You are on page 1of 14

CORE

วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 10 ฉบัMetadata,


บที่ 20 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561
citation and similar papers at core.ac.uk
Provided by Srinakharinwirot University: SWU e-Journals System

รู ป แบบการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ เพิ่ ม คุ ณ ค่ า การท่ อ งเที่ ย วบนฐาน
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในจังหวัดอ่างทอง
MODEL OF CREATIVE TOURISM FOR ADDING VALUE IN TOURISM ON LOCAL
WISDOM-BASED IN ANG THONG PROVINCE

ฐิติมา อังกุรวัชรพันธุ์* กิ่งกนก เสาวภาวงศ์


Thitima Angkurawacharapan*, Kingkanok Saowapawong

คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Faculty of Environmental Culture and Ecotourism, Srinakharinwirot University.

*Corresponding author, e-mail: thitimaa@g.swu.ac.th

บทคัดย่อ
การวิจยั นีม้ จี ดุ ประสงค์เพือ่ ศึกษาเอกลักษณ์และคุณค่าทางด้านวัฒนธรรมของกลุม่ หัตถกรรมจักสาน
ในจังหวัดอ่างทอง ทั้งด้านบริบทของชุมชน สภาพทางกายภาพ วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของพื้นที่
และเสนอรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มคุณค่าทางการท่องเที่ยวบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นใน
จังหวัดอ่างทอง โดยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสำ�รวจ
ภาคสนาม การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์เชิงลึก ประกอบด้วยประธานกลุ่ม ชาวบ้าน
ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการท่องเที่ยว โดยการประเมินคุณค่า
ทางวัฒนธรรมของกลุ่มหัตถกรรมจักสาน โดยประยุกต์ใช้แบบสำ�รวจและแบบประเมินคุณค่าทางวัฒนธรรม
จากหน่วยงานที่ได้รับการยอมรับทางวิชาการ
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มหัตถกรรมจักสานทั้งสองแห่ง มีเอกลักษณ์และคุณค่าทางด้านวัฒนธรรม
ทั้งคุณค่าทางประวัติศาสตร์ คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ คุณค่าทางสังคม คุณค่าด้านการศึกษา คุณค่า
ด้านจิตวิญญาณ คุณค่าด้านเศรษฐกิจ และคุณค่าด้านความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของพื้นที่ ด้านรูปแบบ
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ประกอบด้วย 1) องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ คือ ทรัพยากร
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ นักท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ผู้ประกอบการ
ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ และชุมชนเชิงสร้างสรรค์ 2) การนำ�เสนอคุณสมบัติของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
และ 3) การดำ�เนินการของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในจังหวัดอ่างทอง โดยเป็นรูปแบบการจัดการ
ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์โดยคนในชุมชน ซึ่งทำ�ให้การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เป็นเครื่องมือสำ�คัญในการ
อนุรักษ์คุณค่าของมรดกวัฒนธรรมของชุมชน ขณะเดียวกันก็ช่วยสร้างมูลค่าในเชิงเศรษฐกิจให้กับคนใน
ชุมชน ส่งผลต่อความสมดุลของเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมของชุมชน ซึ่งเป็นเป้าหมาย
สำ�คัญของการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

คำ�สำ�คัญ: การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณค่าทางวัฒนธรรม

29
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 10 ฉบับที่ 20 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561

Abstract
The research has objective to study the identity and cultural significance of cultural
heritage of the Handicraft groups in Ang Thong Province both the existing physical conditions,
culture and the identity of the area and propose the model of creative tourism for adding value
in Tourism on local wisdom-based in Ang Thong Province.
The research presents qualitative research method. Data collections were conducted by
documentary method, field survey and participant observation the existing physical conditions.
This research uses a qualitative research process through in-depth interview from the community
leaders, local people, the entrepreneur and the stakeholders. Evaluates the cultural significance
of using the field survey form and evaluation form which had been designed by academic
acceptance.
The study results discovered that the cultural significance of the Handicraft groups has
value of cultural significance as Historic value, Aesthetic value, Social value, Scientific Value/
Education Value, Economic Value, Spiritual Value, and Rarity and Unique Value. For the model
of creative tourism for Ang Thong province, the researcher has identified three major factors
includes, 1) the components of creative tourism such as Creative resources, Creative tourists,
Creative activities, Creative locals, and Creative Entrepreneur. 2) The characteristics of creative
tourism and, 3) The implementation of creative tourism in Ang Thong province would have done
by local people. This model of creative tourism can cross-cultural/transformation experience of
tourists and local people. Creative tourism is the way to conserve the local wisdom and cultural
significance of the area and also build or create the value- added for the tourism resources
to be consistent and sustainable in Economic, Social, Culture and Environment that the aim of
Sustainable tourism development.

Keywords: Creative Tourism, Local Wisdom, Cultural Significance

บทนำ� แสวงหารายได้ จ ากการท่ อ งเที่ ย วส่ ง ผลกระทบ


นโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวในฐานะที่การ ต่ อ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว
ท่ อ งเที่ ย วมี บ ทบาทสำ�คั ญในการพั ฒ นาประเทศ สภาพแวดล้ อ มและวิ ถี ชี วิ ต ดั้ ง เดิ ม เสื่ อ มโทรม
เริ่มบรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และเป็ น อุ ป สรรคในการสร้ า งความยั่ ง ยื นให้ กั บ
ฉบับที่ 4 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน [1] การส่งเสริม แหล่งท่องเที่ยว [2]
และพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วทำ�ให้ เ กิ ด รู ป แบบ กระแสของการท่ อ งเที่ ย วแนวใหม่ ที่ มี แ นว
การท่องเที่ยวที่หลากหลาย เช่น การท่องเที่ยว โน้มได้รับความสนใจเพิ่มขึ้นจากนักท่องเที่ยว คือ
เชิงนิเวศ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism)
เชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรม ซึ่ ง เป็ น ทิ ศ ทางใหม่ ที่ ส อดรั บ กั บ การเปลี่ ย นผ่ า น
การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพ ฯลฯ อย่ า งไรก็ ต าม และพัฒนาต่อยอดจากการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การมุง่ เน้นพัฒนาการท่องเทีย่ วแบบมวลชนทีเ่ น้นการ [3] แนวคิ ด ของการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์

30
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 10 ฉบับที่ 20 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561

เป็ น รู ป แบบที่ อ าศั ย วั ฒ นธรรมเป็ น ฐานและใช้ จึงพบปัญหาหลักๆ คือการขาดความรู้และความ


ความคิ ด สร้ า งสรรค์ เ ป็ น ตั ว นำ� [4] โดยเคลื่ อ น เข้ าใจการบริ ห ารจั ด การท่ อ งเที่ ย วโดยดึ ง คุ ณ ค่ า
จากความสนใจในมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องได้ จากวัฒนธรรมและวิถีชีวิต โดยใช้การท่องเที่ยว
ไปสู่มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ โดยมุ่งเน้น เข้าไปเพิ่มมูลค่าทางด้านเศรษฐกิจ ภายใต้ความ
ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วแสวงหาประสบการณ์ ต รง เข้ ม แข็ ง ของชุ ม ชนที่ ยั ง คงไว้ ซึ่ ง อั ต ลั ก ษณ์ ข อง
จ า ก ก า ร สั ม ผั ส วั ฒ น ธ ร ร ม ก า ร ดำ� เ นิ น ชี วิ ต ชุมชน ดังนั้นการพัฒนาการท่องเที่ยวด้วยแนวคิด
และศึกษาวิถชี วี ติ ขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชน การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ จึ ง คำ�นึ ง ถึ ง ความ
ในแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วมากขึ้ น โดยมี ส่ ว นร่ ว มกั บ ยั่งยืนและสร้างสมดุลของชุมชนใน 3 ส่วน คือ
กิจกรรมอันมีลักษณะเฉพาะของพื้นที่ซึ่งเชื่อมโยง ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการ
กั บ การท่ อ งเที่ ย วกั บ คุ ณ ค่ า ทางวั ฒ นธรรม รั ก ษาสภาพแวดล้ อ ม วิ ถี ชี วิ ต ศิ ล ปวั ฒ นธรรม
ของ UNESCO ที่ เ น้ น ย้ำ� ความผู ก พั น ระหว่ า ง เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้
นั ก ท่ อ งเที่ ย วกั บ เจ้ า บ้ า น ซึ่ ง มุ่ ง เน้ น ในเรื่ อ ง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางวัฒนธรรมของชุมชน
ประสบการณ์ แ ละความจริ ง แท้ ท างวั ฒ นธรรม การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์จึงเป็นการเพิ่มมูลค่า
โดยการมี ส่ ว นร่ ว มในการเรี ย นรู้ ศิ ล ปะและมรดก ให้กับแหล่งท่องเที่ยวเดิมให้มีคุณค่าสำ�หรับกลุ่ม
ทางวัฒนธรรม หรือคุณลักษณะเฉพาะของพื้นที่ นักท่องเที่ยวคุณภาพ สนับสนุนความยั่งยืนของ
นำ�ไปสู่ ก ารแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ร ะหว่ า งวั ฒ นธรรม ชุมชนในระยะยาว ช่วยให้ชุมชนรู้คุณค่าและภาค
อย่างแท้จริง ซึง่ ต่างจากการท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม ภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรมของตนเอง นอกจากนี้
แบบดั้ ง เดิ ม ที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วมี ส่ ว นร่ ว มแค่ ก ารชม ยังเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มในภาคบริการและสร้าง
วั ฒ นธรรมของชุ ม ชน และเป็ น การขยายระดั บ โอกาสทางการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่อีกด้วย
ความเข้ ม ข้ น ของการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรม จังหวัดอ่างทอง ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีร่ าบลุม่ ภาคกลาง
[5] ทั้ ง นี้ กระบวนการพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว ของประเทศไทย เป็ น จั ง หวั ด ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์
เชิงสร้างสรรค์สามารถทำ�ได้โดยการค้นหาอัตลักษณ์ ด้ ว ยทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น
และทำ�ความเข้าใจคุณค่าของวัฒนธรรม โดยการ แม้วา่ บทบาทด้านการท่องเทีย่ วของจังหวัดอ่างทอง
ค้นหาอัตลักษณ์ ซึ่งครอบคลุมการวิเคราะห์ฐาน ในสายตาของนักท่องเที่ยวอาจเป็นเพียงจุดแวะพัก
ทรัพยากรทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ วิถีชีวิต และท่องเที่ยว เนื่องจากแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัด
ศิ ล ปะ ประเพณี ภู มิ ปั ญ ญา การค้ น หาความ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ระดั บ ท้ อ งถิ่ น [6] แต่ ทั้ ง นี้ จั ง หวั ด
โดดเด่นและสร้างเอกลักษณ์ การสร้างเสริมคุณค่า อ่างทองยังมีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่วางอยู่บน
ให้กับผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว เช่น การสร้างมิติ ฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับ
เชิงคุณค่าในงานหัตถกรรม โดยการให้นกั ท่องเทีย่ ว คื อ งานหั ต ถกรรมเครื่ อ งจั ก สานเครื่ อ งหวาย
ชมการสาธิ ต กระบวนการผลิ ต เพื่ อ สร้ า งการรั บ รู้ และไม้ ไ ผ่ รวมถึ ง งานจั ก สานผั ก ตบชวา ซึ่ ง ถื อ
ห รื อ ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก ใ น คุ ณ ค่ า ข อ ง สิ น ค้ า เป็นต้นทุนทางวัฒนธรรมที่มีศักยภาพที่จะพัฒนา
การปรับเปลี่ยนกลวิธีการพัฒนาตลาด โดยเป็นการ เพื่อเป็นกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ซึ่งถือ
ตลาดที่ ใ ช้ คุ ณ ค่ า เป็ น ฐาน คื อ การเชื่ อ มคุ ณ ค่ า เป็ น กระบวนทั ศ น์ แ ละทิ ศ ทางใหม่ ข องการท่ อ ง
ของความดั้ ง เดิ ม และความเป็ น ตั ว ตนเข้ า กั บ เที่ยวที่คำ�นึงถึงความยั่งยืนและความผูกพันของ
ความทันสมัย [4] นักท่องเที่ยวกับชุมชนผ่านประสบการณ์การเรียนรู้
อย่ า งไรก็ ต าม เนื่ อ งจากการท่ อ งเที่ ย ว ในแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วบนพื้ น ฐานความเป็ น ไทย
ไม่ ไ ด้ อ ยู่ ใ นวิ ถี ข องคนในชุ ม ชนตั้ ง แต่ แ รกเริ่ ม วิถีชีวิต และภูมิปัญญาท้องถิ่น

31
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 10 ฉบับที่ 20 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561

ด้วยเหตุนค้ี ณะผูว้ จิ ยั จึงสนใจศึกษาเอกลักษณ์ ผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่และหวาย ต.บางเจ้าฉ่า อ.โพธิ์ทอง


และคุ ณ ค่ า ของมรดกทางวั ฒ นธรรมของงาน และกลุ่มจักสานผักตบชวาบ้านบางตาแผ่น หมู่บ้าน
หั ต ถกรรมเครื่ อ งจั ก สานในจั ง หวั ด อ่ า งทอง จั ก สานผั ก ตบชวา ต.คลองวั ว อ.เมื อ งอ่ า งทอง
เพือ่ พัฒนาการท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรมสูก่ ารท่องเทีย่ ว โดยมีวิธีการดำ�เนินการวิจัย ดังนี้
เชิ ง สร้ า งสรรค์ ที่ เ น้ น คุ ณ ค่ า ของชุ ม ชนและสื่ อ ประชากร
ความหมายวัฒนธรรมของชุมชนได้อย่างถ่องแท้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับ
การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในจังหวัด
วัตถุประสงค์ของการวิจัย อ่างทอง ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
1. เพื่อสำ�รวจและศึกษาเอกลักษณ์และคุณค่า ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนและชาวบ้านในชุมชน
ทางด้ า นวั ฒ นธรรมของกลุ่ ม หั ต ถกรรมจั ก สาน กลุ่มตัวอย่าง
ในจังหวัดอ่างทอง กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือ ประธานกลุ่ม
2. เพื่ อ เสนอรู ป แบบการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง หัตถกรรมจักสาน ชาวบ้านในชุมชน ผู้ประกอบ
สร้างสรรค์เพื่อเพิ่มคุณค่าทางการท่องเที่ยวบนฐาน การธุรกิจท่องเที่ยว เจ้าหน้าที่ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในจังหวัดอ่างทอง กั บ การพั ฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วในพื้ น ที่ ได้ แ ก่
องค์การบริหารส่วนตำ�บล คลองวัว และองค์การ
วิธีดำ�เนินการวิจัย บริการส่วนตำ�บล โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการ เจาะจง (Purposive Sampling) จำ�นวน 12 คน
สำ�รวจและเก็ บ ข้ อ มู ลในแหล่ ง หั ต ถกรรมจั ก สาน โดยเป็ น การเลื อ กตั ว อย่ า งที่ ใ ห้ ข้ อ มู ล ตรงตาม
ในจั ง หวั ด อ่ า งทอง ทั้ ง นี้ ผู้ วิ จั ย ได้ คั ด เลื อ กพื้ น ที่ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการวิ จั ย ที่ ใ ห้ ข้ อ มู ล เพี ย งพอ
โดยการสุ่ ม ตั ว อย่ า งแบบเจาะจง (Purposive กระทั่งข้อมูลถึงจุดอิ่มตัว
Sampling) ซึ่งเป็นวิสาหกิจชุมชนเด่นของจังหวัด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
จากสำ�นั ก งานเลขานุ ก ารคณะกรรมการส่ ง เสริ ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
วิสาหกิจชุมชน จังหวัดอ่างทอง โดยใช้เกณฑ์การ 1. แบบสำ�รวจข้ อ มู ล และประเมิ น คุ ณ ค่ า
คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ครอบคลุมลักษณะของการ ทางวั ฒ นธรรม เพื่ อ ค้ น หาอั ต ลั ก ษณ์ แ ละคุ ณ ค่ า
ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ประกอบด้วย ของวั ฒ นธรรมในพื้ น ที่ ซึ่ ง ครอบคลุ ม ข้ อ มู ล ฐาน
1. มี รู ป แบบกิ จ กรรมที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วเข้ าไป ทรัพยากรทางวัฒนธรรมและคุณค่าทางวัฒนธรรม
มีส่วนร่วม (Active Participation) และเรียนรู้ ในพื้ น ที่ โดยแบบประเมิ น คุ ณ ค่ า ทางวั ฒ นธรรม
ประสบการณ์ (Learning Experience) ในวิถี ได้ ป ระยุ ก ต์ แ นวคิ ด ของคุ ณ ค่ า ทางวั ฒ นธรรม
ชีวิตประจำ�วันของผู้คนในชุมชน และมีปฏิสัมพันธ์ จากกฎบัตรเบอร์ร่า (Burra Charter) ค.ศ. 1999
ระหว่างกัน (Interaction) ของ ICOMOS Australia หลักการอนุรักษ์แหล่ง
2. ใช้ทรัพยากรที่ปรากฏในท้องถิ่น และเป็น มรดกทางวัฒนธรรมในประเทศจีน (Principles for
ผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาของท้องถิ่น the Conservation of Heritage Site in China)
3. การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน และ Hoi An Protocols for Best Conservation
4. มีเครือข่ายหรือพันธมิตรเพื่อเพิ่มศักยภาพ Practice in Asia ได้แก่ คุณค่าด้านสุนทรีย์ศาสตร์
ในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ คุณค่าด้านประวัติศาสตร์ คุณค่าด้านวิทยาศาสตร์/
5. มีสิ่งอำ�นวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว คุ ณ ค่ า ด้ า นการศึ ก ษา คุ ณ ค่ า ด้ า นสั ง คม คุ ณ ค่ า
ทั้ ง นี้ พบว่ า แหล่ ง หั ต ถกรรมจั ก สานที่ เ ข้ า ด้านจิตวิญญาณ คุณค่าด้านเศรษฐกิจ และคุณค่า
เกณฑ์ ก ารคั ด เลื อ ก 2 แห่ ง คื อ กลุ่ ม จั ก สาน ด้านความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของพื้นที่

32
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 10 ฉบับที่ 20 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561

2. แบบสั ม ภาษณ์ เ ชิ ง ลึ ก แบบกึ่ งโครงสร้ า ง แบบสัมภาษณ์เชิงลึกของประธานกลุ่มหัตถกรรม


(Semi Structure In-Depth Interview) โดยการสุ่ม จักสาน ชาวบ้านในชุมชน ผู้ประกอบการธุรกิจ
กลุ่ ม ตั ว อย่ า งโดยไม่ ใ ช้ ค วามน่ า จะเป็ น (Non- ท่ อ งเที่ ย ว เจ้ า หน้ า ที่ ภ าครั ฐ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ
Probability Sampling) โดยการเลือกแบบเจาะจง พั ฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วในพื้ น ที่ โดยการตรวจ
(Purposive Sampling) เพื่ อ สั ม ภาษณ์ เ ชิ ง ลึ ก สอบข้อมูลแบบสามเส้าด้านวิธีการรวบรวมข้อมูล
กั บ ประธานกลุ่ ม หั ต ถกรรมจั ก สาน ชาวบ้ า น (Methodological Triangulation) ได้แก่ การศึกษา
ในชุมชน ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว เจ้าหน้าที่ ข้ อ มู ล จากแหล่ ง เอกสาร การสำ�รวจภาคสนาม
ภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตแบบมีส่วนร่วม
ในพื้นที่ รวมทั้งสิ้น 12 คน จากประเด็นที่กำ�หนด การวิเคราะห์ข้อมูล
ไว้จนกว่าข้อมูลจะอิ่มตัว เช่น ประเด็นเกี่ยวกับ คณะผู้วิจัยได้แยกการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้
ข้อมูลวัฒนธรรมของพื้นที่ การมีส่วนร่วมของชุมชน 1. การวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร การสำ�รวจ
และความคิ ด เห็ น ของชุ ม ชนต่ อ การพั ฒ นาการ โดยการจั ด การข้ อ มู ล และแปลความหมายข้ อ มู ล
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เพื่ อ ระบุ คุ ณ ค่ า ของมรดกทางวั ฒ นธรรมในพื้ น ที่
3. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant (Cultural Significance Value)
Observation) โดยคณะผู้ วิ จั ย สั ง เกตผ่ า น 2. การวิ เ คราะห์ เ นื้ อ หาจากการสั ม ภาษณ์
กระบวนการเรี ย นรู้ แ ละทดลองเรี ย นรู้ ผ่ า น เชิ ง ลึ ก และสั ง เกตแบบมี ส่ ว นร่ ว มในพื้ น ที่ วิ จั ย
ประสบการณ์ จ ริ ง ในกิ จ กรรมที่ มี ใ นพื้ น ที่ วิ จั ย โดยการกำ�หนดรหัสของข้อมูล และแปลความหมาย
เพือ่ ให้คณะผูว้ จิ ยั เข้าใจวัฒนธรรมในชุมชนอย่างลึกซึง้ ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนือ้ หาทีส่ มั พันธ์เชือ่ มโยงกัน
เพื่ อ การพิ จ ารณาความเหมาะสมในการประเมิ น โดยรวบรวมข้ อ มู ล เพื่ อ นำ�เสนอผลการศึ ก ษา
เป็ น กิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ ข อง โดยการวิ เ คราะห์ เ นื้ อ หา (Content Analysis)
จังหวัด เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยว
การเก็บรวบรวมข้อมูล เชิ ง สร้ า งสรรค์ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของ
คณะผู้วิจัยทำ�การเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งจาก ชุมชน
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) จากการสำ�รวจ
ภาคสนามและการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการ ผลการวิจัย
สัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) โดยเก็บ ผู้วิจัยได้ใช้วิธีการศึกษาโดยการเก็บรวบรวม
ข้ อ มู ลในกลุ่ ม จั ก สานผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ม้ ไ ผ่ แ ละหวาย ข้ อ มู ล ปฐมภู มิ และข้ อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ รวมถึ ง
ต.บางเจ้าฉ่า อ.โพธิ์ทอง และกลุ่มจักสานผักตบ การสั ม ภาษณ์ เ ชิ ง ลึ ก กั บ ประธานกลุ่ ม หั ต ถกรรม
ชวาบ้านบางตาแผ่น ต.คลองวัว อ.เมืองอ่างทอง จักสาน ชาวบ้านในชุมชน ผู้ประกอบการธุรกิจ
ใช้ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล 6 เดือน รวมถึง ท่องเทีย่ ว เจ้าหน้าทีภ่ าครัฐทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนา
ข้ อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ (Secondary Data) เกี่ ย วกั บ แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ โดยได้ผลการวิจัย ดังนี้
ข้อมูลทางกายภาพของพื้นที่ ข้อมูลด้านวัฒนธรรม 1. เอกลักษณ์และคุณค่าทางด้านวัฒนธรรม
และภู มิ ปั ญ ญาของพื้ น ที่ จ ากเอกสาร งานวิ จั ย ที่ ของกลุ่มหัตถกรรมจักสานในจังหวัดอ่างทอง
เกี่ยวข้อง 1.1 ก ลุ่ ม จั ก ส า น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ม้ ไ ผ่
การตรวจสอบความน่ า เชื่ อ ถื อ ของข้ อ มู ล และหวาย บ้านยางทอง หมู่ 8 ต.บางเจ้าฉ่า อ.โพธิท์ อง
โดยการตรวจสอบข้ อ มู ล แบบสามเส้ า ได้ แ ก่ จ.อ่ า งทองคณะผู้ วิ จั ย ประธานกลุ่ ม หั ต ถกรรม
ข้ อ มู ล จากแบบประเมิ น คุ ณ ค่ า ทางวั ฒ นธรรม จักสาน และชาวบ้านในชุมชน ร่วมกันเก็บข้อมูล

33
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 10 ฉบับที่ 20 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561

และวิ เ คราะห์ คุ ณ ค่ า ทางวั ฒ นธรรมในด้ า นต่ า งๆ ตำ�บล “บางเจ้าฉ่า” เพื่อให้เป็นเกียรติแก่นายฉ่า


ดังนี้ ซึ่งเป็นทั้งผู้นำ�และผู้ก่อตั้งหมู่บ้าน
คุณค่าทางประวัติศาสตร์ (Historical Value) คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ (Aesthetic Value)
ในอดีตบ้านบางเจ้าฉ่า เคยเป็นชุมชนที่มีมาตั้งแต่ คุณค่าด้านความงามด้านลวดลายของงานจักสาน
สมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งชาวบ้านเคยร่วมกับชาวแขวง บางเจ้ า ฉ่ า พบว่ า ลวดลายที่ ใ ช้ ส าน ได้ แ ก่
เมืองวิเศษชัยชาญ และชาวบางระจันสู้รบกับพม่า ลายแม่บท ลายขัด ลายมัดย้อม ลายรวงข้าว และ
โดยมีนายฉ่า เป็นผู้นำ� ภายหลังการสู้รบยุติได้ มีการประยุกต์จากลายดั้งเดิม คือ ลายประดิษฐ์
นำ�ชาวบ้านมาตั้งบ้านเรือนเป็นที่อยู่อาศัยถาวรขึ้น เช่ น ลายดอกพิ กุ ล ลายตะขอ ลายน้ำ� ไหล
ในชุมชนด้านทิศตะวันตกของแม่น้ำ�น้อย แต่เดิม ลายมั ด หมี่ เป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะของจั ก สาน
เรียกว่า “บ้านสร้างสามเรือน” เนื่องจากแรกเริ่มมี บางเจ้าฉ่า
เพียงสามหลั
ลายประดิ ษฐ์ เช่นงลายดอกพิ
คาเรือนเท่ากนัุล้นลายตะขอ
ปัจจุบันเรีลายน
ยกเป็้านไหล
ชื่อ ลายมัดหมี่ เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของจักสานบางเจ้าฉ่า

ภาพที่ 1 กระเป๋าจักสานลายน้าไหล
ภาพที่ 1 กระเป๋าจักสานลายน้ำ�ไหล
ที่ม า: ฐิติมา อัง กุร วัชรพัน ธุ์ . (2560, 23 ธัน วาคม). โครงการวิจยั เรือ่ ง การพัฒนาการท่องเทีย่ วเชิง
ที่มา: ฐิติมา อังกุรวัชรพันธุ์. (2560, 23 ธันวาคม). โครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนาการท่องเที่ยว
สร้างสรรค์เพือ่ เพิม่ คุณค่าทางการท่องเทีย่ วบนฐานภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ในจังหวัดอ่างทอง. หมู่บา้ นจักสานผลิตภัณฑ์
เชิงสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มคุณค่าทางการท่องเที่ยวบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นในจังหวัดอ่างทอง. หมู่บ้านจักสาน
ไม้ไผ่แผลิละหวาย
ตภัณฑ์ไตม้าบลบางเจ้
ไผ่และหวายาฉ่ตำ�บลบางเจ้
า จังหวัดอ่าางทอง
ฉ่า จัง[7].
หวัดอ่างทอง. [7]
คุคุณณค่ค่าาทางสั
ทางสังงคม
คม (Social
(SocialValue) Value)หัตหัถกรรมจั ตถกรรม กสานบางเจ้ าฉ่ า ถือเป็ นภูญมของจั
ดั ง ปรากฏในคำ�ขวั ปิ ญั ญาท้
ง หวัอดงถิอ่ าน่ งทอง
ด้านการผลิคื อ ตโดย
การมีจัสก่วสานบางเจ้
นร่วมของชุามฉ่ชน า ถืและเป็
อเป็นภูนมการน ิปัญญาท้ าทุนอทางสังถิ่นด้งาคม น พัฒ“โด่ นายกระดั
งดังจักสาน” บต่อยอดจากภูมปิ ญั ญาเดิม โดยพบรูปแบบ
เครื่องจั กสานไม้
การผลิ ไผ่รูปแบบดั
ตโดยการมี ส่วนร่วง้ มของชุ
เดิม ได้มแชนก่ กระบุ และเป็ง นกระจาด
การ ตะกร้คุาณหรื ค่าอทางวิ
ค่อมทและผลิ
ยาศาสตร์ ตภั/ณคุณ ฑ์ค่เครื ่องจักสานไม้
าทางการศึ กษา ไผ่ท่มี ี
การพันำ�ทุฒนาและปรั
น ทางสับงปรุ คมงรูปพัแบบผลิ
ฒ นายกระดั ตภัณฑ์ บ ต่ได้ แก่ กระเป๋าถือ(Scientific
อ ยอดจาก สตรี กระบอกใส่ ของ รวมถึงการนValue)
Value/Education าเครื่องจัมีกกสานไม้
าร ไผ่
ผลิตร่ภูวมกัมิปบัญวัญาเดิ
สดุอ่นืม ได้ แก่ หนัปงแบบเครื
โดยพบรู เทียมและโลหะทองเหลื
่องจักสานไม้ไผ่ อง ทัรวบรวมผลิ ง้ นี้ ผลิตภัณ ตภัฑ์ณขฑ์องชุ
เครืม่อชนถื อเป็ นเอกลั
งจักสาน รวมทัก้งษณ์
เครื่อขงมื
องท้
อ องถิน่
และจังรูหวั ด ดัง้งปรากฏในค
ปแบบดั เดิม ได้แก่าขวักระบุ ญของจั งหวัดอ่างทอง
ง กระจาด ตะกร้าคือ “โด่เครื งดั่ องจังใช้
กสาน”
ต่ า งๆ เก็ บ รวบรวมไว้ ใ นพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์
หรื อคุค่ณ อ มค่ าและผลิ
ทางวิทตยาศาสตร์
ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ/ งจั
คุ ณกค่สานไม้
า ทางการศึ ไ ผ่ ที่ มี ก ษาเครื(Scientific Value/Education
่องจักสานในตำ�บลบางเจ้ าฉ่า Value) ซึ่งนับเป็มีนกแหล่
ารรวบรวม

ผลิตภัการพั
ณฑ์เฒครืนาและปรั
่องจักสานบปรุ รวมทังรูปง้แบบผลิ
เครื่องมืตอภัเครืณฑ์่องใช้ได้แตก่่างๆ เก็ศึกบษาเรี
รวบรวมไว้ยนรู้ที่สใำ�คั
นพิญพในด้
ธิ ภัณ านวิ
ฑ์เถครื
ีชีว่อิตงจัความเป็
กสานในต นอยู ่
าบลบาง
เจ้าฉ่ ากระเป๋
ซึ่งนับา ถืเป็อนสตรี
แหล่กระบอกใส่
งศึกษาเรียขนรูอง้ท่สี รวมถึ าคัญในด้ ง การนำ�
านวิถีชีวของชุ
ติ ความเป็ มชนในภาคกลางได้ เป็นอย่างดี นอกจากนี
นอยู่ของชุมชนในภาคกลางได้ เป็ นอย่ ้ างดี
นอกจากนีเครื่ อ้ งจัชุมกชนได้
สานไม้มกี ไารถ่
ผ่ ผ าลิยทอดภู สั ดุญาด้
ต ร่ ว มกัมบปิ วั ญ อ่ื น านการจั
ได้ แ ก่ กสานไม้ชุมชนได้ ไผ่แมละหวายไปสู
ีการถ่ายทอดภู ค่ นรุม่นิปต่ัญอญาด้
ๆ ไปานการจักสาน
หนังเที คุณยมและโลหะทองเหลื
ค่าทางจิตวิญญาณอง(Spiritual ทั้งนี้ ผลิตValue) ภัณฑ์ของ ไม้ไผ่และหวายไปสู
คุณค่าของงานหั ่นต่อๆ ไป งภูมปิ ญั ญาของบรรพ
ตถกรรมจั่คกนรุสานแสดงถึ
บุรุษทีชุถ่ ม่าชนถื
ยทอดเป็อ เป็ นนเอกลั
มรดกให้ก ษณ์กบั ขลูองท้ อ งถิ่ นแสดงถึ
กหลาน และจั งงหวั ด นอัตลักษณ์เฉพาะถิน่ ของงานหัตถกรรมทีม่ คี ุณค่าควร
ความเป็
แก่ก34ารอนุรกั ษ์เป็ นสมบัตขิ องชาติต่อไป
คุณค่าทางเศรษฐกิจ (Economic Value) มีการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จกั สานโดยผสมผสานระหว่าง

ภู มิป ญ ญากับ เอกลัก ษณ์ ค วามเป็ น ไทย จากเครื่อ งใช้ส อยในชีวิต ประจ าวัน เช่ น ตะกร้า กระบุ ง กระจาด
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 10 ฉบับที่ 20 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561

คุณค่าทางจิตวิญญาณ (Spiritual Value) และวิ เ คราะห์ คุ ณ ค่ า ทางวั ฒ นธรรมในด้ า นต่ า งๆ


คุณค่าของงานหัตถกรรมจักสานแสดงถึงภูมิปัญญา ดังนี้
ของบรรพบุรุษที่ถ่ายทอดเป็นมรดกให้กับลูกหลาน คุณค่าทางประวัติศาสตร์ (Historical Value)
แสดงถึ ง ความเป็ น อั ต ลั ก ษณ์ เ ฉพาะถิ่ น ของงาน ผู้เฒ่าผู้แก่ในบ้านบางตาแผ่น เล่าสืบทอดกันว่า
หัตถกรรมที่มีคุณค่าควรแก่การอนุรักษ์เป็นสมบัติ ชาวบ้ า นจากต่ า งถิ่ น ได้ อ พยพเข้ า มาตั้ ง ถิ่ น ฐาน
ของชาติต่อไป บ้านเรือน และประกอบอาชีพในชุมชน เนื่องจาก
คุณค่าทางเศรษฐกิจ (Economic Value) เป็ น พื้ น ที่ ร าบลุ่ ม ที่ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ เ หมาะ
มีการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จกั สานโดยผสมผสาน แก่การเพาะปลูก เมื่อเวลาผ่านไป ชุมชนขยายตัว
ระหว่ า งภู มิ ปั ญ ญากั บ เอกลั ก ษณ์ ค วามเป็ นไทย เพิ่มขื้นประกอบกับเป็นพื้นที่มีลำ�คลองที่เกิดจาก
จากเครื่องใช้สอยในชีวิตประจำ�วัน เช่น ตะกร้า การทรุดตัวของดิน เนื่องจากชาวบ้านนำ�วัว ควาย
กระบุ ง กระจาด มาดั ด แปลงเป็ น ของประดั บ มากินน้ำ�และอาบน้ำ�เป็นประจำ� จึงเกิดการทรุดตัว
ตกแต่ง ของที่ระลึก กล่อง กระเป๋าถือ กระบอก เป็นร่องน้ำ�ขนาดใหญ่ ซึ่งต่อมากลายเป็นลำ�คลอง
ใส่ของ และการจักสานป้านน้ำ�ชา นอกจากนี้ยัง ที่ ขุ ด ต่ อ เนื่ อ งมาจากแม่ นำ�้ เจ้ า พระยา ซึ่ ง มี นำ�้
สามารถนำ�ไปประยุกต์ต่อยอดในการพัฒนาสินค้า ตลอดปี ทำ�ให้ เ กิ ด ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ม ากขึ้ น
ให้ ส อดคล้ อ งกั บ บริ บ ทของสั ง คมและประโยชน์ เมื่อมีการอพยพเข้ามาหนาแน่นมากขึ้น และชุมชน
ใช้สอยตามสภาพการของสังคมมากขึ้น มีความรักใคร่ กลมเกลียวเสมือนพี่น้องกัน มีการ
คุ ณ ค่ า ทางความเป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะตั ว ประกอบอาชีพที่มั่นคงเป็นปึกแผ่น จึงขนานนาม
ของพื้ น ที่ (Rarity and Unique Value) หมู่บ้านว่า “บางตาแผ่น”
โดยปกติชาวบ้านในท้องถิ่นภาคกลาง ล้วนมีฝีมือ คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ (Aesthetic Value)
ในการสานเครื่องจักสาน ซึ่งเกิดขึ้นเพื่อความจำ�เป็น ลวดลายจั ก สานผั ก ตบชวาบ้ า นบางตาแผ่ น
ในการประกอบอาชีพหรือเพือ่ การดำ�รงชีวติ ประจำ�วัน ประกอบด้วย 1) ลายแม่บท ซึ่งเป็นต้นกำ�เนิดที่
วั ส ดุ ใ นการจั ก สานของตำ�บลบางเจ้ า ฉ่ า มี ก าร ทำ�ให้ ม นุ ษ ย์ รู้ จั ก นำ�วั ส ดุ ม าสาน และเป็ น ลาย
เลื อ กใช้ ไ ม้ ไ ผ่ สี สุ ก ซึ่ ง เป็ นไม้ ไ ผ่ พั น ธุ์ พื้ น เมื อ งที่ ที่ มี ลั ก ษณะประจำ�ตั ว เด่ น ชั ด ได้ แ ก่ ลายขั ด
ปลูกอยู่ทั่วไปในตำ�บลบางเจ้าฉ่าและพื้นที่ใกล้เคียง เป็ น การสานขั ด กั น ระหว่ า งเส้ น ตอกแนวตั้ ง
เป็นไม้ไผ่ที่เหมาะในการนำ�มาสานเป็นผลิตภัณฑ์ และแนวนอน นับเป็นแม่ลายเบื้องต้นของการทำ�
เครื่ อ งจั ก สานที่ ต้ อ งใช้ ค วามแข็ ง แรง ทนทาน เครื่ อ งจั ก สานที่ เ ก่ า แก่ ที่ สุ ด และลายสอง
สามารถนำ�มาใช้จักตอกให้เป็นเส้นตอกขนาดเส้น 2) ลายพัฒนา เป็นลายที่พัฒนามาจากลายแม่บท
เล็กๆ ได้ หัตถกรรม จักสานของตำ�บลบางเจ้าฉ่า แต่ มี ร ายละเอี ย ดที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ได้ แ ก่ ลายลบน้ำ�
จึงแสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาอันเฉลียวฉลาดของ ลายดีหล่ม ลายดีตะแคง ลายคุบ 3) ลายประดิษฐ์
คนในท้ อ งถิ่ น ที่ ส ามารถนำ�วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ที่ มี อ ยู่ เป็ น ลายสานที่ ช่ า งสานประดิ ษ ฐ์ ขึ้ น โดยอาศั ย
รอบตั ว ตามธรรมชาติ ม าประยุ ก ต์ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ลายแม่ บ ทและลายพั ฒ นาเป็ น หลั ก ในการสาน
เพือ่ ประดิษฐ์ ดัดแปลง พัฒนารูปทรงและหัตถกรรม ได้แก่ ลายขิดขอ ลายขิดตาแมว ลายพัด
จักสานรูปแบบต่างๆ
1.2 ก ลุ่ ม จั ก ส า น ผั ก ต บ ช ว า บ้ า น
บางตาแผ่น หมู่ 1 ต.คลองวัว อ.เมืองอ่างทอง
จ.อ่างทอง คณะผู้วิจัยและชุมชนร่วมกันเก็บข้อมูล

35
เด่นชัด ได้แก่ ลายขัด เป็ นการสานขัดกันระหว่างเส้นตอกแนวตัง้ และแนวนอน นับเป็ นแม่ลายเบือ้ งต้นของการทา
เครื่องจักสานที่เก่าแก่ท่สี ุด และลายสอง 2) ลายพัฒนา เป็ นลายที่พฒ ั นามาจากลายแม่บท แต่มรี ายละเอียดที่
เพิม่ ขึน้ ได้แก่ ลายลบน้ า ลายดีหล่ม ลายดีตะแคง ลายคุบ 3) ลายประดิษฐ์ เป็ นลายสานที่ช่างสานประดิษฐ์ขน้ึ
โดยอาศัวารสารศรี
ยลายแม่นบคริทและลายพั
นทรวิโรฒวิจฒ
ัยและพั
นาเป็ฒนนาหลั
(สาขามนุ ษยศาสตร์ได้
กในการสาน และสั
แก่งคมศาสตร์
ลายขิดขอ) ปีทลายขิ
ี่ 10 ฉบั บที่ 20 กรกฎาคม
ดตาแมว ลายพัด - ธันวาคม 2561

ภาพที่ 2 กระเป๋าผักตบชวา กลุ่มจักสานผักตบชวาบ้านบางตาแผ่น


ภาพที่ 2 กระเป๋าผักตบชวา กลุม่ จักสานผักตบชวาบ้านบางตาแผ่น
ที่มา: ฐิติมา อังกุรวัชรพันธุ์. (2560, 25 ธันวาคม). โครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนาการท่องเที่ยว
ที่ม า: ฐิติ ม า อัง กุ ร วัช รพัน ธุ์ . (2560, 25 ธัน วาคม). โครงการวิจ ัย เรือ่ ง การพัฒ นาการท่ อ งเทีย่ ว
เชิงสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มคุณค่าทางการท่องเที่ยวบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นในจังหวัดอ่างทอง. กลุ่มจักสาน
เชิงสร้าผังสรรค์ เพือ่ เพิ
กตบชวาบ้ ม่ คุณค่าทางการท่
านบางตาแผ่ องเทีย่ วบนฐานภู
น ตำ�บลคลองวั ปิ ญั ญาท้
ว จังหวัดอ่มางทอง. [8]องถิน่ ในจังหวัดอ่างทอง. กลุ่มจักสานผักตบชวา
บ้านบางตาแผ่น ตาบลคลองวัว จังหวัดอ่างทอง [8].
คุณค่าทางสังคม (Social Value) หัตถกรรม คุณค่าทางวิทยาศาสตร์/คุณค่าทางการศึกษา
คุ ณ ค่ า ทางสั ง คม (Social Value)
เครื่องจักสานบ้านบางตาแผ่น เริ่มจากการส่งเสริม (Scientific หั ต ถกรรมเครื ่ อ งจั ก สานบ้ า นบางตาแผ่
Value/Educationน เริ่ม จากการส่ Value) ง เสริ ม
และสนัและสนั
บสนุ นให้ บ สนุเกิดนกระบวนการเรี ยนรู้ของคนในชุ
ให้ เ กิ ด กระบวนการเรี มชน โดยเฉพาะการใช้
ย นรู้ ข องคน งานหัตถกรรมท้อแงถิ ละการอนุ
่นโดยทั่วรไปมี
กั ษ์ทจุดรัพประสงค์
ยากรธรรมชาติ
อยู่ที่
และภูมในชุ ั
ปิ ญญาท้ม ชนองถิโดยเฉพาะการใช้
น่ โดยในเบือ้ งต้นได้ ให้คนในชุมรั กชนมี
แ ละการอนุ ษ์ สว่ นร่ วมในการอนุ
การใช้ รกั ษ์ศลิ งปวั
สอยซึง่ ผ่านการใช้ ฒนธรรม
านแล้วก่อให้เภูกิดมการพัั
ปิ ญญาท้ฒนาองถิน่
ด้านงานหั
ทรัตพถกรรมเครื
ยากรธรรมชาติ ่องจักสานไม้ ไผ่มทิ ปห่ี ั ญลงเหลื
แ ละภู ญาท้อออยูงถิ่ โดยการร่
่ น เพืว่อมกลุ ให้ส่มามารถตอบสนองความต้
สตรีในตาบลคลองวัว ทีอว่ งการใช้ ่างจากการประกอบ
สอยได้
อาชีพเข้โดยในเบื
ารับการถ่ ายทอดความรู
้องต้ นได้ให้คนในชุด้ มา้ นเครื
ชนมีส่อ่วงจันร่กวสานไม้
มในการไผ่ จากผู เป็เ้ นฒ่อย่
าผูาแ้ งดี
ก่ทย่ี โดยการพั
งั คงหลงเหลื ฒอนารู
อยู่ ปอัทรง
นเป็ นจุลวดลาย
ดเริม่ ต้นของ
อนุ รั ก ษ์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ด้ า น และการใช้วสั ดุ กลุม่ จักสานผักตบชวาบ้านบางตาแผ่น
งานหัตถกรรมเครื่องจักสานไม้ไผ่ที่หลงเหลืออยู่ มีกระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาเป็นแบบภายใน
โดยการร่วมกลุ่มสตรีในตำ�บลคลองวัว ที่ว่างจาก ครอบครั ว และชุ ม ชน โดยการถ่ า ยทอดความรู้
การประกอบอาชีพเข้ารับการถ่ายทอดความรู้ด้าน และทั ก ษะจากผู้ ชำ�นาญในครั ว เรื อ นและชุ ม ชน
เครื่องจักสานไม้ไผ่จากผู้เฒ่าผู้แก่ที่ยังคงหลงเหลือ โดยให้ ผู้ เ รี ย นได้ ป ฏิ บั ติ จ ริ ง และฝึ ก หั ด ทำ�ไปจน
อยู่ อันเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดตั้ง “กลุ่มอาชีพ เกิ ด ความชำ�นาญ นอกจากนี้ ยั ง เป็ น ศู น ย์ ส าธิ ต
จักสานไม้ไผ่ชุมชนบ้านบางตาแผ่น” ต่อมาไม้ไผ่ โดยมีกิจกรรมการเรียนรู้การสอนจักสาน ซึ่งจะมี
ซึ่ ง เป็ น วั ต ถุ ดิ บ หลั ก เริ่ ม ขาดแคลนและมี ร าคาสู ง เด็กนักเรียน นักศึกษา จากมหาวิทยาลัยต่างๆ
ประกอบกับชุมชนประสบปัญหาผักตบชวารบกวน เข้ามาศึกษาดูงาน
และกี ด ขวางทางน้ำ� ซึ่ ง เป็ น อุ ป สรรคต่ อ การนำ� คุ ณ ค่ า ทางเศรษฐกิ จ (Economic Value)
น้ำ� มาใช้ ป ระโยชน์ ทำ�ให้ มี แ นวคิ ด นำ�ผั ก ตบชวา ผั ก ตบชวาเป็ น วั ต ถุ ดิ บ ที่ มี ใ นชุ ม ชน หาง่ า ย
ซึ่งเป็นวัชพืชที่ให้เส้นใยมาแปรสภาพเพื่อจักสาน การนำ�ผั ก ตบชวามาทำ�งานจั ก สานเท่ า กั บ
เป็นสิ่งของเครื่องใช้จากผักตบชวา เช่น ตะกร้า มีส่วนช่วยกำ�จัดวัชพืชและอนุรักษ์สภาพแวดล้อม
กระเป๋า กระเช้า ที่มีลวดลายสวยงาม ควบคู่กับ ทางธรรมชาติ พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ จนกลายเป็น
การอนุ รั ก ษ์ ล วดลายดั้ ง เดิ ม ที่ ไ ด้ รั บ การถ่ า ยทอด สินค้า OTOP มีตลาดรองรับที่มั่นคงทั้งในประเทศ
สืบต่อกันมาอย่างยาวนานแต่ครั้งอดีต และต่ า งประเทศ เช่ น ญี่ ปุ่ น สหรั ฐ อเมริ ก า

36
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 10 ฉบับที่ 20 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561

สวีเดน เดนมาร์ก ฮ่องกง สิงคโปร์ ทำ�ให้ชาวบ้าน จุดกำ�มะถัน นำ�ผักตบชวามากองไว้ด้านบนแล้ว


โดยเฉพาะกลุ่ ม สตรี มี อ าชี พ เสริ ม รายได้ ใ ห้ กั บ จุ ด กำ�มะถั น กั บ กาบมะพร้ า ว นำ�พลาสติ ก คลุ ม
ครอบครัว ซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุด เพราะความร้อนจากกำ�มะถัน
คุณค่าทางความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของ กับแสงแดดจะช่วยไล่ความชื้นได้หมด และทำ�ให้
พื้นที่ (Rarity and Unique Value) กระบวนการ ผักตบชวามีสีขาวมากขึ้น จากนั้นนำ�ออกตากแดด
ผลิ ต กลุ่ ม จั ก สานผั ก ตบชวาบ้ า นบางตาแผ่ น อีก 2 วัน เพื่อให้แห้งสนิท ไม่มีกลิ่นกำ�มะถัน
มี วิ ธี ก ารอบผั ก ตบชวาตามภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น และป้ อ งกั น เชื้ อ รา นอกจากนี้ เอกลั ก ษณ์ ข อง
ซึ่ ง ไม่ ต้ อ งใช้ ตู้ อ บ โดยวิ ธี ที่ 1 คื อ อบในโอ่ ง จั ก สานผั ก ตบชวาบ้ า นบางตาแผ่ น อี ก อย่ า ง
โดยใส่ ผั ก ตบชวา ปิ ด ฝาโอ่ ง และจุ ด กำ�มะถั น คือ การใช้สีย้อมจากธรรมชาติ คือ ขมิ้น ใบสัก
อบวันละ 2 ครั้ง คือ เช้าและเย็น จำ�นวน 3 วัน และดอกอัญชัญ ซึ่งการย้อมวัสดุที่ใช้ในการจักสาน
แต่วิธีนี้จะได้จำ�นวนผักตบชวาน้อย วิธีที่ 2 คือ ด้วยสีธรรมชาติเป็นที่ต้องการของลูกค้าต่างชาติ
อบโดยใช้ พ ลาสติ ก หนาคลุ ม กลางแดด โดยทำ� โดยเฉพาะลูกค้าจากประเทศญี่ปุ่น
โครงไม้ ห รื อ เหล็ กในโรงเรื อ น ส่ ว นล่ า งทำ�ที่ ไ ว้

(ก)
(ก) (ข)
(ข)

ภาพที ั ัญญาในการอบผักกตบชวา
ภาพที่ ่ 33 ภูภูมมปิ ิปญญาในการอบผั ตบชวา

ทีที่ม่มา: ฐิติมา อังงกุกุรรวัวัชชรพัรพันธุน์.ธุ(25


์ . (25ธัธันนวาคม
วาคม2560).
2560). โครงการวิ
โครงการวิ จัยจเรืัย่อเรืง ่ อการพั
ง การพั ฒ นาการท่
ฒนาการท่ องเที่ยอวงเที่ย ว
เชิงสร้เชิางสรรค์
งสร้างสรรค์
เพื่อเพิเพืม่ ่อคุเพิณ่มค่คุาณทางการท่
ค่าทางการท่
องเทีองเที ่ยวบนฐานภู
ย่ วบนฐานภู มปิ มญั ิปญาท้
ัญญาท้ องถิ
องถิ ่นในจังหวั
น่ ในจั งหวัดดอ่อ่าางทอง. งทอง.กลุกลุ่ม่มจักจักสานผั
สานผักกตบชวา
ตบชวาบ้านนบางตาแผ่
บ้านบางตาแผ่ ตาบลคลองวั น ตำ�บลคลองวั
ว จังหวัดอ่าวงทอง จังหวั[8]
ดอ่างทอง. [8]

2.2. รู
รูปปแบบการท่
แบบการท่ อ งเที
องเที ่ ย วเชิ
่ยวเชิ งสร้งาสร้ เพื่อเพิ่มคุการศึ
า งสรรค์
งสรรค์ ณค่ากทางการท่
ษามาวิเคราะห์ องเทีร่ยูปวบนฐานภู
แบบของการท่
มิปญั อญาท้ งเที่ยอวงถิ่นใน
จังหวัเพื
ดอ่่อาเพิ
งทอง่มคุณค่าทางการท่องเที่ยวบนฐานภูมิปัญญา เชิงสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มคุณค่าการท่องเที่ยวบนฐาน
ท้องถิจากการสั
่นในจังหวังดเกตแบบมี
อ่างทอง ส่ว นร่ ว มในพื้น ที่แ ละการสั ภูมมิปภาษณ์
ัญญาท้เอชิงถิง ลึ่นกในจั
กับงหวั ดอ่างทอง ่ มทัหั้งตนี้ถกรรมจั
ประธานกลุ คำ�ว่ารูป ก สาน
ชาวบ้านในชุ จากการสั
มชน ผูป้ งระกอบการธุ
เกตแบบมีรสกิ่ วจนร่ ว มในพื
ท่องเที ่ าทีแบบ
ย่ ว เจ้้ นาทีหน้ ภ่ าครั(Model)
ฐทีเ่ กีย่ วข้ในที
องกั่นบี้หการพั
มายถึฒง นาแหล่
กลไกในการจั
งท่องเที ดการ
ย่ ว ผูว้ จิ ยั
และการสั ม ภาษณ์ เ ชิ ง ลึ ก กั บ ประธานกลุ ่ ม หั ต ถกรรม ท่ อ งเที ย
่ วเชิ ง
ได้นาข้อมูลจากการศึกษามาวิเคราะห์รปู แบบของการท่องเทีย่ วเชิงสร้างสรรค์เพื่อเพิม่ คุณค่าการท่องเทีย่ วบนฐาน สร้ า งสรรค์ ซึ ง
่ ประกอบด้ ว ย
จักสาน ชาวบ้านในชุมชน ผู้ประกอบการธุรกิจ 1. องค์ประกอบของการท่องเทีย่ วเชิงสร้างสรรค์
ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นในจังหวัดอ่างทอง ทัง้ นี้ คาว่ารูปแบบ (Model) ในที่น้ีหมายถึง กลไกในการจัดการท่องเที่ยว
ท่ อ งเที่ ย ว เจ้ า หน้ า ที่ ภ าครั ฐ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สามารถแบ่งได้เป็น 5 องค์ประกอบ คือ
เชิงสร้างสรรค์ ซึง่ ประกอบด้วย
การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ผู้วิจัยได้นำ�ข้อมูลจาก
1. องค์ประกอบของการท่องเทีย่ วเชิงสร้างสรรค์ สามารถแบ่งได้เป็ น 5 องค์ประกอบ คือ
1.1 ทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ พบว่า กลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่และหวายบางเจ้าฉ่ า
และกลุ่มจักสานผักตบชวาบ้านบางตาแผ่น มีความโดดเด่นในเรื่องของวัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ด้า37 นงาน
จักสาน ซึง่ เป็ นหัตถกรรมพื้นบ้าน โดยการนาไม้ไผ่และผักตบชวา ซึง่ เป็ นทรัพยากรในท้องถิ่น มาสร้างสรรค์เป็ น
งานหัตถกรรม และเป็ นแหล่งเรียนรูก้ ารทาเครื่องจักสานสาหรับนักท่องเทีย่ ว นอกจากนี้ในตาบลบางเจ้าฉ่ า ยังมี
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 10 ฉบับที่ 20 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561

1.1 ทรัพยากรการท่องเทีย่ วเชิงสร้างสรรค์ โดยสามารถแบ่ ง เป็ น ฐานการเรี ย นรู้ ได้ แ ก่


พบว่า กลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่และหวายบาง ฐานการเรี ย นรู้ ง านจั ก สาน ฐานการเรี ย นรู้ ก าร
เจ้ า ฉ่ า และกลุ่ ม จั ก สานผั ก ตบชวาบ้ า นบาง ทำ�ขนมไทย และฐานการเรี ย นรู้ เ กษตรอิ น ทรี ย์
ตาแผ่ น มี ค วามโดดเด่ นในเรื่ อ งของวั ฒ นธรรม สำ�หรับฐานการเรียนรูง้ านจักสานสำ�หรับนักท่องเทีย่ ว
และภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ด้ า นงานจั ก สาน ซึ่ ง เป็ น มี ก า ร ส อ น ทำ� จั ก ส า น ทั้ ง ใ น ร ะ ดั บ ที่ ง่ า ย
หัตถกรรมพื้นบ้าน โดยการนำ�ไม้ไผ่และผักตบชวา และยากแล้วแต่ความประสงค์และระยะเวลาของ
ซึ่ ง เป็ น ทรั พ ยากรในท้ อ งถิ่ น มาสร้ า งสรรค์ นักท่องเที่ยว ทั้งนี้ เป็นการสร้างทางเลือกให้กับ
เป็นงานหัตถกรรม และเป็นแหล่งเรียนรู้การทำ� นักท่องเที่ยวแต่ละกลุ่ม เพราะนักท่องเที่ยวอาจมี
เครื่ อ งจั ก สานสำ�หรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว นอกจากนี้ ความสนใจหรือความสามารถในการทำ�กิจกรรม
ในตำ�บลบางเจ้าฉ่า ยังมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร แตกต่างกัน และหลักจากที่นักท่องเที่ยวได้ลงมือ
ซึ่ ง เป็ น สวนเกษตรอิ น ทรี ย์ ที่ มี ผ ลไม้ พื้ น บ้ า น ทำ�เองแล้วยังได้ผลิตภัณฑ์ฝีมือของตัวเองกลับไป
ขึ้นชื่อ คือ กระท้อน มะปราง มะยงชิด ที่เป็นพันธุ์ เป็นของที่ระลึกด้วย จะเห็นได้ว่ากิจกรรมการท่อง
เฉพาะถิ่นของบางเจ้าฉ่า รวมถึงมีที่พักโฮมสเตย์ เที่ยวทั้งสองแห่งเอื้อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ในชุ ม ชนบริ ก ารสำ�หรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว เหล่ า นี้ ข้ามวัฒนธรรมผ่านการมีส่วนร่วม ด้วยการลงมือ
เป็ น องค์ ป ระกอบพื้ น ฐานที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด การท่ อ ง ปฏิ บั ติ ทำ�ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ รั บ ประสบการณ์
เที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ เนื่ อ งด้ ว ยการท่ อ งเที่ ย ว ทั้ ง การเรี ย นรู้ แ ละทดลอง ซึ่ ง เป็ น ประสบการณ์
เชิงสร้างสรรค์เป็นการสร้างกิจกรรมหรือผลิตภัณฑ์ พื้ น ฐ า น ข อ ง ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง ส ร้ า ง ส ร ร ค์
จากภู มิ ปั ญ ญาดั้ ง เดิ ม ของท้ อ งถิ่ น ทั ก ษะและ ขณะเดียวกันกิจกรรมเหล่านี้ยังช่วยให้นักท่องเที่ยว
ประสบการณ์ ด้ า นวั ฒ นธรรมที่ เ กิ ด จากการ ที่ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมมี ค วามเข้ า ใจอย่ า งลึ ก ซึ้ ง
เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย ว คื อ สิ น ค้ า ในลักษณะพิเศษของแหล่งท่องเทีย่ ว ทัง้ ยังก่อให้เกิด
หรื อ ทรั พ ยากรการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ การเดินทางมาเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยวและซื้อของ
ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ แนวคิ ด ของการท่ อ งเที่ ย ว ที่ระลึกจากหน้าร้านของทั้งสองแหล่งอีกด้วย
เชิงสร้างสรรค์ทป่ี รับเปลีย่ นจากวัฒนธรรมทีจ่ บั ต้องได้
(Tangible Cultural Resources) ไปสู่ทรัพยากร
ทางวัฒนธรรมที่เป็นนามธรรม (Intangible Cultural
Resources)
1.2 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
จากการสัมภาษณ์เชิงลึกประธานกลุ่มหัตถกรรม
จั ก สาน และชาวบ้ า นที่ ป ระกอบอาชี พ จั ก สาน
พบว่ า กลุ่ ม จั ก สานผั ก ตบชวาบ้ า นบางตาแผ่ น
มี กิ จ กรรมสำ�หรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว โดยการสอน
ก า ร จั ก ส า น ง า น หั ต ถ ก ร ร ม จ า ก ผั ก ต บ ช ว า
โดยนักท่องเที่ยวสามารถเรียนรู้กระบวนการทำ�ชิ้น
งานตั้งแต่การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์จนกระทั่งสำ�เร็จเป็น
ชิ้นงาน ส่วนกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่และหวาย
บางเจ้าฉ่า มีกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์

38
ร่วม ด้วยการลงมือปฏิบตั ิ ทาให้นักท่องเที่ยวได้รบั ประสบการณ์ทงั ้ การเรียนรู้และทดลอง ซึ่งเป็ นประสบการณ์
พืน้ ฐานของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันกิจกรรมเหล่านี้ยงั ช่วยให้นักท่องเที่ยวทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมมี
ความเข้าใจอย่างลึกซึง้ ในลักษณะพิเศษของแหล่งท่องเทีย่ ว ทัง้ ยังก่อให้เกิดการเดินทางมาเยีย่ มชมแหล่งท่องเทีย่ ว
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 10 ฉบับที่ 20 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561
และซือ้ ของทีร่ ะลึกจากหน้าร้านของทัง้ สองแหล่งอีกด้วย

(ก)
(ก) (ข)
(ข)

ภาพที ่ 4่ กิ4จกรรมการเรี
ภาพที ยนรูยนรู
กิจกรรมการเรี ว้ ธิ ้วที ิธาจั กสานไม้
ีทำ�จั กสานไม้ไผ่ไแผ่ละผั
และผักกตบชวา
ตบชวา

ที่มทีา:่มา:ฐิตฐิิ มตาิมาอังอักุงรกุวัรชวัชรพั
รพันนธุธุ์ . (23
(23ธันธันวาคม
วาคม 2560).
2560).โครงการวิ
โครงการวิจ ัยเรืเรื่อ่ องง การพั
การพัฒฒนาการท่
นาการท่ อ งเที
องเที ่ยว ่ ย ว
เชิงสร้าเชิงสรรค์ เพื่อเพิเพื่ม่อคุเพิณ่มค่คุาณทางการท่
งสร้างสรรค์ ค่าทางการท่ องเที
องเที ่ยวบนฐานภูมมิปิปญั ัญญาท้องถิ
่ยวบนฐานภู งถิ่น่นในจั
ในจังหวั
งหวั ดอ่ดาอ่งทอง.
างทอง.หมูหมู ่บ้ากนจั
่บ้านจั สานกสาน
ผลิตภัณผลิ
ฑ์ตไม้ภัไณผ่ฑ์และหวาย
ไม้ไผ่และหวาย ตาบลบางเจ้ าฉ่า จัางฉ่หวั
ตำ�บลบางเจ้ า ดจัอ่งหวั
างทอง [7] [7]
ดอ่างทอง.

1.3
1.3 นักท่อนังเทีกท่อย่ งเที
วเชิ่ยงวเชิ
สร้างงสรรค์
สร้างสรรค์ พบว่าพบว่ กลุ่มา จักสานผลิ
บ้ า นบางตาแผ่
ตภัณฑ์ไม้นไผ่มีแกละหวายบางเจ้
ารรวมกลุ่ ม ของผู าฉ่ า้ ปและกลุ
ระกอบ่มจัก
กลุ่มจักสานผลิ
สานผักตบชวาบ้ านบางตาแผ่ตภัณฑ์นไม้จะมี ไผ่แนละหวายบางเจ้
กั ท่องเทีย่ วเฉพาะกลุ าฉ่า ่มทีการอย่
ส่ นใจ าเช่งชันดกลุ เจน่มศึและมี
กษาดูกงารสร้
าน กลุ างเครื
่มนักอเรีข่ยานยความ
นักศึกษา
และกลุ ่ ม จั ก สานผั ก ตบชวาบ้ า นบางตาแผ่ น จะมี ร่ ว มมื อ กั บ
และนักท่องเทีย่ วทีเ่ ดินทางมาด้วยตนเองเป็ นกลุ่มเล็กๆ ทัง้ นี้ ข้อจากัดของแหล่งท่องเทีย่ ว คือ จานวนของปราชญ์ หน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน รวมถึ ง
ชาวบ้านนักหรื ท่อองเที
วิทย่ ยากรที
วเฉพาะกลุ ม่ ทีส่ นใจคเช่าแนะน
่จะคอยให้ น กลุม่ ศึาระหว่
กษาดูงาาน งการทสถาบั
ากิจกรรมจั น การศึ กสาน ก ษาเพื ่ อ ให้ ค วามรู
นอกจากนี ้ ยัง้ พบว่
ใ นการพั
ายังฒ ไม่นา
มีกลุ่ม
กลุ ม
่ นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา และนั ก ท่ อ งเที ย
่ วที เ
่ ดิ น ทาง สิ น ค้ า กลยุ ท
นักท่องเทีย่ วทีม่ าจากบริษทั นาเทีย่ ว เนื่องจากข้อจากัดในเรื่องของเวลา อย่างไรก็ตาม นักท่องเทีย่ วทีเ่ ข้ามาเรียนรู้ ธ์ ก ารตลาด รวมถึ ง การพั ฒ นา
มาด้วยตนเองเป็
ของทัง้ สองแห่ งสามารถเลื นกลุอ่กสรรกิ
มเล็กๆจกรรมที
ทั้งนี้ ข้่เอหมาะสมและสอดคล้
จำ�กัดของ การท่อองกังเที ่ ย วเชิ งอสร้
บความต้ า งสรรค์ ที่ เ ป็ นสามารถค้
งการของตนเอง รู ป ธรรมนหา
ความริเแหล่
ริม่ สร้งท่างสรรค์
องเที่ยวของตนเอง คือ จำ�นวนของปราชญ์
ทาให้นักท่องเที ชาวบ้ านทาความรู
ย่ วได้ และการพัจ้ กั ชื่นฒชม นาสิและเข้
่งอำ�นวยความสะดวกพื
าใจจิตวิญญาณของพื ้นฐานแก่
น้ ที่ อย่าง
แท้จริง หรื อ วิ ท ยากรที ่ จ ะคอยให้ ค ำ�แนะนำ�ระหว่ า ง นั ก ท่ อ งเที ย
่ ว
การทำ�กิ1.4 จผูกรรมจั กสาน นอกจากนี
้ป ระกอบการท่ อ งเที่ย้ วเชิ
ยังพบว่
ง สร้าายังสรรค์
งไม่มี เป็ น ป จ ั จัย1.5 ส าคัชุญมของการขั
ชนเชิงสร้าบงสรรค์ พบว่า กลุ่ม จ
เคลื่อ นระบบเศรษฐกิ
กลุ่มนักท่องเที่ยวที่มาจากบริษัทนำ�เที่ยว เนื่องจาก หั ต ถกรรมจั ก สานทั้ ง สองแห่ ง มี ก ารรวมกลุ่ ม ของ
สร้างสรรค์ เนื่องจากผู้ประกอบการเป็ นผู้นาความคิดเชิงสร้างสรรค์ ทัง้ นี้ กลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่และหวาย
ข้อจำ�กัดในเรือ่ งของเวลา อย่างไรก็ตาม นักท่องเทีย่ ว สมาชิ กในชุ ม ชน โดยมี ป ระธานกลุ่ ม ประจำ�อยู่
บางเจ้าฉ่ า และกลุ่มจักสานผักตบชวาบ้านบางตาแผ่น มีการรวมกลุ่มของผูป้ ระกอบการอย่างชัดเจน และมีการ
ที่เข้ามาเรียนรู้ของทั้งสองแห่งสามารถเลือกสรร ในแหล่งท่องเที่ยว เมื่อมีกิจกรรมการท่องเที่ยว
สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่ วยงานภาครัฐ และเอกชน รวมถึงสถาบันการศึกษาเพื่อ ให้ความรูใ้ นการพัฒนา
กิจกรรมที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการ ซึ่ ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วจะต้ อ งติ ด ต่ อ แจ้ ง ความประสงค์
สินค้า กลยุทธ์การตลาด รวมถึงการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ทเ่ี ป็ นรูปธรรม และการพัฒนาสิง่ อานวย
ของตนเอง สามารถค้นหาความริเริ่มสร้างสรรค์ ในการเข้าชมและเรียนรู้ล่วงหน้า จะมีประธานกลุ่ม
ของตนเอง ทำ�ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ ทำ�ความรู้ จั ก และสมาชิกในกลุ่มที่มีความพร้อมในการถ่ายทอด
ชื่นชม และเข้าใจจิตวิญญาณของพื้นที่อย่างแท้จริง องค์ความรู้ระหว่างการทำ�กิจกรรมการท่องเที่ยว
1.4 ผูป้ ระกอบการท่องเทีย่ วเชิงสร้างสรรค์ เชิงสร้างสรรค์กับนักท่องเที่ยว และรับผลประโยชน์
เป็นปัจจัยสำ�คัญของการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ จากการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ตามการบริหาร
สร้างสรรค์ เนื่องจากผู้ประกอบการเป็นผู้นำ�ความ จัดการภายในกลุ่ม
คิดเชิงสร้างสรรค์ ทั้งนี้ กลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่ 2. การนำ�เสนอคุณสมบัติของการท่องเที่ยว
และหวายบางเจ้าฉ่า และกลุ่มจักสานผักตบชวา เชิงสร้างสรรค์ ได้แก่

39
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 10 ฉบับที่ 20 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561

2.1 คุ ณ สมบั ติ เ ชิ ง พื้ น ที่ ได้ แ ก่ ความ การท่องเที่ยว เช่น การสาธิต และการจัดจำ�หน่าย
โดดเด่นทางวัฒนธรรมของกลุ่มหัตถกรรมจักสาน สินค้า
ในจั ง หวั ด อ่ า งทอง ทั้ ง คุ ณ ค่ า ทางประวั ติ ศ าตร์ 3.2 การประชาสั ม พั น ธ์ แ ละสื่ อ ความ
คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ คุณค่าทางสังคม คุณค่า หมายด้านการท่องเที่ยว เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม
ทางการศึ ก ษา คุ ณ ค่ า ทางจิ ต วิ ญ ญาณ คุ ณ ค่ า และกิจกรรมการท่องเที่ยวให้กับนักท่องเที่ยว
ทางเศรษฐกิ จ และคุ ณ ค่ า ความเป็ น เอกลั ก ษณ์ 3.3 การสร้างเสริมคุณค่าให้กับผลิตภัณฑ์
เฉพาะตัวของพื้นที่ การท่องเที่ยว เช่น การสร้างมิติเชิงคุณค่าในงาน
2.2 คุณสมบัติเชิงกระบวนการ ได้แก่ หัตถกรรม โดยการให้นักท่องเที่ยวชมการสาธิต
2.2.1 การสร้ า งกิ จ กรรมการแลก กระบวนการผลิ ต เพื่ อ สร้ า งการรั บ รู้ ห รื อ ความ
เปลี่ยนเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม เพื่อให้นักท่องเที่ยว ตระหนั ก ในคุ ณ ค่ า ของสิ น ค้ า ทั้ ง นี้ กิ จ กรรม
มีโอกาสเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความคิด รวมถึง สร้างสรรค์ประกอบด้วย การเที่ยวชม กิจกรรม
มี ป ระสบการณ์ ต รงร่ ว มกั บ คนในชุ ม ชนซึ่ ง เป็ น ที่เกิดจากการเรียนรู้ และกิจกรรมที่เกิดจากการ
เจ้ า ของวั ฒ นธรรม ทั้ ง นี้ ควรจั ด กิ จ กรรมเป็ น ก ทดสอบหรือทดลองปฏิบัติ เช่น การลงมือทำ�เครื่อง
ลุ่มขนาดเล็ก โดยเน้นคุณภาพและประสบการณ์ จักสานด้วยตนเอง และการจับจ่ายใช้สอย เช่น
ทีน่ กั ท่องเทีย่ วจะได้รบั มากกว่าจำ�นวนนักท่องเทีย่ ว การเดินทางมาเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยวและซื้อของ
2.2.2 การมี ส่ ว นร่ ว มของชุ ม ชน ที่ระลึกจากหน้าร้านของสถานที่ท่องเที่ยว
โดยการดำ�เนิ น การของคนในชุ ม ชนเป็ น หลั ก การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ เพิ่ ม คุ ณ ค่ า
โดยกลุ่มจักสานผักตบชวาบ้านบางตาแผ่น มีการ การท่องเที่ยวบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นในจังหวัด
รวมกลุ่ ม อาชี พ จั ก สานผั ก ตบชวา โดยสมาชิ ก อ่ า งทอง ถื อ เป็ น กระบวนทั ศ น์ ใ หม่ แ ละเป็ น
ซึ่ ง เป็ น ชาวบ้ า นในชุ ม ชนเพื่ อ ผลิ ต เครื่ อ งจั ก สาน ทางเลือกใหม่ข องการท่องเที่ย ว โดยการนำ�ทุน
และให้ ค วามรู้ สำ�หรั บ กิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย ว ทางวั ฒ นธรรมและทรั พ ยากรที่ มี อ ยู่ ใ นชุ ม ชนที่ มี
เชิงสร้างสรรค์แก่นักท่องเที่ยว ศักยภาพนำ�มาปรับใช้เป็นกิจกรรมการท่องเที่ยว
2.2.3 การสนับสนุนจากหน่วยงาน เชิงสร้างสรรค์ที่เปิดโอกาสให้เกิดการแลกเปลี่ยน
ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ได้ แ ก่ หน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ ส่ ง เสริ ม เรี ย นรู้ ข้ า มวั ฒ นธรรมระหว่ า งนั ก ท่ อ งเที่ ย ว
การท่ อ งเที่ ย วและผู้ ป ระกอบการท่ อ งเที่ ย ว เชิงสร้างสรรค์กับผู้ที่เป็นเจ้าของบ้าน นอกจากนี้
เพื่ อให้ ก ารสนั บ สนุ นให้ ค นในชุ ม ชนได้ รั บ ความรู้ การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ ยั ง เป็ น เครื่ อ งมื อ
และทั ก ษะในการพั ฒ นาหั ต ถกรรมจั ก สาน สำ�คั ญในการอนุ รั ก ษ์ คุ ณ ค่ า ของมรดกวั ฒ นธรรม
ให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน รวมถึงให้ความช่วย ของชุ ม ชน ขณะเดี ย วกั น ก็ ช่ ว ยสร้ า งมู ล ค่ า
เหลือด้านการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเชิง ในเชิงเศรษฐกิจให้กับคนในชุมชน ส่งผลต่อความ
สร้างสรรค์ สมดุลของเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่ง
3. ก า ร ดำ� เ นิ น ก า ร ข อ ง ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว แวดล้อมของชุมชน ซึ่งเป็นเป้าหมายสำ�คัญของ
เชิงสร้างสรรค์ในจังหวัดอ่างทอง การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
3.1 การตั้ ง ศู น ย์ เ รี ย นรู้ แ ละให้ ข้ อ มู ล
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เพื่อจัดรวบรวมข้อมูล สรุปและอภิปรายผล
เกี่ยวกับชุมชน ได้แก่ ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ การสำ�รวจและประเมินคุณค่าทางวัฒนธรรม
การตั้งถิ่นฐาน ประเพณี วัฒนธรรม และกิจกรรม ของกลุ่ ม จั ก สานผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ม้ ไ ผ่ และหวายบาง
ต่ า งๆ ในชุ ม ชน รวมถึ ง การดำ�เนิ น การด้ า น เจ้าฉ่า และกลุ่มจักสานผักตบชวาบ้านบางตาแผ่น

40
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 10 ฉบับที่ 20 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561

จังหวัดอ่างทอง พบว่ามรดกวัฒนธรรมของพื้นที่ ก า ร นำ� เ ส น อ คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว


มีคุณค่าทั้งคุณค่าด้านสุนทรียศาสตร์ คุณค่าด้าน เชิงสร้างสรรค์ และการดำ�เนินการของการท่องเทีย่ ว
ประวั ติ ศ าสตร์ คุ ณ ค่ า ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ / คุ ณ ค่ า เชิงสร้างสรรค์ในจังหวัดอ่างทอง โดยเป็นรูปแบบ
ด้ า นการศึ ก ษา คุ ณ ค่ า ด้ า นสั ง คม คุ ณ ค่ า ด้ า น การจัดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์โดยคนในชุมชน
จิ ต วิ ญ ญาณ คุ ณ ค่ า ด้ า นเศรษฐกิ จ และคุ ณ ค่ า ซึ่งเริ่มจากผู้นำ�ชุมชนและประธานกลุ่มหัตถกรรม
ด้ า นความเป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะตั ว ของพื้ น ที่ จั ก สานที่ มี ค วามรู้ เข้ า ใจหลั ก การและวิ ธี ก าร
เห็ นได้ จ ากรู ป แบบและลวดลายของงานจั ก สาน ของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ โดยมีชาวบ้าน
ทีเ่ ป็นสอดคล้องกับวิถชี วี ติ ของผูค้ น สะท้อนภูมปิ ญั ญา เข้าร่วมในแต่ละกลุ่ม เช่น กลุ่มจักสาน กลุ่มจัด
และเอกลั ก ษณ์ ข องท้ อ งถิ่ น ทั้ ง การเลื อ กใช้ วั ส ดุ กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ กลุ่มวิทยากร กลุ่มจำ�หน่าย
กระบวนการผลิต และออกแบบลวดลายที่แสดงถึง สินค้าและของที่ระลึก กลุ่มบริการที่พักโฮมสเตย์
การอนุรักษ์จากลวดลายดั้งเดิม โดยแต่ ล ะกลุ่ ม ทำ�งานประสานกั น กั บ กลุ่ ม ต่ า งๆ
ด้านรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ทำ�ให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ขึ้นในชุมชน
ของกลุม่ จักสานผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่และหวายบางเจ้าฉ่า สอดคล้องกับรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
และกลุ่ม จักสานผักตบชวาบ้านบางตาแผ่น จังหวัด เพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ วั ฒ นธรรมของกลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์
อ่างทอง พบว่ามีรูปแบบการท่องเที่ยวและกิจกรรม ในจังหวัดศรีสะเกษ ที่ยึดหลักการและแนวคิดของ
การท่องเที่ยวที่สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว ริชาร์ด UNESCO เป็นหลักในการพิจารณารูปแบบ
เชิงสร้างสรรค์ โดยเฉพาะกิจกรรมการท่องเที่ยว ซึ่งมีองค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
สำ�หรับนักท่องเที่ยวที่สามารถสร้างความผูกพัน/ คื อ 1) สิ่ ง ดึ ง ดู ด ใจที่ เ ป็ น ทุ น ทางวั ฒ นธรรม
เข้าใจอย่างลึกซึ้ง/จดจําประทับใจ สามารถแลก ด้านบุคคล ด้านองค์กรสนับสนุน 2) คุณลักษณะ
เปลี่ยนเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม/ส่งผ่านประสบการณ์ ของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ที่นำ�เสนอความ
ยั ง ผลให้ เ กิ ด ประสบการณ์ จ ากการมี ส่ ว นร่ ว ม/ โดดเด่นของกิจกรรมทางวัฒนธรรม และให้ชุมชน
เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมมากกว่ า เป็ น ผู้ ช ม/มี โ อกาส ท้องถิ่นและทุกฝ่ายมีส่วนร่วม 3) ด้านกระบวนการ
สร้ า งสรรค์ ผ ลงานของตน และเป็ น กิ จ กรรมที่ มี โดยการหาอัตลักษณ์ของชุมชน ออกแบบบริหาร
ความจริงแท้ทั้งในกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ กิจกรรมการท่องเที่ยว และประชาสัมพันธ์เผยแพร่
ซึ่งเป็นคุณสมบัตสิ ําคัญของการเป็นกิจกรรมที่จะนํา [9]
ไปสู่ ก ารท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ ไ ด้ สอดรั บ กั บ ทั้ ง นี้ กระบวนการของการสร้ า งสรรค์ ท าง
นิยามความหมายของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ควรเน้นความร่วมมือของคนในชุมชน
ขององค์ ก ารบริ ห ารการพั ฒ นาพื้ น ที่ พิ เ ศษ ซึ่ ง เป็ น ปั จ จั ย สำ�คั ญ ประการหนึ่ ง ของแนวคิ ด
เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ สอดคล้ อ งกั บ การ
ซึ่งแต่ละกิจกรรมมีความโดดเด่นและมีความเป็น ศึ ก ษาต้ น แบบการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ ข อง
เอกลักษณ์ รวมไปถึงที่มาที่ไปของความจริงแท้ อพท. ร่วมกับคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
ซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถมาสัมผัสแลกเปลี่ยนเรียน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งพบว่าปัจจัยภายใน
รู้กับกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ผ่านการทําความเข้าใจ คือ ภายในชุมชนและภายในจิตใจของคนท้องถิ่น
และทําให้เกิดความลึกซึ้ง ผูกพันแตกต่างจากการ ที่ พ ร้ อ มที่ จ ะเปิ ด พื้ น ที่ ท่ อ งเที่ ย วของตนเอง
ท่องเที่ยวที่ผ่านมา ทั้งนี้ รูปแบบการท่องเที่ยว จะเป็ น จุ ด เริ่ ม ที่ จ ะเปิ ด โอกาสให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว
เชิงสร้างสรรค์ในจังหวัดอ่างทอง ประกอบด้วย 3 ส่วน เข้ า มาร่ ว มแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ใ นท้ อ งถิ่ น
คือ องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ความคิ ด ของคนในท้ อ งถิ่ น ที่ จ ะสร้ า งสรรค์ ท าง

41
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 10 ฉบับที่ 20 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561

วัฒนธรรมเป็นสิ่งสำ�คัญยิ่งที่จะทำ�ให้เกิดอัตลักษณ์ ความรู้ สึ ก รั ก ต่ อ วั ฒ นธรรมและพื้ น ที่ ข องตนเอง


ทางการท่องเที่ยวของแต่ละท้องที่ซึ่งจะช่วยทำ�ให้ ดังนั้น คนท้องถิ่นและความคิดในชุมชนท้องถิ่น
เกิ ด การสร้ า งสิ่ ง ใหม่ ๆ และสร้ า งความเข้ า ใจ จึงเป็นปัจจัยพืน้ ฐานสำ�คัญของรูปแบบการท่องเทีย่ ว
ต่อจิตวิญญาณของสถานที่นั้นๆ [10] การที่ชุมชน เชิงสร้างสรรค์ที่จะนำ�ไปสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
สร้ า งสรรค์ กิ จ กรรมทางการท่ อ งเที่ ย วและการ ต่อไป
บริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรการท่ อ งเที่ ย วด้ ว ย

เอกสารอ้างอิง
[1] นรินทร์ สังข์รักษา; และ สมชาย ลักขณานุรักษ์. (2552). การวิจัยเพื่อพัฒนาและยกระดับ
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
อย่างยัง่ ยืนในจังหวัดราชบุร.ี ใน รายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.
นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
[2] บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิชาการ
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
[3] Richards, G. (2010). Creative Tourism and Local Development. In Wurzburger R; et al.
Creative Tourism: A Global Conversation: How to Provide Unique Creative Experiences
for Travelers Worldwide. Santa Fe: Sunstone Press.
[4] ภูริวัจน์ เดชอุม่ . (2556, กรกฎาคม-ธันวาคม). การพัฒนาการท่องเทีย่ วเชิงสร้างสรรค์: กรอบแนวคิด
สู่แนวทางปฏิบัติสำ�หรับประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. 33(2): 357.
[5] Richards; and Raymond. (2000). Creative Tourism. ATLAS: News. 23: 16-20.
[6] สำ�นักงานจังหวัดอ่างทอง. (2560). แผนพัฒนาจังหวัดอ่างทอง พ.ศ. 2557-2560. สืบค้นเมื่อ
22 มีนาคม 2560, จาก http://www.angthong.go.th/planproject/plan58.pdf
[7] ฐิติมา อังกุรวัชรพันธุ์. (2560, 23 ธันวาคม). โครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนาการท่องเที่ยว
เชิงสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มคุณค่าทางการท่องเที่ยวบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นในจังหวัดอ่างทอง.
หมู่บ้านจักสานผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่และหวาย ตำ�บลบางเจ้าฉ่า จังหวัดอ่างทอง.
[8] ฐิติมา อังกุรวัชรพันธุ์. (2560, 25 ธันวาคม). โครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนาการท่องเที่ยว
เชิงสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มคุณค่าทางการท่องเที่ยวบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นในจังหวัดอ่างทอง.
กลุ่มจักสานผักตบชวาบ้านบางตาแผ่น ตำ�บลคลองวัว จังหวัดอ่างทอง.
[9] ฐิตาภา บำ�รุงศิลป์. (2559). รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพื่อการอนุรักษ์วัฒนธรรมของ
กลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดศรีสะเกษ. ปริญญานิพนธ์ ปร.ด. (การจัดการการท่องเที่ยว). พะเยา:
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยพะเยา.
[10] สุดแดน วิสุทธิลักษณ์; และคณะ. (2554). ต้นแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์. ใน รายงานการวิจัย
ฉบับสมบูรณ์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

42

You might also like