามมาตรา 61
2) เครื่องหมายการคามีลักษณะขัดตอความสงบเรียบรอย หรือเพราะเจาของเครื่องหมายการคานั้นมิไดตั้งใจโดยสุจริตที่จะใช
เครื่องหมายการคานั้นเลย
การเพิกถอนโดยสั่งศาล ( มีสิทธิดีกวา , สิ่งสามัญ )
1) ผูมีสวนไดเสียแสดงวามีเครื่องหมายการคาดีกวาผูที่ไดจดทะเบียนเปนเจาของเครื่องหมายการคา
2) ไดกลายเปนสิ่งที่ใชกันสามัญในทางการคาและสูญเสียความหมายของการเปนเครื่องหมายการคา
เครื่องหมายรวม
คือ เครื่องหมายการคาหรือเครื่องหมายบริการ เพียงแตวาเครื่องหมายรวมจะใชอยูในกลุมบุคคลที่ระบุชื่อจดทะเบียนไวใชรวมกัน
โดยผูเปนเจาของเครื่องหมายรวมไมตองทําสัญญาอนุญาตใหใชเครื่องหมายการคา บุคคลที่อยูในกลุมคือบุคคลที่ระบุชื่อและจดทะเบียนไว
รวมกัน

อัน “ ความรู ” นั้นเลิศประเสริฐสุด


เปรียบประดุจดังแควกระแสสินธุ
จะวิดวักตักมาเปนอาจินต
ไมรูสิ้นแหงขอดตลอดกาล

ลิขสิทธิ์คณะกรรมการเนติบัณฑิตฯ สมัยที่ 58
๑๓

You might also like