You are on page 1of 110

คู่มอ

ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย

คูม
่ อ
ื การประเมินความยั่งยืน
ของสถาบันอุดมศึกษาไทย
2

การพัฒนาที่ย่งั ยืน (Sustainable development) คือ การพัฒนาด้วย


ความตระหนักในการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสมโดยไม่กระทบโอกาสของ
คนรุ ่ น ต่ อ ไป การวางแผนเพื่ อ ที่ จ ะพั ฒ นาความยั่ ง ยื น จะต้ อ งพิ จ ารณาการ
พั ฒนาทางเศรษฐกิ จ ความเจริ ญของสัง คม และการพิ ทัก ษ์ สิ่ง แวดล้ อ มไป
พร้อมกัน นอกจากนี้ ประเทศไทยเป็นหนึ่งในสมาชิกองค์การสหประชาชาติ
ในการร่ ว มลงนา มในแผนแม่ บ ทข องโลกเพื่ อการ พั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น หรื อ
แผนปฏิ บั ติ ก าร 21 เพื่ อบรรลุ เ ป้ า หมายการพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น (Sustainable
Development Goals, SDGs) ทั้ ง หมด 17 ข้ อ อี ก ทั้ง สถาบัน อุ ดมศึก ษาเป็น
ส่ ว น ห นึ่ ง ที่ ส า คั ญ ที่ มี บ ท บ า ท ใ น ก า ร ส ร้ า ง แ ล ะ ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู ้ ผ่ า น
กระบวนการศึก ษา และงานวิ จัย โดยมี เ ป้ า หมายผลลั พ ธ์ ข องการผลิ ต ที่ มี
คุ ณ ภาพออกสู่ สั ง คม สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาจึ ง เป็ น องค์ ก รที่ ส าคั ญ ในการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาที่ย่งั ยืน

ห นั ง สื อ คู่ มื อ กา ร ป ร ะ เ มิ น คว า ม ยั่ ง ยื น ข อง สถ า บั น อุ ด มศึ ก ษ า


ในประเทศไทย (SUSA - Thailand) ประกอบไปด้ว ยคาอธิบายและขั้ นตอน
การประเมินของเครื่องมือการประเมินสถาบันอุดมศึกษาที่ถูกออกแบบมาให้
มีความยืดหยุ่น สาหรับองค์กรที่มีความหลากหลายทั้งในเชิง บริบท ที่ต้ังและ
วัฒนธรรม เป็นการส่งเสริมให้สถาบันอุ ดมศึกษาประเมินตนเองและรับรู ้ถึง
สถานการณ์ก ารพั ฒนาความยั่ งยื น ของตนเองได้ ซึ่ ง ประกอบไปด้ ว ยปัจ จั ย
ที่ ส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น ทั้ ง หมด 5 ด้ า น คื อ ระบบการบริ ห ารจั ด การ
สู่ความยั่งยืน เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม อีกทั้ง ยังส่งเสริมให้สถาบันฯ
ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาตนเองจากระดั บ การด าเนิ น งาน การปฏิ บั ติ การมี
ส่ ว นร่ ว มของคนภายในและภายนอกสถาบั น จนไปถึ ง การสร้ า งระบบ
การบริ ห ารที่ ส่ ง เสริ ม ต่ อ การพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น นอกจากนี้ ยั ง เป็ น ตั ว ช่ ว ยใน
การเตรี ย มความพร้ อ มของสถาบั น ฯ เพื่ อ ท าการประเมิ น ความยั่ ง ยื น ด้ ว ย
เครื่องมือสากล เช่น THEs เป็นต้น
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 3
คู่มอ

คานิยามของความยั่งยืน 1
บทบาทของสถาบันอุดมศึกษากับการพัฒนาที่ย่งั ยืน 5
ประโยชน์ที่สถาบันจะได้รบ
ั จากการเข้าร่วมการประเมินความยั่งยืน 7
เครื่องมือการประเมินความยั่งยืน SUSA-Thailand 5
• กระบวนการพัฒนาของระบบการประเมินฯ (How is SUSA developed?) 9
• ขั้นตอนการประเมิน 12
• การเข้าร่วมการประเมินความยั่งยืน (How to participate?) 17
ชุดหัวข้อของข้อมูลและตัวชี้วัด 18
AD นโยบาย ยุทธศาสตร์ และระบบการบริหารจัดการสู่ความยั่งยืน 18
EC1 การกระจายรายได้ซ่งึ เกิดผลกระทบโดยตรงสู่สังคม 21
EC2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจทางอ้อมกับสังคม 25
EC3 กลไกสนับสนุนการลงทุนเพื่อการพัฒนาที่ย่งั ยืน 29
SC1 ความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดี 33
SC2 สิทธิ เสรีภาพ ความเท่าเทียมและเป็นธรรม 38
SC3 การพิจารณาใช้ผลิตภัณฑ์และบริการของสังคมที่ส่งเสริมความยั่งยืน 44
EN1 การจัดการขยะและน้าเสีย 49
EN2 การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการเพิม
่ การดูดกลับก๊าซเรือนกระจก 56
EN3 อาคารเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 63
EN4 คมนาคมและขนส่งที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 70
EN5 การอนุรักษ์พลังงาน 76
EN6 การจัดการน้าเพื่อการอุปโภคบริโภค 82
EN7 การอนุรักษ์ระบบนิเวศ 89
ER1 ระบบการเรียนรู้และระบบส่งเสริมองค์ความรู ้ด้านการพัฒนาที่ย่งั ยืน 94
ER2 งานวิจัยส่งเสริมการพัฒนาที่ย่งั ยืน 104
ความยั่งยืนคืออะไร ?

ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น ( Sustainable development) คื อ


การพัฒนาด้วยความตระหนักในการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม
โดยไม่ ก ระทบโอกาสของคนรุ่ น ต่ อ ไปในการใช้ ป ระโยชน์ จ าก
ทรั พ ยากร นอกจากนี้ ก ารวางแผนการพั ฒ นาจะต้ อ งพิ จ ารณา
ควบคู่ กั น ไประหว่ า งการพั ฒ นาทางเศรษฐกิ จ ความเจริ ญ ของ
สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร พิ ทั ก ษ์ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ น ว คิ ด ค ว า ม ยั่ ง ยื น นี้
มีก ารน าเสนอครั้ งแรกในปี พ.ศ. 2535 ในการประชุ ม องค์ ก าร
สหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่ ย่ังยืน (United
Nations Conference on Environment and Development -
UNCED) หรือ การประชุ มสุดยอด (Earth Summit) ณ เมื อ งริโ อ
เดจาเนโร ประเทศบราซิล ซึ่งประเทศไทยได้ร่วมลงนามในแผน
แม่ บ ทของโลกเพื่ อการพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น หรื อ แผนปฏิ บั ติ ก าร 21
(Agenda 21) โดยประเทศสมาชิ ก ร่ ว มก าหนดเป้ า หมายและ
ด าเนิ น การเพื่ อบรรลุ ก ารพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น ได้ แ ก่ เป้ า หมายการ
พั ฒ น า แ ห่ ง ส หั ส ว ร ร ษ ( Millennium Development Goals:
MDGs) ในช่ วง พ.ศ. 2543-2558 เพื่อ เสริมสร้า งมาตรฐานชี วิต
ความเป็นอยู่ของประชาชน และในปัจจุบัน เป้าหมายการพัฒนา
ที่ ย่งั ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ในช่วง พ.ศ.
2558-2573 ที่ องค์การสกประชาชาติ กาหนดต่ อจากจาก MDGs
เพื่ อบรรลุ เ ป้ า หมายการพั ฒ นาที่ ย่ัง ยื น ในด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม
และสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีท้ังหมด 17 ข้อ ดังนี้
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 2
คู่มอ

ขจัดความยากจน (SDG 1)
มีเป้าหมายที่จะขจัดความยากจนในทุกรูปแบบภายในปี 2573 โดยเป้าหมายนี้จะ
เกี่ยวข้องกับการกาหนดกลุ่มเป้าหมายที่มีที่อยู่อาศัยในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยง
ในการเข้าถึงทรัพยากรเพื่อการอุปโภค บริโภค และการบริการขั้นพื้นฐาน รวมไป
ถึ ง การช่ ว ยเหลื อ ชุ ม ชนที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากความขั ด แย้ ง และภั ย พิ บั ติ ต าม
ธรรมชาติ

ขจัดความหิวโหย (SDG 2)
มีเป้าหมายที่ จะขจัดความหิว โหยทุ กรู ปแบบภายในปี 2573 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เด็ ก และผู้ ด้ อ ยโอกาสได้ รั บ การเข้ า ถึ ง อาหารที่ มี คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการและ
เพียงพอ นอกจากนี้เป้าหมายนี้ยังเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการเกษตรอย่างยั่งยืน
ที่ ช่ ว ยให้ เ ข้ า ถึ ง แหล่ ง ที่ ดิ น ท ากิ น เทคโนโลยี แ ละการตลาดอย่ า งเท่ า เที ย ม

มีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
มีเป้าหมายที่จะยุติการระบาดของโรคเอดส์ วัณโรค มาลาเรีย และโรคติดต่ออื่นๆ
ภายในปี 2573 เพื่ อให้ บ รรลุ ห ลั ก ประกั น ภั ย สุ ข ภาพถ้ ว นหน้ า และจั ด ให้ มี ก าร
เข้าถึงยาและวัคซีนอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิให้กับทุกคน

การศึกษาที่เท่าเทียม (SDG 4)
มีเป้าหมายเพื่อที่ จะขับเคลื่ อนการศึกษาให้มีประสิทธิภาพสาหรับการพัฒนาที่
ยั่ ง ยื น โดยเด็ ก ผู้ ห ญิ ง และผู้ ช ายทุ ก คนจะได้ รั บ ส าเร็ จ การศึ ก ษาฟรี ใ นระดั บ
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา อี กทั้ งยังมีวั ตถุประสงค์ เพื่อจั ดให้มีการฝึกอบรม
อาชีพในราคาที่ เหมาะสมอย่างเท่าเที ยม ขจั ดความเลื่ อมล้า และความไม่เสมอ
ภาคทางเพศ

ความเท่าเทียมทางเพศ (SDG 5)

มี เ ป้ า หมายที่ จ ะสร้ า งความส าเร็ จ ในการยุ ติ ก ารเลื อ กปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ห ญิ ง และ


เด็ กผู้ หญิ งในทุ ก ที่ ความรุ นแรงทางเพศ การละเมิ ดทางเพศ การแรงงานที่ ผิ ด
กฎหมาย และการแบ่ ง แยกชนชั้ น ของประชาชน .

การจัดการน้าและสุขาภิบาล (SDG 6)

มี เ ป้า หมายในการท าให้ มี น้ า ดื่ มที่ ป ลอดภั ย และราคาเหมาะสม โดยจั ด ให้ มี สิ่ ง
อ านวยความสะดวกด้ า นสุ ข อนามั ย และส่ ง เสริ ม สุ ข อนามั ย ทุ ก ระดั บ ปกป้ อ ง
ระบบนิเวศน์ที่เกี่ยวข้องกับน้า รวมทั้งลดการขาดแคลนน้า
3

พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้ (SDG 7)

มีเป้าหมายที่จะทาให้เกิดการผลิตไฟฟ้าที่เหมาะสมในทุกที่ ซึ่งรวมถึงการลงทุน
ในแหล่ งพลี ง งานสะอาด เช่น พลั ง งานแสงอาทิ ตย์ พลั งงานลม และพลั ง งาน
ความร้อน รวมไปถึงการนามาตรฐานการประหยัดค่าใช้จ่ายที่มีประสิทธิภาพมา
ใช้ในอาคารหรืออุตสาหกรรม

การจ้างงานที่มค
ี ณ
ุ ค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ (SDG 8)

มี เ ป้ า หมายในการส่ ง เสริ ม การเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ที่ ย่ั ง ยื น โดยบรรลุ


เป้ า หมายการผลิ ต ในระดั บ ที่ สู ง ขึ้ น และผลิ ต ผ่ า นนวั ต กรรมทางเทคโนโลยี
สนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ ป ระกอบการจ้ า งงานอย่ า งเต็ ม รู ปแบบและมี
ประสิทธิภาพ และเหมาะสมสาหรับผู้หญิงและผู้ชายทุกคน

อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน (SDG 9)

มี เ ป้ า หมายในการใช้ เ ทคโนโลยี แ ก้ ปั ญ หาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ ความท้ า ทายด้ า น


เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม เช่นการใช้เทคโนโลยีใหม่ที่ส่งเสริมประสิทธิภาพใน
การใช้พลังงาน การส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ย่ังยืนและการลงทุนในการวิจัยทาง
วิทยาศาสตร์และนวัตกรรม.

ลดความเหลื่อมล้า (SDG 10)

มี เ ป้ า หมายในการปรั บ ปรุ ง กฎระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ การตรวจสอบของตลาด


การเงินและสถาบันด้านการเงิน ส่งเสริมการช่วยเหลือด้านการพัฒนา และการ
ลงทุ นโดยตรงจากต่ างชาติ ไปยังภูมิ ภาคที่ มีความจาเป็นมากที่ สุด การอานวย
ความสะดวกในการอพยพย้ายถิ่นที่ปลอดภัย

เมืองและถิ่นฐานมนุษย์อย่างยั่งยืน (SDG 11)

มีเป้าหมายในการพยายามจัดการของภาครัฐเพื่อรองรับการเพิ่มขึ้นของจานวน
ประชากร การทาให้เมืองปลอดภัยและยั่งยืน เช่น การทาให้เข้าถึงที่ อยู่อาศัยที่
ปลอดภั ย เหมาะสม และพัฒนาการตั้ งถิ่ นฐานของชุ มชนแออั ด รวมไปถึ งการ
ลงทุ น เรื่ องการขนส่ งสาธารณะ การสร้า งพื้ นที่ สาธารณะสีเ ขียวและปรั บปรุ ง
การวางผังเมืองและการจัดการในลักษณะแบบมีส่วนร่วม

แผนการบริโภคและการผลิตที่ย่งั ยืน (SDG 12)

มีเป้าหมายในการพัฒนาการเจริญเติ บโตทางเศรษฐกิ จและการพัฒนาที่ย่ังยืน


โดยเปลี่ ยนแปลงการผ ลิ ตและการบ ริ โ ภคสิ น ค้ าและทรั พ ยากรอย่ า งมี
ประสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง การก าจั ด ขยะและของเสี ย ที่ ก่ อ เกิ ด มลพิ ษ ได้ อ ย่ า ง
เหมาะสม
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 4
คู่มอ

การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอ
ิ ากาศ (SDG 13)

มีเ ป้า หมายในการสร้ า งความเข้ม แข็ ง ความยื ดหยุ่น และความสามารถในการ


ปรับตัวของภูมิภาคที่มีความเสี่ยง เช่น ประเทศที่ไม่มีทางออกทะเล และประเทศ
ที่ เ ป็ น เกาะ ต้ อ งร่ ว มมื อ กั น เพื่ อพยายามสร้ า งความตระหนั ก รู้ แ ละบู ร ณาการ
มาตรการเข้ า ไปในนโยบายและยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ซึ่ ง รวมไปถึ ง เจตจ านงทาง
การเมืองและเทคโนโลยีที่จะสามารถจากัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกได้

การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล (SDG 14)

มีเป้าหมายในการปกป้อ งระบบนิ เวศทางชายฝั่ งทะเลและทางทะเลจากภาวะ


มลพิษบนก รวมทั้งการจัดการปัญหาผลกระทบของการเป็นกรดของมหาสมุทร
เสริมสร้างการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนของทรัพยากรทะเล

การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก (SDG 15)

มีเป้าหมายมุ่งมั่นที่จะอนุรักษ์และฟื้นฟูประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก เช่น ป่า


ไม้ พื้นที่ชุ่มน้า พื้นที่ก่ึงแห้งแล้ง และภูเขา ส่งเสริมการจัดการป่าอย่างยั่งยืนและ
แก้ ไขการตั ด ไม้ ท าลายป่า และลดการสู ญเสี ยถิ่ นที่ อ ยู่อ าศั ยตามธรรมชาติ แ ละ
ความหลากหลายทางชีวภาพ

สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก (SDG 16)

มีเป้าหมายที่ จะลดความรุ นแรงในทุ กรู ปแบบ หาแนวทางการแก้ไขปัญหาความ


ขัดแย้งและความไม่ม่น
ั คงอย่างยั่งยืน ส่งเสริมการปกครองด้วยกฎหมายและสิทธิ
ม นุ ษ ย ช น .

ความร่วมมือกันเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน (SDG 17)

มีเป้าหมายที่จะเพิ่มความร่วมมือระหว่างประเทศ องค์การ หรือสถาบัน ส่งเสริม


การค้ า งานวิ จัย เทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งจะประสบผลสาเร็จในหลั กการที่ เสมอภาค
และยุติธรรม

ทั้งนี้ สถาบันจะเกิดการพัฒนาที่ย่งั ยืนได้ก็เมื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืนครบทั้ง 17 ข้อ ในระบบ


การบริหาร การวางแผน การดาเนินงาน การลงมือปฏิบัติการ และการมีส่วนร่วม ซึ่งครอบคลุมทั้ง 3 ปัจจัยหลักของ
การพัฒนาที่ย่งั ยืน นั่นคือ เศรเษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม
5

บทบาทของสถาบันอุดมศึกษา
กับการพัฒนาที่ยง่ั ยืน

สถาบั น การศึ ก ษาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของสั ง คมที่ มี บ ทบาท


สาคั ญในการสร้า งและถ่ า ยทอดองค์ ความรู้ ผ่านกระบวนการ
ศึกษา และวิจัย โดยมีเป้าหมายผลลัพธ์ของการผลิตบัณฑิตที่ มี
คุณภาพออกสู่สัง คมรวมถึ งการพยายามน าองค์ ค วามรู้ ที่ มีอ ยู่
ถ่ า ยทอดผ่ า นกลไกการประยุ ก ต์ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด การใช้ ง านที่ เ ป็ น
ประโยชน์ต่อชุมชน สังคม ประเทศชาติ และโลกใบนี้ นอกจากนี้
สถาบันการศึกษายังเป็นแบบอย่างที่ ดีในสังคมได้อีกด้วย โดยมี
หน้ า ที่ ใ นการสร้า งความตระหนั ก ความรู ้ ทั ก ษะต่ า งๆ รวมทั้ ง
ส ร้ า ง คุ ณ ค่ า ส่ ง เ ส ริ ม กิ จ ก ร ร ม แ ห่ ง ค ว า ม ยั่ ง ยื น ดั ง นั้ น
สถาบั น การศึ ก ษาจึ ง เป็ น เครื่ องมื อ และกลไกที่ ส าคั ญ ในการ
พัฒนาที่ย่งั ยืนของสังคม
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 6
คู่มอ

ประโยชน์ทส
ี่ ถาบันการศึกษาจะได้รบ
ั จาก
การเข้าร่วมการประเมินฯ

การประเมิ น ความยั่ ง ยื น ของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาสามาร


ส่งเสริมให้สถาบันฯ มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กร
รวมถึงการสร้างนโยบายและยุทธศาสตร์ที่จะช่วยให้สถาบันฯ เกิด
การพัฒนาตนเองในด้านการดาเนินงานภายในสถาบันฯ เพื่อที่จะ
น าไปสู่ความเป็นสถาบันการศึกษาที่ ย่ังยืนจนเป็นแบบอย่างที่ ดี
แ ล ะมี ส่ วน ร่ วมกั บ สั ง ค มพ ร้ อ มผลั ก ดั น สู่ สั ง ค มที่ ยั่ ง ยื น ใ น
ระดั บ ประเทศต่ อ ไปได้ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ น าเครื่ องมื อ การ
ประเมินฯ นี้ ไ ปใช้จ ะได้ รับ ผลประโยชน์มากมายหลายประการ
ดังนี้

1. สามารถพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่สง่ เสริมให้เกิดการ
พัฒนาทีย
่ ง่ั ยืน

2. สามารถพัฒนาระบบการดาเนินงานที่ส่งเสริมการพัฒนา
ที่ย่งั ยืน

3. สามารถสร้ า งเครื อ ข่ า ยการเรี ย นรู้ แ ละการมี ส่ ว นร่ ว ม


กับสังคม

4. สามารถทราบระดับศักยภาพการพัฒนาที่ย่งั ยืน
7

สามารถพัฒนาระบบการบริหารจัดการทีส
่ ง่ เสริมให้เกิดการพัฒนาทีย
่ ง่ั ยืน

การประเมิ น ความยั่ งยื น ของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา สามารถท าให้


สถาบั น ฯ พิ จ ารณาปรั บ ปรุ งและพั ฒ นา วิ สั ย ทั ศน์ นโยบาย และ
ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ช่ ว ยส่ ง เสริ ม การด าเนิ น งานของสถาบั น ฯ ทั้ ง ทางด้ า น
เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมเพื่อนาไปสู่ความเป็นสถาบันการศึกษา
ที่ย่งั ยืน

สามารถพัฒนาระบบการดาเนินงานที่ส่งเสริมการพัฒนาที่ย่ังยืน

สามารถส่ ง เสริ ม ให้ ส ถาบั น ฯ พั ฒ นาระบบการเก็ บ ข้ อ มู ล จาก


หน่ ว ยงานต่ างๆของสถาบั น ให้ อ ยู่ ใ นระบบเดี ย วกั น ไม่ ซั บ ซ้ อ น มี
คณะกรรมการหรือ หน่ วยงานเฉพาะในการเก็ บ รวบรวมข้อ มูล ติ ดตาม
ตรวจสอบ และส่งเสริมกิจกรรมที่ สนั บสนุ นการพัฒนาที่ ย่ังยืนให้เกิ ดขึ้น
ภายในและภายนอกสถาบั น ฯ อี ก ทั้ ง ยั ง ประเมิ น ศั ก ยภาพของการ
ดาเนินงานและกิจกรรมต่างๆเพื่อนาไปปรับปรุงและพัฒนาองค์กรต่อไป

สามารถสร้างเครือข่ายการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมกับสังคม

สามารถส่งเสริมให้สถาบันฯ มีกิจกรรมสร้างการเรียนรู้ผ่านการ
ปฏิ บั ติ ร่ ว มกั บ สั ง คมภายนอกและสั ง คมนั้ น น าไปปฏิ บั ติ ต่ อ ได้ จ ริ ง จน
เกิ ด ผลกระทบในวงกว้ า งด้ า นการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ สิ่ ง แวดล้ อ ม และ
ความเป็ นอยู่ ที่ ดีใ นสั งคม อี ก ทั้ งยั งเป็ น แนวทางการปฏิ บั ติ ที่ ส่ งเสริ มให้
เกิดความเป็นสังคมที่ย่งั ยืนในระดับประเทศอีกต่อไปได้ด้วย

สามารถทราบระดับศักยภาพการพัฒนาที่ย่ังยืน

สถาบันฯ สามารถทราบถึงระดับศักยภาพการพัฒนาที่ ย่ังยืนของ


ตนเองหลังจากที่ ได้ทาการประเมินแล้ว โดยสถาบันฯ สามารถรู้จุดแข็ง
และจุ ด อ่ อ นเพื่ อน าไปปรั บ ปรุ ง ข้ อ บกพร่ อ งและพั ฒ นาตนเองให้ มี
ศักยภาพมากยิ่งขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อมการประเมินในรอบถัดไป ซึ่ ง
ระบบการประเมินนี้จะเน้นการเปรียบเทียบตนเองเพื่อให้เกิดการพัฒนา
ศักยภาพในการดาเนินงานของสถาบันฯ ที่ ส่งเสริมการพัฒนาที่ ย่ังยืนให้
เพิ่มขึ้นได้อย่างชัดเจน
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 8
คู่มอ

เครื่องมือการประเมิน SUSA – Thailand

เครื่ องมื อ การประเมิ น SUSA – Thailand ถู ก พั ฒ นามาจาก


เครื่อ งมือ การประเมิ น ความยั่งยื น ที่ เป็ น ที่ ยอมรั บ ในระดั บ สากล ซึ่ งถู ก
เลือกมาเป็นต้นแบบในการพัฒนาเครื่องมือ SUSA - Thailand มีท้ั งหมด
8 เครื่องมือได้แก่ AUA, AISHE, CSRC, GRI, SAFA, STARS, THE และ UI
GreenMetric เพื่ อน ามาวิ เ คราะห์ แ ละสั ง เคราะห์ เ ป็ น แนวทางการ
ออกแบบเครื่องมือการประเมินความยั่งยืนสาหรับสถาบันอุ ดมศึกษาใน
ประเทศไทย จากการศึกษาเครื่องมือดังกล่าวพบว่าเกณฑ์มาตรฐานของ
AUA ให้ ค วามส าคั ญ ในปั จ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การบริ ห ารจั ด การองค์ ก ร
และระบบการศึ ก ษาและงานวิ จั ย เป็ น หลั ก ในขณะที่ เ กณฑ์ AISHE,
CSRD, STARS และ THEs ถู ก พั ฒนามาเพื่อ ประเมิ น สถาบั น การศึก ษา
โดยเฉพาะ อย่ า งไรก็ ต าม UI GreenMetric เป็ น ระบบการประเมิ น ที่
มุ่ ง เน้ น ความเป็ น สถาบั น สี เ ขี ย ว จึ ง ให้ ค วามส าคั ญ ในด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม
ค่ อ นข้ า งสู ง และในส่ ว นของ GRI จะให้ ค วามส าคั ญ ทางด้ า นสั ง คมสู ง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจั ยที่เกี่ ยวข้องกั บบุ คลากรภายในองค์กร เนื่องจาก
GRI ถูกออกแบบเพื่อ ใช้ ป ระเมิน ความยั่งยื นขององค์ ก รทั่ วไป หลั งจาก
ทบทวนเครื่อ งมือ การประเมิน ฯ ดั งกล่ า วและจั ดประเภทความซ้า ซ้ อ น
ของข้ อ มู ล สามารถแบ่ ง ออกเป็ น 5 หมวดที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ การบริ ห าร
จั ดการองค์ กร เศรษฐกิ จ สังคม สิ่งแวดล้ อม และการเรียนการสอนและ
งานวิจัย โดยมี 17 ประเด็นแบ่งเป็น 5 ประเด็นหลัก (ประเด็นบังคับการ
ประเมิน) และ 12 ประเด็นย่อย (ประเด็นเลือกประเมิน)
9

กระบวนการพัฒนาของระบบการประเมินความยั่งยืน
(How is SUSA developed?)
ร่างระบบการประเมินความยัง่ ยืน
ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

1. คาจากัดความและขอบเขตของความ
ทบทวนวรรณกรรม ยั่งยืนของสถาบัน แบบสอบถาม
 Alternative University Appraisal
 ข้อมูลทั่วไปขององค์กร
(AUA) 2. ข้อมูลพื้นฐานของสถาบัน  มุมมองความยั่งยืนของ
 Auditing Instrument for Sus- สถาบันอุดมศึกษา
tainability in Higher Education  การดาเนินการของ
3. การวิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนของ
(AISHE) สถาบันอุดมศึกษาสู่การพัฒนาที่
สถาบันเบื้องต้น
 College Sustainability Report ยั่งยืนที่ผ่านมา

Card
 แนวทางการประเมินความยั่งยืน
4. ข้อมูลที่สามารถเลือกรายงานตาม ของสถาบันอุดมศึกษา
 Global Reporting Initiatives บริบทขององค์กร  การรายงาน UI GreenMetric ที่
 Sustainability Assessment of ผ่านมา
Food and Agriculture Systems 5. การนาเสนอผลการประเมิน  ข้อเสนอแนะ
 Sustainability Tracking, Assess-
ment & Rating System (STARS)
 Time Higher Education Impact
University Rankings นาร่องระบบประเมิน
ประชุมกลุม
่ ย่อย
 UI GreenMetric สถาบันรัฐขนาดเล็ก
ครั้งที่ 1: กราบการประเมิน
สถาบันรัฐขนาดกลาง
ครั้งที่ 2: โมดูลของระบบประเมิน
รวบรวมข้อมูลสถาบันอุดมศึกษาใน สถาบันรัฐขนาดใหญ่
ครั้งที่ 3: ตัวชี้วัดของระบบบประเมิน
ประเทศไทย สถาบันเอกชน
 รายงานความยั่งยืนของสถาบัน
 รายงานประจาปีของสถาบัน
 เว็บไซต์ของสถาบัน เผยแพร่ระบบประเมิน 4 ครั้ง

ระบบประเมิน ความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 10
คู่มอ
11

ขัน
้ ตอนการประเมิน
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 12
คู่มอ
13

1. ข้อมูลทั่วไปของสถาบันอุดมศึกษา

ขั้น ตอนแรกเป็น การรวบรวมข้ อ มูลทั่ ว ไปของสถาบัน อุ ดมศึกษาที่ กาหนดให้ สถาบันฯ รายงาน และ
สั ง เคราะห์ เ ป็ น ชุ ด ข้ อ มู ล พื้ นฐานที่ ต้ อ งรายงาน ตั ว อย่ า งเช่ น ที่ ต้ั ง โครงสร้ า งขององค์ ก ร เป้ า หมาย
ยุ ทธศาสตร์ ผู้ มีส่วนได้เ สีย จ านวนวิ ทยาเขต/คณะ/ศูน ย์ / สถาบัน จ านวนนั ก ศึก ษาและบุ คลากร การใช้
ประโยชน์ที่ดินภายในสถาบัน งบประมาณรายได้ เป็นต้ น ซึ่งข้อมูลส่วนใหญ่ในการรายงานขั้นตอนแรกนี้
สถาบันฯ มีการจัดทาอยู่แล้ว

2. การวิเคราะห์จุดเด่นและข้อจากัดขององค์กรเบื้องต้น

ในส่วนนี้เป็นการประเมินเบื้องต้ นเพื่อให้สถาบัน ฯ ทราบถึ งภาพรวมการดาเนิน งานของตนเอง โดย


สถาบันฯ ทาการประเมินความพร้อมในการรายงานด้วยแบบสอบถาม และกาหนดค่าความสาคัญในมุมมองของผู้
มีส่วนได้เสียด้วยวิ ธีการให้คะแนนความส าคัญ หรื อ เรี ย งล าดั บ ความส าคั ญ ในแต่ ล ะประเด็ น ทั้ ง นี้ สถาบั น ฯ
สามารถกาหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียได้ตามความเหมาะสม นอกจากนี้ สถาบันฯ สามารถเลือกวิธีการกาหนดค่า
ความสาคัญได้ ดังนี้

• การจัดประชุมเชิงปฏิบต
ั ิการ
• ให้ผู้มส
ี ว
่ นได้เสียของสถาบันฯ ทาแบบสอบถาม
• จัดประชุมผู้บริหารเพื่อทาการกาหนดค่าความสาคัญ
• สถาบันฯ กาหนดวิธีการให้ค่าความสาคัญเอง

ผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนการประเมินนี้ทาให้สถาบันสรุ ปภาพรวมการดาเนินงานด้านการพัฒนาที่ย่งั ยืน


ในมิติต่างๆ หลังจากสร้างแผนภูมแ
ิ บ่งจตุรภาคแล้ว สถาบันฯ ควรพิจารณานาประเด็นในกลุ่มค่าความสาคัญสูง
และคะแนนความพร้ อมในการรายงานสูง (Q1) หรื อ กลุ่มค่ า ความส าคั ญต่ า แต่ คะแนนความพร้ อ มในการ
รายงานสูง (Q2) มารายงานในขั้นตอนที่ 3 ต่อไป นอกจากนี้กลุ่มค่าความสาคัญสูงแต่คะแนนความพร้อมในการ
รายงานต่ า (Q3) ควรพิจารณารายงานในปีถัดไป และกลุ่มค่าความสาคัญต่ าและคะแนนความพร้ อมในการ
รายงานต่า (Q4) ไม่ควรนามาพิจารณาต่อ
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 14
คู่มอ

3. การประเมินเชิงลึกเพื่อประเมินศักยภาพการพัฒนาที่ย่งั ยืน

ในขั้ น ตอนนี้ สถาบั น ฯ ทาการคั ดเลื อ กประเด็ น ย่ อ ยมาเพื่ อ ประเมิน เชิ ง โดยน าผลลั พธ์ ที่ไ ด้ จ ากการ
ประเมินในส่วนที่ 2 ทั้งนี้ การประเมินส่วนนี้มีประเด็นบังคับตอบทั้งหมด 5 โมดูล ซึ่งครอบคลุมองค์ประกอบ
หลักของการพัฒนาที่ย่ังยืน (การบริหารจั ดการ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม การเรียนการสอนและงานวิ จัย)
ดังนี้

• วิสย
ั ทัศน์ ยุทธศาสตร์ และระบบการบริหารจัดการองค์กร
• กลไกสนับสนุนการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาที่ย่งั ยืน
• ความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดี
• การจัดการขยะและน้าเสีย
• ระบบการศึกษาที่สง่ เสริมองค์ความรู ้ด้านการพัฒนาที่ย่งั ยืน

รู ปแบบกา รประเมิ น ส่ ว นนี้ ถู ก ออกแบบมาให้ ค รอบครอบคลุ ม ระดั บ การพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น ของ
สถาบันอุดมศึกษา ซึ่งประกอบไปด้วยตัวชี้วัด 5 ประเภท คือ นโยบาย แผนการดาเนินการ ระบบตรวจวัด การมี
ส่วนร่วมกับสังคม และโดดเด่น (เป็นระดับพิเศษ) ทั้งนี้ ตัวชี้วัดทั้ง 5 มีค่าน้าหนักที่ถก
ู กาหนดให้แตกต่างกัน โดย
มีคาจากัดความ ดังนี้

1. นโยบาย (ค่าน้าหนัก = 10) หมายถึง สถาบันฯ มีนโยบาย หรือยุทธศาสตร์ที่ส่งเสริมความสาเร็จในการ


พัฒนาที่ย่งั ยืนตรงตามประเด็นทั้ง 17 ข้อ เพื่อส่งเสริมการดาเนินงาน กิจกรรม คุณภาพชีวิตของผู้มีส่วน
ได้เสียทั้งภายในและภายนอกสถาบัน และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของสถาบันฯ

2. แผนการดาเนินงาน (ค่าน้าหนัก = 20) หมายถึง สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติงานและได้ปฏิบัติตามแผน เพื่อ


ส่งเสริมความสาเร็จในการพัฒนาการดาเนินงานและกิจกรรมที่สง่ เสริมการพัฒนาที่ย่งั ยืน

3. ระบบตรวจวัด (ค่าน้าหนัก = 40) หมายถึง สถาบันฯ มีฐานข้อมูลตัวชีว้ ด


ั และบรรลุเป้าหมายทีไ่ ด้วางไว้ พร้อม
ทัง้ เปิดเผยข้อมูลตัวชีว้ ด
ั เผยแพร่สส
ู่ าธารณะ เพื่อให้สาธารณะเป็นผูต
้ รวจสอบผลการดาเนินการ ซึง่ ตัวชีว้ ด
ั ใน
กลุม
่ โดย แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่

• ตัวชีว้ ัดทีส
่ ามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี เช่น สัดส่วนเงินลงทุนที่สนับสนุนโครงการที่
เกี่ยวเนื่องการพัฒนาที่ย่ังยืน ความพึงพอใจต่ อความเป็นอยู่ในมหาวิทยาลัย ปริมาณขยะมูล
ฝอยที่เ กิ ดขึ้น ปริ มาณน้า เสียที่ ปล่ อยทิ้ ง จานวนผลการตี พิ มพ์ วรสารวิ ช าการที่เชื่ อมโยงกั บ
เป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืนของสหประชาชาติ เป็นต้น
• ตัวชีว้ ัดทีต
่ อ
้ งมีการลงทุนสูง และใช้ระยะเวลาเตรียมการนาน เช่น สัดส่วนพื้นที่เปิดโล่งและซึม
น้า อัตราส่วนพื้นที่สเี ขียวสาธารณะที่เข้าถึงได้ต่อคน ร้อยละการผลิตไฟฟ้าและพลังงานความ
ร้อนจากพลังงานหมุนเวียน เป็นต้น
• ตัวชี้วัดที่ไม่สามารถกาหนดเป้าหมายได้ เช่น จานวนการเกิดอุบัติเหตุที่ส่งผลทาให้ถึงแก่ชีวิต
สูญเสีย อวั ย วะหรื อทุพพลภาพ อั ต ราส่ว นทางเพศของกลุ่มผู้บริห ารฝ่า ยวิ ช าการระดั บรอง
คณบดีข้น
ึ ไป ร้อยละของนักศึกษา/บุคลากรผู้พิการ เป็นต้น
15

โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนที่แตกต่างกัน เนื่องจากในแต่ละประเด็นประกอบด้วยชุดตัวชี้วัดที่แตกต่าง
กัน โดยสถาบันฯ ประเมินคะแนนเป็นรายตัวชี้วัด แล้วจึ งคานวณอัตราส่วนผลรวมคะแนนที่ได้ต่อคะแนนเต็ ม
ทั้งหมด ตัวอย่างเช่น ประเด็น ก มี 3 ตัวชี้วัด และสถาบันฯ ได้รับคะแนน 0.5, 0.0 และ 1.0 คะแนน ตามลาดับ
ดั ง นั้ น คะแนนที่ ส ถาบั น ฯ ได้ จ ากกลุ่ ม ตั ว ชี้ วั ด นี้ คื อ (0.5+0.0+1.0)/(1.0+1.0+1.0) = 0.5 คะแนน

4. การมีส่วนร่วมกับสังคม (ค่าน้าหนัก = 30) หมายถึง การดาเนินงานร่วมกับสังคมในการพัฒนาโครงการ


หรือกิจกรรม จนนามาสูก
่ ารเกิดผลกระทบเชิงบวกทางสังคมในวงกว้าง ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม นั่น
คือ สถาบันฯ สามารถพิสูจน์ได้ว่าสังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน มีรายได้เพิ่มมากขึ้น หรือมีสิ่งแวดล้อมและ
สุขภาพที่ดีข้น

5. โดดเด่น (คะแนนพิเศษ = +5) หมายถึง สถาบันฯ มีโครงการที่ได้รับการยอมรับได้รับรางวัลระดับประเทศ


(สถาบันฯ ได้รับรางวัลดีเยี่ยม เหรียญทองหรือรางวัลชนะเลิศ) หรือในระดับชาติหรือนานาชาติ (สถาบันฯ
ได้รับการจั ดลาดับ 1- 100) หรือโครงการที่พัฒนาโดยสถาบันฯ ได้รับการยอมรับ และมีหน่วยงานอื่ น
นาไปประยุกต์ ใช้ในพื้นที่อ่ ื น จนส่งผลเชิงบวกในพื้นที่อ่ ื นเป็นวงกว้ าง ระดับตั วชี้วัดนี้ถูกกาหนดให้เป็น
คะแนนพิเศษ

ตัวอย่างการประเมินในประเด็น การจัดการขยะ

ประเภทตัวชีว
้ ัด ผลการประเมิน คะแนน
นโยบาย (ค่าน้าหนัก = 10) 1 10 x 1 = 10
ผลการดาเนินงาน (ค่าน้าหนัก = 20) 1 20 x 1 = 20
ระบบตรวจวัด (ค่าน้าหนัก = 40)

• ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น 0.5
• ปริมาณเศษอาหารเหลือทิ้งต่อจานวนนักศึกษา 0.75
บุคคลากรภายในสถาบัน
• ปริมาณขยะที่ถูกแปรรูปมาใช้ใหม่ 1 0.55 x 40 = 22
• ปริมาณน้าเสียที่ถูกบาบัดและนากลับมาใช้ใหม่ 0.25
• ปริมาณน้าเสียที่ปล่อยทิ้ง 0.25
รวม (เฉลี่ย) 0.55

การมีส่วนร่วมกับสังคม (ค่าน้าหนัก = 30) 0.75 0.75 x 30 =22.5

โดดเด่น (คะแนนพิเศษ = +5) 0 0

รวม 74.5
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 16
คู่มอ

4. การนาเสนอผลการประเมิน

รูปแบบการนาเสนอผลลัพธ์พฒ
ั นามาจากแนวทางการนาเสนอผลลัพธ์ของ SAFA อย่างละเอียด ให้ออกมา
เป็นรูปแบบการนาเสนอแบบกราฟใยแมงมุม (Radar chart) ซึ่งเหมาะสาหรับการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ใน
แต่ละประเด็นภายใต้ 5 หมวดหลักที่สาคัญ อีกทั้งสถาบันฯ สามารถศึกษาความแตกต่างระหว่ างเป้าหมายกั บ
ปัจจุ บัน หลั ง จากที่ ทราบผลลั พธ์ แล้วสถาบัน ฯ สามารถตรวจสอบ (Check) จุ ดเด่น และข้ อจากั ดของตนเอง
รวมทั้งนาผลการประเมินที่ได้ไปจัดทาแผนการพัฒนาสถาบันฯ สูค
่ วามยั่งยืนต่อไป โดยปรับปรุ งการดาเนินงาน
และกิจกรรมของสถาบันฯ (Act) รวมทั้งสถาบันฯ สามารถพิจารณาเตรียมความพร้อมสาหรับการประเมินในปี
ถัดไปได้ อี ก ด้ว ย ทั้ง นี้ หัว ใจสาคั ญของระบบการประเมิน SUSA – Thailand คือ การส่ง เสริ มให้สถาบัน มีก าร
พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
17

การเข้าร่วมการประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษา
ในการเข้ า ร่ว มประเมิ น ความยั่ ง ยื น ของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาด้ ว ยเครื่ อ งมื อ SUSA – Thailand
สถาบั น ฯ ควรศึก ษาระบบการประเมิน ผ่า นคู่มือ อย่า งละเอี ยด และดาเนิ น การส่งข้อ มูลเพื่อ ท าการ
ประเมินตามเงื่อนไขที่กาหนด ดังนี้

 สถาบันฯ ควรเลือกข้อมูลทาการประเมินจากกิจกรมของสถาบันฯ ในปีงบประมาณล่าสุด

 สถาบั นฯ ควรกรอกข้อมูลพื้นฐานทั่วไปให้ ครบถ้ วน หากท่ านไม่สามารถให้ ข้อมูลได้ โปรด


ระบุหมายเหตุ

 สถาบันฯ ควรแนบรูปถ่าย เอกสาร หรือ เว็บไซต์เพื่อเป็นหลักฐานในการประเมิน

วิธีการเข้าร่วมประเมิน

สถาบันฯ สามารถลงทะเบียนเข้าระบบการประเมิน กรอกข้อมูล ตอบแบบสอบถาม และการ


แนบเอกสารเพื่อใช้ประกอบการประเมินได้ที่เว็บไซต์ https://www.susathai.net/

ขั้นตอนที่ 1 (ข้อมูลทั่วไปของสถาบันอุดมศึกษา)

สถาบันฯ กรอกข้อมูลพื้นฐานทั่วไปลงในช่องตอบคาถามให้ครบถ้วน

ขั้นตอนที่ 2 (การวิเคราะห์จุดเด่นและข้อจากัดขององค์กรเบื้องต้น)

ขั้นตอนที่ 2 ประกอบด้วยไปด้วยสองส่วน

• การประเมินความพร้อมในการรายงาน

ส่วนนี้สถาบันฯ ประเมินความพร้อมในรายงานด้วยแบบสอบถามที่ ปรากฏ โดยเลือก


คาตอบเพียง 1 คาตอบในแต่ละคาถามย่อย

• การกาหนดค่าความสาคัญ

สถาบันฯ ต้องกาหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียและวิธีการที่จะได้ค่าความสาคัญตามแนวทาง
4 วิ ธีดั งที่ ก ล่ า วในหั ว ข้อ ขั้น ตอนการประเมิ น 4 ขั้ น ตอน แล้ ว น าค่ า ความสาคั ญที่ ไ ด้
กรอกลงในช่องลงคะแนน

หลังจากที่ สถาบันดาเนินการตอบแบบสอบถามและกาหนดค่าความสาคัญเสร็จแล้วระบบจะ
ทาการแสดงแผนภูมิผลลัพธ์ที่ท่านได้เพื่อนาไปพิจารณาประเมินต่อในขั้นตอนที่ 3

ขั้นตอนที่ 3 (การประเมินเชิงลึกเพื่อประเมินศักยภาพการพัฒนาที่ย่ังยืน)

เมื่อสถาบั น ฯ ท าการคั ดเลือ กประเด็ น ย่อ ยจากผลลั พธ์ ที่ ได้ จากการประเมิ นในขั้น ตอนที่ 2
รวมทั้ งประเด็นหลักเพื่อทาการประเมินเชิงลึกแล้ว สถาบันสามารถกรอกข้อมูลเพื่ออธิบายกิ จกรรม
หรือผลงานของสถาบันฯ พร้อมทั้ งแนบไฟล์เอกสาร URL หรือรู ปภาพเพื่อเป็นหลักฐานประกอบการ
ประเมิน
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 18
คู่มอ

AD
นโยบาย ยุทธศาสตร์ และระบบ
การบริหารจัดการสูค
่ วามยั่งยืน
คานิยาม

สถาบั น ฯ มี น โยบาย ยุ ท ธศาสตร์ และระบบบริ ห ารการ


จั ดการที่ เกี่ ยวข้องกับการพัฒนาที่ ย่ังยืน ส่งเสริมให้มีการพัฒนาการ
ดาเนิ นงานที่ สนั บสนุ นการพัฒนาที่ ย่ังยืนในทุ กๆด้ าน โดยสถาบั น ฯ
อาจพิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการประกอบด้ ว ยผู้ บ ริ ห าร เพื่ อ
พัฒนา ติดตามและทบทวนการดาเนินการของโครงการและกิจกรรม
ที่สนับสนุนการพัฒนาที่ย่งั ยืน รวมถึงมีหน่วยงานกลางที่ ทาหน้าที่ ใน
การเก็ บรวบรวมข้อมูลการดาเนิน การโครงการและกิ จกรรม พร้อ ม
ทั้งวิเคราะห์ผลการดาเนินการโครงการและกิ จกรรมที่ สนับสนุนการ
พัฒนาที่ย่ังยืน จากการทบทวนวรรณกรรมงานวิ จัยพบว่า สถาบันที่
ปราศจากนโยบาย ยุ ทธศาสตร์สู่ ก ารเป็ นองค์ กรที่ ย่ังยืน นั้ น ไม่อ าจ
ดาเนินกิจกรรมส่งเสริมความยั่งยืนได้อย่างต่อเนื่อง

ความเชื่อมโยงกับการพัฒนาที่ย่ังยืน

การสร้ า งนโยบาย ยุ ท ธศาสตร์ และระบบการ


บ ริ ห า รจั ดก า ร ที่ สนั บ สนุ น ก า รด า เนิ น งา น ที่
เกี่ ย วข้ อ งกั บ การพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น ของสถาบั น ฯ
สามารถส่งเสริมให้สถาบันฯ บรรลุเป้าหมายการ
พัฒนาที่ย่งั ยืนทั้ง 17 ข้อได้
19

ประเภทตัวชี้วัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่ังยืน

นโยบาย

สถาบั น ฯ มี น โยบาย ยุ ท ธศาสตร์ และระบบบริ ห ารการจั ด การด้ ว ยวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ใ นการ
สนับสนุ นการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ ย่ังยืนขององค์ การสหประชาชาติ (Sustainable develop-
ment goals: SDGs) และ/หรือ การมุ่งเน้นเป็นองค์กรที่เป็นมิตรต่ อสิ่งแวดล้อม ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงให้ความสาคัญถึงความเป็นอยู่ที่ดีของนักศึกษา และบุคลากรของสถาบัน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบัน มีน โยบายและยุท ธศาสตร์ที่เกี่ ยวข้อ งกั บ การสนั บสนุ นการพัฒนาที่
ยั่งยืน

0 คะแนน หมายถึง ไม่มีนโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง

แผนการดาเนินงาน

สถาบันมีแนวทางการดาเนินงาน ระบบหารติดตาม ตรวจสอบ และทบทวนผลการดาเนินงาน


ตามนโยบายและยุทธศาสตร์ที่กาหนดไว้ โดยมีแนวทางในการปฏิบัติและดาเนินงาน ดังนี้

 สถาบั น ฯ แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการประกอบด้ ว ยผู้ บ ริ ห าร และ/หรื อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย เพื่ อ ก าหนด
แผนการดาเนินงาน การติดตามและทบทวนการดาเนินการของโครงการและกิจกรรมที่สนับสนุน
การพัฒนาที่ย่งั ยืน ตามนโยบายและยุทธศาสตร์ที่ได้กาหนดไว้

 สถาบันฯ มีหน่วยงานกลางประกอบด้วยบุคลากรสายวิชาการและเจ้าหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูล
การดาเนินการโครงการและกิ จกรรม พร้อมทั้งวิเคราะห์ผลการดาเนินการโครงการและกิ จกรรม
ที่สนับสนุนการพัฒนาที่ย่งั ยืน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีคณะกรรมการ และหน่วยงานกลางที่มีหน้าที่ส่งเสริมความยั่งยืนของ


สถาบัน (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีคณะกรรมการและหน่วยงานกลาง


ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 20
คู่มอ

การมีส่วนร่วมกับสังคม

สถาบัน ฯ มีกิ จกรรมที่ บุคคลทั้ งภายในและภายนอกสามารถมีส่วนร่วมได้ ซึ่ งมีลักษณะการ


ดาเนินงาน ดังนี้

 สถาบันมีการจัดทาและเผยแพร่รายงานประจาปีหรือรายงานความยั่งยืน เพื่อนาเสนอภาพรวม
การดาเนิ นโครงการและกิ จ กรรมส่ งเสริมความยั่งยืน ขององค์ ก รสู่ส าธารณะเกิ ดประโยชน์ กั บ
สังคมทั้งทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม หรือความเป็นอยู่ที่ดีข้น
ึ ของผู้มีส่วนได้เสีย

 สถาบันฯ เปิดโอกาสให้นักศึกษา บุคลากรภายในองค์กรและสังคมมีส่วนร่วมในการพัฒนาและ


ปรับปรุ งวิสัยทัศน์และนโยบายของการพัฒนาที่ย่งั ยืนอย่างต่อเนื่อง

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันจัดทาและเผยแพร่รายงานความยั่งยืน และดาเนินการตามกิ จกรรม


ที่ 1 (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)
0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันเปิดโอกาสให้นักศึกษา บุคลากรภายในและภายนอกองค์กรมีโอกาส
ได้ แ สดงควา มคิ ด เห็ น รั บ ข้ อ เรี ย กร้ อ ง/ร้ อ งเรี ย น และมี ก ารน ามาพิ จ ารณา
ประกอบการพัฒนาและปรับปรุงวิสัยทัศน์และนโยบายของสถาบัน (กิจกรรมที่ 1)
0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่เผยแพร่รายงานความยั่งยืน และไม่มีความร่วมมือกั บผู้มีส่วน
ได้เสียทั้งภายในและภายนอกองค์กร

โดดเด่น

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้


 สถาบันฯ มีการกาหนดวิสัยทั ศน์ ยุทธศาสตร์ และระบบบริหารจั ดการองค์กรที่ มีประสิทธิภาพ
ประสิ ท ธิ ผล มี ความส าเร็จ ในการด าเนิ น งานที่ ชั ดเจนและเป็ น ที่ ยอมรั บ ในระดั บ นานาชาติ ที่
เกี่ ย วข้ อ งกั บ การแสดงความเป็ น ผู้ น าสู่ ก ารเป็ น สถาบั น ที่ ย่ั ง ยื น เช่ น THE University Impact
Rankings หรือ UI GreenMetric หรือการประกวดรูปแบบอื่นที่ มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน

 มีหน่วยงานภายนอกในระดับประเทศหรือระดับนานาชาติได้นาแนวคิด แนวปฏิบัติในการบริหาร
จัดการเพื่อการพัฒนาที่ย่งั ยืนนาไปประยุกต์ใช้ในองค์กรของตนจนประสบความสาเร็จที่สามารถ
วัดผลได้

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันได้รับการจัดอันดับที่ เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ โดนถึงจัดอยู่


ในอั น ดั บ ที่ 1 – 100 หรือ แนวปฏิ บั ติ ที่ ถ่า ยทอดสู่ อ งค์ ก รอื่ นๆ หรือ ชุ ม ชนสามารถ
นาไปปฏิบัติจนเห็นผลที่เร็จเป็นรูปธรรม
0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันได้รับการจัดอันดับที่ เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ โดนถึงจัดอยู่
ในอันดับที่ 101 – 300 หรือนาไปเป็นตัวอย่างในการปฏิบัติ
0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ได้รับการจัดอันดับที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติต่ากว่าอันดับ
300 หรือ ไม่ได้รับการจัดอันดับ
21

EC1
การกระจายรายได้ซ่งึ เกิดผลกระทบ
โดยตรงสูส
่ งั คม
คานิยาม

ก า รก ระ จ า ยได้ โดยต ร งสู่ สั ง ค ม คื อ สถา บั น ฯ มี ก า ร


ดาเนินงานด้านการเงินอย่างโปร่งใสสามารถเปิดเผยให้คนภายใน
หรือภายนอกสถาบันฯ รวมทั้งการส่งเสริมการจ้างงานประชาชนใน
ชุ ม ชนใกล้ เ คี ย งมาเป็ น บุ คลากรของมหาวิ ท ยาลั ย หรื อ นั ก ศึก ษา
เพื่อเป็นช่องทางรายได้พิเศษ

ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืน

การส่งเสริมให้เกิดการจ้างงานประชาชนใน
ชุมชนใกล้เคียงมาเป็นบุ คลากรของสถาบัน
ฯ หรือนักศึกษาเพื่อหารายได้เสริมสามารถ
ขจั ด ความยกจนให้ ค นในสั ง คมและเพิ่ ม
คุณภาพชีวิตให้ดีข้น
ึ ได้ (1.1.1, 1.4.2)

การส่งเสริมให้เกิดการจ้างงานประชาชนใน
ชุมชนใกล้เคียงมาเป็นบุ คลากรของสถาบัน
ฯ เป็ น หนึ่ ง ในแนวทางที่ จ ะพั ฒ นาระบบ
เศรษฐกิ จให้เติ บโตและยั่งยืนขึ้นได้ (8.2.1,
8.3.1, 8.5.1)

การส่งเสริมให้เกิดการจ้างงานประชาชนใน
ชุมชนใกล้เคียงมาเป็นบุ คลากรของสถาบัน
ฯ สามารถลดความเหลื่ อมล้ า ทางด้ า น
รา ยได้ ใ ห้ คนใ น สั ง คมระดั บ ป ระเท ศได้
(10.1.1)
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 22
คู่มอ
ประเภทตัวชีว
้ ัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่งั ยืน

นโยบาย

นโยบาย หรือ ยุท ธศาสตร์ระดั บสถาบั น แสดงถึงชุ ดแผนงาน/โครงการ ที่ เกี่ ยวข้อ งกั บการ
ดาเนินการเงินอย่างเป็นระบบ สามารถตรวจสอบได้ รวมถึงการกระจายรายได้โดยตรงสู่สังคม ซึ่ ง
เกิดจากกิจกรรมของสถาบัน เช่น มีการดาเนินงานด้านการเงินอย่างโปร่งใสและสามารถตรวจสอบ
ได้ หรือมีนโยบายในการส่งเสริมการจ้างงานจากประชาชนที่อยู่ในชุมชนใกล้เคียงและนักศึกษาใน
สถาบันฯ

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีนโยบาย หรือยุทธศาสตร์ด้านการดาเนินการเงินอย่างเป็นระบบ


สามารถตรวจสอบได้ และมีการกระจายรายได้โดยตรงสู่สังคม

0 คะแนน หมายถึง ไม่มีนโยบายหรือยุทธศาสตร์ครอบคลุมการดาเนินการของหน่วยงาน

แผนการดาเนินงาน

สถาบั น สามารถแสดงการด าเนิ น การเงิ น อย่ า งเป็ น ระบบ สามารถตรวจสอบได้ มี ค วาม


โปร่งใส รวมถึงกาหนดเกณฑ์ ทางด้านการเงิน ตั วอย่างเช่น ROA หรือ EBITA ของส่วนงาน เป็นต้ น
และมีแผนส่งเสริมการกระจายรายได้โดยตรงสู่สังคม โดยสถาบันฯ มีแนวทางการสนับสนุน ดังนี้

 สถาบันกาหนดเกณฑ์ เฉพาะทางด้านการเงินที่ เป็นระบบ สามารถตรวจสอบได้ มีความ


โปร่งใส รวมถึงกาหนดเกณฑ์ ทางด้ านการเงิน ตั วอย่างเช่ น ROA หรือ EBITA ของส่วน
งาน

 สถาบั นก าหนดเกณฑ์ เฉพาะพิจ ารณาว่ า จ้ างนั ก ศึกษาของสถาบัน เพื่อ หารายได้ พิเศษ


ระหว่างการศึกษา

 สถาบันกาหนดเกณฑ์เฉพาะพิจารณาว่ าจ้ างประชาชนในพื้นที่ (อาเภอที่ ต้ั งของสถาบั น


หรือใกล้เคียง) เป็นบุคลากรหรือลูกจ้างชั่วคราวของมหาวิทยาลัย

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันกาหนดเกณฑ์เฉพาะทางด้านการเงิน มีแผนปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับ


การส่ง เสริม การกระจายรายได้ โ ดยตรงสู่ สั ง คม โดยสถาบั น มี ก ารพิ จ ารณาว่ า จ้ า ง
นักศึกษาของสถาบันและประชาชนในพื้นที่ (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ไม่ มี ก ารก าหนดเกณฑ์ เ ฉพาะทางด้ า นการเงิ น และพั ฒ นา


แผนปฏิ บั ติ ง านที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การส่ ง เสริ ม การกระจายรายได้ โ ดยตรงสู่ สั ง คม
(นักศึกษา และประชาชนในพื้นที่)
23

ระบบการตรวจวัด

สถาบัน มีระบบติ ดตามและประเมิน ผลการดาเนิ น การตามนโยบายและเป้ า หมายที่ วางไว้


ด้วยระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้

หัวข้อการประเมิน ประเภท ตัวชีว้ ัด


ตัวชีว้ ัด
ประสิทธิภาพการ สัดส่วนทางการเงินตามสถาบันกาหนด (ความสามารถในการ
ดาเนินงานทางการเงิน พึ่งพาตนเองหรือประสิทธิภาพการดาเนินงานของสถาบัน)
1
ทั้งนี้ สถาบันสามารถกาหนดตัวชี้วัดได้เอง เช่น สัดส่วน
รายได้ต่อรายจ่าย ROA หรือ EBITA เป็นต้น

*หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน


และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.75 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการกาหนดเป้าหมายในแต่ ละตั วชี้วัด และมีการรายงานตั วชี้วัด


พื้นฐานพร้อมทั้งเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.25 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการตรวจวัดข้อมูลเท่านั้น

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด

การมีส่วนร่วมกับสังคม

สถาบัน ร่วมมือ กั บชุ มชน หน่ วยงานภาครัฐ และเอกชนในการส่งเสริมการพัฒนาทางด้ า น


เศรษฐกิจให้กับสังคมภายนอกจนทาให้เกิดผลกระทบเชิงบวกทางสังคม เช่น สถาบันมีการสนับสนุน
จั ดท ากิ จ กรรมท าร่วมกั บ ชุ มชนในการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิ จ ของชุ มชน เช่น สนั บ สนุน เงิ น
ลงทุ น หรื อ เป็ น คู่ ค้ า กั บ ชุ ม ชนเพื่ อพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ในชุ ม ชนและส่ ง เสริ ม การกระจายรายได้ ใ ห้
ประชาชน หรือสนับสนุนสินค้าจากชุ มชนชนท้ องถิ่น เช่น ซื้อพืชผักสวนครัวจากเกษตรกรในชุ มชน
ใกล้เคียงเพื่อการบริโภค

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีส่วนร่วมกับองค์กรภายนอกหรือสังคมแบบหุ้นส่วน กล่าวคือ มีการร่วมกับพัฒนาโครงการ และ


ดาเนินโครงการร่วมกัน

 เกิดประโยชน์กับสังคมทั้งทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม หรือความเป็นอยู่ที่ดีข้น


 เป็นโครงการที่ มีความต่ อเนื่ อง ซึ่งต้ องมีการจั ดกิ จกรรมขึ้นภายในปีงบประมาณนั้นๆอย่างน้อย


เป็นเวลา 2 ปี
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 24
คู่มอ
เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มี ก ารด าเนิ น งานและวั ด ผลการด าเนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ องและมี
ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม อย่างชัดเจนจนสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือองค์กร
ในสังคมได้ (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มี แ ผนการด าเนิ น งานหรื อ ก าลั ง ด าเนิ น งานกิ จ กรรมในการมี ส่ ว น
เผยแพร่ความรู้และการปฏิบัติ โดยจั ดช่องทางให้ความรู้ แสดงแบบอย่าง หรือมีส่วน
ร่วมในการส่งเสริมการกระจายรายได้โดยตรงสู่สังคม

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีความร่วมมือกับประชาชนภายนอก

โดดเด่น

สถาบันได้รับรางวัลที่ เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ/ระดับสากล หรือมีโครงการที่ร่วมพัฒนา


และดาเนินการกับกลุ่มประชากรภายนอกในการส่งเสริมการกระจายรายได้โดยตรงสู่สังคม ซึ่งได้รับ
การยอมรับว่าประสบความสาเร็จ

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

 สถาบันฯ มีก ารส่งเสริมการกระจายรายได้ โ ดยตรงสู่สังคม ที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ หรือ


ระดับสากล

 สถาบันฯ มีการส่งเสริมการกระจายรายได้โดยตรงสู่สังคมที่เป็นต้นแบบให้กับสังคม จนมีองค์กรหรือ


สถาบันฯ ภายนอกนาไปปฏิบต
ั ิตามจนประสบความสาเร็จได้อย่างชัดเจน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบั น ฯ จะต้ อ งได้ รั บ รางวั ล ระดั บ ดี เ ยี่ ย ม เหรี ย ญทอง หรื อ รางวั ล ชนะเลิ ศ ใน
ระดับประเทศ

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบันฯ จะต้องได้รับรางวัลระดับดี หรือระดับเงิน ในระดับประเทศ หรือสามารถเป็ น
ต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้เกี่ยวกับการส่งเสริมการกระจายรายได้โดยตรงสู่สังคม

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มก


ี ิจกรรมหรือแนวทางปฏิบต
ั ิที่ได้รบ
ั รางวัลในระดับประเทศ/ระดับ
สากลหรือโครงการสามารถเป็นต้นแบบที่ดใี ห้กับสังคมได้
25

EC2
ผลกระทบด้านเศรษฐกิจทางอ้อม
กับสังคม
คานิยาม

ผลกระทบด้ า นเศรษฐกิ จ ทางอ้ อ มกั บ สั ง คม คื อ สถาบั น


ลงทุนทางด้านการเงินที่ทาให้เกิดผลกระทบเชิงบวกด้านเศรษฐกิจ
กับสังคม ผ่านการพัฒนาองค์ความรู้ด้านวิจัย การบริการวิชาการ
โดยสร้า งระบบ หรือ อาคาร อั น น ามาสู่ก ารสร้า งรายได้ ท างเลื อ ก
หรือรายได้เสริมในพื้นที่ชุมชน ตัวอย่างเช่น การพัฒนาองค์ความรู้
การท่ อ งเที่ ยวอย่างยั่งยืน การเปิ ดพื้น ที่ ให้ มีป ระชาชนดาเนิ นการ
เชิงพาณิชย์ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัยโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย การสร้าง
ศูนย์เรียนรู้ หรือศูนย์ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยมีประชาชนเป็นคน
ดาเนินการหลัก

ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืน

การส่งเสริมกิ จกรรมที่ ท าให้เกิ ดผลกระทบเชิ ง


บวกด้ า นเศรษฐกิ จ ทางอ้ อ มกั บ สั งคมสามารถ
ขจั ดค วา ม ยา ก จ น ใ ห้ คน ใ น สั ง ค มแ ล ะเพิ่ ม
คุ ณ ภาพชี วิ ต ให้ ดี ข้ึ น ได้ โดยการช่ ว ยพั ฒ นา
ผลิตภัณฑ์ หรือการบริการทาให้สร้างมูลค่าเพิ่ม
และรายได้ที่มากขึ้น (1.1.1)

การส่งเสริมกิ จ กรรมที่ ทาให้ เกิ ดผลกระทบเชิ ง


บวกด้านเศรษฐกิจทางอ้อมกับสังคมเป็นหนึ่งใน
แนวทางที่ จ ะพั ฒนาระบบเศรษฐกิ จ ให้ เติ บ โต
และยั่งยืนขึ้นได้ (8.1.1, 8.2.1, 8.9.1)

การส่งเสริมกิ จ กรรมที่ ทาให้ เกิ ดผลกระทบเชิ ง


บวกด้ า นเศรษฐกิ จ ทางอ้ อ มกั บ สั งคมสามารถ
ลดความเหลื่ อมล้ า ทางด้ า นรายได้ ใ ห้ ค นใน
สั ง คมระดั บ ประเท ศได้ ( 10.1.1, 10.4.1,
10.7.1)
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 26
คู่มอ
ประเภทตัวชีว
้ ัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่งั ยืน

นโยบาย

นโยบาย หรื อ ยุ ท ธศาสตร์ ระดั บ สถาบั น แสดงถึ งชุ ด แผนงาน/โครงการ ที่ เ กี่ ยวข้ อ งกั บ การ
ดาเนินการส่งเสริมกิจกรรมที่ทาให้เกิดผลกระทบเชิงบวกด้านเศรษฐกิจทางอ้อมกับสังคม ซึ่งเกิดจาก
กิ จ กรรมของสถาบั น เช่ น มี กิ จ กรรมระหว่ า งสถาบั น ฯ และสั ง คมในการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละการ
บริการให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นที่สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคมได้อีกด้วย

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบัน มีน โยบายหรือ ยุ ทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมกิ จ กรรมที่ ทาให้ เกิ ดผล
กระทบเชิงบวกด้านเศรษฐกิจทางอ้อมกับสังคม

0 คะแนน หมายถึง ไม่มีนโยบายหรือยุทธศาสตร์ครอบคลุมการดาเนินการของหน่วยงาน

แผนการดาเนินงาน

สถาบันมีแผนปฏิบัติงานและปฏิบัติตามแผนสนับสนุนให้เกิดผลกระทบเชิงบวกด้านเศรษฐกิจ
ทางอ้อมกับสังคม โดยสถาบันฯ มีแนวทางการสนับสนุน ดังนี้

 สถาบันมีการสนับสนุนกิจกรรมให้บุคลากรและนักศึกษามีส่วนร่วมทากิจกรรมเพื่อชุมชนที่ส่งเสริม
ให้เกิ ดผลกระทบเชิงบวกด้านเศรษฐกิจทางอ้ อมกั บสังคม เช่น กิจกรรมพัฒนาส่งเสริมผลิตภั ณฑ์
หรือการบริการร่วมกับชุมชนหรือองค์กรภายนอก เป็นต้น

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มีแ ผนปฏิ บั ติ งานเกี่ ย วข้ อ งกั บ การสถาบั น ส่ง เสริม กิ จ กรรมที่ ท าให้
เกิดผลกระทบเชิงบวกด้านเศรษฐกิจทางอ้อมกับสังคม

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีการพัฒนาแผนปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง


27

ระบบการตรวจวัด

สถาบัน มีระบบติ ดตามและประเมิน ผลการดาเนิ น การตามนโยบายและเป้ า หมายที่ วางไว้


ด้วยระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้

หัวข้อการประเมิน ประเภท ตัวชีว้ ัด


ตัวชีว้ ัด
ผลกระทบจากการสนับสนุนกิจกรรม มูลค่าเงินลงทุนสนับสนุนกิจกรรมหรือโครงการ
หรือโครงการเพื่อการพัฒนาทางด้าน 1 เพื่อการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจทางอ้อมของ
เศรษฐกิจของชุมชน สังคม

*หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน


และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ
0.75 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการกาหนดเป้าหมายในแต่ ละตั วชี้วัด และมีการรายงานตั วชี้วัด
พื้นฐานพร้อมทั้งเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ
0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ
0.25 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการตรวจวัดข้อมูลเท่านั้น
0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด

การมีส่วนร่วมกับสังคม

สถาบั น ร่ ว มมื อ กั บ ประชาชนภายนอก ส่ ง เสริ ม ด้ า นเศรษฐกิ จ ทางอ้ อ มกั บ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย


ภายนอกสถาบั นในพื้นที่ ของสถาบั นหรือชุ มชน โดยสถาบันมีกิ จกรรมร่วมกั บชุ มชนในการพัฒนา
เศรษฐกิจ ได้แก่

 โครงการส่งเสริมหรือสร้างโอกาสสร้างอาชีพให้ประชาชนที่ขาดโอกาสในชุมชนที่ยากจน ให้
ดาเนินการสนับสนุนการทางานของสถาบัน

 โครงการสร้างสนับสนุนให้ผู้ประกอบการปรับปรุงเทคโนโลยีในปัจจุบันให้เป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น เช่น ลดปริมาณมลพิษอากาศที่ปลดปล่อยสูช
่ ้ันบรรยากาศ

 โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ เช่น การท่องเที่ยว ซึ่งเปิดวิธีการหรือ


แนวคิดการตลาดใหม่ ๆ เพิ่มจานวนนักท่องเที่ยว และรายได้ให้แก่ชุมชน
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 28
คู่มอ
ทั้งนี้ สถาบันควรพิจารณากิจกรรมขยายผลกระทบต่อสังคมในวงกว้างขึ้นอย่างต่อเนื่อง

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีส่วนร่วมกับองค์กรภายนอกหรือสังคมแบบหุ้นส่วน กล่าวคือ มีการร่วมกับพัฒนาโครงการ และ


ดาเนินโครงการร่วมกัน
 เกิดประโยชน์กับสังคมทั้งทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม หรือความเป็นอยู่ที่ดีข้น

 เป็นโครงการที่มีความต่ อเนื่ อง ซึ่งต้ องมีการจั ดกิ จกรรมขึ้นภายในปีงบประมาณนั้นๆอย่างน้อย
เป็นเวลา 2 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มี ก ารด าเนิ น งานและวั ด ผลการด าเนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ องและมี
ผลกระทบเชิ ง บวกทางสั ง คม อย่ า งชั ด เจนจนสามารถพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต หรื อ
องค์กรในสังคมได้ โดยสถาบันมีส่วนร่วมเผยแพร่ความรู้และส่งเสริมกิจกรรมที่ทาให้
เกิดผลกระทบเชิงบวกด้านเศรษฐกิจทางอ้อมกับสังคม (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าว
ทุกข้อ)
0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั นมีแ ผนการดาเนิ นงานหรือก าลังดาเนิ นงานกิ จ กรรมในการมีส่วน
เผยแพร่ความรู้และการปฏิบัติ โดยจัดช่องทางให้ความรู้ แสดงแบบอย่าง หรือมีส่วน
ร่วมในการส่งเสริมกิจกรรมที่ทาให้เกิดผลกระทบเชิงบวกด้านเศรษฐกิจทางอ้อมกับ
สังคม
0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีความร่วมมือกับประชาชนภายนอก

โดดเด่น

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

 สถาบันฯ มีการส่งเสริมกิจกรรมที่ทาให้เกิดผลกระทบเชิงบวกด้านเศรษฐกิจทางอ้อมกั บสังคมที่


เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ หรือระดับสากล
 สถาบันฯ มีการส่งเสริมกิจกรรมที่ทาให้เกิดผลกระทบเชิงบวกด้านเศรษฐกิจทางอ้อมกับสังคมจน
มีองค์กรหรือสถาบันฯ ภายนอกนาไปปฏิบต
ั ิตามจนประสบความสาเร็จได้อย่างชัดเจน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ลที่ เ ป็ น ที่ ยอมรับ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบั น ฯ จะต้ อ งได้ รั บ รางวั ล ระดั บ ดี เ ยี่ ย ม เหรี ย ญทอง หรื อ รางวั ล ชนะเลิ ศ ใน
ระดับประเทศ
0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ลที่ เ ป็ น ที่ ยอมรับ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบันฯ จะต้องได้รบ
ั รางวัลระดับดี หรือระดับเงิน ในระดับประเทศ หรือสามารถเป็น
ต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้
0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีกิจกรรมหรือแนวทางปฏิบัติที่ได้รับรางวัลในระดับประเทศ/
ระดับสากลหรือโครงการสามารถเป็นต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้
29

EC3
กลไกสนับสนุนการลงทุน
เพื่อการพัฒนาที่ย่งั ยืน

คานิยาม

กลไกสนั บ สนุ น การลงทุ น เพื่ อ การพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น หมายถึ ง


เงินงบประมาณที่สถาบันฯ จัดสรรเพื่อสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
กับการพัฒนาที่ย่งั ยืน โดยสถาบันฯ ควรพิจารณางบประมาณในการ
พั ฒ นาสถาบั น ฯ สู่ ค วามเป็ น องค์ ก รที่ ย่ั ง ยื น และเปิ ด เผยสั ด ส่ ว น
งบประมาณดังกล่าวสู่สาธารณะ

งบประมาณสถาบั น ฯ จั ดสรรเพื่ อสนั บ สนุ น กิ จกรรมที่


เกี่ยวข้องกั บการพัฒนาที่ ย่ังยืน คือ การลงทุนด้านการเงิ นที่ สามารถ
พิสูจน์การส่งเสริมให้องค์กร หรือประเทศบรรลุเป้าหมายการพัฒนา
ที่ ย่ั ง ยื น ขององค์ ก ารสหประชาชาติ (Sustainable development
goals: SDGs) อย่างน้อย 2 เป้าหมาย ชึ้นไป

ความเชื่อมโยงกับการพัฒนาที่ย่ังยืน

การสนับสนุนเงินลงทุนเพื่อการพัฒนาที่ ย่ังยืนของ
สถาบั น ฯ สามารถส่ ง เสริ ม ให้ ส ถาบั น ฯ บรรลุ
เป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืนทั้ง 17 ข้อได้
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 30
คู่มอ
ประเภทตัวชี้วัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่ังยืน

นโยบาย

นโยบาย หรือยุทธศาสตร์ระดับสถาบัน แสดงถึงชุ ดแผนงาน/โครงการ ที่ เกี่ ยวข้องกั บการ


สนับสนุนการลงทุนเพื่อการพัฒนาที่ ย่งั ยืน โดยสถาบันฯ มีการจั ดสรรเงินงบประมาณเพื่อสนับสนุน
กิ จกรรมของสถาบันฯ ที่ สามารถส่ งเสริมการพั ฒนาที่ ย่ั งยืนทั้ งภายในและภายนอกสถาบั น ฯ เพื่ อ
ส่งเสริมให้องค์กร หรือประเทศบรรลุ SDGs

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีนโยบายหรือยุทธศาสตร์ในด้านการสนับสนุนการลงทุนเพื่อการ


พัฒนาที่ย่งั ยืน

0 คะแนน หมายถึง ไม่มีนโยบายหรือยุทธศาสตร์ครอบคลุมการดาเนินการของหน่วยงาน

แผนการดาเนินงาน

สถาบั น มี แ ผนปฏิ บั ติ ง านและปฏิ บั ติ ต ามแผนสนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด ผลกระทบเชิ ง บวกด้ า น


เศรษฐกิจทางอ้อมกับสังคม โดยสถาบันฯ มีแนวทางการสนับสนุน ดังนี้

• สถาบั น ฯ มี ง บประมาณหรื อ กองทุ น ในการด าเนิ น งานในการรวบรวม ทวนสอบ ติ ด ตาม


ผลการดาเนินการกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้องค์กร หรือประเทศบรรลุ SDGs หรือมีช่องทางพิเศษ
ในการยื่นขอทุน หรือมีแหล่งเงินทุนพิเศษสาหรับสนับสนุนกิจกรรมด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มี แ ผนปฏิ บั ติ ง านเกี่ ย วข้ อ งกั บ การสนับสนุนการลงทุน เพื่อ การ
พัฒนาที่ยง่ั ยืน โดยสถาบันมีการจัดสรรเงินทุนเพื่อสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ
การพัฒนาที่ย่งั ยืน (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ไม่ มีก ารพัฒนาแผนปฏิ บั ติ งานที่ เกี่ ย วข้อ งกั บ การสนับสนุนการ
ลงทุนเพื่อการพัฒนาที่ยง่ั ยืน
31

ระบบการตรวจวัด

สถาบัน มีระบบติ ดตามและประเมิน ผลการดาเนิ น การตามนโยบายและเป้ า หมายที่ วางไว้


ด้วยระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้

หัวข้อการประเมิน ประเภท ตัวชีว้ ัด


ตัวชีว้ ัด

แหล่งเงินทุนทีส
่ ถาบันจัดหาหรือจัดสรรไว้ สัดส่วนเงินลงทุนที่สนับสนุนโครงการที่
สาหรับสนับสนุนการลงทุนเพื่อการพัฒนา 1 เกี่ยวเนื่องการพัฒนาทีย
่ ่งั ยืน
ที่ยง่ั ยืน

*หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน


และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ
0.75 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการกาหนดเป้าหมายในแต่ ละตั วชี้วัด และมีการรายงานตั วชี้วัด
พื้นฐานพร้อมทั้งเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ
0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ
0.25 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการตรวจวัดข้อมูลเท่านั้น
0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด

การมีส่วนร่วมกับสังคม

สถาบันร่วมมือกับสังคมในการส่งเสริมระบบและกลไกสนับสนุนการลงทุนเพื่อการพัฒนาที่
ยั่งยืนจนทาให้เกิ ด ผลกระทบเชิ งบวกทางสังคม เช่น สถาบันฯ มีกิจกรรมเผยแพร่และแลกเปลี่ยน
องค์ความรู ้ มีความร่วมมือกับชุมชนหรือองค์กรภายนอกในการจัดการกองทุนเพื่อการพัฒนาที่ ย่ังยืน
แล้วองค์กรภายนอกหรือชุมชนนาไปปฏิบัติและเกิดประโยชน์ที่สามารถเห็นผลได้ ตัวอย่างกิจกรรม
ได้แก่ เป็นที่ปรึกษาในการจัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาที่ย่งั ยืน เป็นต้น

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีส่วนร่วมกับองค์กรภายนอกหรือสังคมแบบหุ้นส่วน กล่าวคือ มีการร่วมกับพัฒนาโครงการ และ


ดาเนินโครงการร่วมกัน
 เกิดประโยชน์กับสังคมทั้งทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม หรือความเป็นอยู่ที่ดีข้น

 เป็นโครงการที่ มีความต่ อเนื่ อง ซึ่งต้ องมีการจั ดกิ จกรรมขึ้นภายในปีงบประมาณนั้นๆอย่างน้อย
เป็นเวลา 2 ปี
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 32
คู่มอ
เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มี ก ารด าเนิ น งานและวั ด ผลการด าเนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ องและมี
ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม อย่างชัดเจนจนสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือองค์กร
ในสั ง คมได้ โดยสถาบั น มี ส่ ว นร่ ว มเผยแพร่ ค วามรู ้ ห รื อ เป็ น ที่ ป รึ ก ษาในการจั ด ตั้ ง
กองทุนเพื่อการพัฒนาที่ยง่ั ยืน (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)
0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มีแ ผนการดาเนิ น งานหรือ ก าลั ง ดาเนิ น งานกิ จ กรรมในการมีส่ว น
เผยแพร่ความรู้และการปฏิบัติ โดยจัดช่องทางให้ความรู้ แสดงแบบอย่าง หรือมีส่วน
ร่วมในการสนับสนุนการลงทุนเพื่อการพัฒนาที่ย่งั ยืน
0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีความร่วมมือกับประชาชนภายนอก

โดดเด่น

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

 สถาบันฯ มีก ารสนับสนุนการลงทุนเพื่อการพัฒนาที่ ย่ังยืนที่ เป็นที่ ยอมรับในระดับประเทศ หรือ


ระดับสากล
 สถาบันฯ มีการสนับสนุนการลงทุนเพื่อการพัฒนาที่ย่งั ยืนจนมีองค์กรหรือสถาบันฯ ภายนอกนาไป
ปฏิบต
ั ิตามจนประสบความสาเร็จได้อย่างชัดเจน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ลที่ เ ป็ น ที่ ยอมรับ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบั น ฯ จะต้ อ งได้ รั บ รางวั ล ระดั บ ดี เ ยี่ ย ม เหรี ย ญทอง หรื อ รางวั ล ชนะเลิ ศ ใน
ระดับประเทศ
0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ลที่ เ ป็ น ที่ ยอมรับ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบันฯ จะต้องได้รบ
ั รางวัลระดับดี หรือระดับเงิน ในระดับประเทศ หรือสามารถเป็น
ต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้
0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีกิจกรรมหรือแนวทางปฏิบัติที่ได้รับรางวัลในระดับประเทศ/
ระดับสากลหรือโครงการสามารถเป็นต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้
33

SC1
ความปลอดภัยและความเป็นอยูท
่ ่ีดี
คานิยาม

ความปลอดภั ยและความเป็ นอยู่ที่ดีควรพิจารณาทั้ งความ


ปลอดภั ย ทางชี วิต และทรั พย์ สิ น ของบุ ค ลากร นั ก ศึ ก ษา และผู้ ที่
เกี่ยวกับทางสถาบันฯ ทั้งในสถาการณ์ปกติและสถานการณ์ฉุกเฉิน

ความเชื่อมโยงกับการพัฒนาที่ย่ังยืน

การส่งเสริมความปลอดภั ยและความเป็ น อยู่ที่ ดี


ทาให้ บุคลากรและนั ก ศึกษารวมถึ งผู้ที่ เกี่ ยวข้อ ง
กั บ สถาบั น ฯ มีสุ ขภาพทางกาย สุขภาพจิ ต และ
ความปลอดภั ยทั้ งทางชีวิตและทรัพย์สิน (3.4.1,
3.4.2, 3.5.1, 3.6.1, 3.8.1, 3.b.3, 3.c.1)

การส่งเสริมความปลอดภั ยและความเป็ น อยู่ที่ ดี


ท าให้ บุ ค ลากรหรื อ คนท างานในสถาบั น ฯ มี
สุขภาพทางกาย สุขภาพจิ ต และความปลอดภั ย
ทั้งทางชีวิตและทรัพย์สิน (8.8.1)
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 34
คู่มอ

ประเภทตัวชีว
้ ัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่งั ยืน

นโยบาย

นโยบาย หรื อ ยุ ท ธศาสตร์ ระดั บ สถาบั น แสดงถึ งชุ ด แผนงาน/โครงการ ที่ เ กี่ ยวข้ อ งกั บ การ
ส่งเสริมความปลอดภั ยและความเป็ น อยู่ที่ ดี ซึ่ งเกิ ดจากกิ จ กรรมของสถาบั น เช่ น มีน โยบายในการ
สนั บสนุ น สิ่งอ านวยความสะดวกในการออกกาลั งกาย การตรวจสุ ขภาพประจาปี มี มาตรการรัก ษา
ความปลอดภัยทั้งทางชีวิตและทรัพย์สินของบุ คคลที่ เกี่ ยวเนื่องของสถาบันฯ โครงการส่งเสริมอาชีว-
อนามัย ความปลอดภัยทั้งในและนอกพื้นที่ของห้องปฏิบัติการ

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีนโยบายหรือยุทธศาสตร์ส่งเสริมความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดี

0 คะแนน หมายถึง ไม่มีนโยบายหรือยุทธศาสตร์ครอบคลุมการดาเนินการของหน่วยงาน

แผนการดาเนินงาน

สถาบันมีแผนปฏิบัติงานและปฏิบัติตามแผนส่งเสริมความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดี โดย
สถาบันฯ มีแนวทางการสนับสนุน ดังนี้

 สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติงานและปฏิบัติตามแผนส่งเสริมความปลอดภั ยและความเป็นอยู่ที่ดีท้ั ง


ในสถานการณ์ ป กติ มี ร ะบบเฝ้ า ระวั ง เหตุ ก ารณ์ ( surveillance system) ที่ เ ชื่ อมโยงเป็ น
เครือข่าย และมีการวางแผนความปลอดภัยที่ตอบสนองเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ทันท่วงที

 สถาบันมีแผนส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาและบุ คลากรภายใน ที่ เพิ่มเติ มจากที่ ได้ กาหนดใน


กฎหมายของประเทศ

 สถาบันฯ ประเมินความเสี่ยงในทุก ๆ กิจกรรมที่ดาเนินการภายในหน่วยงาน รวมทั้ งที่ เกี่ ยวข้อง


และไม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร รวมถึ ง จั ด ล าดั บ กิ จ กรรมที่ มี ค วามเสี่ ย งสู ง โดยจั ด ท า
มาตรการลดความเสี่ยงจากกิจกรรมดังกล่าว เช่น อ้างอิงมาตรกฐาน ISO9000 หรือมาตรฐาน
อื่นๆ เป็นต้น

 สถาบันฯ มีการวางแผนอาชีวอนามัย แผนรับมือความปลอดภั ยและแผนการรองรับเมื่อเกิ ด


เหตุต่าง ๆ เพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและสร้างระบบการบริหารจัดการภัยพิบัติแบบบูรณา
การ โดยช่วยป้องกั นและลดผลกระทบจากภั ยพิบัติหรือวิกฤตการณ์ มีการเตรียมความพร้อม
สามารถคาดการณ์และแจ้ งเตือนอย่างทันท่ วงทีเมื่อเกิดเหตุ และมีแผนการพื้นฟูภายหลังเกิ ด
ภั ยพิบั ติ ครอบคลุม วาตภั ย อุ ท กภั ย อาชญากรรม และการแพร่ระบาดของโรงติ ดต่ อต่ าง ๆ
เป็นต้น

 สถาบั นฯ มีผู้รับ ผิดชอบ (เช่น หน่วยงาน หรือ คณะกรรมการ) มีเจ้ าหน้าที่ ความปลอดภั ยใน
การทางานวิชาชีพ และมีงบประมาณหรือกองทุนในการดาเนินงานในการรวบรวม ทวนสอบ
ติดตามผลการดาเนินการ ส่งเสริมความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดี เช่น อาชีวอนามัย ความ
ปลอดภัยบนท้องถนน เป็นต้น
35

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีแผนปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมความปลอดภัยและความ


เป็นอยู่ที่ดี โดยสถาบันมีการส่งเสริมกิจกรรมหรือมีการจั ดการสิ่งอานวยความสะดวก
ในสถาบั น ฯ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ความปอดภั ย และความเป็ น อยู่ ที่ ดี ข องบุ ค ลากรและ
นักศึกษาในสถาบันฯ ดังที่กล่าวข้างต้น (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ไม่ มี ก ารพั ฒ นาแผนปฏิ บั ติ ง านที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การส่ ง เสริ ม ความ
ปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดี

ระบบการตรวจวัด

สถาบัน มีระบบติ ดตามและประเมิน ผลการดาเนิ น การตามนโยบายและเป้ า หมายที่ วางไว้


ด้วยระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้

ประเภท
หัวข้อการประเมิน ตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัด
การเกิดอุบต
ั ิเหตุที่เกีย
่ วข้อง จานวนการเกิดอุบต
ั ิเหตุที่สง่ ผลทาให้ถึงแก่ชีวิต สูญเสีย
กับการทางาน 1 อวัยวะหรือทุพพลภาพ

ห้องปฏิบต
ั ิการที่ได้รบ
ั จานวนห้องปฏิบต
ั ิการที่ได้รบ
ั มาตรฐานความปลอดภัย
มาตรฐานความปลอดภัย 1

แบบสอบถามความพึงพอใจต่อความเป็นอยู่ใน
ระดับความพึงพอใจต่อความ 1 มหาวิทยาลัย
เป็นอยูใ่ นมหาวิทยาลัย
1 อัตราการ Turnover ของบุคลากร

*หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน


และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.75 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการกาหนดเป้าหมายในแต่ ละตั วชี้วัด และมีการรายงานตั วชี้วัด


พื้นฐานพร้อมทั้งเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.25 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการตรวจวัดข้อมูลเท่านั้น

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด


ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 36
คู่มอ

การมีสว่ นร่วมกับสังคม

สถาบัน ร่วมมือกั บชุ มชน หน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายกู้ภั ย โรงพยาบาล ต ารวจจราจร และ


เอกชน ในการส่งเสริมให้ เกิ ดความปลอดภั ย และความเป็ น อยู่ที่ ดีท้ั งในพื้นที่ ของสถาบั นและนอก
พื้นที่ร่วมกันจนทาให้เกิด ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม เช่น

 มีบริการการตรวจ วินิจฉัย รักษาและป้องกั นโรค และมีบริการพื้นฐานเกี่ ยวกั บการส่งเสริม


สุขภาพที่ ดี ให้กับคนในชุมชน เพื่อให้เกิดการเข้าถึงบริการทางสุขภาพที่ครอบคลุม รวดเร็ว
ลดค่าใช้จ่าย และมีประสิทธิภาพ

 มีจุดแจ้งเหตุที่แสดงให้เห็นว่าครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยต้องสามารถแจ้งเหตุได้ง่ายและรวดเร็ว
โดยระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ ต้องสามารถประมวลผลและกาหนดแนวทางการดาเนินงานต่อ
ที่ทาให้เกิดการตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่เป็นเหตุด่วนและเหตุร้ายได้อย่างทันท่วงที

 มีแผนรับมือสถานการณ์ฉก
ุ เฉินและมีแผนการพื้นฟูภายหลังเกิดเหตุรว
่ มกับชุมชน ร่วมกัน
วางแผนเพื่อป้องกันและลดผลกระทบจากภัยพิบต
ั ิหรือวิกฤตการณ์ มีการเตรียมความพร้อม
และมีระบบแจ้งเตือนเมื่อเกิดเหตุ

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีส่วนร่วมกั บองค์กรภายนอกหรือสังคมแบบหุ้นส่วน กล่าวคือ มีการร่วมกับพัฒนาโครงการ


และดาเนินโครงการร่วมกัน

 เกิดประโยชน์กับสังคมทั้งทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม หรือความเป็นอยู่ที่ดีข้น


 เป็นโครงการที่ มีความต่ อเนื่ อ ง ซึ่งต้ องมีการจั ดกิ จกรรมขึ้น ภายในปี งบประมาณนั้ นๆอย่า ง
น้อยเป็นเวลา 2 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มี ก ารด าเนิ น งานและวั ด ผลการด าเนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ องและมี
ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม อย่างชัดเจนจนสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือองค์กร
ในสังคมได้ โดยสถาบันมีส่วนร่วมเผยแพร่ความรู้และการสนับสนุนความปลอดภั ย
และความเป็ น อยู่ ที่ ดี ตั ว อย่ า งเช่ น มี ก ารบริ ก ารสุ ข ภาพให้ กั บ ชุ ม ชน ร่ ว มสร้ า ง
มาตรการความปลอดภั ยทางชีวิตและทรัพย์สินกับชุ มชนหรือองค์กรภายนอก (ต้อง
ดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มีแ ผนการดาเนิ น งานหรือ ก าลั ง ดาเนิ น งานกิ จ กรรมในการมีส่ว น
เผยแพร่ความรู้และการปฏิบัติ โดยจัดช่องทางให้ความรู้ แสดงแบบอย่าง หรือมีส่วน
ร่วมในการส่งเสริมความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดี

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีความร่วมมือกับประชาชนภายนอก


37

โดดเด่น
สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

 สถาบันฯ มีก ารส่งเสริมความปลอดภั ยและความเป็ นอยู่ที่ดี ที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ หรือ


ระดับสากล

 สถาบันฯ มีการส่งเสริมความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดี จนมีองค์กรหรือสถาบันฯ ภายนอกนาไป


ปฏิบต
ั ิตามจนประสบความสาเร็จได้อย่างชัดเจน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบั น ฯ จะต้ อ งได้ รั บ รางวั ล ระดั บ ดี เ ยี่ ย ม เหรี ย ญทอง หรื อ รางวั ล ชนะเลิ ศ ใน
ระดับประเทศ

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบันฯ จะต้องได้รับรางวัลระดับดี หรือระดับเงิน ในระดับประเทศ หรือสามารถเป็ น
ต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีกิจกรรมหรือแนวทางปฏิบัติที่ได้รับรางวัลในระดับประเทศ/


ระดับสากลหรือโครงการสามารถเป็นต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 38
คู่มอ

SC2
สิทธิ เสรีภาพ ความเท่าเทียม
และเป็นธรรม
คานิยาม

สิทธิ คือ ประโยชน์หรืออานาจของบุคคลที่กฎหมายรับรอง


และคุ้มครองมิให้มีการละเมิด รวมทั้ งบังคับให้เป็นไปตามสิทธิการ
ไม่ละเมิดด้วย

เสรี ภ าพ คื อ อ านาจตั ด สิ น ใจด้ ว ยตนเองของมนุ ษ ย์ ที่ จ ะ


เลือกดาเนินพฤติกรรมของตนเอง โดยไม่มีบุคคลอื่นใดอ้ างหรือใช้
อ านาจแทรกแซงเกี่ ย วข้ อ งกั บการตั ดสิ น ใจนั้ น และเป็ น การ
ตัดสินใจด้วยตนเองที่ จะกระทาหรือไม่กระทาการสิ่งหนึ่งสิ่งใดอั น
ไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย

ความเท่ า เที ยมกั น คื อ ท าตนเสมอต้ น เสมอปลาย ปฏิ บั ติ


สม่ า เสมอกั น ในชนชั้ น ทั้ งหลาย และเสมอในสุ ขทุ ก ข์ รวมทั้ งการ
ว า ง ต น ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม แ ก่ ฐ า น ะ ภ า ว ะ บุ ค ค ล เ ห ตุ ก า ร ณ์ แ ล ะ
สิ่งแวดล้อม

โดยสถาบั น ฯ ควรพิ จ ารณาเปิ ด เผยข้ อ มู ล อย่ า งโปร่ ง ใส


ให้ กั บ บุ ค ลากรและนั ก ศึ ก ษา ส่ ง เสริ ม ให้ พ้ ื นที่ ก ารแสดงความ
คิดเห็น หรือให้บริการสถานที่ สาหรับคนพิการและศาสนสถานใน
สถานที่ศึกษา
39

ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืน

ก า ร ส นั บ ส นุ น ใ ห้ ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า กั บ นั ก ศึ ก ษ า
ผู้ ด้ อ ย โ อ ก า ส เ ป็ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ศึ ก ษ า ไ ด้
อย่ า งเท่ า เที ย มและทั่ ว ถึ ง (4.2.2, 4.3.1, 4.5.1,
4.6.1, 4.7.1, 4.a.1, 4.b.1)

การส่ ง เสริ ม ความเท่ า เที ย มทางเพศโดยสนั บ สนุ น


หน้ า ที่ ก ารงานหรื อ กิ จ กรรมให้ กั บ ผู้ ห ญิ ง หรื อ เพศ
ทางเลื อ ก เปิ ด โอกาสและพื้ นที่ ใ ห้ บุ ค ลากรและ
นักศึกษาได้แสดงความเป็นตั วตนและศักยภาพของ
ตนเองได้ อ ย่ า งเปิ ด เผยสามารถบรรลุ ก ารพั ฒ นาที่
ยั่งยืนข้อที่ 5 ได้ (5.1.1, 5.4.1, 5.5.2)

การส่งเสริม อาชี พให้ กั บ ผู้ พิก ารสามารถเข้ า ถึ ง การ


ทางานได้อย่างเท่ าเที ยมนั้นเป็นหนึ่งในแนวทางที่ จะ
บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ ย่ังยืนข้อที่ 8 ได้ (8.1.1,
8.2.1, 8.3.1, 8.5.1)

การสนั บ สนุ น ทุ น การศึก ษาให้ กั บ ผู้ด้อ ยโอกาสหรื อ


อ า ชี พ ใ ห้ กั บ ป ร ะ ช า ช น โ ด ย ร อ บ แ ล ะ
ผู้พิก ารสามารถลดความเหลื่ อมล้ า ในสังคมได้ โดย
การให้ โ อกาสทุ ก คนเข้ า ถึ ง การศึ ก ษาได้ อ ย่ า งเท่ า
เทียม (10.7.1)

การส่งเสริมพื้นที่ที่เหมาะสมกับทุกเพศ ทุกวัย และผู้


พิการให้สามารถเข้าถึงได้ ซี่งสามารถเป็นแนวทางให้
สถาบันฯ บรรลุเป้ าหมายการพัฒนาที่ ย่ังยืนข้อที่ 11
ได้ (11.7.2)

การสนั บ สนุ น ให้ เกิ ด ความสงบสุ ข ยุ ติ ธ รรม และไม่


แบ่ งแยก รวมทั้ งขจั ดความขัดแย้งเป็ นส่วนสาคัญใน
การพัฒนาที่ย่งั ยืน (16.7.2)
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 40
คู่มอ

ประเภทตัวชีว
้ ัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่งั ยืน

นโยบาย

นโยบาย หรือยุทธศาสตร์ระดับสถาบัน แสดงถึงชุดแผนงาน/โครงการ ที่เกี่ยวข้องกับส่งเสริม


สิทธิ เสรีภาพ ความเท่าเทียมในทุกมิติ (เพศ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ ผู้ด้อยโอกาส ชนกลุ่มน้อย เป็น
ต้น) และเป็นธรรมในองค์กรรวมทั้งเคารพความหลากหลายของนักศึกษา บุ คลากร และบุ คคลอื่นใด
ที่เข้ามาสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับสถาบันฯ ทั้งนี้ นโยบายครอบคลุมประเด็น ดังนี้

 นโยบายสนั บ สนุ น ให้ ทุ น การศึก ษากั บ นั ก ศึก ษาผู้ ด้อ ยโอกาส และผู้พิก าร ซึ่ งเป็ น การส่งเสริ ม
การศึกษาได้อย่างเท่าเทียมและทั่วถึง

 นโยบายการส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศ

 นโยบายส่ ง เสริ ม ผู้ พิ ก ารสามารถเข้ า ถึ ง ทุ ก พื้ นที่ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การเรี ย นการสอนได้
อย่างเท่าเทียม

 นโยบายสนับสนุนให้เกิดความยุติธรรม และไม่แบ่งแยก

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีการกาหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ส่งเสริมสิทธิ เสรีภาพ ความ


เท่ า เที ย มในทุ ก มิ ติ แ ละเป็ น ธรรม เพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ ทุ ก หน่ ว ยงานมี ก ารปฏิ บั ติ ต าม
นโยบายหรือยุทธศาสตร์ที่กาหนด

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีการกาหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ที่ส่งเสริม สิทธิ เสรีภาพ


ความเท่าเทียมและเป็นธรรม
41

แผนการดาเนินการ

สถาบั น มีแผนปฏิ บั ติ งานและปฏิ บั ติต ามแผนส่งเสริมสิท ธิ เสรีภ าพ หน้ า ที่ ความเท่ า เที ยม
เป็นธรรม และความหลากหลาย โดยสถาบันฯ มีแนวทางการสนับสนุน ดังนี้

 สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติการสนับสนุนให้ทุนการศึกษากับนักศึกษาผู้ด้อยโอกาส และผู้พิการ

 สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติการการส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศ

 สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติการการส่งเสริมผู้พิการสามารถเข้าถึงทุกพื้นที่

 สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติการการสนับสนุนให้เกิดความยุติธรรม และไม่แบ่งแยก ตัวอย่างเช่น

• สถาบันฯ มีระบบที่ทุกคนในสถาบัน สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ และมีช่องทางใน


การติดต่อเสนอความคิดเห็นและเข้าร่วมกิ จกรรม โดยอาจประเมินความต้องการ ความ
พึงพอใจ และความสะดวกในการใช้ช่องทางบริการต่าง ๆ เพื่อการวางแผนการให้บริการ
ช่องทางในการทากิ จกรรมร่วมกั น โดยช่องทางเหล่านี้ทุกคนต้ องสามารถใช้งานได้โดย
เสมอภาคกัน

• สถาบันฯ มีการประเมินความต้องการความช่วยเหลือต่าง ๆ ของผู้ที่อยู่ในสถาบัน และจัด


กิจกรรมเพื่อช่วยให้กลุ่มคนเหล่านั้นสามารถเข้าร่วมกิ จกรรมต่ าง ๆ ในชุ มชนได้อย่างเท่ า
เที ยม เช่น การให้ ทุน การศึก ษาสาหรับผู้ขาดแคลน การจั ดสถานที่ ละหมาดให้กั บชาว
มุส ลิ ม การจั ด ให้ มี ศู น ย์ใ ห้ ค าปรึ ก ษาต่ า ง ๆ หรื อ เครื อ ข่ า ยทางสั งคมในด้ า นต่ า ง ๆ จั ด
อุปกรณ์อานวยความสะดวกสาหรับผู้พิการหรือคนชรา เป็นต้น

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติงานและปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการทั้งหมดข้างต้น

0.75 คะแนน ห ม า ย ถึ ง ส ถ า บั น ฯ มี แ ผ น ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ต า ม แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร
ทั้งหมด 3 จาก 4 ข้อ

0.50 คะแนน ห ม า ย ถึ ง ส ถ า บั น ฯ มี แ ผ น ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ต า ม แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร
ทั้งหมด 2 จาก 4 ข้อ

0.25 คะแนน ห ม า ย ถึ ง ส ถ า บั น ฯ มี แ ผ น ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ต า ม แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร
ทั้งหมด 1 จาก 4 ข้อ

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีแผนปฏิบัติการในการส่งเสริมสิทธิ เสรีภาพ ความเท่าเทียม


และเป็นธรรม
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 42
คู่มอ

ระบบตรวจวัด

สถาบั น มีระบบติ ดตามและประเมิน ผลการดาเนิ นการตามนโยบายและเป้ า หมายที่ วางไว้


ด้วยระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้

ประเภท
หัวข้อการประเมิน ตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัด
มีการจัดทารายงานเปิดเผยผลการดาเนินการส่งเสริมสิทธิ
3
เสรีภาพ
สิทธิ เสรีภาพ ความ
มีการจัดทารายงานเปิดเผยผลการดาเนินการส่งเสริม ความเท่า
เท่าเทียมและความ 3
เทียม
เป็นธรรม
มีการจัดทารายงานเปิดเผยผลการดาเนินการส่งเสริมความเป็น
3
ธรรม
อัตราส่วนทางเพศของกลุ่มผูบ
้ ริหารฝ่ายวิชาการระดับรอง
3
คณบดีข้นึ ไป
3 อัตราส่วนทางเพศของบุคลากรในมหาวิทยาลัย

ความหลากหลาย 3 ความหลากหลายทางภูมภ
ิ าคของบุคลากร

สัดส่วนทุนการศึกษาสนับสนุนผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา แบ่ง
3 สาหรับครอบครัวยากจน (รายได้ต่ากว่าร้อยละ 20 ของรายได้
ครอบครัวของประเทศ) และผู้พิการ

*หมายเหตุ 3 หมายถึง ตัวชี้วัดที่ไม่สามารถกาหนดเป้าหมายได้

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีระบบติ ดตามและประเมินผลการดาเนินการตามนโยบาย มีการ


รายงานตั วชี้ วัดพื้ น ฐาน และมี ก ารเผยแพร่ สู่ ส าธารณะ พร้ อ มทั้ ง วิ เคราะห์ ผลการ
ประเมินเพื่อปรับปรุงนโยบาย

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด

การมีส่วนร่วมกับสังคม

สถาบันร่วมมือกับสังคมในการส่งเสริมสิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ เคารพความเท่าเทียมเสมอภาค


ความเป็นธรรม และความหลากหลายทางสังคม ทั้งในพื้นที่ ของสถาบันและนอกพื้นที่ ร่วมกั นจนทา
ให้เกิด ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม คือ

 สถาบันฯ มีหน่วยงานที่ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญที่สามารถให้คาปรึกษาให้กับสังคมหรือช่วยใน
การขับเคลื่อนสังคม ด้านสิทธิมนุษยชน ความหลากหลาย ความเท่าเทียมและเป็นธรรม
43

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีส่วนร่วมกั บองค์กรภายนอกหรือสังคมแบบหุ้นส่วน กล่าวคือ มีการร่วมกับพัฒนาโครงการ และ


ดาเนินโครงการร่วมกัน

 เกิดประโยชน์กับสังคมทั้งทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม หรือความเป็นอยู่ที่ดีข้น


 เป็นโครงการที่มีความต่อเนื่อง ซึ่งต้องมีการจัดกิจกรรมขึ้นภายในปีงบประมาณนั้นๆอย่างน้อยเป็น
เวลา 2 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มี ก ารด าเนิ น งานและวั ด ผลการด าเนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ องและมี
ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม อย่างชัดเจนจนสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือองค์กร
ในสั ง คมได้ โดยสถาบั น มี ส่ ว นร่ ว มเผยแพร่ ค วามรู้ แ ละส่ ง เสริ ม การมี สิ ท ธิ เสรี ภ าพ
ความเท่าเทียมและเป็นธรรมให้กับสังคมภายนอก ตัวอย่างเช่น สนับสนุนการมีอาชีพ
ให้ กั บ สตรี ให้ ค าปรึ ก ษากั บ องค์ ก รในการช่ ว ยเหลื อ ด้ า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ความ
หลากหลาย ความเท่าทียมและเป็นธรรม (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มี แ ผนการด าเนิ น งานหรื อ ก าลั ง ด าเนิ น งานกิ จ กรรมในการมี ส่ ว น
เผยแพร่ความรู้และการปฏิบัติ โดยจัดช่องทางให้ความรู้ แสดงแบบอย่าง หรือมีส่วน
ร่วมในการส่งเสริมสิทธิ เสรีภาพ ความเท่าเทียมและเป็นธรรม

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีความร่วมมือกับประชาชนภายนอก

โดดเด่น

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

 สถาบันฯ มีการส่งเสริมสิทธิ เสรีภาพ ความเท่าเทียมและเป็นธรรมที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ


หรือระดับสากล
 สถาบั น ฯ มีก ารส่ ง เสริ ม สิ ท ธิ เสรี ภ าพ ความเท่ า เที ย มและเป็ น ธรรมจนมีอ งค์ ก รหรือ สถาบั น ฯ
ภายนอกนาไปปฏิบต
ั ิตามจนประสบความสาเร็จได้อย่างชัดเจน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบั น ฯ จะต้ อ งได้ รั บ รางวั ล ระดั บ ดี เ ยี่ ย ม เหรี ย ญทอง หรื อ รางวั ล ชนะเลิ ศ ใน
ระดับประเทศ

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบันฯ จะต้องได้รับรางวัลระดับดี หรือระดับเงิน ในระดับประเทศ หรือสามารถเป็ น
ต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีกิจกรรมหรือแนวทางปฏิบัติที่ได้รับรางวัลในระดับประเทศ/


ระดับสากลหรือโครงการสามารถเป็นต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 44
คู่มอ

SC3
การพิจารณาใช้ผลิตภัณฑ์และบริการ
ของสังคมที่สง่ เสริมความยั่งยืน
คานิยาม

ผลิตภัณฑ์และบริการของสังคมที่ส่งเสริมความยั่งยืน คือ การ


ส่ ง เสริ ม การใช้ บ ริ ก ารจากผู้ ป ระกอบการเพื่ อ สั ง คม/วิ ส าหกิ จ เพื่ อ
สังคม/วิ สาหกิ จชุ มชน หรือใช้ ผลิ ตภั ณฑ์ ที่เป็ นมิตรต่ อสิ่งแวดล้ อมที่
ได้ รั บ การรับ รองจาก ตะกร้า สีเ ขียว ของกรมควบคุม มลพิษ ฉลาก
สีเขียว ของสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ใบไม้สีเขียวของมูลนิธิใบไม้เขียว
หรือ Green hotel ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยง่ั ยืน

การเสริมสร้างการใช้บริการจากผู้ประกอบการเพื่อ
สั ง คม วิ ส าหกิ จเพื่ อสั ง คม หรื อ วิ ส าหกิ จชุ มชน
สามารถสร้างรายได้ให้คนในชุมชนและสามารถขจัด
ความยากจนได้อีกด้วย (1.4.1, 1.5.2)

การเสริมสร้างการใช้บริการจากผู้ประกอบการเพื่อ
สั ง คม วิ ส าหกิ จเพื่ อสั ง คม หรื อ วิ ส าหกิ จชุ มชน
สามารถสร้างรายได้ให้กั บคนในชุ มชน เกิ ดการจ้ า ง
งานมากขึ้ น และพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ให้ เ ติ บ โตขึ้ น ได้
(8.1.1, 8.2.1, 8.9.1)

การส่ งเสริ มให้ ใ ช้ ผลิ ตที่ เป็ นมิ ตรต่ อสิ่ งแวดล้ อ ม ซึ่ ง
การจั ดกา รก ารใช้ ทรั พ ยาก รธรรมช าติ อย่ า งมี
ประสิทธิภาพและการลดปริมาณมลพิษที่ปลดปล่อย
สู่ สิ่ ง แวดล้ อ มนั้ นเป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ที่ จ ะท าให้ บ รรลุ
เป้าหมายนี้ (12.2.1, 12.2.2, 12.b.1)
45

ประเภทตัวชีว
้ ัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่งั ยืน

นโยบาย

นโยบาย หรือ ยุท ธศาสตร์ระดับ สถาบัน แสดงถึงชุ ดแผนงาน/โครงการ ที่ เกี่ ยวข้องกั บการ
พิจารณาใช้ ผลิ ตภั ณฑ์ แ ละบริ การที่ สั งคมของสั งคมที่ ส่ งเสริมความยั่ งยื น โดยสนั บสนุ นผลิ ต ภั ณฑ์
และการบริการจากองค์กรที่สังคมให้การยอมรับและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบัน ฯ มีก ารก าหนดนโยบายหรือ ยุท ธศาสตร์ส่งเสริม การพิ จ ารณาใช้
ผลิตภั ณฑ์และบริการของสังคมที่ ส่งเสริมความยั่งยืน เพื่อสนับสนุนให้ทุกหน่วยงานมี
การปฏิบต
ั ิตามนโยบายหรือยุทธศาสตร์ที่กาหนด

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีการกาหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ที่ส่งเสริมการพิจารณาใช้


ผลิตภัณฑ์และบริการของสังคมที่ส่งเสริมความยั่งยืน

แผนการดาเนินการ

สถาบันมีแผนปฏิบัติงานและปฏิบัติตามแผนส่งเสริมการพิจารณาใช้ผลิตภั ณฑ์ และบริการ


ของสังคมที่ส่งเสริมความยั่งยืน โดยสถาบันฯ มีแนวทางการสนับสนุน ดังนี้

 สถาบันฯ ส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์และบริการจากวิสาหกิจชุมชนที่พิสูจน์ว่าไม่ส่งผลกระทบทาง
ด้านสิ่งแวดล้อม หรือส่งเสริมให้ทุกหน่วยงานของสถาบันใช้ผลิตภั ณฑ์ ที่เป็นมิตรต่ อสิ่งแวดล้อม
(Green procurement) โดยอ้ า งอิ งจากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ งแวดล้ อ มที่ ไ ด้ รับ การรั บ รอง
ได้แก่ ตะกร้าสีเขียว ฉลากสีเขียว ใบไม้สีเขียว หรือ Green hotel เป็นต้น

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีแผนปฏิบต


ั ิงานเกี่ยวข้องกับการพิจารณาใช้ผลิตภัณฑ์และบริการที่
ของสังคมที่ ส่งเสริมความยั่งยืน โดยสถาบันมีการส่งเสริมกิ จกรรมหรือเปิดเวทีแสดง
ศักยภาพให้กบ
ั บุคลากรและนักศึกษา

0 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ไม่ มีแ ผนปฏิ บั ติ ก ารในการพิจ ารณาใช้ ผ ลิ ต ภั ณฑ์ แ ละบริ ก ารที่
สังคมให้การยอมรับ
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 46
คู่มอ

ระบบตรวจวัด

สถาบันมีระบบติดตามและประเมินผลการดาเนินการตามนโยบายและเป้าหมายที่วางไว้ ด้วย
ระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้

ประเภท
หัวข้อการประเมิน ตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัด
การใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็น ร้อยละการจัดซื้อจัดจ้างผลิตภัณฑ์หรือบริการที่เป็นมิตรต่อ
มิตร สิง่ แวดล้อมซึ่งได้รับการรับรองจากหน่วยงานรัฐหรือ
1 หน่วยงานทีเ่ ป็นทีย
่ อมรับเป็นฉลากเขียว ฉลากคาร์บอน
ฟุตปริน
้ เป็นต้น

* หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการบรรลุตามเป้าหมายที่ กาหนดไว้ มีการรายงานตั วชี้วัดพื้นฐาน


และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.75 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มี ก ารก าหนดเป้ า หมายในแต่ ละตั ว ชี้ วั ด และมี ก ารรายงานตั วชี้ วั ด
พื้นฐานพร้อมทั้งเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.25 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการตรวจวัดข้อมูลเท่านั้น

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด


47

การมีส่วนร่วมกับสังคม

สถาบั น ร่ ว มมื อ กั บ ประชาชนภายนอก ส่ ง เสริ ม ให้ ชุ ม ชนด าเนิ น ธุ ร กิ จ บริ ก ารที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ
สิ่งแวดล้อม หรือส่งเสริมให้ สังคมใช้ ผลิ ตภั ณฑ์ และบริการที่ เป็นมิตรต่ อสิ่งแวดล้ อม ทั้ งนี้ สถาบั นควร
พิจารณาขยายผลกระทบหรือสังคมในวงกว้างขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น สถาบันมีโครงการวิจัยที่ พัฒนา
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รือ การบริ ก ารจากชุ มชนหรื อ องค์ ก รที่ มี ค วามสนใจโดยผลิ ต จากวั ต ถุดิ บ ที่ เ ป็ น มิต รต่ อ
สิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมและเพิ่มมูลค่าสินค้า ซึ่งสามารถเป็นแนวทางในการสร้าง
รายได้เสริมให้ประชาชนส่วนใหญ่ในพื้นที่

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีส่วนร่วมกั บองค์กรภายนอกหรือสังคมแบบหุ้นส่วน กล่าวคือ มีการร่วมกับพัฒนาโครงการ และ


ดาเนินโครงการร่วมกัน

 เกิดประโยชน์กับสังคมทั้งทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม หรือความเป็นอยู่ที่ดีข้น


 เป็นโครงการที่มีความต่อเนื่อง ซึ่งต้องมีการจัดกิจกรรมขึ้นภายในปีงบประมาณนั้นๆอย่างน้อยเป็น
เวลา 2 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มี ก ารด าเนิ น งานและวั ด ผลการด าเนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ องและมี
ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม อย่างชัดเจนจนสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือองค์กรใน
สังคมได้ โดยสถาบันมีส่วนร่วมเผยแพร่ความรู้และส่งเสริมการพิจารณาใช้ผลิตภั ณฑ์
และบริ ก ารที่ สั ง คมให้ ก ารยอมรั บ ตั ว อย่ า งเช่ น สถาบั น มี โ ครงการวิ จั ย ที่ พั ฒ นา
ผลิตภั ณฑ์ หรือการบริการจากชุมชนหรือองค์กรที่มีความสนใจโดยผลิตจากวัตถุดิบที่
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มี แ ผนการด าเนิ น งานหรื อ ก าลั ง ด าเนิ น งานกิ จ กรรมในการมี ส่ ว น
เผยแพร่ความรู้แ ละการปฏิบัติ โดยจั ดช่องทางให้ความรู้ แสดงแบบอย่าง หรือมีส่วน
ร่วมในการส่งเสริมการพิจารณาใช้ผลิตภัณฑ์และบริการที่สังคมให้การยอมรับ

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีความร่วมมือกับประชาชนภายนอก


ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 48
คู่มอ
โดดเด่น

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

 สถาบันฯ พิจารณาใช้ผลิตภั ณฑ์ และบริการที่ สังคมให้การยอมรับ ที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ


หรือระดับสากล

 สถาบันฯ พิจารณาใช้ผลิตภัณฑ์และบริการที่สังคมให้การยอมรับจนมีองค์กรหรือสถาบันฯ ภายนอก


นาไปปฏิบต
ั ิตามจนประสบความสาเร็จได้อย่างชัดเจน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบั น ฯ จะต้ อ งได้ รั บ รางวั ล ระดั บ ดี เ ยี่ ย ม เหรี ย ญทอง หรื อ รางวั ล ชนะเลิ ศ ใน
ระดับประเทศ

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบันฯ จะต้องได้รับรางวัลระดับดี หรือระดับเงิน ในระดับประเทศ หรือสามารถเป็ น
ต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีกิจกรรมหรือแนวทางปฏิบัติที่ได้รับรางวัลในระดับประเทศ/


ระดับสากลหรือโครงการสามารถเป็นต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้
49

EN1
การจัดการขยะและน้าเสีย
คานิยาม

การจั ดการขยะและน้าเสียเป็นหัวข้อ ที่ มุ่งเน้นให้สถาบัน ฯ


สา ม า รถ น า อ งค์ ก รไ ป สู่ Zero waste management โดย ผ่ า น
กระบวนการ การลด การนากลับ มาใช้ใ หม่ และการรีไซเคิล เพื่อ
เป็ น การลดขยะที่ จ ะถูก ส่งไปก าจั ดยังโรงเผาขยะและบ่ อ ฝังกลบ
อี ก ทั้ งยั ง ช่ วยลดป ริ ม า ณก า รปลดป ล่ อ ยก๊ า ซเรื อ น ก ระจ ก สู่
บรรยากาศ และการปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้าสาธารณะ ซึ่งเป็นสาเหตุ
ทาให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนได้ นอกจากนี้ยังสามารถลดค่าใช้จ่าย
ในการกาจัดของเสียของสถาบันหากมีการสนับสนุนการลดปริมาณ
ขยะตั้ ง แต่ แ หล่ ง ก าเนิ ด และการปฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น รู ป ธรรมสามารถ
ส่งเสริมบุคลากรและนักศึกษามีความตระหนักและเกิดการปฏิบัติ
เพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาที่ย่งั ยืนของสถาบันได้
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 50
คู่มอ

ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน

การจั ดการขยะและน้าเสียที่ถูกวิธีสามารถลดการ
ป น เ ปื้ อ น ข อ ง สิ่ ง ป น เ ปื้ อ น แ ล ะ ส า ร เ ค มี
สู่สาธารณะที่สามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพต่อผู้
ที่สัมผัสได้ (3.9.1, 3.9.2, 3.9.3)

การจั ดการขยะและน้ า เสี ยที่ ถู ก วิ ธี แ ละเหมาะสม


สามารถช่ วยลดการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารเคมี
ลงสู่แหล่งน้าธรรมชาติ อันเป็นทรัพยากรหลักที่ ใช้
ใ น ก า ร อุ ป โ ภ ค แ ล ะ บ ริ โ ภ ค
(6.2.1, 6.3.1, 6.3.2, )

การจั ด การขยะและน้ า เสี ย ที่ เ หมาะสมเป็ น การ


ป ฏิ บั ติ อ ย่ า ง ห นึ่ ง ที่ ค า นึ ง ถึ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ
สิ่ ง แวดล้ อ มรอบข้ า งของสถาบั น ฯ ไม่ ว่ า จะเป็ น
ปัญหาการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารเคมีในสถานที่
สาธารณะที่ ป ระชาชนสามารถสัมผัสได้ ง่า ย หาก
ได้รับการจั ดการที่ ถูกต้ องและเหมาะสมถือว่าเป็น
การปฏิบัติที่ส่งเสริมให้เกิดชุมชนหรือเมืองยั่งยืนได้
ตาม SDGs 11 (11.6.1, )

การจั ด การขยะและน้ า เสี ย ที่ เ หมาะสม โดยผ่ า น


กระบวนการ การลดปริมาณขยะจากแหล่งกาเนิด
การรีไ ซเคิ ล การน ากลั บ มาใช้ ใ หม่ ส ามารถท าให้
สถาบั น บรรลุก ารจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ย่ั ง ยื น และ
เป็นการใช้ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้ ง
ยังเป็ น การอนุ รัก ษ์ ท รัพยากรโดยการก าจั ดขยะที่
ถู ก ต้ อง เช่ น การหมั ก และการรี ไ ซเคิ ล อย่ า ง
เหมาะสม (12.2.1, 12.2.2, 12.3.1, 12.4.1,
12.4.2, 12.5.1, 12.6.1)

การจัดการขยะและน้าเสียที่ เหมาะสมช่วยลดการ
เกิ ด ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มในน้ า และเป็ น การ
อนุ รั ก ษ์ สิ่ ง มี ชี วิ ต ใต้ น้ า ได้ จ ากการรั่ ว ไหลหรื อ
ปลดปล่อยของเสียที่ไม่เหมาะสม (14.1.1)
51

ประเภทตัวชีว
้ ัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่งั ยืน

นโยบาย

นโยบาย หรือ ยุท ธศาสตร์ระดั บสถาบัน แสดงถึ งชุ ดแผนงาน/โครงการ ที่ เกี่ ยวข้อ งกั บการ
จั ดการขยะและน้าเสีย ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของสถาบัน จนถึงปลายทางการกาจัดขยะ และน้าทิ้ ง เช่น
มีน โยบายในการจั ดการขยะ คั ดแยกขยะ หรือ กิ จกรรมส่งเสริ มสร้ างความตระหนั ก ในการทิ้ งขยะ
ให้กับบุคลากรและนักศึกษา รวมถึงแนวทางในการจัดการน้าเสียที่เกิดจากกิจกรรมของสถาบันฯ

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีนโยบายหรือยุทธศาสตร์ส่งเสริมการจัดการขยะและน้าเสียอย่าง


ถูกวิธี

0 คะแนน หมายถึง ไม่มีนโยบายหรือยุทธศาสตร์ครอบคลุมการดาเนินการของหน่วยงาน

แผนการดาเนินงาน

สถาบั นฯ พัฒนาแผนปฏิ บั ติงานที่ เหมาะสมกั บบริบ ทของตนเอง เกี่ ยวข้อ งกั บ การจั ดการ
ขยะและน้าเสีย ทั้งนี้ หน่วยงานสามารถพัฒนาแนวปฏิบัติงานตามบริบทของตนเอง โดยอ้ างอิ งแนว
ปฏิบัติที่ดีแนะนาโดยองค์กรที่เป็นที่ยอมรับ หรือหน่วยงานรัฐ ตัวอย่างเช่น

 สานักงานสีเขียว ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
 คู่มือปฏิบัติการ 3 ใช้ (3R) เพื่อจัดการขยะชุมชน ของกรมควบคุมมลพิษ
 คู่มือการดาเนินงานลดคัดแยกขยะมูลฝอยภายในอาคารสานักงาน ของกรมควบคุมมลพิษ
 คู่มือการจัดการน้าเสียชุมชนภาคประชาชน ของกรมควบคุมมลพิษ เป็นต้น

สถาบันฯ มีแนวทางการปฏิบัติที่สง่ เสริมการจัดการขยะและน้าเสียที่เหมาะสม ดังนี้

 สถาบันฯ มีการจัดการขยะที่เหมาะสมและมีการแยกประเภทของขยะ
 สถาบันฯ มีระบบบาบัดน้าเสียอย่างถูกวิธีก่อนปล่อยสู่แหล่งรวบรวมสาธารณะ

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีแผนปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการจัดการขยะและน้าเสีย


โดยสถาบันมีการแยกประเภทของขยะ มีการจั ดการขยะที่ เหมาะสมพร้อมทั้ งมีการ
บาบัดน้าเสียอย่างถูกวิธีก่อนปล่อยสู่แหล่งรวบรวมน้าสาธารณะ (ต้องดาเนินกิจกรรม
ดังกล่าวทุกข้อ)

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีการพัฒนาแผนปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการจัดการ


ขยะและน้าเสีย
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 52
คู่มอ

ระบบการตรวจวัด

สถาบัน มีระบบติ ดตามและประเมิน ผลการดาเนิ น การตามนโยบายและเป้ า หมายที่ วางไว้


ด้วยระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้ ทั้งนี้สถาบันฯ สามารถคานวณด้วยวิธีการอื่ นที่เป็น
ที่ยอมรับในทางวิชาการได้
หัวข้อการ ประเภท
ตัวชีว้ ัด วิธก
ี ารคานวณ (ตัวอย่าง)
ประเมิน ตัวชีว้ ัด
การ 1 ปริมาณขยะ ปริมาณขยะควรประเมินจากการชั่งน้าหนัก ซึ่งหากสถาบันมี
จัดการ มูลฝอยที่ ข้อจากัดสถาบันอาจพิจารณาคานวณด้วยสมการ ดังนี้
ขยะ เกิดขึ้น ปริมาณขยะ = ความหนาแน่นของขยะ x ปริมาตรช่อง
(กิโลกรัม และ บรรทุกของรถเก็บขน x จานวนเทีย
่ วของรถที่วิ่ง
กิโลกรัม/คน) ทั้งนี้ ค่าความหนาแน่นของขยะมูลฝอยของรถกระบะ รถเปิด
ข้างเทท้าย รถกระเช้าขนถังรองรับขยะ เท่ากับ 0.30 ตัน/
ลูกบาศก์เมตร และรถอัดท้าย เท่ากับ 0.50 ตัน/ลูกบาศก์
เมตร
หรือ
ปริมาณขยะ = ปริมาตรของกองขยะ x
ความหนาแน่นของกองขยะ
โดยความหนาแน่นของกองขยะประเมินด้วยการสุม
่ เก็บ
ตัวอย่างจากกองขยะซึ่งผู้วัดทราบปริมาตร
(กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร)
อย่างไรก็ตาม สถาบันอาจใช้วิธีอ่ ืนที่เป็นที่ยอมรับตามหลัก
วิชาการ
คน คานวณด้วยสมการดังนี้
จานวนคน = (A+B+C) + 0.75[(D-A)+(E-B)-F]
A คือ จานวนนักศึกษาทีอ
่ าศัยอยูใ่ นพื้นทีข
่ องสถาบัน
B คือ จานวนบุคลากรทีอ
่ าศัยอยูใ่ นพื้นทีข
่ องสถาบัน
C คือ จานวนบุคคลอื่นทีอ
่ าศัยอยูใ่ นพื้นทีข
่ องสถาบัน
D คือ จานวนนักศึกษาเต็มเวลาทั้งหมด คานวณโดย
อัตราส่วนระหว่างผลรวมจานวนหน่วยกิตทีล
่ งทะเบียน
ของนักศึกษาทั้งหมดและหน่วยกิตทีน
่ ก
ั ศึกษาเต็มเวลา
ลงทะเบียนในแต่ละปี
E คือ จานวนบุคลากรประจาทั้งหมด คานวนโดยอัตราส่วน
ระหว่างผลรวมจานวนชั่วโมงของบุคลากรทั้งหมดและ
ชั่วโมงทีบ
่ ค
ุ ลากรประจาทาในแต่ละปี
F คือ จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนทางไกล คานวณ
โดยอัตราส่วนระหว่างผลรวมจานวนหน่วยกิตที่
ลงทะเบียนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนทางไกล
ทั้งหมดและหน่วยกิตทีน
่ ก
ั ศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน
ทางไกลลงทะเบียนแบบเต็มจานวนในแต่ละปี

*หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี


53

หัวข้อการ ประเภท
ตัวชีว้ ัด วิธก
ี ารคานวณ (ตัวอย่าง)
ประเมิน ตัวชีว้ ัด
การ 1 ปริมาณเศษ ปริมาณขยะควรประเมินจากการชั่งน้าหนัก อย่างไรก็ตาม
จัดการ อาหารเหลือ สถาบันฯ อาจใช้วิธีอ่ น
ื ที่เป็นที่ยอมรับตามหลักวิชาการ
ขยะ ทิ้งต่อจานวน ไม่นับรวมถึงกิจกรรมพิเศษ
นักศึกษาและ คน คานวณด้วยสมการดังนี้
บุคลากร จานวนคน = (A+B+C) + 0.75[(D-A)+(E-B)-F]
ภายในสถาบัน A คือ จานวนนักศึกษาทีอ
่ าศัยอยูใ่ นพื้นทีข
่ องสถาบัน
(กก.ต่อคน) B คือ จานวนบุคลากรทีอ
่ าศัยอยูใ่ นพื้นทีข
่ องสถาบัน
C คือ จานวนบุคคลอื่นทีอ
่ าศัยอยูใ่ นพื้นทีข
่ องสถาบัน
D คือ จานวนนักศึกษาเต็มเวลาทั้งหมด คานวณโดย
อัตราส่วนระหว่างผลรวมจานวนหน่วยกิตทีล
่ งทะเบียน
ของนักศึกษาทั้งหมดและหน่วยกิตทีน
่ ก
ั ศึกษาเต็มเวลา
ลงทะเบียนในแต่ละปี
E คือ จานวนบุคลากรประจาทั้งหมด คานวนโดยอัตราส่วน
ระหว่างผลรวมจานวนชั่วโมงของบุคลากรทั้งหมดและ
ชั่วโมงทีบ
่ ค
ุ ลากรประจาทาในแต่ละปี
F คือ จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนทางไกล คานวณ
โดยอัตราส่วนระหว่างผลรวมจานวนหน่วยกิตที่
ลงทะเบียนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนทางไกล
ทั้งหมดและหน่วยกิตทีน
่ ก
ั ศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน
ทางไกลลงทะเบียนแบบเต็มจานวนในแต่ละปี
1 ปริมาณขยะที่ วิธีคานวณปริมาณขยะ และปริมาณขยะถูกแปรรู ปมาใช้ใหม่
ถูกแปรรู ปมา อ้างอิงสมการระบุในตัวชี้วัด 1.1
ใช้ใหม่ (ร้อย
ละ)
การ 1 ปริมาณน้าเสีย ปริมาตรน้าเสีย ประเมินจากเครื่องมือวัดอัตราการไหล
จัดการน้า ที่ถก
ู บาบัด
เสีย และนากลับมา
ใช้ใหม่
(ร้อยละ)

1 ปริมาณน้าเสีย ปริมาตรน้าเสีย ประเมินจากเครื่องมือวัดอัตราการไหล และ


ที่ปล่อยทิ้ง จานวนคนคานวณอ้างอิงสมการระบุในตัวชี้วัด 1.1
(ลูกบาศก์
เมตร/คน)

*หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี


ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 54
คู่มอ
เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการรายงานตั วชี้วัดพื้นฐาน


และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.75 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มีก ารก าหนดเป้า หมายในแต่ ละตั ว ชี้ วั ด และมีการรายงานตั วชี้ วัด
พื้นฐานพร้อมทั้งเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.25 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการตรวจวัดข้อมูลเท่านั้น

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด

การมีส่วนร่วมกับสังคม

สถาบันร่วมมือกับประชาชนภายนอก แก้ไขปัญหาเกี่ยวข้องกับการจัดการขยะและน้าเสีย ซึ่ง


เกิดจากกิจกรรมของสถาบัน จนถึงปลายทางการกาจัดขยะและน้าเสีย ในพื้นที่ของสถาบันหรือชุมชน
ตัวอย่างกิจกรรม ได้แก่

 โครงการศึกษาระบบบาบัดน้าเสียของโรงอาหาร
 โครงการปุ๋ยหมักจากขยะ
 ศูนย์บริหารจัดการชีวมวลครบวงจร
 โครงการธนาคารขยะ

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีส่วนร่วมกั บองค์กรภายนอกหรือสังคมแบบหุ้นส่วน กล่าวคือ มีการร่วมกับพัฒนาโครงการ และ


ดาเนินโครงการร่วมกัน
 เกิดประโยชน์กับสังคมทั้งทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม หรือความเป็นอยู่ที่ดีข้น

 เป็นโครงการที่มีความต่อเนื่อง ซึ่งต้องมีการจัดกิจกรรมขึ้นภายในปีงบประมาณนั้นๆอย่างน้อยเป็น
เวลา 2 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มี ก ารด าเนิ น งานและวั ด ผลการด าเนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ องและมี
ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม อย่างชัดเจนจนสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือองค์กร
ในสังคมได้ โดยสถาบันมีส่วนร่วมเผยแพร่ความรู้และการปฏิบัติการคัดแยกขยะและ
น้าเสียอย่า งถูกวิ ธี ตั วอย่างเช่น การจั ดการน้าเสียจากห้องน้าตามหลักสุขาภิ บ าลที่ ดี
เป็นต้น (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีแผนการดาเนินงานหรือกาลังดาเนินงานกิจกรรม โดยสถาบันมีส่วน


ร่วมเผยแพร่ความรู้และการปฏิบัติการคัดแยกขยะและน้าเสียอย่างถูกวิธี

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีความร่วมมือกับประชาชนภายนอก


55

โดดเด่น

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

 สถาบั น ฯ มี กิ จ กรรมการส่ ง เสริ ม การจั ด การขยะและน้ า เสี ย ที่ เ หมาะสมเป็ น ที่ ย อมรั บ ใน
ระดับประเทศ หรือระดับสากล

 สถาบันฯ มีกิจกรรมการส่งเสริมการจัดการขยะและน้าเสียที่เหมาะสมที่เป็นต้นแบบให้กับสังคม จน
มีองค์กรหรือชุมชนภายนอกนาไปปฏิบต
ั ิตามจนประสบความสาเร็จได้อย่างชัดเจน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ลที่ เ ป็ น ที่ ยอมรับ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบั น ฯ จะต้ อ งได้ รั บ รางวั ล ระดั บ ดี เ ยี่ ย ม เหรี ย ญทอง หรื อ รางวั ล ชนะเลิ ศ ใน
ระดับประเทศ

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ลที่ เ ป็ น ที่ ยอมรับ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบันฯ จะต้องได้รบ
ั รางวัลระดับดี หรือระดับเงิน ในระดับประเทศ หรือสามารถเป็น
ต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีกิจกรรมหรือแนวทางปฏิบัติที่ได้รับรางวัลในระดับประเทศ/


ระดับสากลหรือโครงการสามารถเป็นต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 56
คู่มอ

EN2
การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
และการเพิม
่ การดูดกลับก๊าซเรือนกระจก
คานิยาม

ก๊าซเรือนกระจก หมายถึง ก๊ าซที่ เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์


เท่ านั้ น ได้แก่ ก๊ าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊ าซมีเทน (CH4) ก๊ าซ
ไนตรั ส ออกไซด์ (N2 O) ก๊ า ซไฮโดรฟลู อ อโรคาร์ บ อน (HFC) ก๊ า ซ
เปอร์ฟลูอ อโรคาร์บ อน (PFC) ก๊ า ซซั ลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ (SF6 )
และก๊าซไนโตรเจนไตรฟลูออไรด์ (NF3)

การลดก๊าซเรือนกระจกสามารถดาเนินการได้หลายมาตรการ
ทั้ง ภาคพลังงาน คมนาคมขนส่ง การจัดการของเสีย ดังนี้

• ภาคพลั ง งาน เช่ น การผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งานหมุ น เวี ย น การ


เปลี่ ย นแปลงชนิ ด เชื้ อเพลิ ง ในการผลิ ต พลั ง งาน และการเพิ่ ม
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ใ ช้ พ ลั ง ง า น โ ด ย เ ป ลี่ ย น อุ ป ก ร ณ์ จ า ก
ประสิทธิภาพต่าเป็นอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง

• ภาคคมนาคมขนส่ง เช่น การใช้ระบบขนส่งสาธารณะ การเปลี่ยน


เชื้ อเพลิ ง ส าหรั บ ยานยนต์ และการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้
พลังงานสาหรับยานยนต์

• ภาคการจัดการของเสีย เช่น การทาปุ๋ยหมัก การหมักขยะอินทรีย์


แบบไร้อากาศ และการจัดการน้าเสียอย่างมีประสิทธิภาพ
57

ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืน

การลดก๊ า ซเรือ นกระจกเป็น แนวทางการลดมลพิษ


อากาศที่ อ าจส่งผลต่ อ สุขภาพให้ ไม่มีผลกระทบต่ อ
สุขภาพของบุคลากรและนักศึกษา รวมถึงประชาชน
ที่ อ าศั ย อยู่ โ ดยรอบมหาวิ ท ยาลั ย (3.9.1, 3.9.2,
3.9.3)

การใช้ พ ลั ง งานเป็ น แหล่ ง ก าเนิ ด ของก๊ า ซเรื อ น


กระจกหลักของสถาบันการศึกษา โดยสถาบัน ต้ อ ง
ท าการติ ด ตาม และพยายามลดปริ ม าณก๊ า ซเรื อ น
กระจก Scope 1 และ Scope 2 อันเป็นหนทางหนึ่งที่
จะน าไปสู่ ก ารใช้ พ ลั ง งานและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของ
องค์กร (7.2.1, 7.3.1)

การควบคุมการปลดปล่อยก๊ าซเรือนกระจกส่งเสริม
ให้สถาบันฯ ติ ดตาม ตรวจสอบ และมีมาตรการการ
ควบคุ ม ก๊ า ซเรื อ นกระจก ซึ่ ง เป็ น วิ ธี ก ารควบคุ ม
มลพิ ษ ทางอากาศ สู่ ช้ั น บรรยากาศ และป้ อ งกั น
ผลกระทบต่ อ บุ ค ลากร นั ก ศึ ก ษาและประชาชน
ภายนอก อี ก ทั้ ง สามารถน าไปสู่ ค วามเป็ น ชุ ม ชน
หรือเมืองที่ย่งั ยืนได้ (11.6.2)

การที่สถาบันมีมาตรการการลดก๊าซเรือนกระจก อัน
เป็นส่วนหนึ่งของของกิจกรรมการต้านภาวะโลกร้อน
ซึ่ ง สถาบั น ฯ สามารถบรรลุด ป้ า หมายการพั ฒนาที่
ยั่งยืนข้อที่ 13 ได้ (13.2.2, 13.3.1)
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 58
คู่มอ

ประเภทตัวชีว
้ ัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่งั ยืน

นโยบาย

นโยบาย หรือยุทธศาสตร์ระดับสถาบัน แสดงถึงชุดแผนงาน/โครงการ ที่เกี่ยวข้องกับการลด


การปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก เช่ น มาตรการการลดปริ ม าณการปล่ อ ยก๊ า ซเรือ นกระจกที่ ค านึ ง ถึ ง
สิ่งแวดล้อม เก็บข้อมูลประเมินปริมาณการปล่อยก๊ าซเรือนกระจก รวมถึง มีการตั้ งเป้าหมายการลด
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อสร้างแผนงานและมาตรการเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ต้ังไว้

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีกาหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ส่งเสริมมาตรการการลดการ


ปล่อยหรือดูดกลับก๊าซเรือนกระจก เพื่อสนับสนุนให้ทุกหน่วยงานมีการปฏิบัติตาม
นโยบายหรือยุทธศาสตร์ที่กาหนด

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีการกาหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ที่ส่งเสริมมาตรการลด


การปล่อยหรือดูดกลับก๊าซเรือนกระจก

แผนการดาเนินงาน

หน่วยงานระดับกอง หรือคณะ หรือศูนย์ หรือเทียบเท่า พัฒนาแผนปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับ


บริบทของตนเอง เพื่อลดการปล่อยหรือการเพิ่มการดูดกลับก๊ าซเรือนกระจก ได้แก่ มีการเก็ บข้อมูล
ประเมินผลข้อมูล เพื่อกาหนดมาตรการการลดการปล่อยหรือการเพิ่มการดูดกลับก๊ าซเรือนกระจก
ทั้ ง นี้ หน่ ว ยงานสามารถพั ฒ นาแนวปฏิ บั ติ ง านตามบริ บ ทของตนเอง โดยอ้ า งอิ ง แนวปฏิ บั ติ ที่ ดี
แนะนาโดยองค์กรที่เป็นที่ยอมรับ หรือหน่วยงานรัฐ ตัวอย่างเช่น

 สานักงานสีเขียว ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม

 ISO 14064 มาตรฐานสากลว่าด้วยการลดการการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

 คู่มือโครงการการพัฒนาโครงการต้นแบบ T-VER สาขาป่าไม้และการเกษตร เป็นต้น

สถาบันฯ มีแนวทางการปฏิบัติที่สง่ เสริมการลดและการดูดซับก๊าซเรือนกระจก ดังนี้

 สถาบันฯ มีมาตรการในการเก็บข้อมูลก๊าซเรือนกระจกที่มาจากกิจกรรมของสถาบันฯ

 สถาบันฯ มีกิจกรรมส่งเสริมการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เช่น การเปลี่ยนแปลงเชื้อเพลิงที่


ใช้ในการผลิตไฟฟ้า ยานพาหนะ หรือกิจกรรมที่สามารถลดการปลดปล่อยของสถาบันฯ ได้

 สถาบันฯ มีกิจกรรมที่ช่วยเพิ่มการดูดกลับก๊าซเรือนกระจก เช่น การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่ของ


สถาบันฯ
59

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีแผนปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการลดและการดูดซับก๊าซเรือน


กระจก โดยสถาบันมีมาตรการและการปฏิบัติที่ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
จากหน่วยงานในสถาบัน (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0 คะแนน หมายถึง สถาบันมีแผนปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการ


เพิ่มการดูด ซั บ ก๊ า ซเรื อ นกระจกอย่ า งจ ากั ด หรื อ ไม่ มีห น่ วยงานใดมี ก ารพั ฒนา
แผนปฏิบัติงาน

ระบบตรวจวัด

สถาบั น มีระบบติ ดตามและประเมิน ผลการดาเนิ นการตามนโยบายและเป้ า หมายที่ วางไว้


ด้วยระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้ ทั้งนี้สถาบันฯ สามารถคานวณด้วยวิธีการอื่นที่ เป็น
ที่ยอมรับในทางวิชาการได้

หัวข้อการ ประเภท
ตัวชีว้ ัด วิธก
ี ารคานวณ (ตัวอย่าง)
ประเมิน ตัวชีว้ ัด

การปล่อย 1 ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ ลักษณะกิจกรรมและแนวทางการประเมิน


ก๊าซเรือน ปล่อยตาม Scope 1 (ตัน/ อ้างอิงแนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพ
กระจกของ ปี) ริ้นท์ขององค์กร ขององค์การบริหาร
องค์กร จัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)
1 ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ หรือ มาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า
ปล่อยตาม Scope 2 (ตัน/
ปี)

1 ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่
ปล่อยตาม Scope 3 (ตัน/
ปี) (option)

*หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี


ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 60
คู่มอ

หัวข้อการ ประเภท
ตัวชีว้ ัด วิธก
ี ารคานวณ (ตัวอย่าง)
ประเมิน ตัวชีว้ ัด
ปริมาณความเข้มข้นของ อัตราส่วนระหว่างปริมาณก๊าซเรือนกระจกใน
1 ก๊าซเรือนกระจกต่อ แต่ละ Scope 1, Scope 2 และ Scope 3
จานวนนักศึกษาและ ต่อจานวนคน
บุคลากรในมหาวิทยาลัย คน คานวณด้วยสมการดังนี้
(ตัน/คน) จานวนคน = (A+B+C) + 0.75[(D-A)+(E-
B)-F]
A คือ จานวนนักศึกษาทีอ
่ าศัยอยูใ่ นพื้นที่
ของสถาบัน
B คือ จานวนบุคลากรทีอ
่ าศัยอยูใ่ นพื้นที่
ของสถาบัน
C คือ จานวนบุคคลอื่นทีอ
่ าศัยอยูใ่ นพื้นที่
ของสถาบัน
D คือ จานวนนักศึกษาเต็มเวลาทั้งหมด
คานวณโดยอัตราส่วนระหว่าง
ผลรวมจานวนหน่วยกิตทีล
่ งทะเบียน
ของนักศึกษาทั้งหมดและหน่วยกิตที่
นักศึกษาเต็มเวลาลงทะเบียนในแต่
ละปี
E คือ จานวนบุคลากรประจาทั้งหมด
คานวนโดยอัตราส่วนระหว่างผลรวม
จานวนชั่วโมงของบุคลากรทั้งหมด
และชั่วโมงทีบ
่ ุคลากรประจาทาใน
แต่ละปี
F คือ จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน
ทางไกล คานวณโดยอัตราส่วน
ระหว่างผลรวมจานวนหน่วยกิตที่
ลงทะเบียนของนักศึกษาที่
ลงทะเบียนเรียนทางไกล ทั้งหมด
และหน่วยกิตทีน
่ ก
ั ศึกษาที่
ลงทะเบียนเรียนทางไกล

*หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี


61

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน


และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.75 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการกาหนดเป้าหมายในแต่ ละตั วชี้วัด และมีการรายงานตั วชี้วัด


พื้นฐานพร้อมทั้งเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.25 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการตรวจวัดข้อมูลเท่านั้น

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด

การมีสว่ นร่วมกับสังคม

สถาบันร่วมมือกับประชาชนภายนอก แก้ไขปัญหาเกี่ยวข้องกับการลดและดูดซับก๊าซเรือน
กระจก ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของสถาบัน ในพื้นที่ของสถาบันหรือชุมชน ตัวอย่างกิจกรรม ได้แก่

 ศูนย์บริหารจัดการชีวมวลครบวงจร

 โครงการพัฒนาด้ายกายภาพของพื้นที่ โดยเพิ่มจานวนและความหนาแน่นของต้นไม้

 การพัฒนาแอปพลิเคชันรถไฟฟ้าสวัสดิการรับ-ส่งภายในสถาบันฯ

ทั้งนี้ สถาบันควรพิจารณาขยายผลกระทบทางสังคมในวงกว้างขึ้นอย่างต่อเนื่อง

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีส่วนร่วมกับองค์กรภายนอกหรือสังคมแบบหุ้นส่วน กล่าวคือ มีการร่วมกับพัฒนาโครงการ และ


ดาเนินโครงการร่วมกัน

 เกิดประโยชน์กับสังคมทั้งทางเศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม หรือความเป็นอยู่ที่ดีข้น


 เป็นโครงการที่ มีความต่ อเนื่ อง ซึ่งต้ องมีการจั ดกิ จกรรมขึ้นภายในปีงบประมาณนั้นๆอย่างน้อย


เป็นเวลา 2 ปี
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 62
คู่มอ
เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มี ก ารด าเนิ น งานและวั ด ผลการด าเนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ องและมี
ผลกระทบเชิ ง บวกทางสั ง คม อย่ า งชั ด เจนจนสามารถพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต หรื อ
องค์ก รในสังคมได้ โดยสถาบัน มีส่วนร่วมเผยแพร่ความรู้แ ละการปฏิบั ติ ที่ส่งเสริม
การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและเพิ่มการดูดซับก๊ าซเรือนกระจก ตั วอย่างเช่ น
กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การใช้ พ ลั ง งานทางเลื อ กในครั ว เรื อ น กิ จ กรรมพั ฒ นาการใช้
พลั ง งานในองค์ ก ร สนั บ สนุ น การใช้ อุ ก รณ์ ไ ฟฟ้ า ประหยั ด พลั ง งาน หรื อ ส่ ง เสริ ม
กิจกรรมการปลูกป่าเพื่อสร้างพื้นที่ สีเขียว เป็นต้น (ต้ องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุก
ข้อ)

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีแผนการดาเนินงานหรือกาลังดาเนินงานกิ จกรรม โดยสถาบันมี


ส่วนร่วมเผยแพร่ความรู้และการปฏิบัติที่ส่งเสริมการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ตั ว อย่ า งเช่ น กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การใช้ พ ลั ง งานทางเลื อ กในครั ว เรื อ น กิ จ กรรม
พัฒนาการใช้พลังงานในองค์กร หรือสนับสนุนการใช้อุกรณ์ไฟฟ้าประหยัดพลังงาน
เป็นต้น

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีความร่วมมือกับประชาชนภายนอก

โดดเด่น

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

 สถาบันฯ มีกิจกรรมการส่งเสริมการลดการปล่อยและการเพิ่มการดูดกลับก๊ าซเรือนกระจกเป็นที่


ยอมรับในระดับประเทศ หรือระดับสากล

 สถาบันฯ มีกิจกรรมการลดการปลดปล่อยและดูดกลับก๊ าซเรือนกระจกที่เป็นต้นแบบให้กับสังคม


จนมีองค์กรหรือชุมชนภายนอกนาไปปฏิบต
ั ิตามจนประสบความสาเร็จได้อย่างชัดเจน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั นฯ ได้ รับรางวั ลที่ เป็ น ที่ ยอมรับ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบั น ฯ จะต้ อ งได้ รั บ รางวั ล ระดั บ ดี เ ยี่ ย ม เหรี ย ญทอง หรื อ รางวั ล ชนะเลิ ศ ใน
ระดับประเทศ

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั นฯ ได้ รับรางวั ลที่ เป็ น ที่ ยอมรับ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบันฯ จะต้องได้รบ
ั รางวัลระดับดี หรือระดับเงิน ในระดับประเทศ หรือสามารถเป็น
ต้ น แบบที่ ดีใ ห้ กั บ สังคมได้ ซึ่งรวมถึง ISO14064 หรือ ฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ หรือ
ประกาศนียบัตรชดเชยการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีกิจกรรมหรือแนวทางปฏิบัติที่ได้รับรางวัลในระดับประเทศ/


ระดับสากลหรือโครงการสามารถเป็นต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้
63

EN3
อาคารเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม
คานิยาม

อาคารเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม หมายถึ ง อาคารที่ ได้


มาตรฐาน ส่งเสริมความเป็ นมิตรต่ อสิ่งแวดล้ อม และใช้ทรัพยากร
ต่ า งๆอย่ า งมีป ระสิท ธิภ าพตลอดวงจรอายุ อ าคาร ซึ่ ง รวมถึ งการ
อ อ ก แ บ บ โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ ก่ อ ส ร้ า ง ที่ ค า นึ ง ถึ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ
สิ่งแวดล้ อ ม การใช้ ท รั พ ยากรอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เช่ น น้ า หรื อ
พลั งงาน การเลื อ กใช้ พลั ง งานหมุน เวี ยน การใช้ วัสดุ ที่ มีคุ ณภาพ
และความปลอดภัย การใช้วัสดุรีไซเคิลหรือวัสดุที่นากลับมาใช้ใหม่
และสิ่งแวดล้อมภายในอาคารที่ดีต่อบุคลากรที่ทางานในตัวอาคาร
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 64
คู่มอ

ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืน

การออกแบบโครงสร้างอาคารที่มีความปลอดภัย
และสิ่ งแวดล้อ มภายในอาคารที่ ดีน้ั น เป็ น ปั จ จั ย
สาคัญที่ทาให้บุคลากรที่ทางานในอาคารมีความ
เป็ นอยู่ ที่ดีได้ ท้ั งในด้ า นสุ ขภาพและสิ่ งแวดล้ อ ม
ในสถานที่ทางาน (3.9.1, 3.9.2, 3.9.3)

การออกแบบโครงสร้า งอาคารที่ ส่งเสริมให้ เกิ ด


การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้า ที่ ป ระหยั ด
พลั ง ง า น ห รื อ ม า ต ร ก า ร ป ระ ห ยั ด พลั ง ง า น
สามารถทาให้สถาบันฯ สามารถบรรลุเป้าหมาย
การพัฒนาที่ย่งั ยืนข้อที่ 7 ได้ (7.1.1, 7.1.2)

การออกแบบโครงสร้ า งอาคารที่ ส่ ง เสริม ความ


ยั่ ง ยื น ในการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรท าให้ นั ก ศึ ก ษา
และบุ ค ลากรสามารถเข้ า ถึ ง แหล่ งพลั งงาน น้ า
ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมที่ดี (9.4.1)

การออกแบบโครงสร้างและการก่อสร้างอาคารที่
คานึ งถึ งผลกระทบต่ อ สิ่ งแวดล้ อ มรอบข้ า งของ
สถาบันฯ ไม่ว่าจะเป็นปัญหามลพิษจากฝุ่นหรือ
การจั ดการขยะในการก่อสร้าง ซึ่งสามารถทาให้
สถาบันฯบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ ย่ังยืนข้อที่
11 ได้ (11.2.1, 11.6.1, 11.6.2, 11.7.1)

การออกแบบโครงสร้าง ก่อสร้าง และการบริหาร


จัดการอาคารที่ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การ
ล ด ป ริ ม า ณ ข ย ะ ก า ร อุ ป โ ภ ค น้ า อ ย่ า ง มี
ประสิ ท ธิ ภ าพ และการสนั บ สนุ น การใช้ วั ส ดุ
อุ ป กรณ์ ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม สิ่ ง เหล่ า นี้
สามารถแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ
สิ่งแวดล้อมของสถาบันฯ ได้ (12.5.1)
65

ประเภทตัวชีว
้ ัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่งั ยืน

นโยบาย

นโยบาย หรือยุทธศาสตร์ระดับสถาบัน แสดงถึงชุ ดแผนงาน/โครงการ ที่เกี่ ยวข้องกับการออกแบบ


และการก่ อสร้างที่ ได้มาตรกฐาน ซึ่งคานึงถึงสิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิตของมนุษย์ และการออกแบบ
เพื่อ คนทั้ ง มวล เช่ น มี น โยบายและเป้ า หมายในการส่ งเสริ ม การออกแบบและก่ อ สร้ า งที่ คานึ งถึ ง
สิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิตของมนุษย์ และการออกแบบอารยสถาปัตย์ (Universal design)

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีกาหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ส่งเสริมอาคารเป็นมิตรต่อ


สิ่งแวดล้อม
เพื่อสนับสนุนให้ทุกหน่วยงานมีการปฏิบัติตามนโยบายหรือยุทธศาสตร์ที่กาหนด

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีการกาหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ที่ส่งเสริมอาคารเป็น


มิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 66
คู่มอ

แผนการดาเนินงาน

หน่วยงานระดับกอง หรือคณะ หรือศูนย์ หรือเทียบเท่า พัฒนาแผนปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับ


บริ บ ทของตนเอง เช่ น หน่ ว ยงานในสถาบั น มี แ ผนปฏิ บั ติ ง านในการส่ ง เสริ ม การออกแบบและ
ก่อสร้างอาคารรวมการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เป็ นมิตรต่ อสิ่งแวดล้อม หรือสถาบันมีบุคลากรผู้เชี่ ยวชาญ
และมีผู้รับผิดชอบ (เช่น หน่วยงาน หรือ คณะกรรมการ) ในการรวบรวม ทวนสอบ ติ ดตามผลการ
ดาเนินการ รวมทั้ งส่งเสริมการออกแบบและก่ อสร้างที่ คานึ งถึงสิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิตของมนุษย์
และการออกแบบอารยสถาปัตย์

สถาบันฯ มีแนวทางการปฏิบัติที่การส่งเสริมการออกแบบและก่ อสร้างที่ คานึงถึงสิ่งแวดล้อม


คุณภาพชีวิตของมนุษย์ และการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล ดังนี้

 สถาบันฯ มีการออกแบบและก่อสร้างอาคารใหม่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยคานึงถึงการใช้


วัสดุอุปกรณ์ และการใช้พลังงาน

 สถาบันฯ มีการสนับสนุนให้มีการเปลี่ยนวัสดุอุปกรณ์ในอาคารที่ส่งเสริมให้เกิดความเป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม เช่น การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดพลังงานไฟฟ้า การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดน้า

 สถาบันฯ มีการออกแบบและก่อสร้างอาคารที่อานวยความสะดวกสาหรับผู้พิการและผู้สูงอายุ

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการบริหารจัดการ


อาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยสถาบันมีมาตรการและการปฏิบัติเปลี่ยนวัสดุ
อุปกรณ์ การออกแบบหรือการก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (ต้องดาเนิน
กิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีแผนปฏิบัติการในการส่งเสริมการบริหารจัดการอาคารหรือ


มาตรการในการเปลี่ยนวัสดุอุปกรณ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
67

ระบบตรวจวัด

สถาบั น มีระบบติ ดตามและประเมิน ผลการดาเนิ นการตามนโยบายและเป้ า หมายที่ วางไว้


ด้วยระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้ ทั้งนี้สถาบันฯ สามารถคานวณด้วยวิธีการอื่นที่ เป็น
ที่ยอมรับในทางวิชาการได้

หัวข้อการ ประเภท
ตัวชีว้ ัด ตัวชีว้ ัด วิธก
ี ารคานวณ (ตัวอย่าง)
ประเมิน
สัดส่วนพื้นที่เปิดโล่งของพื้นที่ คานวณสัดส่วนพื้นทีเ่ ปิดโล่ง
ผังและภูมท
ิ ศ
ั น์ 2 ใช้สอยของอาคาร Open Space Ratio (OSR) = พื้นที่เปิดโล่ง
(ร้อยละ) บนพื้นที่ดิน/ พื้นที่ดินทั้งหมด x100

สัดส่วนการซึมน้าของพื้นที่ คานวณสัมประสิทธิ์การไหลบนผิวดินเฉลีย

2 ของพื้นที่ใช้สอยของอาคาร (Area-Weighted Average Runoff Coeffi-
(ร้อยละ) cient) ของพื้นที่ผิวทั้งหมด

Where:
CW = weighted runoff coefficient
Cj = runoff coefficient for area j
Aj = area for land cover j (m2)
n = number of distinct land uses
โดยควรมีสม
ั ประสิทธิ์การไหลบนผิวดิน
เฉลี่ยไม่มากกว่า 0.5 หรืออยูร่ ะหว่าง 0.5-
0.7 แต่มแ
ี นวทางบรรเทาหน่วงน้า

อัตราส่วนพื้นที่สเี ขียว อัตราส่วนพื้นที่สเี ขียวสาธารณะที่เข้าถึงได้


2 สาธารณะที่เข้าถึงได้ / คน = ขนาดพื้นที่สเี ขียวสาธารณะที่เข้าถึงได้
(ร้อยละ) (ตร.ม.) /จานวนประชากร โดยควรมี
อัตราส่วนพื้นที่สเี ขียวสาธารณะที่เข้าถึงได้
มากกว่า 10 ตารางเมตร/คน

เข้าร่วมการประเมินอาคาร สถาบันมีอาคารที่ได้รับการรับรองเป็น

การออกแบบ 2 เขียว มีอาคารที่ได้รับการ อาคารเขียวตามมาตรฐานไทยหรือสากล

และก่อสร้าง รับรองเป็นอาคารเขียวตาม

อาคาร มาตรฐานไทย (เช่น TREES)


หรือสากล (เช่น LEED)

หมายเหตุ 2 หมายถึง ตัวชี้วัดที่ต้องมีการลงทุนค่อนข้างสูงและใช้ระยะเวลาเตรียมการนาน


ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 68
คู่มอ
เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติงานที่จะทาการติดตามและประเมินผลตามตั วชี้วัด


พื้นฐานที่กาหนดภายในระยะเวลา 4 ปี

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด

การมีสว่ นร่วมกับสังคม

สถาบั นร่วมมือกั บ ผู้เชี่ยวชาญและประชาชนภายนอก ในการส่งเสริมให้ เกิ ดการออกแบบ


และก่ อสร้า งอาคารที่ เป็ นมิ ต รต่ อสิ่ งแวดล้ อมที่ ไ ด้ มาตรฐาน ทั้ งในพื้นที่ ของสถาบั นและนอกพื้ น ที่
ร่วมกั บชุ มชน เช่น สถาบันร่วมมือกั บประชาชนภายนอกพัฒนาแผนและดาเนินการออกแบบและ
ก่อสร้างที่ เป็นมิตรต่ อสิ่งแวดล้ อม คุณภาพชีวิตของมนุ ษย์ และการออกแบบเพื่อคนทั้ งมวล รวมถึ ง
ร่ ว มติ ด ตามผลการด าเนิ น การ ซึ่ ง อาจอ้ า งอิ ง ตั ว ตามชี้ วั ด พื้ นฐาน หรื อ จ านวนกลุ่ ม ประชาชน
ภายนอกเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อง คื อ สถาบั น ขยายความร่ ว มมื อ โดยเพิ่ ม จ านวนกลุ่ ม ประชาชน
ภายนอกในพื้นที่อ่ ืน เพื่อร่วมพัฒนาการออกแบบและก่อสร้างอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีส่วนร่วมกับองค์กรภายนอกหรือสังคมแบบหุ้นส่วน กล่าวคือ มีการร่วมกับพัฒนาโครงการ และ


ดาเนินโครงการร่วมกัน

 เกิดประโยชน์กับสังคมทั้งทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม หรือความเป็นอยู่ที่ดีข้น


 เป็นโครงการที่มีความต่ อเนื่ อง ซึ่งต้ องมีการจั ดกิ จกรรมขึ้นภายในปีงบประมาณนั้นๆอย่างน้อย


เป็นเวลา 2 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ มีก ารดาเนิ น งานและวั ดผลการดาเนิ น งานอย่า งต่ อ เนื่ อ งและมี
ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม อย่างชัดเจน โดยสถาบันฯ จัดช่องทางให้ความรู้ แสดง
แบบอย่างหรือมีส่วนร่วมในการออกแบบและการบริหารจัดการอาคารที่เป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้ อ มแก่ ชุ มชนและสั งคม จนทาให้ ชุ มชนหรื อองค์ ก รนั้ น ๆเป็ น ที่ ยอมรั บ และ
ต้นแบบที่ดีในสังคมต่อไปได้ (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีแผนการดาเนินงานหรือกาลังดาเนินงานกิจกรรมในการมีส่วน


เผยแพร่ความรู้และการปฏิบัติ โดยจัดช่องทางให้ความรู้ แสดงแบบอย่าง หรือมีส่วน
ร่วมในการออกแบบและการบริหารจัดการอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมแก่ชุมชน
และสังคม

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีความร่วมมือกับชุมชนหรือสังคมภายนอก


69

โดดเด่น

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

 สถาบั น ฯ มีกิ จ กรรมการส่งเสริมการจั ดการอาคารที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น ที่ ยอมรับ ใน
ระดับประเทศ หรือระดับสากล

 สถาบันฯ มีกิจกรรมการส่งเสริมการจัดการอาคารที่ เป็ น มิตรต่ อสิ่ งแวดล้ อ มที่เป็นต้นแบบให้กับ


สังคม จนมีองค์กรหรือชุมชนภายนอกนาไปปฏิบต
ั ิตามจนประสบความสาเร็จได้อย่างชัดเจน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ สากลหรื อ สามารถเป็ น
ต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้เกี่ยวกับการส่งเสริมการออกแบบ ก่อสร้าง และการบริหาร
จั ด การอาคารที่ เป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง รวมถึ ง การได้ รั บ มาตรฐาน LEED หรื อ
อื่น ๆ ที่เทียบเท่า

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล
โดยสถาบันฯ จะต้องได้รบ
ั รางวัลระดับดี หรือระดับเงิน ในระดับประเทศ

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีกิจกรรมหรือแนวทางปฏิบัติที่ได้รับรางวัลในระดับประเทศ/


ระดับสากลหรือสามารถเป็นต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 70
คู่มอ

EN4
คมนาคมและขนส่ง
ที่เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม
คานิยาม

คมนาคมขนส่ ง ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม หมายถึ ง การ


ส่งเสริมการลดใช้ รถยนต์ ส่วนบุ คคล เช่ น การบริการรถสาธารณะ
การบริ ก ารจั ก รยานสาธารณะ และทางเดิ น เท้ า ที่ ส ะดวกและ
ปลอดภั ย เป็ น ต้ น นอกจากนี้ ยังส่งเสริมให้ มีก ารปรับ เปลี่ ยนมาใช้
พลั ง งานสะอาดหรื อ พลั ง งานทางเลื อ ก เช่ น รถที่ ขั บ เคลื่ อนด้ ว ย
พลังงานไฟฟ้า และการตรวจสภาพรถสาธารณะในสถาบันฯ อย่า ง
ต่อเนื่อง
71

ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืน

ส่ ง เสริ ม ก า รคมน า คมและ ขน ส่ ง ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ


สิ่งแวดล้อมเป็นหนึ่งในแนวทางการลดมลพิษอากาศ
ในสถาบันฯ ซี่งสามารถช่วยลดผลกระทบต่อสุขภาพ
ของบุคลากรและนักศึกษา รวมทั้งประชาชนที่ อาศัย
อยู่บริเวณโดยรอบ (3.9.1, 3.9.3)

ส่ ง เสริ ม ก า รคมน า คมและ ขน ส่ ง ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ


สิ่งแวดล้อมเป็นการเพิ่มความตระหนักให้เกิ ดการใช้
ทรั พ ยากรอย่ า งคุ้ ม ค่ า ที่ สุ ด การสนั บ สนุ น การใช้
เทคโนโลยีพลังงานสะอาด ซึ่งเป็นการพัฒนาระบบ
ขนส่ ง โครงสร้ า งทางกายภาพและพฤติ ก รรมที่
นาไปสู่การพัฒนาที่ย่งั ยืนได้ในสถาบันฯ (9.4.1)

ส่ ง เสริ ม ก า รคมน า คมและ ขน ส่ ง ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ


สิ่งแวดล้อม สามารถควบคุมมลพิษทางอากาศ สู่ช้ัน
บรรยากาศ และป้ อ งกั น ผลกระทบต่ อ บุ ค ลากร
นั ก ศึ ก ษาและประชาชนภายนอก อี ก ทั้ ง สามารถ
น า ไ ป สู่ ค ว า ม เ ป็ น ชุ ม ช น ห รื อ เ มื อ ง ที่ ยั่ ง ยื น ไ ด้
(11.6.2)

ส่ ง เสริ ม ก า รคมน า คมและ ขน ส่ ง ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ


สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยสนั บ สนุ น การใช้ พ ลั ง งานสะอาด
หรื อ การใช้ พ ลั ง งานให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ซึ่ ง
เป็ น แนวทางการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ข อง
องค์ก รและความรับผิดชอบต่ อสิ่งแวดล้อ ม ภายใต้
เป้ า หมายการพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น ข้ อ ที่ 12 (12.2.1,
12.2.2)

การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้คมนาคมและขนส่ง
ที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมส่งผลให้เกิ ดการปล่อยก๊ าซ
เรื อ นกระจก น้ อ ยลง อั น เป็ น ส่ ว น หนึ่ งของขอ ง
กิ จ กรรมการลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก ซึ่ ง
สถาบั น ฯ สามารถบรรลุ ด เป้ า หมายการพั ฒ นาที่
ยั่งยืนข้อที่ 13 ได้ (13.2.2)
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 72
คู่มอ

ประเภทตัวชีว
้ ัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่งั ยืน

นโยบาย

นโยบาย หรื อ ยุ ท ธศาสตร์ ร ะดั บ สถาบั น แสดงถึ ง ชุ ดแผนงาน/โครงการ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ
ส่งเสริมการคมนาคมและขนส่งที่ เป็ นมิ ตรต่ อ สิ่งแวดล้ อ ม โดยสถาบั นอุ ดมศึก ษาส่งเสริมให้ บุคลากร
และนั ก ศึก ษาใช้ ร ะบบขนส่ งสาธารณะมากขึ้ น มี ก ารบริ ก ารสิ่ ง อ านวยความสะดวก และลดการใช้
ยานพาหนะส่วนบุคคล รวมถึงส่งเสริมให้ใช้พลังงานสะอาดหรือพลังงานทดแทน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีการกาหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ส่งเสริมการใช้คมนาคมที่เป็น


มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อสนั บ สนุ น ให้ ทุ ก หน่ ว ยงานมี ก ารปฏิ บั ติ ต ามนโยบายหรื อ
ยุทธศาสตร์ที่กาหนด

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีการกาหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ที่ส่งเสริมการใช้คมนาคม


ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

แผนการดาเนินงาน

หน่วยงานระดับกอง หรือคณะ หรือศูนย์ หรือเทียบเท่า พัฒนาแผนปฏิบัติงานที่ เหมาะสมกั บ


บริ บ ทของตนเอง เกี่ ย วข้ อ งกั บ การคมนาคมและขนส่ ง ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ทั้ ง นี้ หน่ ว ยงาน
สามารถพัฒนาแนวปฏิบัติงานตามบริบทของตนเอง โดยอ้างอิงแนวปฏิบัติที่ดีแนะนาโดยองค์กรที่เป็น
ที่ยอมรับ หรือหน่ วยงานรัฐ ตั วอย่างเช่ น สานั กงานสีเขียว ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้ อม เป็ น
ต้ น อย่า งไรก็ ต าม หน่ วยงานต้ อ งแสดงให้ เห็ น ว่ า ได้ ดาเนิ น การตามแผนปฏิ บั ติ งานที่ ได้ วางไว้ อ ย่า ง
เข้มงวด

สถาบันฯ มีแนวทางการปฏิบัติที่การการใช้คมนาคมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ดังนี้

 สถาบันฯ มีการให้บริการรถขนส่งสาธารณะภายในวิทยาเขต หรือระหว่างวิทยาเขต

 สถาบันฯ มีการสนับสนุนการใช้รถจักรยานในวิทยาเขต

 สถาบันฯ มีการสนับสนุนบริการทางเดินเท้าระหว่างอาคารเรียน

 สถาบันฯ มีการสนับสนุนให้ยานพาหนะของสถาบันฯ เปลี่ยนมาใช้พลังงานทดแทน เช่น พลังงาน


ไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานจากก๊าซชีวมวล น้ามันแก๊สโซฮอล์ E85 น้ามันดีเซล B20 หรือ
ก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น
73

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมคมนาคมที่เป็นมิตรต่อ


สิ่งแวดล้อม โดยสถาบันมีการบริการรถโดยสารสาธารณะ จักรยาน ทางเดินเท้า และ
สนับสนุ นให้ยานพาหนะขององค์ก รใช้พลั งงานสะอาดหรือพลั งงานทดแทน (ต้ อ ง
ดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีแผนปฏิบัติการในการส่งเสริมการใช้คมนาคมที่เป็นมิตรต่ อ


สิ่งแวดล้อม

ระบบตรวจวัด

สถาบั น มีระบบติ ดตามและประเมิน ผลการดาเนิ นการตามนโยบายและเป้ า หมายที่ วางไว้


ด้วยระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้ ทั้งนี้สถาบันฯ สามารถคานวณด้วยวิธีการอื่นที่ เป็น
ที่ยอมรับในทางวิชาการได้

หัวข้อการ ประเภท
ตัวชีว้ ัด วิธก
ี ารคานวณ (ตัวอย่าง)
ประเมิน ตัวชีว้ ัด
การใช้พลังงาน 2 ร้อยละของยานพาหนะที่ใช้ ยานพาหนะของสถาบัน หมายรวมถึง
ทดแทนของ พลังงานทดแทนต่อจานวน รถบัส รถตู้รถสาธารณะของ
ยานพาหนะใน ยานพาหนะของสถาบันทัง้ หมด สถาบัน รถประจาตาแหน่งของ
มหาวิทยาลัย บุคลากรหรือผู้บริหารของสถาบัน
เป็นต้น
พลังงานทดแทน หมายรวมถึง พลังงาน
ไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน น้ามัน
แก๊สโซฮอล์ E85 น้ามันดีเซล B20
หรือก๊าซธรรมชาติ หรือเทียบเท่า
เป็นต้น
พื้นที่ใช้สอย 2 ร้อยละของพื้นที่ใช้สอยในการจอด ในกรณีที่ สถาบันอยูใ่ นพื้นทีช
่ นบท
สาหรับ รถต่อพื้นที่ท้งั หมด และพิสจ
ู น์ได้ว่านักศึกษาและ
จอดรถส่วน บุคลากรส่วนใหญ่ (มากกว่าร้อยละ
บุคคล 80) พักอาศัยในพื้นที่ของสถาบัน
ซึ่งไม่มค
ี วามจาเป็นในการ
จัดเตรียมพื้นที่จอดรถ สามารถ
พิจารณาไม่รายงานในตัวชี้วัดนี้ได้
การใช้รถ 2 สัดส่วนรถโดยสารสาธารณะต่อ อัตราส่วนระหว่างรถโดยสาร
โดยสาร ประชากร สาธารณะและจานวนบุคลากรและ
สาธารณะ นักศึกษา

* หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี


2 หมายถึง ตัวชี้วัดที่ต้องมีการลงทุนค่อนข้างสูงและใช้ระยะเวลาเตรียมการนาน
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 74
คู่มอ
เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติงานที่จะทาการติ ดตามและประเมินผลตามตัวชี้วัด


พื้นฐานที่กาหนดภายในระยะเวลา 4 ปี

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด

การมีส่วนร่วมกับสังคม

สถาบั น ร่ ว มมื อ กั บ ประชาชนภายนอก สนั บ สนุ น การคมนาคมและขนส่ ง ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ


สิ่งแวดล้อม หรือมีการใช้พลังงานหมุนเวียนเป็นแหล่งพลังงานให้กับยานพาหนะของสังคม ตั วอย่าง
กิจกรรม ได้แก่

 ศูนย์บริหารจัดการชีวมวลครบวงจรในพื้นที่ชุมชน ที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ด้านคมนาคม

ทั้งนี้ สถาบันควรพิจารณาขยายผลกระทบหรือสังคมในวงกว้างขึ้นอย่างต่อเนื่อง

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีส่วนร่วมกับองค์กรภายนอกหรือสังคมแบบหุ้นส่วน กล่าวคือ มีการร่วมกับพัฒนาโครงการ และ


ดาเนินโครงการร่วมกัน

 เกิดประโยชน์กับสังคมทั้งทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม หรือความเป็นอยู่ที่ดีข้น


 เป็นโครงการที่มีความต่ อเนื่ อง ซึ่งต้ องมีการจั ดกิ จกรรมขึ้นภายในปีงบประมาณนั้นๆอย่างน้อย


เป็นเวลา 2 ปี
75

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ มีก ารดาเนิ น งานและวั ดผลการดาเนิ น งานอย่า งต่ อ เนื่ อ งและมี
ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม อย่างชัดเจน โดยสถาบันฯ จัดช่องทางให้ความรู้ แสดง
แบบอย่างหรือมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการใช้คมนาคมที่ เป็นมิตรต่ อสิ่งแวดล้อมแก่
ชุ มชนและสังคม จนท าให้ ชุ มชนหรื อ องค์ ก รนั้ น ๆเป็ น ที่ ย อมรั บ และต้ น แบบที่ ดีใ น
สังคมต่อไปได้ (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีแผนการดาเนินงานหรือกาลังดาเนินงานกิจกรรมในการมีส่วน


เผยแพร่ความรู้และการปฏิบัติ โดยจัดช่องทางให้ความรู้ แสดงแบบอย่าง หรือมีส่วน
ร่วมในการส่งเสริมคมนาคมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมแก่ชุมชนและสังคม

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีความร่วมมือกับชุมชนหรือสังคมภายนอก

โดดเด่น

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

 สถาบั น ฯ มี กิ จ กรรมการส่งเสริมการใช้ ค มนาคมที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ เป็ น ที่ ยอมรับ ใน
ระดับประเทศ หรือระดับสากล

 สถาบันฯ มีกิจกรรมการส่งเสริมการใช้คมนาคมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมที่เป็นต้นแบบให้กับสังคม
จนมีองค์กรหรือชุมชนภายนอกนาไปปฏิบต
ั ิตามจนประสบความสาเร็จได้อย่างชัดเจน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ สากลหรื อ สามารถเป็ น
ต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้เกี่ยวกับการส่งเสริมการออกแบบ ก่อสร้าง และการบริหาร
จัดการอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ลที่ เ ป็ น ที่ ยอมรับ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบันฯ จะต้องได้รบ
ั รางวัลระดับดี หรือระดับเงิน ในระดับประเทศ

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีกิจกรรมหรือแนวทางปฏิบัติที่ได้รับรางวัลในระดับประเทศ/


ระดับสากลหรือสามารถเป็นต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 76
คู่มอ

EN5
การอนุรก
ั ษ์พลังงาน
คานิยาม

การอนุ รัก ษ์ พลั งงาน หมายถึง การผลิต และการใช้พลังงาน


อย่างมีประสิทธิภาพ การอนุรักษ์พลังงานนอกจากจะช่วยลดปริมาณ
ใช้ พลั ง งาน ซึ่ งเป็ น การประหยัดค่ า ใช้ จ่ า ยของสถาบั น ฯ แล้ วยังจะ
ช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากแหล่งที่ใช้ผลิตพลังงานด้วย

ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืน

การส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พลั ง งานของสถาบั น ฯ


สามารถลดการใช้ พลั งงานในอาคารและสนับ สนุ น
การใช้ พ ลั ง งานสะอา ดหรื อ พลั งงา นทดแทน ที่
สามารถบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนข้อที่ 7 ได้
(7.1.1, 7.1.2, 7.2.1, 7.3.1, 7.b.1)

การส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พลั ง งานของสถาบั น ฯ


สามารถทาให้สถาบันฯ บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่
ยั่ ง ยื น ข้ อ ที่ 12 ได้ โดยการใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ
อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน
(12.2.1, 12.2.2, 12.a.1)

การส่งเสริมการอนุรัก ษ์ พลั งงานของสถาบั นฯ โดย


การใช้ พลั งงานทางเลื อ กเช่ น พลั งงานแสงอาทิ ต ย์
พลั ง งานลม หรื อ พลั ง งานอื่ นๆที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ
สิ่งแวดล้ อมได้ น้อย ซึ่งเป็ นหนึ่งในแนวทางการต้ า น
ภาวะโลกร้อน (13.2.2)
77

ประเภทตัวชีว
้ ัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่งั ยืน

นโยบาย

นโยบาย หรือ ยุท ธศาสตร์ระดับ สถาบัน แสดงถึงชุ ดแผนงาน/โครงการ ที่ เกี่ ยวข้องกั บการ
อนุรักษ์ พลังงาน โดยสถาบันอุ ดมศึกษาส่งเสริมให้บุคลากรและนักศึกษามีความตระหนักในการใช้
พลั งงาน ส่งเสริมให้ ใช้พลั งงานสะอาดหรื อพลั งงานทดแทน เช่ น การติ ดตั้ งเซลล์ แสงอาทิ ต ย์ หรื อ
พลังงานชีวภาพ หรือมีมาตรการในการปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดพลังงานในสถาบันฯ ที่สามารถ
ช่วยลดปริมาณการใช้พลังงานและลดการปล่อยมลพิษสู่บรรยากาศ

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีการกาหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน


เพื่อสนับสนุนให้ทุกหน่วยงานมีการปฏิบัติตามนโยบายหรือยุทธศาสตร์ที่กาหนด

0 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ไม่มีก ารก าหนดนโยบายหรือ ยุ ท ธศาสตร์ที่ ส่งเสริมการอนุ รัก ษ์


พลังงาน

แผนการดาเนินงาน

หน่วยงานระดับกอง หรือคณะ หรือศูนย์ หรือเทียบเท่า พัฒนาแผนปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับ


บริบทของตนเอง เกี่ ยวข้องกั บการอนุรักษ์พลังงาน ทั้ งนี้ หน่ วยงานสามารถพั ฒนาแนวปฏิ บัติ งาน
ตามบริบทของตนเอง โดยอ้างอิ งแนวปฏิบัติที่ดีแนะนาโดยองค์กรที่เป็นที่ยอมรับ หรือหน่วยงานรัฐ
ตัวอย่างเช่น

 ISO50001 หรือ มอก.50001 มาตรฐานสากลของระบบการจั ดการพลังงานคู่มือ การประหยัด


พลังงานเพื่อประชาชน ของกระทรวงพลังงาน

 คู่ มื อ ชุ ด ความรู้ ก ารอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานส าหรั บ ส านั ก งาน ของกรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและ
อนุรักษ์พลังงาน

 คู่มือแนวทางการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ
อนุรักษ์พลังงาน

 สานักงานสีเขียว ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

สถาบันฯ มีแนวทางการปฏิบัติที่การการใช้คมนาคมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ดังนี้

 สถาบันฯ มีการปรับเปลี่ยนมาใช้พลังงานสะอาดหรือพลังงานทดแทน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์


พลังงานไฟฟ้า พลังงานจากก๊าซชีวมวล เป็นต้น

 สถาบันฯ มีการสนับสนุนกิจกรรมหรือบุคลากรของบุคลากรและนักศึกษาให้มีความตระหนักต่อ
การอนุรักษ์พลังงาน
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 78
คู่มอ
เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์พลังงาน โดยสถาบันมี


การส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมหรื อ พฤติ ก รรมของบุ ค ลากรและนั ก ศึ ก ษาในการอนุ รั ก ษ์
พลังงาน และสนับสนุนให้สถาบันฯ ปรับเปลี่ยนมาใช้พลังงานสะอาดหรือพลังงาน
ทดแทน (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีแผนปฏิบัติการในการส่งเสริมการการอนุรักษ์พลังงาน

ระบบตรวจวัด

สถาบั น มีระบบติ ดตามและประเมิน ผลการดาเนิ นการตามนโยบายและเป้ า หมายที่ วางไว้


ด้วยระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้ ทั้งนี้สถาบันฯ สามารถคานวณด้วยวิธีการอื่ นที่เป็น
ที่ยอมรับในทางวิชาการได้

หัวข้อการ ประเภท ตัวชีว้ ัด วิธก


ี ารคานวณ (ตัวอย่าง)
ประเมิน ตัวชีว้ ัด

พลังงาน 1 ปริมาณการใช้ ปริมาณการใช้ไฟฟ้าอ้างอิงจากเอกสารออกโดยหน่วยผู้


ไฟฟ้า พลังงาน ให้บริการ เช่น ใบชาระค่าไฟฟ้า ของการไฟฟ้านคร
(kWh และ หลวง หรือการไฟฟ้าส่วนภูมภ
ิ าค เป็นต้น ทั้งนี้ ใน
kW/คน) กรณีที่สถาบันมีการผลิตไฟฟ้า หรือใช้พลังงาน
หมุนเวียน ให้สถาบันดาเนินการติดตั้งเครื่องวัดการ
ใช้ไฟฟ้า และนาผลมาร่วมคานวณ
คน คานวณด้วยสมการดังนี้
จานวนคน = (A+B+C) + 0.75[(D-A)+(E-B)-F]
A คือ จานวนนักศึกษาทีอ
่ าศัยอยูใ่ นพื้นทีข
่ องสถาบัน
B คือ จานวนบุคลากรทีอ
่ าศัยอยูใ่ นพื้นทีข
่ องสถาบัน
C คือ จานวนบุคคลอื่นทีอ
่ าศัยอยูใ่ นพื้นทีข
่ องสถาบัน
D คือ จานวนนักศึกษาเต็มเวลาทั้งหมด คานวณโดย
อัตราส่วนระหว่างผลรวมจานวนหน่วยกิตที่
ลงทะเบียนของนักศึกษาทั้งหมดและหน่วยกิต
ทีน
่ ก
ั ศึกษาเต็มเวลาลงทะเบียนในแต่ละปี
E คือ จานวนบุคลากรประจาทั้งหมด คานวนโดย
อัตราส่วนระหว่างผลรวมจานวนชั่วโมงของ
บุคลากรทั้งหมดและชั่วโมงที่บค
ุ ลากรประจา
ทาในแต่ละปี
F คือ จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนทางไกล
คานวณโดยอัตราส่วนระหว่างผลรวมจานวน
หน่วยกิตทีล
่ งทะเบียนของนักศึกษาที่
ลงทะเบียนเรียนทางไกล ทั้งหมดและหน่วยกิต
ทีน
่ ก
ั ศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนทางไกล
ลงทะเบียนแบบเต็มจานวนในแต่ละปี
79

หัวข้อการ ประเภท ตัวชีว้ ัด วิธก


ี ารคานวณ (ตัวอย่าง)
ประเมิน ตัวชีว้ ัด

พลังงาน 2 การผลิต อัตราส่วนระหว่างปริมาณการใช้ไฟฟ้าทั้งหมดและ


ไฟฟ้า ไฟฟ้าจาก ปริมาณไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่ได้จาก
พลังงาน ไม้ ฟืน แกลบ กาก อ้อย ชีวมวล น้า แสงอาทิตย์ ลม
หมุนเวียน คลื่น ขยะ และความร้อนใต้พิภพ เป็นต้น โดยไม่
(ร้อยละการ รวมถึงพลังงานนิวเคลียร์

พลังงานความ 1 ปริมาณการใช้ อัตราส่วนระหว่างปริมาณการใช้พลังงานความร้อน


ร้อนอื่น ๆ พลังงานความ ทั้งหมด และปริมาณความร้อนจากพลังงานทดแทน
นอกเหนือจาก ร้อน
ไฟฟ้า เช่น (Joule หรือ
การใช้นา้ มัน BTU)
เป็นต้น 2 การผลิต อัตราส่วนระหว่างปริมาณการใช้พลังงานความร้อน
(รายงานใน พลังงานความ ทั้งหมดและ ปริมาณความร้อนที่ได้จากพลังงาน
กรณีที่ ร้อนจาก หมุนเวียนที่ได้จากไม้ ฟืน แกลบ กาก อ้อย ชีวมวล
มหาวิทยาลัยมี พลังงาน น้า แสงอาทิตย์ ลม คลื่น ขยะ และความร้อนใต้
การใช้ หมุนเวียน พิภพ เป็นต้น โดยไม่รวมถึงพลังงานนิวเคลียร์
เท่านัน
้ ) (ร้อยละการ
ผลิต)

*หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี


2 หมายถึง ตัวชี้วัดที่ต้องมีการลงทุนค่อนข้างสูงและใช้ระยะเวลาเตรียมการนาน

เกณฑ์การให้คะแนน (1)

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน


และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.75 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการกาหนดเป้าหมายในแต่ ละตั วชี้วัด และมีการรายงานตั วชี้วัด


พื้นฐานพร้อมทั้งเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.25 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการตรวจวัดข้อมูลเท่านั้น

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด

เกณฑ์การให้คะแนน (2)

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติงานที่จะทาการติ ดตามและประเมินผลตามตัวชี้วัด


พื้นฐานที่กาหนดภายในระยะเวลา 4 ปี

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด


ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 80
คู่มอ

มีส่วนร่วมกับชุมชน

สถาบันร่วมมือกับประชาชนภายนอกสนับสนุนหรือพัฒนาโครงการการอนุรักษ์พลังงานใน
พื้นที่ของสถาบันหรือชุมชน ตัวอย่างกิจกรรม ได้แก่

 ศูนย์บริหารจัดการชีวมวลครบวงจรในพื้นทีช
่ ม
ุ ชน เพื่อนาพลังงานทีไ่ ด้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชุมชน

 โครงการติดตัง้ ระบบประหยัดพลังงานไฟฟ้าภายในอาคารในชุมชน

 โครงการติดตัง้ พลังงานทดแทน เช่นพลังงานแสงอาทิตย์ ในพื้นทีข


่ องชุมชน

ทั้งนี้ สถาบันควรพิจารณาขยายผลกระทบหรือสังคมในวงกว้างขึ้นอย่างต่อเนื่อง

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีส่วนร่วมกับองค์กรภายนอกหรือสังคมแบบหุ้นส่วน กล่าวคือ มีการร่วมกับพัฒนาโครงการ และ


ดาเนินโครงการร่วมกัน

 เกิดประโยชน์กับสังคมทั้งทางเศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม หรือความเป็นอยู่ที่ดีข้น


 เป็นโครงการที่มีความต่ อเนื่ อง ซึ่งต้ องมีการจั ดกิ จกรรมขึ้นภายในปีงบประมาณนั้นๆอย่างน้อย


เป็นเวลา 2 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั นฯ มีก ารดาเนิ นงานและวัดผลการดาเนิ นงานอย่า งต่ อเนื่อ งและมี
ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม อย่างชัดเจน โดยสถาบันฯ จัดช่องทางให้ความรู้ แสดง
แบบอย่างหรือมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานแก่ชุมชนและสังคม จน
ทาให้ ชุ มชนหรื อ องค์ ก รนั้ น ๆเป็ น ที่ ยอมรั บ และต้ น แบบที่ ดีใ นสั งคมต่ อ ไปได้ (ต้ อ ง
ดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบัน มีแผนการดาเนิ น งานหรือก าลังดาเนิน งานกิ จ กรรมในการมีส่วน


เผยแพร่ ความรู้ แ ละการปฏิ บั ติ โดยจั ด ช่ อ งทางให้ ความรู้ แสดงแบบอย่า ง หรือ มี
ส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงานแก่ชุมชนและสังคม

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีความร่วมมือกับชุมชนหรือสังคมภายนอก


81

โดดเด่น

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

 สถาบันฯ มีกิจกรรมการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ หรือระดับสากล

 สถาบันฯ มีกิจกรรมการส่งเสริมการอนุรก
ั ษ์พลังงานที่เป็นต้นแบบให้กับสังคม จนมีองค์กรหรือชุมชน
ภายนอกนาไปปฏิบต
ั ิตามจนประสบความสาเร็จได้อย่างชัดเจน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบั น ฯ จะต้ อ งได้ รั บ รางวั ล ระดั บ ดี เ ยี่ ย ม เหรี ย ญทอง หรื อ รางวั ล ชนะเลิ ศ ใน
ระดับประเทศ

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบันฯ จะต้องได้รับรางวัลระดับดี หรือระดับเงิน ในระดับประเทศ หรือสามารถเป็ น
ต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีกิจกรรมหรือแนวทางปฏิบัติที่ได้รับรางวัลในระดับประเทศ/


ระดับสากลหรือโครงการสามารถเป็นต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 82
คู่มอ

EN6
การจัดการน้าเพื่อการอุปโภคบริโภค
คานิยาม

น้าใช้ หมายถึง น้าซึ่งได้จากแหล่งน้าต่างๆ ได้แก่ บ่อขนาดเล็ก


บ่อบาดาล สระขุด หนองน้า คู คลองธรรมชาติ อ่ างเก็ บน้าธรรมชาติ
ฝายอ่ า งเก็ บ น้ า ขนาดเล็ ก และระบบประปา ทั้ ง นี้ คุ ณ ภาพของน้ า
จะต้องเป็นน้าใสพอประมาณ ไม่กระด้างเกินไป และไม่เค็มเกินไปตาม
มาตรฐานของหน่วยงานรัฐ

น้าดื่ม หมายถึง น้าซึ่งจากได้จาก 2 แหล่งใหญ่ๆ คือ

• น้าจากแหล่งน้าต่ างๆ ได้ แก่ น้าฝนจากภาชนะเก็ บ กั กน้า จากน้า


ซับ น้ากรอง น้าจากบ่อน้าดื่มที่ถูกสุขอนามัย

• น้าจากระบบประปาในชนบท โดยการนาน้าจากใต้ดิน หรือแหล่ง


ผลิ ต น้ า ผิ ว ดิ น มาผลิ ต ให้ เ ป็ น น้ า สะอาด ตามหลั ก วิ ช าการ และ
วิธีการอันเหมาะสม เพื่อใช้ในการบริโภค และอุปโภค โดยการจ่าย
ไปตามท่อ ผ่านมาตรวัดน้า บริการให้ประชาชนในหมู่บ้าน
83

ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืน

การให้บริการน้าอุปโภค บริโภคที่สะอาด ที่ผ่านการ


ปรับ ปรุ งคุณ ภาพน้า ตามหลั ก วิ ช าการที่ เหมาะสม
ไม่มีสารเคมีเจือปน หรือจุลินทรีย์ สามารถลดความ
เสี่ ย งการเกิ ด ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพของบุ ค ลากร
และนักศึกษาในสถาบันฯ ได้ (3.9.2, 3.9.3)

การส่ ง เสริ ม การบริ ก า รและจั ดหาน้ า เพื่ อกา ร


อุปโภคและบริโภค เป็นการส่งเสริมเสริมให้เกิดการ
จั ดการแหล่งน้าได้อย่างยืนและถูกสุขอนามัย โดย
ทุ ก คนสามารถเข้า ถึ งแหล่ งสะอาดเหล่ า นี้ ได้ ไม่ว่ า
จะเป็นน้าดื่มหรือน้าใช้ (6.1.1, 6.2.1, 6.4.1, 6.4.2,
6.5.1)

สถาบั น ฯ สามารถส่ ง เสริ ม การใช้ น้ า ฝนหรื อ น้ า ที่


บาบัดแล้วมาใช้ใหม่ในองค์กร เพื่อสนับสนุนการลด
ใช้ ท รั พ ยากรน้ า ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ที่ จ ะส่ ง เสริ ม ให้
เป็ น สถาบั น ฯ ยั่ ง ยื น ตามเป้ า หมายการพั ฒ นาที่
ยั่งยืนข้อที่ 12 (12.2.1, 12.2.2, 12.5.1)
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 84
คู่มอ

ประเภทตัวชีว
้ ัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่งั ยืน

นโยบาย

นโยบาย หรือ ยุท ธศาสตร์ระดับ สถาบัน แสดงถึงชุ ดแผนงาน/โครงการ ที่ เกี่ ยวข้องกั บการ
จัดการน้าเพื่อการอุปโภคบริโภค โดยสถาบันอุดมศึกษามีการบริการจัดหาน้าดื่มและน้าใช้ที่สะอาด
เช่น มีระบบปรับปรุงคุณภาพเอง นาน้าฝนหรือน้าที่ใช้แล้วมาบาบัดแล้วใช้ใหม่ รวมไปถึงการบริการ
จัดหาน้าดื่มตามจุดต่างๆ ของสถาบันฯ และเพียงพอต่อจานวนของบุคลากรและนักศึกษา

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีการกาหนดนโยบาย และยุทธศาสตร์ส่งเสริมการจั ดการน้าเพื่อการ


อุ ป โภคบริ โ ภค เพื่ อสนั บ สนุ น ให้ ทุ ก หน่ ว ยงานมี ก ารปฏิ บั ติ ต ามนโยบายหรื อ
ยุทธศาสตร์ที่กาหนด

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีการกาหนดนโยบาย และยุทธศาสตร์ที่ส่งเสริมการจั ดการน้าเพื่อ


การอุปโภคบริโภค

แผนการดาเนินการ

สถาบันฯ พัฒนาแผนปฏิบัติงานที่ เหมาะสมกับบริบทของตนเอง เกี่ยวข้องกับการจัดการน้า


เพื่อการอุปโภคและบริโภค ทั้งนี้ หน่วยงานสามารถพัฒนาแนวปฏิบัติงานตามบริบทของตนเอง โดย
อ้างอิงแนวปฏิบัติที่ดีแนะนาโดยองค์ กรที่ เป็น ที่ ยอมรับ หรือหน่วยงานรัฐ อย่างไรก็ ตาม หน่วยงาน
ต้องแสดงให้เห็นว่าได้ดาเนินการตามแผนปฏิบัติงานที่ได้วางไว้อย่างเข้มงวด

สถาบันฯ มีแนวทางการปฏิบัติการจัดการน้าเพื่อการอุปโภคบริโภค ดังนี้

 สถาบันฯ มีการปรับเปลี่ยนสุขภัณฑ์ที่ประหยัดพลังงาน

 สถาบันฯ มีกิจกรรมสร้างความตระหนักในการประหยัดน้าให้กับบุคลากรและนักศึกษา

 สถาบันฯ มีการบริการน้าดื่มให้กับบุคลากรและนักศึกษาได้เข้าถึงการบริโภคน้าสะอาดได้อย่าง
ทั่วถึง

 สถาบันฯ มีแนวทางพัฒนาแหล่งน้าอุปโภคที่สะอาด

 สถาบันฯ มีแนวทางนาน้าอุปโภคที่ใช้แล้ว ผ่านกระบวนการบาบัดที่เหมาะสม เพื่อนากลับมาให้


ใหม่
85

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับการจัดการน้าเพื่อการอุปโภคบริโภค


โดยสถาบัน มีการส่งเสริมกิ จ กรรมหรือพฤติ กรรมของบุ คลากรและนัก ศึกษาในการ
จัดการน้าเพื่อการอุปโภคบริโภค (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีแผนปฏิบัติการในการส่งเสริมการจั ดการน้าเพื่อการอุปโภค


บริโภค

ระบบตรวจวัด

สถาบั น มีระบบติ ดตามและประเมิน ผลการดาเนิ นการตามนโยบายและเป้ า หมายที่ วางไว้


ด้วยระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้ ทั้งนี้สถาบันฯ สามารถคานวณด้วยวิธีการอื่นที่ เป็น
ที่ยอมรับในทางวิชาการได้

หัวข้อการ ประเภท
ตัวชีว้ ัด วิธก
ี ารคานวณ (ตัวอย่าง)
ประเมิน ตัวชีว้ ัด
น้าอุปโภค 1 ปริมาณน้า ปริมาณน้าใช้เพื่อการอุปโภคทั้งหมดในแต่ละประเภทของแหล่ง
อุปโภค น้า ได้แก่ น้าผิวดิน น้าใต้ดิน น้าทะเล น้าที่ผลิตเอง น้าจาก
(ลูกบาศก์ แหล่งภายนอก และน้าฝน
เมตร/คน) ในกรณีภัยแล้ง (อ้างอิงการประกาศของ
หน่วยงานรัฐ) สถาบันระบุมาตรการและ
ปริมาณน้าอุปโภคที่ใช้เมื่อเทียบกับการใช้ปกติในช่วงเดียวกัน
ของปีที่ผ่านมา
ปริมาตรน้า ประเมินจากเครื่องมือวัดอัตราการไหล
คน คานวณด้วยสมการดังนี้
จานวนคน = (A+B+C) + 0.75[(D-A)+(E-B)-F]
A คือ จานวนนักศึกษาทีอ
่ าศัยอยูใ่ นพื้นทีข
่ องสถาบัน
B คือ จานวนบุคลากรทีอ
่ าศัยอยูใ่ นพื้นทีข
่ องสถาบัน
C คือ จานวนบุคคลอื่นทีอ
่ าศัยอยูใ่ นพื้นทีข
่ องสถาบัน
D คือ จานวนนักศึกษาเต็มเวลาทั้งหมด คานวณโดยอัตราส่วน
ระหว่างผลรวมจานวนหน่วยกิตทีล
่ งทะเบียนของ
นักศึกษาทั้งหมดและหน่วยกิตทีน
่ ก
ั ศึกษาเต็มเวลา
ลงทะเบียนในแต่ละปี
E คือ จานวนบุคลากรประจาทั้งหมด คานวนโดยอัตราส่วน
ระหว่างผลรวมจานวนชั่วโมงของบุคลากรทั้งหมดและ
ชั่วโมงทีบ
่ ค
ุ ลากรประจาทาในแต่ละปี
F คือ จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนทางไกล คานวณโดย
อัตราส่วนระหว่างผลรวมจานวนหน่วยกิตทีล
่ งทะเบียน
ของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนทางไกล ทั้งหมดและ
หน่วยกิตทีน
่ ก
ั ศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนทางไกล
ลงทะเบียนแบบเต็มจานวนในแต่ละปี
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 86
คู่มอ
หัวข้อการ ประเภท
ตัวชีว้ ัด วิธก
ี ารคานวณ (ตัวอย่าง)
ประเมิน ตัวชีว้ ัด
น้าอุปโภค 2 ปริมาณน้า ปริมาณน้าอุปโภคที่ใช้แล้ว และผ่านกระบวนการปรับปรุ ง
บาบัดที่ถก
ู คุณภาพน้าเสียเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ ซึ่งคุณภาพที่ได้ต้อง
นากลับมาใช้ เป็นไปตามมาตรฐาน โดยระบุกิจกรรมที่นาน้าดังกล่าวมาใช้
(ลูกบาศก์ ปริมาตรน้า ประเมินจากเครื่องมือวัดอัตราการไหล
เมตร/ปี) มีข้อมูลการรายงานและเผยแพร่ (1)
มีแผนการปฏิบต
ั ิภายในระยะเวลา 4 ปี (0.5)
ไม่มก
ี ารดาเนินงาน (0)
น้าบริโภค 1 สัดส่วนจุด
บริการน้าดื่ม
ต่ออาคาร
(น้าดื่มที่
เป็นไปตาม
มาตรฐานน้า
ดื่ม)

*หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี


2 หมายถึง ตัวชี้วัดที่ต้องมีการลงทุนค่อนข้างสูงและใช้ระยะเวลาเตรียมการนาน

เกณฑ์การให้คะแนน (1)

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน


และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.75 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการกาหนดเป้าหมายในแต่ ละตั วชี้วัด และมีการรายงานตั วชี้วัด


พื้นฐานพร้อมทั้งเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.25 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการตรวจวัดข้อมูลเท่านั้น

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด

เกณฑ์การให้คะแนน (2)

1 คะแนน หมายถึ ง 1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มี ก ารรายงานตั ว ชี้ วั ด พื้ น ฐาน และเผยแพร่
ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติงานที่จะทาการติดตามและประเมินผลตามตั วชี้วัด


พื้นฐานที่กาหนดภายในระยะเวลา 4 ปี

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด


87

การมีส่วนร่วมกับสังคม

สถาบันร่วมมือกับประชาชนภายนอก แก้ไขปัญหาเกี่ยวข้องกับการจัดการจัดการน้าเพื่อการ
อุปโภค ในพื้นที่ของสถาบันหรือชุมชน ตัวอย่างกิจกรรม ได้แก่

 การศึกษาการบริหารจัดการทรัพยากรน้าในชุมชน กรณีศึกษาฝายหลวงพึ่งตนเอง

 โครงการพัฒนาระบบกระจายน้าในพื้นที่การเกษตรด้วยระบบท่อ

ทั้งนี้ สถาบันควรพิจารณาขยายผลกระทบหรือสังคมในวงกว้างขึ้นอย่างต่อเนื่อง

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีส่วนร่วมกั บองค์กรภายนอกหรือสังคมแบบหุ้นส่วน กล่าวคือ มีการร่วมกับพัฒนาโครงการ และ


ดาเนินโครงการร่วมกัน

 เกิดประโยชน์กับสังคมทั้งทางเศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม หรือความเป็นอยู่ที่ดีข้น


 เป็นโครงการที่มีความต่อเนื่อง ซึ่งต้องมีการจัดกิจกรรมขึ้นภายในปีงบประมาณนั้นๆอย่างน้อยเป็น
เวลา 2 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ มี ก ารด าเนิ น งานและวั ด ผลการด าเนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ องและมี
ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม อย่างชัดเจน โดยสถาบัน ฯ จั ดช่องทางให้ความรู้ แสดง
แบบอย่างหรือมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการจัดการน้าเพื่อการอุปโภคบริโภคแก่ชุมชน
และสังคม จนทาให้ชุมชนหรือองค์กรนั้นๆ เป็นที่ยอมรับและต้ นแบบที่ ดีในสังคมต่ อไป
ได้ (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น มี แ ผนการด าเนิ น งานหรื อ ก าลั ง ด าเนิ น งานกิ จ กรรมในการมี ส่ ว น
เผยแพร่ความรู้และการปฏิบัติ โดยจั ดช่องทางให้ความรู้ แสดงแบบอย่าง หรือมีส่วน
ร่วมในการจัดการน้าเพื่อการอุปโภคบริโภคแก่ชุมชนและสังคม

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีความร่วมมือกับชุมชนหรือสังคมภายนอก


ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 88
คู่มอ

โดดเด่น

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

 สถาบั น ฯ มี กิ จ กรรมการส่ ง เสริ ม การจั ด การน้ า เพื่ อการอุ ปโภคบริ โ ภคที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ใน
ระดับประเทศ หรือระดับสากล

 สถาบันฯ มีกิจกรรมการส่งเสริมการจัดการน้าเพื่อการอุปโภคบริโภคที่เป็นต้นแบบให้กับสังคม จนมี


องค์กรหรือชุมชนภายนอกนาไปปฏิบต
ั ิตามจนประสบความสาเร็จได้อย่างชัดเจน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบั น ฯ จะต้ อ งได้ รั บ รางวั ล ระดั บ ดี เ ยี่ ย ม เหรี ย ญทอง หรื อ รางวั ล ชนะเลิ ศ ใน
ระดับประเทศ

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบันฯ จะต้องได้รับรางวัลระดับดี หรือระดับเงิน ในระดับประเทศ หรือสามารถเป็น
ต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีกิจกรรมหรือ แนวทางปฏิบัติที่ได้ รับรางวัลในระดับ ประเทศ/


ระดับสากลหรือโครงการสามารถเป็นต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้
89

EN7
การอนุรักษ์ระบบนิเวศ
คานิยาม

ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ห ม า ย ถึ ง ก า ร พิ จ า ร ณ า ใ ห้
ความส าคั ญ ถึ ง ความสมดุ ล ระหว่ า งมนุ ษ ย์ และสิ่งมีชีวิตอื่ น ๆ ที่
สามารถผสมผสานอยูร่ ่วมกันได้ โดยลดผลกระทบต่อสิง่ มีชีวิตอื่นให้
น้อยที่สด
ุ โดยเฉพาะอย่างยิง่ สิ่งมีชีวิต อั นได้แก่ สัตว์และพืชประจา
ถิ่นนั้น ๆ

ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืน

การอนุ รั กษ์ ระบ บนิ เ วศใต้ น้ าทั้ งพื ช และสั ต ว์


ส่ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การขยายพั น ธุ์ ใ ห้ เ กิ ด ความสมดุ ล
ทางธรรมชาติ แ ละอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ์ สั ต ว์ น้ า ท้ อ งถิ่ น
(14.1.1, 14.2.1, 14.4.1)

การอนุรักษ์ ระบบนิเวศบนบก ส่งเสริมให้เกิ ดการ


ขยายพั น ธุ์ ใ ห้ เ กิ ด ความสมดุ ล ทางธรรมชาติ แ ละ
อนุ รั ก ษ์ พั น ธุ์ พื ช และสั ต ว์ บ กท้ อ งถิ่ น (15.1.1,
15.1.2, 15.2.1, 15.5.1)
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 90
คู่มอ

ประเภทตัวชีว
้ ัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่งั ยืน

นโยบาย

นโยบาย และยุท ธศาสตร์ระดั บสถาบั น แสดงถึงชุ ดแผนงาน/โครงการ ที่ เกี่ ยวข้องกั บการ
อนุรักษ์ระบบนิเวศ โดยสถาบันฯ มีการส่งเสริมการอนุรักษ์พืชพรรณหรือสัตว์ เช่นมีการสร้างพื้นที่สี
เขียวหรือสวนพฤกษศาสตร์ที่สามารถเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์และเป็นแหล่งเรียนรู้ของ
ชุมชน หรือมีการจัดการพื้นที่ชุ่มน้า (หากมี) ในสถาบันฯ ให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์เพื่อ
สร้างสมดุลของระบบนิเวศ

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีการกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ส่งเสริมการอนุรักษ์ ระบบ


นิ เ วศ เพื่ อสนั บ สนุ น ให้ ทุ ก หน่ ว ยงานมี ก ารปฏิ บั ติ ต ามนโยบายหรื อ ยุ ท ธศาสตร์ ที่
กาหนด

0 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ไม่มีก ารก าหนดนโยบายและยุ ท ธศาสตร์ที่ ส่งเสริมการอนุ รัก ษ์


ระบบนิเวศ

แผนการดาเนินการ

หน่วยงานระดับกอง หรือคณะ หรือศูนย์ หรือเทียบเท่า พัฒนาแผนปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับ


บริบทของตนเอง เช่น

 สอดคล้อ งต่ อสถานการณ์หรือตอบสนองปัญหาด้านการจั ดการทรัพยากรธรรมชาติ แ ละความ


หลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ หรือการให้ความรู้เกี่ ยวกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ หรือ
ความหลากหลายทางชี ว ภาพ เพื่ อ ให้ ท รัพ ยากรธรรมชาติ แ ละความหลากหลายทางชี ว ภาพ
ได้รับการดูแลรักษาให้คงไว้ซ่ึงระบบนิเวศที่ดี

 มี ผู้ รั บ ผิ ด ชอบ (เช่ น หน่ ว ยงาน หรื อ คณะกรรมการ) และมี ง บประมาณหรื อ กองทุ น ในการ
ดาเนิ น งานในการรวบรวม ทวนสอบ ติ ดตามผลการดาเนิ น การ ส่งเสริมการสงวนรักษา ฟื้นฟู
และส่งเสริมระบบนิเวศ การอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและสัตว์ การสารวจพืชสมุนไพรในพื้นที่ จั ด
สภาพแวดล้อมในเมืองให้ประชากรสามารถเข้าถึงธรรมชาติ ส่งเสริมการเรียนรู้ระบบนิเวศ เป็น
แหล่งศึกษาเรียนรู้และท่องเที่ยวทางธรรมชาติ

สถาบันฯ มีแนวทางการปฏิบัติการจัดการน้าเพื่อการอุปโภคบริโภค ดังนี้

 สถาบันฯ มีการสนับสนุนให้เกิดการปรับเปลี่ยนหรือคงสภาพพื้นที่ในสถาบันให้เป็นพื้นที่สีเขียว
เพื่อสร้างระบบนิเวศให้กับพืชและสัตว์ และเป็นสถานที่การเรียนรู ้ให้กับบุคคลทั้งภายในและ
ภายนอกสถาบันฯ

 สถาบันฯ มีกิจกรรมสารวจประชากรพืชและสัตว์ภายในวิทยาเขต

 สถาบันฯ มีกิจกรรมอนุรักษ์พืชและสัตว์ท้องถิ่นภายในวิทยาเขต
91

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ระบบนิเวศ โดยสถาบัน


มีการส่งเสริมกิ จกรรมหรือมีการจั ดการพื้นที่ ในสถาบันฯ ที่เกี่ ยวข้องกับการอนุรักษ์
ระบบนิเวศ (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีแผนปฏิบัติการในการส่งเสริมการการอนุรักษ์ระบบนิเวศ

ระบบตรวจวัด

สถาบั น มีระบบติ ดตามและประเมิน ผลการดาเนิ นการตามนโยบายและเป้ า หมายที่ วางไว้


ด้วยระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้ ทั้งนี้สถาบันฯ สามารถคานวณด้วยวิธีการอื่นที่เป็น
ที่ยอมรับในทางวิชาการได้

หัวข้อการ ประเภท
ตัวชีว้ ัด วิธก
ี ารคานวณ (ตัวอย่าง)
ประเมิน ตัวชีว้ ัด
พื้นทีส
่ เี ขียว อัตราส่วนพื้นที่ปกคลุมด้วย ขนาดพื้นที่สเี ขียวที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ยืน
ส่งเสริมระบบ 2 ต้นไม้ยน
ื ต้น (ร้อยละ) ต้น / พื้นที่ดินทั้งหมด x 100
นิเวศ

ระบบนิเวศพื้นถิน
่ ร้อยละของภูมท
ิ ัศน์พ้ น
ื ถิน
่ พื้นที่ภูมท
ิ ัศน์ที่ประกอบด้วยพืชพรรณพื้น

2 ถิ่นในมหาวิทยาลัย / พื้นที่ภม
ู ท
ิ ัศน์ท้งั หมด
x 100

การดูแลจัดการ ปริมาณสารเคมีที่ใช้ในการ ปริมาณสารเคมีที่ใช้ในการป้องกัน กาจัด


ภูมท
ิ ศ
ั น์ใน กาจัดศัตรู พช
ื ในงานภูมิ วัชพืช ศัตรู พช

1
มหาวิทยาลัย ทัศน์ (ลิตรหรือกิโลกรัม/ปี)

ขนาดพื้นที่ภูมท
ิ ัศน์ปลอด ขนาดพื้นที่ภายนอกอาคารทีด
่ แ
ู ลรักษา
สารเคมี ระบบภูมท
ิ ัศน์โดยไม่ใช้สารเคมีกาจัด
1
ศัตรู พืช และไม่ใช้ปย
ุ๋ เคมี

*หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี


2 หมายถึง ตัวชี้วัดที่ต้องมีการลงทุนค่อนข้างสูงและใช้ระยะเวลาเตรียมการนาน
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 92
คู่มอ
เกณฑ์การให้คะแนน (1)

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน


และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.75 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการกาหนดเป้าหมายในแต่ ละตั วชี้วัด และมีการรายงานตั วชี้วัด


พื้นฐานพร้อมทั้งเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.25 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการตรวจวัดข้อมูลเท่านั้น

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด

เกณฑ์การให้คะแนน (2)

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติงานที่จะทาการติดตามและประเมินผลตามตั วชี้วัด


พื้นฐานที่กาหนดภายในระยะเวลา 4 ปี

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด

การมีส่วนร่วมกับสังคม

สถาบั น ร่ วมมื อ กั บ ชุ มชน หน่ ว ยงานภาครั ฐ เครื อ ข่ า ยสิ่ งแวดล้ อ ม และเอกชน ในการการ
สงวนรักษา ฟื้นฟู และส่งเสริมระบบนิเวศ ทั้งในพื้นที่ของสถาบันและนอกพื้นที่ร่วมกัน เช่น

 มีการนาผลการดาเนินการส่งเสริมการสงวนรักษา ฟื้นฟู และส่งเสริมระบบนิ เวศร่วมกั บสังคม


ภายนอกจนประสบผลสาเร็จ หรือมีกิจกรรมด้านการอนุรักษ์ที่ทาร่วมกับสังคมในระยะยาว (2 ปี
ขึ้นไป)

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีส่วนร่วมกับองค์กรภายนอกหรือสังคมแบบหุ้นส่วน กล่าวคือ มีการร่วมกับพัฒนาโครงการ และ


ดาเนินโครงการร่วมกัน

 เกิดประโยชน์กับสังคมทั้งทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม หรือความเป็นอยู่ที่ดีข้น


 เป็นโครงการที่มีความต่ อเนื่ อง ซึ่งต้ องมีการจั ดกิ จกรรมขึ้นภายในปีงบประมาณนั้นๆอย่างน้อย


เป็นเวลา 2 ปี
93

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ มีก ารด าเนิ น งานและวั ด ผลการด าเนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ องและมี
ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม อย่างชัดเจน โดยสถาบันฯ จั ดช่องทางให้ความรู้ แสดง
แบบอย่างหรือมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการอนุรักษ์ระบบนิเวศแก่ชุมชนและสังคม จน
ท าให้ ชุ ม ชนหรื อ องค์ ก รนั้ น ๆเป็ น ที่ ย อมรั บ และต้ น แบบที่ ดี ใ นสั ง คมต่ อ ไปได้ (ต้ อ ง
ดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีแผนการดาเนินงานหรือกาลังดาเนินงานกิจกรรมในการมีส่วน


เผยแพร่ความรู้และการปฏิบัติ โดยจัดช่องทางให้ความรู้ แสดงแบบอย่าง หรือมีส่วน
ร่วมในการอนุรักษ์ระบบนิเวศ

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีความร่วมมือกับชุมชนหรือสังคมภายนอก

โดดเด่น

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

 สถาบันฯ มีกิจกรรมการส่งเสริมการอนุรักษ์ระบบนิเวศที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ หรือระดับ


สากล

 สถาบันฯ มีกิจกรรมการส่งเสริมการอนุรัก ษ์ ระบบนิ เวศที่เป็นต้นแบบให้กับสังคม จนมีองค์กรหรือ


ชุมชนภายนอกนาไปปฏิบต
ั ิตามจนประสบความสาเร็จได้อย่างชัดเจน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบั น ฯ จะต้ อ งได้ รั บ รางวั ล ระดั บ ดี เ ยี่ ย ม เหรี ย ญทอง หรื อ รางวั ล ชนะเลิ ศ ใน
ระดับประเทศ

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รั บ รางวั ล ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ประเทศ/ระดั บ สากล โดย
สถาบันฯ จะต้องได้รับรางวัลระดับดี หรือระดับเงิน ในระดับประเทศ หรือสามารถเป็ น
ต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีกิจกรรมหรือแนวทางปฏิบัติที่ได้รับรางวัลในระดับประเทศ/


ระดับสากลหรือโครงการสามารถเป็นต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 94
คู่มอ

ER1
ระบบการเรียนรูแ
้ ละระบบส่งเสริม
องค์ความรูด
้ ้านการพัฒนาที่ย่งั ยืน
คานิยาม

สถาบั น มีก ารสนั บ สนุ น การให้ ความรู้เกี่ ยวกั บ การพัฒนาที่


ยั่ ง ยื น ผ่ า นกิ จ กรรมนอกห้ อ งเรี ย นต่ า งๆ เช่ น งานปฐมนิ เ ทศ งาน
ปั จ ฉิ ม นิ เ ทศ open house งานรั บ ปริ ญ ญา หรื อ สอดแทรกความรู้
ผ่า นการจั ด สถานที่ ห รื อ กิ จ กรรมในวิ ท ยาเขต (living laboratory)
นอกจากนี้ สถาบันฯ สามารถจัดนิทรรศการ เสวนาสอดแทรกความรู้
เรื่อ งการพั ฒนาที่ ย่ั งยื น เผยแพร่ ความรู ้ ด้า นการพั ฒนาที่ ย่ั งยื น ให้
บุ คคลทั่ วไปผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ ของสถาบั น ฯ Facebook หรือ Insta-
gram เป็นต้น

ระบบการเรียนรู้ หมายถึง ฐานข้อมูล หรือแพลตฟอร์มกลาง


พัฒนาโดยมหาวิทยาลัย ซึ่งเปิดให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ เพื่อ
รวบรวมคลั งความรู ้ที่เกี่ ยวข้องกั บการพัฒนาที่ ย่ังยืน ทั้ งนี้ จะต้ องมี
การปรับปรุ งอย่างต่ อเนื่อง เพื่อให้องค์ความรู้เป็นปัจจุบันให้ได้มาก
ที่สุด รวมถึงสามารถพิสูจน์ได้ว่ามีผู้ใช้เข้ามาใช้บริการอย่างต่อเนื่อง

ระบบส่งเสริมองค์ ความรู้ หมายถึ ง โครงการหรือ กิ จ กรรม


เปิ ดโอกาสให้ นั ก ศึกษา บุ คลากร และบุ คคลภายนอก เข้า ร่วมเพื่อ
เปิ ดโอกาสในการน าเสนอนวั ต กรรม งานวิ จั ย งานบริก ารวิ ช าการ
อั น ส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น ของสถาบั น รวมถึ ง การสอดแทรก
ความรู ้ ด้ า นการพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น ในกิ จ กรรมต่ า ง ๆ เช่ น งานปั จ ฉิ ม
นิเทศ open house งานรับปริญญา เป็นต้น

ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืน

การสนับสนุนการให้ความรู้เกี่ ยวกั บการพัฒนาที่


ยั่งยื น ผ่ า นกิ จ กรรมต่ า งๆของสถาบั น ฯ สามารถ
ส่งเสริมให้สถาบันฯ บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่
ยั่งยืนทั้ง 17 ข้อได้
95

ประเภทตัวชี้วัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่ังยืน

นโยบาย

สถาบันฯ มีนโยบาย และยุทธศาสตร์ระดับสถาบัน แสดงถึงชุดแผนงาน/โครงการ ที่เกี่ยวข้อง


กับการสนับสนุนระบบการเรียนรู ้และส่งเสริมองค์ความรู ้ด้านการพัฒนาที่ย่งั ยืน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีการกาหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ส่งเสริมการสนับสนุนระบบ


การเรี ย นรู ้ แ ละส่ ง เสริ ม องค์ ค วามรู ้ ด้ า นการพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น เพื่ อสนั บ สนุ น ให้ ทุ ก
หน่วยงานมีการปฏิบัติตามนโยบายหรือยุทธศาสตร์ที่กาหนด

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีการกาหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ที่ส่งเสริมการสนับสนุน


ระบบการเรียนรู ้และส่งเสริมองค์ความรู ้ด้านการพัฒนาที่ย่งั ยืน

แผนการดาเนินการ

หน่วยงานระดับกอง หรือคณะ หรือศูนย์ หรือเทียบเท่า มีการพัฒนาแผนปฏิบัติงานส่งเสริม


องค์ความรู้ในด้านการพัฒนาที่ ย่ังยืนอย่างสม่าเสมอ นอกจากนี้ สถาบั นฯ สามารถส่งเสริมกิ จกรรม
นักศึกษาหรือกิจกรรมการเรียนรู ้นอกห้องเรียนเพื่อสอดแทรกความรู ้การพัฒนาที่ย่งั ยืน

แนวทางการสนับสนุนระบบการเรียนรู ้และส่งเสริมองค์ความรู ้ด้านการพัฒนาที่ย่งั ยืน ได้แก่

 ให้ ค วามรู้ ด้ า นความยั่ ง ยื น ในงานเฉพาะกิ จ ต่ า งๆ เช่ น งานปฐมนิ เ ทศ งานปั จ ฉิ ม นิ เ ทศ open


house งานรับปริญญา

 จัดนิทรรศการ เสวนาสอดแทรกความรู ้เรื่องการพัฒนาที่ย่งั ยืน

 ช่องทางในการรวบรวมและเผยแพร่ความรู ้ด้านการพัฒนาที่ ย่ังยืน เช่น เว็บไซต์ ของสถาบันและ


คณะ Facebook Instagram เป็นต้น

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีแผนปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกั บการสนับสนุนระบบการเรียนรู้และ


ส่งเสริมองค์ความรู ้ด้านการพัฒนาที่ย่งั ยืน (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีแผนปฏิบัติการในการส่งเสริมการสนับสนุนระบบการเรียนรู้


และส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาที่ย่งั ยืน
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 96
คู่มอ

ระบบตรวจวัด

สถาบั น มีระบบติ ดตามและประเมิน ผลการดาเนิ นการตามนโยบายและเป้ า หมายที่ วางไว้


ด้วยระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้

ประเภท
หัวข้อการประเมิน ตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัด

จานวนกิจกรรมที่สนับสนุนการ 1. จานวนกิจกรรมเสริมสร้างความรู ้พ้ นื ฐานด้าน


เรียนรูใ้ นด้านการพัฒนาทีย
่ ่งั ยืน 1 การพัฒนาทีย ่ ่งั ยืน
(สอดคล้อง 2 SDGs ขึน ้ ไป) 2. ร้อยละนักศึกษาที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่จัด

*หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน


และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.75 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการกาหนดเป้าหมายในแต่ละตัวชี้วัด และมีการรายงานตั วชี้วัด


พื้นฐานพร้อมทั้งเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.25 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการตรวจวัดข้อมูลเท่านั้น

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด

การมีส่วนร่วมกับสังคม

สถาบันฯ มีก ารส่งตั วแทนมหาวิทยาลัยเข้า ร่วมการแข่งขัน ภายนอกสถาบัน หรือ นักศึกษา


สร้างกิจกรรมต้นแบบในชุ มชนที่ ประชาชนสามารถเรียนรู้และนาไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจาวัน
เพื่อปลูกฝังและสร้างความตระหนักให้กับคนในชุมชน ตัวอย่างเช่น

 โครงการประกวดนวัตกรรมเปิดโอกาสให้สังคมภายนอกสามารถเข้ามาเข้าร่วมประกวด หรือให้
คะแนนได้

 เวที ท างวิ ช าการเปิดโอกาสให้ บุ คคลภายนอกเข้า ร่วมกิ จกรรม เพื่อ น าเสนอ เรียนรู้น วั ต กรรม
งานวิจัย และบริการวิชาการ
97

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีส่วนร่วมกับองค์กรภายนอกหรือสังคมแบบหุ้นส่วน กล่าวคือ มีการร่วมกับพัฒนาโครงการ และ


ดาเนินโครงการร่วมกัน

 เกิดประโยชน์กับสังคมทั้งทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม หรือความเป็นอยู่ที่ดีข้น


 เป็นโครงการที่ มีความต่ อเนื่ อง ซึ่งต้ องมีการจั ดกิ จกรรมขึ้นภายในปีงบประมาณนั้นๆอย่างน้อย


เป็นเวลา 2 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั นฯ มีก ารดาเนิ นงานและวัดผลการดาเนิ นงานอย่า งต่ อเนื่อ งและมี
ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม อย่างชัดเจน โดยสถาบันฯ จัดช่องทางให้ความรู้ แสดง
แบบอย่างหรือมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการสนับสนุนระบบการเรียนรู้และส่งเสริม
องค์ความรู ้ด้านการพัฒนาที่ย่งั ยืนจนทาให้ชุมชนหรือองค์กรนั้นๆเป็นที่ ยอมรับและ
ต้นแบบที่ดีในสังคมต่อไปได้ (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบัน มีแผนการดาเนิ น งานหรือก าลังดาเนิน งานกิ จ กรรมในการมีส่วน


เผยแพร่ความรู้และการปฏิบัติ โดยจัดช่องทางให้ความรู้ แสดงแบบอย่าง หรือมีส่วน
ร่วมในการสนับสนุนระบบการเรียนรู ้และส่งเสริมองค์ความรู ้ด้านการพัฒนาที่ย่งั ยืน

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีความร่วมมือกับชุมชนหรือสังคมภายนอก

โดดเด่น

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

สถาบันฯ มีกิจกรรมการสนับสนุนระบบการเรียนรู ้และส่งเสริมองค์ความรู ้ด้านการพัฒนาที่ ย่ังยืน


ที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ หรือระดับสากล โดยมีองค์กร สถานที่อ่ ืน นาไปเป็นแบบอย่าง
และจัดในพื้นที่ของตัวเอง ทั้งนี้ สถาบันจะต้องมีบทบาทในการให้คาแนะนา หรือหุน
้ ส่วน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ได้ รับ รางวั ลที่ เป็ น ที่ ยอมรับ ในระดับ ประเทศ/ระดั บ สากลหรือ
สามารถเป็น ต้ น แบบที่ ดีใ ห้กับ สังคมได้เกี่ ยวกั บการสนับสนุนระบบการเรียนรู้และ
ส่งเสริมองค์ความรู ้ด้านการพัฒนาที่ ย่ังยืน โดยพิสูจน์ ได้ ว่ามีหน่ วยงานอื่ นสามารถ
นาไปต่อยอดได้

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีกิจกรรมหรือแนวทางปฏิบัติที่ได้รับรางวัลในระดับประเทศ/


ระดับสากล หรือสามารถเป็นต้นแบบที่ดีให้กับสังคมได้
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 98
คู่มอ

ER2
หลักสูตรพัฒนาความรูก
้ ารพัฒนาที่ย่งั ยืน
คานิยาม

สถาบั น ฯ มี ก ารสนั บ สนุ น รายวิ ช าที่ มีความเชื่ อ มโยงกั บ การ


พัฒนาที่ย่งั ยืน โดยบรรจุ อยู่ในรายวิชาตามคณะวิชาหรือกาหนดเป็น
รายวิชาพื้นฐานที่นักเรียนทุกคนต้องเรียน

หลักสูตรการพัฒนาที่ย่งั ยืน หมายถึง หลักสูตรที่ ประกอบด้วย


ชุ ด รายวิ ช าส่ ง เสริ ม สร้ า งองค์ ค วามรู้ ข องนั ก ศึ ก ษา ครอบคลุ ม การ
บรรลุ เ ป้ า หมายการพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น ทั้ ง 17 เป้ า หมายขององค์ ก าร
สหประชาชาติ ทั้งนี้ หลักสูตรดังกล่าวจะต้ องผ่านการรับรองโดยสภา
มหาวิ ท ยาลั ย และกระทรวงการอุ ด มศึ ก ษา วิ ท ยาศาสตร์ วิ จั ย และ
นวัตกรรม

ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยง่ั ยืน

การสนั บ สนุ น รายวิ ช าที่ มีค วามเชื่ อ มโยงกั บ การ


พัฒนาที่ ย่ังยืน สามารถส่งเสริมให้สถาบันฯ บรรลุ
เป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืนทั้ง 17 ข้อได้
99

ประเภทตัวชีว
้ ัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่งั ยืน

นโยบาย

สถาบันฯ มีนโยบาย และยุทธศาสตร์ระดับสถาบัน แสดงถึงชุดแผนงาน/โครงการ ที่เกี่ยวข้อง


กับการสนับสนุนหลักสูตรที่มีความเชื่อมโยงกับการพัฒนาที่ย่งั ยืน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ มี ก ารก าหนดนโยบายและยุ ท ธศาสตร์ ส่ ง เสริ ม การสนั บ สนุ น


รายวิชาที่มีความเชื่อมโยงกับการพัฒนาที่ย่งั ยืน เพื่อสนับสนุนให้ทุกหน่วยงานมีการ
ปฏิบัติตามนโยบายหรือยุทธศาสตร์ที่กาหนด

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีการกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ที่ส่งเสริมการสนับสนุน


รายวิชาที่มีความเชื่อมโยงกับการพัฒนาที่ย่งั ยืน

แผนการดาเนินการ

สถาบันฯ มีแ ผนทบทวนหลั กสูตรและพัฒนาเนื้อหารายวิชาให้สอดคล้องกั บองค์ความรู้ใ น


ด้านการพัฒนาที่ย่งั ยืน โดยสถาบันมีแนวทางการสนับสนุนรายวิชาที่ มีความเชื่อมโยงกั บการพัฒนา
ที่ย่งั ยืน ดังนี้

 สถาบันฯ มีการเชื่อมโยงการพัฒนาที่ย่งั ยืนเข้าไปในหลักสูตรที่สถาบันฯ มี

 สถาบันฯ มีการกาหนดวิชาการพัฒนาที่ย่งั ยืนเป็นรายวิชาพื้นฐานที่นักศึกษาทุกคนต้องเรียน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ มี แ ผนปฏิ บั ติ ง านเกี่ ย วข้ อ งกั บ การสนั บ สนุ น รายวิ ช าที่ มี ค วาม
เชื่อมโยงกับการพัฒนาที่ย่งั ยืน (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีแผนปฏิบัติการในการส่งเสริมการสนับสนุนรายวิชาที่มีความ


เชื่อมโยงกับการพัฒนาที่ย่งั ยืน
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 100
คู่มอ
ระบบตรวจวัด

สถาบั น มีระบบติ ดตามและประเมิน ผลการดาเนิ นการตามนโยบายและเป้ า หมายที่ วางไว้


ด้วยระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้ ทั้งนี้สถาบันฯ สามารถคานวณด้วยวิธีการอื่ นที่เป็น
ที่ยอมรับในทางวิชาการได้

ประเภท
หัวข้อการประเมิน ตัวชีว้ ัด วิธก
ี ารคานวณ (ตัวอย่าง)
ตัวชีว้ ัด
หลักสูตรของคณะ ร้อยละหลักสูตรของคณะ (จานวนหลักสูตรที่มเี นื้อหาการเรียนรู ้
วิชาต่าง ๆ ที่ วิชา ที่มเี นื้อหาการเรียนรู ้ เชื่อมโยงกับ SDGs/จานวนหลักสูตร
เชื่อมโยงกับ เชื่อมโยงกับเป้าหมายการ ทั้งหมด) x 100
เป้าหมายการ พัฒนาที่ย่งั ยืนของ
พัฒนาทีย
่ ่งั ยืน สหประชาชาติ (SDGs)
1 โดยหลักสูตรดังกล่าวควร
ผ่านมาตรฐานในระดับ
สากล เช่น AUNQA
(สอดคล้อง 2 SDGs ขึ้น
ไป)

*หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน


และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.75 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการกาหนดเป้าหมายในแต่ละตัวชี้วัด และมีการรายงานตัวชี้วัด


พื้นฐานพร้อมทั้งเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.25 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการตรวจวัดข้อมูลเท่านั้น

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด


101

การมีส่วนร่วมกับสังคม

สถาบันร่วมมือกั บสังคมในการส่งเสริมความรู ้ด้านการพัฒนาที่ ย่ังยืนให้ กับบุ คคลทั้ งในพื้นที่


ของสถาบันและนอกพื้นที่ร่วมกัน จนเกิดผลกระทบกับสังคมได้อย่างชัดเจน เช่น

 การรวบรวมกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ของสถาบั น ฯ โดยเชื่ อมโยงกั บ เป้ า หมายการพั ฒ นาที่ ย่ั งยื น ของ
สหประชาชาติ

 สถาบั น ฯ มี ส่ว นร่ ว มในการบริ ก ารวิ ช าการให้ ค วามรู ้ ด้ า นการพั ฒนาที่ ย่ั ง ยื น ให้ กั บ ประชาชน
ภายนอกเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู ้และความตระหนักด้านการพัฒนาที่ย่งั ยืน

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีก ารเปิ ดหลั ก สู ต รพั ฒ นาความรู ้ ก ารพั ฒนาที่ ย่ั งยื น ซึ่ ง สามารถเป็ น ได้ ท้ั งระบบ offline หรื อ
online ที่เปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้ามาเรียนได้

 มีจานวนผู้เข้าเรียนจากหลากหลายสาขา เพื่อบูรณาการศาสตร์การพัฒนาที่ย่งั ยืน

 เป็นโครงการที่ มีความต่ อเนื่ อง ซึ่งต้ องมีการจั ดกิ จกรรมขึ้นภายในปีงบประมาณนั้นๆอย่างน้อย


เป็นเวลา 2 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั นฯ มีก ารดาเนิ นงานและวัดผลการดาเนิ นงานอย่า งต่ อเนื่อ งและมี
ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม อย่างชัดเจน โดยสถาบันฯ จัดช่องทางให้ความรู้ แสดง
แบบอย่างหรือมีส่วนร่วมในการสนับสนุนรายวิชาที่มีความเชื่อมโยงกับการพัฒนาที่
ยั่งยืนในสังคม จนทาให้ชุมชนหรือองค์กรนั้นๆเป็นที่ยอมรับและต้นแบบที่ ดีในสังคม
ต่อไปได้ (ต้องดาเนินกิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบัน มีแผนการดาเนิ น งานหรือก าลังดาเนิน งานกิ จ กรรมในการมีส่วน


เผยแพร่ความรู้และการปฏิบัติ โดยจัดช่องทางให้ความรู้ แสดงแบบอย่าง หรือมีส่วน
ร่วมในการสนับสนุนรายวิชาที่มีความเชื่อมโยงกับการพัฒนาที่ย่งั ยืน

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีความร่วมมือกับชุมชนหรือสังคมภายนอก


ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 102
คู่มอ

โดดเด่น

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

 สถาบันฯ มีหลักสูตรพัฒนาความรูก
้ ารพัฒนาที่ยง่ั ยืนที่ได้รบ
ั รองมาตรฐานในระดับสากล เช่น AUNQA
Version 3 ขึน
้ ไป เป็นต้น

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบันฯ มีหลักสูตรพัฒนาความรู ้การพัฒนาที่ ย่ังยืนที่ได้รับรองมาตรฐานใน


ระดับสากล

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มห


ี ลักสูตรพัฒนาความรูก
้ ารพัฒนาที่ย่งั ยืนที่ได้รบ
ั รองมาตรฐานใน
ระดับสากล
103

ER2
งานวิจัยส่งเสริมการพัฒนาที่ย่งั ยืน
คานิยาม

สถาบันฯ มีแผนงบประมาณและผลงานวิจัยที่ ส่งเสริมการ


พั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น หรื อ เชื่ อมโยงเป้ า หมายการพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น ของ
สหประชาชาติ ทั้งในสถาบันฯ ชุมชน ประเทศ และนานาชาติ

งานวิ จั ย ส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น หมายถึ ง งานวิ จั น


ส่ ง เสริ ม การบรรลุ เ ป้ า หมายการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ขององค์ ก าร
สหประชาชาติ ทั้ ง นี้ จะต้ อ งเป็ น งานวิ จั ย ที่ ไ ด้ รั บ การตี พิ ม พ์ ใ น
ฐานข้อมูลที่รับรองโดยกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย
และนวัตกรรม

ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน

การสนับสนุนรายวิชาที่ มีความเชื่อมโยงกับการ
พั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น สามารถส่ ง เสริ ม ให้ ส ถาบั น ฯ
บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืนทั้ง 17 ข้อได้
ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 104
คู่มอ

ประเภทตัวชี้วัดในการประเมินเชิงลึกเพื่อพิจารณาศักยภาพในการพัฒนาที่ย่ังยืน

นโยบาย

สถาบันฯ มีนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับสถาบัน แสดงถึงชุ ดแผนงาน/โครงการ ที่ เกี่ ยวข้อง


กับการสนับสนุนงานวิจัยที่ส่งเสริมบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืนทั้ง 17 ข้อ

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีการกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ส่งเสริมการสนับสนุนงานวิจัย


ที่ ส่งเสริมการพัฒนาที่ ย่ังยื น เพื่ อสนั บ สนุ นให้ ทุกหน่ วยงานมีการปฏิ บัติ ตามนโยบาย
หรือยุทธศาสตร์ที่กาหนด

0 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ ไม่มีก ารก าหนดนโยบายและยุ ท ธศาสตร์ที่ ส่งเสริมการสนั บ สนุ น


งานวิจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาที่ย่งั ยืน

แผนการดาเนินการ

สถาบั น คณะวิ ช า และหน่ วยงานสนั บ สนุ น มีพัฒ นาแผนปฏิ บั ติ ง าน แผนงบประมาณ และ


ระบบส่งเสริมให้เกิ ดผลงานวิจัยที่ ตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ ย่ังยืน โดยสถาบันฯ มีแนวทางการ
สนับสนุนงานวิจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาที่ย่งั ยืน ดังนี้

 สถาบันฯ มีการบันทึกฐานข้อมูลผลงานวิจัยและผลการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมเสริม
การพัฒนาที่ย่งั ยืน โดยอ้างอิงตามเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืนของสหประชาชาติ

 มีแผนงบประมาณและผู้รับผิดชอบ (เช่น หน่วยงาน หรือ คณะกรรมการ) ในการดาเนินงานในการ


รวบรวม ทวนสอบ ติดตามผลการดาเนินงานวิจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาที่ย่งั ยืน

 สถาบันฯ ประเมินผลกระทบที่เกิดจากงานวิจัยที่มีต่อชุมชน สังคมภายนอก


105

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั น ฯ มี แ ผนปฏิ บั ติ ง านเกี่ ย วข้ อ งกั บ การสนั บ สนุ น รายวิ ช าที่ มี ค วาม
เชื่อมโยงกับการสนับสนุนงานวิจัยที่ ส่งเสริมการพัฒนาที่ ย่ังยืน (ต้ องดาเนินกิ จกรรม
ดังกล่าวทุกข้อ)

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีแผนปฏิบัติการในการสนับสนุนงานวิจัยที่ส่งเสริมการพัฒนา


ที่ย่งั ยืน

ระบบตรวจวัด

สถาบัน มีระบบติ ดตามและประเมิน ผลการดาเนิ น การตามนโยบายและเป้ า หมายที่ วางไว้


ด้วยระบบตรวจวัดดังตัวชี้วัดพื้นฐานที่กาหนดให้

ประเภท
หัวข้อการประเมิน ตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัด
งบประมาณวิจัยทีต
่ อบโจทย์ อัตราส่วนงบประมาณวิจัยทีต
่ อบโจทย์การบรรลุเป้าหมาย
การบรรลุเป้าหมายการพัฒนา การพัฒนาทีย
่ ่งั ยืนขององค์การสหประชาชาติ ต่อ
1
ที่ยง่ั ยืนขององค์การ งบประมาณทั้งหมด
สหประชาชาติ
ผลงานการตีพม
ิ พ์วารสารทาง จานวนผลการตีพิมพ์วรสารวิชาการทีเ่ ชื่อมโยงกับ
วิชาการ 1 เป้าหมายการพัฒนาที่ยง่ั ยืนของสหประชาชาติ

สิทธิบต
ั ร หรือ ลิขสิทธิ์ หรืออนุ จานวนผลงานที่ถก
ู จดสิทธิบต
ั ร อนุสท
ิ ธิบต
ั ร หรือจด
สิทธิบต
ั ร 1 ลิขสิทธิ์ เชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืนของ
สหประชาชาติ

*หมายเหตุ 1 หมายถึง ตัวชี้วัดที่สามารถเห็นผลความก้าวหน้าภายใน 1 ปี

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน


และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.75 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการกาหนดเป้าหมายในแต่ ละตั วชี้วัด และมีการรายงานตั วชี้วัด


พื้นฐานพร้อมทั้งเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.5 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการรายงานตัวชี้วัดพื้นฐาน และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

0.25 คะแนน หมายถึง สถาบันมีการตรวจวัดข้อมูลเท่านั้น

0 คะแนน หมายถึง สถาบันไม่มีเป้าหมายหรือไม่มีข้อมูลการตรวจวัด


ื การประเมินความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษาไทย 106
คู่มอ
การมีส่วนร่วมกับสังคม

สถาบัน คณะวิชา และหน่ วยงานสนับสนุน มีงานวิจัยที่ ส่งเสริมเป้าหมายการพัฒนาที่ ย่ังยืน


(SDGs) ที่ เ ชื่ อมโยงกั บ ชุ ม ชนทั้ ง ในมิ ติ พ้ ื น ที่ ห รื อ มิ ติ อ งค์ ค วามรู ้ และการมี ส่ ว นร่ ว มของชุ ม ชนกั บ
งานวิจัยต่าง ๆ เช่น การสร้างโจทย์วิจัย การนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ หรือการสนับสนุนทุนวิจัย
เป็ น ต้ น ซึ่ ง ผลลั พ ธ์ จ ากงานวิ จั ย แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ชุ ม ชนในพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาได้ รั บ ประโยชน์ เกิ ด ผล
กระทบเชิงบวกทางสังคมและสามารถนาผลลัพธ์ของงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ได้จริงเป็นรูปธรรม

สถาบันฯ มีกิจกรรมที่มี ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

 มีส่วนร่วมกับองค์กรภายนอกหรือสังคมแบบหุ้นส่วน

 นามาสู่การส่งเสริมให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืนขององค์การสหประชาชาติ

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึ ง สถาบั นฯ มีก ารดาเนิ นงานและวัดผลการดาเนิ นงานอย่า งต่ อเนื่อ งและมี
ผลกระทบเชิงบวกทางสังคม อย่างชัดเจน โดยสถาบันฯ จัดช่องทางให้ความรู้ แสดง
แบบอย่างหรือมีส่วนร่วมในการสนับสนุนงานวิจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาที่ย่งั ยืน จนทา
ให้ชุมชนหรือองค์กรนั้นๆเป็นที่ยอมรับและต้นแบบที่ดีในสังคมต่อไปได้ (ต้ องดาเนิน
กิจกรรมดังกล่าวทุกข้อ)

0.5 คะแนน หมายถึ ง สถาบัน มีแผนการดาเนิ น งานหรือก าลังดาเนิน งานกิ จ กรรมในการมีส่วน


เผยแพร่ความรู้และการปฏิบัติ โดยจัดช่องทางให้ความรู้ แสดงแบบอย่าง หรือมีส่วน
ร่วมในการสนับสนุนงานวิจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาที่ย่งั ยืน

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีความร่วมมือกับชุมชนหรือสังคมภายนอก

โดดเด่น

สถาบันฯ จะได้คะแนนพิเศษในระดับ โดดเด่น เมื่อมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้

 สถาบันฯ มีการสนับสนุนงานวิจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาที่ย่งั ยืน ที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล

 สถาบันฯ มีงานวิจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาที่ ย่ังยืนที่เป็นต้นแบบให้กับสังคม จนมีองค์กรหรือสถาบัน


ฯ ภายนอกนาไปปฏิบัติตามจนประสบความสาเร็จได้อย่างชัดเจนในการบรรลุเป้าหมายการพัฒนา
ที่ยง่ั ยืน

เกณฑ์การให้คะแนน

1 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ มีงานวิจัยที่ ตีพิมพ์ที่ส่งเสริมเป้าหมายการพัฒนาที่ ย่ังยืน (SDGs)


และเป็นที่ ยอมรับในระดับสากล กล่าวคือ เป็นวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในระดับ
10% Q1 และสามารถเป็ นงานวิจัยต้ นแบบที่ ดีให้ กับสังคมสัมฤทธิ์ผลในการต่ อยอด
ส่งเสริมการพัฒนาที่ย่งั ยืนในการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืน

0 คะแนน หมายถึง สถาบันฯ ไม่มีงานตีพิมพ์ที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล


107

You might also like