You are on page 1of 17

Pathumwan Academic Journal, Vol. 7, No.

19, May - August 2017: 15 - 31

การออกแบบและทดสอบสมรรถนะทางเทคนิคของเครื>องกําเนิดไฟฟ้ าแบบแม่ เหล็กถาวร


แบบสองโรเตอร์ สามสเตเตอร์ สําหรับกังหันนําK แบบไหลขวาง
Design and Performance Testing of Two rotors Three Stators Permanent Magnet
Generator for Cross Flow Turbine

อัศวเทพ สารปิ น1 วรจักร์ เมืองใจ2 และ ธีระศักดิZ สมศักดิZ2,*


1
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 52200
2
วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ 50300

Assawathep Sanpin1, Worrajak Muangjai2 and Teerasak Somsak2,*


1
Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Lanna, Chiangmai, 52200
2
College of Integrated Science and Technology,
Rajamangala University of Technology Lanna, Chiangmai, 50300

บทคัดย่ อ
การออกแบบและทดสอบเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าหมุนตามแนวแกนแบบแม่เหล็กถาวรชนิ ด 2 สเตเตอร์ 3
โรเตอร์ สําหรับกังหันนํMาแบบไหลขวางสําหรับแหล่งนํMาทีG มีหัวนํMาสุ ทธิ อยู่ในช่ วง 3-5 เมตร อัตราการไหล 7-20
ลิตรต่อวินาที ในพืMนทีG ทีGระบบสายส่ งปกติ เข้าไม่ถึงหรื อพืMนทีGห่างไกล ได้ออกแบบขนาดของเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ า
แบบแม่เหล็กถาวรทีG พิกดั 600 วัตต์ ทีG 500 รอบต่อนาที 3 เฟส 17 โวลท์ มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.3 เมตร
ประกอบด้วย สเตเตอร์ 2 ชุดและโรเตอร์ 3 ชุดโดยชุดเสเตเตอร์ ประกอบด้วยขดลวดสเตเตอร์ ขนาด 17 AWG
จํานวน 6 ขด ในแต่ละขดพันขดลวดจํานวน 140 รอบวางตามแนวรัศมีต่อขดลวดแบบอนุ กรมจํานวน 3 คู่ และ
หล่อทับด้วยเรซิG นสําหรับจับยึดกับโครงสร้าง สําหรับแผ่นโรเตอร์ ประกอบด้วย 3 ชุดโดยวางลักษณะสลับกับชุด
โรเตอร์ ให้ตาํ แหน่งของแม่เหล็กตัดแผ่นขดลวดทัMงสอง ข้างของสเตเตอร์ สําหรับแผ่นโรเตอร์ ตรงกลางระหว่าง
แผ่นสเตเตอร์ทาํ จากเหล็กแผ่นหนา 12 มิลลิเมตรและเซาะร่ องสําหรับวางแม่เหล็กถาวรโดยแม่เหล็กถาวรทีG เป็ น
ชนิดนิโอดิเมียมมีค่าความเข้มของสนามแม่เหล็ก 200 มิลลิเทสลา และทําการทดสอบสมรรถนะทางเทคนิ คภายใน
ห้องปฏิบ ตั ิการจากผลการทดสอบพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิ ดกับกําลังไฟฟ้ าทีG ผลิตได้ของเครืG องกําเนิ ด
ไฟฟ้ ากรณี 2 สเตเตอร์ 3 โรเตอร์ ทีGต่อขดลวดแบบสตาร์ และเดลต้าทุกความเร็ วรอบ ตัMงแต่ 200-600 รอบต่อนาที
นัMนเมืGอแรงบิ ดเพิGมสู งขึMนจะให้กาํ ลังไฟฟ้ าเพิGมขึM นเมืGอเที ยบกับเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบ 1 สเตเตอร์ 2 โรเตอร์
สําหรับประสิ ทธิ ภาพในการแปลงพลังงานกลเป็ นพลังงานไฟฟ้ าของเครืG องกําเนิ ดทีG การต่อทัMงสองแบบอยู่ในช่วง
30-50% ในส่ วนความสัมพันธ์ของกระแสและแรงดันทีGผลิตได้นM นั เป็ นประโยชน์สําหรับการออกแบบอุปกรณ์
Research Paper Received 4 March 2017
*Corresponding author Accepted 31 August 2017
อัศวเทพ สารปิ น วรจักร์ เมืองใจ และ ธีระศักดิZ สมศักดิZ / วารสารวิชาการปทุมวัน ปี ที> 7 ฉบับที> 19 พฤษภาคม - สิ งหาคม 2560

แปรผันพลังงานหรื อการออกแบบแบตเตอรีG ให้สามารถใช้งานได้ครอบคลุมทุกความเร็ วรอบหรื อแปรเปลีGยนของ


แหล่งนํMาทีGมีการปรับเปลีGยนตามฤดูกาล เครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าชนิ ดนีM สามารถนําไปประยุกต์ใช้กบั ระบบผลิตไฟฟ้ าทีG
ต้องการ ความเร็ วรอบตํGาเช่นกังหันลมได้

คําสําคัญ: เครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าหมุนตามแนวแกน, กังหันนํMา, แม่เหล็กถาวร, นิโอดิเมียม

Abstract
This project describes the development of a permanent magnet generator type 2 stators 3 rotors with
cross flow turbine at total head range 3-5 meter and 7-20 liter per second for remote area.
The generator had a rated power 600 Watt, 500 round per minute and 3 phase 17 Volt. The diameter has
0.3 meter with 2 stator and 3 rotors. The copper winding AWG 17 was used to make a form with
140 rounds per coil and 6 coils per stator. The resin has been applied to stator structure and neodymium
permanent magnet at 200 mT. The genertor has been tested under testrig in labolatory to find out the eletricle
parameters. The results found that the relation of torque and power generated of 2 stators 3 rotors permanet
magnet generator with internal coil wiring in star and delta with various speed 200 to 600 round per minute is
higher than the 1 stator 2 rotors. The conversion energy of mechanical power to electrical power is around
30-50% within rage of testing. In order to development the scheme of converter and battery management, this
experiment results in term of current and voltage is not only utilized for the devoloping converter to receive the
energy at various seasoning but also applied to the low speed source of energy application such as wind
generator.

Keywords: axial generator, hydro turbine, permanent magnet, neodymium

1. บทนํา
การผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานทดแทน ในพืMนทีG ซG ึ งอยู่นอกเขตบริ การของการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคในภาคเหนือ
ส่ วนใหญ่เป็ นชุ มชนชนบทบนพืMนทีG สูง ปั จจุบ นั ชุมชนส่ วนใหญ่มีระบบผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิ ตย์เป็ น
หลัก ข้อจํากัดของชุมชนบนพืMนทีGสูงคือลักษณะภูมิประเทศ และภูมิอากาศ ทีG ไม่เอืMอต่อการผลิตไฟฟ้ าด้วยพลังงาน
แสงอาทิตย์ เช่น แผงโซลาร์ เซลล์ถูกบังเงาจากภูเขาหรื อเมฆหมอก ประกอบกับการมีช่วงฤดูฝนทีGยาวนาน ปั ญหา
เหล่านีM ส่งผลต่อชัวG โมงการรับแสงของแผงเซลล์ทาํ ให้ปริ มาณการผลิตไฟฟ้ าไม่เพียงพอ พลังงานนํMาจึ งเป็ นแหล่ง
พลังงานทางเลือกอีกแหล่งหนึG งทีGควรนํามาพิจารณา เนืG องจากทรัพยากรนํMาบริ เวณชุมชนบนพืMนทีGสูงหลายแหล่งมี
ศักยภาพเพี ย งพอสํา หรั บ การติ ดตัMงเครืG อ งกําเนิ ดไฟฟ้ าขนาดจิm ว แต่ ในพืM นทีG มกั มี ค วามหลากหลายทางด้า นภูมิ
ประเทศ ศักยภาพของแหล่งนํMาก็เช่นเดียวกัน โดยทัวG ไปแหล่งนํMาทีG อยู่ใกล้กบั ชุมชนมีหัวนํMาสุ ทธิ ไม่สูงมากนัก อยู่

16
A. Sanpin, W. Muangjai and T. Somsak / Pathumwan Academic Journal, Vol. 7, No. 19, May - August 2017

ในช่วงประมาณ 3-5 เมตร อัตราการไหล 7-20 ลิตรต่อวินาที ดังนัMนกังหันนํMาทีG มีความเร็ วรอบไม่สูงมากจึ งเป็ น
ทางเลือกสําหรั บการนํามาใช้งาน เนืG องจากความเร็ วรอบของกังหันขึMนอยู่กบั หัวนํMาสุ ทธิ และเพืGอให้เหมาะสมกับ
การการผลิตไฟฟ้ า เครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าจึงต้องเป็ นเครืG องทีG อาศัยความเร็ วรอบทีG ตGาํ เพืGอลดการสู ญเสี ยทางกล เมืGอมี
การปรับหรื อเพิGมรอบของเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าด้วยเช่นกัน
การพัฒนาเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าหรื อไดนาโมได้ถูกประดิษฐ์ขM ีนโดยชาว ไมเคิล ฟาราเดย์ ในปี ค.ศ. 1821
ด้วยการใช้เส้นแรงแม่เหล็กตัดกับขดลวด เรี ยกกระแสไฟฟ้ าทีGเกิดขึMนว่า กระแสไฟฟ้ าเหนีG ยวนํา (Induced current)
โดยกระแสไฟฟ้ าเหนีG ยวนําจะเกิ ดก็ต่อเมืGอมี การเคลืG อนทีG ตดั กันของสนามแม่เหล็กกับ ขดลวดเท่ านัMน ถ้าหยุด
เคลืG อ นทีG กระแสไฟฟ้ าก็ ห ายไปและมี แ นวคิ ด ทีG จ ะให้กระแสไฟฟ้ าไหลอยู่ต ลอดเวลาจึ ง หมุ นขดลวดตัด กับ
สนามแม่เหล็กตลอดเวลาเกิดสิG งประดิษฐ์ทีGเรี ยกว่าไดนาโมหรื อเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าในเวลาต่อมา [1] ด้วยหลักการ
นีM ทางคณะทํางานได้ ได้ออกแบบสร้างเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบ Permanent Magnet Generator (PMG) โดยเครืG อง
กําเนิ ดไฟฟ้ าแม่เหล็กถาวร (Permanent magnet Generator) มีอยู่ 2 แบบด้วยกันคือ เครืG องกําเนิดไฟฟ้ าชนิ ดแม่เหล็ก
ถาวรตามแนวแกน (Axial flux Generator) และ เครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแม่เหล็กถาวรตามแนวรัศมี (Radius flux
Generator ) [3-7] โดยแล้วเครืG องกําเนิ ดทัMง 2 ชนิ ดนีM ถูกพัฒนา มานานมากกว่า 150 ปี แล้ว แต่ในทีGนM ี จะกล่าวถึง
เครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าชนิ ดแม่เหล็กถาวรตามแนวแกน (Axial flux Generator) ซึG งส่ วนใหญ่จะถูกนํามาใช้ เป็ นเครืG อง
กําเนิ ดไฟฟ้ าขนาดเล็ก (Micro Generator) เนืG องมาจากเครืG องกําเนิ ดชนิ ดนีM ถ้าเป็ นเครืG องกําเนิ ดขนาดใหญ่จะถูก
จํากัดด้วยในเรืG องของโครงสร้างทีGยงุ่ ยากและมีปัญหาในด้านความร้อนเกิดขึMนกระจายขดลวดอาเมเจอร์ (Armature
Windings) [8-10] และอีกประเด็นถ้าทําเป็ นขนาดเล็กแล้ว เครืG องกําเนิ ดชนิ ดนีM จะสร้างขึMนได้ง่ายมีประสิ ทธิ ภาพ
พอเหมาะกับการใช้งานในการผลิตพลังงานไฟฟ้ าในพืMนทีGห่างไกลทีG ไม่มีไฟฟ้ าใช้ทีGมีอยู่เป็ นจํานวนมากเนืGองจาก
อยู่ในพืMนทีG ทีGเป็ นภูเขา และเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าชนิ ดนีM ยงั สามารถประยุกต์ใช้เป็ นเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าพลังงานนํMา
ขนาดเล็กได้ ส่ วนใหญ่ในปั จจุบ ันมี การสร้ างเครืG องกําเนิ ดชนิ ดนีM เพืG อ นําเอากระแสไฟฟ้ าไปประจุ เก็บ ไว้ใน
แบตเตอรีG และยังเป็ นทีGนิยมใช้งานสําหรับระบบกังหันลม [11-13]
ดังนัMนในงานวิจยั นีMจึงมีความสนใจทีGจะพัฒนาเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าชนิ ดแม่เหล็กถาวรตามแนวแกน (Axial
flux Generator) พัฒนาโดยการเพิG ม โรเตอร์ และ สเตเตอร์ จากเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบแม่เ หล็กถาวรชนิ ด 1
สเตเตอร์ 2 โรเตอร์ และเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบแม่เหล็กถาวรชนิ ด 2 สเตเตอร์ 3 โรเตอร์ โดยทําการทดสอบ
ประสิ ทธิ ภาพของเครืG องกําเนิดไฟฟ้ าทางไฟฟ้ าสําหรับการการประยุกต์ใช้งานแหล่งนํMาทีGมีหวั นํMาสุ ทธิ อยู่ในช่วง 1-
3 เมตร และมี อัตราการไหลประมาณ 10 – 20 ลิตร/วินาที ทีGเหมาะสมกับกังหันนํMาแบบไหลขวางในพืMนทีGห่างไกล

2. การออกแบบเครื>องกําเนิดไฟฟ้ าแบบแม่ เหล็กถาวรแบบหมุนตามแนวแกน


ในส่ วนนีMจะกล่าวถึงเรืG องการคํานวณการออกแบบเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบแม่เหล็กถาวรชนิ ด 3 โรเตอร์ 2
สเตเตอร์ ขัMนตอนการดําเนิ นในการสร้ างเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ า การออกแบบส่ วนทีGเคลืGอนทีG การออกแบบส่ วนทีG อยู่
กับทีGและ การสร้างโครงสําหรับจับยึดเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าสําหรับการทดลองในห้องปฏิบตั ิการ

17
อัศวเทพ สารปิ น วรจักร์ เมืองใจ และ ธีระศักดิZ สมศักดิZ / วารสารวิชาการปทุมวัน ปี ที> 7 ฉบับที> 19 พฤษภาคม - สิ งหาคม 2560

2.1 การออกแบบเครื>องกําเนิดทางไฟฟ้ า
2.1.1 แรงเคลืGอนไฟฟ้ าเหนีGยวนํา
การเปลีG ยนแปลงสนามแม่เ หล็กตามเวลาหรื อสนามแม่เหล็กไดนามิ กส์ หมายถึ งการตัด ผ่านระหว่า ง
แม่เหล็กและตัวนําทีG ความเร็ วหนึG งย่อมทําให้เกิ ดแรงเคลืGอนไฟฟ้ าเหนีG ยวนํา Electromotive Force ( emf ) เป็ น
โวลท์ แรงเคลืGอนไฟฟ้ าเหนีG ยวนําก็คือแหล่งทีGทาํ ให้เกิดกระแสไฟฟ้ า โดยสามารถหาได้จากสมการดังต่อไปนีM
(1)

emf = −
dt

เมืGอตัวนําดังกล่าวมี N รอบ จะได้สมการของ emf ใหม่ดงั นีM


(2)

emf = − N
dt

เมืGอ dφ = ฟลักซ์แม่เหล็กทีGเปลีGยนแปลง
dt = เวลาทีG ใช้ในการเปลีGยนแปลง ฟลักซ์แม่เหล็ก
N = จํานวนรอบของขดลวด
จากสมการกําหนดให้มีค่าเป็ นลบ หมายความว่า emf ทีG เกิ ดขึM นได้สร้ างสนามแม่เหล็กใหม่ มี ทิศทาง
ตรงกันข้ามกับทิศทางของสนามแม่เหล็กเดิมทีGทาํ ให้สนามแม่เหล็กในวงจรลดลง

รู ปทีG 1 แรงเคลืGอนไฟฟ้ าเหนีG ยวนําจากการเคลืGอนตัวนําตัดฟลักซ์แม่เหล็ก

จากรู ปทีG 1 เมืGอเคลืGอนตัวนําไปทางขวา ฟลักซ์แม่เหล็กทีGพุ่งผ่านเส้นลวด คือ


(3)
φ = AB = (lx)B

18
A. Sanpin, W. Muangjai and T. Somsak / Pathumwan Academic Journal, Vol. 7, No. 19, May - August 2017

จาก e = − dφ = − Bldx = − Blvdt


dt dt dt
(4)
e = −Blv

เมืGอ e คือ แรงเคลืGอนไฟฟ้ าเหนีG ยวนํา (V)


B คือความหนาแน่ นของสนามแม่เหล็ก (Wb/m )
2

v คือ ความเร็ ว(m/s)


l คือ ความยาวของขดลวดตัวนํา (m)
กรณี นM ี เป็ นกรณี ทีG ลวดตัว นําเคลืG อ นทีG ตM งั ฉากกับ สนามแม่ เ หล็ก หากลวดตัว นํา เคลืG อ นทีG โ ดยมี ทิ ศ การ
เคลืGอนทีGทาํ มุม θ ใดๆ กับทิศสนามแม่เหล็ก แรงเคลืGอนไ ฟฟ้ าเหนีG ยวนําสามารถแสดงได้ดงั สมการทีG 5
(5)
e = − Blv sin θ

เมืGอ θ คื อ มุมระหว่างทิศทางและความเร็ วทีG ทาํ กับทิ ศของสนามแม่เหล็กแรงเคลืGอนไฟฟ้ าเหนีG ยวนํานีM ทาํ ให้เกิด
การไหลของกระแสไฟฟ้ า ( I ) ขึMนในวงจร สามารถแสดงได้ดงั สมการทีG 6
(6)
e Blv
I= =
R R

เมืGอ คือ ความต้านทานของขดลวด


R
เมืG อ เกิ ดกระแสไฟฟ้ าเหนีG ย วนํา ในเส้ นลวดทําให้เกิ ดแรงต้านเกิ ดขึM น ในตัวนํา กระทํา ต่ อ ขดลวด มี ทิ ศ
ทางตรงข้ามกับการเคลืGอนทีGของลวดตัวนํา แรงนีM สามารถแสดงได้ดงั สมการทีG 7
2 2
(7)
Bl v
F = IlB =
R

เมืGอแรงบิดทีGเกิดขึMนในตัวนํา สามารถแสดงได้ดงั สมการทีG 8


(8)
τ = BIlr

ค่ากระแสไฟฟ้ าทีGตอ้ งการนําไปใช้งาน สามารถแสดงได้ดงั สมการทีG 9


(9)
τ
I=
Blr

เมืGอ τ คือ แรงบิด (N-m)


I คือ กระแสไฟฟ้ าทีG เกิดในขดลวดตัวนํา (A)
r คือ รัศมีของรู ปทรงกระบอก (m)

19
อัศวเทพ สารปิ น วรจักร์ เมืองใจ และ ธีระศักดิZ สมศักดิZ / วารสารวิชาการปทุมวัน ปี ที> 7 ฉบับที> 19 พฤษภาคม - สิ งหาคม 2560

2.1.2 การคํานวณหาประสิ ทธิภาพของเครืG องกําเนิดไฟฟ้ าแบบแม่เหล็กถาวร


จากสมการทีG 10 สามารถหาค่าของกําลังงานทางกลด้านขาเข้าได้ดงั นีM
(10)
Pin = τ app ω m

เมืGอ Pin คือ กําลังทางกลขาเข้า มีหน่วยเป็ นวัตต์


τ app คือ แรงบิ ดทางกลของเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ า มีหน่วยเป็ นนิ วตันเมตร
ωm คือ ความเร็ วเชิ งมุมทางกล มีหน่วยเป็ นเรเดียนต่อวินาที
ประสิ ทธิ ภาพของเครืG องกําเนิดไฟฟ้ าหาได้จากสมการ
Pout
(11)
η= × 100%
Pin

เมืGอ Pout คือกําลังไฟฟ้ าขาออก มีหน่วยเป็ นวัตต์


Pin คือกําลังไฟฟ้ าขาเข้า มีหน่ วยเป็ นวัตต์

2.1.3 พารามิเตอร์สาํ หรับการออกแบบ


ค่าพารามิเตอร์ทีGได้จากการออกแบบ (ดังตารางทีG 1) จะนําไปสร้างเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบแม่เหล็กถาวร
ชนิด 3 โรเตอร์ 2 สเตเตอร์ แบบหมุนตามแนวแกน

ตารางทีG 1 ตัวแปร สมการและพารามิเตอร์สาํ หรับการออกแบบ


ตัวแปร สมการ พารามิเตอร์
1) คํา นวณหาอัต ราเร็ ว ( v ) ในการ v =
π Dn
6.28 m / s
60
หมุนของโรเตอร์
เมืGอ
กําหนด ความเร็ ว รอบ 500 รอบ
D = ระยะห่ างระหว่างขัMวแม่เหล็ก ( m )
ต่ อ นาที และมี ร ะยะห่ า งระหว่ า ง
n = จํานวนรอบต่อนาที ( rpm )
ขัMว แม่ เ หล็ก 0.24 เมตร คํา นวณหา
อัตราเร็ วในการหมุนของโรเตอร์

20
A. Sanpin, W. Muangjai and T. Somsak / Pathumwan Academic Journal, Vol. 7, No. 19, May - August 2017

ตารางทีG 1 ตัวแปร สมการและพารามิเตอร์สาํ หรับการออกแบบ (ต่อ)


ตัวแปร สมการ พารามิเตอร์
2) คํานวณหาความยาวของขดลวด l1 =
e
13.54 m
vB
( l1 ) ต่อเฟส
เมืGอ
กํ า ห น ด แ ร ง เ ค ลืG อ น ไ ฟ ฟ้ า
e = แรงเคลืGอนไฟฟ้ าเหนีGยวนํา (V )
เหนีG ยวนํา 17 โวลท์ อัตราเร็ วในการ
v = อั ต ราเร็ ว ในการ ห มุ น ของโร เตอร์
หมุนของโรเตอร์ 6.28 เมตรต่ อนาที
(m / s)
ความเข้มของสนามแม่เหล็กทีG วดั ได้
B = ความเข้มของสนามแม่เหล็ก (T )
อยูท่ ีG 0.2 เทสลา คํานวณหาความยาว
ของขดลวดต่อเฟส ในสมาการ
3) คํานวณหาความยาวของขดลวด l2 = 1
l
6.77 m
n1
( l2 ) ต่อขด
เมืGอ
กําหนดให้มีขดลวดจํานวน 9 ขด
n = จํานวนขดลวดต่อเฟส
เนืG อ งจากเป็ นเครืG องกํา เนิ ด ไฟฟ้ า 3 1
เฟส จึงทําให้มีขดลวดจํานวน 3 ชุดๆ
ละ 2 ขด
4) คํานวณหาจํานวนรอบต่อขด ( n) n= 2
l 136 ร อ บ ห รื อ ≈
A
กําหนด แม่เหล็กถาวรมี 140 รอบ
เมืGอ
พืMนทีGหน้าตัด 0.05 เมตร
A = พืMนทีG หน้าตัดของแม่เหล็ก ( m )
5) คํานวณหาแรงบิด (τ ) τ = =
P P
× 60 N .m 5.73 N .m
ω 2π n
กําหนด เครืG องกําเนิดไฟฟ้ ามี
เมืGอ
กําลังไฟฟ้ า 300 วัตต์
P = กําลังไฟฟ้ า (W )
n = จํานวนรอบต่อนาที ( rpm )
6) คํานวณหากระแส ( I ) เพืG อเลือ ก I = P 17.65 A
e
ขนาดของขดลวด
เมืGอ
เลือกใช้ขดลวดเบอร์
P = กําลังไฟฟ้ า (W )
17 A.W.G. ทน
emf = แรงเคลืGอนไฟฟ้ าเหนีG ยวนํา (V )
กระแสได้ 19 A

21
อัศวเทพ สารปิ น วรจักร์ เมืองใจ และ ธีระศักดิZ สมศักดิZ / วารสารวิชาการปทุมวัน ปี ที> 7 ฉบับที> 19 พฤษภาคม - สิ งหาคม 2560

2.2 การออกแบบเครื>องกําเนิดทางไฟฟ้ าทางกล


ในส่ วนนีM จะกล่ า วถึ ง เรืG องการคํ า นวณการออกแบบเครืG องกํ า เนิ ดไฟฟ้ าแบบแม่ เ หล็ ก ถาวร
ชนิด 3 โรเตอร์ 2 สเตเตอร์ ขัMนตอนการดําเนินในการสร้างเครืG องกําเนิดไฟฟ้ า การออกแบบส่ วนทีGเคลืGอนทีG การ
ออกแบบส่ วนทีGอยู่กบั ทีG และ การสร้างโครงสําหรับจับยึดเครืG องกําเนิดไฟฟ้ าสําหรับการทดลองในห้องปฏิบตั ิการ
โดยการออกแบบและสร้างเครืG องกําเนิดไฟฟ้ าแบบแม่เหล็กถาวรจะแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วนด้วยกันคือส่ วนทีGเคลืGอนทีG
หรื อทีG เรี ยกว่าโรเตอร์ ส่ วนทีG อยู่กบั ทีG หรื อทีG เรี ยกว่าสเตเตอร์ และโครงสร้ างสําหรั บการจับยึดเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ า
สําหรับการทดสอบในห้องปฏิบตั ิการกันดังรู ปทีG 2

รู ปทีG 2 โครงสร้างของเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ า

2.2.1 การออกแบบส่ วนทีGเคลืGอนทีGหรื อโรเตอร์


ส่ วนทีGเคลืGอนทีGหรื อโรเตอร์ จะมีอยู่ดว้ ยกัน 3 ส่ วน คือ ส่ วนตรงกลาง และ ส่ วนข้างทัMง 2 ข้าง ในส่ วนของ
โรเตอร์ดา้ นข้างทัMง 2 ข้าง จะถูกออกแบบโดยใช้จานดิสเบรกของรถยนต์ทีGมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 280 มิลลิเมตร
ทําการกลึงปาดหน้าในส่ วนทีG ตอ้ งการวางแม่เหล็กเพืG อให้หน้าสัมผัสมีความเรี ยบเสมอกัน และกลึงปลอกแกนจับ
สําหรับจับยึดกับแกนเพลาซึG งแกนเพลามีขนาด 1 นิMว 1 หุ น ดังรู ปทีG 3(ก) ขัMนต่อไปทําการกลึงจานดิสเบรกให้เป็ น
ร่ อ งโดยวัดจากขอบ 14 มิ ลลิ เ มตร แล้ว ทําการกลึ งเป็ นร่ อ งลึ กลงไป 10 มิ ลลิ เมตร มี ข นาดเส้ นผ่า นศู นย์กลาง
266 มิลลิเมตร ดังรู ปทีG 3(ข) เพืGอวางแม่เหล็กถาวรขนาด กว้าง 25 มิลลิเมตร ยาว 50 มิลลิเมตร สู ง 10 มิลลิเมตร
จํานวน 8 ก้อน โดยจะวางสลับขัMวกันเป็ นมุม 45 องศา แล้วทําการหล่อเรซิG นทับลงไป เพืGอให้แม่เหล็กยึดติดกับตัว
โรเตอร์ ดังรู ปทีG 3(ค)

22
A. Sanpin, W. Muangjai and T. Somsak / Pathumwan Academic Journal, Vol. 7, No. 19, May - August 2017

(ก) ลักษณะของโรเตอร์ (ข) ลักษณะของโรเตอร์ทีGกลึงเสร็ จ (ค) ลักษณะการวางขัMวแม่เหล็ก


รู ปทีG 3 การออกแบบโรเตอร์ดา้ นข้าง

ในส่ วนของโรเตอร์ตรงกลางจะออกแบบโดยการกลึงเหล็กแผ่นหนา 12 มิลลิเมตร ให้เป็ นวงกลมขนาด


เส้นผ่านศูนย์กลาง 280 มิลลิเมตร แล้วทําการกลึงปาดหน้าแผ่นเหล็กให้มีความเรี ยบเสมอกัน และให้เหลือขนาด
ความหนา 10 มิลลิเมตร ดังรู ปทีG 4(ก) แล้วทําการกลึงปลอกแกนจับสําหรับจับยึดกับเพลาขนาด 1นิMว 1 หุนแล้ว
เชืGอมแกนจับเพลาเข้ากันแผ่นเหล็กดังรู ปทีG 4(ข) และวางแม่เหล็กถาวรลงไป ด้านละ 8 ก้อน โดยวางสลับขัMวกัน
เป็ นมุม 45 องศาแล้วทําการหล่อเรซิG นทับลงไป เพืGอให้แม่เหล็กยึดติดกับตัวโรเตอร์ ดังรู ปทีG 4(ค)

(ก) การออกแบบโรเตอร์ (ข) ลักษณะของโรเตอร์ (ค) การวางขัMวแม่เหล็ก


รู ปทีG 4 แสดงการออกแบบโรเตอร์ตรงกลาง

2.2.2 การออกแบบส่ วนทีGอยู่กบั ทีGหรื อสเตเตอร์


ในส่ วนแรกจะออกแบบฟร์อมในการพันขดลวดโดยขนาดของขดลวดจะขึMนอยู่กบั ขนาดของแม่เหล็กทีGใช้
ซึG งแม่ เหล็กทีG ใช้มีข นาดกว้า ง 25 มิ ลลิ เ มตร ยาว 50 มิ ลลิ เมตร ดังนัMนช่ อ งว่ า งของขดลวดจึ งเท่ า กับขนาดของ

23
อัศวเทพ สารปิ น วรจักร์ เมืองใจ และ ธีระศักดิZ สมศักดิZ / วารสารวิชาการปทุมวัน ปี ที> 7 ฉบับที> 19 พฤษภาคม - สิ งหาคม 2560

แม่เหล็กหรื อใหญ่กว่าได้เพืGอให้แม่เหล็กตัดผ่านขดลวดได้เต็มพืMนทีGหน้าตัดของแม่เหล็กเอง โดยจะใช้ลวดเบอร์ 17


A.W.G ในการพันขดลวดจํานวน 6 ขด แต่ละขดจะพัน 140 รอบ เท่าๆกัน ดังรู ปทีG 5 (ก) และวางขดลวดแต่ละขด
เป็ นมุม 60 องศา ในแต่ละเฟสจะมีขดลวดต่ออนุกรมกัน 2 ขดต่อหนึG งเฟสโดยแต่ละเฟสจะต่ออนุ กรมกับขดทีG อยู่
ตรงข้ามกัน ดังรู ปทีG 5 (ข) แล้วทําการหล่อเรซิGนทับลงไปเพืGอยึดติดกับโครงสร้างดังรู ปทีG 5 (ค)

(ก) การออกแบบขดลวด (ข) ลักษณะการวางขดลวด (ค) หล่อเรซิG นทีGสเตเตอร์


รู ปทีG 5 การสร้างสเตเตอร์

2.2.3 การออกแบบโครงสร้างของเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ า


โครงสร้างนีMทาํ มาจากเหล็กฉากขนาด 1นิMว แล้วเชืG อมต่อกันเป็ นโครงสร้างทีG มี ขนาด กว้าง 32 นิMว ยาว 44
นิM ว สู ง 32 นิM ว โครงสร้ างนีM สร้างขึM นมาเพืG อยึ ดติ ดกับ ตัวโรเตอร์ และ สเตเตอร์ ดงั รู ป ทีG 6 โดยโครงสร้ างนีM ได้ถูก
ออกแบบให้มีข นาดเหมาะสมกับชุ ดทดสอบในห้องปฏิ บ ัติการเพืG อสะดวกในการประกอบกับ ตัวต้นกําลังใน
ห้องปฏิบตั ิการ

รู ปทีG 6 การออกแบบโครงสร้างเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ า

24
A. Sanpin, W. Muangjai and T. Somsak / Pathumwan Academic Journal, Vol. 7, No. 19, May - August 2017

3. การทดสอบเครื>องกําเนิดไฟฟ้ าแบบแม่ เหล็กถาวรหมุนตามแนวแกนในห้ องปฏิบัตกิ าร


การทดสอบเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบแม่เหล็กถาวรหมุนตามแนวแกนได้ทดสอบหาค่าพารามิ เตอร์ ทาง
ไฟฟ้ าเพืG อนําไปประยุกต์ใช้กับ กังหันนํMาแบบไหลขวางในพืMน ทีG แหล่งนํMามีหัวนํMาสุ ทธิ ไม่สู งมากนัก อยู่ในช่ ว ง
ประมาณ 3-5 เมตร อัตราการไหล 7-20 ลิตรต่อวินาทีนM นั ได้ออกแบบการทดสอบในห้องปฏิบตั ิมีลกั ษณะการวาง
อุปกรณ์และวงจรการต่อดังรู ปทีG 7 และวงจรการต่อขดลวดภายในของเครืG องกําเนิดแสดงดังตารางทีG 2
การออกแบบการทดสอบได้อา้ งอิงการทดสอบคุณลักษณะของเครืG องกําเนิดไฟฟ้ าระดับห้องปฏิบตั ิการ
และการต่อวงจรการทดสอบนัMนได้ออกแบบให้ตรงกับการนําไปใช้ประโยชน์โดยระบบทีG ผลิ ตไฟฟ้ าได้จะถูก
นําไปประจุแบตเตอรีG ผ่านวงจรเรี ยงกระแส (Rectifier Circuit) ทีGมีคุณสมบัติในการแปลงสัญญาณกระแสสลับให้
กลายเป็ นสัญญาณไฟฟ้ ากระแสตรง โดยจะต่อขดลวดของเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าเป็ นสองแบบคื อแบบสตาร์ และ
เดลต้าเนืG องจากจะมี ผ ลของความสัมพันธ์ ของลักษณะกระแส แรงดันกับ ความเร็ ว รอบ แรงบิ ด โดยผลการ
ทดสอบทีGได้จะนําไปพิจารณาความเหมาะสมของวิธีการต่อและขนาดของแบตเตอรีG โดยในทีGนM ี ไม่พิจารณาเรืG อง
คุณภาพไฟฟ้ าทีGผลิตได้เพราะลักษณะการใช้งานของระบบเป็ นแบบอิสระทีGไม่ได้เชืG อมต่อกับระบบสายส่ งปกติ

รู ปทีG 7 การทดสอบเครืG องกําเนิดไฟฟ้ าแบบหมุนตามแนวแกนบนแท่นทดสอบระดับห้องปฏิบตั ิการณ์

25
อัศวเทพ สารปิ น วรจักร์ เมืองใจ และ ธีระศักดิZ สมศักดิZ / วารสารวิชาการปทุมวัน ปี ที> 7 ฉบับที> 19 พฤษภาคม - สิ งหาคม 2560

ตารางทีG 2 วงจรการต่อขดลวดการทดสอบแบบต่างๆ
ลําดับ ลักษณะการต่ อขดลวด วงจรการต่อ
1 1 สเตเตอร์ 2 โรเตอร์ต่อ
ขดลวดวงจรแบบสตาร์

2 2 สเตเตอร์ 3 โรเตอร์ต่อ
ขดลวดวงจรแบบสตาร์

3 1 สเตเตอร์ 2 โรเตอร์ต่อ
ขดลวดวงจรแบบเดลต้า

4 2 สเตเตอร์ 2 โรเตอร์ต่อ
ขดลวดวงจรแบบเดลต้า

4. ผลการทดลอง
ทางคณะทํางานได้ทดสอบเครืG องกําเนิดไฟฟ้ าแบบเม่เหล็กถาวรชนิดหมุนตามแนวแกนแบบ 1 สเตเตอร์ 2
โรเตอร์ และแบบ 2 สเตเตอร์ 3 โรเตอร์ โดยทัMงสองแบบต่อวงจรขดลวดแบบสตาร์ และเดลต้า ดังตารางทีG 2 และมี
ผลการทดลองดังรู ปทีG 8 – 12 โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนีM
จากรู ปทีG 8 และ 9 คือผลการทดสอบจากการหาความสัมพันธ์ของกําลังไฟฟ้ าด้านกระแสสลับทีGเครืG อง
กําเนิ ดไฟฟ้ าฯ ผลิตได้และแรงบิ ดด้านอินพุทของเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบแม่เหล็กถาวรชนิ ดหมุนตามแนวแกน
แบบ 1 สเตเตอร์ 2 โรเตอร์ และแบบ 2 สเตเตอร์ 3 โรเตอร์ ทีG ต่อวงจรขดลวดแบบสตาร์ และเดลต้า โดยปรับ

26
A. Sanpin, W. Muangjai and T. Somsak / Pathumwan Academic Journal, Vol. 7, No. 19, May - August 2017

ความเร็ วรอบของการหมุนทีG 200, 300, 400, 500 และ 600 รอบต่อนาทีพบว่าเมืGอให้แรงบิ ดด้านอินพุทเพิGมสู งขึMน
จะให้กาํ ลังไฟฟ้ าของเครืG องกําเนิ ดแบบ 2 สเตเตอร์ 3 โรเตอร์ เพิG มขึM นเมืG อเที ยบกับเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบ 1
สเตเตอร์ 2 โรเตอร์ประมาณสองเท่า ทัMงนีM เมืGอพิจารณาค่ากําลังไฟฟ้ าทีGออกแบบพิกดั 300 วัตต์ทีGความเร็ ว 500 รอบ
ต่ อนาที ของเครืG อ งกําเนิ ดแบบ 1 สเตเตอร์ 2 โรเตอร์ กับผลการทดลองนัMนกรณี ทีG ต่อ ขดลวดแบบเดลต้าได้
กําลังไฟฟ้ าเท่ากับ 290 วัตต์และกรณี ทีGต่อขดลวดแบบสตาร์ ได้กาํ ลังไฟฟ้ าเท่ากับ 194 วัตต์ทีG ณ ทีG ขนาดแรงบิ ด
6.2 นิวตันเมตรเท่ากัน สําหรับเครืG องกําเนิดไฟฟ้ าแบบ 2 สเตเตอร์ 3 โรเตอร์ ถา้ ต่อขดลวดต่อสตาร์ ได้กาํ ลังไฟฟ้ า
ทีGผลิตได้สูงสุ ดทีG 370 วัตต์ ทีGแรงบิ ด 11.6 นิวตันเมตร และถ้าต่อขดลวดต่อแบบเดลต้าได้กาํ ลังไฟฟ้ าทีG ผลิตได้
สูงสุ ดทีG 520 วัตต์ ทีGแรงบิด 9.2 นิวตันเมตรตามลําดับ
ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประสิ ทธิ ภาพการเปลีGยนพลังงานกลเป็ นพลังงานไฟฟ้ ากระแสตรงสําหรับการ
ใช้งานนัMนพบว่าเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบ 1 สเตเตอร์ 2 และเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบ 2 สเตเตอร์ 3 โรเตอร์ ทีGต่อ
ขดลวดแบบสตาร์ และเดลต้าประสิ ทธิภาพอยูใ่ นช่วง 30-50% แสดงดังรู ปทีG 10

600
1S2R = 1 Stator 2 Rotor 600 rpm@2S3R
500 2S3R = 2 Stator 3 Rotor

400 500 rpm@2S3R


Power (W)

300 600 rpm@1S2R 400 rpm@2S3R

200 500 rpm@1S2R


300 rpm@2S3R
400 rpm@1S2R
100 300 rpm@1S2R
200 rpm@2S3R
200 rpm@1S2R
0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
Torque (N-m)

รู ปทีG 8 เครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าทีGประกอบด้วย 1 สเตเตอร์ 2 โรเตอร์ ต่อแบบสตาร์

27
อัศวเทพ สารปิ น วรจักร์ เมืองใจ และ ธีระศักดิZ สมศักดิZ / วารสารวิชาการปทุมวัน ปี ที> 7 ฉบับที> 19 พฤษภาคม - สิ งหาคม 2560

700
600 rpm@2S3R
600 1S2R = 1 Stator 2 Rotor
2S3R = 2 Stator 3 Rotor
500 rpm@2S3R
Power (W) 500
600 rpm@1S2R
400
400 rpm@2S3R
300 500 rpm@1S2R
300 rpm@2S3R
200 400 rpm@1S2R
300 rpm@1S2R
100 200 rpm@2S3R
200 rpm@1S2R
0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
Torque (N-m)

รู ปทีG 9 เครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าทีGประกอบด้วย 2 สเตเตอร์ 3 โรเตอร์ ต่อแบบเดลต้า

60%

50%
System efficiency (%)

40%

30%

20% 1S2R-Star
2S3R-Star
10% 1S2R-Delta
2S3R-Delta
0%
200 300 400 500 600
rpm

รู ปทีG 10 ความสัมพันธ์ระหว่างประสิ ทธิภาพของระบบและความเร็ วรอบทีGการต่อวงจรภายในแบบต่างๆ

28
A. Sanpin, W. Muangjai and T. Somsak / Pathumwan Academic Journal, Vol. 7, No. 19, May - August 2017

18
200-SI
16
300-SI
14 400-SI
500-SI
12

PMG Current (A)


600-SI
10 200-SII
300-SII
8
400-SII
6 500-SII

4 600-SII

2
0
0 10 20 30 40 50 60
PMG Voltage (V)
รู ปทีG 11 ความสัมพันธ์ของกระแสและแรงดันของเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบแม่เหล็กถาวรทีGต่อวงจรภายในเป็ นแบบ
เดลต้าแบบ 1 โรเตอร์ 2 สเตเตอร์ และ 3 โรเตอร์ 2 สเตเตอร์

25
200-DI
300-DI
20
400-DI
500-DI
PMG Current (A)

15 600-DI
200-DII
300-DII
10 400-DII
500-DII
600-DII
5

0
0 10 20 30 40
PMG Voltage (V)
รู ปทีG 12 ความสัมพันธ์ของกระแสและแรงดันของเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบแม่เหล็กถาวรทีGต่อวงจรภายในเป็ นแบบ
เดลต้าแบบ 1 สเตเตอร์ 2 โรเตอร์ และ 2 สเตเตอร์ 3 โรเตอร์

29
อัศวเทพ สารปิ น วรจักร์ เมืองใจ และ ธีระศักดิZ สมศักดิZ / วารสารวิชาการปทุมวัน ปี ที> 7 ฉบับที> 19 พฤษภาคม - สิ งหาคม 2560

ผลของความความสัมพันธ์ของกระแสและแรงดันของเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบแม่เหล็กถาวรทีG ต่อวงจร


ภายในเป็ นเดลต้าและสตาร์ ชนิ ด 1 สเตเตอร์ 2 โรเตอร์ และ 2 สเตเตอร์ 3 โรเตอร์ ดังรู ปทีG 11 และ 12 นัMน พบว่า
สามารถใช้ประโยชน์จากกราฟทัMงสองสําหรับหาความสัมพันธ์ของกระแสและแรงดันเพืGอรองรับการออกแบบ
ระบบประจุ แ บตเตอรีG ระบบแปรผัน พลัง งานและการต่ อ วงจรแบตเตอรีG ทีG เ หมาะสมเป็ นต้น อี ก ทัMงยังเป็ น
ประโยชน์ของการดึงพลังงานทีGผลิตได้จากเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าให้ครอบคลุมทุกความเร็ วรอบหรื อแปรเปลีGยนของ
แหล่งนํMาทีGมีการปรับเปลีGยนตามฤดูกาล

5. สรุ ป
ในงานวิจยั นีM ได้ออกแบบและสร้ างเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแม่เหล็กถาวรเพืGอทําการทดสอบสมรรถนะทาง
เทคนิคของเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแม่เหล็กชนิ ดหมุนตามแนวแกนแบบ 1 สเตเตอร์ 2 โรเตอร์ และแบบ 2 สเตเตอร์ 3
โรเตอร์ ทีGต่อวงจรขดลวดแบบสตาร์ และเดลต้า โดยปรับความเร็ วรอบของการหมุนทีG 200, 300, 400, 500 และ
600 รอบต่อนาที ได้ทดสอบในห้องปฏิบตั ิการณ์เครืG องกลไฟฟ้ าหาค่าพารามิเตอร์ทางไฟฟ้ า
เมืGอพิจารณาปั จจัยทางเทคนิคทีGมีผลกระทบของการผลิตพลังงานของเครืG องกําเนิ ดไฟฟ้ าแม่เหล็กถาวร ใน
รู ปแบบต่างๆเช่น ลักษณะการต่อขดลวดภายใน การแปรเปลีGย นพลังงานทางกลเป็ นไฟฟ้ า ผลของตําแหน่งติดตัMง
ระยะห่ างของช่ องอากาศทีG ส่งผลต่อแรงเครืG องเหนีG ยวนําไฟฟ้ า ค่าความเข้มของแม่เหล็กถาวร และการทดสอบ
ภาคสนามโดยค่าทีG ทดสอบได้นM ี จะนําไปสู่ การปรับปรุ งให้มีประโยชน์ทางวิชาการทีG สามารถทํางานได้จริ งทัMงนีM
ข้อ มูลจากการทดสอบสามารถเป็ นข้อ มูล พืM น ฐานใช้ในการคํา นวณทางคณิ ต ศาสตร์ ด ้ว ยการหาค่ า สภาวะทีG
เหมาะสมของกําลังไฟฟ้ าทีG ผลิตได้กบั ประสิ ทธิ ภาพ และการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ทีGจะได้ดาํ เนิ นการต่อไป
ในอนาคต

6. กิตติกรรมประกาศ
คณะทํางานขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาทีG สนับสนุนทุ นวิจยั ประปี งบประมาณ
2559 และขอขอบคุณ ศูนย์ความร่ วมมือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลล้านนาเพืG อ มูลนิ ธิโ ครงการหลวงและกิ จกรรมวิช าการทีG เอืM อเฟืM อข้อ มูลความต้อ งการในพืM นทีG และ
ขอขอบคุ ณคณะทํางานกลุ่มวิจัยระบบพลังงานสะอาด มหาวิ ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาทีG สนับ สนุ น
เครืG องมืออุปกรณ์การทดสอบ

เอกสารอ้างอิง
[1] A.E. Fitzgerald, Jr. C. Kingsley and S.D. Umas. Electric Machinery, UK: McGraw-Hill, 1990, pp. 95-132.
[2] บัลลังค์ เนี ยมมณี และสุ ขสันติƒ หวังสถิตย์วงษ์. เครืG องจักรกลไฟฟ้ ากระแสสลับ. กรุ งเทพฯ, มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2555, หน้า. 1-15

30
A. Sanpin, W. Muangjai and T. Somsak / Pathumwan Academic Journal, Vol. 7, No. 19, May - August 2017

[3] ดุสิต สูรย์ราช. ทฤษฎีมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ.กรุ งเทพฯ, ศูนย์ส่งเสริ มวิชาการ, 2550, หน้า. 1-30
[4] ไชยหาญ หิ นเกิด. เครืG องกลไฟฟ้ า 1. กรุ งเทพฯ, สมาคมส่ งเสริ มเทคโนโลยี (ไทย-ญีGปุ่น), 2537, หน้า. 1-40
[5] P. Anpalahan and M. Lamperth, “Design of multi-stack axial flux permanent magnet generator for a hybrid
electric vehicle,” presented at Vehicle Power and Propulsion Conference, 2006. VPPC '06. IEEE, 2006.
[6] T. F. Chan, W. Wang and L. L. Lai, “Magnetic Field in a Transverse- and Axial-Flux Permanent Magnet
Synchronous Generator From 3-D FEA,” in IEEE Transactions on Magnetics, vol. 48, no. 2, 2012, pp.
1055-1058.
[7] J. M. Davila-Vilchis and R. S. Mishra, “Performance of a hydrokinetic energy system using an axial-flux
permanent magnet generator,” Energy, vol. 65, 2014, pp. 631-638.
[8] G. Ahmad and U. Amin, “Design, construction and study of small scale vertical axis wind turbine based on
a magnetically levitated axial flux permanent magnet generator,” Renewable Energy, vol. 101, 2017, pp.
286-292.
[9] W. Fei, P. C. K. Luk and K. Jinupun, “Design and analysis of high-speed coreless axial flux permanent
magnet generator with circular magnets and coils,” in IET Electric Power Applications, vol. 4, no. 9, 2010,
pp. 739-747.
[10] L. Soderlund, A. Koski, H. Vihriala, J. T. Eriksson and R. Perala, “Design of an axial flux permanent
magnet wind power generator,” 1997 Eighth International Conference on Electrical Machines and Drives
(Conf. Publ. No. 444), Cambridge, 1997, pp. 224-228.
[11] J. R. Bumby and R. Martin, “Axial-flux permanent-magnet air-cored generator for small-scale wind
turbines,” Electric Power Applications, IEE Proceedings -, vol. 152, 2005, pp. 1065-1075.
[12] B. J. Chalmers and E. Spooner, "An axial-flux permanent-magnet generator for a gearless wind energy
system," in IEEE Transactions on Energy Conversion, vol. 14, no. 2, 1999, pp. 251-257.
[13] G. C. Lee and T. U. Jung, “Design of dual structural axial flux permanent magnet generator for small wind
turbine,” IEEE 2013 Tencon - Spring, Sydney, NSW, 2013, pp. 90-94.

31

You might also like