You are on page 1of 11

ประวัติกีฬาฟุตบอล ทั้ง ประวัติฟุตบอลไทย ประวัติกีฬาฟุตบอลโลก และกติกาการเล่นฟุตบอล

          นับได้วา่ ฟุตบอล เป็ นกีฬาที่มีคนสนใจอยูท่ วั่ มุมโลก เห็นได้จากเวลาที่มีการแข่งขัน


รายการใหญ่อย่างฟุตบอลโลก หรื อฟุตบอลยูโร ก็จะมีบริ ษทั ต่าง ๆ ผลิตสิ นค้าเกี่ยวกับการ
แข่งขันออกมาขายตอบสนองความต้องการของแฟนบอลในตลาดเสมอ เช่น แก้วฟุตบอลโลก
เสื้ อแข่ง เป็ นต้น จึงเป็ นหลักฐานชี้ชดั ว่า กีฬาชนิดนี้ ได้รับความนิยมไปทัว่ โลกจริ ง ๆ โดยเฉพาะ
ประเทศไทย ที่ประชาชนสนใจกีฬาฟุตบอลเป็ นอันดับ 1 อยูแ่ ล้ว ดังนั้น เราจะมาทำความรู ้จกั
กับกีฬาฟุตบอลกัน เพื่อทำให้ผอู้ ่านเกิดอรรถรสในการรับชมการแข่งขันยิง่ ขึ้น
 
ประวัติฟุตบอล

          ฟุตบอล (Football) หรื อซอคเก้อร์ (Soccer) เป็ นกีฬาที่มีผสู้ นใจที่จะชม


การแข่งขันและเข้าร่ วมเล่นมากที่สุดในโลก ชนชาติใดเป็ นผูกำ
้ เนิดกีฬาชนิดนี้ อย่างแท้จริ งนั้น
ไม่อาจจะยืนยันได้แน่นอน เพราะแต่ละชนชาติต่างยืนยันว่าเกิดจากประเทศของตน แต่ใน
ประเทศฝรั่งเศสและประเทศอิตาลี ได้มีการละเล่นชนิดหนึ่งที่เรี ยกว่า “ซูเลอ” (Soule)
หรื อจิโอโค เดล คาซิโอ (Gioco Del Calcio) มีลกั ษณะการเล่นที่คล้ายคลึงกับกีฬา
ฟุตบอลในปัจจุบนั ทั้งสองประเทศอาจจะถกเถียงกันว่ากีฬาฟุตบอลถือกำเนิดจากประเทศของ
ตน อันเป็ นการหาข้อยุติไม่ได้ เพราะขาดหลักฐานยืนยันอย่างแท้จริ ง ดังนั้น ประวัติของกีฬา
ฟุตบอลที่มีหลักฐานที่แท้จริ งสามารถจะอ้างอิงได้ เพราะการเล่นที่มีกติกาการแข่งขันที่แน่นอน
คือประเทศอังกฤษเพราะประเทศอังกฤษตั้งสมาคมฟุตบอลในปี พ.ศ. 2406 และฟุตบอล
อาชีพของอังกฤษเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2431

วิวฒั นาการด้านฟุตบอลจะเป็ นไปพร้อมกับความเจริ ญก้าวหน้าของมนุษย์ตลอดมา


ต้นกำเนิดกีฬาตะวันออกไกลจะได้รับอิทธิพลมาจากสงครามครั้ งสำคัญๆ เช่น สงครามพระเจ้าอ
เล็กซานเดอร์มหาราช ได้นำเอา “แกลโล-โรมัน” (Gello-Roman) พร้อมกีฬาต่างๆ
เข้ามาสู่ เมืองกอล (Gaul) อันเป็ นรากฐานส่ วนหนึ่งของกีฬาฟุตบอลในอนาคต และการเล่น
ฮาร์ปาสตัม (Harpastum) ได้ถูกดัดแปลงมาเป็ นกีฬาซูเล
 
ประวัติกีฬาฟุตบอลในประเทศไทย

          กีฬาฟุตบอลในประเทศไทย ได้มีการเล่นตั้งแต่สมัย “พระบาทสมเด็จพระ


จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ” รัชกาลที่ 5 แห่งกรุ งรัตนโกสิ ทร์ เนื่องจากสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ได้
ส่ งพระเจ้าลูกยาเธอ พระเจ้าหลานยาเธอ และข้าราชบริ พารไปศึกษาวิชาการด้านต่างๆ ที่ประเทศ
อังกฤษ และผูท้ ี่นำกีฬาฟุตบอลกลับมายังประเทศไทยเป็ นคนแรกคือ “เจ้าพระยาธรรมศักดิ์
มนตรี (สนัน่ เทพหัสดิน ณ อยุธยา)” หรื อ ที่ประชนชาวไทยมักเรี ยกชื่อสั้นๆว่า “ครู เทพ” ซึ่ง
ท่านได้แต่งเพลงกราวกีฬาที่พร้อมไปด้วยเรื่ องน้ำใจนักกีฬาอย่างแท้จริ ง เชื่อกันว่าเพลงกราว
กีฬาที่ครู เทพแต่งไว้น้ ี จะต้องเป็ น “เพลงอมตะ” และจะต้องคงอยูค่ ู่ฟ้าไทย

เมื่อปี พ.ศ. 2454-2458 ท่านได้ดำรงตำแหน่งเป็ นเสนาบดีกระทรวงธรรมการครั้งแรก


เมื่อท่านได้นำฟุตบอลเข้ามาเล่นในประเทศไทยได้มีเสี ยงวิพากษ์วิจารณ์ต่างๆมากมาย โดยหลาย
คนกล่าวว่า ฟุตบอลเป็ นกีฬาที่ไม่เหมาะสมกับประเทศที่มีอากาศร้อน เหมาะสมกับประเทศที่มี
อากาศหนาวมากกว่า และเป็ นเกมที่ทำให้เกิดอันตรายต่อผูเ้ ล่นและผูช้ มได้ง่าย ซึ่งข้อวิจารณ์ดงั
กล่าวถ้ามองอย่างผิวเผินอาจคล้อยตามได้ แต่ภายหลังข้อกล่าวหาดังกล่าวก็ได้ค่อยหมดไปจน
กระทัง่ กลายเป็ น กีฬายอดนิยมที่สุดของประชาชนชาวไทยและชาวโลกทัว่ ทุกมุมโลก ซึ่งมี
วิวฒั นาการดังกำลังอยูร่ ะหว่างปรับปรุ งข้อมูลต่อไปนี้
 
พ.ศ. 2440 รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จนิวตั ิพระนคร กีฬาฟุตบอลได้รับความสนใจมากขึ้นจาก
บรรดาข้าราชการบรรดาครู อาจารย์ ตลอดจนชาวอังกฤษในประเทศไทยและผูส้ นใจชาวไทย
จำนวนมากขึ้นเป็ นลำดับ กอร์ปกับครู เทพท่านได้เพียรพยายามปลูกฝังการเล่นฟุตบอลใน
โรงเรี ยนอย่างจริ งจังและแพร่ หลายมากในโอกาสต่อมา

พ.ศ. 2443 (รศ. 119) การแข่งขันฟุตบอลเป็ นทางการครั้งแรกของไทยได้เกิดขึ้นเมื่อ


วันเสาร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 (รศ. 119) ณ สนามหลวง ซึ่งเป็ นสถานที่ออกกำลัง
กายและประกอบงานพิธีต่างๆการแข่งขันฟุตบอลคู่ประวัติศาสตร์ของไทย ระหว่าง “ชุด
บางกอก” กับ “ชุดกรมศึกษาธิการ” จากกระทรวงธรรมการหรื อเรี ยกชื่อการแข่งขันครั้งนี้วา่
“การแข่งขันฟุตบอลตามข้อบังคับของแอสโซซิเอชัน่ ” เพราะสมัยก่อนเรี ยกว่า “แอสโซซิเอชัน่
ฟุตบอล” (ASSOCIATIONS FOOTBALL) สมัยปัจจุบนั อาจเรี ยกได้วา่
“การแข่งขันฟุตบอลของสมาคม” หรื อ “ฟุตบอลสมาคม” ผลการแข่งขันฟุตบอลนัดพิเศษดัง
กล่าวปรากฏว่า “ชุดกรมศึกษาธิการ” เสมอกับ “ชุดบางกอก” 2-2 (ครึ่ งแรก 1-0) ต่อมาครู
เทพท่านได้วางแผนการจัดการแข่งขันฟุตบอลนักเรี ยนอย่างเป็ นทางการพร้อมแปลกติกา
ฟุตบอลแบบสากลมาใช้ในการแข่งขันฟุตบอลนักเรี ยนครั้งนี้ดว้ ย

พ.ศ. 2444 (รศ. 120) หนังสื อวิทยาจารย์ เล่มที่ 1 ตอนที่ 7 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.
2444 ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ เรื่ องกติกาการแข่งขันฟุตบอลสากลและการแข่งขันอย่างเป็ น
แบบแผนสากล
การแข่งขันฟุตบอลนักเรี ยนครั้งแรกของประเทศไทยได้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2444 นี้ ผูเ้ ข้า
แข่งขันต้องเป็ นนักเรี ยนชายอายุไม่เกิน 20 ปี ใช้วิธีจดั การแข่งขันแบบน็อกเอาต์ หรื อแบบแพ้
คัดออก (KNOCKOUT OR ELIMINATIONS) ภายใต้การดำเนินการ
จัดการแข่งขันของ “กรมศึกษาธิการ” สำหรับทีมชนะเลิศติดต่อกัน 3 ปี จะได้รับโล่รางวัลเป็ น
กรรมสิ ทธิ์

พ.ศ. 2448 (รศ. 124) เดือนพฤศจิกายน สามัคยาจารย์ สมาคม ได้เกิดขึ้นครั้งแรก


เป็ นการแข่งขันฟุตบอลของบรรดาครู และสมาชิกครู โดยใช้ชื่อว่า “ฟุตบอลสามัคยาจารย์”

พ.ศ. 2450-2452 (รศ. 126-128) ผูต้ ดั สิ นฟุตบอลชาวอังชื่อ “มร.อี.เอส.สมิธ”


อดีตนักฟุตบอลอาชีพได้มาทำการตัดสิ นในประเทศไทย เป็ นเวลา 2 ปี ทำให้คนไทยโดยเฉพาะ
ครู -อาจารย์ และผูส้ นใจได้เรี ยนรู ้กติกาและสิ่ งใหม่ๆเพิม่ ขึ้นมาก

พ.ศ. 2451 (รศ. 127) มีการจัดการแข่งขัน “เตะฟุตบอลไกล” ครั้งแรก

พ.ศ. 2452 (รศ. 128) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ได้ทรง


สวรรคต เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2452 นับเป็ นการสูญเสี ยครั้งยิง่ ใหญ่ของผูส้ นับสนุน
ฟุตบอลไทยในยุคนั้น ซึ่งต่อมาในปี นี้ กรมศึกษาธิการก็ได้ประกาศใช้วิธีการแข่งขัน “แบบพบ
กันหมด” (ROUND ROBIN) แทนวิธีจดั การแข่งขันแบบแพ้คดั ออกสำหรับคะแนน
ที่ใช้นบั เป็ นแบบของแคนาดา (CANADIAN SYSTEM) คือ ชนะ 2 คะแนน
เสมอ 1 คะแนน แพ้ 0 คะแนน และยังคงใช้อยูจ่ นถึงปัจจุบนั

ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 6 พระองค์ทรงมีความสนพระทัยกีฬา


ฟุตบอลเป็ นอย่างยิง่ ถึงกับทรงกีฬาฟุตบอลเอง และทรงตั้งทีมฟุตบอลส่ วนพระองค์เองชื่อทีม
“เสื อป่ า” และได้เสด็จพระราช ดำเนินประทับทอดพระเนตรการแข่งขันฟุตบอลเป็ นพระราช
กิจวัตรเสมอมา โดยเฉพาะมวยไทยพระองค์ทรงเคย ปลอมพระองค์เป็ นสามัญชนขึ้ นต่อย
มวยไทยจนได้ฉายาว่า “พระเจ้าเสื อป่ า” พระองค์ท่านทรงพระปรี ชาสามารถมาก จนเป็ นที่
ยกย่องของพสกนิกรทัว่ ไปจนตราบเท่าทุกวันนี้

จากพระราชกิจวัตรของพระองค์รัชกาลที่ 6 ทางด้านฟุตบอลนับได้วา่ เป็ นยุคทองของไทยอย่าง


แท้จริ งอีกทั้งยังมีการเผยแพร่ ข่าวสาร หนังสื อพิมพ์ และบทความต่างๆทางด้านฟุตบอลดังกำลัง
อยูร่ ะหว่างปรับปรุ งข้อมูลต่อไปนี้

พ.ศ. 2457 (รศ. 133) พระยาโอวาทวรกิจ” (แหมผลพันชิน) หรื อนามปากกา “ครู


ทอง” ได้เขียนบทความกีฬา “เรื่ องจรรยาของผูเ้ ล่นและผูด้ ูฟุตบอล” และ “คุณพระวรเวทย์
พิสิฐ” (วรเวทย์ ศิวะศริ ยานนท์) ได้เขียนบทความกีฬา “เรื่ องการเล่นฟุตบอล” และ “พระยา
พาณิ ชศาสตร์วิธาน” (อู๋ พรรธนะแพทย์) ได้เขียนบทความกีฬาที่ประทับใจชาวไทยอย่างยิง่
“เรื่ องอย่าสำหรับนักเลงฟุตบอล”

พ.ศ. 2458 (รศ. 134) ประชาชนชาวไทยสนใจกีฬาฟุตบอลอย่างกว้างขวาง เนื่องจาก


กรมศึกษาธิการได้พฒั นาวิธีการเล่น วิธีจดั การแข่งขัน การตัดสิ น กติกาฟุตบอลที่สากลยอมรับ
ตลอดจนระเบียบการแข่งขันที่รัดกุมยิง่ ขึ้น และผูใ้ หญ่ในวงการให้ความสนใจอย่างแท้จริ งนับ
ตั้งแต่พระองค์รัชกาลที่ 6 เองลงมาถึงพระบรมวงศานุวงศ์จนถึงสามัญชน และชาวต่างชาติ และ
ในปี พ.ศ. 2458 จึงได้มีการแข่งขันฟุตบอลประเภทสโมสรครั้งแรกเป็ นการชิงถ้วย
พระราชทานและเรี ยกชื่อการแข่งขันฟุตบอลประเภทนี้ วา่ “การแข่งขันฟุตบอลถ้วยทองของ
หลวง” การแข่งขันฟุตบอลสโมสรนี้ เป็ นการแข่งขันระหว่าง ทหาร-ตำรวจ-เสื อป่ า ซึ่งผูเ้ ล่นจะ
ต้องมีอายุเกินกว่าระดับทีมนักเรี ยน นับว่าเป็ นการเพิ่มประเภทการแข่งขันฟุตบอล

        ราชกรี ฑาสโมสร หรื อสปอร์ตคลับ นับได้วา่ เป็ นสโมสรแรกของไทยและเป็ นศูนย์รวม


ของชาวต่างประเทศในกรุ งเทพฯ ซึ่งยังอยูใ่ นปัจจุบนั และสโมสรสปอร์ตคลับเป็ นศูนย์กลาง
ของกีฬาหลายประเภท โดยเฉพาะกีฬาฟุตบอลได้มีผเู้ ล่นระดับชาติจากประเทศอังกฤษมาเข้า
ร่ วมทีมอยูห่ ลายคน เช่น มร.เอ.พี.โคลปี . อาจารย์โรงเรี ยนราชวิทยาลัย นับได้วา่ เป็ นทีม
ฟุตบอลที่ดี มีความพร้อมมากทั้งทางด้านผูเ้ ล่น งบประมาณและสนามแข่งขันมาตรฐาน จึงต้อง
เป็ นเจ้าภาพให้ทีมต่างๆของไทยเรามาเยือนอยูเ่ สมอ ทำให้วงการฟุตบอลไทยในยุคนั้นได้พฒั นา
ยิง่ ขึ้น และรัชกาลที่ 6 ทรงสนพระทัยโดยเสด็จมาเป็ นองค์ประธานพระราชทานรางวัลเป็ นพระ
ราชกิจวัตร ทำให้ประชาชนเรี ยกการแข่งขันสมัยนั้นว่า “ฟุตบอลหน้าพระที่นงั่ ” และระหว่าง
พักครึ่ งเวลามีการแสดง “พวกฟุตบอลตลกหลวง” นับเป็ นพิธีชื่นชอบของปวงชนชาวไทยสมัย
นั้นเป็ นอย่างยิง่ และการแข่งขันฟุตบอลสโมสรครั้งแรกนี้ มีทีมสมัครเข้าร่ วมแข่งขันจำนวน
12 ทีม ใช้เวลาในการแข่งขัน 46 วัน (11 ก.ย.-27 ต.ค. 2458) จำนวน 29 แมตช์
ณ สนามเสื อป่ า ถนนหน้าพระลาน สวนดุสิต กรุ งเทพมหานคร หรื อสนามหน้ากองอำนวนการ
รักษาความปลอดภัยแห่งชาติปัจจุบนั พระองค์รัชกาลที่ 6 ได้ทรงโปรดเกล้าแต่งตั้งคณะ
กรรมการดำเนินการแข่งขันนับว่าฟุตบอลไทยมีระบบในการบริ หารมานานนับถึง 72 ปี แล้ว

        ความเจริ ญก้าวหน้าของฟุตบอลภายในประเทศได้แผ่ขยายกว้างขวางทัว่ ประเทศไปสู่


สโมสรกีฬา-ต่างจังหวัดหรื อชนบทอย่างรวดเร็ ว ซึ่งเป็ นที่นิยมกันทัว่ ไปภายใต้การสนับสนุน
ของรัชกาลที่ 6 และพระองค์ท่านทรงเล็งเห็นกาลไกลว่าควรที่ตะตั้งศูนย์กลางหรื อสมาคมอย่าง
มีระบบแบบแผนที่ดี โดยมีคณะกรรมการบริ หารสมาคมและทรงมีพระบรมราชโองการก่อตั้ง
“สโมสรคณะฟุตบอลสยาม” ขึ้นมาโดยพระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์ทรงเล่นฟุตบอลเอง

รัชกาลที่ 6 ได้ทรงมีวตั ถุประสงค์ของการก่อตั้งสมาคมฟุตบอลแห่งสยามดังนี้คือ


1. เพื่อให้ผเู้ ล่นฟุตบอลมีพลานามัยที่สมบูรณ์
2. เพื่อก่อให้เกิดความสามัคคี
3. เพื่อก่อให้เกิดไหวพริ บ และเป็ นกีฬาที่ประหยัดดี
4. เพื่อเป็ นการศึกษากลยุทธ์ในการรุ กและการรับเช่นเดียวกับกองทัพทหารหาญ
จากวัตถุประสงค์ดงั กล่าว นับเป็ นสิ่ งที่ผลักดันให้สมาคมฟุตบอลแห่งสยามดำเนินกิจการเจริ ญ
ก้าวหน้ามาจนตราบถึงทุกวันนี้ ซึ่งมีกำลังอยูร่ ะหว่างปรับปรุ งข้อมูลดังนี้

พ.ศ. 2458 (ร.ศ. 134) การแข่งขันระหว่างชาติครั้งแรกของประเทศไทย เมื่อวันอังคาร


ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 ณ สนามราชกรี ฑาสโมสร (สนามม้าปทุมวันปัจจุบนั )
ระหว่าง “ทีมชาติสยาม” กับ “ทีมราชกรี ฑาสโมสร” ต่อหน้าพระที่นงั่ และมี “มร.ดักลาส โร
เบิร์ตสัน” เป็ นผูต้ ดั สิ น ซึ่งผลการแข่งขันปรากฏว่าทีมชาติสยามชนะทีมราชกรี ฑาสโมสร 2-1
ประตู (ครึ่ งแรก 0-0) และครั้งที่ 2 เมื่อวันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2458 เป็ นการ
แข่งขันระหว่างชาตินดั ที่ 2 แบบเหย้าเยือนต่า หน้าพระที่นงั่ ณ สนามเสื อป่ าสวนดุสิตและผล
ปรากฏว่า ทีมชาติสยามเสมอกับทีมราชกรี ฑา สโมสร หรื อทีมรวมต่างชาติ 1-1 ประตู (ครึ่ ง
แรก 0-0)

 
สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย(THE FOOTBALL ASSOCIATION
OF THAILAND)
 
มีววิ ฒั นาการตามลำดับต่อไปนี้
 
พ.ศ. 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ตั้งสมาคม
ฟุตบอลแห่งสยามขึ้นเมื่อวันที่ 25 เมษายน พุทธศักราช 2459 และตราข้อบังคับขึ้นใช้ใน
สนามฟุตบอลแห่งสยามด้วยซึ่งมีชื่อย่อว่า ส.ฟ.ท. และเขียนเป็ นภาษาอังกฤษว่า “THE
FOOTBALL ASSOCIATION OF THAILAND UNDER
THE PATRONAGE OF HIS MAJESTY THE KING” ใช้อกั ษร
ย่อว่า F.A.T. และสมาคมฯ จัดการแข่งขันถ้วยใหญ่และถ้วยน้อยเป็ นครั้งแรกในปี นี้ ดว้ ย

พ.ศ. 2468 เป็ นภาคีสมาชิกสมาพันธ์ฟุตบอลระหว่างชาติ เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน


พุทธศักราช 2468
ชุดฟุตบอลเสื อป่ าพรานหลวง ได้รับถ้วยของพระยาประสิ ทธิ์ ศุภการ (เจ้าพระยารามราฆพ) ซึ่ง
เล่นกับชุดฟุตบอลกรมทหารรักษาวัง เมื่อ พ.ศ. 2459-2460 ได้รับไว้เป็ นกรรมสิ ทธิ์ โดย
ชนะ 2 ปี ติดต่อกัน
ชุดฟุตบอลสโมสรกรมหรสพ ได้รับพระราชทาน “ถ้วยใหญ่” ของสมาคมฟุตบอลแห่งสยาม
ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2459

พ.ศ. 2499 การแก้ไขเพิม่ เติมข้อบังคับ ครั้งที่ 3 และเรี ยกว่าข้อบังคับ ลักษณะปกครอง


สมาคมฟุตบอลฯ ได้สิทธิ์ ส่งทีมฟุตบอลชาติไทยเข้าร่ วมการแข่งขัน “กีฬาโอลิมปิ ก” ครั้งที่ 16
นับเป็ นครั้งแรกที่ประเทศไทยมีสิทธิ์ เข้าร่ วมการแข่งขัน เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พุทธศักราช
2499 ณ นครเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย

พ.ศ. 2500 เป็ นภาคีสมาชิกสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย ซึ่งมีชื่อย่อว่า เอเอฟซี และเขียนเป็ น


ภาษาอังกฤษว่า “ASIAN FOOTBALL CONFEDERATION” ใช้อกั ษร
ย่อว่า A.F.C.

พ.ศ. 2501 การแก้ไขเพิม่ เติมข้อบังคับลักษณะปกครอง ครั้งที่ 4

พ.ศ. 2503 การแก้ไขเพิม่ เติมข้อบังคับลักษณะปกครอง ครั้งที่ 5

พ.ศ. 2504-ปัจจุบนั สมาคมฟุตบอลฯได้จดั การแข่งขันฟุตบอลถ้วยน้อย และถ้วยใหญ่ ซึ่ง


ภายหลังได้จดั การแข่งขันแบบเดียวกันของสมาคมฟุตบอลอังกฤษคือจัดเป็ นประเภทถ้วย
พระราชทาน ก, ข, ค, และ ง และยังจัดการแข่งขันประเภทอื่นๆ อีกเช่น ฟุตบอลนักเรี ยน
ฟุตบอลเตรี ยมอุดม ฟุตบอลอาชีวะ ฟุตบอลเยาวชนและอนุชน ฟุตบอลอุดมศึกษา ฟุตบอลเอฟเอ
คัพ ฟุตบอลควีส์ คัพ ฟุตบอลคิงส์คพั เป็ นต้น ฯลฯ นอกจากนี้ ยงั ได้จดั การแข่งขันและส่ งทีมเข้า
ร่ วมกับทีมนานาชาติมากมายจนถึงปัจจุบนั

พ.ศ. 2511 สมาคมฟุตบอลได้สิทธิ์ ส่งทีมฟุตบอลชาติไทยเข้าร่ วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิ ก


เป็ นครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พุทธศักราช 2511 ณ ประเทศเม็กซิโก

พ.ศ. 2514 การแก้ไขเพิม่ เติมข้อบังคับลักษณะปกครอง ครั้งที่ 6 ชุดฟุตบอลทีมชาติไทย


ชุดแรกที่เดินทางไปแข่งขัน “กีฬาโอลิมปิ ก” ครั้งที่ 16 ณ นครเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย
เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2499

พ.ศ. 2531 สมาคมฟุตบอลฯ ได้มีโครงการจัดการแข่งขันฟุตบอลภายในประเทศ รวมทั้ง


เชิญทีมต่างประเทศเข้าร่ วมแข่งขัน และส่ งทีมเข้าร่ วมการแข่งขันในต่างประเทศตลอดปี
 
 
สนามแข่งขัน

          สนามฟุตบอล ไม่ได้มีการกำหนดขนาดไว้แบบตรง ๆ เนื่องจากในพื้นที่แต่ละสนาม


อาจมีพ้ืนที่ไม่เท่ากัน แต่ได้มีการกำหนดด้านยาว กว้างประมาณ 100-130 หลา ส่ วนด้าน
กว้าง กว้างประมาณ 50-100 หลา โดยแบ่งเขตแดนออกเป็ น 2 ฝั่ง อย่างละเท่า ๆ กัน มี
ประตูขนาดกว้าง 8 หลา สูง 8 ฟุต มีเขตโทษ ซึ่งนับห่างจากโกล ห่าง 18 หลา ส่ วนพื้น
สนามฟุตบอล ใช้หญ้าแท้หรื อหญ้าเทียมก็ได้
 
ลูกฟุตบอล

          ลูกฟุตบอลมีลกั ษณะเป็ นทรงกลม ขนาดเส้นรอบวงไม่เกิน 27-28 นิ้ว และหนัก


400-450 กรัม
 
ผูเ้ ล่น

          มีจำนวนฝั่งละ 11 คน โดยที่เป็ นผูร้ ักษาประตู 1 คน มีหน้าที่ป้องกันไม่ให้ฝั่งตรง


ข้ามยิงประตูได้
 
วิธีการเล่น

          ผูเ้ ล่นจะใช้เท้าเล่นเป็ นหลัก โดยสามารถใช้อวัยวะส่ วนอื่นที่ไม่ใช่แขนและมือ ในการ


เล่นได้ดว้ ย โดยมีเป้ าหมายคือ การทำประตูฝ่ายตรงข้ามให้ได้
 
 
กติกา

           เวลาในการแข่งขัน การแข่งขันแบ่งออกเป็ น 2 ครึ่ ง ครึ่ งละ 45 นาที โดยทั้ง 2


ฝั่งมีหน้าที่ยงิ ประตูฝั่งตรงข้ามให้ได้มากกว่า ทั้งนี้ หากเสมอกันในการแข่งขันฟุตบอลรายการ
แพ้คดั ออก จะต่อเวลาเพิม่ อีกครึ่ งละ 15 นาที รวม 2 ครึ่ ง 30 นาทีดว้ ยกัน และถ้าหากยัง
ตัดสิ นผูช้ นะไม่ได้ ก็จะดวลจุดโทษตัดสิ นฝั่งละ 5 ลูก ซึ่งถ้าหากตัดสิ นไม่ได้อีก ก็จะยิงทีละ 1
ต่อ 1 คือ หากใครยิงพลาด และอีกฝ่ ายยิงได้ ก็เกมจบทันที อย่างไรก็ตาม เมื่อยิงครบ 11 คน
แล้วตัดสิ นผูช้ นะไม่ได้ ก็จะวนกลับมายิงใหม่ที่คนแรก ไปเรื่ อย ๆ
 
           การผิดกติกา ก็มี การที่ไม่ใช่ผรู้ ักษาประตูแล้วใช้มือเล่น หรื อ การพยายามขัดขวาง
การเล่นของฝั่งตรงข้าม เช่น ชน กระแทก ผูเ้ ล่นที่มีบอล ก็คือว่าเป็ นการฟาล์ว และฝ่ ายที่ถูกทำ
ฟาล์ว ก็จะได้ลูกตั้งเตะ แต่ถา้ ฝ่ ายบุกถูกทำฟาล์วในเขตโทษของฝ่ ายรับ ก็จะเป็ นลูกจุดโทษ ที่
ฝ่ ายบุกจะได้โอกาสยิงแบบ 1 ต่อ 1 กับผูร้ ักษาประตูฝ่ายรับ
 
           กรณี ที่ฟุตบอลออกข้าง ฝ่ ายที่ไม่ได้ทำให้ออกข้างจะเป็ นฝ่ ายได้ทุ่ม ส่ วนกรณี บอล
ออกหลัง ถ้าเป็ นฝ่ ายเจ้าของแดนทำออกหลังเอง ฝ่ ายที่เดินหน้าบุก จะได้เตะมุมเข้ามา แต่ถา้ เป็ น
ฝ่ ายบุกที่ทำออก จะเป็ นลูกตั้งเตะจากประตู
 
           ใบเหลือง-ใบแดง จะแจกก็ต่อเมื่อมีผเู้ ล่นที่ทำผิดกติกา ในลักษณะที่รุนแรง หรื อ
การถ่วงเวลา ผูต้ ดั สิ นก็จะให้ใบเหลืองแก่คนที่ผดิ กติกา ส่ วนใบแดง ผูต้ ดั สิ นจะให้กต็ ่อเมื่อ มีการ
ทำฟาล์วที่รุนแรงมาก เช่น ทำให้ได้รับบาดเจ็บหนัก หรื อ เล่นอันตรายอย่างการเปิ ดปุ่ มสตัด๊ ไปที่
ขาของฝ่ ายตรงข้าม เป็ นต้น นอกจากนี้ การได้ใบแดง จะมีอีกกรณี หนึ่งคือ การทำฟาล์วแบบไม่
รุ นแรง แต่ฟาล์วขณะที่ฝั่งตรงข้ามกำลังจะทำประตูได้ ก็ได้รับใบแดงเช่นกัน
 
           การล้ำหน้า คือ การจ่ายบอลไปยังผูเ้ ล่นที่ยนื อยูส่ ูงกว่าผูเ้ ล่นฝั่งตรงข้ามในลำดับรอง
สุ ดท้าย
 
การคิดคะแนน

          นับจากจำนวนลูกฟุตบอลที่ผา่ นเส้นประตูเข้าไปอย่างเต็มใบ ภายในเวลาที่กำหนดใน


การแข่งขัน (90 นาที)
 
          และนี่กค็ ือกติกาเบื้องต้นที่เข้าใจง่าย ในการแข่งขันกีฬาฟุตบอล กีฬายอดฮิตของคน
ไทย ซึ่งคาดว่าจะทำให้ผอู้ ่านสามารถดูฟุตบอลได้อย่างเข้าใจง่ายขึ้น

 
ประวัติกีฬาฟุตบอลโลก

         ฟุตบอลโลก หรื อ ฟุตบอลโลกฟี ฟ่า (FIFA World Cup) เป็ นการแข่งขัน
ฟุตบอลระหว่างประเทศ โดย ฟุตบอลโลก เริ่ มครั้งแรกในปี ค.ศ.1930 (พ.ศ.2473)
สำหรับผูร้ ิ เริ่ มให้มีการแข่งขัน ฟุตบอลโลก ครั้งแรกคือ จูลส์ ริ เมท์ (Jules Rimet) เป็ น
ชาวฝรั่งเศส โดยได้เสนอในที่ประชุมของประเทศสมาชิกสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ เมื่อปี
ค.ศ.1902 (พ.ศ.2445) แต่กว่าจะลงตัวและเริ่ มจัดขึ้นจริ ง ๆ คือปี ค.ศ.1930 ซึ่ง
ประเทศที่ได้เกียรติเป็ นเจ้าภาพ ฟุตบอลโลก ครั้งแรกได้แก่ ประเทศอุรุกวัย โดยมีประเทศที่เข้า
ร่ วมแข่งขันทั้งหมด 13 ชาติ และประเทศอุรุกวัยก็คว้าแชมป์ โลกไปครองได้สำเร็ จ ด้วยการ
เอาชนะประเทศอาร์เจนตินาไป 4-2 ประตู ทั้งนี้ เพือ่ เป็ นเกียรติแด่ จูลส์ ริ เมท์ ถ้วยรางวัลชนะ
เลิศจึงใช้ชื่อ “ถ้วยจูลส์ ริ เมท์”

         จากนั้นก็มีการจัดการแข่งขัน ฟุตบอลโลก ต่อเนื่องมาทุก 4 ปี โดยครั้งที่ 2 จัดขึ้นใน


ปี ค.ศ.1934 (พ.ศ.2477) ที่ประเทศอิตาลี ผลปรากฏว่าทีมเจ้าภาพก็คว้าแชมป์ โลกไป
ครองได้อีก ด้วยการเอาชนะประเทศเชโกสโลวาเกีย ส่ วนครั้งที่ 3 จัดขึ้นในปี ค.ศ.1938
(พ.ศ.2481) ที่ประเทศฝรั่งเศส แต่ประเทศอิตาลียงั ยอดเยีย่ มคว้าแชมป์ โลกไปครองได้อีก
สมัย แต่หลังจากฟุตบอลโลกครั้งที่ 3 การแข่งขันต้องหยุดชะงักไป 12 ปี (ค.ศ.1942,
1946) เนื่องจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 และได้มาเริ่ มแข่งขันครั้งที่ 4 ในปี ค.ศ.1950
(พ.ศ.2493) โดยประเทศบราซิลรับเป็ นเจ้าภาพ ท่ามกลางความขัดแย้งของหลาย ๆ ชาติ
เนื่องจากควันหลงจากสงครามโลกนัน่ เอง 

         ต่อมาในปี ค.ศ.1970 (พ.ศ.2513) ประเทศบราซิลได้คว้าแชมป์ โลกเป็ นสมัย


ที่ 3 จึงได้สิทธิ์ ครอบครอง ถ้วยจูลส์ ริ เมท์ (ซึ่งภายหลังได้ถูกขโมยไป) ทางสมาชิกสหพันธ์
ฟุตบอลนานาชาติจึงได้จดั ทำถ้วยรางวัลขึ้นมาใหม่ โดยใช้ชื่อว่า “ถ้วยฟี ฟ่า” ทำด้วยทองคำ มี
ความสูง 36 เซนติเมตร มูลค่าประมาณ 4 แสนดอลลาร์สหรัฐฯ และใช้มาจนถึงปัจจุบนั

         ขณะเดียวกัน ในปี ค.ศ.1982 (พ.ศ.2524) ซึ่งเป็ นการแข่งขันฟุตบอลโลก


ครั้งที่ 12 ทางสมาชิกสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติได้ปรับเปลี่ยนจำนวนทีมเข้าแข่งขันจากเดิม
16 ทีม เป็ น 24 ทีม และในปี ค.ศ.1998 (พ.ศ.2541) ต่อมาก็เพิ่มจาก 24 ทีมเป็ น
32 ทีม เนื่องจากฟุตบอลเริ่ มได้รับความนิยมไปแพร่ หลายทัว่ โลก แต่ละประเทศมีการพัฒนา
ฝี เท้าขึ้นมาก จึงน่าจะมีทีมที่ผา่ นเข้าสู่ รอบสุ ดท้ายมากขึ้นตามไปด้วย จนได้ชื่อว่าเป็ นการแข่งขัน
กีฬาที่มีผชู้ มมากที่สุดในโลก

         อย่างไรก็ตาม ถือเป็ นธรรมเนียมในการปฏิบตั ิ สำหรับการคัดสรร ตัวมาสคอร์ท


(Mascot) เพื่อเป็ นสัญลักษณ์ฟุตบอลโลก (World Cup Mascot) ในการ
แข่งขันแต่ละครั้ง ในการแข่งขัน ฟุตบอลโลก ครั้งที่ 19 หรื อ ฟุตบอลโลก 2010 ตัวนำโชค
อย่างเป็ นทางการคือ ซากูมี (Zakumi) ซึ่งเป็ นมนุษย์ครึ่ งเสื อดาว ผมสี เขียว ชื่อของเขามี
ที่มาจาก “ZA” ซึ่งเป็ นรหัสประเทศของประเทศแอฟริ กาใต้ “kumi” ซึ่งมีความหมายว่า
“สิ บ” เป็ นจำนวนภาษาที่หลากหลายในแอฟริ กา สี ของตัวนำโชคนี้ บ่งบอกถึงชุดที่ทีมเจ้าภาพ
ใช้ทำการแข่งขัน คือ สี ขาว และ สี ดำ โดยคำขวัญประจำการของ ซากูมี คือ Zakumi’s
game is Fair Play 

You might also like