You are on page 1of 313

คํานํา

หนังสือ “ การกอสรางระบบสายสง115 kV ของ กฟภ.” จัดทําขึ้นเพื่อจุดประสงคหลาย


ประการคือ ประการแรก ตองการอธิบายรายละเอียดวิธกี ารใชงานแบบมาตรฐานการกอสรางสาย
สง 115 kV เพื่อใหนําแบบไปใชไดอยางถูกตอง ประการที่สอง เพื่อใชเปนคูมืออางอิง ประกอบการ
ทํางานของพนักงานและประการที่สามสามารถใชฝกอบรมเพื่อปูพื้นฐานความรูใหแกพนักงานที่
เริ่มมาทํางานในดานนีห้ รืออบรมใหวิศวกรหรือพนักงานชางโดยทั่วไป
แบบมาตรฐานการกอสรางสายสง 115 kV ที่ปรากฏในหนังสือ สามารถสืบคนไดที่
http://intra.pea.co.th/dpss/index.html หากมีขอผิดพลาดใดๆ ก็ตามในหนังสือเลมนี้ หรือมี
ขอเสนอแนะประการใด โปรดกรุณาแจงกองมาตรฐานระบบไฟฟา ฝายมาตรฐานและความปลอดภัย
การไฟฟาสวนภูมิภาค เพื่อจะไดนํามาพิจารณาปรับปรุงแกไขในโอกาสตอไป

กองมาตรฐานระบบไฟฟา
ฝายมาตรฐานและความปลอดภัย
การไฟฟาสวนภูมิภาค
ธันวาคม 2550
โทร. 02-590-5584
โทรสาร 02-590-5811
สารบัญ
หนา
บทที่ 1 สายไฟฟา
1.1 ชนิดของสายไฟฟาที่ใชในระบบสายสงของ กฟภ. 1
1.2 จํานวนเสนลวดในสายไฟฟาและการแปลงหนวย 6
1.3 ขีดจํากัดเกี่ยวกับอุณหภูมิของสายไฟฟา (Thermal Limit) 9

บทที่ 2 ลูกถวยฉนวนไฟฟา
2.1 ลูกถวยฉนวนไฟฟาในระบบสายสง 115 kV 12
2.2 การผลิตลูกถวยฉนวนปอรซเลน 13
2.3 ชนิดลูกถวยทีใ่ ชในระบบสายสง 115 kV 27
2.4 การเลือกใชลกู ถวยฉนวนไฟฟาในระบบสายสง 115 kV 30
2.5 แบบมาตรฐานที่เกี่ยวของกับลูกถวยฉนวนไฟฟาในระบบสายสง 115 kV 37

บทที่ 3 เสา สายลอฟา ชุดยึดโยง การตอลงดินและฐานรากเสา


3.1 เสาคอนกรีตอัดแรง (Prestress Concrete Pole) 63
3.2 สายดินขึงอากาศ (Overhead Ground Wire) 69
3.3 การประกอบสายยึดโยง 75
3.4 ระบบตอลงดิน(Grounding System) 101
3.5 ฐานรากของระบบสายสง 115 kV 110

บทที่ 4 อุปกรณประกอบตางๆที่ใชงานในระบบสายสง
4.1 กราวดวายแคลมป 123
4.2 แคลมป สลัก 3 ตัว 123
4.3 เหล็กรูปรางน้าํ รับสายลอฟา 124
4.4 แผนเหล็กประกอบหัวเสา 124
4.5 อารคซิ่งฮอรน 124
4.6 แคลมปแขวน 125
4.7 สเตรนดแคลมป 126
4.8 แคลมปเขาปลายสาย 126
4.9 ขอตอแขวน แบบหัวกลม 127
4.10 ขอตอแบบ วาย-เคลวิส-บอล 127
4.11 ขอตอแบบ บอล-เคลวิส 128
4.12 แผนเหล็กแยกสาย 128
4.13 ขอตอแบบ เคลวิส-อาย 129
4.14 ขอตอแบบ ซอคเก็ต-เคลวิส 129
4.15 ทิมเบิลเคลวิส 130
4.16 กายทิมเบิ้ล 130
4.17 เหล็กฉากรับคอนสาย 131
4.18 เหล็กแขวนลูกถวยทางโคง 131
4.19 ปรีฟอรมอารเมอรรอด 132
4.20 ไวรเบรชั่นแดมเปอร 132
4.21 เหล็กประกอบโคนเสา 133
4.22 หลักดิน 133
4.23 สายดินแบบแผนเหล็ก 133
4.24 ลูกบอลแสดงแนวสาย 134
4.25 การทาสีเสาโครงเหล็ก 135

บทที่ 5 ทฤษฎีและการใชงานสําหรับแรงดึงในสายไฟฟา และโมเมนตของเสา


5.1 แรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสาย 136
5.2 ผลของแรงลมปะทะสายไฟฟา 138
5.3 แรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสายที่ระดับตางกัน 140
5.4 แรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสายที่ขึ้นกับอุณหภูมิและแรงลม 142
5.5 การกําหนดคาแรงดึงในสายที่เหมาะสม 147
5.6 การคํานวณหาคาแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสาย ตามขอกําหนด 151
5.7 การหาคาแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสายเชิงปฏิบัติ 170
5.8 ขอแนะนําในการขึงสายไฟฟา 182
5.9 การหาคาแรงลมปะทะเสาไฟฟาและปะทะสายไฟฟา 185
5.10 ความมั่นคงแข็งแรงของเสาไฟฟาคอนกรีตอัดแรง (คอร.) 187
5.11 การคํานวณความมั่นคงแข็งแรงของเสาไฟฟาคอนกรีตอัดแรง (คอร.) 194
บทที่ 6 ระยะหางทางไฟฟา
6.1 ระยะหางต่ําสุดในแนวระดับระหวางสายไฟฟากับสิ่งปลูกสราง
ตามตารางที่ 6-1 205
6.2 ระยะหางต่ําสุดตามแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับพื้น
แหลงน้ํา อาคารหรือสิ่งกอสรางอื่นๆ 208
6.3 ระยะหางต่ําสุดในแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับสายอื่นๆ
ตามตารางที่ 6-3 และ 6-4 214
6.4 ระยะหางนอยที่สุดระหวางสายไฟฟาหรือสายอืน่ ๆ กับสิ่งกอสราง
ตามตารางที่ 6-5 215
6.5 ระยะหางทางไฟฟาระหวางสายไฟฟาของ กฟภ. กับ สายไฟฟาของ กฟผ. 216
6.6 การตัดตนไมสําหรับแนวสายสง 115 kV 217
6.7 การกําหนดระยะหางความปลอดภัยนอกเหนือจากที่กําหนดในแบบมาตรฐาน 218

บทที่ 7 การใชงานแบบมาตรฐานการกอสรางระบบสายสง 115 kV ของ กฟภ.


7.1 แบบมาตรฐาน “ ระยะหางระหวางชวงเสาของโครงสรางสายสง 115 kV
(กรณีทกี่ อสรางระบบจําหนาย 22,33 kV ใตแนวสายสง 115 kV)
โครงสรางเสาสําหรับทางตรงและทางโคง ” แบบเลขที่ SA1-015/48001
(การประกอบเลขที่ 5151) 225
7.2 แบบมาตรฐาน “ ระยะหางระหวางชวงเสาของโครงสรางสายสง 115 kV
(กรณีทกี่ อสรางระบบจําหนาย 22,33 kV ใตแนวสายสง 115 kV)
โครงสรางเสา สําหรับทางโคง 90O ” แบบเลขที่ SA1-015/47009
(การประกอบเลขที่ 5161) 274
7.3 แบบมาตรฐาน “ ระยะหางระหวางชวงเสาของโครงสรางสายสง 115 kV
(กรณีที่กอสรางระบบ จําหนาย 22,33 kV ใตแนวสายสง 115 kV)
โครงสรางเสา สําหรับแยกสาย ” แบบเลขที่ SA1-015/47010
(การประกอบเลขที่ 5162) 286
7.4 แบบมาตรฐาน “ระยะหางระหวางชวงเสาสําหรับโครงสรางสายสง 115 kV
แบบ 2 ชั้น” แบบเลขที่ SA1-015/42001 (การประกอบเลขที่ 5160) 300
บทที่ 1
สายไฟฟา

สายไฟฟามีหนาที่เชื่อมตอเพื่อนํากระแสไฟฟาจากแหลงกําเนิดไฟฟาไปยังจุดรับไฟ การพิจารณา
เลือกชนิดของวัสดุที่จะใชทําสายไฟฟาจะตองคํานึงถึงความสามารถในการนําไฟฟา (Conductivity)
ความสามารถในการรับแรงดึง(Mechanical Strength) น้ําหนักสายและราคา เชน เงิน เปนโลหะตัวนํา
ไฟฟาที่ดีที่สุดแตมีราคาแพงมาก จึงไมใชทําสายไฟฟา ทองแดงเปนตัวนําไฟฟาที่ดีมีความสามารถใน
การรับแรงดึงไฟฟาไดพอควรแตมีราคาแพง อะลูมิเนียมเปนตัวนําไฟฟาทีด่ ีพอสมควรมีน้ําหนักเบามี
ความสามารถในการรับแรงดึงไดจํากัด แตเนื่องจากมีราคาถูกกวาทองแดงจึงนิยมนํามาใชเปนสายไฟฟา
โดยหากพาดสายที่มีชวงระยะหางเสามากๆ จะใสแกนเหล็กเสริมเพื่อใหสามารถรับแรงดึงไดดีขึ้น
สายไฟฟาขนาดตางกันคุณลักษณะก็จะแตกตางกันไปดวย เชน แรงดึงสูงสุดที่ทนได (กิโลกรัม)
เสนผานศูนยกลาง (มิลลิเมตร) พืน้ ที่หนาตัดรวม (ตารางมิลลิเมตร) น้าํ หนักโดยประมาณ (กิโลกรัม/เมตร)

1.1 ชนิดของสายไฟฟาที่ใชในระบบสายสงของ กฟภ.


สายไฟฟาอาจเปนแบบตันเปนแทง (Solid) หรือตีเกลียว (Stranded) สายไฟฟาขนาดใหญจะเปน
แบบตีเกลียวเพราะถาเปนสายตันจะมีน้ําหนักมากและหักไดงาย โดยสายไฟฟาที่ กฟภ. ใชในในระบบ
สายสงมี 4 ชนิด คือ
1. สายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย (All Aluminium Conductor: AAC) ตาม มอก. 85
2. สายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือยแกนเหล็ก (Aluminium Conductor Steel Reinforced :
ACSR) ตาม มอก. 86
3. สายอะลูมิเนียมเจือตีเกลียวเปลือย ( Aluminium Alloy Stranded Conductors: AA) ตาม
มอก. 725
4. ลวดเหล็กกลาเคลือบสังกะสีตีเกลียว ( Galvanize Steel Wire Strand: St.) ตาม มอก. 404

1) สายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย (All Aluminium Conductor: AAC) ตาม มอก. 85


สายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย เปนการนําเสนลวดอะลูมิเนียมเจ็ดเสนหรือมากกวามาตีเกลียว
รวมจุดศูนยกลางตามแนวแกนเดียวกันโดยชั้นที่อยูตดิ กันตองมีทิศทางสวนกัน และชั้นนอกสุดตองมี
ทิศทางการตีเกลียวทางขวา โดยอัตราสวนการตีเกลียว (Lay ratio) ของชั้นนอกตองไมมากกวาของ
ชั้นในที่อยูถัดเขาไป สายชนิดนี้รับแรงดึงไดต่ํา ปกติจะขึงพาดสายทีร่ ะยะหางเสาสั้นๆ ( short Span)
การใชงานทัว่ ๆไป ประมาณไมเกิน 50 เมตร ยกเวนสายขนาด 95 ตารางมิลลิเมตร หรือใหญกวาใหพาด
ไดไมเกิน 100 เมตร หรือการใชงานที่ไดกําหนดไวเปนการเฉพาะในแบบโครงสรางนั้นๆ เชนตาม
2

แบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/43003 แบบ SD-LS-2 กําหนดใหพาดสายอะลูมิเนียมเปลือยขนาด


400 ตารางมิลลิเมตร ที่ระยะหางเสาไมเกิน 200 เมตร สําหรับในระบบสายสง 115 kV จะใชสาย
อะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย เพียงขนาดเดียวคือ 400 ตารางมิลลิเมตร

AAC 7 เสน AAC 19 เสน

รูปที่ 1-1 รูปดานขางและรูปหนาตัดของสายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย

ตารางที่ 1-1 คุณลักษณะของสายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย

พื้นที่ พื้นที่ จํานวน เสนผาน เสนผาน น้ําหนัก แรงดึง กระแส พิกัดยืดหยุน สัมประสิทธิ์
หนาตัด หนาตัด เสน ศูนยกลาง ศูนยกลาง (กก./กม.) (กก.) (A) กก/ตร.มม. การขยายตัว
ระบุ จริง ลวด ของ ของตัวนํา ตามยาว / 0C
2 2
(มม. ) (มม. ) เสนลวด ตีเกลียว
(มม.) (มม.)
50 50.14 7 3.02 9.06 137 805 225 6000 23x10-6
95 94.76 19 2.52 12.60 261 1585 340 5700 23x10-6
120 121.21 19 2.85 14.25 333 1980 390 5700 23x10-6
185 184.54 37 2.52 17.64 509 3085 520 5700 23x10-6
240 242.54 61 2.25 20.25 670 4015 625 5500 23x10-6
400 389.14 61 2.85 25.65 1075 6025 855 5500 23x10-6
500 506.04 61 3.25 29.25 1398 7695 990 5500 23x10-6
625 626.20 91 2.96 32.56 1735 9694 1140 5500 23x10-6
3

2) สายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือยแกนเหล็ก (Aluminium Conductor, Steel Reinforced :


ACSR) ตาม มอก. 86
สายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือยแกนเหล็กชนิดนี้ มีโครงสรางคลายกับสายอะลูมิเนียม
ตีเกลียวเปลือย แตเสนลวดที่เปนแกนกลางจะใชลวดเหล็กเคลือบสังกะสีแทนเพื่อใหสามารถรับแรงดึง
ไดสูงขึ้น และเชนเดียวกับสายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือยในการตีเกลียวทุกครั้งชั้นที่อยูติดกันตองมี
ทิศทางสวนกัน และชั้นนอกสุดตองมีทิศทางการตีเกลียวทางขวา รายละเอียดทางเทคนิคบางประการ
ตาม มอก. 86 สรุปไดดังนี้
1. เสนลวดตองเรียบและปราศจากขอบกพรอง
2. ตัวนําตีเกลียวยอมใหมีรอยตอในลวดแตละเสนได นอกเหนือจากรอยตอที่ทําไวใน
อะลูมิเนียมเสนหรือเสนลวดกอนรีดครั้งสุดทาย รอยตอแตละแหงในตัวนําตีเกลียวตองหางกันไมนอย
กวา 15 เมตร ในการตอตองทําโดยวิธีเชื่อมตอดวยไฟฟา (Resistance butt-welding) หรือเชื่อมตอดวย
การอัดเย็น (Cold pressure butt-welding) รอยตอที่ใชวิธีเชื่อมตอดวยไฟฟา ตองนํามาอบเหนียว
(Anneal) โดยระยะอบเหนียวหางจากรอยตอขางละไมนอ ยกวา 200 มิลลิเมตร
3. ลวดเหล็กเคลือบสังกะสีตองไมมีรอยตอ นอกจากเปนการตอดวยวิธีเชื่อมดวยไฟฟาใน
เหล็กเสน (Base rod) กอนรีดครั้งสุดทาย

สายชนิดนี้รับแรงดึงไดดี นิยมใชพาดขามแมน้ํา ในปา หุบเหว ที่มีระยะหางเสายาว ( Long


Span) แตจะไมใชสายชนิดนี้ในบริเวณใกลชายทะเลเพราะอาจเกิดการกัดกรอนเนื่องจากไอเกลือไดตาม
แบบมาตรฐานของ กฟภ. จะกําหนดใหใชเฉพาะในบริเวณที่อยูหางจากชายฝงทะเลเกินกวา 1 กิโลเมตร
ขึ้นไป สําหรับในระบบสายสง 115 kV จะใชสาย ACSR เพียงขนาดเดียวคือ 380/50 ตารางมิลลิเมตร

รูปที่ 1-2 รูปดานขางของสายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือยแกนเหล็ก


4

สาย ACSR 50/8 สาย ACSR 185/30

รูปที่ 1-3 รูปหนาตัดของสายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือยแกนเหล็ก

ตารางที่ 1-2 คุณลักษณะของสายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือยแกนเหล็ก

พื้นที่ พื้นที่ จํานวนเสนลวด เสนผาน น้ําหนัก แรงดึง กระแส พิกัดยืดหยุน สัมประสิทธิ์


หนาตัด หนาตัด ศูนยกลาง (กก./กม.) (กก.) (A) กก/ตร.มม. การขยายตัว
ระบุ จริง ของตัวนํา ตามยาว / 0C
(มม. ) (มม.2)
2
อะลู เหล็ก ตีเกลียว
มิเนียม แกนเหล็ก
(มม.)
50/8 56.30 6 1 9.60 195 1716 170 8100 19.1x10-6
95/15 109.70 26 7 13.60 381 3565 350 7700 18.9x10-6
120/20 141.40 26 7 15.50 491 4555 410 7700 18.9x10-6
185/30 213.60 26 7 19.00 741 6618 535 7700 18.9x10-6
240/40 282.50 26 7 21.90 981 8640 645 7700 18.9x10-6
380/50 431.50 54 7 27.00 1443 12312 840 7000 19.3x10-6

3) สายอะลูมิเนียมเจือตีเกลียวเปลือย ( Aluminium Alloy Stranded Conductors: AA) มอก. 725


สายอะลูมิเนียมเจือตีเกลียวเปลือยชนิดนี้มีสวนผสมของอะลูมิเนียม แมกนีเซียมและซิลิกอน
ทําใหมีความเหนียวและรับแรงดึงไดสูงกวาสายอะลูมิเนียมลวน ใชพาดสายที่มรี ะยะหางเสายาวๆได
( Long Span) และใชสายชนิดนี้ในบริเวณใกลชายทะเลเพราะสามารถทนตอการกัดกรอนของไอเกลือ
บริเวณชายทะเล
5

ตารางที่ 1-3 คุณลักษณะของสายอะลูมิเนียมเจือตีเกลียวเปลือย

พื้นที่ พื้นที่ จํานวน เสนผาน เสนผาน น้ําหนัก แรงดึง กระแส พิกัดยืดหยุน สัมประสิทธิ์
หนาตัด หนาตัด เสน ศูนยกลาง ศูนยกลาง (กก./กม.) (กก.) (A) กก/ตร.มม. การขยายตัว
ระบุ จริง ลวด ของ ของตัวนํา ตามยาว / 0C
2 2
(มม. ) (มม. ) เสนลวด ตีเกลียว
(มม.) (มม.)
35 34.36 7 2.50 7.50 94 978 170 6000 23x10-6
50 49.48 7 3.00 9.00 135 1408 210 6000 23x10-6
95 93.27 19 2.50 12.50 256 2655 320 5700 23x10-6
120 116.99 19 2.80 14.00 322 3331 365 5700 23x10-6
185 181.62 37 2.50 17.50 500 5171 490 5700 23x10-6
240 242.54 61 2.25 20.30 670 6905 585 5500 23x10-6
400 400.14 61 2.89 26.00 1104 11392 810 5500 23x10-6

4) ลวดเหล็กกลาเคลือบสังกะสีตีเกลียว ( Galvanize Steel Wire Strand: St.) มอก. 404


ลวดเหล็กกลาเคลือบสังกะสีตีเกลียวชนิดนี้ เปนลวดที่ทําจากเหล็กลวดคารบอนต่ําหรือ
เหล็กลวดคารบอนสูงเคลือบสังกะสีโดยวิธีจุมรอนหรือเคลือบสังกะสีโดยวิธีไฟฟา ใน มอก. 404 แบง
ลวดเหล็กเปนชนิด 7 เสนและ 19 เสน ซึ่ง กฟภ. มีการใชงานทั้งชนิด 7 เสนและ 19 เสน และเปนชัน้
คุณภาพอเนกประสงคเทานั้น ลวดเหล็กกลาเคลือบสังกะสีตีเกลียวมีการใชงานหลายลักษณะคือ
1. ใชทําหนาที่เปนสายลอฟา (OHGW) โดยพาดเหนือเสาไฟฟามีเหล็กฉากรับสายลอฟา
เปนตัวค้ํายันรองรับลวดเหล็กกลาเคลือบสังกะสีตีเกลียวขนาด 35 ตารางมิลลิเมตร สําหรับระยะหางเสา
ปกติ 80 เมตร และขนาด 50 ตารางมิลลิเมตร สําหรับระยะหางเสายาวๆ เชน ชวงขามแมน้ํา
2. ใชทําหนาที่เปนสายยึดโยง (Guying) ที่เสาตนกอนชวงทางโคง(ตน AS) เสาตนสุดทาย
(ตน DE) เสาตนหักฉาก 90 0 (ตน LA) ลวดเหล็กกลาเคลือบสังกะสีตีเกลียวทีใ่ ชมี 2 ขนาดคือ 50 และ
95 ตารางมิลลิเมตร
3. ใชทําหนาที่เปนสายตอลงดิน (Ground Lead) โดยตอจากแผนเพลทที่โคนเสาไป
เชื่อมตอกับแทงหลักดินที่ฝง ใตดินขางๆฐานรากเสา ลวดเหล็กกลาเคลือบสังกะสีตีเกลียวที่ใชมขี นาด
เดียวคือ 50 ตารางมิลลิเมตร
6

ตารางที่ 1-4 คุณลักษณะของลวดเหล็กกลาเคลือบสังกะสีตีเกลียว

พื้นที่ หนาตัด พื้นที่ หนาตัด จํานวน เสนผาน เสนผาน น้ําหนัก แรงดึง


ระบุ จริง เสนลวด ศูนยกลาง ศูนยกลาง (กก./กม.) (กก.)
2 2
(มม. ) (มม. ) ของ ของตัวนํา
เสนลวด ตีเกลียว
(มม.) (มม.)
25 22.43 7 2.10 6.30 192 1646
35 31.67 7 2.50 7.50 272 2329
50 46.24 7 3.00 9.00 392 3353
95 85.95 19 2.50 12.50 740 6320

หมายเหตุ เนือ่ งจาก สมอ. ไดจัดทํามาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมตัวนําลวดกลมตีเกลียวรวม


ศูนยกลางสําหรับสายไฟฟาเหนือดินขึน้ ใหมโดยกําหนดเปน มอก. 85-2548 เพื่อใชแทน มอก. 85-
2522 มอก. 86-2522 และ มอก. 725-2530 ซึ่งมีการประกาศใชแลว โดย ขนาด น้ําหนัก เสนผาน
ศูนยกลางของสายจะเปลีย่ นไปจากขนาดเดิมที่กําหนดไวใน มอก. เดิม หาก กฟภ. จะใชสายตาม มอก.
ตัวใหม ตองมีการทบทวนในหลายๆเรื่อง เชนในเรื่องโครงสรางเสา วัสดุอุปกรณที่ใชจับยึด การเซ็ต
อุปกรณปองกัน ฯลฯ ซึ่งยังไมมีขอสรุปที่ชัดเจน ดังนั้นในเรื่องของสายไฟฟาจึงเขียนรายละเอียดตาม
มอก. เดิมไปกอน

1.2 จํานวนเสนลวดในสายไฟฟาและการแปลงหนวย
จากตารางแสดงคุณลักษณะของสายไฟฟาในสายชนิดตางๆ จะเห็นวาพื้นทีห่ นาตัดจริงจะ
แตกตางจากพืน้ ที่หนาตัดที่ระบุไวเล็กนอย ในทางปฏิบัติพบวาจํานวนเสนลวดของสายตีเกลียวที่มี
ขนาดเทากันทุกเสนเมื่อนํามาตีเกลียวเปนชัน้ ๆ ดังรูปที่ 1-4 จะไดความสัมพันธระหวางจํานวนเสนลวด
กับจํานวนชั้นดังสมการ
Y = 3X2-3X+1
เมื่อ X = จํานวนชั้นของสายตีเกลียว
Y = จํานวนเสนลวดของสายตีเกลียว

สมการดังกลาวจะเปนจริงตอเมื่อขนาดเสนลวดทุกเสนเทากันหมด (ใชกับสาย ACSR ไมได)


7

ชั้นที่ 4
ชั้นที่ 2
ชั้นที่ 3
d ชั้นที่ 1
D

รูปที่ 1-4 แสดงความสัมพันธระหวางจํานวนเสนลวดกับจํานวนชัน้

เชน
สายตีเกลียว 1 ชั้น จํานวนเสนลวดทั้งหมดเทากับ Y = 3x(1)2-3x(1)+1 = 1 เสน
สายตีเกลียว 2 ชั้น จํานวนเสนลวดทั้งหมดเทากับ Y = 3x(2)2-3x(2)+1 = 7 เสน
สายตีเกลียว 3 ชั้น จํานวนเสนลวดทั้งหมดเทากับ Y = 3x(3)2-3x(3)+1 = 19 เสน
สายตีเกลียว 4 ชั้น จํานวนเสนลวดทั้งหมดเทากับ Y = 3x(4)2-3x(4)+1 = 37 เสน
สายตีเกลียว 5 ชั้น จํานวนเสนลวดทั้งหมดเทากับ Y = 3x(5)2-3x(5)+1 = 61 เสน

จากการคํานวณจะไดวา ชั้นที่ 1 มีลวดตัวนํา 1 เสน ชั้นที่ 2 มีลวดตัวนํา 6 เสน (7-1) ชั้นที่ 3 มี


ลวดตัวนํา 12 เสน (19-7) ชั้นที่ 4 มีลวดตัวนํา 18 เสน (37-19) และชั้นที่ 5 มีลวดตัวนํา 24 เสน (61-37)
สวนเสนผานศูนยกลางภายนอกของสายตีเกลียว (D) จะมีความสัมพันธกับเสนผานศูนยกลาง
ของเสนลวด(d) และจํานวนชั้นของสายตีเกลียว (X) ดังสมการ

D = d(1+2(X-1))

เชน สายมีจํานวน 3 ชั้น เสนผานศูนยกลางภายนอก D3 = d(1+2(3-1)) = 5d

ขนาดพื้นทีห่ นาตัดของสายไฟฟามีหนวยที่นิยมใชกันหลายหนวย เชน ตารางมิลลิเมตร (mm2)


เซอรคิวลารมิล (circularmill : Cir.mil) เมกกะเซอรคิวลารมิว (Megacircularmill : MCM) ซึ่งหนวย
พื้นที่หนาตัด 1 เซอรคิวลารมิล คือ พื้นที่หนาตัดที่อยูภายในวงกลมที่มีเสนผานศูนยกลาง 1/1000 นิ้ว
สําหรับการหาพื้นที่หนาตัดเปนเซอรคิวลารมิล หาไดโดยเอาคา 1000 คูณเสนผานศูนยกลาง (หนวยเปนนิ้ว)
แลวยกกําลัง 2 เชน สายอะลูมิเนียมแกนเหล็ก ขนาดหนึ่งมีเสนลวด 54 Al/7 st มีเสนผานศูนยกลาง
0.1214 นิว้ เมือ่ คิดพืน้ ที่หนาตัดเปนเซอรคิวลารมิล จะได 54x(0.1214x1000)2 เทากับ 795849 เซอรควิ ลารมิล
8

1 //
1000

รูปที่ 1-5 แสดงพื้นที่ในวงกลมเสนผานศูนยกลาง 1/1000 นิ้วมีคาเทากับ 1 เซอรคิวลารมิล

พื้นที่หนาตัด 1 ตารางมิลลิเมตร หาไดจาก พื้นทีว่ งกลม = ¶d2 /4 โดยเสนผานศูนยกลางมีหนวย


เปนมิลลิเมตร ถาขนาดของตัวนํามีขนาด 2.85 มิลลิเมตร เปนสายอะลูมิเนียม 61 ตัวนํา หาพื้นทีห่ นาตัด
ไดดังนี้
พื้นที่ = n¶d2 /4
= 61xII x 2.852 /4
= 389.143 ตารางมิลลิเมตร
ขนาดสาย = 400 ตารางมิลลิเมตร

เนื่ อ งจากหน ว ยวั ด ขนาดสายไฟฟ า ที่ กฟภ. ใช เ ป น ตารางมิ ลลิ เ มตร (mm2) แต ใ นบางครั้ ง
จําเปนตองทราบขนาดของสายในหนวยวัดเปนเมกกะเซอรคิวลารมิว (MCM) ซึ่ง กฟผ. ใชงาน ดังนั้น
เพื่อเปรียบเทียบขนาดสายใหใชทดแทนกันได การเปลี่ยนหนวยสามารถทําไดดังนี้

A (mm2) = 5.067x10-4 x A (เซอรคิวลารมิล)


A(เซอรคิวลารมิล) = 1973.527 x A(mm2)

เชน กฟผ. ใชสาย ACSR ขนาด 795 MCM เทียบขนาดสายเปนตารางมิลลิเมตร (mm2) เทาใด
จากสูตร A (mm2) = 5.067x10-4 x 795000
= 402.82 ตารางมิลลิเมตร
นั่นคือหาก กฟภ. จะใชสาย ACSR ที่มีขนาดใกลเคียงกับขนาดสายที่ กฟผ. ใชก็ตองเลือกใช
ขนาดที่ใกลเคียงกับ 402.82 ตารางมิลลิเมตร คือสาย ACSR ขนาด 380/50 ตารางมิลลิเมตร
9

1.3 ขีดจํากัดเกี่ยวกับอุณหภูมิของสายไฟฟา (Thermal Limit)


ในขณะที่สายสงใชงานอยูจะมีกระแสไฟฟาไหลผาน จึงเกิดความรอนขึ้นที่สายไฟฟาเนื่องจาก
สายมีความตานทาน ซึ่งถามีการสงกระแสไฟฟามากเกินไป ความรอนที่เกิดขึ้นที่สายไฟฟาอาจทําให
1. สายอาจจะหยอนไป ทําใหตองออกแบบเสาใหสูงมากขึ้น เพื่อจะรักษาระยะหางต่ําสุดของ
สายไฟฟากับดิน เพื่อความปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสิน แตการออกแบบเสาใหสูงมากกวาปกติยอม
เปนตนทุนคาใชจา ยที่เพิ่มขึน้ เชนกัน
2. คุณสมบัติทาง Tensile Strength ของสายลดลงเนื่องจาก Annealing effect ซึ่งจะเริ่มที่
อุณหภูมิประมาณ 100 0C
3. อุปกรณจบั ยึดเชนแคลมปจับสาย แคลมปเขาปลายสาย จะมีอุณหภูมิสูงตามไปดวยซึ่ง
อาจจะเกิดปญหาเกีย่ วกับการขยายตัวของอุปกรณจับยึดได

ปกติในทางปฏิบัติจะดู Temperature rise Curve ของสายไฟฟาประเภทนัน้ ๆ ซึ่งบริษัทผูผลิต


สายไดทดสอบคุณสมบัติของสายไว ซึ่งจะดูวาเมื่อมีกระแสไฟฟาไหลผานแลวสายไฟฟามีอณุ หภูมิเพิ่ม
มากขึ้นเทาไรและยังอยูในขีดจํากัดของ Thermal Limit ของสายหรือไม

ตัวอยางเชน สาย ACSR ขนาด 795 MCM กําหนดใหอุณหภูมิใชงานสูงสุด 80 0C สามารถจาย


กระแสไดสูงสุดเทาไรที่ไมเกิน Thermal Power Limit

กําหนดใหอุณหภูมิลอมรอบ = 37 0C
อุณหภูมิที่สูงขึ้นเนื่องจากการแผรังสีของดวงอาทิตย = 3 0C
อุณหภูมิของสายไฟฟาที่สูงขึ้นได = 80 – 37 - 3 = 40 0C

จาก Temperature rise Curve ตามรูปที่ 1-6 ที่อุณหภูมิ 40 0C ลากเสนลงมาตัดกับเสนของ


สาย 795 MCM จะไดกระแสไฟฟาที่สามารถจายไดประมาณ 900 A ซึ่งเมื่อดูจากตารางที่ 1-5 Thermal
Power Limit พบวาไมเกินคาพิกัดกระแสที่สามารถจายได
แตในการใชงานจริงไมควรจายเต็มพิกัดปกติจะใชประมาณ 80 % ดังนั้นสายไฟฟาแตละเสน
ควรจายกระแสไฟฟาใชงานไมเกิน 0.8 x 900 = 720 A
ที่แสดงไวนี้เปนเพียงตัวอยาง เปนหลักการในการหาคากระแสใชงานของสาย ACSR ขนาด
795 MCM เทานั้น หามนําขอมูลมาใชกับสายที่ กฟภ. ใชงานเนื่องจากเปนสายคนละชนิด ในทาง
ปฏิบัติการหาคากระแสของสายไฟฟาแตละประเภทใหดจู าก มอก. เปนหลักจะสะดวกและสามารถ
อางอิงได
10

ตารางที่ 1-5 แสดงขีดจํากัด Thermal Power Limit ของสาย ACSR

ขนาดสายไฟฟา พิกัดกระแส Thermal Power Limit (MVA)


MCM mm2 (A) 69 kV 115 kV 230 kV
1780 901.9 1443 172 287 575
1590 805.7 1380 165 275 550
1272 644.5 1200 143 239 478
1192 603.9 1100 132 219 438
1033 523.4 1060 127 211 422
954 483.4 1010 121 201 402
795 402.8 900 107 179 358
636 322.3 800 95 159 318
477 241.7 670 80 133 -
336.4 170.4 530 63 105 -
300 152 490 58 97 -
266.8 135.2 460 55 92 -
4/0 107.2 350 41 69 -
3/0 85 300 36 - -
2/0 67.5 270 32 - -
1/0 53.5 230 27 - -

หมายเหตุ อุณหภูมิอากาศโดยรอบ 40 0C (รวมอุณหภูมิการแผรังสีไวแลว) และอุณหภูมิสูงสุดของ


สายไฟฟา 90 0C (การคํานวณจะใชที่ 80 0C)
11

รูปที่ 1-6 แสดง Temperature rise Curve ของสาย ACSR


บทที่ 2
ลูกถวยฉนวนไฟฟา

การสงจายพลังงานไฟฟาในปจจุบันจะแบงออกเปน 2 ระบบ คือ ระบบสายไฟฟาเหนือดิน


(overhead line system) และระบบสายไฟฟาใตดนิ (underground cable system) ซึ่งไมวาระบบไฟฟาจะ
มีระดับแรงดันไฟฟาเทาใดก็ตาม การสงจายพลังงานไฟฟาไปยังผูใชไฟหรือโหลดปลายทางก็จะตอง
เลือกระบบการสงจายพลังงานไฟฟาที่เหมาะสมหนึ่งระบบ ซึ่งหากระบบสงจายพลังงานไฟฟาเลือก
เปนระบบเคเบิลใตดินก็ไมจําเปนตองใชลูกถวยฉนวนไฟฟารองรับสายไฟฟากอนที่จะยึดติดตัง้ บนเสา
ไฟฟา แตหากเปนระบบสายไฟฟาเหนือดินก็จําเปนตองใชลูกถวยฉนวนไฟฟารองรับและยึดสายไฟฟา
กอนทีจ่ ะยึดติดตั้งบนเสาไฟฟา ทั้งนี้ลกู ถวยฉนวนตองมีความเปนฉนวนที่ดพี อสมควร อาจจะตองดีกวา
ฉนวนอากาศรอบๆ ดวย เพือ่ ที่เวลาเกิดแรงดันเกินในสายจะไดเกิดการดิสชารจที่ฉนวนอากาศแทนการ
วาบไฟที่ผิวลูกถวยฉนวนไฟฟา ลูกถวยฉนวนจึงจะยังสามารถใชงานไดตลอดไป นอกจากนี้ลูกถวย
ฉนวนไฟฟายังใชเปนภาชนะถังฉนวนหอหุม เชน ปลอกฉนวนนําสายของบุชชิ่ง เซอรกิตเบรกเกอร กับ
ดักเสิรจ หมอแปลงกระแส (C.T.) และหมอแปลงแรงดัน (P.T.) และตัวเก็บประจุ เปนตน
โดยในบทนี้จะขอกลาวถึงลูกถวยฉนวนทีใ่ ชในระบบสายสง 115 kV เทานั้น ซึ่งจะกลาว
รายละเอียดตั้งแตที่มาของลูกถวยฉนวน (เฉพาะลูกถวยแขวน) การเลือกใชงานใหเหมาะสม จนถึงแบบ
มาตรฐาน กฟภ. เกีย่ วของ

2.1 ลูกถวยฉนวนไฟฟาในระบบสายสง 115 kV


ลูกถวยฉนวนไฟฟาโดยทัว่ ๆ ไปแบงได 3 ชนิด ตามวัสดุที่ใชผลิต คือ
1. ลูกถวยฉนวนปอรซเลน (porcelain insulators) หรือลูกถวยฉนวนกระเบื้องเคลือบ โดยทํา
จากสวนผสมของ ดินเหนียว อะลูมินา ดินขาว หินฟนมา และหินแกว(ควอตซ) ซึ่งถาใสอะลูมินาสูง จะ
ทนแรงดึงไดสูง โดยจะตองมีขบวนการการอบความรอนที่อุณหภูมิพอเหมาะ เพื่อจะไดมีคณ ุ สมบัติทาง
กลและไฟฟาที่ดี
2. ลูกถวยฉนวนแกว (glass insulators) ทําจากแกว โดยนําแกวมาหลอมแลวเทลงในเบาหลอ
แลวอบใหออนเพื่อเพิ่มความคงทน มีคาความคงทนไฟฟาสูง มีคาสัมประสิทธิ์การขยายตัวตอ ความ
รอนต่ํา รวมทั้งไมแตกราวหรือหดตัวในบริเวณที่มีความแตกตางของอุณหภูมิ โดยปจจุบนั จะใชเปน
ชนิดแกวเหนียว
3. ลูกถวยฉนวนสารสังเคราะห ทําจากคาสทเรซิน อิพ็อกซีเสริมใยแกวหรือยาง
13

เมื่อทราบถึงการแบงลูกถวยฉนวนไฟฟาตามวัสดุที่ใชในการผลิตแลว เพื่อใหเขาใจงายยิ่งขึ้นจึง
ขออธิบายเฉพาะการผลิตลูกถวยฉนวนปอรซเลนวามีที่มาอยางไร มีกระบวนการผลิตอยางไรบาง จนถึง
ขั้นตอนสุดทายที่บรรจุหีบหอ สําหรับลูกถวยแกวและลูกถวยสารสังเคราะห จะไมขอกลาวในทีน่ ี้

2.2 การผลิตลูกถวยฉนวนปอรซเลน
การผลิตลูกถวยฉนวนปอรซเลนสามารถแบงกระบวนการผลิตไดเปน 2 วิธี คือ
1. วิธกี ระบวนการเปยก (wet process)
เปนวิธีการขึ้นรูปโดยการเทแบบหรือการกดอัดลงในแบบ ในขณะที่กอนดินผสมสูตรยังไม
แหง คือ ยังมีสวนผสมของน้ําหรือความชื้นเพียงพอที่จะกดอัดได หรือใชวิธีการกลึงจากกอนดินผสม
สูตรคอนขางแหง ซึ่งเปนการขึ้นรูปจากดินผสมรูปแทงตันทรงกระบอกโดยวิธีการกลึงบังคับดวยคน
หรือกลึงดวยเครื่องจักรแบบอัตโนมัติ ซึ่งจะเหมาะสําหรับการผลิตลูกถวยประเภทที่มีรูปรางซับซอน
หรือมีขนาดยาว เชน ลูกถวยแทง ลูกถวยคูค อตัน หรือลูกถวยคูคอตันยาว เปนตน
2. วิธีกระบวนการแหง (dry process)
เปนการขึ้นรูปโดยใชวิธีอัดผงสวนผสมแหงใหแนนตามรูปทรงที่ตองการ แลวนําไปเผาที่
อุณหภูมิสูง
โดยในทีน่ ี้จะขออธิบายถึงวิธีกระบวนการเปยก (wet process) สําหรับการผลิตลูกถวยฉนวน
ปอรซเลน ซึ่งกระบวนการทัง้ หมดแสดงไดตามรูปที่ 2-1

รูปที่ 2-1 รูปแสดงขัน้ ตอนกระบวนการผลิตลูกถวยฉนวนปอรซเลนแบบเปยก สําหรับใชงานแบบ


แขวน และใชงานแบบตัง้
14

กระบวนการเตรียมดินขั้นตนแบบเปยกกอนขึ้นรูป มีลําดับขั้นตอนดังตอไปนี้
1) เตรียมดินผงผสม จะเริ่มตนดวยการนําวัตถุดิบที่ไดมาจากแหลงกําเนิด ไดแก ดินเหนียว
(ball clay) ดินขาว (china clay) หินฟนมา (feldspar) หินแกว (quartz) หรือทรายแกว (sand) และ
อะลูมินา (Al2O3) ที่ยังอยูในลักษณะเปนกอนตามรูปที่ 2-2 ซึ่งมีการเก็บวัตถุดิบแตละชนิดแยกกันไวใน
โรงเก็บตามรูปที่ 2-3 เริ่มตนโดยนําวัตถุดิบมาผานการตรวจสอบทางดานกายภาพ มีการพิจารณารูปราง
สี น้ําหนัก มาผสมตามอัตราสวนที่ตองการ ซึ่งจะมีอัตราสวนเปนเทาใด สัดสวนมากนอยของสาร
เหลานี้อยางไร ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการใชงานลูกถวยวาตองการใหมีคุณสมบัติเนนในดานใด

รูปที่ 2-2 รูปแสดงวัตถุดิบตางๆ ที่ไดมาจากแหลงกําเนิด

รูปที่ 2-3 รูปแสดงโรงเก็บวัตถุดิบตางๆ


15

สําหรับวัตถุดบิ แตละชนิดทีน่ ํามาใชผลิตลูกถวย ทีพ่ บโดยสวนมากจะแยกกันอยูคนละพื้นที่ใน


ประเทศไทย ซึ่งจะมีดังนี้
1. ดินเหนียว ที่ จ.ลําปาง และ จ.นครศรีธรรมราช
2. ดินขาว ที่ จ.ระนอง
3. หินฟนมา ที่ จ.ตาก และ จ.ราชบุรี
4. หินแกว หรือทรายแกว ที่ จ.ระยอง

สําหรับปริมาณสวนผสมของวัตถุดิบในการทําลูกถวยฉนวนปอรซเลน ขึ้นอยูก ับกระบวน การ


ผลิตและชนิดแบบของลูกถวยที่นําไปใชงานในหนาที่ตางๆ กัน ซึ่งในทางปฏิบัติลูกถวยฉนวนปอรซเลน
จะมีสวนผสมดังแสดงในตาราง (ยกตัวอยางโดยทั่วๆ ไป) ตามตารางที่ 2-1

ตารางที่ 2-1 สวนผสมของวัตถุดิบในการทําลูกถวยฉนวนปอรซเลน

วัตถุดิบ ขึ้นรูปโดยอาศัย ขึ้นรูปโดยการเทแบบ อะลูมินาสูง อะลูมินาต่ํา


ความเหนียว
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)
ดินขาว 15 25 15 20
ดินเหนียว 30 20 20 25
หินฟนมา 35 35 25 35
หินแกวหรือทรายแกว 20 20 - -
อะลูมินา - - 40 20

หมายเหตุ อะลูมินาสูง หมายถึง ลูกถวยฉนวนที่ตองการใหมีเนื้อกระเบื้องเคลือบเหนียว มี


ความคงทนตอแรงดึงไดสูง เชน ลูกถวยแขวน เปนตน

2) บดกอนวัตถุดบิ ทําการบดดวยโมบดใหละเอียดตามตองการ

3) กรองสิ่งแปลกปลอมออก นําผงดินผสมไปผสมกับน้ําใหเหลว ใชใบพัดกวนเคลาใหเขากัน


เปนเนื้อเดียวกัน เมื่อกวนผสมไดที่แลวจึงนําไปผานตะแกรงเพื่อคัดสิง่ เจือปนแปลกปลอมที่ไมตองการ
ออก และแยกสารประเภทเหล็กออกดวยการใชแมเหล็กดึงดูดออกจากดินเหลวกอนที่จะใหดนิ ผสม
เหลวไหลผานผากรองเพื่อเอาน้ําออก ตามรูปที่ 2-4
16

รูปที่ 2-4

4) กรองน้ําออกดวยผากรอง จะไดดินผสมมีลักษณะเหมือนดินเหนียวปนได ตามรูปที่ 2-5

รูปที่ 2-5

5) รีดดินเหนียวผสมเปนแทง โดยการนําดินเหนียวผสมไปผานเขาเครื่องรีดสุญญากาศ
(vacuum extrusion) เพื่อไลฟองกาซและใหเนื้อดินผสมอัดแนนเปนเนือ้ เดียว ทําการรีดออกมาเปนแทง
ทรงกระบอก ตัดดินออกเปนทอนๆ เตรียมเพื่อขึ้นรูปตอไป โดย ณ ตําแหนงนี้สามารถควบคุม
สวนผสมของความชื้นได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวาจะนําไปขึ้นรูปแบบใด ตามรูปที่ 2-6
17

รูปที่ 2-6

6) การขึ้นรูป การขึ้นรูปอาจทําไดโดยการอัดแบบ (จากกอนดินทีย่ ังมีความชื้นสูง) หรือ ขึ้น


รูปโดยการขึ้นแทงกลึง (จากกอนดินที่มีความชื้นต่ํา) ตามรูปที่ 2-7

รูปที่ 2-7

7) ผึ่งแหง นําลูกถวยที่ขึ้นรูปแลวผึ่งใหแหงในบรรยากาศหรือในหองอบ เพื่อใหเนือ้ ดินแหงถึง


ระดับที่ตองการ (ที่โรงงานจะมีหองอบลูกถวยฉนวนดวย)

8) การเคลือบ ในสภาพการใชงานจริงลูกถวยฉนวนไฟฟามีโอกาสไดรับสิ่งสกปรก ฝุนละออง


เกลือ ความชืน้ และสารเคมี เปนตน มาจับเกาะที่ผวิ ไดงายหากผิวไมเรียบมัน ฉะนั้นผิวลูกถวยฉนวน
ตองเคลือบเสมอเพื่อทําใหผวิ มีลักษณะมัน สิ่งสกปรกและฝุนละอองจะเกาะผิวไดยาก และเมื่อฝนตกก็
จะถูกชะลางออกไดดีขนึ้ ดวย การเคลือบอาจจะใชวิธพี นถาลูกถวยนั้นมีขนาดใหญโต แตถาลูกถวยมี
18

ขนาดเล็กจะเคลือบดวยวิธีจมุ น้ํายาเคลือบหรือใชวิธีราด ซึ่งขอดีของวิธีจุมน้ํายาเคลือบจะทําใหน้ํายา


เคลือบฉาบผิวไดสม่ําเสมอผิวจะมันเรียบกวา โดยแสดงวิธีจุมน้ํายาเคลือบดังรูปที่ 2-8

รูปที่ 2-8

9) การเผา การเผาลูกถวยใหไดปอรซเลนที่ดีมีคุณภาพนั้นตองอาศัยเทคนิค การเผาตองเปนไป


ตามตารางการเผาหรือตามเสนกราฟ ซึ่งเปนความสัมพันธระหวางอุณหภูมิกับเวลาใหเหมาะ นัน่ คือ
อัตราการเพิ่มอุณหภูมิตองเปนไปอยางสม่ําเสมอไมชาหรือเร็วเกินไป ถาชาเกินไปก็จะทําใหสิ้นเปลือง
คาเชื้อเพลิง เกินความจําเปน และหากเผาเร็วเกินไปจะทําใหลูกถวยฉนวนแตกราวหรือบิดเบี้ยวได ซึ่ง
เชื้อเพลิงที่ใชในปจจุบันอาจใชเปนกาซ LPG ตามแสดงในรูปที่ 2-9

รูปที่ 2-9

เทคนิคที่สําคัญในการเผาก็คือ อัตราความรอนที่ไดจากเตาตองไมเร็วกวาอัตราการดูดความรอน
ของลูกถวยฉนวน และเผาที่อุณหภูมิหนึ่งใหนานพอเพื่อใหเนื้อในของลูกถวยมีอุณหภูมิสูงกวาหรือ
เทากับอุณหภูมิขางนอกของลูกถวย และเพื่อใหกาซที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาทางเคมีของ
19

เนื้อลูกถวย เชน กาซคารบอนไดออกไซดออกจากผิวของลูกถวย โดยคุณสมบัติของลูกถวยฉนวนไฟฟา


จะตองไมมีความพรุน จึงตองเผาที่อุณหภูมสิ ูง คือที่อุณหภูมิ 1,200 OC , 1,250 OC และ 1,280 OC ใน
อัตราเพิ่มอุณหภูมิขึ้น 120 OC ตอชั่วโมง เผาจนกวาโคนจะลมลงมาสัมผัสฐาน และเผาที่อุณหภูมินั้น
ราว 1 ชั่วโมง ตัวอยางเสนกราฟการเผา (อุณหภูม-ิ เวลา) แสดงตามรูปที่ 2-10

รูปที่ 2-10 รูปแสดงเสนกราฟอุณหภูม-ิ เวลา การเผาเนื้อปอรซเลน

10) ประกอบชิ้นสวนโลหะ เพื่อใหสามารถนําลูกถวยไปติดตั้งใชงานไดอยางมัน่ คง จึงตองมี


การประกอบชิน้ สวนโลหะ เชน กานโลหะ สําหรับยึดกับเสาหรือไมคอน หรือประกอบฝาครอบโลหะ
และขอตอเพื่อใหสามารถนําลูกถวยมาตอซอนกัน หรือหอยเปนพวงไดในกรณีที่ตอ งใชแรงดันสูงขึ้น
ดังรูปที่ 2-11 และรูปที่ 2-12

รูปที่ 2-11 แสดงตัวอยางชิ้นสวนโลหะที่ประกอบเขากับลูกถวยแทง


20

รูปที่ 2-12 แสดงการตรวจสอบสภาพของลูกถวยฉนวนกอนประกอบชิ้นสวนโลหะ

และหลังจากประกอบชิ้นสวนโลหะเสร็จเรียบรอยแลว จะนํามาจัดเรียงเพื่อรอทําการทดสอบ
คุณภาพตอไป ดังรูปที่ 2-13

รูปที่ 2-13

11) การตรวจสอบและทดสอบคุณภาพ จะตองทําการตรวจสอบดูสภาพความเรียบรอย และ


ทดสอบตามที่มาตรฐานกําหนด (โดย กฟภ. ใชมาตรฐาน American National Standard for electrical
power insulators test methods, ANSI C29.1-1988) เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาลูกถวยทีผ่ ลิตขึ้นในโรงงาน
นั้น มีคุณสมบัติและคุณภาพไดตามที่มาตรฐานกําหนด ซึ่งเมื่อนําไปใชงานแลวจะทําใหการฉนวนของ
ระบบสงจายพลังงานไฟฟามีความเชื่อถือไดไมเกิดผิดพรอง โดยมาตรฐานไดกําหนดใหมกี ารทดสอบ
21

เกี่ยวกับรูปรางและมิติ คุณสมบัติทางไฟฟา คุณสมบัตทิ างกล และการอาบสังกะสีของสวนที่เปนโลหะ


ซึ่งการทดสอบอาจแบงไดเปน 3 ประเภท คือ
1) การทดสอบประจํา (routine test) หมายถึง ลูกถวยทุกลูกตองผานการทดสอบ
2) การทดสอบเฉพาะแบบ (type test) หมายถึง การทดสอบเพื่อขอออกมาตรฐานรับรอง
3) การทดสอบเพื่อตรวจรับ (acceptance test)

การทดสอบรูปรางและมิติ
การทดสอบรูปรางและมิติเปนการทดสอบลักษณะทั่วไป โดยลูกถวยฉนวนแตละชนิดนั้นแบบ
มาตรฐานจะกําหนดรูปรางลักษณะมิติไวแนนอนพรอมกับคาที่ยอมใหคลาดเคลื่อนได ทั้งนี้เพราะการ
เผาแลวยอมทําใหมิตหิ ดลงจากลูกถวยทีย่ ังดิบอยู และตรวจดูสภาพเรียบรอยทั่วไปของผิวเคลือบมัน
อยางไรก็ดีทั้งมิติและสภาพเรียบรอยของผิวมัน มักจะควบคุมดวยคุณสมบัติทางไฟฟาและทางกลโดย
อัตโนมัติ เพราะหากขนาดเล็กเกินไป ยอมทนตอแรงดันไฟฟาหรือทางกลไมได
ลักษณะทางมิติที่เกี่ยวของ และมีผลตอลักษณะสมบัติทางไฟฟาของลูกถวย จะแสดงตาม รูปที่
2-14 โดยเปนการยกตัวอยางของลูกถวยพินโพสทไทน ซึ่งลูกถวยชนิดอืน่ ๆ ก็อธิบายไดในลักษณะ
เดียวกัน
22

รูปที่ 2-14 รูปแสดงลักษณะทางมิติ

สําหรับลักษณะทางมิติที่เกีย่ วของ มีรายละเอียดสรุปไดดงั นี้


1) ระยะรัว่ (leakage distance) คือ ระยะที่สั้นที่สุดที่วดั ตามผิวลูกถวยระหวางอิเล็กโทรด โดย
สวนหนึ่งของระยะรัว่ จะเปนสวนกัน้ มิใหผิวเปยกไดงายเมื่ออยูในสภาพฝนตก ซึง่ จะชวยใหลูกถวยมี
ความคงทนตอแรงดันวาบไฟตามผิวไดสูงขึ้น คือ ระยะ b (b1+b2)
2) ระยะรัว่ ปองกัน (protective leakage distance) คือ ระยะทีไ่ มเปยกฝน ซึ่งปกติจะหมายถึง
ระยะในปกลูกถวย คือ ระยะผลรวมของ b2
3) ระยะอารค (arcing distance) คือ ระยะสั้นที่สุดทีว่ ดั ระหวางอิเล็กโทรดผานอากาศ หรือ
กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ ระยะที่วดั ตามแนวที่เกิดอารคนัน่ เอง ระยะอารคแบงเปนระยะอารคแหง (dry
arcing distance) และระยะอารคเปยก (wet arcing distance)
3.1 ระยะอารคแหง หมายถึง ระยะอารคที่วัดในสภาวะลูกถวยแหง ซึ่งจะมีทั้งลักษณะทีว่ ัด
ตามผิวและสวนที่เปนอากาศ คือระยะผลรวม a1 และ a2
23

3.2 ระยะอารคเปยก หมายถึง ระยะอารกทีว่ ัดในลักษณะลูกถวยเปยก ซึ่งสวนใหญจะเปน


ความเปรอะเปอ น ระยะอารคเปยก คือ ระยะผลรวมของ a2

การทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟา
ตามรูปที่ 2-15 แสดงการทดสอบแรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวและเจาะผาน

ลูกถวยดี การวาบไฟจะเกิดขึน้ ตามผิวลูกถวย ลูกถวยเสีย ไมเกิดวาบไฟแตจะทะลุผานแกนลูกถวย

รูปที่ 2-15 แสดงการทดสอบแรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวและเจาะผาน

ซึ่งรายการทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟาประกอบดวย
1) การทดสอบแรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวแหงความถี่ต่ํา (low frequency dry flashover
voltage test) โดยแรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวแหงความถี่ต่ําจะหมายถึง คาเฉลี่ยของแรงดันกระแสสลับ
50 Hz ที่ทําใหเกิดวาบไฟตามผิวบนลูกถวยในสภาพแหง สําหรับการทดสอบจะทดสอบดวยแรงดัน
กระแสสลับเพื่อตรวจดูวาลูกถวยจะทนแรงดันโดยเฉลี่ยไดเทาใด
2) การทดสอบแรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวเปยกความถีต่ ่ํา (low frequency wet flashover
voltage test) โดยแรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวเปยกความถี่ต่ําจะหมายถึง คาเฉลี่ยของแรงดันกระแส สลับ
50 Hz ที่ทําใหเกิดวาบไฟตามผิวบนลูกถวยในสภาพเปยก สําหรับการทดสอบจะทดสอบดวยแรงดัน
กระแสสลับ เพื่อตรวจดูวาเมื่อฝนตกผิวลูกถวยเปยกแลว จะทนแรงดันไดเฉลี่ยเทาใด
3) การทดสอบแรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวอิมพัลสวิกฤต (critical impulse flashover voltage test)
โดยแรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวอิมพัลสวิกฤตจะหมายถึง คาวาบไฟตามผิวบนลูกถวย 50% เมื่อปอน
แรงดันอิมพัลสมาตรฐาน 1.2/50 µs แบงเปนขัว้ บวกและขัว้ ลบ สําหรับการทดสอบจะทดสอบดวย
แรงดันอิมพัลสรูปคลื่นมาตรฐาน 1.2/50 µs ที่คา 50%
24

4) การทดสอบแรงดันไฟฟารบกวนคลื่นวิทยุ (radio frequency voltage test ; RIV test) โดย


แรงดันไฟฟารบกวนคลื่นวิทยุของลูกถวยจะหมายถึง คาแรงดันที่ทําใหเกิดโคโรนาบนลูกถวย โดยมาก จะ
เกิดตรงที่บริเวณผิวลูกถวยใกลกับที่พาดหรือยึดสายไฟฟา ซึ่งเปนจุดที่มีความเครียดสนามไฟฟาสูง แลว
สงคลื่นวิทยุรบกวนระบบสื่อสาร ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส สําหรับการทดสอบจะทดสอบดวย
แรงดันกระแสสลับ เพื่อตรวจดูวาลูกถวยเมื่อใชงานยึดหรือรองรับตัวนําไฟฟาแรงสูงนั้น จะตองไม
สรางคลื่นออกไปรบกวนระบบสื่อสาร
5) การทดสอบแรงดันไฟฟาเจาะผาน (puncture voltage test) โดยแรงดันไฟฟาเจาะผาน จะ
หมายถึง แรงดันที่ทําใหเกิดการเจาะทะลุผานเนื้อลูกถวย ไดแกเฉพาะลูกถวยทีม่ ีเนื้อฉนวนปอรซเลน
หรือแกว ที่มีความหนาระหวางอิเล็กโทรดนอยเมื่อเทียบกับระยะอารค เชน ลูกถวยแขวน ลูกถวยกาน
ตรง เปนตน ซึ่งมาตรฐานจะกําหนดใหมกี ารทดสอบการเจาะทะลุดวย สําหรับการทดสอบจะทดสอบ
ดวยแรงดันกระแสความถี่ต่ํา เพื่อตรวจดูวาเนื้อปอรซเลนจะทนตอแรงดันไดมากนอยเทาใด โดยปกติ
การออกแบบจะใหเกิดวาบไฟตามผิวงายกวาการเจาะผาน เพราะเมื่อเกิดเจาะผานเนื้อลูกถวยแลวลูกถวย
นั้นก็ใชงานตอไปไมไดอีก ฉะนั้นเวลาทําการทดสอบแรงดันไฟฟาเจาะผานจึงตองเอา ลูกถวยจุมใน
น้ํามันฉนวน เชน น้ํามันหมอแปลง แตโดยเหตุที่การทดสอบการเจาะทะลุดว ยแรงดันกระแสสลับ
ความถี่ต่ําดังกลาวไมอาจจําลองแบบการเกิดขึ้นจริงในการใชงาน เพราะการใชงานลูกถวยไมไดจุมใน
น้ํามัน และที่เกิดการเจาะทะลุนั้นเนือ่ งจากแรงดันเกินเสิรจที่มีความชันสูงมิใชแรงดันกระแสสลับ
ความถี่ต่ํา ฉะนั้นในปจจุบนั จึงกําหนดมาตรฐานใหมกี ารทดสอบดวยแรงดันอิมพัลสหนาคลื่นชันดวย
6) การทดสอบความคงทนตอแรงดันอิมพัลส (impulse withstand voltage) ซึ่งอาจทําไดโดย
ปอนแรงดันตามที่กําหนดของแตละขั้ว และยอมใหเกิดวาบไฟตามผิวไดไมเกิน 2 ครัง้ หรืออาจหาไดจาก
คาวาบไฟตามผิว 50% คือ หาคาความคงทนตอแรงดันอิมพัลส

การทดสอบคุณสมบัติทางกล
ในการใชงานของลูกถวย นอกจากจะตองมีคุณสมบัตคิ งทนตอความเครียดทางไฟฟาแลว ลูกถวย
ยังไดรับความเครียดทางกล อันเนื่องมาจากน้ําหนักและแรงดึง แรงกระแทกตางๆ ดังนี้
1) การทดสอบความแข็งแรงรวมทางกลและทางไฟฟา (combined mechanical and electrical
test) การทดสอบโดยการปอนแรงดึงตามทีม่ าตรฐานกําหนด แลวจึงปอนแรงดันใหกบั ลูกถวย ซึ่งลูกถวย
ฉนวนจะทนไดมากกวาเมื่อทดสอบทางกลและทางไฟฟาอยางใดอยางหนึ่ง
2) การทดสอบความแข็งแรงตอการกระทบทางกล (impact test) ในการขนสงและการติดตั้ง
ลูกถวยมีโอกาสจะไดรับแรงกระแทกหรือแรงกระทบ โดยลูกถวยจะตองทนตอแรงกลเหลานี้ได ซึ่งจะ
ทดสอบโดยใชตุมมีน้ําหนัก มีแขนยึดหมุนรอบจุดหมุน ยกน้ําหนักใหสูงระดับหนึ่งเพื่อตกกระทบลูกถวย
25

ซึ่งจะไดแรงตามที่มาตรฐานกําหนด หลังจากรับแรงกระแทกแลวตองนําไปทดสอบวาบไฟตามผิวชั่วครู
อีกครั้งหนึ่งวาเกิดรอยราวหรือแตกภายในหรือไม
3) การทดสอบความทนแรงดึง ลูกถวยแขวนในสภาพการใชงานปกติ จะไดรับแรงดึงจาก
น้ําหนักสายไฟฟา ลูกถวยแขวนลูกขางลาง จากแรงลมและอื่นๆ จึงตองทดสอบความทนตอแรงดึงดวย
โดยการดึงฝาครอบดานหนึง่ และที่กานตออีกดานหนึ่งในแนวเดียวกัน (การทดสอบจะทดสอบที่คา
tension proof load) ตามรูปที่ 2-16

รูปที่ 2-16

สวนลูกถวยแทงจะดึงที่ตวั ลูกถวยทั้ง 4 ดานโดยยึดฐานไว เครื่องทดสอบจะทําการหมุนไปจน


ครบทั้ง 4 ดาน (การทดสอบจะทดสอบที่คา cantilever proof load) ตามรูปที่ 2-17

รูปที่ 2-17
26

4) โลดเวลา การทดสอบโลดเวลาเปนการทดสอบดูความมั่นคงของเนื้อปอรซเลนและการเกาะ
แนนของสวนที่เปนโลหะกับซีเมนต โดยการดึงลูกถวยในแนวแกนดวยแรงดึงและเวลานานเทาที่
กําหนด เพราะเวลาใชงานจริงๆ จะไดรับแรงดึงอยูตลอดเวลา หลังการดึงแลวจึงนําไปทดสอบ
ความมั่นคงทางไฟฟาอีกครั้ง เพื่อดูวามีรอยราวภายในหรือไม ซึง่ ลูกถวยที่ดจี ะไมเกิดชํารุดเสียหาย
หรือรอยราวใดๆ
5) ความแข็งแรงสวนที่เหลือ มีโอกาสเปนไปไดทพี่ วงลูกถวยจะไดรบั แรงกระแทกจนปกแตก
หลุดออกไปหมด คงเหลือแตเนื้อปอรซเลนภายในฝาครอบโลหะกับกานตอ สวนที่เหลือนี้จะตองรับ
แรงทางกลของสายตัวนําได การทดสอบทําโดยเคาะปกลูกถวยหลุดออกใหหมดกอนแลวจึงนําไป
ทดสอบ
6) การทดสอบความพรุน (porosity test) ลูกถวยฉนวนจะมีคุณสมบัตทิ างไฟฟาที่ดนี ั้น จะตอง
ไมมีความพรุนเลย ทั้งนี้เพื่อไมใหมกี ารดูดซึมความชืน้ ทําการทดสอบโดยการใชเนื้อปอรซเลนที่ได
จากการทุบใหเปนชิ้นเล็กๆ แลวใสลงไปในถังน้ํายาสารละลายของเบสิกฟุกซินดาย (มีสีมวง) แลวอัด
ความดันประมาณ 2.76 kN/cm2 เปนเวลา 5 ชั่วโมง หรืออัดความดันประมาณ 6.8 kN/cm2 เปนเวลา
2 ชั่วโมง ซึ่งเนื้อปอรซเลนที่ดีนั้นจะไมดดู ซึมสีนี้เขาขางใน ดังรูปที่ 2-18

รูปที่ 2-18

7) การทดสอบการเปลี่ยนอุณหภูมิโดยฉับพลัน (thermal shock test) การทดสอบการเปลี่ยน


อุณหภูมิโดยฉับพลันเปนการตรวจดูความสม่ําเสมอของเนื้อปอรซเลน การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมจิ ากเย็น
ไปรอนและจากรอนไปเย็นโดยทันทีนั้น หากเนื้อไมสม่ําเสมอก็จะทําใหเกิดรอยราวภายในได ฉะนั้น
หลังการทดสอบแลวยังตองไปทดสอบวาบไฟตามผิวชัว่ ครูอีกครั้งหนึ่งวายังคงมีคุณสมบัติทางไฟฟาที่ดี
27

อยู โดยการทดสอบจะจุมน้ําเย็นประมาณ 2OC นาน 10 นาที แลวนําไปจุมน้ํารอนประมาณ 90 OC เปน


เวลานาน 10 นาที ทําซ้ําเดิมจนครบ 10 รอบ

12) การบรรจุหีบหอ หลังการทดสอบตามมาตรฐานที่กาํ หนดตามขอ 11) แลว ก็จะบรรจุหีบ


หอเพื่อรอสงจําหนายหรือใชงานตอไป ดังรูปที่ 2-19

รูปที่ 2-19

เมื่อลูกถวยไดผลิตเสร็จเรียบรอยแลว ขัน้ ตอไปจึงนําลูกถวยฉนวนไฟฟาที่ผลิตไดนี้ไปติดตั้งใช


งาน ซึ่งรูปแบบการติดตั้งใชงานจะมีหลายลักษณะขึ้นอยูกับความเหมาะสมและสภาพแวดลอม เชน
ติดตั้งใชงานในลักษณะแขวนรับสายที่ปลายคอนรับสายหรือเขาปลายสายที่เสา คอร. หรือใชติดตั้ง
แนวนอนกับเสา คอร. เพื่อยื่นออกไปรับสาย ซึ่งในการติดตั้งใชงานในระบบสายเหนือดินในไลน
หนึ่งๆ อาจจะใชลูกถวยฉนวนที่ผลิตจากวัสดุทั้งสามชนิดเลยก็ได ทั้งวัสดุกระเบื้องเคลือบ วัสดุแกว
หรือสารสังเคราะห ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวาพื้นทีต่ ิดตั้งนั้นมีระดับมลภาวะเปนอยางไร

2.3 ชนิดลูกถวยที่ใชในระบบสายสง 115 kV


ตามที่ไดกลาวในหัวขอที่แลววา เมื่อลูกถวยฉนวนผลิตเสร็จแลว จากนั้นจะนําไปติดตั้งใชงาน
ซึ่งสามารถแยกประเภทการติดตั้งใชงานหลักๆ ไดเปน 2 รูปแบบ คือ
1. ติดตั้งใชงานแบบแขวน
2. ติดตั้งใชงานแบบยึดอยูก บั ที่ลักษณะตั้งหรือนอน
28

ซึ่งจําเปนตองเรียกชื่อลูกถวยฉนวนไฟฟาใหมเพื่อใหสอดคลองกับการติดตั้งใชงานดวยโดย
การเรียกชื่อลูกถวยฉนวนไฟฟาจะเรียกการติดตั้งใชงานกอนแลวตอดวยวัสดุทใี่ ชทําลูกถวย ดังนั้นใน
ระบบสายสง 115 kV จึงสามารถแบงชนิดลูกถวยฉนวนไฟฟาตามการติดตั้งใชงาน และวัสดุทใี่ ชทํา ซึ่ง
มีทั้งหมด 4 ชนิด คือ
1. ลูกถวยแขวนปอรซเลน (suspension type porcelain insulator) หรือลูกถวยฉนวนกระเบื้อง
เคลือบ ตาม มอก. 354 ซึ่งมีใชงาน 2 ชนิด คือ แบบ ค. (แบบ 52-3) และแบบ จ. (แบบ 52-8) ใชสําหรับ
ติดตั้งแบบหอยแขวนในแนวดิ่ง หรือแบบเขาปลายสายในแนวนอน

รูปที่ 2-20 แสดงลูกถวยแขวนปอรซเลน


2. ลูกถวยแขวนแกวเหนียว (suspension type toughened glass insulator) ตาม มอก.563 ซึ่งมีใช
งาน 2 ชนิด คือแบบ 52-3 และแบบ 52-8 ใชสําหรับติดตั้งแบบหอยแขวนในแนวดิง่ หรือแบบเขาปลาย
สายในแนวนอน

รูปที่ 2-21 แสดงลูกถวยแขวนแกวเหนียว


29

3. ลูกถวยแขวนคอมโพสิต (115 kV composite suspension insulators)

รูปที่ 2-22 แสดงลูกถวยแขวนคอมโพสิต

4. ลูกถวยแบบโพสท 115 เควี ติดตั้งในแนวนอน (115 kV post type insulator, horizontal


mounting)

รูปที่ 2-23 แสดงลูกถวยแบบโพสท 115 เควี ติดตั้งในแนวนอน


30

ซึ่งลูกถวยแตละชนิดจะมีขอดีแตกตางกัน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. ลูกถวยแขวนปอรซเลน มีลักษณะเดน คือ
1. สามารถนํามาหอยแขวนตอเปนพวงได
2. ติดตั้งไดทั้งในแนวดิ่งและแนวระนาบ
3. เพิ่มหรือลดจํานวนใหเหมาะสมกับแรงดันได
4. สามารถถอดเปลี่ยนลูกถวยลูกที่ชํารุดได
5. ผิวจะเคลือบเปนมัน เพื่อใหน้ําฝนชําระสิ่งสกปรกออกไดงาย
2. ลูกถวยแขวนแกวเหนียว มีลักษณะเดนเพิ่มเติมจากลูกถวยแขวนปอรซเลน คือ
1. คาสัมประสิทธิ์การขยายตัวตอความรอนต่ํา
2. ไมแตกราวหรือหดตัว ในบริเวณที่มีความแตกตางของอุณหภูมิมาก
3. ลูกถวยแขวนคอมโพสิต มีลักษณะเดน คือ
1. เปนลูกถวยแรงสูง ปกทําดวยยางโพลิเมอร
2. มีน้ําหนักเบากวาเนื้อปอรซเลน
3. ระยะรัว่ (leakage distance) สูงกวาลูกถวยแขวนปอรซเลน ทําใหพวงลูกถวยสั้นกวา
4. ใชในบริเวณที่มีมลภาวะสูง เชน ชายทะเล หรือโรงงานอุตสาหกรรม
4. ลูกถวยแบบโพสท 115 เควี ติดตั้งในแนวนอน มีลักษณะเดน คือ
1. เหมาะสําหรับการเดินสายผานชองทางที่แคบ โดยดานขางเปนอาคาร หรือตนไม
2. เพื่อเพิม่ ระยะหางระหวางจุดยึดสายไฟฟากับสิ่งกอสรางดานขางใหมากขึน้ เนื่อง
จากลูกถวยมีความยาวรวมนอย
3. ไมตองคํานึงถึงเรื่องลมในการพิจารณาฉนวนอากาศที่โครงสรางเสา
2.4 การเลือกใชลูกถวยฉนวนไฟฟาในระบบสายสง 115 kV
การเลือกชนิดลูกถวยฉนวนไฟฟา เพื่อใชงานในระบบไฟฟาของ กฟภ. ใหพจิ ารณาตาม
มาตรฐาน IEC 60815 โดยอันดับแรกใหพิจารณาพื้นที่ที่ติดตั้งลูกถวยใชงานในตารางที่ 2-2 วาอยูใน
พื้นที่ลักษณะแบบใด เมื่อไดลกั ษณะพืน้ ที่แลวก็เลือกใหตรงกับระดับมลภาวะ (ระดับของความเปรอะเปอ น)
ซึ่งเมื่อไดระดับมลภาวะแลวใหตรวจสอบวาระดับมลภาวะนี้มีคาตรงกับระยะรั่วจําเพาะต่ําสุดของลูกถวย
ฉนวน (minimum nominal specific creepage distance) ที่คาใดใน 4 คา คือ 16 , 20 , 25 หรือ 31
มิลลิเมตร/กิโลโวลต (mm/kV) ที่กําหนดไวในตารางที่ 2-3 โดยแรงดันที่ตองใชนจี้ ะเปนแรงดันระหวาง
สายสูงสุดใชงานที่อุปกรณทนได (highest voltageL-L for equipment) ซึ่งระยะรั่วทีไ่ ดจะนําไปหาชนิด
ของลูกถวยฉนวนไฟฟาเพือ่ ใชงาน โดยจะใชลูกถวยฉนวนไฟฟาแบบใดนัน้ ใหนําระยะรัว่ นี้ไปเทียบกับ
ระยะรัว่ (leakage distance) ของลูกถวยฉนวนไฟฟานัน้ ๆ ซึ่งสุดทายก็จะไดชนิดของลูกถวยที่เหมาะสม
ในพื้นทีใ่ ชงานนั้นๆ เชน บริเวณโรงงานอุตสาหกรรม หรือบริเวณชายฝงทะเล
31

ตารางที่ 2-2 การแบงระดับความเปรอะเปอนตามมาตรฐาน IEC 60815


ระดับของความเปรอะเปอน ตัวอยางรูปแบบสภาพแวดลอม
(pollution level) (examples of typical environment)
1. เล็กนอย (light) พื้นที่ที่มีมลภาวะในระดับเล็กนอย เชน :-
- บริเวณที่ปลอดจากการประกอบอุตสาหกรรม และชุมชนที่
มีอัตราการใชเครื่องทําความรอนปริมาณนอย
- บริเวณที่มีความหนาแนนของอุตสาหกรรมหรือที่อยูอาศัย
นอยโดยที่จะตองเปนบริเวณที่มีลมพัดผานหรือมีฝนตก
บอย
- บริเวณเขตเกษตรกรรมหรือบริเวณที่อยูใกลๆ ภูเขา
ซึ่งพื้นที่ทั้งหมดเหลานี้ จะตองอยูห างจากชายฝงทะเลเกิน
กวา 1 กิโลเมตร และไมมีลมทะเลพัดผานโดยตรง
2. ปานกลาง (medium) พื้นที่ที่มีมลภาวะในระดับปานกลาง เชน :-
- บริเวณเขตอุตสาหกรรมที่ไมไดมีการสรางฝุนหรือควัน
ออกมา หรืออาจจะเปนบริเวณยานชุมชนที่มีอัตราการใช
เครื่องทําความรอนปานกลาง
- บริเวณยานชุมชนหรือเขตอุตสาหกรรมหนาแนน แตจะตอง
มีลมพัดผานหรือฝนตกบอย
- บริเวณที่มีลมทะเลพัดผาน และอยูหางจากชายฝงทะเลไม
เกิน 1 กิโลเมตร
3. ระดับสูง (heavy) พื้นที่ที่มีมลภาวะในระดับสูง เชน :-
- เขตอุตสาหกรรมหนาแนนหรือบริเวณชานเมืองของเมืองใหญ
ที่มีอัตราการใชเครื่องทําความรอนสูง
- บริเวณที่อยูห างจากชายฝง ทะเลไมเกิน 1 กิโลเมตร หรือที่
ไดรับลมทะเลที่รุนแรงโดยตรง
4. ระดับสูงมาก (very heavy) พื้นที่ที่มีมลภาวะในระดับสูงมาก เชน :-
- บริเวณที่เปนเขตรับฝุนควันจากโรงงานอุตสาหกรรมโดยตรง
โดยเฉพาะฝุนที่เปน thick conductive deposite
- บริเวณที่อยูห างจากชายฝง ทะเลไมเกิน 1 กิโลเมตร และ
ไดรับละอองน้ําทะเลโดยตรง หรือบริเวณที่มีการรับทัง้ ลม
และมลภาวะทีร่ ุนแรงมากจากทะเลโดยตรง
32

ตารางที่ 2-3 ระยะรั่วจําเพาะต่ําสุดที่ความเปรอะเปอนระดับตางๆ ตามมาตรฐาน IEC 60815

ระดับของความเปรอะเปอน ระยะรัว่ จําเพาะต่ําสุด (มิลลิเมตร/กิโลโวลท)


(pollution level) (minimum nominal specific creepage distance) (mm/kV)

1. เล็กนอย (light) 16
2. ปานกลาง (medium) 20
3. ระดับสูง (heavy) 25
4. ระดับสูงมาก (very heavy) 31

ซึ่งตอไปจะเปนการพิจารณาลูกถวยแตละชนิดของ กฟภ. ที่กําหนดไวในหัวขอ 2.3 วาจะมี


ความเหมาะสมที่มลภาวะระดับใดบาง โดยใชหลักการพิจารณาตามทีไ่ ดกลาวไปแลว ซึ่งมีดังนี้

1. ลูกถวยแขวนปอรซเลน
ตาม มอก. 354 แบบ ค. (แบบ 52-3) มีคาระยะรัว่ เทากับ 292 มม. และแบบ จ. (แบบ 52-8)
มีคาระยะรัว่ เทากับ 279.5 มม.
จากตารางที่ 2-3 ที่ระดับมลภาวะเล็กนอย

ระยะรัว่ จําเพาะต่ําสุดที่ระดับมลภาวะเล็กนอย = 16 มิลลิเมตร/กิโลโวลท

จากที่มาตรฐาน IEC 60815 กําหนดใหใชแรงดันระหวางสายสูงสุดใชงานที่อุปกรณทนได


(highest voltageL-L for equipment) ซึ่งตามมาตรฐาน IEC 71-1 กําหนดวาระดับแรงดัน 115 kV จะมีคา
แรงดันระหวางสายสูงสุดเปน 123 kV ดังนั้นระบบสายสง 115 kV ของ กฟภ. จึงมีคาแรงดันระหวาง
สายสูงสุดเปน 123 kV ดังนัน้ จึงหาคาระยะรั่วต่ําสุดของลูกถวย ดังนี้

ลูกถวยที่ใชในระบบ 115 kV = 16 (มิลลิเมตร/กิโลโวลท) x 123 (กิโลโวลท)


ที่ระดับมลภาวะเล็กนอย มีระยะรั่วต่าํ สุด
= 1,968 มิลลิเมตร

ดังนั้นจะตองใชลูกถวยแขวนปอรซเลน มอก. 354 แบบ ค. (แบบ 52-3) ซึ่งมีคาระยะรัว่ ตอลูก


เทากับ 292 มม. จํานวนทั้งสิ้น
1,968
= = 6.7 ลูก
292
SAY = 7 ลูก
33

ซึ่งตามมาตรฐานการประกอบลูกถวยแขวนของ กฟภ. จะใชลูกถวยจํานวน 7 ลูกที่คํานวณไดนี้


ในงานลักษณะหอยแขวนรับสายในแนวดิง่ ทั้งสายไฟฟาเดี่ยว (single conductor) และสายไฟฟาคู (bundle
conductor)
สําหรับที่ระดับมลภาวะปานกลาง (medium) สูง (heavy) หรือสูงมาก (very heavy) ก็จะหาได
ในทํานองเดียวกัน ซึ่งจะไดวา

ที่ระดับมลภาวะปานกลาง
ระยะรัว่ จําเพาะต่ําสุดที่ระดับมลภาวะปานกลาง = 20 มิลลิเมตร/กิโลโวลท
ลูกถวยทีใ่ ชในระบบ 115 kV = 20 (มิลลิเมตร/กิโลโวลท) x 123 (กิโลโวลท)
ที่ระดับมลภาวะปานกลางมีระยะรั่วต่ําสุด
= 2,460 มิลลิเมตร

ดังนั้นจะตองใชลูกถวยแขวนปอรซเลน มอก. 354 แบบ ค. (แบบ 52-3) ซึ่งมีคาระยะรัว่ ตอลูก


เทากับ 292 มม. จํานวนทั้งสิ้น

2, 460
=
292
= 8.42 ลูก
SAY = 9 ลูก

ที่ระดับมลภาวะสูง
ระยะรัว่ จําเพาะต่ําสุดที่ระดับมลภาวะสูง = 25 มิลลิเมตร/กิโลโวลท
ลูกถวยทีใ่ ชในระบบ 115 kV = 25 (มิลลิเมตร/กิโลโวลท) x 123 (กิโลโวลท)
ที่ระดับมลภาวะรุนแรงมีระยะรัว่ ต่ําสุด
= 3,075 มิลลิเมตร

ดังนั้นจะตองใชลูกถวยแขวนปอรซเลน มอก. 354 แบบ ค. (แบบ 52-3) ซึ่งมีคาระยะรัว่ ตอลูก


เทากับ 292 มม. จํานวนทั้งสิ้น
3,075
=
292
= 10.53 ลูก
SAY = 11 ลูก
34

ที่ระดับมลภาวะสูงมาก
ระยะรัว่ จําเพาะต่ําสุดที่ระดับมลภาวะสูงมาก = 31 มิลลิเมตร/กิโลโวลท
ลูกถวยที่ใชในระบบ 115 kV = 31 (มิลลิเมตร/กิโลโวลท) x 123 (กิโลโวลท)
ที่ระดับมลภาวะรุนแรงมากมีระยะรัว่ ต่ําสุด
= 3,813 มิลลิเมตร

ดังนั้นจะตองใชลูกถวยแขวนปอรซเลน มอก. 354 แบบ ค. (แบบ 52-3) ซึ่งมีคาระยะรัว่ ตอลูก


เทากับ 292 มม. จํานวนทั้งสิ้น

3,813
=
292
= 13.05 ลูก
SAY = 13 ลูก

สําหรับลูกถวยแขวนปอรซเลน แบบ จ. (แบบ 52-8) มีคาระยะรั่วเทากับ 279.5 มม. ก็จะมีวิธีหา


จํานวนลูกถวยเชนเดียวกัน ซึ่งใชงานในการแขวนรับสายในแนวนอนลักษณะการเขาปลายสาย สําหรับ
สายไฟคู (bundle conductor) สวนการประกอบเขาปลายสาย สําหรับสายไฟเดี่ยว (single conductor) จะ
ใชลูกถวยแขวนปอรซเลน แบบ ค. (แบบ 52-3) เนื่องจากมีความสามารถในการรับแรงดึงในสายเสนเดียว
ไดอยางเพียงพอ
ดังนั้นจะลองหาจํานวนลูกถวยแขวนปอรซเลน แบบ จ. (แบบ 52-8) ที่ใชตามมาตรฐาน กฟภ.
ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

จากตารางที่ 2-3 ที่ระดับมลภาวะเล็กนอย

ลูกถวยทีใ่ ชในระบบ 115 kV = 16 (มิลลิเมตร/กิโลโวลท) x 123 (กิโลโวลท)


ที่ระดับมลภาวะเล็กนอยมีระยะรั่วต่ําสุด
= 1,968 มิลลิเมตร

ดังนั้นจะตองใชลูกถวยแขวนปอรซเลน มอก. 354 แบบ จ. (แบบ 52-8) ซึ่งมีคาระยะรัว่ ตอลูก


เทากับ 279.5 มม. จํานวนทัง้ สิ้น
1,968
= = 7.04 ลูก
279.5
SAY = 7 ลูก
35

ตามที่ไดกลาวแลววาลูกถวยแขวนปอรซเลน แบบ จ. (แบบ 52-8) ไดนําไปใชในการแขวนรับ


สายในแนวนอนลักษณะการเขาปลายสาย สําหรับสายไฟฟาคู (bundle conductor) แตเนื่องจากการติดตั้ง
ลูกถวยแขวนแบบรับแรงดึงจะติดตั้งในแนวนอน เมื่อฝนตกน้ําสามารถสาดเขาไปดานในของลูกถวย
ได ซึ่งถาหากใชจํานวนลูกถวยแขวนเพียงจํานวน 7 ลูก ก็จะทําใหเกิดเบรกดาวนที่ฉนวนลูกถวยได
ตามมาตรฐาน กฟภ. จึงเพิ่มลูกถวยแขวนอีกจํานวน 3 ลูก รวมเปนจํานวน 10 ลูก สวนการเขาปลายสาย
แบบสายไฟฟาเดี่ยว (single conductor) ที่ใชลูกถวยแขวนปอรซเลน แบบ ค. (แบบ 52-3) ก็ใชจํานวน
10 ลูก เชนเดียวกัน
นอกจากจะพิจารณาจํานวนลูกถวยแขวนปอรซเลนตามมาตรฐาน IEC 60815 แลว ยังตอง
พิจารณาวาจํานวนลูกถวยทีน่ ํามาตอเปนชุดพวงลูกถวยนั้น มีคา Critical Impulse Average Flashover
(Positive) เพียงพอหรือไมดวย โดยเมือ่ พิจารณาจาก Standard String Flashover Characteristics of
Suspension Insulators base on the test procedures of ANSI C29.1 ตามตารางที่ 2-4 ชุดพวงลูกถวยแขวน
ปอรซเลนจํานวน 7 ลูก จะมีคา Critical Impulse Average Flashover (Positive) 695 kV ซึ่งมากกวา
550 kV ดังนั้นจะมีความเหมาะสมในการใชงาน (ตามมาตรฐาน IEC 71-1 ไดระบุไววาที่แรงดันระหวาง
สายกับสายที่ใชงานที่ระดับ 115 kV ฉนวนของอุปกรณจะตองมีคา Critical Impulse Positive Flashover
(BIL ; Base Impulse Level) ไมนอยกวา 550 kV) และเมื่อจํานวนลูกถวยตอชุดมีคามากขึ้น คา Critical
Impulse Positive Flashover ก็จะมีคามากขึน้ ตามเชนเดียวกัน

ตารางที่ 2-4 แสดง Standard String Flashover Characteristics of Suspension Insulators


base on the test procedures of ANSI C29.1 เฉพาะลูกถวยแขวนที่ กฟภ. ใชงาน

Disc Dia. x 1 2 3 4 5 6 7 8 9
No. of unit
spacing
Low -
Dry/kV 80 155 215 270 325 380 435 485 540
frequency
Average
10”x5¾” Wet/kV 50 90 130 170 215 255 295 335 375
Flashover
(254x146 mm)
Critical -
Positive/kV 125 255 355 440 525 610 695 780 860
Impulse
Average
Negative/kV 130 255 345 415 495 585 670 760 845
Flashover
36

ซึ่งตามตารางที่ 2-4 นี้ เปนการยกตัวอยางของลูกถวยแขวนจํานวนไมเกิน 9 ลูก โดยขนาด


ลูกถวยแขวนจะใกลเคียงกับที่ กฟภ. มีใชงาน
ดังนั้นจะขอสรุปการใชงานลูกถวยแขวนปอรซเลนตามมาตรฐาน กฟภ. ที่มีความเหมาะสมใน
ระดับมลภาวะเล็กนอย และมีคา Critical Impulse Positive Flashover เพียงพอ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

1. ลูกถวยแขวนปอรซเลน แบบ ค. (แบบ 52-3) มอก.354


- ใชงานในลักษณะหอยแขวนรับสายในแนวดิ่งทั้งสายไฟฟาเดี่ยวและสายไฟฟาคู
จํานวน 7 ลูก
- ใชในการประกอบเขาปลายสายแบบขางเดียวหรือทั้งสองขางของสายแบบสายไฟฟา
เดี่ยว (single conductor) จํานวน 10 ลูก
2. ลูกถวยแขวนปอรซเลน แบบ จ. (แบบ 52-8) มอก.354
- ใชในการประกอบเขาปลายสายแบบขางเดียวหรือทั้งสองขางของสายแบบสายไฟฟาคู
(bundle conductor) จํานวน 10 ลูก

2. ลูกถวยแขวนแกวเหนียว
ตาม มอก. 563 แบบ 52-3 มีคาระยะรัว่ (leakage distance) เทากับ 292 มม. และแบบ 52-8 มี
คาระยะรัว่ (leakage distance) เทากับ 279.5 มม. ซึ่งมีคาเทากับลูกถวยแขวนปอรซเลนแบบ ค. (แบบ
52-3) มอก.354 และลูกถวยแขวนปอรซเลน แบบ จ. (แบบ 52-8) มอก.354 ตามลําดับ ดังนั้นวิธีการหา
จํานวนลูกถวยใชงาน รวมไปถึงสรุปใชงานของลูกถวยแขวนแกวเหนียวก็มหี ลักการเชนเดียวกับลูกถวย
แขวนปอรซเลนทุกประการ ซึ่งสรุปไดวาใหใชลูกถวยแขวนแกวเหนียวในระดับมลภาวะเล็กนอยเทานั้น
โดยที่มีคา Critical Impulse Positive Flashover เพียงพอ เพียงแตจะมีขอดีกวาลูกถวยแขวนปอรซเลนบาง
ประการตามทีไ่ ดกลาวไปกอนหนานี้แลว

3. ลูกถวยแขวนคอมโพสิต
ตามสเปคลูกถวยแขวนคอมโพสิต ของ กฟภ. มีใชงานทั้งหมด 3 แบบ โดยทุกแบบมีคา
ระยะรัว่ (leakage distance) เทากับ 3,810 มม. ซึ่งเปนการกําหนดมาจากตารางที่ 2-3 ที่ระดับมลภาวะสูงมาก
ดังนั้นจะไดวา
ระยะรัว่ จําเพาะต่ําสุดที่ระดับมลภาวะสูงมาก = 31 มิลลิเมตร/กิโลโวลท
ลูกถวยที่ใชในระบบ 115 kV = 31 (มิลลิเมตร/กิโลโวลท) x 123 (กิโลโวลท)
ที่ระดับมลภาวะสูงมากมีระยะรั่วต่ําสุด
= 3,813 มิลลิเมตร
37

ในสวนคา Critical Impulse Positive Flashover ตามสเปค กฟภ. กําหนดไว 590 kV โดยมีคา
มากกวา 550 kV มีคาเพียงพอ จึงสรุปไดวาลูกถวยคอมโพสิต ที่ กฟภ. มีใชงานในปจจุบันนี้สามารถใช
งานได และสามารถใชงานไดทุกระดับมลภาวะจนถึงระดับมลภาวะสูงมากซึ่งเปนระดับมลภาวะสูงสุด

4. ลูกถวยแบบโพสท 115 เควี ติดตั้งในแนวนอน


ตามสเปคลูกถวยแบบโพสท 115 เควี ติดตั้งในแนวนอนของ กฟภ. มีคาระยะรั่ว (leakage
distance) เทากับ 2,920 มม. ซึ่งจากตารางที่ 2-3 ที่ระดับมลภาวะปานกลาง จะไดวา

ระยะรัว่ จําเพาะต่ําสุดที่ระดับมลภาวะปานกลาง = 20 มิลลิเมตร/กิโลโวลท


ลูกถวยทีใ่ ชในระบบ 115 kV = 20 (มิลลิเมตร/กิโลโวลท) x 123 (กิโลโวลท)
ที่ระดับมลภาวะปานกลางมีระยะรั่วต่ําสุด
= 2,460 มิลลิเมตร

ในสวนคา Critical Impulse Positive Flashover ตามสเปค กฟภ. กําหนดไว 695 kV โดยมีคา
มากกวา 550 kV ซึ่งมีคาเพียงพอ จึงสรุปไดวาลูกถวยแบบโพสท 115 เควี ติดตั้งในแนวนอนที่ กฟภ. มี
ใชงานในปจจุบันนี้สามารถใชงานได และใชงานไดในระดับมลภาวะเล็กนอยจนถึงระดับมลภาวะปานกลาง
เทานั้น สวนที่ระดับมลภาวะสูงจนถึงสูงมาก จะไมมีความเหมาะสมในการใชงาน

2.5 แบบมาตรฐานที่เกี่ยวของกับลูกถวยฉนวนไฟฟาในระบบสายสง 115 kV


ปจจุบัน กฟภ. มีแบบมาตรฐานหลักเกณฑการใชลูกถวยแรงสูง ในระบบสายสง 115 kV ตาม
แบบเลขที่ SA1-015/50001 (การประกอบเลขที่ 5163) ที่เปนการนําเอาผลที่ไดจากหัวขอที่ 2.4 มา
กําหนดเปนแบบมาตรฐาน โดยในแบบมาตรฐานดังกลาวไดสรุปการเลือกใชลูกถวยฉนวนไฟฟาใน
ระบบสายสง 115 kV ทั้ง 4 ชนิด ที่ กฟภ. มีใชงาน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

1. พื้นที่ที่มีมลภาวะในระดับเล็กนอย (light polluted areas) ใช


- ลูกถวยแขวนปอรซเลน แบบ ค. (แบบ 52-3) มอก.354 (วัสดุเลขที่ 1030020001)
และแบบ จ. (แบบ 52-8) มอก.354 (วัสดุเลขที่ 1030020003)
- ลูกถวยแขวนแกวเหนียว แบบ 52-3 มอก.563 (วัสดุเลขที่ 1030020001) และ
แบบ 52-8 มอก.563 (วัสดุเลขที่ 1030020003)
- ลูกถวยแบบโพสท 115 เควี ติดตั้งในแนวนอน (วัสดุเลขที่ 1030010204)
38

ทั้งนี้ในพืน้ ที่ทมี่ ีมลภาวะเล็กนอยที่เกิดปญหากับลูกถวยแขวน สามารถใชลูกถวยแขวน


คอมโพสิตแทนลูกถวยแขวนปอรซเลนหรือลูกถวยแขวนแกวเหนียวได

2. พื้นที่ที่มีมลภาวะในระดับปานกลาง (medium polluted areas) ใช


- ลูกถวยแขวนคอมโพสิต 115 kV ยาว 1,100 – 1,200 มม. รับแรงดึงไมนอ ยกวา
110 กิโลนิวตัน (วัสดุเลขที่ 1030020100)
- ลูกถวยแขวนคอมโพสิต 115 kV ยาว 1,500 – 1,600 มม. รับแรงดึงไมนอยกวา
110 กิโลนิวตัน (วัสดุเลขที่ 1030020101)
- ลูกถวยแขวนคอมโพสิต 115 kV ยาว 1,500 – 1,600 มม. รับแรงดึงไมนอยกวา
220 กิโลนิวตัน (วัสดุเลขที่ 1030020103)
- ลูกถวยแบบโพสท 115 เควี ติดตั้งในแนวนอน (วัสดุเลขที่ 1030010204)

3. พื้นที่ที่มีมลภาวะในระดับสูง (heavy polluted areas) และในระดับสูงมาก (very


heavy polluted areas) ใช
- ลูกถวยแขวนคอมโพสิต 115 kV ยาว 1,100 – 1,200 มม. รับแรงดึงไมนอยกวา
110 กิโลนิวตัน (วัสดุเลขที่ 1030020100)
- ลูกถวยแขวนคอมโพสิต 115 kV ยาว 1,500 – 1,600 มม. รับแรงดึงไมนอยกวา
110 กิโลนิวตัน (วัสดุเลขที่ 1030020101)
- ลูกถวยแขวนคอมโพสิต 115 kV ยาว 1,500 – 1,600 มม. รับแรงดึงไมนอยกวา
220 กิโลนิวตัน (วัสดุเลขที่ 1030020103)

ในการออกแบบ หรือกอสรางหนางาน สามารถเลือกชนิดของลูกถวยฉนวนไฟฟาใหมีความ


เหมาะสมตามแบบมาตรฐานหลักเกณฑฯ ที่กําหนดไวได ซึ่งจะมีความงายเพราะเพียงแตพจิ ารณาให
สอดคลองตามที่กําหนดไวในมาตรฐานหลักเกณฑฯ ก็เปนอันใชงานได
อยางไรก็ตามยังมีอยูอีกหนึง่ ตัวแปรสําคัญที่สามารถนํามาพิจารณาการเลือกชนิดลูกถวยฉนวน
ไฟฟาใหมีความเหมาะสมในระดับมลภาวะนั้นๆ ไดเชนกัน นอกเหนือจากการเลือกชนิดลูกถวย
ฉนวนไฟฟาจากมาตรฐานหลักเกณฑฯ ตามที่ไดกลาวไว โดยจะเปนการทดสอบลูกถวยฉนวนไฟฟาดวย
การตรวจสอบปริมาณสะสมของสิ่งเปรอะเปอนบนผิวลูกถวยเทียบเทากับปริมาณของเกลือ (NaCl) หรือ
เรียกวาเปนการตรวจสอบคา ESDD ( Equivalent Salt Deposit Density) แทน ซึ่งตามมาตรฐาน IEC
60815 ไดกําหนดระดับมลภาวะไว ดังตารางที่ 2-5
39

ตารางที่ 2-5 คา ESDD ที่ความเปรอะเปอนระดับตางๆ ตามมาตรฐาน IEC 60815

ระดับของความเปรอะเปอน ESDD
(pollution level) (มิลลิกรัม/ตารางเซนติเมตร)
1. เล็กนอย (light) 0.03 – 0.06
2. ปานกลาง (medium) 0.10 – 0.20
3. ระดับสูง (heavy) 0.30 – 0.60
4. ระดับสูงมาก (very heavy) ไมระบุ

ทั้งนี้ใหแยกการเลือกใชลูกถวยฉนวนไฟฟาดังนี้
1. กรณีที่ไมรูคา ESDD ใหเลือกลูกถวยฉนวนไฟฟาจากตารางในแบบมาตรฐานหลักเกณฑการ
ใชลูกถวยแรงสูงในระบบสายสง 115 kV ตามที่ไดกลาวไปแลว
2. กรณีที่รูคา ESDD ใหใชคา ESDD เปนเกณฑในการพิจารณาเลือกใชลูกถวยใชงาน และ
หากคา ESDD ไมอยูในชวงที่ระบุไว ใหใชระดับมลภาวะที่สูงขึ้นไปแทน
ซึ่งคา ESDD นอกจากจะกําหนดไวโดยมาตรฐาน IEC แลว ยังกําหนดโดยมาตรฐาน IEEE และ
องคกร CIGRE ดวย ซึ่งตามหนังสือ Insulation Coordination for Power System โดย Andrew
R.Hileman ไดเปรียบเทียบระดับความเปรอะเปอนตามระดับคา ESDD ของ CIGRE , IEEE และ IEC ดัง
ตารางที่ 2-6 ดังนี้

ตารางที่ 2-6 เปรียบเทียบระดับของความเปรอะเปอนตามระดับคา ESDD ของ CIGRE , IEEE และ IEC

ระดับของความเปรอะเปอน ESDD
(pollution level) (มิลลิกรัม/ตารางเซนติเมตร)
CIGRE IEEE IEC
ปกติ 0.0075 – 0.015
นอยมาก 0.015 – 0.03 0.03
เล็กนอย 0.03 – 0.06 0.03 – 0.06 0.03 – 0.06
ปานกลาง 0.06 – 0.12 0.06 – 0.10 0.10 – 0.20
สูง 0.12 – 0.24 > 0.10 0.30 – 0.60
สูงมาก 0.24 – 0.48
สูงมากพิเศษ > 0.48
40

แต กฟภ. ไดเลือกใชมาตรฐาน IEC เนื่องจากมีความยืดหยุน มากกวา และสําหรับคาที่ระบุใน


ตารางที่ไมตอเนื่องกันนัน้ ก็ใหใชระดับมลภาวะถัดขึน้ ไปเปนเกณฑในการพิจารณาเลือกลูกถวยฉนวน
ไฟฟาแทน
เมื่อพิจารณาเลือกลูกถวยฉนวนไฟฟาไดเหมาะสมสอดคลองในแตละระดับมลภาวะตามมาตรฐาน
หลักเกณฑฯ หรือตามคา ESDD ที่วัดไดแลว ตอไปจะเปนการทราบถึงการประกอบลูกถวยฉนวนไฟฟา
ที่ติดตั้งใชงานในระบบไฟฟา โดยดานหนึง่ ของลูกถวยจะติดตั้งเขากับคอนรับสายหรือเสาไฟฟาสวนอีก
ดานหนึ่งจะยึดสายตัวนําไฟฟา ซึ่งลูกถวยแตละชนิดจะมีรูปแบบการประกอบแตกตางกัน ทัง้ นี้เปน
เพราะมาตรฐานในการออกแบบและการทดสอบไดระบุลูกถวยแตละชนิดไวแตกตางกัน
ดังนั้นในสวนตอไป จะไดกลาวถึงการประกอบชุดลูกถวยฉนวนไฟฟาทั้งหมด ที่ใชรวมกับ
โครงสรางสายสงของ กฟภ. โดยรายละเอียดจะไดกลาวตอจากนี้ไป
41

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 1


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-1
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SO2-015/19027 (4601/5601)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสงสําหรับทางตรง ของ กฟภ. เพื่อรับ
สายไฟฟาในแนวดิ่ง แบบสายไฟฟาเดี่ยว โดย
- รายละเอียด A (แบบ D-1A) จะใชกับระบบแรงดัน 69 kV
- รายละเอียด C (แบบ D-1C) จะใชกับระบบแรงดัน 115 kV
หมายเหตุ ปจจุบนั จะไมคอยใชงานแลว สวนมากจะใชการประกอบลูกถวยแขวน
แบบ D-11 แทน
42

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 2


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SO2-015/19028 (4602/5602)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสงสําหรับทางโคง ของ กฟภ. เพื่อรับ
สายไฟฟาในแนวดิ่ง แบบสายไฟฟาเดี่ยว โดย
- รายละเอียด A (แบบ D-2A) จะใชกับระบบแรงดัน 69 kV
- รายละเอียด B (แบบ D-2B) , C (แบบ D-2C) และ D (แบบ
D-2D) จะใชกบั ระบบแรงดัน 115 kV
หมายเหตุ ใชแทนการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-1 และ D-11 กรณีที่มี
ปญหาการหลุดของชุดพวงลูกถวยแขวนออกจากคอนรับสายบอยครั้ง
43

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 3


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-3
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SO2-015/19029 (4603/5603)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสงของ กฟภ. ที่มกี ารเขาปลายสาย เพื่อรับ
สายไฟฟาในแนวนอน แบบสายไฟฟาเดีย่ ว โดย
- รายละเอียด A (แบบ D-3A) และ และ B (แบบ D-3B) จะใชกับ
ระบบแรงดัน 69 kV
- รายละเอียด C (แบบ D-3C) จะใชกับระบบแรงดัน 115 kV
หมายเหตุ กรณีมีปญหาเกี่ยวกับหนาสัมผัสไมดี หรือไมมีวัสดุอุปกรณประกอบ
ลูกถวยในบางรายการ สามารถใชการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-4
แทนได ทัง้ นีจ้ ะตองเพิม่ ชุดตอสาย (splicing) แบบไมรับแรงดึง จํานวน
1 ชิ้น เพื่อสําหรับเชื่อมสาย
44

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 4


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-4
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SO2-015/19030 (4604/5604)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสงของ กฟภ. ที่มกี ารเขาปลายสาย เพื่อรับ
สายไฟฟาในแนวนอน แบบสายไฟฟาเดีย่ ว โดย
- รายละเอียด A (แบบ D-4A) และ และ B (แบบ D-4B) จะใชกับ
ระบบแรงดัน 69 kV
- รายละเอียด C (แบบ D-4C) จะใชกับระบบแรงดัน 115 kV
หมายเหตุ ใชแทนการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-3 ได เพื่อแกปญหา
กรณีหนาสัมผัสไมดี หรือไมมีวัสดุอุปกรณประกอบลูกถวยในบาง
รายการ
45

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 11


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-11
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/23025 (4605/5605)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสงสําหรับทางตรง ของ กฟภ. เพื่อรับ
สายไฟฟาในแนวดิ่ง แบบสายไฟฟาเดี่ยว โดย
- รายละเอียด A (แบบ D-11A) จะใชกับระบบแรงดัน 69 kV
- รายละเอียด C (แบบ D-11C) จะใชกับระบบแรงดัน 115 kV
หมายเหตุ ใชแทนการประกอบลูกถวยแขวน แบบ D-1
46

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 12


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-12
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/23026 (4606/5606)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสงสําหรับทางโคง ของ กฟภ. เพื่อรับ
สายไฟฟาในแนวดิ่ง แบบสายไฟฟาคู โดย
- รายละเอียด A (แบบ D-12A) จะใชกับระบบแรงดัน 69 kV
- รายละเอียด B (แบบ D-12B) , C (แบบ D-12C) และ D (แบบ
D-12D) จะใชกับระบบแรงดัน 115 kV
หมายเหตุ ใชแทนการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-17 กรณีที่มีปญ  หาการหลุด
ของชุดพวงลูกถวยแขวนออกจากคอนรับสายบอยครั้ง
47

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 13


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-13
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/23027 (4607/5607)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสงของ กฟภ. ที่มกี ารเขาปลายสาย เพื่อรับ
สายไฟฟาในแนวนอน แบบสายไฟฟาคู โดย
- รายละเอียด A (แบบ D-13A) และ และ B (แบบ D-13B) จะใช
กับระบบแรงดัน 69 kV
- รายละเอียด C (แบบ D-13C) จะใชกับระบบแรงดัน 115 kV
หมายเหตุ กรณีมีปญหาเกี่ยวกับหนาสัมผัสไมดี หรือไมมีวัสดุอุปกรณประกอบ
ลูกถวยในบางรายการ สามารถใชการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-14
แทนได ทั้งนี้จะตองเพิม่ ชุดตอสาย (splicing) แบบไมรับแรงดึง
จํานวน 2 ชิน้ เพื่อสําหรับเชื่อมสาย
48

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 14


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-14
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/23028 (4608/5608)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสงของ กฟภ. ที่มกี ารเขาปลายสาย เพื่อรับ
สายไฟฟาในแนวนอน แบบสายไฟฟาคู โดย
- รายละเอียด A (แบบ D-14A) และ B (แบบ D-14B) จะใชกับ
ระบบแรงดัน 69 kV
- รายละเอียด C (แบบ D-14C) จะใชกับระบบแรงดัน 115 kV
หมายเหตุ ใชแทนการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-13 ได เพื่อแกปญหา
กรณีหนาสัมผัสไมดี หรือไมมีวัสดุอุปกรณประกอบลูกถวยในบาง
รายการ
49

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 15


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-15
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/23029 (4609/5609)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสงสําหรับแยกสาย (tap-line) ของ กฟภ. ที่มี
การเขาปลายสาย เพื่อรับสายไฟฟาในแนวนอน แบบสายไฟฟาเดีย่ ว
โดย
- รายละเอียด A (แบบ D-15A) จะใชกับระบบแรงดัน 69 kV
- รายละเอียด C (แบบ D-15C) จะใชกับระบบแรงดัน 115 kV
หมายเหตุ -
50

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 16


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-16
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/23030 (4610/5610)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสงของ กฟภ. ที่มกี ารเขาปลายสาย เพื่อรับ
สายไฟฟาในแนวนอน แบบสายไฟฟาคู โดย
- รายละเอียด A (แบบ D-16A) จะใชกับโครงสรางสําหรับแยกสาย
(tap-line) ระบบแรงดัน 69 kV
- รายละเอียด C (แบบ D-16C) จะใชกับโครงสรางสําหรับแยกสาย
(tap-line) ระบบแรงดัน 115 kV
- รายละเอียด D (แบบ D-16D) จะใชกับโครงสรางสําหรับทางโคง
90 องศา (large angle) ในชวงแรก ซึ่งไดเผื่อไวสําหรับทําเปน
ลักษณะแยกสาย (tap-line) ในอนาคต สําหรับระบบแรงดัน 115 kV
หมายเหตุ -
51

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 17


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-17
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/23031 (4611/5611)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสงสําหรับทางตรง ของ กฟภ. เพื่อรับ
สายไฟฟาในแนวดิ่ง แบบสายไฟฟาคู โดย
- รายละเอียด A (แบบ D-17A) จะใชกับระบบแรงดัน 69 kV
- รายละเอียด C (แบบ D-17C) จะใชกับระบบแรงดัน 115 kV
หมายเหตุ กรณีที่มีปญหาการหลุดของชุดพวงลูกถวยแขวนออกจากคอนรับ
สายบอยครั้ง ใหใชการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-12 แทน
52

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 18


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-18
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/23032 (4612/5612)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสงสําหรับแยกสาย (tap-line) ของ กฟภ. ที่มี
การเขาปลายสาย เพื่อรับสายไฟฟาในแนวนอน ซึ่งสายไฟฟาตามแนว
ไลนจะเปนสายไฟฟาคู สวนชวงสายแยกจะเปนสายไฟฟาเดีย่ ว โดย
- รายละเอียด A (แบบ D-16A) จะใชกับระบบแรงดัน 69 kV
- รายละเอียด C (แบบ D-16C) จะใชกับระบบแรงดัน 115 kV
หมายเหตุ -
53

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวนคอมโพสิต รายละเอียดที่ 19


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-19A
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/50002 (5613)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับทางตรงและโคง
ของ กฟภ. เพือ่ รับสายไฟฟาในแนวดิ่ง แบบสายไฟฟาเดีย่ ว
หมายเหตุ สามารถใชงานไดเชนเดียวกับการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-1 ,
D-2 และ D-11 ทั้งนี้ขึ้นอยูก ับระดับมลภาวะในพืน้ ที่ทตี่ ิดตั้ง
54

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวนคอมโพสิต รายละเอียดที่ 19


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-19B
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/50002 (5613)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่มกี ารเขาปลายสาย
เพื่อรับสายไฟฟาในแนวนอน แบบสายไฟฟาเดี่ยว
หมายเหตุ สามารถใชงานไดเชนเดียวกับการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-3
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับระดับมลภาวะในพื้นที่ทตี่ ิดตัง้
55

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวนคอมโพสิต รายละเอียดที่ 19


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-19C
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/50002 (5613)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่มกี ารเขาปลายสาย
เพื่อรับสายไฟฟาในแนวนอน แบบสายไฟฟาเดี่ยว
หมายเหตุ สามารถใชงานไดเชนเดียวกับการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-4
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับระดับมลภาวะในพื้นที่ทตี่ ิดตัง้
56

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวนคอมโพสิต รายละเอียดที่ 19


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-19D
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/50002 (5613)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับทางตรงและโคง
ของ กฟภ. เพื่อรับสายไฟฟาในแนวดิ่ง แบบสายไฟฟาคู
หมายเหตุ สามารถใชงานไดเชนเดียวกับการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-12 และ
D-17 ทั้งนี้ขึ้นอยูกับระดับมลภาวะในพืน้ ที่ที่ติดตั้ง
57

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวนคอมโพสิต รายละเอียดที่ 19


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-19E
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/50002 (5613)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่มกี ารเขาปลายสาย
เพื่อรับสายไฟฟาในแนวนอน แบบสายไฟฟาคู
หมายเหตุ สามารถใชงานไดเชนเดียวกับการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-13
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับระดับมลภาวะในพื้นที่ทตี่ ิดตัง้
58

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวนคอมโพสิต รายละเอียดที่ 19


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-19F
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/50002 (5613)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่มกี ารเขาปลายสาย
เพื่อรับสายไฟฟาในแนวนอน แบบสายไฟฟาคู
หมายเหตุ สามารถใชงานไดเชนเดียวกับการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-14
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับระดับมลภาวะในพื้นที่ทตี่ ิดตัง้
59

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 19


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-19G
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/50002 (5613)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับแยกสาย (tap-line)
ของ กฟภ. ที่มกี ารเขาปลายสาย เพื่อรับสายไฟฟาในแนวนอน แบบ
สายไฟฟาเดีย่ ว
หมายเหตุ สามารถใชงานไดเชนเดียวกับการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-15
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับระดับมลภาวะในพื้นที่ทตี่ ิดตัง้
60

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 19


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-19H
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/50002 (5613)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับแยกสาย (tap-line) ของ
กฟภ. ที่มกี ารเขาปลายสาย เพื่อรับสายไฟฟาในแนวนอน แบบ
สายไฟฟาคู
หมายเหตุ สามารถใชงานไดเชนเดียวกับการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-16
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับระดับมลภาวะในพื้นที่ทตี่ ิดตัง้
61

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 19


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-19I
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/50002 (5613)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่มกี ารเขาปลายสาย
เพื่อรับสายไฟฟาในแนวนอน แบบสายไฟฟาคู โดยใชกับโครงสราง
สําหรับทางโคง 90 องศา (large angle) ในชวงแรก และเผื่อไวสําหรับ
ทําเปนลักษณะแยกสาย (tap-line) ในอนาคต
หมายเหตุ สามารถใชงานไดเชนเดียวกับการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-16
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับระดับมลภาวะในพื้นที่ทตี่ ิดตัง้
62

ชื่อแบบ การประกอบลูกถวยแขวน รายละเอียดที่ 19


ชื่อการประกอบลูกถวยแขวน D-19J
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/50002 (5613)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับแยกสาย (tap-line)
ของ กฟภ. ทีม่ ีการเขาปลายสาย เพื่อรับสายไฟฟาในแนวนอน โดย
สายไฟฟาตามแนวไลนจะเปนสายไฟฟาคู สวนชวงสายแยกจะเปน
สายไฟฟาเดีย่ ว
หมายเหตุ สามารถใชงานไดเชนเดียวกับการประกอบลูกถวยแขวนแบบ D-18
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับระดับมลภาวะในพื้นที่ทตี่ ิดตัง้
บทที่ 3
เสา สายลอฟา ชุดยึดโยง การตอลงดินและฐานรากเสา

3.1 เสาคอนกรีตอัดแรง (Prestress Concrete Pole)


เสาที่ใชในระบบสายสง 115 kV ของ กฟภ. เปนเสาคอนกรีตอัดแรงขนาดความสูง 22 เมตร มี
คาโมเมนตใชงาน 18,000 กก-ม. ขนาดหนาตัดหัวเสา 250x250 มม. ขนาดหนาตัดโคนเสา 440x440 มม.
เสา คอร. 22 ม. รุนเกา ที่หวั และปลายโคนเสาจะมีลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 35 ต.มม. โผลยื่นออกมาเพื่อ
ตอกับสาย OHGW บนหัวเสา และเชื่อมตอกับระบบตอลงดินบริเวณฐานรากเสา
ตอมาภายหลังการกอสรางติดตั้งใชงานไปแลวหลายป หากตองการตรวจวัดคาความตานทาน
ดินของเสาแตละตนในภายหลังจะมีปญหายุง ยากมากโดยตองไปปลดลวดเหล็กตีเกลียวที่หัวเสาที่ตอ เชื่อม
กับสายลอฟา(OHGW) ออกจึงจะสามารถตรวจวัดคาความตานทานดินได และในกรณีที่ตองการปรับปรุง
คาความตานทานดินทีเ่ สาตนนั้นก็ตองใชวิธีการตอลงดินนอกเสาตามแบบเลขที่ SA1-015/45050 การ
ประกอบเลขที่ 5697
จากปญหาดังกลาวประมาณป 2545 จึงไดมีการปรับปรุงเสา คอร. 22 ม. ใหสามารถตรวจวัดคา
ความตานทานดินไดโดยการทํากราวดเพลทที่เสาจํานวนทั้งหมด 7 จุด ดังนี้
จุดที่ 1 สําหรับตอเชื่อมกับสายลอฟา ที่ระดับความสูง 21.9 เมตร จากโคนเสา
จุดที่ 2-4 สําหรับตอเชื่อมคอนเหล็กของระบบ 115 kV ที่ระดับความสูง 21.80 เมตร 19.30
เมตร และ 16.80 เมตร จากโคนเสา
จุดที่ 5 สําหรับตอเชื่อมกับกานลูกถวยของระบบ 22&33 kV ที่ระดับความสูง 12.15 เมตร
จากโคนเสา
จุดที่ 6-7 สําหรับตอเชื่อมกับระบบตอลงดินที่ฐานรากเสาตนนั้นๆ ที่ระดับความสูง 4.45 เมตร
และ5.45 เมตร จากโคนเสา
แผนกราวดเพลททั้ง 7 จุด จะเชื่อมกับเหล็กกลมขนาดเสนผานศูนยกลาง 12 มิลลิเมตรภายใน
เสา คอร. ที่ระดับความสูง 4.45 เมตร จากโคนเสาจะเปนจุดสําหรับตรวจวัดคาความตานทานดิน โดยหาก
ตองการตรวจวัดคาความตานทานดินใหปลดแผนเหล็กประกอบโคนเสาที่ตอเชื่อมกับแผนกราวดเพลทออก
(แผนเหล็กประกอบโคนเสานี้จะเปนจุดตอเชื่อมระหวางสายดินภายในเสากับแทงหลักดินที่ฐานรากเสา)
และทําการวัดคาความตานทานดิน(ดูรายละเอียดของเสา คอร. แบบมีกราวดเพลทตามรูป 3-11)
รายละเอียดของเหล็กและคอนกรีตที่ใชในการจัดซื้อผลิตเสา คอร. 22 ม. มีดังนี้
3.1.1 เหล็กเสริม
1) เหล็กอัดแรงกําลังสูง (Prestressing Bar) ใชลวดเหล็กกลาสําหรับคอนกรีตอัด
แรง (Steel Wires for Prestressed Concrete) ชนิดคลายความเคนแบบมีรอยย้ํา ความทนแรงดึงระบุ 1770
64

N/mm2 ประเภทความผอนคลายต่ําตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมลวดเหล็กกลาสําหรับคอนกรีต
อัดแรง มอก. 95 หรือใชลวดเหล็กกลาตีเกลียวสําหรับคอนกรีตอัดแรง (Steel Stranded Wires for
Prestressed Concrete) ชนิด 7 เสน แบบธรรมดา ความทนแรงดึงระบุ 1720 N/mm2 ประเภทความผอน
คลายต่ําตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมลวดเหล็กตีเกลียวสําหรับคอนกรีตอัดแรง มอก. 420
2) เหล็กปลอก (Stirrup) ใชลวดเหล็กกลมขนาด เสนผานศูนยกลาง 2.80 มม. ตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมลวดเหล็ก มอก. 194

3.1.2 คอนกรีต
สวนผสมของคอนกรีตเมื่อทดสอบตัวอยางคอนกรีตรูปทรงกระบอก (Cylinder)
ที่มีอายุครบ 28 วัน แรงอัดประลัย (Ultimate Compressive Strength) ตองไมนอยกวาขอกําหนดในการ
ออกแบบ (Design Assumption) ของผูผลิต โดยกําหนดใหคาแรงอัดประลัยของคอนกรีตในการ
ออกแบบตองไมมากกวา 500 กก/ตร.ซม.

3.1.3 ขนาดและความตานทานโมเมนต

ความยาว หนาตัดทีย่ อด หนาตัดที่โคน ระดับ ตานทานโมเมนตที่ระดับดิน


ของเสา ปกดิน ไมนอยกวา
ม. ซม. x ซม. ซม. x ซม. ม. กก. – ม.
22.00 25 x 25 44 x 44 2.00 18,000
หมายเหตุ
ก. ขนาดหนาตัดเสาคลาดเคลื่อนไดไมเกิน +0.5 ซม.
ข. ความยาวสามารถคลาดเคลื่อนไมเกิน +10 ซม.
ค. ขนาด ตําแหนงรูเสาและตําแหนง Ground Plate ตามแบบเลขที่ IB4 –021/47009
ง. ความตานทานโมเมนตที่กาํ หนดเปนคาในแนวแกน X –X

3.1.4 การเจาะรู
1) รูที่อยูใตระดับผิวดินเปนรูขนาด Ø 32 มม. จํานวน 6 รู และรูที่อยูเหนือระดับผิว
ดินเปนรูขนาด Ø 18 มม. จํานวน 2 รู ขนาด Ø 19 มม. จํานวน 52 รู และ Ø 22 มม. จํานวน 44 รู
2) รูที่เจาะจะตองไดฉากและตัดกับแนวศูนยกลางของเสา
3) ภายในรูจะตองเรียบตลอด เพื่อความสะดวกในการรอยสลักเกลียว
65

3.1.5 สายดิน
เสาไฟฟาคอนกรีตอัดแรงจะตองมีสายดินดวย คุณสมบัติของสายดินและการจัด
วางใหเปนดังนี้
1) เปนเหล็กเสนกลมขนาด Ø 12 มม. ตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม
เหล็กเสนเสริมคอนกรีต มอก. 20
2) สายดินทีว่ างฝงในเสาคอนกรีตจะตองจัดวางใหหางจากผิวของรูที่เจาะและ
ลวดเหล็กทีใ่ ชเปนสวนโครงสรางของเสาไมต่ํากวา 2.5 ซม. โดยรอบ
3) สายดินจะตองดึงใหตึงไมคดงอและตองวางอยูในเนื้อคอนกรีตโดยตลอด
ความยาวของสายดินเริ่มจาก กราวดเพลทจุดที่ 1 ถึง กราวดเพลทจุดที่ 7

3.1.6 กราวดเพลท(Ground Plate)


1) กราวดเพลท เปนเหล็กแผนมีขนาด 45x45 มม. หนา 6 มม. พรอมเจาะรูขนาด
Ø 14 มม. จํานวน 1 รู และขนาด 60x60 มม. หนา 6 มม. พรอมเจาะรูขนาด Ø 22 มม. จํานวน 1 รู
2) กราวดเพลท สลักเกลียว แปนเกลียว ยูแคลมปสลักเดี่ยว และแหวนรองใหชุบ
สังกะสีหนาไมนอยกวา 50 µm
3) ใหติดตั้งกราวดเพลทขนาด 45x45 หนา 6 มม. ที่ระยะ 21.90 ม.และ 12.15 ม.
จากโคนเสา
4) ใหติดตั้งกราวดเพลทขนาด 60x60 มม. หนา 6 มม. ที่ระยะ 21.80 ม. 19.30 ม.
16.80 ม. 5.45 ม.และ 4.45 ม. จากโคนเสา

3.1.7 การจัดวางเหล็กเสริม (Main Bar)


1) เหล็กเสริมจะตองจัดวางอยูใ ตผิวของคอนกรีตไมนอยกวา 2.00 ซม.
2) เหล็กเสริมจะตองจัดวางหางจากบริเวณที่เจาะรูตามขอ 3.1.4 ไมนอยกวา 1.50 ซม.
3) เหล็กเสริมตองใชเหล็กชนิดเดียวและมีขนาดเดียวกันหากใชเหล็กเสริมไมเปนไป
ตามรายการคํานวณประกอบแบบหรือสัญญา ใหแจงการไฟฟาสวนภูมิภาคทราบเพื่อใหความเห็นชอบกอน
ทุกครั้ง
4) เหล็กเสริมจะตองจัดวางระยะใหหางกัน (ศูนยกลางถึงศูนยกลาง) ไมนอยกวา
3 เทา ของเสนผานศูนยกลางของเหล็กที่ใช
66

3.1.8 ความแข็งแรงของเสา
เสาไฟฟาคอนกรีตอัดแรงจะตองมีความตานทานโมเมนตใชงาน(Working Moment)
ในแนวแกน x – x ไมนอ ยกวา 18,000 กก.-ม. (ที่ระดับ 2.00 ม. หางจากโคนเสา) และจะตองสามารถรับ
โมเมนตสูงสุด (Ultimate Breaking Moment) ไดเปน 2 เทาของความตานทานโมเมนตใชงานดูรูปที่ 3-2

รูปที่ 3-1 เสา คอร. 22 เมตรชนิดมีกราวดเพลท


67

รูปที่ 3-1 (ตอ) เสา คอร. 22 เมตรชนิดมีกราวดเพลท


68

F = 900 kg

H = 20 m

2m

รูปที่ 3-2 รูปแสดงการทดสอบโมเมนต เสา คอร. 22 เมตร


69

3.2 สายดินขึงอากาศ (Overhead Ground Wire)


สายดินขึงอากาศ ทําหนาที่เปนสายลอฟา ปองกันมิใหเกิดฟาผาลงบนสายสงโดยตรงถา
เกิดฟาผาลงบนสายสงโดยตรง ยอมทําใหเกิดแรงดันเกินเกิดขึ้นบนสายสง คือ ลําฟาผาเปรียบเสมือน
เปนตนกําเนิดของตัวจายกระแส เมื่อมีกระแสฟาผา วิ่งบนสายสงซึ่งมีคาเสิรจอิมพีแดนซ จะเกิดแรงดัน
สูงเปนคลื่นจร(Travelling wave) วิ่งไปบนสายสงทั้งสองทางของจุดที่ผาลง แรงดันสูงคลื่นจรนี้ เมื่อวิ่ง
ไปถึงจุดที่มีอปุ กรณไฟฟาตออยู อาจทําใหเกิดความเสียหายแกอุปกรณเหลานัน้ ได
การปองกันฟาผาระบบสายสงไฟฟาของ กฟภ. ไดออกแบบไวที่ระดับการปองกันระดับ 2
มุมปองกันที่ 30 องศา สายดินขึงอากาศจะขึงอยูเหนือสายไฟฟาบนยอดเสาและมีสายตอลงดินตาม
ลักษณะการออกแบบทุกชวงเสา การติดตั้งสายดินขึงอากาศจะตองมีมุมครอบคลุมสายไฟฟาทุกเสนบน
เสา เนื่องจากสายดินขึงอากาศเปนเหล็กจึงมีปญ  หาเรื่องการเกิดสนิม ทําใหสายดินขึงอากาศเกิดความ
เสียหายเปนอันตรายตอระบบไฟฟาได จึงตองปองกันดวยการใชสายลวดเหล็กอาบสังกะสีหรือหุม
อะลูมิเนียม เพือ่ ปองกันการเกิดสนิมดังกลาว ขนาดของสายดินขึงอากาศที่ใชงานในระบบสายสงคือขนาด
35 ตร.มม. สําหรับโครงสรางเสา คอร. 22 เมตร และขนาด 50 ตร.มม. สําหรับโครงสรางเสาเหล็ก ดัง
รายละเอียดแสดงตามตารางที่ 3-1

ตารางที่ 3-1 ขนาดและคุณสมบัติของสายลวดเหล็กตีเกลียว


สายลวดเหล็กตีเกลียว(GALVANIZED STEEL WIRE STRAND)
พื้นที่หนาตัดของสาย จํานวน เสนผานศูนยกลาง เสนผานศูนย น้ําหนัก แรงดึงประลัย
(ต.มม.) เสนลวด ของเสนลวด กลางรวม ของสาย ของสาย
ขนาดระบุ ขนาดจริง (มม.) ของสาย (กก./กม.) (กก.)
(มม.)
35 31.67 7 2.50 7.50 272 2,329
50 46.24 7 3.00 9.00 392 3,353

การติดตั้งสายดินขึงอากาศสําหรับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. สามารถแบงได 3 กลุม


ตามลักษณะการใชงานของโครงสรางดังนี้
3.2.1 กรณีโครงสรางเสาสําหรับทางตรงมุม 00- 20
เพื่อใหสายดินขึงอากาศครอบคลุมถึงสายไฟฟาที่แขวนอยูปลายคอนสายภายใตมุม
30 องศา การติดตั้งสายดินขึงอากาศ จึงตองตอเหล็กฉากรับสายดินขึงอากาศ ขนาด 65 x 65 x 6 มม.
ยาว 2.50 ม. ตามแบบมาตรฐานการประกอบสายลอฟา D-5I แบบเลขที่ SA1-015/47001 การประกอบ
เลขที่ 5629 รายละเอียดดังรูปที่ 3-3
70

รูปที่ 3-3 การติดตั้งสายดินขึงอากาศเสาตนทางตรงแบบ D-5I

3.2.2 กรณีโครงสรางเสาสําหรับทางโคงมุม 20- 300


เสาโครงสรางสําหรับทางโคงนั้น ตัวโครงสรางจะตองรับแรงดึงในสายที่เกิดจากมุม
ที่เบี่ยงเบนของสาย ดังนั้นเพือ่ เพิ่มความแข็งแรงของเหล็กรับสายดินขึงอากาศจึงตองเพิ่มเหล็กฉากค้าํ ยัน
เหล็กฉากที่รับสายดินขึงอากาศอีกหนึ่งชิน้ โดยเหล็กฉากค้ํายันจะติดตั้งอยูดา นในของมุมเลี้ยวโคงเพือ่ รับ
แรงดึงในสายดินขึงอากาศ ตามแบบมาตรฐานการประกอบสายลอฟา D-5J แบบเลขที่ SA1-015/47001 การ
ประกอบเลขที่ 5629 รายละเอียดดังรูปที่ 3-4

รูปที่ 3-4 การติดตั้งสายดินขึงอากาศเสาตนทางโคงแบบ D-5J

3.2.3 กรณีโครงสรางเสาตนที่ตองรับแรงดึงในสายเชน เสาตนเขาปลายสาย, เสาตนทาง


โคง 900 หรือเสาตนแยกสาย
71

โครงสรางเหลานี้เหล็กฉากรับสายดินขึงอากาศไมสามารถรับแรงดึงของสายดินขึง
อากาศได จึงตองเขาปลายสายที่หวั เสาหรือที่เหล็กรูปรางน้ํารับสายดินขึงอากาศแทน โดยสามารถแยก
ตามลักษณะโครงสรางเสาได 2 กลุมดังนี้
1) โครงสรางเสาเดี่ยว
กรณีเสาตนเขาปลายสาย โดยเขาปลายสายดินขึงอากาศทีห่ ัวเสาตามแบบมาตรฐานการ
ประกอบสายลอฟา D-5L แบบเลขที่ SA1-015/47001 การประกอบเลขที่ 5629 รายละเอียดดังรูปที่ 3-5

รูปที่ 3-5 การติดตั้งสายดินขึงอากาศเสาตนเขาปลายสายแบบ D-5L

กรณีเสาตนเขาปลายสาย โดยเขาปลายสายดินขึงอากาศที่เหล็กรูปรางน้ํารับสายดินขึง
อากาศ ขนาด 150x75x6.5 มม. ยาว 2,500 มม. ดังรูปที่ 3-6 ตามแบบมาตรฐานการประกอบสายลอฟา D-5O
แบบเลขที่ SA1-015/47002 การประกอบเลขที่ 5630 รายละเอียดดังรูปที่ 3-7

รูปที่ 3-6 เหล็กรูปรางน้าํ รับสายดินขึงอากาศ ขนาด 150x75x6.5 มม. ยาว 2,500 มม.
72

รูปที่ 3-7 การติดตั้งสายดินขึงอากาศเสาตนเขาปลายสายแบบ D-5O

กรณีเสาตนเขาปลายสายสองขาง โดยเขาปลายสายดินขึงอากาศทีเ่ หล็กรูปรางน้าํ รับสาย


ดินขึงอากาศ ขนาด 150x75x6.5 มม. ยาว 2,500 มม. ตามแบบมาตรฐานการประกอบสายลอฟา D-5M หรือ
D-5N แบบเลขที่ SA1-015/47002 การประกอบเลขที่ 5630 รายละเอียดดังรูปที่ 3-8

D-5M D-5N

รูปที่ 3-8 การติดตั้งสายดินขึงอากาศเสาตนเขาปลายสายสองขาง

กรณีเสาตนทางโคง 900 โดยเขาปลายสายดินขึงอากาศที่เหล็กรูปรางน้ํารับสายดินขึง


อากาศ ขนาด 150x75x6.5 มม. ยาว 2,500 มม. ตามแบบมาตรฐานการประกอบสายลอฟา D-5P หรือ D-5Q
แบบเลขที่ SA1-015/47002 การประกอบเลขที่ 5630 รายละเอียดดังรูปที่ 3-9
73

D-5Q D-5P
รูปที่ 3-9 การติดตั้งสายดินขึงอากาศเสาตนทางโคง 900

กรณีเสาตนแยกสาย โดยเขาปลายสายดินขึงอากาศทีเ่ หล็กรูปรางน้ํารับสายดินขึงอากาศ


ขนาด 150x75x6.5 มม. ยาว 2,500 มม. ตามแบบมาตรฐานการประกอบสายลอฟา D-5R เลขที่ SA1-
015/47002 การประกอบเลขที่ 5630 รายละเอียดดังรูปที่ 3-10

รูปที่ 3-10 การติดตั้งสายดินขึงอากาศเสาตนแยกสายแบบ D-5R

2) โครงสรางเสาคู
กรณีเสาตนเขาปลายสายสองขางหรือเสาทีม่ ีระยะหางระหวางเสามากกวา 80 เมตร แต
ไมเกิน 200 เมตร โดยเขาปลายสายดินขึงอากาศที่เหล็กรูปรางน้ํารับสายดินขึงอากาศ ขนาด 150x75x6.5 มม.
ยาว 2,500 มม.จํานวน 2 ชุด ตามแบบมาตรฐานการประกอบสายลอฟา D-5S หรือ D-5T แบบเลขที่ SA1-
015/47003 การประกอบเลขที่ 5631 รายละเอียดดังรูปที่ 3-11
74

D-5T D-5S
รูปที่ 3-11 การติดตั้งสายดินขึงอากาศเสาตนเขาปลายสายสองขาง หรือเสาที่มีระยะหาง
ระหวางเสามากกวา 80 เมตร แตไมเกิน 200 เมตร

กรณีเสาตนทางโคง 900 โดยเขาปลายสายดินขึงอากาศที่เหล็กรูปรางน้ํารับสายดินขึง


อากาศ ขนาด 150x75x6.5 มม. ยาว 2,500 มม. จํานวน 2 ชุด ตามแบบมาตรฐานการประกอบสายลอฟา
D-5U หรือ D-5V แบบเลขที่ SA1-015/47003 การประกอบเลขที่ 5631 รายละเอียดดังรูปที่ 3-12

D-5U D-5V
รูปที่ 3-12 การติดตั้งสายดินขึงอากาศเสาตนทางโคง 900

กรณีเสาตนแยกสาย โดยเขาปลายสายดินขึงอากาศที่เหล็กรูปรางน้ํารับสายดินขึง
อากาศ ขนาด 150x75x6.5 มม. ยาว 2,500 มม. จํานวน 2 ชุด ตามแบบมาตรฐานการประกอบสายลอฟา
D-5W แบบเลขที่ SA1-015/47003 การประกอบเลขที่ 5631 รายละเอียดดังรูปที่ 3-13
75

รูปที่ 3-13 การติดตัง้ สายดินขึงอากาศเสาตนแยกสายแบบ D-5W

สายดินขึงอากาศของระบบสายสง 115 kV ของ กฟภ. จะตอลงดินที่ฐานรากของเสาทุก


ตน ฉะนัน้ ที่ฐานรากของเสาทุกตนจะตองมีการทําระบบตอลงดิน(Grounding System) ซึ่งอาจจะ
ประกอบดวยแทงรากสายดิน(Ground Rod) ตั้งแต 1 แทงขึ้นไป ติดตั้งบริเวณดานขางของฐานรากเสา
และตอสายเขากับกราวดเพลทที่โคนเสา เพื่อไปตอกับสายดินขึงอากาศที่ปลายยอดเสา

3.3 การประกอบสายยึดโยง
การกอสรางระบบไฟฟาเพือ่ ทําการสงจายพลังงานไฟฟาของ กฟภ. มีการใชทั้งโครงสรางเสา
ชนิดคอนกรีตอัดแรงและเสาโครงสรางเหล็ก โดยสายไฟฟาที่พาดบนโครงสรางหากเปนชวงโครงสราง
เสาชวงทางตรง จะมีแรงดึงในสายเทากันในทุกระยะชวงเสา (span) เชน กรณีพาดสายสงระบบ 115 kV
ที่ใชสายอะลูมเิ นียมเปลือยขนาด 400 ตารางมิลลิเมตร ตามมาตรฐานระยะหยอนยานของสายจะตองใช
แรงดึงในสายประมาณ 1,100 กิโลกรัม ทีอ่ ุณหภูมิขึงสาย 40 องศาเซลเซียส ดังนั้นทุกๆ ระยะชวงเสาที่
อยูในชวงทางตรงก็จะมีแรงดึงที่เทากันคือ 1,100 กิโลกรัม จนถึงโครงสรางสายสงตนที่ตองเปลี่ยนแนว
สายไฟฟาจากลักษณะทางตรง เชน ตองลอดใตสายสงของการไฟฟาฝายผลิต ขามแมน้ําที่มีระยะชวงเสา
มากกวาปกติ หรือจะเปนชวงขามรางรถไฟ ทําใหแรงดึงในสายไฟฟาจะมีคาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ทั้งนี้
หากแรงดึงในสายมีคาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมไมมาก สามารถถายแรงที่ไมเทากันนีท้ ี่เสาโครงสรางโดย
การติดตั้งโครงสรางเปนลักษณะเสาคูเพียงหนึ่งชุด หรือใชคอนรับสายที่มีขนาดใหญมากขึ้นได โดยไม
ตองติดตั้งสายยึดโยง
แตหากแรงดึงในสายเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก เชน การกอสรางเสาในชวงทางโคงตอจาก
ชวงทางตรงทีใ่ ชเสาคอนกรีตอัดแรง แรงดึงในสายชวงทางโคงจะมีคา ตางจากแรงดึงในชวงทางตรงมาก
ประมาณ 7-8 เทา ในกรณีนี้จะมีหลายวิธีการที่จะถายแรงที่ไมเทากันนี้ได ซึ่งอาจทําการติดตั้งสายยึดโยง
76

ใชเสาโครงสรางเหล็กที่ไมมสี ายยึดโยง หรือใชโครงสรางเสาคอนกรีตแบบเสาคู ติดตั้งหลายๆ ชุดเพื่อถาย


แรงดึงในสายชวงทางตรงใหลดนอยลงเรื่อยๆ โดยหากเปนการใชสายยึดโยงจะทําใหแรงดึงในสายในชวง
ทางตรงทั้งหมดถูกถายลงที่ชุดสายยึดโยง สวนวิธีการใชเสาโครงสรางเหล็ก หรือเพิ่มโครงสรางเสาคอนกรีต
แบบเสาคูหลายโครงสราง แรงดึงในสายในชวงทางตรงบางสวนหรือทั้งหมดจะถูกถายลงที่โครงสรางเสา
ทั้งนี้ก็ขึ้นอยูก บั การออกแบบโครงสรางวาตองการใหแรงดึงในสายในชวงตอไป (ระยะชวงเสาที่ตอกับชวง
ทางตรง) ยังคงมีแรงดึงในสายเหลืออยูหรือไม

3.3.1 การติดตัง้ สายยึดโยง สําหรับงานกอสรางระบบสายสง 115 kV


ตามมาตรฐานโครงสรางสายสง 115 kV เสาคอนกรีตอัดแรง (คอร.) ของ กฟภ. ตนที่มีสายยึดโยง
เชน โครงสรางสายสงแบบ SS-SA-4 แบบ SD-SA-3 หรือแบบ SD-AS-2 ไดมีการติดตั้งสายยึดโยงทั้งหมด
จํานวน 7 เสน โดยใชสายลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 95 ตารางมิลลิเมตร จํานวน 6 เสน สําหรับถายแรงดึงในสาย
อะลูมิเนียมเปลือยขนาด 400 ตารางมิลลิเมตร และใชสายลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 50 ตารางมิลลิเมตร จํานวน 1
เสน สําหรับถายแรงดึงในสายลอฟา (OHGW) ขนาด 35 ตารางมิลลิเมตร ในสวนระบบแรงดันอื่นๆ เชน
ระบบจําหนายแรงสูง 22-33 กิโลโวลท ระบบจําหนายแรงต่ํา 400/230 โวลท และระบบสื่อสาร ก็จะใชสายลวด
เหล็กตีเกลียวเปนสายยึดโยงเชนเดียวกัน ซึ่งการติดตั้งสายยึดโยงแสดงตามรูปที่ 3-14

รูปที่ 3-14 แสดงมาตรฐานการติดตั้งสายยึดโยง บนโครงสรางสายสง 115 kV


77

โดยทั่วไปการติดตั้งสายยึดโยง 1 ชุด สําหรับกอสรางในระบบสายสง 115 kV จะประกอบดวย


1. สายยึดโยงและอุปกรณประกอบ โดยสายยึดโยงใชเปนลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 50 และ 95
ตารางมิลลิเมตร
2. กานสมอบก M16 แบบหวงกลม และกานสมอบก M24 แบบหวงสองรอง
3. ตัวสมอบกคอนกรีตจะเปนแบบที่มหี รือไมมีเสาเข็ม ขึ้นอยูกับความสามารถในการรับน้ําหนัก
ปลอดภัยของดิน

แบบมาตรฐานกอสรางของ กฟภ. จะกําหนดรายละเอียดแยกออกเปนรายละเอียดการประกอบ


ตางๆ ในการติดตั้งสายยึดโยง 1 ชุดจึงตองนําแบบการประกอบตางๆ มาใชรวมกัน เชน การประกอบ
สายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 50 ตารางมิลลิเมตร ซึ่งกําหนดเปนรายละเอียดที่ 6 และการประกอบสาย
ยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 95 ตารางมิลลิเมตร ซึ่งกําหนดเปนรายละเอียดที่ 7 และ 8 สวนรายละเอียด
สมอบกคอนกรีตจะกําหนดเปนรายละเอียดที่ 9 โดยรายละเอียดที่ 6 เปนการกําหนดรายการวัสดุอุปกรณ
ทั้งหมดที่ประกอบเปนสวนของสายยึดโยงสําหรับสายลอฟาในระบบสายสง 115 kV สวนรายละเอียด
ที่ 7 เปนการกําหนดรายการวัสดุอุปกรณทั้งหมดที่ประกอบเปนสวนของสายยึดโยงสําหรับสายตัวนํา
ไฟฟาทั้ง 3 เฟสในระบบสายสง 115 kV ในสวนรายละเอียดที่ 8 ปจจุบันไมนิยมใชงาน เนื่องจาก
ปจจุบันในการกอสรางระบบสายสง 115 kV ในชวงทางโคงถูกออกแบบไวเปนแบบที่ไมตองติดตั้งสาย
ยึดโยงแลว สําหรับรายละเอียดที่ 9 ซึ่งเปนรายละเอียดสมอบกคอนกรีต จะเปนการกําหนดลักษณะการ
ใชงานคือ สายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 50 ตารางมิลลิเมตร จะใหรอยในกานสมอบก M16 แบบ
หวงกลม (รอยสายยึดโยง 1 เสนตอ 1 กานสมอบก) สวนสายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 95 ตาราง
มิลลิเมตรจะใชรอยในกานสมอบก M24 แบบหวงสองรอง ( รอยสายยึดโยง 2 เสนตอ 1 กานสมอบก)
โดยสมอบกคอนกรีตจะตองมีความมั่นคงแข็งแรงเพียงพอ เพื่อใหโครงสรางสายสง 115 kV ตั้งอยูได
ซึ่งก็คือสามารถรับแรงดึงในสายชวงทางตรงทั้งหมดที่ถูกถายลงที่ชุดสายยึดโยงไดนนั่ เอง

3.3.2 ขอแนะนําในการทําสายยึดโยง
ขอแนะนําในการทําสายยึดโยงที่จะกลาวตอไปนี้เปนขอแนะนําในการติดตั้งสายยึดโยง
ระบบสายสง 115 kV และสามารถนําไปใชกับระบบอืน่ ๆ ของ กฟภ. ไดกรณีที่ตองทําสายยึดโยง ซึ่งมี
รายละเอียดดังนี้
1) สายยึดโยงควรยึดติดกับโครงสรางใหใกลจุดศูนยกลางแรงดึงของสายไฟฟา
2) มุมระหวางสายยึดโยงเสนบนสุดในจุดที่ยดึ สายลอฟากับตัวเสา (θ) มีคา 45 องศา แตหาก
ทําแลวไปกีดขวางทางสัญจรหรือทางเขาออกบานเรือนหรืออาคารพาณิชย ยินยอมใหสายยึดโยงทํามุมลดลง
อยูระหวาง 30-45 องศากับตัวเสาไดหากจําเปนตองทํามุมลดลงใหนอยกวา 45 องศา ตองพิจารณาความ
78

แข็งแรงของชุดสายยึดโยงดังกลาวใหมซึ่งรับรองความมั่นคงดวยวิศวกรโยธาดวย เนือ่ งจากทําใหแรงดึง


ในสายยึดโยงและกานสมอบกเพิ่มขึ้น ตามรูปที่ 3-15

รูปที่ 3-15 แสดงมุมระหวางสายยึดโยงเสนบนสุดกับตัวเสา (θ )

3) แนวกานสมอบกและสายยึดโยงตองอยูในแนวเดียวกัน
4) สายยึดโยงควรติดตั้งใหพนจากแนวรัว้ คูน้ําหรือเครื่องกีดขวาง ถามีความจําเปน ตอง
ฝงสมอบกคอนกรีตในแนวทางเทาจะตองติดกายการดสําหรับปองกันสายยึดโยงดวย ทั้งนี้กานสมอบกควร
อยูในตําแหนงที่สามารถตรวจสอบบํารุงรักษาไดงาย
5) สายยึดโยงตองดึงใหตึงพอเหมาะ โดยไมทําใหเสาไฟฟาโกงหรือแอน เมื่อพาด
สายไฟฟาแลว
6) กานสมอบกเมือ่ ฝงแลวตองไมโคงงอและตองเอียงทํามุมพอดีกับสายยึดโยง โดยหวง
ของกานสมอบกจะตองอยูเหนือผิวดิน 100 มิลลิเมตร เพื่อปองกันสายยึดโยงสัมผัสกับดิน
7) ตองระมัดระวังมิใหผิวของสายหรือวัสดุทใี่ ชทําสายยึดโยงชํารุด โดยหลีกเลี่ยงการลาก
สายไปกับพืน้ ที่เปนหินขรุขระหรือการถูกทุบกระแทก
8) จุดยึดโยงที่ใชยูแคลมปจับปลายสายยึดโยง ตองขันสลักเกลียวใหยึดแนน หากมีสภาพ
ไมปลอดภัยใหเปลี่ยนวัสดุชิ้นใหม รวมทั้งสายยึดโยงและสวนประกอบอื่นๆ เมื่อเกิดการชํารุดเสียหาย
ใหเปลี่ยนวัสดุชิ้นใหม
9) สมอบกคอนกรีตที่ฝงแลว หากเลื่อนขึ้นมา ซึ่งจะทําใหความแข็งแรงของสายยึดโยงลด
นอยลง จําเปนตองแกไขโดยฝงสมอบกคอนกรีตใหมในตําแหนงทีเ่ หมาะสม

3.3.3 การคํานวณหาความสามารถของสายยึดโยงและกานสมอบก
การพิจารณาออกแบบและคํานวณชุดสายยึดโยงทั้งที่เปนแบบมาตรฐานและไมมีแบบ
มาตรฐานของ กฟภ. ในเบื้องตนจะตองพิจารณาวาสายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียวและกานสมอบกมี
79

ความสามารถในการรับแรงดึงเพียงพอหรือไม หลังจากนั้นจึงพิจารณาออกแบบตัวสมอบกคอนกรีต
ตอไป ซึ่งตัวสมอบกคอนกรีตจะมีความมัน่ คงแข็งแรงหรือไม ก็ขึ้นอยูก ับสภาพดินรอบๆ บริเวณทีต่ ิดตั้ง
และแรงดึงในสายยึดโยงที่มากระทํา ซึ่งในการที่จะดัดแปลงใชงานชุดสมอบกคอนกรีตหรือกําหนดแรง
ดึงในสายนอกเหนือไปจากมาตรฐานการกอสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. จําเปนจะตองพิจารณาใหม
ทั้งหมด เริม่ ตั้งแตพิจารณาแรงดึงในสายใหม สายลวดเหล็กตีเกลียว กานสมอบกรวมทั้งตัวสมอบก
คอนกรีตวายังทนไดหรือไม ซึ่งรายละเอียดตอไปนี้เปนการแสดงวิธีการคํานวณความแข็งแรงเฉพาะ
สายยึดโยงและกานสมอบกทีใ่ ชในงานกอสรางสายสง 115 kV ในปจจุบัน ไมรวมถึงตัวสมอบกคอนกรีต
เนื่องจากเปนรายละเอียดดานโยธา เพื่อทีผ่ ูศึกษาทั่วไปจะสามารถทําความเขาใจทีม่ าของการออกแบบ
มาตรฐานชุดสมอบกคอนกรีตในเบื้องตนได และสามารถนําไปใชประยุกตออกแบบกําหนดในเบื้องตน
ที่อยูนอกเหนือแบบมาตรฐาน กฟภ. ไดดังนี้
1) แรงดึงสําหรับสายอะลูมิเนียมเปลือยขนาด 400 ตารางมิลลิเมตร ในชวงทางตรง
สําหรับวงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยวหรือคู ระยะชวงเสาไมเกิน 80 เมตร มีคาไมเกิน 1,100 กิโลกรัม ที่
อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส
2) แรงดึงสําหรับสายลอฟาลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 35 ตารางมิลลิเมตร ในชวงทางตรง
สําหรับวงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยวหรือคู ระยะชวงเสาไมเกิน 80 เมตร มีคาไมเกิน 600 กิโลกรัม ที่
อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส
3) สายลวดเหล็กตีเกลียว ขนาด 50 ตารางมิลลิเมตร มีคาแรงดึงประลัยคํานวณ (calculated
breaking) เทากับ 3,290 กิโลกรัม และคาแรงดึงใชงานสูงสุด (maximum working tension) เทากับ 1,640
กิโลกรัม
4) สายลวดเหล็กตีเกลียว ขนาด 95 ตารางมิลลิเมตร มีคาแรงดึงประลัยคํานวณ (calculated
breaking) เทากับ 6,200 กิโลกรัม และคาแรงดึงใชงานสูงสุด (maximum working tension) เทากับ 3,100
กิโลกรัม
5) กานสมอบก M16 แบบหวงกลม (วัสดุเลขที่ 1010210000) มีคาแรงดึงประลัย (ultimate
strength) ไมนอยกวา 6,500 กิโลกรัม และกานสมอบก M24 แบบหวงสองรอง (วัสดุเลขที่ 1010210000)
มีคาแรงดึงประลัย (ultimate strength) ไมนอยกวา 16,000 กิโลกรัม โดยทั้งสองชนิดมีความเคนไมนอย
กวา 2,400 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร
6) มุมระหวางสายยึดโยงเสนบนสุดในจุดที่ยดึ สายลอฟากับตัวเสา (θ) เทากับ 45 องศา
7) ตัวประกอบความปลอดภัย (safety factor) ของอุปกรณทั้งหมดที่ใชงานตองไมต่ํากวา 2
80

วิธีคํานวณ
1. พิจารณาสายไฟระบบ 115 kV โดยกําหนดแรงดึงในสายตัวนําไฟฟาตามแนวนอน เทากับ
1,100 กิโลกรัมตอเสน ลักษณะวงจรเดีย่ ว สายไฟฟาคู ดังนั้นจะไดวา

แรงดึงในสายตามแนวนอนตอเฟส = 2 x 1,100 = 2,200 กิโลกรัม


2, 200
แรงดึงที่เกิดในสายยึดโยง = = 3,111.26 กิโลกรัม
sin 45O

ตรวจสอบ สายลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 95 ตารางมิลลิเมตร ใชคาแรงดึงประลัยคํานวณ


(calculated breaking) เทากับ 6,200 กิโลกรัม ซึ่งโครงสรางสายสง 115 kV ใน 1 เฟส จะติดตั้ง
สายยึดโยงจํานวน 2 เสน ดังนั้น
6, 200
ตัวประกอบความปลอดภัยตอเสน = = 3.98
(3,111.26/2)

ผลที่คํานวณไดมีคาตัวประกอบความปลอดภัยมากกวา 2 ซึ่งสามารถใชงานได

ตรวจสอบ กานสมอบก M24 แบบหวงสองรอง มีคาแรงดึงประลัย (ultimate strength)


ไมนอยกวา 16,000 กิโลกรัม โดยการใชงานติดตั้งจะรอยสายยึดโยงจํานวน 2 เสนตอหนึ่งกาน
สมอบก ดังนัน้
16,000
ตัวประกอบความปลอดภัย = = 5.14
3,111.26

ผลที่คํานวณไดมีคาตัวประกอบความปลอดภัยมากกวา 2 ซึ่งสามารถใชงานได

2. พิจารณาสายลอฟา (OHGW) โดยกําหนดแรงดึงในสายตามแนวนอนเทากับ 600 กิโลกรัม


ดังนั้นจะไดวา
แรงดึงในสายตามแนวนอน = 600 กิโลกรัม
600
แรงดึงที่เกิดในแนวสายยึดโยง = = 848.53 กิโลกรัม
sin 450
81

ตรวจสอบ สายลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 50 ตารางมิลลิเมตร ใชคาแรงดึงประลัยคํานวณ


(calculated breaking) เทากับ 3,290 กิโลกรัม ซึ่งโครงสรางสายสง 115 kV สายลอฟาจะใชสาย
ยึดโยงจํานวน 1 เสน ดังนั้น
3,290
ตัวประกอบความปลอดภัย = = 3.77
848.53
ผลที่คํานวณไดมีคาตัวประกอบความปลอดภัยมากกวา 2 ซึ่งสามารถใชงานได

ตรวจสอบ กานสมอบก M16 แบบหวงกลม มีคาแรงดึงประลัย (ultimate strength) ไมนอยกวา


6,500 กิโลกรัม โดยการใชงานติดตั้งจะรอยสายยึดโยงจํานวน 1 เสนตอหนึ่งกานสมอบก
ดังนั้น
6,500
ตัวประกอบความปลอดภัย = = 7.66
848.53
ผลที่คํานวณไดมีคาตัวประกอบความปลอดภัยมากกวา 2 ซึ่งสามารถใชงานได
ผลที่ไดจากการคํานวณดังกลาวยังไมไดพจิ ารณาถึงสภาวะที่มีลมมาปะทะสายไฟฟาหรือสายลอฟา
หรือที่อุณหภูมขิ องสายไฟฟาที่ต่ําลง ซึ่งหากมีลมมาปะทะสายรวมทั้งอุณหภูมิต่ําลงแลว จะทําใหเกิดแรงดึง
ในสายไฟฟาเพิ่มขึ้น แรงดึงที่เพิ่มขึ้นดังกลาวจะถูกถายลงที่สายยึดโยง และสายยึดโยงก็จะรับโหลดที่
มากขึ้นดวย ดังนั้นเพื่อใหเห็นผลที่เกิดขึ้นในสภาวะตางๆ ของสายยึดโยง จึงไดจัดทําตารางแสดงผลการ
คํานวณที่สภาวะตางๆ ตามตารางที่ 3-2 และ 3-3 ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
82

ตารางที่ 3-2 แสดงผลการคํานวณที่สภาวะตางๆ ของสายยึดโยงและกานสมอบก สําหรับสาย


อะลูมิเนียมเปลือยขนาด 400 ตารางมิลลิเมตร สําหรับวงจรเดี่ยวสายไฟฟาเดี่ยว
หรือคู ระยะชวงเสาไมเกิน 80 เมตร โดยมุมระหวางสายยึดโยงเสนบนสุดใน
จุดที่ยึดสายลอฟากับตัวเสา (θ) มีคา 45 องศา (ขอมูลแรงดึงตามแบบมาตรฐาน
เลขที่ SO2-015/19089 การประกอบเลขที่ 5132 ซึ่งเปนสภาวะที่ไมมีลม)

อุณหภูมิ แรงดึงในสายไฟฟา แรงดึงในสายยึดโยงตอเสน แรงดึงในกานสมอบก


(องศา) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม)
2,591.16 3,664.46 7,328.92
0
(665.87 x 3.8914) S.F. = 1.69 S.F. = 2.18
2,144.12 3,032.24 6,064.49
10
(550.99 x 3.8914) S.F. = 2.04 S.F. = 2.64
1,729.02 2,445.21 4,890.42
20
(444.32 x 3.8914) S.F. = 2.53 S.F. = 3.27
1,368.37 1,935.16 3,870.33
30
(351.64 x 3.8914) S.F. = 3.20 S.F. = 4.13
~ 1,100 1,555.63 3,111.26
40
(278.71 x 3.8914) S.F. = 3.98 S.F. = 5.14
881.13 1,246.10 2,492.21
50
(226.43 x 3.8914) S.F. = 4.97 S.F. = 6.42
740.88 1,047.76 2,095.53
60
(190.39 x 3.8914) S.F. = 5.92 S.F. = 7.63

หมายเหตุ คา 3.8914 คือคาพื้นที่หนาตัดจริงของสายเทากับ 389.14 ตารางมิลลิเมตร แลวหาร


ดวย 100 เพื่อทําเปนตารางเซนติเมตร
83

ตารางที่ 3-3 แสดงผลการคํานวณที่สภาวะตางๆ ของสายยึดโยงและกานสมอบก สําหรับ


สายลอฟาลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 35 ตารางมิลลิเมตร ในชวงทางตรงสําหรับ
วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยวหรือคู ระยะชวงเสาไมเกิน 80 เมตร โดยมุมระหวาง
สายยึดโยงเสนบนสุดในจุดที่ยึดสายลอฟากับตัวเสา (θ) มีคา 45 องศา (ขอมูลแรงดึง
จากแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/31061 (การประกอบเลขที่ 5131) ซึ่งเปน
สภาวะที่ไมมลี ม)

อุณหภูมิ แรงดึงในสายลอฟา แรงดึงในสายยึดโยงตอเสน แรงดึงในกานสมอบก


(องศา) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม)
874.79 1,237.15 1,237.15
0
(2,695 x 0.3246) S.F. = 2.66 S.F. = 5.25
800.46 1,132.02 1,132.02
10
(2,466 x 0.3246) S.F. = 2.91 S.F. = 5.74
726.78 1,027.82 1,027.82
20
(2,239 x 0.3246) S.F. = 3.20 S.F. = 6.32
654.07 924.99 924.99
30
(2,015 x 0.3246) S.F. = 3.55 S.F. = 7.02
~ 600 848.53 848.53
40
(1,800 x 0.3246) S.F. = 3.88 S.F. = 7.66
516.76 730.81 730.81
50
(1,592 x 0.3246) S.F. = 4.50 S.F. = 8.89
451.84 639.00 639.00
60
(1,392 x 0.3246) S.F. = 5.15 S.F. = 10.17

หมายเหตุ คา 0.3246 คือคาพื้นที่หนาตัดจริงของสายเทากับ 32.46 ตารางมิลลิเมตร แลวหาร


ดวย 100 เพื่อทําเปนตารางเซนติเมตร
คาตัวประกอบความปลอดภัยที่แสดงในตารางดังกลาว จะเปนของเฉพาะสายยึดโยงและกาน
สมอบกที่ใชในงานกอสรางสายสง 115 kV ที่มุมระหวางสายยึดโยงเสนบนสุดในจุดที่ยึดสายลอฟากับตัว
เสา (θ) มีคา 45 องศาเทานั้น ซึ่งจะใชเปนขอมูลเบื้องตนในการออกแบบตัวสมอบกคอนกรีตโดยวิศวกร
84

โยธาตอไป สําหรับตัวสมอบกคอนกรีตที่เปนแบบมาตรฐาน ของ กฟภ. ที่ระบุรายละเอียดทั้งหมดที่


สมบูรณแลว สามารถดูไดตอนทายของบทนี้

3.3.4 การติดตั้งสมอบกคอนกรีต
สําหรับการใชงานสมอบกคอนกรีตของ กฟภ. ก็มีแบบมาตรฐานขอกําหนดการใชงาน
ดวย คือ แบบขอกําหนดการติดตั้งสมอบกคอนกรีตในเขตทางหลวงแบบเลขที่ SA1-015/43007
(การประกอบเลขที่ 5659) ตามรูปที่ 3-16

มม.

รูปที่ 3-16 แบบขอกําหนดการติดตั้งสมอบกคอนกรีตในเขตทางหลวง

ในการกอสรางระบบสายสง 115 kV ในพื้นที่เขตทางหลวง จําเปนตองติดตั้งสมอบกคอนกรีต


(ตัวสมอบกคอนกรีตพรอมกานสมอบกคอนกรีต) ใหเปนไปตามแบบ โดยในกรณีพื้นที่ดังกลาวเปนทาง
85

เทา สมอบกคอนกรีตจะตองมีระดับสมอบกต่ํากวาพื้นทางเทา 300 มิลลิเมตร กรณีที่กอ สรางบนพื้นดินที่


ยังไมมีทางเทา (พื้นดินต่ํากวาผิวจราจร 0-750 มิลลิเมตร) จะตองมีระดับสมอบกต่ํากวาผิวจราจร 750
มิลลิเมตร และกรณีที่กอสรางบนพื้นดินที่ยังไมมที างเทา (พื้นดินต่ํากวาผิวจราจรมากกวา 750
มิลลิเมตร) จะตองมีระดับสมอบกต่ํากวาผิวจราจรมากกวา 750 มิลลิเมตรเชนเดียวกัน โดยทั้งสามกรณี
ดังกลาวจะสังเกตไดวาระดับสมอบกจะไมโผลพนผิวทางเทาหรือผิวดินเลย เนื่องจากเพื่อเปนการเพิ่ม
ความแข็งแรงของสมอบกคอนกรีต ไมเปนการกีดขวางทางสัญจรรวมทั้งเปนการเผื่อที่วางไวสาํ หรับ
การติดตั้งทอสงน้ําหรือทอระบายในอนาคต นอกจากนี้ยงั มีอีกหนึ่งจุดที่สําคัญที่ตองพึงกระทําเสมอคือ
เมื่อมีการถมดินทําใหระดับดินสูงขึ้นในจุดที่ทําสมอบกคอนกรีต ในหลักการตองทําการเทคอนกรีตหุม
กานสมอบกหรือสายยึดโยงดวยเพื่อปองกันการกัดกรอนที่เกิดจากดินหรือความชื้นภายในดินไปสัมผัส
ดังนั้นอาจตองมีการตอกานสมอบกใหมใหยาวขึ้น แลวจึงเทคอนกรีตหุม กานสมอบกจนถึงระดับของดิน
ที่ถมขึ้นใหม และสุดทายตองใหหว งของกานสมอบกจอยูเหนือผิวดิน 100 มิลลิเมตร เพื่อปองกันสายยึดโยง
สัมผัสกับดินดวย
สําหรับการกอสรางสมอบกคอนกรีตในพืน้ ที่ทั่วไปที่อยูน อกเขตทางหลวง ก็ใชหลักการใน
หัวขอที่ 3.3.1 เชนเดียวกัน เพียงตางกันที่ในกรณีกอสรางบริเวณพืน้ ที่ทางเทาก็ใหระดับสมอบกเสมอ
กับพื้นทางเทา หรือกอสรางบริเวณพื้นดินก็ใหระดับสมอบกเสมอกับพื้นดินโดยไมตองพิจารณาเทียบ
กับระดับผิวจราจร

3.3.5 การกอสรางระบบสายสง 115 kV โดยไมตองติดตัง้ สายยึดโยง


ตามที่กลาวไวแลววา ในกรณีทแี่ รงดึงในสายไฟฟามีคาเปลีย่ นแปลงไปจากเดิมไมมาก
สามารถนําหลักการถายแรงที่ไมเทากันนี้ลงที่เสาโครงสรางได โดยการเพิ่มโครงสรางเปนลักษณะเสาคู
จํานวนหลายๆ ชุดติดตั้งเรียงตอกันไปโดยไมตองติดตั้งสายยึดโยง ซึ่งหลักการที่ใชกค็ ือ การถายแรงดึง
ในสายชวงทางตรงจํานวนหนึ่งลงที่เสาคูชุดแรก แรงดึงในสายที่เหลือจะมีคาลดลงและถายลงที่เสาคูชุด
ที่สอง จนถึงเสาคูชุดสุดทายที่ยังคงสามารถรับโมเมนตที่เกิดขึ้นไดอยางเพียงพอ ทัง้ นี้แรงดึงในสายชวง
หลังโครงสรางชุดสุดทาย ปกติจะเปนแรงดึงชวงไมรับแรงดึง (slack span) ที่มีคาประมาณ 200
กิโลกรัม แสดงดังรูปที่ 3-17
86

รูปที่ 3-17 แสดงการติดตั้งเสาโครงสรางเสาคูเรียงตอจํานวนหลายๆ ชุด เพื่อถายแรงที่ไมเทากัน


ลงที่เสาคอนกรีตอัดแรง สําหรับงานกอสรางระบบสายสง 115 kV

โดยปจจุบนั กฟภ. ไดมีแบบมาตรฐานโครงสรางที่ใชหลักการดังกลาว คือ โครงสรางแบบ SS-


DD-4 และ SD-DD-4 ซึ่งจะใชจํานวน 3-4 โครงสราง กอสรางเรียงกันสําหรับลดแรงดึงทางตรงให
นอยลง เพือ่ ใหสอดคลองกับแรงดึงในชวงตอไป ซึ่งอาจจะเปนชวงทางโคงหรือทางแยก ก็ได
ในสวนตอไป จะกลาวถึงรูปแบบมาตรฐานตางๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่องของสายยึดโยงและสมอบก
คอนกรีตที่ใชรวมกับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. รวมทั้งโครงสรางแบบ SS-DD-4 และ SD-DD-4
ที่ใชในกรณีไมติดตั้งสายยึดโยง ดังนี้
87

ชื่อแบบ การประกอบสายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 50 ต.มม.


รายละเอียดที่ 6 (แบบที่ 1)
ชื่อการประกอบสายยึดโยง D-6
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SO2-015/19032 (4636/5636)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองติดตั้ง
สายยึดโยงเพื่อใชรับแรงที่ถายมาจากสายลอฟา ซึ่งมีวิธีใชงานดังนี้
- รายละเอียด A (แบบ D-6A) ใชกรณีทไี่ มตอ งใชสลักหวงแบบ
ธรรมดาเดี่ยว 45 องศา M16 (ที่เสา คอร. มีติดตั้งไวอยูกอนแลว)
- รายละเอียด B (แบบ D-6B) ใชกรณีที่ตองใชสลักหวงแบบ
ธรรมดาเดี่ยว 45 องศา M16 และทิมเบิ้ลอายนัท M16
- รายละเอียด C (แบบ D-6C) ใชกรณีที่ตองใชสลักหวงแบบ
ธรรมดาเดี่ยว 45 องศา M16 แตไมตองใชทมิ เบิ้ลอายนัท M16
หมายเหตุ สามารถใชแบบที่ 2 (ใชยูแคลมป สลักเดี่ยว M8) แทนได กรณีไมมี
วัสดุแคลมปสลัก 3 ตัว สําหรับลวดเหล็กตีเกลียว 50 ต.มม.
88

ชื่อแบบ การประกอบสายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 50 ต.มม.


รายละเอียดที่ 6 (แบบที่ 2)
ชื่อการประกอบสายยึดโยง D-6
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/20029 (4637/5637)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองติดตั้ง
สายยึดโยงเพื่อใชรับแรงที่ถายมาจากสายลอฟา ซึ่งมีวิธีใชงานดังนี้
- รายละเอียด A (แบบ D-6A) ใชกรณีทไี่ มตอ งใชสลักหวงแบบ
ธรรมดาเดี่ยว 45 องศา M16 (ที่เสา คอร. มีติดตั้งไวอยูกอนแลว)
- รายละเอียด B (แบบ D-6B) ใชกรณีที่ตองใชสลักหวงแบบ
ธรรมดาเดี่ยว 45 องศา M16 และนัทรูปหวง M16
- รายละเอียด C (แบบ D-6C) ใชกรณีที่ตองใชสลักหวงแบบ
ธรรมดาเดี่ยว 45 องศา M16 แตไมตองใชนทั รูปหวง M16
หมายเหตุ สามารถใชแบบที่ 1 (ใชแคลมปสลัก 3 ตัว สําหรับลวดเหล็กตี
เกลียว 50 ต.มม.) แทนได กรณีไมมีวัสดุยแู คลมป สลักเดี่ยว M8
89

ชื่อแบบ การประกอบสายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 95 ต.มม.


รายละเอียดที่ 7 (แบบที่ 1)
ชื่อการประกอบสายยึดโยง D-7
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SO2-015/19033 (4638/5638)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองติดตัง้
สายยึดโยงเพื่อใชรับแรงที่ถายมาจากสายไฟฟา โดย รายละเอียด A ถึง
E (แบบ D-7A ถึงแบบ D-7E) มีหลักการเลือกใชงานเชนเดียวกับ
รายละเอียดที่ 6 ทั้งนี้การเลือกใชแบบตองพิจารณาทั้งความกวางของ
หนาเสาและสอดคลองกับวัสดุที่มี
หมายเหตุ สามารถใชแบบที่ 2 (ใชยูแคลมป สลักคู M16 (ไวร โรป คลิพ))
แทนได กรณีไมมีวัสดุแคลมปสลัก 3 ตัว สําหรับลวดเหล็กตีเกลียว
95 ต.มม.
90

ชื่อแบบ การประกอบสายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 95 ต.มม.


รายละเอียดที่ 7 (แบบที่2)
ชื่อการประกอบสายยึดโยง D-7
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/20030 (4639/5639)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองติดตัง้
สายยึดโยงเพื่อใชรับแรงที่ถายมาจากสายไฟฟาโดย รายละเอียด A ถึง
E (แบบ D-7A ถึงแบบ D-7E) มีหลักการเลือกใชงานเชนเดียวกับ
รายละเอียดที่ 6 ทั้งนี้การเลือกใชแบบตองพิจารณาทั้งความกวางของ
หนาเสาและสอดคลองกับวัสดุที่มี
หมายเหตุ สามารถใชแบบที่ 1 (ใชแคลมปสลัก 3 ตัว สําหรับลวดเหล็ก
ตีเกลียว 95 ต.มม.) แทนได กรณีไมมวี ัสดุยแู คลมป สลักคู M16
(ไวร โรป คลิพ)
91

ชื่อแบบ การประกอบสายยึดโยงดานขางลวดเหล็กตีเกลียว 95 ต.มม.


รายละเอียดที่ 8 (แบบที่ 1)
ชื่อการประกอบสายยึดโยง D-8
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SO2-015/19034 (4640/5640)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองติดตัง้
สายยึดโยงดานขาง เชน โครงสรางทางโคง เพื่อใชรับแรงที่ถาย
มาจากสายไฟฟา โดยการใชวัสดุแผนเหล็กรัดรอบเสาพรอมสลักยึด
และเหล็กหวงสําหรับยึดโยง แทนสลักหวงธรรมดา เดี่ยว 45 องศา
M20 และใชแคลมปสลัก 3 ตัวสําหรับลวดเหล็กตีเกลียว 95 ต.มม. ที่
ดานกานสมอบก
หมายเหตุ เนื่องจากปจจุบันในการกอสรางระบบสายสง 115 kV ในชวง
ทางโคงไมตองติดตั้งสายยึดโยง ดังนัน้ รูปแบบนี้จึงไมนิยมใชงาน
โดยจะใชการประกอบสายยึดโยงแบบ D-7 (แบบที่ 1 หรือ 2) แทน
92

ชื่อแบบ การประกอบสายยึดโยงดานขางลวดเหล็กตีเกลียว 95 ต.มม.


รายละเอียดที่ 8 (แบบที่ 2)
ชื่อการประกอบสายยึดโยง D-8
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/20031 (4641/5641)
การใชงาน ใชติดตั้งกับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองติดตัง้
สายยึดโยงดานขาง เชน โครงสรางทางโคง เพื่อใชรับแรงที่ถาย
มาจากสายไฟฟา โดยการใชวัสดุแผนเหล็กรัดรอบเสาพรอมสลักยึด
และเหล็กหวงสําหรับยึดโยง แทนสลักหวงธรรมดาเดี่ยว 45 องศา M20
และใชยูแคลมป สลักคู M16 (ไวร โรป คลิพ) รัดแนนทัง้ สวนบนของ
สายยึดโยงและที่กานสมอบก
หมายเหตุ เนื่องจากปจจุบันในการกอสรางระบบสายสง 115 kV ในชวง
ทางโคงไมตองติดตั้งสายยึดโยง ดังนัน้ รูปแบบนี้จึงไมนิยมใชงาน
โดยจะใชการประกอบสายยึดโยงแบบ D-7 (แบบที่ 1 หรือ 2) แทน
93

สมอบกคอนกรีต สําหรับพื้นที่นอกเขตทางหลวง

ชื่อแบบ สมอบกคอนกรีต รายละเอียดที่ 9 (แบบที่ 4)


ชื่อการประกอบสายยึดโยง D-9D
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) IB1-015/31028 (5655)
การใชงาน ใชกอสรางสําหรับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองติดตั้ง
สายยึดโยงไมเกินจํานวน 4 เสน (ในแบบกําหนดไวเพียง 3 เสน) เพื่อ
ใชรับแรงที่ถายมาจากแรงดึงของสายยึดโยงปกคอนรับสาย(หรือที่
เรียกวา กายปก) เชน โครงสราง SD-SA-1 โดยใชกาน สมอบก M24
แบบหวงสองรองจํานวน 2 กาน เพื่อรอยสายยึด โยง ลวดเหล็กตี
เกลียว 95 ต.มม. (รอยสายยึดโยงสูงสุด 2 เสนตอหนึ่งกานสมอบก)
หมายเหตุ - ใชกอสรางบริเวณพืน้ ที่นอกเขตทางหลวง ในกรณีดินสามารถรับ
น้ําหนักปลอดภัยนอยกวา 10 ตัน/ตารางเมตร
- มีรูปรางและการใชงานเชนเดียวกับสมอบกคอนกรีต แบบที่ 8
สําหรับพื้นที่ในเขตทางหลวง
94

สมอบกคอนกรีต สําหรับพื้นที่นอกเขตทางหลวง

ชื่อแบบ สมอบกคอนกรีต รายละเอียดที่ 9 (แบบที่ 5)


ชื่อการประกอบสายยึดโยง D-9E และ D-9F
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) IB1-015/35009 (5656)
การใชงาน ใชกอสรางสําหรับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองติดตั้ง
สายยึดโยงจํานวนไมเกิน 7 เสน เพื่อใชรบั แรงที่ถายมาจากสายลอฟา
และสายไฟฟา ซึ่งมีวิธีใชงานดังนี้
- สําหรับสายลอฟา ใชกานสมอบก M16 แบบหวงกลมจํานวน 1 กาน
เพื่อรอยสายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 50 ต.มม. จํานวน 1 เสน (รอย
สายยึดโยง 1 เสนตอหนึ่งกานสมอบก)
- สําหรับสายไฟฟา 115 kV ใชกานสมอบก M24 แบบหวงสองรอง
จํานวน 2 กาน เพื่อรอยสายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 95 ต.มม.
จํานวนไมเกิน 6 เสน (รอยสายยึดโยงสูงสุด 2 เสนตอหนึ่งกาน
สมอบก)
หมายเหตุ - ใชกอสรางบริเวณพืน้ ที่นอกเขตทางหลวง ในกรณีดนิ สามารถรับ
น้ําหนักปลอดภัยนอยกวา 10 ตัน/ตารางเมตร
- แบบ D-9E และ D-9F มีรูปรางและการใชงานเชนเดียวกับสมอบก
คอนกรีต แบบที่ 9 สําหรับพื้นที่ในเขตทางหลวงตางกันทีแ่ บบ D-9F
ไมตองทํากานสมอบกสําหรับสายลอฟาดวยก็ได
- ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากแบบเลขที่ IB1-017/25034
95

สมอบกคอนกรีต สําหรับพื้นที่นอกเขตทางหลวง

ชื่อแบบ สมอบกคอนกรีต รายละเอียดที่ 9 (แบบที่ 6)


ชื่อการประกอบสายยึดโยง D-9G และ D-9H
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/40008 (5657)
การใชงาน ใชกอสรางสําหรับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองติดตั้ง
สายยึดโยงจํานวนไมเกิน 7 เสน เพื่อใชรับแรงที่ถายมาจากแรงดึง
ในสายลอฟาและสายไฟฟา ซึ่งมีวิธีใชงานดังนี้
- สําหรับสายลอฟา ใชกานสมอบก M16 แบบหวงกลมจํานวน 1 กาน
เพื่อรอยสายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 50 ต.มม. จํานวน 1 เสน (รอย
สายยึดโยง 1 เสนตอหนึ่งกานสมอบก)
- สําหรับสายไฟฟา 115 kV ใชกานสมอบก M24 แบบหวงสองรอง
จํานวน 2 กาน เพื่อรอยสายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 95 ต.มม. จํานวน
ไมเกิน 6 เสน (รอยสายยึดโยงสูงสุด 2 เสนตอหนึง่ กานสมอบก)
หมายเหตุ - ใชกอสรางบริเวณพืน้ ที่นอกเขตทางหลวง ในกรณีดนิ สามารถรับ
น้ําหนักปลอดภัยไดตั้งแต 10 ตัน/ตารางเมตรขึ้นไป
- แบบ D-9G และ D-9H มีรูปรางและการใชงานเชนเดียวกับสมอบก
คอนกรีต แบบที่ 11 สําหรับพื้นที่ในเขตทางหลวงตางกันที่แบบ D-9H
ไมตองทํากานสมอบกสําหรับสายลอฟาดวยก็ได
- ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากแบบเลขที่ IB2-017/39008
96

สมอบกคอนกรีต สําหรับพื้นที่นอกเขตทางหลวง

ชื่อแบบ สมอบกคอนกรีต รายละเอียดที่ 9 (แบบที่ 7)


ชื่อการประกอบสายยึดโยง D-9I
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/40009 (5658)
การใชงาน ใชกอสรางสําหรับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองติดตั้ง
สายยึดโยงจํานวนไมเกิน 4 เสน เพื่อใชรับแรงที่ถายมาจากสายยึดโยง
ปกคอนรับสาย (หรือที่เรียกวา กายปก) เชน โครงสราง SD-SA-1 โดย
ใชกานสมอบก M24 แบบหวงสองรอง จํานวน 2 กาน เพื่อรอยสาย
ยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 95 ต.มม. (รอยสายยึดโยงสูงสุด 2 เสนตอหนึ่ง
กานสมอบก)
หมายเหตุ - ใชกอสรางบริเวณพืน้ ที่นอกเขตทางหลวง ในกรณีดนิ สามารถรับ
น้ําหนักปลอดภัยไดตั้งแต 10 ตัน/ตารางเมตรขึ้นไป
- มีรูปรางและการใชงานเชนเดียวกับสมอบกคอนกรีต แบบที่ 10
สําหรับพื้นที่ในเขตทางหลวง
- ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากแบบเลขที่ IB2-017/39009
97

สมอบกคอนกรีต สําหรับพื้นที่ในเขตทางหลวง

ชื่อแบบ สมอบกคอนกรีต รายละเอียดที่ 9 (แบบที่ 8)


ชื่อการประกอบสายยึดโยง D-9C
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/43008 (5659A)
การใชงาน ใชกอสรางสําหรับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองติดตั้ง
สายยึดโยงจํานวนไมเกิน 4 เสน เพื่อใชรับแรงที่ถายมาจากสายยึดโยง
ปกคอนรับสาย (หรือที่เรียกวา กายปก) เชน โครงสราง SD-SA-1 โดย
ใชกานสมอบก M24 แบบหวงสองรอง จํานวน 2 กาน เพื่อรอยสาย
ยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 95 ต.มม. (รอยสายยึดโยงสูงสุด 2 เสนตอหนึ่ง
กานสมอบก)
หมายเหตุ - ใชกอสรางบริเวณพื้นที่ในเขตทางหลวง ในกรณีดินสามารถรับ
น้ําหนักปลอดภัยนอยกวา 12 ตัน/ตารางเมตร และดูตามขอ
กําหนดการติดตั้งสมอบกคอนกรีตในเขตทางหลวง
- ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากแบบเลขที่ IB2-011/42010
98

สมอบกคอนกรีต สําหรับพื้นที่ในเขตทางหลวง

ชื่อแบบ สมอบกคอนกรีต รายละเอียดที่ 9 (แบบที่ 9)


ชื่อการประกอบสายยึดโยง D-9A
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/43009 (5659B)
การใชงาน ใชกอสรางสําหรับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองติดตั้ง
สายยึดโยงจํานวนไมเกิน 7 เสน เพื่อใชรับแรงที่ถายมาจากแรงดึง
ในสายลอฟาและสายไฟฟา ซึ่งมีวิธีใชงานดังนี้
- สําหรับสายลอฟา ใชกานสมอบก M16 แบบหวงกลมจํานวน1 กาน
เพื่อรอยสายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 50 ต.มม. จํานวน 1 เสน (รอย
สายยึดโยง 1 เสนตอหนึ่งกานสมอบก)
- สําหรับสายไฟฟา 115 kV ใชกานสมอบก M24 แบบหวงสองรอง
จํานวน 2 กาน เพื่อรอยสายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 95 ต.มม. จํานวน
ไมเกิน 6 เสน (รอยสายยึดโยงสูงสุด 2 เสนตอหนึ่งกานสมอบก)
หมายเหตุ - ใชกอสรางบริเวณพื้นที่ในเขตทางหลวงในกรณีดนิ สามารถรับ
น้ําหนักปลอดภัยนอยกวา 12 ตัน/ตารางเมตร และดูตามขอ
กําหนดการติดตั้งสมอบกคอนกรีตในเขตทางหลวง
- ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากแบบเลขที่ IB2-011/42011
99

สมอบกคอนกรีต สําหรับพื้นที่ในเขตทางหลวง

ชื่อแบบ สมอบกคอนกรีต รายละเอียดที่ 9 (แบบที่ 10)


ชื่อการประกอบสายยึดโยง D-9C
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/43010 (5659C)
การใชงาน ใชกอสรางสําหรับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองติดตั้ง
สายยึดโยงจํานวนไมเกิน 4 เสน เพื่อใชรับแรงที่ถายมาจากสายยึดโยง
ปกคอนรับสาย (หรือที่เรียกวา กายปก) เชน โครงสราง SD-SA-1 โดย
ใชกานสมอบก M24 แบบหวงสองรองจํานวน 2 กาน เพื่อรอยสายยึด
โยงลวดเหล็กตีเกลียว 95 ต.มม. (รอยสายยึดโยงสูงสุด 2 เสนตอหนึ่ง
กานสมอบก)
หมายเหตุ - ใชกอสรางบริเวณพื้นที่ในเขตทางหลวง ในกรณีดินสามารถรับ
น้ําหนักปลอดภัยไดตั้งแต 12 ตัน/ตารางเมตรขึ้นไป และดูตาม
ขอกําหนดการติดตั้งสมอบกคอนกรีตในเขตทางหลวง
- ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากแบบเลขที่ IB2-011/42013
100

สมอบกคอนกรีต สําหรับพื้นที่ในเขตทางหลวง

ชื่อแบบ สมอบกคอนกรีต รายละเอียดที่ 9 (แบบที่ 11)


ชื่อการประกอบสายยึดโยง D-9A
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/43011 (5659D)
การใชงาน ใชกอสรางสําหรับโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองติดตั้ง
สายยึดโยงจํานวนไมเกิน 7 เสน เพื่อใชรับแรงที่ถายมาจากสายลอฟา
และสายไฟฟา ซึ่งมีวิธีใชงานดังนี้
- สําหรับสายลอฟา ใชกานสมอบก M16 แบบหวงกลมจํานวน1 กาน
เพื่อรอยสายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 50 ต.มม. จํานวน 1 เสน (รอย
สายยึดโยง 1 เสนตอหนึ่งกานสมอบก)
- สําหรับสายไฟฟา 115 kV ใชกานสมอบก M24 แบบหวงสองรอง
จํานวน 2 กาน เพื่อรอยสายยึดโยงลวดเหล็กตีเกลียว 95 ต.มม.
จํานวนไมเกิน 6 เสน (รอยสายยึดโยงสูงสุด 2 เสนตอหนึ่งกาน
สมอบก)
หมายเหตุ - ใชกอสรางบริเวณพื้นที่ในเขตทางหลวง ในกรณีดนิ สามารถรับ
น้ําหนักปลอดภัยไดตั้งแต 12 ตัน/ตารางเมตรขึ้นไป และดูตามขอ
กําหนดการติดตั้งสมอบกคอนกรีตในเขตทางหลวง
- ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากแบบเลขที่ IB2-011/42012
101

3.4 ระบบตอลงดิน(Grounding System)

การออกแบบระบบตอลงดินของระบบสายสง 115 kV ของ กฟภ. เหตุผลหลักเพื่อตองการลด


แรงดันเกินที่เกิดขึ้นที่หวั เสาอันเนื่องมาจากฟาผาลงสายดินขึงอากาศใหนอยลงจะไดเกิดการวาบไฟตาม
ผิวยอนกลับ (Backflash over) ที่ฉนวนลูกถวยยากขึ้น กฟภ. จะกําหนดคาความตานทานดินในระบบ
สายสง 115 kV ไวไมเกิน 10 โอหม ซึ่งถือวาเปนคาที่เหมาะสมทั้งการชวยลดอัตราการขัดของของระบบ
จายไฟ และคาใชจาย

VM

Z1 Z2

τ VM

รูปที่ 3-17 คลื่นเคลื่อนที่ไปในระหวางวัตถุที่มีคา เสิรจอิมพีแดนซตางกัน

พิจารณาจากรูป 3-17 คลื่นเคลื่อนที่ดวยความเร็วประมาณ 300 เมตร/ไมโครวินาที เมือ่ ฟาผา


ลงที่หัวเสา คลื่นเคลื่อนที่จากหัวเสา คอร. ที่มีเสิรจอิมพีแดนซ Z1 (ประมาณ 150 โอหม) ไปหาดินทีม่ ี
ความตานทานดิน Z2 (ประมาณ 10 โอหม) ก็ทําใหเกิดคลืน่ สะทอนกลับโดยมีตัวประกอบสะทอนกลับ
(τ ) ดังนี้
Z 2 − Z1
τ = ; ถา Z2 <Z1 คา τ ลบ ถา Z2 >Z1 คา τ เปนบวก
Z 2 + Z1
10 − 150
จะได τ = = − 0.875
10 + 150

คาตัวประกอบสะทอนกลับที่ติดลบนี้จะไปหักลางกับแรงดันที่หวั เสาขณะที่เกิดฟาผาทําให
แรงดันรวมทีห่ ัวเสามีคานอยลง ยิ่งคาความตานทานดินมีคาต่ําลงมากเทาใด ๆ คาตัวประกอบสะทอน
กลับจะมีคาติดลบมากขึ้นทําใหเกิดการวาบไฟตามผิวยอนกลับที่เสาตนนั้นๆไดยาก
เหตุผลรองลงมาในการตอลงดินคือเพื่อลดคาแรงดันชวงกาวกับคาแรงดันสัมผัส ซึ่งเมื่อมี
กระแสไหลลงสูดิน ไมวากระแสนัน้ จะเกิดจากกระแสลัดวงจรหรือกระแสฟาผาก็ตามจะทําใหเกิดผล
เปนแรงดันชวงกาวและแรงดันสัมผัสอันเปนผลจากความตานทานดินบริเวณนั้น ถาคาความตานทาน
ดินมีคาสูงแรงดันชวงกาวและแรงดันสัมผัสก็จะมีคาสูงจนเปนอันตรายแกมนุษยและสัตวที่อยูใกลเคียง
บริเวณนั้น ดังนั้นคาความตานทานดินยิ่งมีคาต่ํายิ่งทําใหเกิดผลดีตอระบบการจายไฟ และความปลอดภัย
102

ตอมนุษยที่อยูใ กลเคียงดวย แตในการจะทําใหคาความตานทานดินมีคาต่ําๆนั้นจะมีคาใชจายสูงและทํา


ไดยากในทางปฏิบัติ ดังนั้นการกําหนดคาความตานทานดินในระบบสายสง 115 kV ไวไมเกิน 10 โอหม
จึงถือวาเปนคาที่เหมาะสมแลว
รูปแบบการตอลงดินตามมาตรฐานการกอสรางของ กฟภ. ตามแบบมาตรฐานการตอลงดิน
สําหรับระบบจําหนายและระบบสายสง แบบเลขที่ SA1-015/50003 การประกอบเลขที่ 5190 นั้นมีทงั้
แบบที่ใชแทงรากสายดิน(Ground Rod) หรือใชสายดินแบบแผนเหล็ก (Ground Strip) หรือใชผงเคมีลด
คาความตานทานดินขึ้นอยูกบั คาความตานทานจําเพาะของดินบริเวณที่จะทําการตอลงดิน โดยมีลักษณะ
การกอสรางและใชงานดังนี้
การตอลงดินแบบ GR (Ground Rod)
การตอลงดินแบบ GR (Ground Rod) เปนวิธีการตอลงดินที่ใชแทงรากสายดินซึ่งทําดวยเหล็กชุบ
สังกะสีขนาดความยาว 2 เมตร ดังรูปที่ 3-18 เปนรากสายดินโดยใชแทงรากสายดินตั้งแต 1 แทงจนถึง 5
แทง ตอกฝงลงใตดนิ ลึกจากระดับผิวดินประมาณ 0.5 เมตร วิธีนี้เหมาะสําหรับพื้นที่ทเี่ ปนดินออน เชน ดิน
เหนียว หรือดินรวน ที่มีคาความตานทานจําเพาะของดินตัง้ แต 1 โอหม-เมตร ถึง 174 โอหม-เมตร รูปแบบ
การกอสรางดังรูปที่ 3-19

รูปที่ 3-18 แทงรากสายดิน


103

หนวย : มิลลิเมตร
รูปที่ 3-19 รูปแบบการตอลงดินแบบ GR
104

หนวย : มิลลิเมตร
รูปที่ 3-19 (ตอ) รูปแบบการตอลงดินแบบ GR

ระบบตอลงดินที่ใชแทงรากสายดินนัน้ เมื่อติดตั้งแทงรากสายดินเกินกวา 5 แทงขึ้นไป อัตรา


การลดลงของคาความตานทานดินจะนอยมาก ดังนัน้ การทําระบบตอลงดินวิธีนี้จะตอกแทงรากสายดิน
ไมเกิน 5 แทง และใชลวดเหล็กตีเกลียวอาบสังกะสีขนาด 50 ตร.มม. เปนสายตัวนําลงดิน เพื่อใหเกิด
หนาสัมผัสที่ดีระหวางแทงรากสายดิน(Ground Rod) กับลวดเหล็กตีเกลียวจึงเชื่อมตอกันดวยวิธีเชื่อม
ดวยความรอน(Exothermic welding) การติดตั้งแทงรากสายดินควรมีระยะหางระหวางแทงรากสายดิน
ไมนอยกวา 2 เทาของความยาวของแทงรากสายดินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบตอลงดิน

การตอลงดินแบบ GS (Ground strip)


การตอลงดินแบบ GS(Ground strip) เปนวิธีการตอลงดินที่ใชสายดินแบบแผนเหล็กเปนรากสาย
ดิน ซึ่งทําดวยแผนเหล็กชุบสังกะสีขนาดกวาง 30 มม. หนา 3.5 มม. ยาว 10 เมตร ตอ 1 แผน ดังรูปที่ 3-20
โดยตามแบบมาตรฐานจะใชความยาวรวมทั้งหมด 40 เมตร ฝงลงใตดินลึกจากระดับผิวดินประมาณ 0.5
เมตร วิธีนี้เหมาะสําหรับพืน้ ที่ที่เปนดินแข็ง เชน ดินปนทราย ดินปนกรวด หรือบริเวณที่ชนั้ ใตผิวดิน
เปนหิน ที่มีคา ความตานทานจําเพาะของดินตั้งแต 175 โอหม-เมตร ถึง 262 โอหม-เมตร รูปแบบการ
กอสรางดังรูปที่ 3-21

รูปที่ 3-20 แผนเหล็กชุบสังกะสีขนาดกวาง 30 มม. หนา 3.5 มม. ยาว 10 เมตร


105

หนวย : มิลลิเมตร
รูปที่ 3.21 รูปแบบการตอลงดินแบบ GS

การตอลงดินแบบใชผงเคมีลดคาความตานทานดิน (GC)
การตอลงดินแบบใชผงเคมีลดคาความตานทานดิน(GC) เปนวิธกี ารตอลงดินทีใ่ ชแทงรากสาย
ดินรวมกับผงเคมีลดคาความตานทานดินเปนรากสายดิน โดยขุดหลุมขนาดกวาง 0.5 เมตร ลึก 2 เมตร ใส
ผงเคมีลงไปในหลุมพรอมกับแทงรากสายดิน 1 แทง โดยผงเคมีทใี่ ชตองมีคาความตานทานจําเพาะอยู
ระหวาง 0.001-0.01 โอหม-เมตร วิธีนี้เหมาะสําหรับพื้นที่ที่มีคาความตานทานจําเพาะของดินตั้งแต 263
โอหม-เมตร ถึง 622 โอหม-เมตร รูปแบบการกอสรางดังรูปที่ 3-22
106

หนวย : มิลลิเมตร
รูปที่ 3-22 รูปแบบการตอลงดินแบบ GC

การพิจารณาออกแบบระบบตอลงดินจะเปนรูปแบบไหนนั้น จะพิจารณาจากคาความตานทาน
จําเพาะของดิน (Soil Resistivity ) ที่บริเวณฐานรากของเสาวามีคาเทาไร แลวจึงเลือกรูปแบบการตอลง
ดินที่เหมาะสมวาควรเปนรูปแบบใด ดังตารางที่ 3-4
107

ตารางที่ 3-4 ตารางเลือกรูปแบบการตอลงดิน

แบบการตอลงดิน คาความตานทานจําเพาะของดิน
(โอหม-เมตร)
GR-1 0-34
GR-2 35-79
GR-3 80-114
GR-4 115-147
GR-5 148-174
GS 175-262
GC 263-622

ระบบสายสง 115 kV ที่ใชโครงสรางเปนเสา คอร. จะมีจุดสําหรับตอลงดิน(Ground Plate) ดัง


รูปที่ 3-23 ที่บริเวณโคนเสารวม 2 จุดคือ ที่ความสูง 4.45 เมตร และ 5.45 เมตร จากโคนเสา โดยจุด
สําหรับตอลงดินที่ความสูง 4.45 เมตร จะใชในกรณีที่ทาํ การปกเสาในฐานรากเสาลึกไมเกิน 2 เมตร ดัง
รูปที่ 3-24

รูปที่ 3.23 จุดสําหรับตอลงดิน(Ground Plate)


108

รูปที่ 3-24 การปกเสาในฐานรากเสาไมเกิน 2 เมตร

สําหรับจุดตอลงดินที่ความสูง 5.45 เมตร จะใชในกรณีที่ทําการปกเสาในฐานรากเสาลึกเกิน 2


เมตรโดยสวนใหญจะเปนพืน้ ที่ในแหลงชุมชนที่ไมสามารถใชฐานรากเสาได ดังรูปที่ 3-25

รูปที่ 3-25 การปกเสาในฐานรากเสาเกิน 2 เมตร


109

รูปที่ 3-26 การติดตัง้ สายตัวนําลงดินที่บริเวณโคนเสา คอร.

ทั้งนี้เมื่อทําการปกเสาในฐานรากเสาแลวไมวากรณีใดๆ จุดสําหรับตอลงดินจะอยูสูงจากระดับ
พื้นดินประมาณ 2.4 เมตร และในการติดตัง้ สายตัวนําลงดินที่บริเวณจุดตอเชื่อมกราวดเพลทตามรูปที่
3-26 จะตองทําความสะอาดหนาสัมผัสของจุดสําหรับตอลงดิน(Ground Plate) เนื่องจากหนาสัมผัส
ดังกลาวอาจมีน้ําปูนติดอยูดงั รูปที่ 3-27

รูปที่ 3-27 หนาสัมผัสของจุดสําหรับตอลงดิน(Ground Plate) ที่มีนา้ํ ปูนติดอยู


110

3.5 ฐานรากของระบบสายสง 115 kV


แรงดันไฟฟา 115 kV เปนระบบสงที่มีแรงดันสูงที่สุดที่ กฟภ. ใชอยูใ นปจจุบัน จึงจําเปนตองมี
ระยะหางที่ปลอดภัยในการกอสรางทางไฟฟามากกวาระบบจําหนาย 22& 33 kV อุปกรณตางๆที่
ติดตั้งก็มีขนาดและน้ําหนักมาก เสา คอร. จึงตองมีขนาดใหญและมีความสูงมาก สวนสําคัญที่
รองรับน้ําหนักรวมทั้งหมดจากเสา คือ ฐานรากของเสา
ฐานรากของระบบสายสง 115 kV จะตองสามารถรับน้ําหนักที่เกิดจาก แรงดึงของสายไฟฟา
สายยึดโยงตางๆที่กระทําตอเสา และอุปกรณประกอบสายทั้งหมดได
3.5.1 แบบฐานรากเสาของระบบสายสง 115 kV แบงไดตามสภาพความหนาแนนของชั้นดิน
ได 11 แบบ คือ

หนวย : มิลลิเมตร
ชื่อแบบ ฐานรากเสา D-10A แบบที่ 17
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47018 (5687A)
การใชงาน เปนฐานรากสําหรับเสาเดี่ยวกอสรางบริเวณทางเทาหรือพื้นที่กอสราง
ฐานรากเสามีระดับต่ํากวาระดับผิวจราจรไมเกิน 1 เมตร โครงสราง
เสาจะเปนตนทางตรงหรือทางโคงจะมีสายยึดโยงหรือไมมีก็ได โดย
ดินสามารถรับน้ําหนักปลอดภัยไดตั้งแต 12 ตัน/ตารางเมตรขึ้นไป
111

หนวย : มิลลิเมตร

ชื่อแบบ ฐานรากเสา D-10A แบบที่ 18


แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47019 (5687B)
การใชงาน เปนฐานรากสําหรับเสาเดี่ยว ดินเดิมบริเวณที่จะกอสรางฐานรากเสา
มีระดับต่ํากวาระดับผิวจราจร 1-5.75 เมตร โครงสรางเสาจะเปนตน
ทางตรงหรือทางโคง จะมีสายยึดโยงหรือไมมีก็ได โดยดินสามารถ
รับน้ําหนักปลอดภัยไดตั้งแต 12 ตัน/ตารางเมตรขึ้นไป
112

หนวย : มิลลิเมตร
* ดูขอกําหนดการติดตั้งฐานรากเสาในเขตทางหลวงตามแบบเลขที่ SA1-015/43012 การ
ประกอบเลขที่ 5687

ชื่อแบบ ฐานรากเสา D-10A แบบที่ 19


แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47022 (5687E)
การใชงาน เปนฐานรากสําหรับเสาเดี่ยว ดินเดิมบริเวณที่จะกอสรางฐานรากเสา
มีระดับต่ํากวาระดับผิวจราจรหรือระดับพืน้ ทางเทา 0-2 เมตร
โครงสรางเสาจะเปนตนทางตรงหรือทางโคง ที่ไมมีสายยึดโยง
113

หนวย : มิลลิเมตร
ชื่อแบบ ฐานรากเสา D-10A แบบที่ 20
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47023 (5687F)
การใชงาน เปนฐานรากสําหรับเสาเดี่ยว ดินเดิมบริเวณที่จะกอสรางฐานรากเสา
มีระดับต่ํากวาระดับผิวจราจร 2-4.55 เมตร โครงสรางเสาจะเปนตน
ทางตรงหรือทางโคง ที่ไมมีสายยึดโยง
114

หนวย : มิลลิเมตร
ชื่อแบบ ฐานรากเสา D-10A แบบที่ 21
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47024 (5687G)
การใชงาน เปนฐานรากสําหรับเสาเดี่ยว ดินเดิมบริเวณที่จะกอสรางฐานรากเสา
มีระดับต่ํากวาระดับผิวจราจร 4.55-5.75 เมตร โครงสรางเสาจะเปน
ตนทางตรงหรือทางโคง ที่ไมมีสายยึดโยง
115

* ดูขอกําหนดการติดตั้งฐานรากเสาในเขตทางหลวงตามแบบเลขที่ SA1-015/43012 การ


ประกอบเลขที่ 5687
หนวย : มิลลิเมตร
ชื่อแบบ ฐานรากเสา D-10A แบบที่ 22
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47025 (5687H)
การใชงาน เปนฐานรากสําหรับเสาเดี่ยว ดินเดิมบริเวณที่จะกอสรางฐานรากเสา
มีระดับต่ํากวาระดับผิวจราจรหรือระดับพืน้ ทางเทา 0-2 เมตร
โครงสรางเสาจะเปนตนทางตรงหรือทางโคง ที่มีสายยึดโยงหรือไม
มีสายยึดโยงก็ได
116

หนวย : มิลลิเมตร

ชื่อแบบ ฐานรากเสาแบบ D-10A แบบที่ 23


แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47026 (5687I)
การใชงาน เปนฐานรากสําหรับเสาเดีย่ ว ดินเดิมบริเวณที่จะกอสรางฐานรากเสา
มีระดับต่ํากวาระดับผิวจราจร 2-5.75 เมตร โครงสรางเสาจะเปนตน
ทางตรงหรือทางโคง ที่มีสายยึดโยงหรือไมมีสายยึดโยงก็ได
117

* ดูขอกําหนดการติดตั้งฐานรากเสาในเขตทางหลวงตามแบบเลขที่ SA1-015/43012 การ


ประกอบเลขที่ 5687
หนวย : มิลลิเมตร
ชื่อแบบ ฐานรากเสา D-10B แบบที่ 9
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47020 (5687C)
การใชงาน เปนฐานรากสําหรับเสาคู ดินเดิมบริเวณทีจ่ ะกอสรางฐานรากเสามี
ระดับต่ํากวาระดับผิวจราจรหรือระดับพืน้ ทางเทา 0-1 เมตร
โครงสรางเสาจะเปนตนทางตรงหรือทางโคง ที่มีสายยึดโยงหรือไม
มีสายยึดโยงก็ได โดยดินสามารถรับน้ําหนักปลอดภัยไดตั้งแต 12
ตัน/ตารางเมตรขึ้นไป
118

หนวย : มิลลิเมตร
ชื่อแบบ ฐานรากเสา D-10B แบบที่ 10
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47021 การประกอบเลขที่ 5687D)
การใชงาน เปนฐานรากสําหรับเสาคู ดินเดิมบริเวณทีจ่ ะกอสรางฐานรากเสามี
ระดับต่ํากวาระดับผิวจราจร 1-5.75 เมตร โครงสรางเสาจะเปนตน
ทางตรงหรือทางโคง ที่มีสายยึดโยงหรือไมมีสายยึดโยงก็ได โดย
ดินสามารถรับน้ําหนักปลอดภัยไดตั้งแต 12 ตัน/ตารางเมตรขึ้นไป
119

* ดูขอกําหนดการติดตั้งฐานรากเสาในเขตทางหลวงตามแบบเลขที่ SA1-015/43012 การ


ประกอบเลขที่ 5687
หนวย : มิลลิเมตร
ชื่อแบบ ฐานรากเสา D-10B แบบที่ 11
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47027 (5687J)
การใชงาน เปนฐานรากสําหรับเสาคู ดินเดิมบริเวณทีจ่ ะกอสรางฐานรากเสามี
ระดับต่ํากวาระดับผิวจราจรหรือระดับพืน้ ทางเทา 0-2 เมตร
โครงสรางเสาจะเปนตนทางตรงหรือทางโคง ที่มีสายยึดโยงหรือไม
มีสายยึดโยงก็ได
120

หนวย : มิลลิเมตร
ชื่อแบบ ฐานรากเสา D-10B แบบที่ 12
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47028 การประกอบเลขที่ 5687K)
การใชงาน เปนฐานรากสําหรับเสาคู ดินเดิมบริเวณทีจ่ ะกอสรางฐานรากเสามี
ระดับต่ํากวาระดับผิวจราจร 2-5.75 เมตร โครงสรางเสาจะเปนตน
ทางตรงหรือทางโคง ที่มีสายยึดโยงหรือไมมีสายยึดโยงก็ได
121

3.5.2 ขอกําหนดการติดตัง้ ฐานรากเสาในเขตทางหลวง


เนื่องจากฐานรากเสาของ กฟภ. สวนใหญจะติดตั้งในพืน้ ที่ของกรมทางหลวง ซึ่งพื้นที่
ทางหลวงจะมีระบบสาธารณูปโภคที่ติดตัง้ อยูมากมาย ดังนั้นกรมทางหลวงจึงตองกําหนดระยะตําแหนง
การติดตั้งของสาธารณูปโภคตางๆไวเพื่อความสะดวกในการตรวจสอบและการปรับขยายถนนใน
อนาคต ซึ่งตําแหนงของฐานรากเสาของ กฟภ. จะตองติดตั้งในตําแหนงที่กรมทางหลวงกําหนดใน
ระดับตําแหนงดังนี้
1) กรณีมีทางเทา ระดับฐานรากเสาตองอยูต่ํากวาพื้นทางเทา 300 มม

พื้นทางเทา
ระดับผิวจราจร 300

2000

2) กรณีไมมีทางเทา
2.1) ผิวดินต่ํากวาผิวจราจร 0-1000 มม
ระดับผิวจราจร ระดับดิน

750 0-1000

2300

450 เทคอนกรีตเพือ่ ปรับความสูง


122

2.2) ผิวดินต่ํากวาผิวจราจรมากกวา 1000-5750 มม.

ระดับผิวจราจร

750 มม
2300 มม
250 มม ระดับดิน

450 มม เทคอนกรีตเพือ่ ปรับความสูง


0-4750 มม
0-3000 มม

2.3) ผิวดินต่ํากวาผิวจราจรมากกวา 5750 มม. ตองพิจารณาออกแบบเฉพาะใหม


เปนแหงๆไป
บทที่ 4
อุปกรณประกอบตางๆทีใ่ ชงานในระบบสายสง

4.1 กราวดวายแคลมป
กราวดวายแคลมปใชสําหรับจับยึดสายดินขึงอากาศ(Overhead Ground Wire) กับเหล็กฉากรับสายดิน
ขึงอากาศ ขนาด 65 x 65 x 6 มม. ยาว 2.50 ม. ตัวกราวดวายแคลมปทําจากเหล็กเหนียวอาบสังกะสี สวนตัวยู
โบลท และนัททําจากเหล็กกลาละมุนอาบสังกะสี ลักษณะของกราวดวายแคลมปดังรูปที่ 4-1

รูปที่ 4-1 กราวดวายแคลมป

4.2 แคลมป สลัก 3 ตัว


แคลมปสลัก 3 ตัว ใชสําหรับเปนตัวเชื่อมตอระหวางสายดินขึงอากาศ ขนาด 35 ต.มม. กับสายตัวนํา
ลงดินขนาด 35 ต.มม. ที่บริเวณหัวเสา โดยตัวแคลมปทําจากเหล็กกลาละมุนอาบสังกะสี ลักษณะของกราวดวาย
แคลมปดังรูปที่ 4-2

รูปที่ 4-2 แคลมป สลัก 3 ตัว สําหรับลวดเหล็กตีเกลียว 35 ต.มม.


124

4.3 เหล็กรูปรางน้าํ รับสายลอฟา


เหล็กรูปรางน้ํารับสายลอฟาใชติดตั้งสายดินขึงอากาศบริเวณยอดหัวเสาสําหรับโครงสรางเสาที่ตองรับ
แรงดึงจากสายดินขึงอากาศ เชน ตนเขาปลายสาย เหล็กรูปรางน้ํารับสายลอฟาทําจากเหล็กกลารูปรางน้ํา
ขนาด 150x75x6.5 มม. ตาม มอก.1227 ตารางที่ 4 อาบสังกะสี ลักษณะของเหล็กรูปรางน้ํารับสายลอฟาดังรูป
ที่ 4-3

รูปที่ 4-3 เหล็กรูปรางน้าํ รับสายลอฟา ขนาด 150x75x6.5 มม. ยาว 2,500 มม.

4.4 แผนเหล็กประกอบหัวเสา
แผนเหล็กประกอบหัวเสาใชสําหรับเปนตัวเชื่อมตอระหวางสายตัวนําตอลงดินกับกราวดเพลทที่
บริเวณยอดเสา คอร. 22 เมตร แผนเหล็กประกอบหัวเสาทําจากเหล็กแผน ตาม มอก. 55 ตารางที่ 1 อาบ
สังกะสี ลักษณะของแผนเหล็กประกอบหัวเสาดังรูปที่ 4-4

รูปที่ 4-4 แผนเหล็กประกอบหัวเสา

4.5 อารคซิ่งฮอรน
การติดตั้งอารคซิ่งฮอรนในระบบสายสงนั้นเพื่อปองกันลูกถวยไมใหเกิดความเสียหายจากการเกิด
Flashover ผานลูกถวย โดยใหเกิด Flashover ผานอารคซิ่งฮอรนแทน อารคซิ่งฮอรนเปนอุปกรณใชกับชุดลูกถวย
ของสายสงไฟฟา ติดตั้งไวทปี่ ลายของชุดลูกถวยทั้งสองดาน โดยที่ระยะหางของอารคซิ่งฮอรนทั้งสองอันจะตอง
125

นอยกวาระยะรัว่ (Creepage Distance) ของลูกถวย ในปจจุบันอารคซิ่งฮอรนมีความจําเปนในการใชงานนอยลง


เนื่องจากรีเลยและเบรกเกอรมีความสามารถในการตัดวงจรขณะเกิดลัดวงจรลักษณะตางๆไดรวดเร็วและแนนอน
มากขึ้น ทําใหเวลาในการเกิด Flashover ผานชุดลูกถวยไมนานพอที่จะทําใหลูกถวยเสียหายได ลักษณะของอารค
ซิ่งฮอรนดังรูปที่ 4-5

รูปที่ 4-5 อารคซิ่งฮอรน (Arcing Horn)


4.6 แคลมปแขวน
แคลมปแขวนใชสําหรับจับสายไฟฟา โดยมีปรีฟอรมอารเมอรรอด( Preformed Armor Rod) พันทับ
สายกอน ลักษณะการใชงานจะหิว้ สายไฟฟา หรือสายโอเวอรเฮดไวกบั เสา ลักษณะของแคลมปจะตองไมมี
เหลี่ยม หรือปลายแหลมคม เพื่อลดการสูญเสียเนื่องจากโคโรนา ความสามารถในการรับแรงจะตองไมนอย
กวาชุดของลูกถวย ในกรณีที่เกิดการไมสมดุลของแรงที่แคลมป แคลมปจะตองทนแรงนั้นไดโดยที่สายไม
เลื่อน ตัวแคลมปแขวนและแผนรัดสายทําจากอะลูมิเนียมเจือ สวนยูโบลทและนัททําจากเหล็กเหนียวอาบ
สังกะสีลักษณะของแคลมปแขวนดังรูปที่ 4-6

รูปที่ 4-6 แคลมปแขวน (Suspension Clamp)


126

4.7 สเตรนดแคลมป
ใชสําหรับยึดสายไฟฟาติดกับชุดลูกถวยในแนวระดับตามแนวสายไฟฟา การจับยึดสายไฟฟาสามารถ
คลายสายเพื่อปรับตั้งระยะความหยอนยานของสายได และเมื่อติดตั้งเสร็จเรียบรอยแลวแคลมปจะตองรับ
แรงดึงในสายไดโดยที่สายไมเลื่อน ตัวสเตรนดแคลมปและแผนรัดสายทําจากอะลูมิเนียมเจือ สวนตัวยู
โบลท และนัททําจากเหล็กเหนียวอาบสังกะสี ลักษณะของแคลมปจะตองไมมีเหลี่ยม หรือปลายแหลมคม
เพื่อลดการสูญเสียเนื่องจากโคโรนา มีแรงดึงปะลัยไมนอ ยกวา 8,200 กิโลกรัมสําหรับสายอะลูมิเนียมขนาด
400 ต.มม. และมีแรงดึงปะลัยไมนอยกวา 13,000 กิโลกรัมสําหรับสายอะลูมิเนียมแกนเหล็กขนาด 380/50
ต.มม. ลักษณะของสเตรนดแคลมปดังรูปที่ 4-7

รูปที่ 4-7 สเตรนดแคลมป (Strain Clamp)


4.8 แคลมปเขาปลายสาย
แคลมปเขาปลายสาย ใชสําหรับจับปลายสายไฟฟาติดกับชุดลูกถวยในแนวระดับตามแนวสายไฟฟา
การจับยึดสายไฟฟาเปนแบบไมสามารถปรับคลายไดจึงไมสามารถใชปรับตั้งระยะความหยอนยานของสายได มี
แรงดึงปะลัยไมนอยกวา 8,200 กิโลกรัมสําหรับสายอะลูมิเนียมขนาด 400 ต.มม. และมีแรงดึงปะลัยไมนอย
กวา 13,000 กิโลกรัมสําหรับสายอะลูมิเนียมแกนเหล็กขนาด 380/50 ต.มม. และความนําไฟฟาจะตองไม
นอยกวาสายสง ลักษณะของแคลมปเขาปลายสายดังรูปที่ 4-8

รูปที่ 4-8 แคลมปเขาปลายสาย (Compression Dead End Clamp)


127

4.9 ขอตอแขวน แบบหัวกลม


ขอตอแขวนแบบหัวกลม เปนอุปกรณประกอบในการแขวนชุดพวงลูกถวยเขากับสลักหวงโอแวลที่
ปลายคอนสายโครงสรางเสาสําหรับทางตรง ขนาดของหัวกลมตาม ANSI TYPE Bใชกับลูกถวยแขวนแบบ
ค (แบบ 52-3) ซึ่งมีหัวลูกถวยเปนซอคเก็ต ตัวขอตอแขวนแบบหัวกลมทําดวยเหล็กขึน้ รูปดวยความรอน
(forged steel) อาบสังกะสี มีแรงดึงปะลัยไมนอยกวา 8,200 กิโลกรัม ลักษณะของขอตอแขวนแบบหัวกลม
ดังรูปที่ 4-9

รูปที่ 4-9 ขอตอแขวน แบบหัวกลม(BALL-HOOK)


4.10 ขอตอแบบ วาย-เคลวิส-บอล
ขอตอแบบ วาย-เคลวิส-บอล เปนอุปกรณประกอบในการแขวนชุดพวงลูกถวยเขากับสลักหวง
โอแวลหรือทีแ่ ขวนลูกถวยทางโคง บริเวณปลายคอนสายโครงสรางเสาสําหรับทางโคง ขนาดของบอลตาม
ANSI TYPE J ใชกับลูกถวยแขวนแบบ ค (แบบ 52-3) ซึ่งมีหัวลูกถวยเปนซอคเก็ต ขอตอแบบ วาย-เคลวิส-
บอลทําดวยเหล็กขึ้นรูปดวยความรอน (forged steel) อาบสังกะสี มีแรงดึงปะลัยไมนอ ยกวา 13,600
กิโลกรัม ลักษณะของขอตอแบบ วาย-เคลวิส-บอลดังรูปที่ 4-10

รูปที่ 4-10 ขอตอแบบ วาย-เคลวิส-บอล(Y-CLEVIS-BALL)


128

4.11 ขอตอแบบ บอล-เคลวิส


ขอตอแบบ บอล-เคลวิส เปนอุปกรณประกอบในการแขวนชุดพวงลูกถวยเขากับแผนเหล็กเขาปลาย
สายหรือสลักหวงโอแวล ทีบ่ ริเวณปลายคอนสายโครงสรางเสาสําหรับเขาปลายสาย ขอตอแบบ บอล-เคล
วิสทําดวยเหล็กขึ้นรูปดวยความรอน (forged steel) อาบสังกะสี ขนาดของบอลตาม ANSI TYPE B มีแรงดึง
ปะลัยไมนอยกวา 8,200 กิโลกรัม ใชกับลูกถวยแขวนแบบ ค (แบบ 52-3) และขนาดของบอลตาม ANSI
TYPE K มีแรงดึงปะลัยไมนอ ยกวา 22,700 กิโลกรัมใชกบั ลูกถวยแขวนแบบ จ (แบบ 52-8) ลักษณะของขอ
ตอแบบ บอล-เคลวิส ดังรูปที่ 4-11

รูปที่ 4-11 ขอตอแบบ บอล-เคลวิส(BALL-CLEVIS)

4.12 แผนเหล็กแยกสาย
แผนเหล็กแยกสาย เปนอุปกรณประกอบในการติดตั้งสายไฟฟาเขากับชุดพวงลูกถวยกรณีสายไฟฟา
เปนแบบสายไฟฟาคูเพื่อแยกสาย แผนเหล็กแยกสายทําดวยเหล็กกลาละมุน อาบสังกะสี มีแรงดึงปะลัยไม
นอยกวา 16,500 กิโลกรัม ลักษณะของแผนเหล็กแยกสายดังรูปที่ 4-12

รูปที่ 4-12 แผนเหล็กแยกสาย


129

4.13 ขอตอแบบ เคลวิส-อาย


ขอตอแบบ เคลวิส-อาย เปนอุปกรณประกอบในการแขวนสายไฟฟาเขากับชุดพวงลูกถวยแขวนกรณี
ที่สายไฟฟาเปนแบบสายไฟฟาคู ขอตอแบบ เคลวิส-อายทํามาจากเหล็กขึ้นรูปดวยความรอน (forged steel)
อาบสังกะสี มีแรงดึงปะลัยไมนอยกวา 8,200 กิโลกรัม ลักษณะของขอตอแบบ เคลวิส-อายดังรูปที่ 4-13

รูปที่ 4-13 ขอตอแบบ เคลวิส-อาย(CLEVIS-EYE)

4.14 ขอตอแบบ ซอคเก็ต-เคลวิส


ขอตอแบบ ซอคเก็ต-เคลวิส เปนอุปกรณประกอบในการติดตั้งสายไฟฟาเขากับชุดพวงลูกถวย
โครงสรางเสาสําหรับเขาปลายสาย ขอตอแบบ ซอคเก็ต-เคลวิสทํามาจากเหล็กเหนียว อาบสังกะสี ขนาด
ของซอคเก็ตตาม ANSI TYPE B มีแรงดึงปะลัยไมนอยกวา 8,200 กิโลกรัม ใชกับลูกถวยแขวนแบบ ค
(แบบ 52-3) หรือติดตั้งอยูระหวางขอตอแบบบอล-เคลวิส กับแคลมปเขาปลายสาย และขนาดของซอคเก็ต
ตาม ANSI TYPE K มีแรงดึงปะลัยไมนอยกวา 22,700 กิโลกรัมใชกบั ลูกถวยแขวนแบบ จ (แบบ 52-8)
ลักษณะของขอตอแบบ ซอคเก็ต-เคลวิส ดังรูปที่ 4-14

รูปที่ 4-14 ขอตอแบบ ซอคเก็ต-เคลวิส(SOCKET-CLEVIS)


130

4.15 ทิมเบิลเคลวิส
ทิมเบิลเคลวิส ในระบบสายสงนํามาใชในการเขาปลายสายของสายยึดโยง หรือสายดินขึงอากาศ
(สายลอฟา) เพื่อไมใหสายเกิดการแตกเกลียวหรือเกิดรอยหักทีเ่ ปนสาเหตุใหสายขาด ทิมเบิลเคลวิสทํามา
จากเหล็กกลาละมุน มีแรงดึงปะลัยไมนอยกวา 900 กิโลกรัม ลักษณะของทิมเบิลเคลวิส ดังรูปที่ 4-15

รูปที่ 4-15 ทิมเบิลเคลวิส

4.16 กายทิมเบิ้ล
กายทิมเบิ้ลในระบบสายสงลักษณะการใชงานจะเหมือนกับทิมเบิลเคลวิส คือนํามาใชในการเขาปลาย
สายของสายยึดโยง หรือสายดินขึงอากาศ(สายลอฟา) เพือ่ ไมใหสายเกิดการแตกเกลียวหรือเกิดรอยหักทีเ่ ปน
สาเหตุใหสายขาด ลักษณะของกายทิมเบิ้ล ดังรูปที่ 4-16

รูปที่ 4-16 กายทิมเบิ้ล


131

4.17 เหล็กฉากรับคอนสาย
เหล็กฉากรับคอนสาย ทําจากเหล็กฉากขาเทากัน ชนิดผลิตรอนขนาด 50x50x6 มม. ตาม มอก.1227
อาบสังกะสี ดังรูปที่ 4-17

รูปที่ 4-17 เหล็กฉากรับคอนสาย( Brace Angle Steel )

4.18 เหล็กแขวนลูกถวยทางโคง
เหล็กแขวนลูกถวยทางโคง เปนอุปกรณประกอบในการแขวนชุดพวงลูกถวยเขากับปลายคอนสาย
โครงสรางเสาสําหรับทางโคง ลักษณะของเหล็กแขวนลูกถวยทางโคงดังรูปที่ 4-18

รูปที่ 4-18 เหล็กแขวนลูกถวยทางโคง (Bracket Corner Suspension)


132

4.19 ปรีฟอรมอารเมอรรอด
เปนอุปกรณซงึ่ เปนเสนอะลูมิเนียมเกลียวจํานวนหลายๆเสนใชพันรอบสายตรงบริเวณที่ใชแคลมป
แขวน (Suspension Clamp)จับยึด เพื่อปองกันสายหักเนือ่ งจากการแกวงของสาย ซึ่งขนาดของชุดปรีฟอรม
อารเมอรรอดจะขึ้นอยูก ับขนาดของสายไฟฟา ปลายของปรีฟอรมอารเมอรรอดทั้งสองดานจะตองมล ทั้งนี้
เพื่อปองกันการเกิดโคโรนา นอกจากจะใชสําหรับพันรอบสายเพื่อจับแคลมปแลว ยังสามารถใชพันรอบสาย
ที่มีรอยแผลเล็กนอย หรือรอยถลอกได ลักษณะของปรีฟอรมอารเมอรรอดดังรูปที่ 4-19

รูปที่ 4-19 ปรีฟอรมอารเมอรรอด (Preformed Armor Rod)

4.20 ไวรเบรชั่นแดมเปอร
ไวรเบรชั่นแดมเปอรใชยึดติดกับสายไฟฟาหรือสายดินขึงอากาศ ตรงบริเวณใกลกับแคลมป เพื่อใชในการ
ลดการสั่นของสายที่เกิดจากลมพัด ถาปลอยใหสายไฟฟานั้นแกวงไดโดยปราศจากการลดแรงสั่นสะเทือนแลว
สายไฟฟาบริเวณที่ติดกับแคลมปจะชํารุดและขาดในที่สุด ลักษณะของไวรเบรชั่นแดมเปอรดังรูปที่ 4-20

รูปที่ 4-20 ไวรเบรชั่นแดมเปอร (Vibration Damper)


133

4.21 เหล็กประกอบโคนเสา
เหล็กประกอบโคนเสาใชสําหรับเปนตัวเชือ่ มตอระหวาง
สายตัวนําตอลงดินกับกราวดเพลทที่บริเวณโคนเสา คอร. 22 เมตร
แผนเหล็กประกอบหัวเสาทําจากเหล็กแผน ตาม มอก. 55 ตารางที่ 1
อาบสังกะสี ลักษณะของเหล็กประกอบโคนเสาดังรูปที่ 4-21

รูปที่ 4-21 เหล็กประกอบโคนเสา

4.22 หลักดิน
หลักดินเปนอุปกรณที่ใชทําเปนรากสายดินแบบแทงในการทําระบบตอลงดิน หลักดินทําจากเหล็กกลา
ละมุนอาบสังกะสี ขนาด 60x60x5 มม. ยาว 2 เมตร ดังรูปที่ 4-22

รูปที่ 4-22 หลักดิน(Ground Rod)

4.23 สายดินแบบแผนเหล็ก
สายดินแบบแผนเหล็ก เปนอุปกรณที่ใชทาํ เปนรากสายดินแบบฝงในแนวนอนในการทําระบบตอลงดิน
สายดินแบบแผนเหล็กทําจากเหล็กกลาละมุนอาบสังกะสี ขนาด 30x3.5x10,000 มม. ดังรูปที่ 4-23
134

รูปที่ 4-23 สายดินแบบแผนเหล็ก(Flat iron ground conductor)


4.24 ลูกบอลแสดงแนวสาย
ตามขอกําหนดขององคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ (International Civil Aviation
Organization (ICAO)) กําหนดใหสิ่งปลูกสรางที่มีความสูงตั้งแต 45 เมตรขึ้นไป ที่อยูในบริเวณที่ใกลกับ
สนามบินหรือบริเวณที่มีเครือ่ งบินทําการบินผาน ตองติดตั้งจุดสังเกตที่สามารถมองเห็นไดเดนชัด ดังนั้น
กรณีที่โครงสรางเสาเปนแบบโครงเหล็กลูกบอลแสดงแนวสายโดยทัว่ ไปจะมีสีขาวสลับสีสม สีละครึ่งใบ
ขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 0.5 เมตร โดยติดตั้งไวที่สายดินขึงอากาศ เพื่อเปนจุดสังเกตสําหรับนักบิน
ขณะทําการบินผานบริเวณที่มีสายไฟฟาแรงสูงอยู โดยการติดตั้งใหติดตั้งลูกบอลลูกแรกหางจากเสาไฟฟา
ประมาณ 10 เมตร และลูกอื่นตอๆไปหางกันทุกๆระยะไมเกิน 40 เมตร ลักษณะของลูกบอลแสดงแนวสาย
ดังรูปที่ 4-24

รูปที่ 4-24 ลูกบอลแสดงแนวสาย (Spherical Markers)


135

4.25 การทาสีเสาโครงเหล็ก
การทาสีเปนวิธีการทําจุดสังเกตที่สามารถมองเห็นไดเดนชัดสําหรับสิ่งปลูกสรางอีกวิธีหนึ่ง
กฟภ. กําหนดใหตองทาสีเสาไฟฟาที่เปนโครงสรางเหล็กที่มีความสูงตั้งแต 45 เมตรขึ้นไปและ
กอสรางอยูบริเวณริมแมน้ําหรือ บริเวณที่มีเครื่องบินทําการบินผาน โดยใหทาสีแดงหรือสีสมสลับสี
ขาว จํานวน 7 แถบ แถบละเทาๆกัน โดยใหแถบบนสุด และลางสุดเปนสีแดงหรือสีสม ดังรูปที่ 4-25

รูปที่ 4-25 การทาสีเสาโครงเหล็ก


บทที่ 5
ทฤษฎีและการใชงานสําหรับแรงดึงในสายไฟฟา และโมเมนตของเสา

การพาดสายไฟฟาแบบระบบสายไฟฟาเหนือดิน (overhead line system) ในระบบสายสง 115 kV


ระบบจําหนายแรงสูง และระบบจําหนายแรงต่ํานั้น จะตองคํานึงถึงแรงดึง (tension) ในสายและระยะ
หยอนยานของสาย (sag) วามีความเหมาะสมกับสายทีใ่ ชงานนัน้ ๆ เพียงใด ซึ่งในสภาวะปกติแรงดึงในสาย
และระยะหยอนยานของสายจะมีความสัมพันธกับน้ําหนักสายและระยะชวงเสา (span) แตถาอุณหภูมิ
ของสายเปลี่ยนแปลงหรือมีแรงอื่นกระทําบนสายไฟฟา เชน น้ําฝน น้ําคางแข็ง หิมะ หรือลมพัด ก็จะทํา
ใหแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสายเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ดังนั้นอุปกรณที่เกี่ยวของที่ใชยึด
และติดตั้งรวมกับสายไฟฟา เชน สเตรนแคลมป ลูกถวยฉนวนไฟฟา คอนรับสาย จนถึงโครงสรางเสา
จะตองมีความมั่นคงความแข็งแรงเพียงพอที่จะรับแรงที่เกิดขึ้นดังกลาวได

5.1 แรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสาย
การพาดสายไฟฟาบนโครงสรางเสาที่มีความสูงระดับเดียวกัน จะทําใหแรงดึงในสายบนหัวเสา
มีลักษณะสมดุล (เทากัน) และระยะหยอนยานต่ําสุดของสายจะอยูตรงกึ่งกลางเสาพอดี ซึ่งตามรูปที่ 5-1
แสดงใหเห็นวาถาสายไฟฟาถูกยึดอยูที่จุด A และ B บนหัวเสาที่มีระยะชวงเสาเทากับ L ผลที่เกิดขึ้นคือ
สายไฟฟาจะหยอนเปนรูปถวยหงาย (catenary) และมีจุดต่าํ สุดอยูที่จุด 0 ซึ่งถาตั้งแกน XY ขึ้นโดยให 0
เปนจุดเริ่มตน จะสามารถคํานวณหาแรงดึงในสายที่จดุ ใดๆ (T) แรงดึงในสายทีห่ ัวเสา (Tหัวเสา) ระยะ
หยอนยานต่ําสุดของสาย (Y) และความยาวของสายตามแนวโคง (2S) ได สําหรับในบางตํารารวมทั้ง
ในมาตรฐานของ กฟภ. จะใชตัวแปร (d) แทนระยะหยอนยานต่ําสุดของสายดวย ดังนั้นตอจากนี้ไป
ขอใหทราบวาระยะหยอนยานต่ําสุดของสายจะแทนดวยตัวแปร Y หรือ d

รูปที่ 5-1 แสดงแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสาย


137

ในการหาคาแรงดึงในสายทีห่ ัวเสา (T) ระยะหยอนยานต่ําสุดของสาย (Y) และความยาวของ


สายตามแนวโคง (2S) ถาวาตามทฤษฎีแลวจะคอนขางซับซอนและตองใชหลักคณิตศาสตรชั้นสูง จึงไม
ขอกลาว ณ ที่นี้ โดยที่มาของแรงดึงในสายจะเริม่ ตั้งแตการหาแรงดึงในสายที่จดุ ใดๆ ที่หาไดมาจากการ
นําคาความเคนใชงาน (working stress) ของสาย (σ) คูณดวยพืน้ ที่หนาตัดของสาย (A) จนกระทั่งได
คาแรงดึงที่หวั เสา (T) ซึ่งในที่นี้คือ TA หรือ TB รวมทั้งไดระยะหยอนยานต่ําสุดของสาย (Y) และความ
ยาวของสายตามแนวโคง (2S) ซึ่งสามารถสรุปสมการที่สําคัญได 6 สมการ ใชเปนสูตรคํานวณสําหรับ
เสาไฟฟามีจุดยึดสายในระดับเดียวกัน คือ

- แรงดึงที่จดุ ใดๆ ในสาย ตามระยะ X ที่เปลี่ยนไป


2
1
T = T0 [ 1 + ⎜⎜ ⎟⎟ ]
⎛ WX ⎞
(5.1)
2 ⎝ T0 ⎠
- แรงดึงที่หัวเสา T (คือ TA หรือ TB) เมื่อแทนคา X = L/2
2
1 ⎛ WL ⎞
T = T A = TB = T0 [ 1 + ⎜ ⎟] (5.2)
8 ⎝ T0 ⎠
- ระยะหยอนยานของสายทีจ่ ุดใดๆ ตามระยะ X ที่เปลี่ยนไป
WX 2
Y = (5.3)
2T0
- ระยะหยอนยานต่าํ สุดของสาย เมื่อแทนคา X = L/2
WL2
Y = (5.4)
8T0
- จากสมการ (5.4) แรงดึงในสายในแนวระนาบที่จุดต่าํ สุด (จุด 0)
WL2
T0 = (5.5)
8Y
- ความยาวของสายตามแนวโคง
2
= L [ 1 + 1 ⎜⎜ WL ⎟⎟ ]
⎛ ⎞
2S (5.6)
24 ⎝ T0 ⎠

โดยที่ T0 = แรงดึงในสายในแนวระนาบที่จุดต่ําสุด (จุด 0) กิโลกรัม (kgf)


T = แรงดึงที่จุดใดๆ ในสาย กิโลกรัม (kgf)
X = ระยะชวงเสาทีจ่ ุดใดๆ โดยที่ X = 0 อยูที่จุด 0 เมตร (m)
138

L = ระยะชวงเสา เมตร (m)


W = น้ําหนักสายตอความยาว กิโลกรัม/เมตร (kg/m)
2S = ความยาวของสายตามแนวโคง เมตร (m)
Y = ระยะหยอนยานของสาย เมตร (m)

โดยในงานกอสรางระบบไฟฟาของ กฟภ. สวนมากจะใชสมการ (5.2), (5.3), (5.4) และ (5.5)


เพื่อคํานวณหาแรงดึงในสายและระยะหยอนยานที่เหมาะสมสําหรับกรณีที่เสามีจุดยึดสายในระดับเดียวกัน
ซึ่งทําใหแรงดึงในสายบนหัวเสามีลักษณะสมดุล (เทากัน) และระยะหยอนยานต่ําสุดของสายจะอยูตรง
กึ่งกลางเสาพอดีตามที่ไดกลาวมาขางตน โดยยังไมไดพิจารณาถึงกรณีที่มีแรงอื่นกระทําบนสายไฟฟา
เชน น้ําฝน น้ําคางแข็ง หิมะ หรือลมพัด และในกรณีที่อณ ุ หภูมิของสายเปลี่ยนแปลง นั่นหมายความวา
สามารถใชสมการ (5.2), (5.3), (5.4) และ (5.5) พิจารณาไดเฉพาะแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของ
สายในสภาวะปกติ (สายไฟฟาหอยตัวอยูใ นสภาพนิ่ง) เทานั้น ดังนัน้ ประโยชนทไี่ ดจากการใชสมการ
ดังกลาว จะมี 2 ประการคือ
1. เพื่อหาคาแรงดึงที่หัวเสาขณะกําลังพาดสายไฟฟาสําหรับเสาที่มีจุดยึดสายในระดับเดียวกัน
2. ใชพิจารณาตรวจสอบระยะหางทางไฟฟาที่ปลอดภัยเหนือพื้นดินหรือผิวจราจรที่แรงดึง T0
คาใดๆ (อุณหภูมิใดๆ) หรือแรงดึง T0 ต่ําสุด (มีคาแรงดึงนอยที่สุดที่อณ
ุ หภูมิสูงสุด)
สําหรับประโยชนประการที่ 1 จะใชในขณะกําลังพาดสายไฟฟา โดยสภาพอากาศจะอยูใ น
สภาวะปกติไมมีแรงลมหรือพายุ แตหากพาดสายไฟฟาในขณะที่มแี รงลมหรือพายุจะเปนอันตรายอยาง
มาก ซึ่งในทางปฏิบัติจะไมกระทํากัน และประโยชนประการที่ 2 จะใชพิจารณาตรวจสอบระยะหางทาง
ไฟฟาที่ปลอดภัยเหนือพื้นดินหรือผิวจราจรโดยสวนมากจะใชกรณีทแี่ รงดึง T0 มีคาต่ําสุด หลังจากนั้น
นําไปแทนลงในสมการ (5.4) ก็จะไดระยะหยอนยานของสายสูงสุด แลวจึงพิจารณาตอไปวาระยะหยอนยาน
ของสายสูงสุดที่ไดนี้จะทําใหระยะหางทางไฟฟาที่ปลอดภัยเหนือพื้นดินหรือผิวจราจรเพียงพอหรือไม
โดยเปรียบเทียบกับกับคาระยะหางที่ปลอดภัยทางไฟฟาตามมาตรฐาน กฟภ. สําหรับสายไฟฟาที่กําลัง
แกวงไกวเนื่องจากลมปะทะอยูนั้นจะไมนาํ มาพิจารณาระยะหางทางไฟฟาที่ปลอดภัยเหนือพื้นดินหรือ
ผิวจราจรเนื่องจากจะพิจารณาหาคาที่ถูกตองไมได สําหรับรายละเอียดการคํานวณทั้งหมดจะไดกลาว
ตอไปในภายหลัง

5.2 ผลของแรงลมปะทะสายไฟฟา
ลมปะทะสายหากแมวาจะเกิดขึ้นชัว่ ครั้งชั่วคราวก็ตาม แตในการออกแบบจําเปนตองนํามา
พิจารณารวมกับน้ําหนักของสายดวยโดยถือวาลมพัดเปนแรงในแนวราบ ซึ่งผลของแรงลัพธจะเปน
139

เวกเตอร ดังแสดงในรูปที่ 5-2 สําหรับในบางประเทศที่มีหิมะตกจําเปนจะตองพิจารณาน้ําหนักหิมะที่


จับบนสายเพิ่มขึ้นอีกดวย

รูปที่ 5-2 แสดงการรวมแรงกระทบสายทางเวกเตอร

จากรูปที่ 5-2 จะเห็นวาเมื่อมีแรงลมปะทะสาย ผลรวมของแรงบนสายจะถูกเปลี่ยนจากแนวเดิม


W ไปเปน WR ดังนั้นการคํานวณหาคาตางๆ เมื่อคํานึงถึงแรงลมปะทะสายจึงตองใชคา WR แทน W
นอกจากนี้ผลของแรงลมปะทะสายยังทําใหระยะหยอนยานของสายเบี่ยงเบนจากแนวเดิม (แนวดิ่ง) ไป
เปนมุม φ และเรียกระยะหยอนยานของสายที่เบี่ยงเบนไปนีว้ าระยะหยอนยานในแนวเอียง ถาจะหา
ระยะหยอนยานในแนวดิ่งตองคูณคาในแนวเอียงดวย cosφ

จาก WW = Pปะทะสาย x d
2 2
ดังนั้น WR = W + WW

และ cosφ = W/ WR

โดยที่ P = แรงดันลมปะทะสาย กิโลกรัม/ตารางเมตร (kgf/m2)


d = เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา เมตร (m)
W= น้ําหนักสายตอความยาว กิโลกรัม/เมตร (kg/m)
WW = แรงลมปะทะสายตอความยาว กิโลกรัม/เมตร (kg/m)
WR = ผลรวมของแรงบนสายตอความยาว กิโลกรัม/เมตร (kg/m)
φ = มุมที่สายเบี่ยงเบนไปจากแนวดิ่ง
140

โดยคา Pปะทะสาย ใหดูรายละเอียดในหัวขอ 5.9 ซึ่งในความเปนจริงจะตองพิจารณาถึงตัวประกอบ


พลศาสตร (Aerodynamic factor) ดวยสําหรับสายที่มีความสูงมากๆ เนื่องจากความแรงลมจะเพิ่มมาก
ขึ้นเมื่ออยูในทีค่ วามสูงมากขึน้ สําหรับรายละเอียดการคํานวณทั้งหมดจะไดกลาวตอไปในภายหลัง ซึ่ง
จากหลักการดังกลาวขางตนหมายความวาเมื่อมีแรงลมในแนวราบปะทะสายไฟฟาตลอดความยาวสายใน
หนึ่งระยะชวงเสา จะทําใหสายเบี่ยงเบนไปจากแนวดิ่งเปนผลใหเกิดแรงดึงที่หัวเสาเพิ่มขึ้น ซึ่งโครงสราง
เสาและคอนรับสายจะตองรับแรงดึงในสายที่เพิ่มขึ้น ทีแ่ รงดึงในสายเพิ่มขึ้นก็เนื่องมาจากมีน้ําหนักของ
สายเพิ่มขึ้น (หากคูณ WW ดวยระยะชวงเสาก็จะไดโหลดแรงลมที่ปะทะสายทั้งหมด แตในที่นี้ไดตัดคา
ระยะชวงเสาออกเพื่อใหมีหนวยเปนกิโลกรัมตอเมตรเชนเดียวกับคาน้าํ หนักสายตอความยาว (W) ทั้งนี้
ก็เพื่อการทําความเขาใจไดงา ยขึ้น)
คา WR จะมีผลทั้งในกรณีทเี่ สามีจุดยึดสายในระดับเดียวกันและตางระดับกัน เพราะวาจะเปน
ตัวทําใหเกิดแรงดึงทีห่ วั เสาเพิ่มขึ้น ดังนัน้ ไมวาเสาจะกอสรางที่ระดับใดก็ตามก็จะมีผลใหแรงดึงทีห่ ัวเสา
เปลี่ยนแปลงไปโดยจะมีคาสูงขึ้นจากเดิม ทั้งนี้ในงานกอสรางระบบไฟฟาของ กฟภ. ไดใชคา WR เพื่อ
คํานวณหาแรงดึงที่กระทําบนโครงสรางเสาดวย

5.3 แรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสายที่ระดับตางกัน
การขึงสายไฟฟาระหวางเสาตนที่ 1 และตนที่ 2 ในบริเวณที่เปนเนินชัน เชน พื้นที่ภูเขา หรือ
ชวงขามแมน้ําที่มีระดับตางกัน จะทําใหมีระดับจุดยึดสายตางระดับกันเทากับ h หรือมีความสูงเทากับ h
ซึ่งเปนผลใหจดุ หยอนยานต่ําสุด (ทองชาง) จะคลอยมาทางเสาตนลาง ดังแสดงในรูปที่ 5-3

ตนที่ 2
ตนที่ 1

รูปที่ 5-3 แสดงแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสาย ที่ตางระดับกัน


141

สมมติใหจุด 0 เปนจุดหยอนต่ําสุดของสายโดยหางจากเสาตนที่ 1 (ตนระดับต่าํ กวา) เปน


ระยะทาง X1 และหางจากเสาตนที่ 2 (ตนระดับสูงกวา) ระยะทาง X2 โดยที่ผลรวมระหวาง X1 และ X2
จะเปนคาระยะชวงเสา (L) ซึ่งรายละเอียดในการหาคา X1 และ X2 จะไมขอกลาวในที่นี้ โดยจะขอสรุป
สมการที่ไดซึ่งมีอีก 6 สมการที่สําหรับใชงานคือ

X1 = L − T0 h (5.7)
2 WL

X2 = L + T0 h (5.8)
2 WL

นําสมการ (5.7) แทนในสมการ (5.3) จะไดวา

W L T0 h 2
Y1 = ( − ) (5.9)
2T0 2 WL

นําสมการ (5.8) แทนในสมการ (5.3) และ จะไดวา


W L T0 h 2
Y2 = ( + ) (5.10)
2T0 2 WL

นําสมการ (5.7) แทนในสมการ (5.1) จะไดวา


2 2
1 ⎛ W ⎞ ⎛ L T0 h ⎞
T1 = T0 [ 1 + ⎜⎜ ⎟⎟ ⎜ − ⎟ ]
⎜ ⎟ (5.11)
2 ⎝ T0 ⎠ ⎝ 2 WL ⎠

และนําสมการ (5.8) แทนในสมการ (5.1) จะไดวา


2 2
1 ⎛ W ⎞ ⎛ L T0 h ⎞
T2 = T0 [ 1 + ⎜⎜ ⎟⎟ ⎜ + ⎟ ]
⎜ ⎟ (5.12)
2 ⎝ T0 ⎠ ⎝ 2 WL ⎠

โดยสมการ (5.7) ถึง (5.12) นี้มีความสําคัญมากสําหรับการพิจารณาในกรณีเสาไฟฟามีจุดยึด


สายตางระดับกัน ซึ่งสวนใหญจะใชพิจารณาและคํานวณในงานกอสรางของ กฟภ. ที่เปนเสาโครงสราง
เหล็ก เชน เสาโครงสรางเหล็กที่กอสรางบริเวณภูเขา หรือเสาโครงสรางเหล็กตนขามแมนา้ํ โดยมี
142

โครงสรางเสา คอร. (ที่มีสายยึดโยง) กอสรางเพื่อรับสายที่มาจากเสาโครงสรางเหล็กเปนผลใหสายที่


พาดมีลักษณะตางระดับกัน ซึ่งวิศวกรจําเปนตองคํานวณหาคาตางๆ เชน หาจุดหยอนยานต่ําสุดของสาย
วาอยูในชวงใดเพื่อที่จะหาน้ําหนักสายในแนวดิ่งทั้งหมดที่กระทํากับคอนรับสายของเสาโครงสรางเหล็ก
และหาคาแรงดึงที่หัวเสา T1 หรือ T2 ซึ่งจะมีคาแตกตางกันคอนขางมาก โดยในที่นี้เสาตนที่ 1 จะ
หมายถึงโครงสรางเสา คอร. และเสาตนที่ 2 จะหมายถึงเสาโครงสรางเหล็ก โดยมีระดับจุดยึดสายตาง
ระดับกันเทากับ h หรือมีความสูงเทากับ h นั่นเอง สําหรับรายละเอียดการคํานวณทั้งหมดจะไดกลาว
ตอไปในภายหลัง สําหรับตัวอักษรหอยขางลาง (subscript) ของแรงดึงที่หัวเสาตามสมการ (5.2) ที่
กําหนดเปน A หรือ B และตามสมการ (5.11) และ (5.12) ที่กําหนดเปน 1 หรือ 2 จะไมมีความแตกตางกัน
ซึ่งก็แทนแรงดึงที่เกิดขึน้ ทีห่ ัวเสาของแตละตนนั่นเอง

5.4 แรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสายทีข่ ึ้นกับอุณหภูมิและแรงลม


อุณหภูมิของสายไฟฟาเปนสาเหตุหนึ่งในสองสาเหตุหลักที่สําคัญ ที่ทําใหแรงดึงในสายและ
ระยะหยอนยานของสายเปลี่ยนแปลง โดยอีกสาเหตุจะเปนเรื่องของแรงลมปะทะสาย ซึ่งอันดับแรกจะ
กลาวถึงอุณหภูมิของสายไฟฟาที่มีผลตอแรงดึง กลาวคือ ขณะที่อากาศหนาวสายไฟฟาจะหดตัว ทําให
ระยะหยอนยานของสายลดลง (สายตึงขึ้น) และแรงดึงในสายเพิ่มขึ้น แตถาอากาศรอนสายไฟฟาจะยืด
ตัวระยะหยอนยานของสายจะมากขึ้นและแรงดึงในสายลดลง ซึ่งการยืดหดของสายไฟฟาเนื่องจาก
อุณหภูมิสามารถนํามาเขียนเปนสมการได แตในสภาพจริงการยืดหดตัวของสายไฟฟาเกิดขึ้นเนื่องจาก
สาเหตุ 2 ประการ คือ
1. เกิดจากอุณหภูมิของสายเพิ่มขึ้น
2. เกิดจากแรงดึงภายในสาย

โดยกําหนดให
E = โมดูลัสยืดหยุน (modulus of elasticity) ของสาย กิโลกรัม/ตารางมิลลิเมตร (kg/mm2)
α = สัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเสนของสาย ตอองศาเซลเซียส ( / oC)
ที่แปรตามอุณหภูมิ
t0 = อุณหภูมทิ ี่สภาวะที่หนึง่ องศาเซลเซียส (oC)
t1 = อุณหภูมทิ ี่สภาวะที่สอง องศาเซลเซียส (oC)
Lu = ความยาวสายไฟฟาตามแนวโคงทีแ่ ทจริง เมตร (m)
โดยไมยดื ออกตามความเคนของสาย
(unstress length)
143

แตในสภาพจริงขณะที่ดึงสายไฟฟาดวยแรงดึงที่หัวเสา (T) จะทําใหสายยืดออก (stretch)


เล็กนอย โดยถาให LT = ความยาวของสายไฟฟาสวนทีย่ ืดออกเนื่องจากแรงดึงที่หวั เสา (T)
EA
ดังนั้นความยาวสายไฟฟาตามแนวโคงทีแ่ ทจริงที่อุณหภูมิ t0 จะมีคาเทากับความยาวสาย ตาม
แนวโคงตามสมการ (5.6) ลบดวยสวนทีย่ ดื ออกเนื่องจากแรงดึงทีห่ ัวเสา (T) ดังนั้น

Lu1 = 2S - L . T (จะเห็นไดวา T/A = f หรือความเคน)


E A

ดังนั้นแทนคา 2S ในสมการ จะไดวา


2
1 ⎛ WL ⎞
Lu1 = L [ 1 + ⎜⎜ ⎟⎟ ] - LT
24 ⎝ T0 ⎠ EA
2
= L [ 1 + ⎜⎜ ⎟⎟ - T ]
1 ⎛ WL ⎞
(5.13)
24 ⎝ T0 ⎠ EA

โดยสมการ (5.13) จะเปนคาที่อยูในสภาวะเดิมที่อุณหภูมิ t0 กอนที่จะเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ


สูงขึ้น ซึ่งถาแทนคา T = T0 ซึ่งเปนคาโดยประมาณ ดังนั้นจะไดวา
2
T
= L [ 1 + 1 ⎜⎜ WL ⎟⎟ - 0 ]
⎛ ⎞
Lu1 (5.14)
24 ⎝ T0 ⎠ EA

ถาอุณหภูมิของสายสูงขึ้นจาก t0 เปน t1 สายไฟฟาจะยาวขึ้นจาก Lu1 เปน Lu2 โดยมีความสัมพันธ


กันดังสมการ

Lu2 = Lu1 [1 + α (t1 – t0)]

เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ระยะหยอนยานของสาย (Y) และแรงดึงที่หัวเสา (T) จะเปลี่ยนไปเปนคา


ใหม ซึ่งอาจคํานวณหาคาที่เปลี่ยนไปนีไ้ ดโดยใชสมการ (5.13) มาคํานวณ แตเปลี่ยนคาจาก Lu1 เปน
Lu2 ดังนั้น
2
Lu2 = L [ 1 + ⎜⎜ ⎟⎟ - T ]
1 ⎛ WL ⎞
(5.15)
24 ⎝ T1 ⎠ EA

จากสมการ (5.15) ถาแทนคา T = T1 ซึ่งเปนคาโดยประมาณ และหาคาอยูในเทอมของ Y ได


โดยใชสมการ (5.4) ดังนัน้ จะไดวา
144

2 ⎛ 2⎞
Lu2 = L [ 1 + 1 ⎛⎜ 8Y ⎞⎟ - ⎜⎜ WL ⎟⎟ 1 ]
24 ⎝ L ⎠ ⎝ 8Y ⎠ EA

และเมื่อจัดรูปใหมใหอยูใ นเทอมของ Y จะไดวา

3 3 ⎛ WL4 ⎞
Y - L ( Lu2 – L) Y -
3
⎜ ⎟ = 0 (5.16)
8 64 ⎜ EA ⎟
⎝ ⎠

และจากสมการ (5.15) ถาแทนคา T = T1 ซึ่งเปนคาโดยประมาณ สมการจะกลายเปน


2
T
= L [ 1 + 1 ⎜⎜ WL ⎟⎟ - 1 ]
⎛ ⎞
Lu2
24 ⎝ T1 ⎠ EA

และจัดใหอยูในเทอมของ T1 จะไดวา

EA EAW 2 L2
3 2
T +
1 ( L – L) T1 - = 0
L u2 24

แทนคา Lu2 = Lu1 [1 + α (t1 – t0)] ในสมการจะได

2 2
T13 + EA ( Lu1 [1 + α (t1 – t0)] – L) T12 - EAW L = 0
L 24

และสุดทายแทนคา Lu1 จากสมการ (5.14) ก็จะไดสมการของ T1 คือ

2 2 2
EA 1 ⎛ WL ⎞ T0 2 EAW L
T + ( L [1 + ⎜ ⎟ - ][1 + α (t1 – t0)] – L) T1 -
1
3
⎜ ⎟ = 0 (5.17)
L 24 ⎝ T0 ⎠ EA 24

ซึ่งจากการอธิบายมาทั้งหมด เพื่อแสดงใหเห็นที่มาของแรงดึงในแนวราบที่จุดต่ําสุด ณ
อุณหภูมิที่สภาวะที่สองเปน t1 ซึ่งก็คือ T1 ในสมการ (5.17) โดยมีแรงดึงในแนวราบที่จุดต่ําสุด ณ
อุณหภูมิที่สภาวะทีห่ นึ่ง t0 ซึ่งคือ T0 เปนตัวแปรหาคาได แตทั้งนี้แรงดึงไมวาจะเปน T0 หรือ T1 ก็จะหา
คาไดจากสมการ (5.17) โดยตองหาคาใดคาหนึ่งใหไดกอนเสมอแลวจึงใสพารามิเตอรตางๆ ลงใน
สมการ (5.17) จึงจะไดคาแรงดึงอีกหนึ่งคาที่เหลือออกมา แตหากตองการหาคาแรงดึงที่หวั เสาก็ใช
145

สมการ (5.11) และ (5.12) โดยแทนคาดวย T0 หรือ T1 ที่ไดจากสมการ (5.17) ก็จะไดคาแรงดึงที่หวั เสา
ออกมา ณ อุณหภูมิที่สภาวะที่หนึ่ง t0 หรือ ณ อุณหภูมิที่สภาวะที่สอง t1 ตามลําดับ
จากสมการ (5.17) จะทําสมการใหอยูใ นรูปที่ใชงานไดสะดวกขึน้ งายตอการแทนคาตัวแปร ซึ่ง
รูปสมการใหมที่ไดคือ

C1 WL 2
T13 + [ ( ) - T0 + C2(t1 – t0)] T12 - ( C1WL )2 = 0 (5.18)
T0

โดยที่ C1 = (EA/24) และ C2 = αEA

โดยสมการ (5.18) นี้ถือวาเปนสมการที่สามารถใชงานไดแลว แตหากใชสมการนี้เพื่อหาแรงดึง


ณ อุณหภูมิทสี่ ภาวะทีห่ นึ่ง T0 โดยตัวแปรที่หาคาไดเปน T1 จะคอนขางยุงยากเพราะตัวที่ตองการหา
ไมไดอยูตน ของสมการ จะทําใหเสียเวลามากขึ้น ดังนัน้ จึงจัดรูปสมการใหมเพื่อหาคา T0 โดยทําการ
ยายคา T0 ที่อยูในสมการ (5.18) ออกมาตัง้ ไวเปนตัวแปรของสมการเพื่อใหสามารถหาคา T0 ไดโดยงาย
ซึ่งเมื่อสลับและจัดสมการใหม จะไดเปน

C1 WL 2
T03 + [ ( ) - T1 - C2(t1 – t0)] T02 - ( C1WL )2 = 0 (5.19)
T1

ผลสรุปที่ไดนี้เปนแรงดึงในสายโดยไมมีเรื่องของแรงลมปะทะสายและความลาของสายมา
เกี่ยวของ
ตอไปจะกลาวถึงแรงดึงในสาย กรณีที่มีแรงลมปะทะสายเขามาเกี่ยวของ ซึ่งผลของแรงลมจะ
ทําใหแรงดึงทีห่ ัวเสาเพิ่มขึน้ จากเดิมตามทีไ่ ดกลาวไปแลว ดังนัน้ โครงสรางเสาและคอนรับสายจะตอง
ออกแบบใหรับแรงดึงในสายที่เพิ่มขึ้นได ตามที่ไดกลาวไปแลวในหัวขอ 5.2 โดย WR จะเปนอีกหนึ่ง
ตัวแปรนอกเหนือจากอุณหภูมิที่ทําใหแรงดึงในสายเพิม่ ขึ้น ซึ่งหากพิจารณาตามสมการ (5.18) และ
(5.19) จะเห็นไดวาตัวแปร W (คือน้ําหนักสายตอความยาว) มีระบุอยูเ ปนคาเดียวคงที่ แตหากนําสมการ
ดังกลาวมาใชคํานวณหาแรงดึงที่รูอยูแลววาจะตองเพิ่มขึน้ อยางแนนอนเนื่องจากมีแรงลมมาปะทะสาย
แตคายังคงใชเปน W ซึ่งแนนอนวาผลลัพธที่ไดจะไมถูกตอง ดังนั้นตามสมการ (5.18) และ (5.19) คา
W จะตองเปลีย่ นแปลงคาได เพื่อทําใหแรงดึงในสายมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากแรงลมปะทะได ดังนั้น
เมื่อยอนกลับไปดูในตอนเริ่มตนหัวขอ 5.4 จะเห็นไดวา ณ อุณหภูมิทสี่ ภาวะทีห่ นึ่ง t0 ตัวแปร W จะเปน
คาน้ําหนักสายตอความยาวไมใชน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากลมปะทะสาย (WR) แต ณ อุณหภูมิทสี่ ภาวะ
146

ที่สอง t1 ตามสมการ (5.15) ซึ่งเปนจุดที่มีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นจะใชคา WR แทน W ในสมการ (5.15)


ผลจะทําใหสมการ (5.18) และ (5.19) สามารถหาแรงดึงในสายที่เกีย่ วของกับแรงลมที่เกิดขึ้นไดดว ย
นอกจากนี้สายไฟฟาเมื่อใชงานเปนเวลานานเปน 10 ปขนึ้ ไป จะเกิดความลา (creep) ขึ้น ใน
สายไฟฟาโดยคิดออกมาเปนเปอรเซ็นตสายไฟฟาจะยืดออกเพิ่มมากขึ้นได ซึ่งจากที่ไดกลาวแลววาระยะ
หยอนยานของสายที่เปลี่ยนแปลงไดนนั้ ก็เนื่องมาจากอุณหภูมิ ดังนัน้ ในสมการของแรงดึงจึงไดนําคา
ความลาใสไวในสมการดวย โดยรวมอยูในพจนของอุณหภูมิ
ดังนั้นเพื่อใหสมการในการหาแรงดึงมีความสมบูรณที่สุด จึงใสคา WR แทน W ในสมการ
(5.15) และใสความลา (creep) ของสายในสมการ (5.18) และ (5.19) ผลลัพธที่ไดจะกลายเปนสมการ
(5.20) และ (5.21) คือ

3 C1 W0 L 2 Co
T + [(
1 ) - T0 + C2(t1 – t0 - )] T12 - ( C1W1L )2 = 0 (5.20)
T0 100α

โดยที่ C1 = (EA/24) และ C2 = αEA


และ
3 C1 W1 L 2 Co
T + [(
0 ) - T1 - C2(t1 – t0 - )] T02 - ( C1W0L )2 = 0 (5.21)
T1 100α

โดยกําหนดให
T0 = แรงดึงทีส่ ภาวะทีห่ นึ่ง กิโลกรัม (kgf)
T1 = แรงดึงทีส่ ภาวะที่สอง กิโลกรัม (kgf)
W0 = น้ําหนักของสายที่สภาวะทีห่ นึ่ง กิโลกรัมตอเมตร (kg/m)
W1 = น้ําหนักของสายที่สภาวะที่สอง กิโลกรัมตอเมตร (kg/m)
t0 = อุณหภูมิที่สภาวะที่หนึ่ง องศาเซลเซียส (oC)
t1 = อุณหภูมิที่สภาวะที่สอง องศาเซลเซียส (oC)
L = ระยะชวงเสา เมตร (m)
A = พื้นที่หนาตัดจริงของสาย ตารางมิลลิเมตร (mm2)
E = โมดูลัสยืดหยุน (modulus of elasticity) ของสาย กิโลกรัม/ตารางมิลลิเมตร (kg/mm2)
α = สัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเสนของสาย ตอองศาเซลเซียส ( / oC)
ที่แปรตามอุณหภูมิ
o
C = ความลา (creep) ของสาย เปอรเซ็นต (%)
C1 , C2 = คาคงที่
147

โดยคาแรงดึงในสายตามสมการ (5.20) และ (5.21) ไดพจิ ารณาถึง 3 ตัวแปรที่สําคัญแลว ดังนัน้


จึงขอสรุปการใชงานสมการที่ไดอีกครั้ง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. ใหใชสมการ (5.20) ในการหาคาแรงดึงในแนวราบที่จดุ ต่ําสุด ณ อุณหภูมิที่สภาวะที่สอง t1
และใหใชสมการ (5.21) ในการหาคาแรงดึงในแนวราบที่จดุ ต่ําสุด ณ อุณหภูมิที่สภาวะที่หนึ่ง t0 โดยทั้ง
T0 และ T1 ที่ตอ งนํามาแทนคาในสมการจะหาไดจากสมการ (5.3) หรือ (5.5) ในสวนของแรงดึงที่หัวเสา
ก็ใชสมการ (5.2) , (5.11) และ (5.12) โดยแทนคาดวย T0 หรือ T1 ที่ได ก็จะไดคาแรงดึงที่หัวเสาออกมา
ณ อุณหภูมิที่สภาวะที่หนึ่ง t0 หรือ ณ อุณหภูมิที่สภาวะทีส่ อง t1 ตามลําดับ
2. ใหใชสมการ (5.16) ในการหาคาระยะหยอนยานของสายทีต่ องเกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิ แตหากเพียงตองการหาคาระยะหยอนยานของสายที่แรงดึงใดๆ โดยไมเกี่ยวของกับการ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิก็ใหใชสมการ (5.3) และ (5.4) ได
3. คาความลาอาจไมนํามาพิจารณาได ขึ้นอยูกับขอมูลบริษัทผูผลิตและความเหมาะสม

5.5 การกําหนดคาแรงดึงในสายที่เหมาะสม
ในหัวขอนี้จะไดทราบถึงแรงดึงในสายทีใ่ ชงานที่เหมาะสมวาจะมีคาเทาใด ซึ่งก็คือคา T0 และ
T1 ที่ระบุในหัวขอ 5.4 โดยเปนคาแรงดึงในแนวราบที่จดุ ต่ําสุด ณ อุณหภูมิที่สภาวะที่หนึ่ง t0 และ ณ
อุณหภูมิที่สภาวะที่สอง t1 ตามลําดับ
ในการออกแบบการพาดสายระบบเหนือดินใหประหยัดและมีอายุการใชงานที่ยาวนานจะตอง
คํานึงถึงแรงดึงในสายไฟฟาที่เหมาะสม หากกําหนดใหแรงดึงในสายมีคาต่าํ เกินไปก็จะตองใชเสา
ไฟฟาสูงและจะตองมีเขตปลอดภัย (right of way) กวางทําใหเสียคาลงทุนสูง หากกําหนดใหแรงดึงใน
สายสูงเกินไป เมื่อมีลมมาปะทะสายไฟฟาๆ จะเกิดการสั่นและอาจจะขาดที่บริเวณแคลมปจับยึดสายได
ถึงแมจะติดตั้งไวเบรชั่นแดมเปอร (vibration damper) และ/หรืออาเมอรร็อด (armour rod) แลวก็ตาม
CIRGRE ไดทําการศึกษาเกีย่ วกับเรื่องนี้ และไดใหขอแนะนําเปนตารางในการกําหนด คาแรง
ดึงสูงสุดของสายที่อณุ หภูมิเฉลี่ยไมมีลม โดยระบุเปนเปอรเซ็นตของแรงดึงประลัย ซึ่งมี ดังนี.้ -
148

แรงดึงของสายสูงสุดที่อุณหภูมิเฉลี่ยไมมีลม ( %ของแรงดึงประลัย)
สายไมมีการ สายมีการติดตัง้ สายมีการติดตัง้ สายมีการติดตัง้
ปองกันการสัน่ อาเมอรร็อด ไวเบรชั่นแดมเปอร ไวเบรชั่นแดมเปอร
ประเภทสายไฟฟา
(Unprotected (Lines with (Lines with และอาเมอรร็อด
(type of conductor)
Lines) Armour rods) vibration damper) (lines with dampers
and armour rods)
ACSR 18 22 24 24
All aluminum 17 - - -
All aluminum alloy 18 - 26 26

ขอกําหนดของประเทศตางๆ
ในการออกแบบแรงดึงในสายที่ใชกนั อยูใ นประเทศตางๆ นอกจากจะกําหนดแรงดึงที่อุณหภูมิ
เฉลี่ยไมมีลมแลว ยังไดกําหนดแรงดึงที่อณ ุ หภูมิต่ําสุดเมื่อมีลม (worst condition) ไวดว ย โดยระบุเปน
เปอรเซ็นตของแรงดึงประลัย ซึ่งมีดังนี้.-

แรงดึงของสายที่สภาวะตางๆ ( %ของแรงดึงประลัย)
สภาวะ อเมริกา อังกฤษ ญี่ปุน มาเลเซีย อินเดีย
แรงดึงสูงสุดที่อุณหภูมิ
50 40 40 40 50-60
ต่ําสุดเมื่อมีลม ไมมากกวา
แรงดึงที่อุณหภูมิเฉลี่ย
25 20 - 22.22 20
ไมมีลม ไมมากกวา
หมายเหตุ อุณหภูมิเฉลี่ย หมายถึง อุณหภูมทิ ี่เกิดขึ้นมากทีส่ ุดตลอดใน 1 วัน

สําหรับในประเทศอินเดีย ยังมีขอกําหนดในการหาแรงดึงของสายเพิม่ เติมอีก คือ


- แรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมิเฉลี่ยเมื่อไมมีลม ตองไมเกิน 33.33 % ของแรงดึงประลัย
- แรงดึงที่อณ
ุ หภูมิเฉลี่ยเมื่อไมมีลม ไมมากกวา 25.00 % ของแรงดึงประลัย

ขอกําหนด กฟผ.
ในการออกแบบสายสงของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ไดจําแนกประเภทของสาย
สงออกเปน 2 เกรด คือ
149

1. เกรด A ไดแก สายสงที่ใชโครงสรางเหล็ก มี ruling span มากกวา 250 เมตร อายุการใชงาน


ประมาณ 30-35 ป
2. เกรด B ไดแก สายสงที่ใชโครงสรางไมหรือคอนกรีต มี ruling span ไมเกิน 250 เมตร อายุ
การใชงานต่ํากวา 25 ป
การคํานวณหาแรงดึงในสายสงแตละประเภท โดยระบุเปนเปอรเซ็นตของแรงดึงประลัย มี
ขอกําหนดดังนี้.-

ประเภทของสายสง
สภาวะที่
เกรด A เกรด B
1. แรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมิต่ําสุดเมื่อมีลม
(initial tension at minimum temperature with 50 60
wind) ไมมากกวา
ประเภทของสายสง
สภาวะที่
เกรด A เกรด B
2. แรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมิเฉลี่ย เมื่อไมมีลม
(initial tension at every-day temperature no 33.33 33.33
wind) ไมมากกวา
3. แรงดึงหลังขึงสาย 10 ป ที่อุณหภูมิต่ําสุดเมื่อมีลม
(final tension at minimum temperature with 40 50
wind) ไมมากกวา
4. แรงดึงหลังขึงสาย 10 ป ที่อุณหภูมิเฉลี่ย เมื่อไมมีลม
(final tension at every-day temperature no wind) 22 – 24 * 24 – 28 *
ไมมากกวา
หมายเหตุ * เดิมใช 20% สําหรับเกรด A และ 24% สําหรับเกรด B ซึ่งภายหลังไดเพิ่มคาสูงสุดใหมาก
ขึ้น เนื่องจากสายสง กฟผ. ติดตั้งไวเบรชั่นแดมเปอร ชวยลดการสั่นบนสายไฟฟา

จากขอมูลทั้งหมดที่มี กฟภ. ไดพิจารณาแลว เห็นวา ตามขอกําหนดแรงดึงในสายของ กฟผ. ใน


ตารางไดมีการอางอิงผลการศึกษาเรื่องของแรงดึงในสาย รวมทั้งไดกาํ หนดคาสูงสุดของแรงดึงในสาย
ไวไมเกินคาทีป่ ระเทศอินเดียใชงาน (60% UTS) ซึ่งมีความเหมาะสม กฟภ. จึงใชแนวทางการกําหนด
แรงดึงในสายตาม กฟผ. โดยนําคาของประเภทสายสงเกรด A มาเปนเกณฑในการใชงาน แตไมได
150

จําแนกประเภทของสายไฟฟาที่ใชในระบบไฟฟาออกเปนเกรดเชนเดียวกับ กฟผ. เนื่องจากในหลักการ


ตองการใหสายไฟฟาทีใ่ ชงานมีคาความปลอดภัย (safety factor) ไมนอยกวา 2 (50% UTS : ultimate
tensile strength) ที่แรงดึงขณะขึงสายที่อณ
ุ หภูมิต่ําสุดเมื่อมีลม (worst case) และเสาไฟฟาทุกประเภทที่
ใชงานใน กฟภ. เชน เสาคอนกรีตอัดแรง (คอร.) และเสาโครงสรางเหล็ก ก็ไดมีการออกแบบความ
มั่นคงแข็งแรงใหมีคาความปลอดภัยไมนอยกวา 2 เชนเดียวกันอยูแ ลว
ในสวนความจําเปนตองติดตัง้ อุปกรณเพื่อลดการสั่นบนสายไฟฟา เชน ไวเบรชั่นแดมเปอร
หรืออาเมอรร็อด นั้น กฟภ. จะใชตารางตามที่ CIRGRE ไดศึกษาไวเปนแนวทางการออกแบบ ซึ่ง
ปจจุบัน กฟภ. ไดมีแบบมาตรฐานขอกําหนดการใชงานไวสาํ หรับเสาคอนกรีตและเสาโครงสรางเหล็กแลว

ดังนั้นจะสรุปขอกําหนดแรงดึงในสายที่สภาวะตางๆ สําหรับใชงานภายใน กฟภ. โดยไดแกไข


ขอความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษใหมใหถูกตอง ซึ่งมีรายละเอียดเปนไปตามตารางดังนี้

สภาวะที่ % UTS
1. แรงดึงขึงสายขั้นตนที่อุณหภูมิต่ําสุดเมื่อมีลม
(initial tension at minimum temperature with 50
wind) ไมมากกวา
2. แรงดึงขึงสายขั้นตนที่อุณหภูมิเฉลี่ย เมื่อไมมีลม
(initial tension at every-day temperature no 33.33
wind) ไมมากกวา
3. แรงดึงขึงสายขั้นสุดทายหลัง 10 ป ที่อุณหภูมิต่ําสุด
เมื่อมีลม
40
(final tension at minimum temperature with
wind after 10 years) ไมมากกวา
4. แรงดึงขึงสายขั้นสุดทายหลัง 10 ป ที่อุณหภูมิเฉลี่ย
เมื่อไมมีลม
20
(final tension at every-day temperature no wind
after 10 years) ไมมากกวา

โดยมีขอกําหนดตัวแปรที่ กฟภ. ใชงาน ดังนี้


1. อุณหภูมิต่ําสุดมีคา 6.0 องศาเซลเซียส
2. อุณหภูมิเฉลี่ยมีคา 27.0 องศาเซลเซียส
151

3. อุณหภูมิสูงสุดมีคา 70.0 องศาเซลเซียส


4. ความลาของสายมีคา 0.04 เปอรเซ็นต
5. ตัวประกอบพลศาสตร (Aerodynamic factor) สําหรับสายลอฟา ระบบ 115 kV มีคา 1.1
และสําหรับสายตัวนําทุกระบบไฟฟา มีคา 1.0
สําหรับตัวแปรแรงลมปะทะ (P) ขอใหดูวิธีพิจารณาในเรื่องการคํานวณโมเมนตของเสาหัวขอ
5.10 สวนตัวแปรอื่นๆ ของสายที่ใชงาน ใหดูในผลิตภัณฑมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) ของสายนัน้ ๆ

5.6 การคํานวณหาคาแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสาย ตามขอกําหนด


ในหัวขอนี้จะไดกลาวถึงตัวอยางการคํานวณเพื่อหาคาแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของ
สายหลายๆ ชนิด โดยเปนการคํานวณแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสายตามขอกําหนดในหัวขอ 5.5
รวมจํานวน 5 ตัวอยางสําหรับสายไฟฟาและสายลอฟาที่ใชงานในปจจุบันภายใน กฟภ. โดยรายละเอียด
ทั้งหมดมีดังนี้

ตัวอยางที่ 1 จงคํานวณหาแรงดึงขึงสายขั้นตนที่อุณหภูมิเฉลี่ยเมื่อไมมีลม แรงดึงสูงสุดหลังขึงสาย


10 ป และระยะหยอนยานของสายอะลูมิเนียมเปลือยขนาด 400 ตารางมิลลิเมตร ที่อณ ุ หภูมิเฉลีย่ เมือ่ ไมมีลม
ในระบบสายสง 115 kV ตามขอกําหนดของ กฟภ. โดยขอมูลคุณสมบัติสายและขอมูลอืน่ ๆ มีดังนี้

ชนิดของสายเปนสายอะลูมิเนียมเปลือย (AAL) ขนาด 400 มม2


พื้นที่หนาตัด (A) 389.14 มม2
เสนผานศูนยกลางของสาย (d) 25.65 มม.
แรงดึงประลัย (UTS) 6,025 กก.
โมดูลัสยืดหยุน ของสาย (E) 5,500 กก./มม2
น้ําหนักของสาย (W) 1.075 กก./ม.
สัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเสน (α) 0.000023 / oC
ความลาของสาย (Co) 0.04 %
ระยะชวงเสา (L) 80 ม.
แรงลมปะทะ (P) 40 กก./ม2
Aerodynamic factor (Adf) 1.0
อุณหภูมิต่ําสุด (t0) 6.0 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิเฉลี่ย (t1) 27.0 องศาเซลเซียส
* ขอมูลสายอะลูมิเนียมเปลือย ไดมาจาก มอก. 85
152

วิธีการคํานวณ
ใชสมการ (5.20) ในการพิจารณา คือ
C1 W0 L 2 o
T13 + [ ( ) - T0 + C2(t1 – t0 - C )] T12 - ( C1W1L )2 = 0
T0 100α

หาคา C1 = (EA/24) = 5500 x 389.14 / 24 = 298.62


C2 = αEA = 0.000023 x 5500 x 389.14 = 49.22
WW = P x D x Adf = 40 x 25.65 x 10-3 x 1.0 = 1.026 กก./ม.
2
WR = W + WW 2 = (1.075) 2 + (1.026) 2 = 1.486 กก./ม.

จากสภาวะที่ 1 จะทําการหาคาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมิเฉลี่ยเมื่อไมมีลม
T0 = 50 x 6,025 = 3,012.5 กก.
100
W0 = WR = 1.486 กก./ม.
W1 = W = 1.075 กก./ม.
t0 = 6 องศาเซลเซียส
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.0 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะทีเ่ กิดขึน้ ในปจจุบันขณะเริ่มขึงสาย)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.20) จะไดวา

T13+[ ( 298.62x1.486x80 ) 2 - 3,012.5+49.22(27 – 6 - 0.0


- 6 )] T12- (298.62x1.075x80)2 = 0
3,012.5 100x23x10
T13 - 1,840.01 T12 - 659,530,196.9 = 0
T1 = 2,004.09 กิโลกรัม
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 1 มีคาเทากับ 2,004.09 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากสภาวะที่ 2 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 33.33 x 6,025 = 2,008.13 กก.
100
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 2 มีคาเทากับ 2,008.13 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม
153

จากสภาวะที่ 3 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 40 x 6,025 = 2,410 กก.
100
W0 = WR = 1.486 กก./ม.
W1 = W = 1.075 กก./ม.
t0 = 6 องศาเซลเซียส
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.04 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะที่เกิดขึ้นที่ 10 ปขางหนา)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.20) จะไดวา

T13+[ ( 298.62x1.486x80 ) 2 - 2,410+49.22(27 – 6 - 0.04 -6 )] T12- (298.62x1.075x80)2 = 0


2,410 100x23x10
3 2
T1 - 2,015.39 T1 - 659,530,196.9 = 0
T1 = 2,157.1 กิโลกรัม
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 3 มีคาเทากับ 2,157.1 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากสภาวะที่ 4 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 20 x 6,025 = 1,205 กก.
100
W0 = W = 1.075 กก./ม.
W1 = W = 1.075 กก./ม.
t0 = 27 องศาเซลเซียส
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.04 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะที่เกิดขึ้นที่ 10 ปขางหนา)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.20) จะไดวา

T13+[ ( 298.62x1.075x80 ) 2 - 1,205+49.22(27 – 27 - 0.04 -6 )] T12- (298.62x1.075x80)2 = 0


1,205 100x23x10
3 2
T1 - 1,606.78 T1 - 659,530,196.9 = 0
T1 = 1,808.53 กิโลกรัม
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 4 มีคาเทากับ 1,808.53 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม
154

จากคา T1 ที่คํานวณไดจากสภาวะทัง้ 4 สภาวะ จะเปนแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมิเฉลีย่ เมือ่ ไม


มีลม (หรือเปนแรงดึงที่ใชสาํ หรับขึงสายทีอ่ ุณหภูมิ 27oC ) โดยในสภาวะที่ 4 จะได T1 มีคานอยทีส่ ุด จึง
นําคา T1 จากสภาวะที่ 4 นี้ไปใชงานทั้งในการขึงสายและการคํานวณยอนกลับเพือ่ หาแรงดึงที่สภาวะ
วิกฤติในอีก 10 ปขางหนา (ที่อุณหภูมิต่ําสุด 6 oC เมื่อมีลม) ซึ่งในการหาแรงดึงที่สภาวะวิกฤติจะใช
สมการ (5.21) ในการหาคา ทั้งนี้เหตุผลที่ตองใชคา T1 ที่นอยที่สุดในสภาวะที่ 4 จากทั้ง 4 สภาวะ เปน
เพราะวาเมื่อนําคา T1 นี้ไปแทนยอนกลับทั้ง 4 สภาวะ คา T0 ที่คํานวณไดจะไมเกินขอกําหนดทีไ่ ดตั้ง
เริ่มตนไว เชน จะไมเกิน 50% UTS ในสภาวะที่ 1 หรือไมเกิน 33.33%UTS ในสภาวะที่ 2 แตหากนําคา
T1 เชนในสภาวะที่ 3 (มีคาสูงกวา) ไปแทนยอนกลับทั้ง 4 สภาวะ คา T0 ที่คํานวณไดจะมีคาเกินบาง
สภาวะทีต่ ั้งเริม่ ตนไว ซึ่งไมถูกตอง
ดังนั้นในหลักการเมื่อคํานวณไดคา T1 จากทั้ง 4 สภาวะแลว ใหเปรียบเทียบวาที่สภาวะใดมีคา
T1 นอยที่สุด แลวใหนําคา T1 นอยที่สุดนัน้ ไปใชหาแรงดึงที่สภาวะวิกฤติโดยใชสมการ (5.21) ตอไป
ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
จากสมการ (5.21) คือ

C1 W1 L 2 o
T03 + [ ( ) - T1 - C2(t1 – t0 - C )] T02 - ( C1W0L )2 = 0
T1 100α

กําหนดให
T1 = 1,808.5 กก.
W0 = WR = 1.486 กก./ม.
W1 = W = 1.075 กก./ม.
t0 = 6 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิต่ําสุด)
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.00 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะที่เกิดขึ้นในปจจุบันขณะเริ่มขึงสาย)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.21) จะไดวา

T03+[ ( 298.62x1.075x80 ) 2 - 1,808.5-49.22(27 – 6 - 0.0


- 6 )] T02- (298.62x1.486x80)2 = 0
1,808.5 100x23x10
3 2
T0 - 2,640.47 T0 - 1,260,246,138 = 0
T0 = 2,801.24 กิโลกรัม
155

และเมื่อแทน Co = 0.04 เปอรเซ็นต เปนสภาวะที่เกิดขึ้นใน 10 ปขางหนา จะไดวา

T03+[ ( 298.62x1.075x80 ) 2 - 1,808.5-49.22(27 – 6 - 0.04 -6 )] T02- (298.62x1.486x80)2 = 0


1,808.5 100x23x10
3 2
T0 - 1,784.47 T0 - 1,260,246,138 = 0
T0 = 2,076.75 กิโลกรัม

จากผลการคํานวณ T1 ที่ไดคือ 1,808.5 กิโลกรัม ซึ่งเปนแรงดึงสูงสุดขณะขึงสายทีอ่ ุณหภูมิเฉลี่ย


ซึ่งในการออกแบบแรงดึงในสายจะตองกําหนดไมใหเกินคานี้ โดยจะเห็นไดวาในปจจุบันหากขึงสาย
ดวยแรงดึงคาดังกลาวที่อณ
ุ หภูมิ 27 องศาเซลเซียส เมื่อมีลมปะทะสายที่ 40 กิโลกรัมตอตารางเมตรหรือ
ความเร็วลมประมาณ 96 กิโลเมตรตอชั่วโมง (ดูรายละเอียดการแปลงคาไดในเรื่องการคํานวณโมเมนต
ของเสา) รวมทั้งอุณหภูมิลดลงเปน 6 องศาเซลเซียสดวย ผลจะทําใหเกิดแรงดึงในสายเพิ่มสูงขึน้ เปน
2,801.24 กิโลกรัม สวนในอีก 10 ปขางหนา สายที่เกิดความลาขึ้นทําใหแรงดึงในสายลดลงเปน
2,076.75 กิโลกรัม ที่สภาวะมีลมปะทะสาย 40 กิโลกรัมตอตารางเมตรและอุณหภูมิ 6 องศาเซลเซียส
เชนเดียวกัน ดังนั้นในการออกแบบความมั่นคงแข็งแรงของโครงสรางจะตองพิจารณาถึงแรงดึงในสาย
ที่สภาวะวิกฤติในปจจุบัน (ที่ยังไมไดใสคา ความลาของสายเขาไปในสมการ) ไมเชนนั้นแลวโครงสราง
อาจเกิดความเสียหายไดหากสภาวะดังกลาวเกิดขึ้น
แตตามตารางผลการศึกษาของ CIRGRE ไดแนะนําคาแรงดึงสูงสุดของสายที่อุณหภูมิเฉลี่ยเมื่อ
ไมมีลม กรณีที่ไมมีการปองกันการสั่นของสายไวไมเกิน 17 % UTS และไมไดระบุไวกรณีมีการติดตั้ง
อาเมอรร็อดปองกันการสั่นของสาย ดังนัน้ จะตองใชแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมิเฉลี่ยใหมโดยมีคา
ประมาณ 1,024 กิโลกรัม (0.17x6,025) ทั้งนี้ตองคํานวณหาคา T0 ใหมดวย แตผลก็คือสายไฟฟาจะมี
ความปลอดภัยในการใชงานโดยมีแรงดึงในสายนอยกวา 1,808.05 กิโลกรัม

ตอไปจะหาคาระยะหยอนยานของสาย ซึ่งหาไดจากสมการ (5.4) คือ


2
Y = WL
8T0
ดังนั้นจะไดวา ระยะหยอนยานของสายที่อุณหภูมิเฉลี่ย (27OC) เมื่อไมมีลม ที่ใชสําหรับในการ
ขึงสายที่สภาวะนี้ คือ
2
= 1.075x80
8x1,024
= 0.839 เมตร
156

ตัวอยางที่ 2 จงคํานวณหาแรงดึงขึงสายขั้นตนที่อุณหภูมิเฉลี่ยเมื่อไมมีลม แรงดึงสูงสุดหลังขึงสาย 10 ป


และระยะหยอนยานของสายอะลูมิเนียมเปลือยขนาด 400 ตารางมิลลิเมตร ที่อุณหภูมิเฉลี่ยเมื่อไมมีลม
ในระบบสายสง 115 kV เมื่อไมคิดคาความลาของสาย โดยใชขอมูลคุณสมบัติสายและขอมูลอื่นๆ ใน
ตัวอยางที่ 1

วิธีการคํานวณ
จากสภาวะที่ 1 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม
T0 = 50 x 6,025 = 3,012.5 กก.
100
W0 = WR = 1.486 กก./ม.
W1 = W = 1.075 กก./ม.
t0 = 6 องศาเซลเซียส
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.0 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะที่เกิดขึ้นในปจจุบันขณะเริ่มขึงสาย)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.20) จะไดวา

T13+[ ( 298.62x1.486x80 ) 2 - 3,012.5+49.22(27 – 6 - 0.0


- 6 )] T12- (298.62x1.075x80)2 = 0
3,012.5 100x23x10
3 2
T1 - 1,840.01 T1 - 659,530,196.9 = 0
T1 = 2,004.09 กิโลกรัม
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 1 มีคาเทากับ 2,004.09 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากสภาวะที่ 2 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 33.33 x 6,025 = 2,008.13 กก.
100
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 2 มีคาเทากับ 2,008.13 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากสภาวะที่ 3 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 40 x 6,025 = 2,410 กก.
100
W0 = WR = 1.486 กก./ม.
W1 = W = 1.075 กก./ม.
t0 = 6 องศาเซลเซียส
157

t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.00 เปอรเซ็นต (ไมคิดถึงแมเปนสภาวะที่เกิดขึ้น 10 ปขางหนา)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.20) จะไดวา

T13+[ ( 298.62x1.486x80 ) 2 - 2,410+49.22(27 – 6 - 0.00 -6 )] T12- (298.62x1.075x80)2 = 0


2,410 100x23x10
3 2
T1 - 1,159.39 T1 - 659,530,196.9 = 0
T1 = 1,466.10 กิโลกรัม
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 3 มีคาเทากับ 1,466.10 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากสภาวะที่ 4 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 20 x 6,025 = 1,205 กก.
100
W0 = W = 1.075 กก./ม.
W1 = W = 1.075 กก./ม.
t0 = 27 องศาเซลเซียส
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.00 เปอรเซ็นต (ไมคิดถึงแมเปนสภาวะที่เกิดขึ้น 10 ปขางหนา)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.20) จะไดวา

T13+[ ( 298.62x1.075x80 ) 2 - 1,205+49.22(27 – 27 - 0.00 -6 )] T12- (298.62x1.075x80)2 = 0


1,205 100x23x10
T13 - 750.78 T12 - 659,530,196.9 = 0
T1 = 1,205.00 กิโลกรัม
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 4 มีคาเทากับ 1,205 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากคา T1 ในสภาวะที่ 4 ซึง่ เปนคานอยทีส่ ุด จึงนําคา T1 เทากับ 1,205 กิโลกรัม แทนหาคา


แรงดึงที่สภาวะวิกฤติในอีก 10 ป ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

T03+[ ( 298.62x1.075x80 ) 2 - 1,205 - 49.22(27 – 6 - 0.0


- 6 )] T02- (298.62x1.486x80)2 = 0
1,205 100x23x10
T03 - 1,784.47 T02 - 1,260,246,138 = 0
T0 = 2,076.75 กิโลกรัม
158

หมายความวาแรงดึงที่สภาวะวิกฤติในปจจุบันมีคา 2,076.75 กิโลกรัม และจะมีคาเทากับแรงดึง


ที่เกิดขึ้นที่ 10 ปขางหนาเนือ่ งจากไมคิดคาความลาของสาย และจะมีคาเทากันกับแรงดึงที่สภาวะวิกฤติ
ที่เกิดขึ้นที่ 10 ปขางหนาในตัวอยางที่ 1 เมื่อคิดคาความลาของสาย คือ

T03+[ ( 298.62x1.075x80 ) 2 - 1,808.5-49.22(27 – 6 - 0.04 -6 )] T02- (298.62x1.486x80)2 = 0


1,808.5 100x23x10
3 2
T0 - 1,784.47 T0 - 1,260,246,138 = 0
T0 = 2,076.75 กิโลกรัม

ซึ่งจะเห็นไดวา คา T0 ที่ไดคือ 2,076.75 กิโลกรัม มีคาเทากัน เพียงแตกตางกันทีค่ าแรงดึง T1


และคาความลาที่ใสในสมการ นั่นคือหากไมคิดชดเชยคาความลาของสาย แรงดึงขณะขึงสายที่อณ ุ หภูมิ
เฉลี่ยสูงสุดจะเทากับ 1,205 กิโลกรัม จะไมใชงานที่คา 1,808.5 กิโลกรัม ที่เปนเชนนี้เพราะวาเมือ่ ไม
พิจารณาวาสายจะเกิดความลาหรือหยอนตัวเพิ่มขึ้นในอีก 10 ปขางหนา ในสภาพปจจุบันขณะขึงสายก็
ปลอยแรงดึงคา คือ 1,205 กิโลกรัมได (ใชแรงดึงนอยๆ ไมตองเผื่อการหยอนตัวของสายที่มากขึ้นที่
10 ปขางหนา) แตหากตองพิจารณาชดเชยคาความลาของสายดวยแรงดึงขณะขึงสายก็จะตองใชงานที่คา
1,808.5 กิโลกรัม เพราะวาสายจะเกิดความลาหรือหยอนตัวเพิ่มขึ้นในอีก 10 ปขางหนา ดังนั้นในสภาพ
ปจจุบันขณะขึงสายจึงตองใชแรงดึงสูงขึ้นคือ 1,808.75 กิโลกรัม เพื่อวาในเวลาอีก 10 ป แรงดึงทีส่ ภาวะ
วิกฤติที่อุณหภูมิต่ําสุด 6 องศาเซลเซียส จะมีคาเทากันคือ 2,076.75 กิโลกรัม
แตตามตารางผลการศึกษาของ CIRGRE ไดแนะนําคาแรงดึงสูงสุดของสายที่อุณหภูมิเฉลี่ยเมื่อ
ไมมีลม กรณีที่ไมมีการปองกันการสั่นของสายไวไมเกิน 17 % UTS และไมไดระบุไวกรณีมีการติดตั้ง
อาเมอรร็อดปองกันการสั่นของสาย ดังนัน้ จะตองใชแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมิเฉลี่ยใหมโดยมีคา
ประมาณ 1,024 กิโลกรัม (0.17x6,025) ทั้งนี้ตองคํานวณหาคา T0 ใหมดวย แตผลก็คือสายไฟฟาจะมี
ความปลอดภัยในการใชงานโดยมีแรงดึงในสายนอยกวา 1,205 กิโลกรัม
ตอไปจะหาคาระยะหยอนยานของสาย ซึ่งหาไดจากสมการ (5.4) คือ
2
Y = WL
8T0
ดังนั้นจะไดวา ระยะหยอนยานของสายที่อุณหภูมิเฉลี่ย (27OC) เมื่อไมมีลม ที่ใชสําหรับในการ
ขึงสายที่สภาวะนี้ คือ
2
= 1.075x80
8x1,024
= 0.839 เมตร
159

ตัวอยางที่ 3 จงคํานวณหาแรงดึงขึงสายขั้นตนที่อณ
ุ หภูมเิ ฉลี่ยเมือ่ ไมมีลม แรงดึงสูงสุดหลังขึงสาย 10 ป
และระยะหยอนยานของสายตัวนําอะลูมิเนียมแกนเหล็กขนาด 380/50 ตารางมิลลิเมตร ที่อุณหภูมิเฉลี่ย
เมื่อไมมีลม ในระบบสายสง 115 kV ตามขอกําหนดของ กฟภ. โดยขอมูลคุณสมบัติสายและขอมูลอื่นๆ มีดังนี้

ชนิดของสายอะลูมิเนียมแกนเหล็ก (ACSR) ขนาด 380/50 มม2


พื้นที่หนาตัด (A) 431.5 มม2
เสนผานศูนยกลางของสาย (d) 27.0 มม.
แรงดึงประลัย (UTS) 12,312 กก.
โมดูลัสยืดหยุน ของสาย (E) 7,000 กก./มม2
น้ําหนักของสาย (W) 1.443 กก./ม.
สัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเสน (α) 0.0000193 / oC
ความลาของสาย (Co) 0.04 %
ระยะชวงเสา (L) 80 ม.
แรงลมปะทะ (P) 40 กก./ม2
Aerodynamic factor (Adf) 1.0
อุณหภูมิต่ําสุด (t0) 6.0 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิเฉลี่ย (t1) 27.0 องศาเซลเซียส
* ขอมูลลวดเหล็กตีเกลียว ไดมาจาก มอก. 86

วิธีการคํานวณ
ใชสมการ (5.20) ในการพิจารณา คือ
C1 W0 L 2 o
T13 + [ ( ) - T0 + C2(t1 – t0 - C )] T12 - ( C1W1L )2 = 0
T0 100α

หาคา C1 = (EA/24) = 7000 x 431.5 / 24 = 354.76


C2 = αEA = 0.0000193 x 7000 x 431.5 = 58.295
WW = P x D x Adf = 40 x 27 x 10-3 x 1.0 = 1.08 กก./ม.
2 2
WR = W + WW = (1.443) 2 + (1.08) 2 = 1.802 กก./ม.
160

จากสภาวะที่ 1 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 50 x 12,312 = 6,156 กก.
100
W0 = WR = 1.802 กก./ม.
W1 = W = 1.443 กก./ม.
t0 = 6 องศาเซลเซียส
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.0 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะที่เกิดขึ้นในปจจุบัน)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.20) จะไดวา

T13+[ ( 354.76x1.802x80 ) 2 - 6,156+58.295(27–6 - 0.0


- 6 )] T12- (354.76x1.443x80)2 = 0
6,156 100x19.3x10
3 2
T1 - 4,862.78 T1 - 1,677,188,704 = 0
T1 = 4,931.7 กิโลกรัม
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 1 มีคาเทากับ 4,931.7 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากสภาวะที่ 2 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 33.33 x 12,312 = 4,103.58 กก.
100
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 2 มีคาเทากับ 4,103.58 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากสภาวะที่ 3 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 40 x 12,312 = 4,924.8 กก.
100
W0 = WR = 1.802 กก./ม.
W1 = W = 1.443 กก./ม.
t0 = 6 องศาเซลเซียส
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.04 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะที่เกิดขึ้นที่ 10 ปขางหนา)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.20) จะไดวา

T13+[ ( 354.76x1.802x80 ) 2 -4,924.8+58.295(27–6 - 0.04


- 6 )] T12-(354.76x1.443x80)2 = 0
4,924.8 100x19.3x10
161

T13 - 4,800.95 T12 - 1,677,188,704 = 0


T1 = 4,871.57 กิโลกรัม
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 3 มีคาเทากับ 4,871.57 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากสภาวะที่ 4 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 20 x 12,312 = 2,462.4 กก.
100
W0 = W = 1.443 กก./ม.
W1 = W = 1.443 กก./ม.
t0 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.04 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะที่เกิดขึ้นในอีก 10 ปขางหนา)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.20) จะไดวา

T13+[ ( 354.76x1.443x80 ) 2 -2,462.4+58.295(27-27- 0.04


- 6 )] T12-(354.76x1.443x80)2 = 0
2,462.4 100x19.3x10
3 2
T1 - 3,393.97 T1 - 1,677,188,704 = 0
T1 = 3,528.69 กิโลกรัม
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 4 มีคาเทากับ 3,528.69 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากผลการคํานวณคา T1 ที่นอยที่สุดอยูใ นสภาวะที่ 4 คือ 3,528.69 กิโลกรัม และนําไปใชหา


แรงดึงที่สภาวะวิกฤติโดยใชสมการ (5.21) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

จากสมการ (5.21) คือ

C1 W1 L 2 o
T03 + [ ( ) - T1 - C2(t1 – t0 - C )] T02 - ( C1W0L )2 = 0
T1 100α

กําหนดให
T1 = 3,528.69 กก.
W0 = WW = 1.802 กก./ม.
W1 = W = 1.443 กก./ม.
162

t0 = 6 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิต่ําสุด)
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.00 เปอรเซ็นต (สายขึงในปจจุบัน)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.21) จะไดวา

T03+[ ( 354.76x1.443x80 ) 2 -3,528.69-58.295(27–6- 0.0


- 6 )] T02-(354.76x1.802x80)2 = 0
3,528.69 100x19.3x10
T03 - 4,618.18 T02 - 2,615,524,784 = 0
T0 = 4,734.92 กิโลกรัม

และเมื่อแทน Co = 0.04 เปอรเซ็นต เปนสภาวะที่เกิดขึ้นใน 10 ปขางหนา จะไดวา

T03+[ ( 354.76x1.443x80 ) 2 -3,528.69-58.295(27–6- 0.04


- 6 )] T02-(354.76x1.802x80)2 = 0
3,528.69 100x19.3x10
3 2
T0 - 3,410 T0 - 2,615,524,784 = 0
T0 = 3,610.76 กิโลกรัม

แตตามตารางผลการศึกษาของ CIRGRE ไดแนะนําคาแรงดึงสูงสุดของสายที่อุณหภูมิเฉลี่ยเมื่อ


ไมมีลม กรณีที่ไมมีการปองกันการสั่นของสายไวไมเกิน 18 % UTS และสําหรับสายที่มีการติดตั้งอา
เมอรร็อดไมเกิน 22 % UTS ดังนั้นจะตองใชแรงดึงขณะขึงสายที่อณุ หภูมิเฉลี่ยใหมโดยมีคาประมาณ
2,708 กิโลกรัม (0.22x12,312) ทั้งนี้ตองคํานวณหาคา T0 ใหมดวย แตผลก็คือสายไฟฟาจะมีความ
ปลอดภัยในการใชงานโดยมีแรงดึงในสายนอยกวา 3,528.69 กิโลกรัม

คาระยะหยอนยานของสาย ซึ่งหาไดจากสมการ (5.4) คือ


2
Y = WL
8T0
ดังนั้นจะไดวา ระยะหยอนยานของสายที่อุณหภูมิเฉลี่ยเมือ่ ไมมีลม คือ
2
= 1.443x80
8x2,708
= 0.426 เมตร
163

ตัวอยางที่ 4 จงคํานวณหาแรงดึงขึงสายขั้นตนที่อณ
ุ หภูมเิ ฉลี่ยเมือ่ ไมมีลม แรงดึงสูงสุดหลังขึงสาย 10 ป
และระยะหยอนยานของสายลอฟาซึ่งใชเปนลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 35 ตารางมิลลิเมตร ที่อุณหภูมิเฉลี่ย
เมื่อไมมีลม ในระบบสายสง 115 kV ตามขอกําหนดของ กฟภ. โดยขอมูลคุณสมบัติสายและขอมูลอื่นๆ มีดังนี้

ชนิดของสายเปนลวดเหล็กตีเกลียว (St) ขนาด 35 มม2


พื้นที่หนาตัด (A) 32.46 มม2
เสนผานศูนยกลางของสาย (d) 7.5 มม.
แรงดึงประลัย (UTS) 2,350.7 กก.
โมดูลัสยืดหยุน ของสาย (E) 18,000 กก./มม2
น้ําหนักของสาย (W) 0.274 กก./ม.
สัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเสน (α) 0.000011 / oC
ความลาของสาย (Co) 0.04 %
ระยะชวงเสา (L) 80 ม.
แรงลมปะทะ (P) 40 กก./ม2
Aerodynamic factor (Adf) 1.1
อุณหภูมิต่ําสุด (t0) 6.0 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิเฉลี่ย (t1) 27.0 องศาเซลเซียส
* ขอมูลลวดเหล็กตีเกลียว ไดมาจาก มอก. 404

วิธีการคํานวณ
ใชสมการ (5.20) ในการพิจารณา คือ

C1 W0 L 2 o
T13 + [ ( ) - T0 + C2(t1 – t0 - C )] T12 - ( C1W1L )2 = 0
T0 100α
หาคา C1 = (EA/24) = 18000 x 32.46 / 24 = 156.02
C2 = αEA = 0.000011 x 18000 x 32.46 = 6.427
WW = P x D x Adf = 40 x 7.5 x 10-3 x 1.1 = 0.33 กก./ม.
2 2
WR = W + WW = (0.274) 2 + (0.33) 2 = 0.428 กก./ม.

จากสภาวะที่ 1 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 50 x 2,350.7 = 1,175.35 กก.
100
W0 = WR = 0.428 กก./ม.
164

W1 = W = 0.274 กก./ม.
t0 = 6 องศาเซลเซียส
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.0 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะที่เกิดขึ้นในปจจุบัน)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.20) จะไดวา

T13+[ (156.02x0.428x80 ) 2 - 1,175.35+6.427(27–6 - 0.0


- 6 )] T12- (156.02x0.274x80)2 = 0
1,175.35 100x11x10
3 2
T1 - 1,019.72 T1 - 11696115.46 = 0
T1 = 1,030.64 กิโลกรัม
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 1 มีคาเทากับ 1,030.64 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากสภาวะที่ 2 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 33.33 x 2,350.7 = 783.49 กก.
100
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 2 มีคาเทากับ 783.49 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากสภาวะที่ 3 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 40 x 2,350.7 = 940.28 กก.
100
W0 = WW = 0.428 กก./ม.
W1 = W = 0.274 กก./ม.
t0 = 6 องศาเซลเซียส
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.04 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะที่เกิดขึ้นในอีก 10 ปขางหนา)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.20) จะไดวา

T13+[ (156.02x0.428x80 ) 2 - 940.28+6.427(27 – 6 - 0.04 -6 )] T12- (156.02x0.274x80)2 = 0


940.28 100x11x10
3 2
T1 - 1,006.74 T1 - 11696115.46 = 0
T1 = 1,017.89 กิโลกรัม
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 3 มีคาเทากับ 1,017.89 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม
165

จากสภาวะที่ 4 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 20 x 2,350.7 = 470.14 กก.
100
W0 = W = 0.274 กก./ม.
W1 = W = 0.274 กก./ม.
t0 = 27 องศาเซลเซียส
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.04 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะที่เกิดขึ้นในอีก 10 ปขางหนา)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.20) จะไดวา

T13+[ (156.02x0.274x80 ) 2 - 470.14 +6.427(27–27 - 0.04 -6 )] T12- (156.02x0.274x80)2 = 0


470.14 100x11x10
3 2
T1 - 650.93 T1 - 11696115.46 = 0
T1 = 676.49 กิโลกรัม
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 4 มีคาเทากับ 676.49 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากผลการคํานวณคา T1 ที่นอยที่สุดอยูใ นสภาวะที่ 4 คือ 676.49 กิโลกรัม และนําไปใชหา


แรงดึงที่สภาวะวิกฤติโดยใชสมการ (5.21) คือ

C1 W1 L 2 o
T03 + [ ( ) - T1 - C2(t1 – t0 - C )] T02 - ( C1W0L )2 = 0
T1 100α

กําหนดให
T1 = 676.49 กก.
W0 = WR = 0.428 กก./ม.
W1 = W = 0.274 กก./ม.
t0 = 6 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิต่ําสุด)
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.00 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะที่เกิดขึ้นในปจจุบนั )

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.21) จะไดวา


166

T03+[ (156.02x0.274x80 ) 2 - 676.49-6.427(27 – 6 - 0.0


- 6 )] T02- (156.02x0.428x80)2 = 0
676.49 100x11x10
3 2
T0 - 785.89 T0 - 28538297.38 = 0
T0 = 827.74 กิโลกรัม

และเมื่อแทน Co = 0.04 เปอรเซ็นต เปนสภาวะที่เกิดขึ้นใน 10 ปขางหนา จะไดวา

T03+[ (156.02x0.274x80 ) 2 - 676.49-6.427(27 – 6 - 0.04 -6 )] T02- (156.02x0.428x80)2 = 0


676.49 100x11x10
3 2
T0 - 552.19 T0 - 28538297.38 = 0
T0 = 625.46 กิโลกรัม

แตตามตารางผลการศึกษาของ CIRGRE ไมไดมกี ารแนะนําคาแรงดึงสูงสุดของสายลวดเหล็ก


ตีเกลียวที่อุณหภูมิเฉลี่ยเมื่อไมมีลมไว ดังนั้นจึงใชแรงดึงขณะขึงสายทีอ่ ุณหภูมิเฉลี่ยที่ไดจากการคํานวณ
ตามขอกําหนด ซึ่งมีคา 676.49 กิโลกรัม ซึ่งสายไฟฟาก็ยังมีความปลอดภัยในการใชงาน

คาระยะหยอนยานของสาย ซึ่งหาไดจากสมการ (5.4) คือ


2
Y = WL
8T0
ดังนั้นจะไดวา ระยะหยอนยานของสายที่อุณหภูมิเฉลี่ยเมือ่ ไมมีลม คือ
2
= 0.274x80
8x676.49
= 0.324 เมตร

ตัวอยางที่ 5 จงคํานวณหาแรงดึงขึงสายขั้นตนที่อณ
ุ หภูมเิ ฉลี่ยเมือ่ ไมมีลม แรงดึงสูงสุดหลังขึงสาย 10 ป
และระยะหยอนยานของสายลอฟาซึ่งใชเปนลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 50 ตารางมิลลิเมตร ที่อุณหภูมิเฉลี่ย
เมื่อไมมีลม ในระบบสายสง 115 kV ตามขอกําหนดของ กฟภ. โดยขอมูลคุณสมบัติสายและขอมูลอื่นๆ มีดังนี้

ชนิดของสายเปนลวดเหล็กตีเกลียว (St) ขนาด 50 มม2


พื้นที่หนาตัด (A) 46.88 มม2
เสนผานศูนยกลางของสาย (d) 9.0 มม.
แรงดึงประลัย (UTS) 3,355.8 กก.
167

โมดูลัสยืดหยุน ของสาย (E) 18,000 กก./มม2


น้ําหนักของสาย (W) 0.392 กก./ม.
สัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเสน (α) 0.000011 / oC
ความลาของสาย (Co) 0.04 %
ระยะชวงเสา (L) 80 ม.
แรงลมปะทะ (P) 40 กก./ม2
Aerodynamic factor (Adf) 1.1
อุณหภูมิต่ําสุด (t0) 6.0 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิเฉลี่ย (t1) 27.0 องศาเซลเซียส
* ขอมูลลวดเหล็กตีเกลียว ไดมาจาก มอก. 404

วิธีการคํานวณ ใชสมการ (5.20) ในการพิจารณา คือ

C1 W0 L 2 o
T13 + [ ( ) - T0 + C2(t1 – t0 - C )] T12 - ( C1W1L )2 = 0
T0 100α

หาคา C1 = EA/24 = 18000 x 46.88 / 24 = 187.51


C2 = αEA = 0.000011 x 18000 x 46.88 = 9.282
WW = P x D x Adf = 40 x 9.0 x 10-3 x 1.1 = 0.396 กก./ม.
2 2
WR = W + WW = (0.392) 2 + (0.396) 2 = 0.557 กก./ม.

จากสภาวะที่ 1 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 50 x 3,355.8 = 1,677.9 กก.
100
W0 = WR = 0.557 กก./ม.
W1 = W = 0.392 กก./ม.
t0 = 6 องศาเซลเซียส
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.0 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะที่เกิดขึ้นในปจจุบัน)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.20) จะไดวา


168

T13+[ (187.51x0.557x80 ) 2 - 1,677.9+9.282(27–6 - 0.0


- 6 )] T12- (187.51x0.392x80)2 = 0
1,677.9 100x11x10
3 2
T1 - 1,458.18 T1 - 34,578,088.03 = 0
T1 = 1,474.07 กิโลกรัม
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 1 มีคาเทากับ 1,474.07 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากสภาวะที่ 2 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 33.33 x 3,355.8 = 1,117.48 กก.
100
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 2 มีคาเทากับ 1,117.48 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากสภาวะที่ 3 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 40 x 3,355.8 = 1,342.32 กก.
100
W0 = WW = 0.557 กก./ม.
W1 = W = 0.392 กก./ม.
t0 = 6 องศาเซลเซียส
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.04 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะที่เกิดขึ้นในอีก 10 ปขางหนา)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.20) จะไดวา

T13+[ (187.51x0.557x80 ) 2 - 1,342.32+9.282(27–6 - 0.04 -6 )] T12- (187.51x0.392x80)2 = 0


1,342.32 100x11x10
T13 - 1,446.18 T12 - 34,578,088.03 = 0
T1 = 1,462.32 กิโลกรัม
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 3 มีคาเทากับ 1,462.32 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากสภาวะที่ 4 จะทําการหาแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลี่ยเมื่อไมมลี ม


T0 = 20 x 3,355.8 = 671.16 กก.
100
W0 = W = 0.392 กก./ม.
W1 = W = 0.392 กก./ม.
169

t0 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.04 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะที่เกิดขึ้นในอีก 10 ปขางหนา)

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.20) จะไดวา

T13+[ (187.51x0.392x80 ) 2 - 671.16 +9.282(27–27 - 0.04 -6 )] T12- (187.51x0.392x80)2 = 0


671.16 100x11x10
3 2
T1 - 931.92 T1 - 34,578,088.03 = 0
T1 = 968.78 กิโลกรัม
ดังนัน้ T1 จากสภาวะที่ 4 มีคาเทากับ 968.78 กิโลกรัม เมื่อไมมีลม

จากผลการคํานวณคา T1 ที่นอยที่สุดอยูใ นขอกําหนดที่ 4 คือ 968.78 กิโลกรัม และนําไปใชหา


แรงดึงที่สภาวะวิกฤติโดยใชสมการ (5.21) คือ

C1 W1 L 2 o
T03 + [ ( ) - T1 - C2(t1 – t0 - C )] T02 - ( C1W0L )2 = 0
T1 100α

กําหนดให
T1 = 968.78 กก.
W0 = WR = 0.557 กก./ม.
W1 = W = 0.392 กก./ม.
t0 = 6 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิต่ําสุด)
t1 = 27 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเฉลี่ย)
Co = 0.00 เปอรเซ็นต (เพราะเปนสภาวะที่เกิดขึ้นในปจจุบนั )

ดังนั้น จะแทนคาตัวแปรลงในสมการ (5.21) จะไดวา

T03+[ (187.51x0.392x80 ) 2 - 968.78-9.282(27 – 6 - 0.0


- 6 )] T02- (187.51x0.557x80)2 = 0
968.78 100x11x10
3 2
T0 - 1,126.86 T0 - 69,813,471.17 = 0
T0 = 1,177.27 กิโลกรัม
170

และเมื่อแทน Co = 0.04 เปอรเซ็นต เปนสภาวะที่เกิดขึ้นใน 10 ปขางหนา จะไดวา

T03+[ (187.51x0.392x80 ) 2 - 968.78-9.282(27 – 6 - 0.04 -6 )] T02- (187.51x0.557x80)2 = 0


968.78 100x11x10
3 2
T0 - 789.33 T0 - 69,813,471.17 = 0
T0 = 879.62 กิโลกรัม

แตตามตารางผลการศึกษาของ CIRGRE ไมไดมีการแนะนําคาแรงดึงสูงสุดของสายลวดเหล็กตี


เกลียวที่อุณหภูมิเฉลี่ยเมื่อไมมีลมไว ดังนั้นจึงใชแรงดึงขณะขึงสายที่อุณหภูมเิ ฉลีย่ ที่ไดจากการคํานวณ
ตามขอกําหนด ซึ่งมีคา 968.78 กิโลกรัม ซึ่งสายไฟฟาก็ยังมีความปลอดภัยในการใชงาน

คาระยะหยอนยานของสาย ซึ่งหาไดจากสมการ (5.4) คือ


WL 2
Y =
8T0
ดังนั้นจะไดวา ระยะหยอนยานของสายที่อุณหภูมิเฉลี่ยเมือ่ ไมมีลม คือ
2
= 0.392x80
8x968.78
= 0.323 เมตร

สรุปในหัวขอนี้ไดทราบถึงรายละเอียดการคํานวณหาคาแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของ
สายหลายๆ ชนิด ซึ่งสามารถนํารายละเอียดการคํานวณดังกลาวนีไ้ ปใชอางอิงได แตในงานกอสราง
จริงของ กฟภ. คาแรงดึงในสายอาจมีคา แตกตางไปจากผลการศึกษาของ CIRGRE ได เชน สาย
อะลูมิเนียมเปลือยขนาด 400 ตารางมิลลิเมตร ในงานกอสรางจริงจะมีการปองกันสายโดยใชอาเมอรร็อด
ดังนั้นแรงดึงในสายที่ใชงานจะมีคาสูงกวาที่คํานวณไดจากขอกําหนด (มากกวา 17% UTS) สําหรับใน
หัวขอถัดไปจะเปนการกลาวถึงการพิจารณาแรงดึงและระยะหยอนยานของสายโดยการใชตารางแรงดึง
และกราฟตามมาตรฐาน กฟภ. ซึ่งใชสําหรับในภาคสนามโดยไมตองเสียในการเวลาคํานวณ

5.7 การหาคาแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสาย เชิงปฏิบตั ิ


ถึงแมวาการคํานวณหาแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสายตามหัวขอ 5.6 ที่ไดกลาวมา
จะใชไดในทุกสภาวะก็ตาม แตวิธีที่ใชในทางปฏิบัติในงานกอสรางของ กฟภ. จะเลือกวิธีที่สะดวกและ
ปฏิบัติงายที่สุด การกําหนดแบบมาตรฐานแรงดึงในสายจึงไดนําเอาสมการแรงดึงและสมการระยะ
หยอนยานของสายไฟฟา ในกรณีเสาไฟฟามีจุดยึดสายในระดับเดียวกัน มาคํานวณที่ระยะชวงเสาตางๆ
171

โดยคํานึงถึงอุณหภูมิใชงานของสายที่อุณหภูมิตางๆ สวนแรงลมทีป่ ะทะสายจะไมนํามารวมพิจารณา


และนําคาที่คํานวณไดมาทําเปนตารางคาความเคนใชงานของสายสําเร็จรูปดังแสดงในตารางที่ 5-1 หรือ
เขียนเปนกราฟการหยอนยานของสายดังแสดงในรูปที่ 5-4

ตารางที่ 5-1 แสดงคาความเคนใชงานของสายอะลูมิเนียมเปลือย ขนาด 400 ตารางมิลลิเมตร

และแสดงการหยอนยานของสายเปนรูปกราฟ ดังแสดงในรูปที่ 5-4

รูปที่ 5-4 การหยอนยานของสายเปนรูปกราฟ ของสายอะลูมิเนียมเปลือย ขนาด 400 ตารางมิลลิเมตร

ตารางที่ 5-1 และรูปที่ 5-4 เปนตัวอยางที่ใชสําหรับหาแรงดึงและระยะหยอนยานของสาย


อะลูมิเนียมเปลือยขนาด 400 ตารางมิลลิเมตร ซึ่งมีพื้นที่หนาตัดจริงเทากับ 389.14 ตารางมิลลิเมตร โดย
คาที่ระบุไวในตารางที่ 5-1 เปนคาความเคนใชงานของสายที่อุณหภูมิตา งๆ ซึ่งหากตองการทราบแรงดึง
172

ของสาย ใหนําพื้นที่หนาตัดของสายคูณเขากับคาความเคนใชงานนั้น ทําใหสะดวกในการใชงานมาก


ดังสมการ (5.22)

T0 = fxA (5.22)

โดยที่ T0 = แรงดึงที่สภาวะเดิม กิโลกรัม (kgf)


f = ความเคนที่ใชงาน กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร (kgf/cm2)
A = พื้นที่หนาตัดจริงของสาย ตารางเซนติเมตร (cm2)

ซึ่งตามปกติคาความเคนใชงานสูงสุดของสายที่กําหนดไว จะมีคานอยกวาคาความเคนประลัย
ไมต่ํากวา 2 เทา ทั้งนี้เพื่อปองกันสายขาดเมื่อมีแรงจรอยางใดอยางหนึ่งมากระทําบนสาย เชน แรงลม
หรือน้ําหนักหิมะ เปนตน คาที่เผื่อไวเพื่อปองกันสายขาดนี้คือ ตัวประกอบความปลอดภัย (safety factor)
นั่นเอง
สําหรับการหาระยะหยอนยานของสายจากกราฟรูปที่ 5-4 จะเริ่มจากใหดูคาในแกนนอนที่
กําหนดเปนระยะชวงเสา วาที่บริเวณกอสรางมีคาเทาใด เมื่อไดจุดระยะชวงเสาแลวใหลากเสนขึน้ ไป
สัมผัสกับเสนกราฟการหยอนยานของสาย ณ อุณหภูมิที่ตองการ เมื่อไดจุดตัดแลวใหลากเสนไป
ทางซายมือขนานไปกับแกนนอน ไปตัดแกนตั้งที่ระบุเปนคาระยะหยอนยานของสายต่ําสุด ซึ่งจุดตัดอยู
ที่ใดก็จะไดเปนคาระยะหยอนยานของสายที่ตองการ เมื่อไดคาที่ตองการแลวเพื่อความสบายใจก็
สามารถตรวจสอบระยะหยอนยานของสายที่อานไดวาถูกตองหรือไม ก็ใหแทนคาตัวแปรตางๆ ลงใน
สมการ (5.4) ก็จะไดคาระยะหยอนยานของสายออกมา ซึ่งหากมีคาตรงกันก็แสดงวาคาระยะหยอนยาน
ของสายที่ไดสามารถใชงานไดอยางปลอดภัย
ซึ่งตามที่กําหนดวาเปนระยะหยอนยานของสายที่ต่ําสุดนั้น ก็เพราะวาคาที่อานไดจากกราฟจะ
เปนระยะหยอนยานของสายที่นอยที่สุดที่ใชในการขึงสาย หากตองการปลอยระยะหยอนยานของสาย
ใหมากกวาที่อา นไดก็สามารถทําไดเนื่องจากแรงดึงในสายจะนอยลงซึง่ ไมมีผลกระทบตอความมั่นคง
แข็งแรงของเสาไฟฟา แตทั้งนี้ใหพิจารณาระยะหางทางไฟฟาในแนวดิ่งดวยวามีคาเพียงพอหรือไมกับ
การที่ตองการปลอยระยะหยอนยานของสายมากขึ้น
ซึ่งตอไปจะแสดงวิธีการหาคาแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสายแตละชนิดเปรียบ
เทียบกับที่คํานวณไวในหัวขอ 5.6
173

ตัวอยางที่ 1 จากตารางที่ 5-1 และรูปที่ 5-4 จงคํานวณหาแรงดึงสูงสุดขณะขึงสายและระยะ


หยอนยานของสายในทางปฏิบัติ ของสายตัวนําอะลูมิเนียมเปลือยขนาด 400 ตารางมิลลิเมตร ซึ่งมี
พื้นที่หนาตัดจริงเทากับ 389.14 ตารางมิลลิเมตร และน้าํ หนักของสายเทากับ 1.075 กิโลกรัมตอเมตร
เมื่อขึงสายที่มีระยะชวงเสา 80 เมตร ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส

วิธีการคํานวณ
สายตัวนําอะลูมิเนียมเปลือยขนาด 400 ตารางมิลลิเมตร
มีพื้นที่หนาตัดจริง = 389.14 มม2
= 389.14
100
= 3.8914 ซม2

ุ หภูมิ 30 oC ที่ระยะชวงเสา 80 เมตร มีคาเทากับ


จากตารางที่ 5-1 คาความเคนใชงานที่อณ
351.64 กก./ซม2

หาแรงดึงสูงสุดขณะขึงสาย ; T0 = 351.64 x 3.8914


= 1,368.37 กิโลกรัม

และจากกราฟในรูปที่ 5-4 คาระยะหยอนยานของสาย (Y) มีคาประมาณ 0.620 เมตร เมื่อระยะ


ชวงเสา (L) เทากับ 80 เมตร ที่อุณหภูมิ 30 oC หรือคํานวณไดจากสมการ (5.4) จะไดวา

Y = WL2
8T0
= 1.075 x 80 2
8x1,368.37
= 0.628 เมตร

ซึ่งระยะหยอนยานของสายทีค่ ํานวณไดตามสมการ (5.4) มีคาตรงกับระยะหยอนยานของสายที่


อานไดจากกราฟ ดังนั้นจึงสามารถใชงานไดอยางถูกตองและปลอดภัย
ตอไปจะหาแรงดึงสูงสุดขณะขึงสายที่อุณหภูมิเฉลี่ย 27 oC ที่ระยะชวงเสา 80 เมตรเดียวกันเพื่อ
ตรวจสอบกับตัวอยางที่ 1 ในหัวขอ 5.6 โดยตองหาคาความเคนใชงานโดยการอินเตอรโพเลท
(interpolate) คาที่อยูในระหวางคาที่อุณหภูมิ 20 oC และอุณหภูมิ 30 oC โดยแบงเปน 10 ชองเทาๆ กัน
ซึ่งจากตารางที่ 5-1 จะไดวา
174

ความเคนใชงานที่อุณหภูมิเฉลี่ย 27 oC = (444.32 – 351.64)/10x(30-27) + 351.64


= 379.44 กก./ซม2
ดังนั้น T0 ที่อุณหภูมิเฉลี่ย 27 oC = 379.44 x 3.8914
= 1,476.56 กิโลกรัม

คาระยะหยอนยานของสาย (Y) ที่อณ ุ หภูมิเฉลี่ย 27 oC จะหาไดโดยแบงเปน 10 ชองเทาๆ กัน


ในชวงระหวางเสนกราฟที่อุณหภูมิ 20 oC และเสนกราฟที่อุณหภูมิ 30 oC ที่จุดระยะชวงเสา 80 เมตร แลว
คูณดวย 7 จะไดจุดทีเ่ ปนของเสนกราฟที่อณ ุ หภูมิเฉลี่ย 27 oC แลวลากเสนไปตัดแกนตั้ง ก็จะไดคาระยะ
หยอนยานของสาย (Y) ที่อุณหภูมิเฉลี่ย 27 oC ซึ่งเมื่อดูจากกราฟในรูปที่ 5-4 จะไดคาประมาณ 0.58
เมตร ซึ่งวิธีดงั กลาวนี้อาจจะทําใหอานคาไดยากหรือลาชาได จึงแนะนําใหใชสมการ (5.4) คํานวณหา
คาระยะหยอนยานของสายซึง่ จะงายและถูกตองกวา ดังนั้นกรณีใชสมการจะไดวา

Y = WL2
8T0
= 1.075 x 80 2
8x1,476.56
= 0.582 เมตร

จะเห็นไดวาการหาแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสายในทางปฏิบัติ โดยการใชตาราง
ความเคนที่ใชงานและกราฟการหยอนยานของสาย จะทําไดงายกวาการแทนคาในสมการที่คอ นขาง
ยาวและยุงยาก ซึ่งสมการที่ใชในการทําตารางความเคนที่ใชงานและกราฟการหยอนยานของสาย ก็ใช
สมการ (5.4) , (5.20) และ (5.21) ตามทีไ่ ดกลาวไปแลว แตทั้งนี้พึงระลึกเสมอในการใชตารางความเคน
ที่ใชงานและกราฟการหยอนยานของสายวา แรงดึงที่อานไดจากตารางความเคนที่ใชงานเปนแรงดึงที่จุด
ต่ําสุด (T0) ซึ่งใชในการขึงสายที่อุณหภูมิใดๆ ที่วัดไดในขณะกําลังขึงสายนั้นๆ ใชเฉพาะในกรณีเสาไฟฟา
มีจุดยึดสายในระดับเดียวกัน ไมไดพิจารณาความลาของสาย และใชสําหรับขึงสายในสภาวะที่ไมมีลม
เทานั้น สวนแรงดึงที่เกิดขึ้นบนหัวเสาจะมีคาสูงขึ้นมากเพียงใดเมื่อเทียบกับแรงดึง T0 นี้ก็ขึ้นอยูกับ
ระยะชวงเสา ขนาดสายที่ใชและตัวแปรอืน่ ๆ ที่แตกตางกัน ซึ่งการพิจารณาความแข็งแรงของโครงสราง
ก็จะใชแรงดึงที่เกิดบนหัวเสาคํานวณ แตหากตางกันไมมากก็จะประมาณใหเทากันกับแรงดึงที่จุดต่าํ สุด
ที่อานไดจากตารางความเคนที่ใชงานนี้
โดยผลการคํานวณจากตารางความเคนที่ใชงานดังกลาวขางตน จะไดคาแรงดึงในสาย T0 ที่
อุณหภูมิเฉลี่ย 27 oC ไมมีลม ซึ่งมีคาเทากับ 1,476.56 กิโลกรัม ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับแรงดึงคํานวณตาม
175

ขอกําหนด กฟภ. ในตัวอยางที่ 2 หัวขอ 5.6 ที่มีคาเทากับ 1,205 กิโลกรัม จะเห็นไดวา มีความแตกตางกัน
271.56 กิโลกรัม ที่เปนเชนนี้เนื่องจาก CIRGRE ไมไดระบุคา แรงดึงที่อุณหภูมิเฉลี่ยสําหรับสาย
อะลูมิเนียมเปลือยที่มีการปองกันสายดวยอาเมอรร็อดวามีคาเปนเทาใด แตในงานกอสรางระบบสายสง
115 kV สําหรับเสาคอนกรีตของ กฟภ. มีการปองกันสายดวยอาเมอรร็อด จึงไดกําหนดแรงดึงในตาราง
ความเคนมีคาสูงกวาตามขอกําหนด แตก็ยังมีความปลอดภัยเพราะวาแรงดึงวิกฤติของสายอะลูมิเนียม
เปลือยขนาด 400 ตารางมิลลิเมตรที่อุณหภูมิ 0 องศาเมื่อมีลม จะมีแรงดึงอยูที่ประมาณ 2,680 กิโลกรัม
(หรือ 45% UTS) ซึ่งยังไมเกิน 50% UTS ตามขอกําหนด กฟภ. ดังนัน้ จึงสรุปไดวาสายไฟยังคงสามารถ
ใชงานได สําหรับแรงดึงในสายที่ตองออกแบบนอกเหนือจากนี้ เชน งานกอสรางเฉพาะจุด ใหยดึ ถือ
ตามตารางขอกําหนดของ กฟภ. ในหัวขอ 5.5 และผลการศึกษาของ CIRGRE

ตัวอยางที่ 2 จงคํานวณหาแรงดึงสูงสุดขณะขึงสายและระยะหยอนยานของสายในทางปฏิบัติของสายตัวนํา
อะลูมิเนียมแกนเหล็กขนาด 380/50 ตารางมิลลิเมตร ซึ่งมีพื้นที่หนาตัดจริงเทากับ 431.5 ตารางมิลลิเมตร
และน้ําหนักของสายเทากับ 1.443 กิโลกรัมตอเมตร เมื่อขึงสายที่มีระยะชวงเสา 80 เมตร ที่อณ ุ หภูมิ
30 องศาเซลเซียส โดยใชตารางที่ 5-2 และรูปที่ 5-5

ตารางที่ 5-2 แสดงคาความเคนใชงานของสายอะลูมิเนียมแกนเหล็ก ขนาด 380/50 ตารางมิลลิเมตร

และแสดงการหยอนยานของสายเปนรูปกราฟ ดังแสดงในรูปที่ 5-5


176

รูปที่ 5-5 การหยอนยานของสายเปนรูปกราฟ ของสายอะลูมิเนียมแกนเหล็ก


ขนาด 380/50 ตารางมิลลิเมตร

วิธีการคํานวณ
สายตัวนําอะลูมิเนียมแกนเหล็กขนาด 380/50 ตารางมิลลิเมตร
มีพื้นที่หนาตัดจริง = 431.5 มม2
= 431.5
100
= 4.315 ซม2

ุ หภูมิ 30 oC ที่ระยะชวงเสา 80 เมตร มีคาเทากับ


จากตารางที่ 5-2 คาความเคนใชงานที่อณ
804.35 กก./ซม2
หาแรงดึงสูงสุดขณะขึงสาย ; T0 = 804.35 x 4.315
= 3,470.77 กิโลกรัม

และจากกราฟในรูปที่ 5-5 คาระยะหยอนยานของสาย (Y) มีคาประมาณ 0.33 เมตร เมื่อระยะ


ชวงเสา (L) เทากับ 80 เมตร ที่อุณหภูมิ 30 oC หรือคํานวณไดจากสมการ (5.4) จะไดวา
WL 2
Y =
8T0
1.443 x 80 2
=
8 x 3,470.77
= 0.332 เมตร
177

ซึ่งระยะหยอนยานของสายทีค่ ํานวณไดตามสมการ (5.4) มีคาใกลเคียงกับระยะหยอนยานของ


สายที่อานไดจากกราฟ จึงสามารถใชงานไดอยางถูกตองและปลอดภัย สําหรับระยะชวงเสาที่นอ ยจะ
ทําใหดกู ราฟการหยอนยานไดคอนขางลําบาก ดังนั้นการใชสมการ (5.4) เพื่อคํานวณหาระยะหยอน
ยานของสายจะเปนการเหมาะสมและงายกวา
ตอไปจะหาแรงดึงสูงสุดขณะขึงสายที่อุณหภูมิเฉลี่ย 27 oC ที่ระยะชวงเสา 80 เมตร โดยตองหา
คาความเคนใชงานโดยการอินเตอรโพเลทคาที่อยูในระหวางคาที่อณุ หภูมิ 20 oC และอุณหภูมิ 30 oC
โดยแบงเปน 10 ชองเทาๆ กัน ซึ่งจากตารางที่ 5-2 จะไดวา

ความเคนใชงานที่อุณหภูมิเฉลี่ย 27 oC = (931.25 – 804.35)/10x(30-27) + 804.35


= 842.42 กก./ซม2
ดังนั้น T0 ที่อุณหภูมิเฉลี่ย 27 oC = 842.42 x 4.315
= 3,635.04 กิโลกรัม

คาระยะหยอนยานของสาย (Y) ที่อณ ุ หภูมิเฉลี่ย 27 oC ระยะชวงเสา 80 เมตร จะหาได


เชนเดียวกับตัวอยางที่ 1 แตเมื่อดูจากกราฟในรูปที่ 5-5 จะดูไดคอนขางลําบากซึ่งไมสามารถหาคาได
ดังนั้นจะทําการคํานวณ หาคาระยะหยอนยานของสายโดยใชสมการ (5.4) ซึ่งงายกวา จะไดวา

Y = WL2
8T0
= 1.443 x 80 2
8x3,635.04

= 0.317 เมตร

ตัวอยางที่ 3 จงคํานวณหาแรงดึงสูงสุดขณะขึงสายและระยะหยอนยานของสายในทางปฏิบัติของสายลอฟา
ซึ่งใชเปนลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 35 ตารางมิลลิเมตร ซึ่งมีพื้นที่หนาตัดจริงเทากับ 32.46 ตาราง
มิลลิเมตร และน้ําหนักของสายเทากับ 0.274 กิโลกรัมตอเมตร เมื่อขึงสายที่มีระยะชวงเสา 80 เมตร ที่
อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส โดยใชตารางที่ 5-3 และรูปที่ 5-6
178

ตารางที่ 5-3 แสดงคาความเคนใชงานของสายลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 35 ตารางมิลลิเมตร

และแสดงการหยอนยานของสายเปนรูปกราฟ ดังแสดงในรูปที่ 5-6

รูปที่ 5-6 การหยอนยานของสายเปนรูปกราฟ ของสายลวดเหล็กตีเกลียว


ขนาด 35 ตารางมิลลิเมตร
179

วิธีการคํานวณ
สายลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 35 ตารางมิลลิเมตร
มีพื้นที่หนาตัดจริง = 32.46 มม2
= 32.46
100
= 0.3246 ซม2

ุ หภูมิ 30 oC ที่ระยะชวงเสา 80 เมตร มีคาเทากับ


จากตารางที่ 5-3 คาความเคนใชงานที่อณ
2,015 กก./ซม2

หาแรงดึงสูงสุดขณะขึงสาย ; T0 = 2,015 x 0.3246


= 654.07 กิโลกรัม

และจากกราฟในรูปที่ 5-6 คาระยะหยอนยานของสาย (Y) มีคาประมาณ 0.34 เมตร เมื่อระยะ


ชวงเสา (L) เทากับ 80 เมตร ที่อุณหภูมิ 30 oC หรือคํานวณไดจากสมการ (5.4) จะไดวา

Y = WL2
8T0
= 0.274 x 80 2
8 x 654.07
= 0.335 เมตร

ซึ่งระยะหยอนยานของสายทีค่ ํานวณไดตามสมการ (5.4) มีคาใกลเคียงกับระยะหยอนยานของ


สายที่อานไดจากกราฟ จึงสามารถใชงานไดอยางถูกตองและปลอดภัย
ตอไปจะหาแรงดึงสูงสุดขณะขึงสายที่อุณหภูมิเฉลี่ย 27 oC ที่ระยะชวงเสา 80 เมตร โดยตองหา
ุ หภูมิ 20 oC และอุณหภูมิ 30 oC
คาความเคนใชงานโดยการอินเตอรโพเลทคาที่อยูในระหวางคาที่อณ
โดยแบงเปน 10 ชองเทาๆ กัน ซึ่งจากตารางที่ 5-3 จะไดวา

ความเคนใชงานที่อุณหภูมิเฉลี่ย 27 oC = (2,239 – 2,015)/10x(30-27) + 2,015


= 2,082.2 กก./ซม2
ดังนั้น T0 ที่อุณหภูมิเฉลี่ย 27 oC = 2,082.2 x 0.3246
= 675.88 กิโลกรัม
180

คาระยะหยอนยานของสาย (Y) ที่อุณหภูมิเฉลี่ย 27 oC ระยะชวงเสา 80 เมตร เมื่อดูจากกราฟใน


รูปที่ 5-6 จะไดคาประมาณ 0.32 เมตร และเมื่อใชสมการ (5.4) คํานวณจะไดวา

Y = WL2
8T0
= 0.274 x 80 2
8x675.88
= 0.324 เมตร

ตัวอยางที่ 4 จงคํานวณหาแรงดึงสูงสุดขณะขึงสายและระยะหยอนยานของสายในทางปฏิบัติของสาย
ลอฟาซึ่งใชเปนลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 50 ตารางมิลลิเมตร ซึ่งมีพื้นที่หนาตัดจริงเทากับ 46.88 ตาราง
มิลลิเมตร และน้ําหนักของสายเทากับ 0.392 กิโลกรัมตอเมตร เมื่อขึงสายที่มีระยะชวงเสา 80 เมตร ที่
อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส โดยใชตารางที่ 5-4 และรูปที่ 5-7

ตารางที่ 5-4 แสดงคาความเคนใชงานของสายลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 50 ตารางมิลลิเมตร

และแสดงการหยอนยานของสายเปนรูปกราฟ ดังแสดงในรูปที่ 5-7


181

รูปที่ 5-7 การหยอนยานของสายเปนรูปกราฟ ของสายลวดเหล็กตีเกลียว


ขนาด 50 ตารางมิลลิเมตร

วิธีการคํานวณ
สายลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 50 ตารางมิลลิเมตร
มีพื้นที่หนาตัดจริง = 46.88 มม2
= 46.88
100
= 0.4688 ซม2

ุ หภูมิ 30 oC ที่ระยะชวงเสา 80 เมตร มีคาเทากับ


จากตารางที่ 5-4 คาความเคนใชงานที่อณ
2,196.64 กก./ซม2
หาแรงดึงสูงสุดขณะขึงสาย ; T0 = 2,196.64 x 0.4688
= 1,029.78 กิโลกรัม

และจากกราฟในรูปที่ 5-7 คาระยะหยอนยานของสาย (Y) มีคาประมาณ 0.30 เมตร เมื่อระยะ


ชวงเสา (L) เทากับ 80 เมตร ที่อุณหภูมิ 30 oC หรือคํานวณไดจากสมการ (5.4) จะไดวา

Y = WL2
8T0
= 0.392 x 80 2
8 x 1,029.78
= 0.304 เมตร
182

ซึ่งระยะหยอนยานของสายทีค่ ํานวณไดตามสมการ (5.4) มีคาใกลเคียงกับระยะหยอนยานของ


สายที่อานไดจากกราฟ จึงสามารถใชงานไดอยางถูกตองและปลอดภัย
ตอไปจะหาแรงดึงสูงสุดขณะขึงสายที่อุณหภูมิเฉลี่ย 27 oC ที่ระยะชวงเสา 80 เมตร โดยตองหา
ุ หภูมิ 20 oC และอุณหภูมิ 30 oC
คาความเคนใชงานโดยการอินเตอรโพเลทคาที่อยูในระหวางคาที่อณ
โดยแบงเปน 10 ชองเทาๆ กัน ซึ่งจากตารางที่ 5-4 จะไดวา

ความเคนใชงานที่อุณหภูมิเฉลี่ย 27 oC = (2,384.13-2,196.64)/10x(30-27) + 2,196.64


= 2,252.88 กก./ซม2
o
ดังนั้น T0 ที่อุณหภูมิเฉลี่ย 27 C = 2,252.88 x 0.4688
= 1,056.15 กิโลกรัม

คาระยะหยอนยานของสาย (Y) ที่อุณหภูมเิ ฉลี่ย 27 oC ระยะชวงเสา 80 เมตร เมื่อดูจากกราฟใน


รูปที่ 5-7 จะไมสามารถประมาณคาที่ถูกตองได ดังนัน้ จึงใชสมการ (5.4) คํานวณ ซึ่งจะไดวา

Y = WL2
8T0
= 0.392 x 80 2
8x1,056.15
= 0.296 เมตร

จากตัวอยางทัง้ หมดที่ไดกลาวมา จะเห็นไดวาในทางปฏิบัตินั้นสามารถหาคาแรงดึงในสายได


จากตารางความเคนใชงานและหาคาระยะหยอนยานของสายไดจากกราฟการหยอนยานของสาย ซึ่งทํา
ใหสะดวกและงาย แตจะมีขอเสียจุดหนึ่งคือในกราฟการหยอนยานของสายที่ระยะชวงเสามีคานอยจะ
ไมสามารถหาคาระยะหยอนยานของสายที่ถูกตองใกลเคียงได ซึ่งการปฏิบัติโดยทั่วไปจะใชสมการ (5.4)
ทําการคํานวณหาคาออกมาแทนการดูกราฟการหยอนยานของสาย

5.8 ขอแนะนําในการขึงสายไฟฟา
ตามที่ไดกลาวมาทั้งหมดจะเปนกลาวถึงทีม่ าของแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสาย ซึ่ง
หาคาไดจากการคํานวณตามทฤษฎีและในทางปฏิบัติ ซึ่งในทางปฏิบตั ิจะหาคาไดจากตารางความเคนที่
ใชงานและกราฟการหยอนยานของสาย โดยผลที่ไดออกมาจะมีคาเทากัน แตทั้งนีห้ ากการปฏิบัติงานขึง
สายไฟฟาทีห่ นางานจริงไมดําเนินการตามขั้นตอนใหถูกตองตามกฎที่กําหนดไว ก็อาจทําใหสายไฟฟามี
แรงดึงในสายไมถูกตองตามสภาวะแวดลอมนั้นได เชน แรงดึงในขณะขึงสายใชตามตารางความเคนที่
183

ใชงานที่อุณหภูมิลอมรอบ 30 องศาเซลเซียส ( สายไฟฟาจะมีอุณหภูมิมากกวา 30 องศาเซลเซียส เมื่อทําการ


จายไฟแลว) โดยคลาดเคลื่อนจากอุณหภูมลิ อมรอบจริงหนางานทีว่ ัดได 35 องศาเซลเซียส ผลที่เกิดขึ้น
จะทําใหสายไฟฟาเสนนี้มแี รงดึงในสายสูงกวาที่เปนจริงตลอดเวลาไมวา อุณหภูมิลอมรอบจะเปลีย่ นแปลง
ต่ําลงหรือสูงขึ้นก็ตาม และแรงดึงในสายอาจเกินกวาคาสูงสุดตามขอกําหนดของ กฟภ. ได เปนเหตุให
ทั้งสายไฟฟาและโครงสรางเกิดความเสียหายขึ้นได ในทางตรงกันขามหากแรงดึงในขณะขึงสายใชตาม
ตารางความเคนที่ใชงานที่อณ ุ หภูมิลอมรอบ 40 องศาเซลเซียส ซึ่งคลาดเคลื่อนจากอุณหภูมิลอมรอบจริง
หนางานทีว่ ัดได 35 องศาเซลเซียส ผลที่เกิดขึ้นจะทําใหสายไฟฟาเสนนี้มีแรงดึงในสายต่ํากวาที่เปนจริง
ตลอดเวลาไมวา อุณหภูมิลอมรอบจะเปลี่ยนแปลงต่ําลงหรือสูงขึ้นก็ตาม โดยหากอุณหภูมิลอมรอบจริงที่
หนางานกลายเปน 45-50 องศาเซลเซียส สายไฟเสนดังกลาวนี้จะมีอณ ุ หภูมิสูงกวา 70 องศาเซลเซียส
(รวมอุณหภูมิของสายไฟฟาที่สูงขึ้นเมื่อมีกระแสไฟฟาไหลผาน) ซึ่งอาจสูงกวาอุณหภูมสิ ูงสุดตามขอกําหนด
ของ กฟภ. ได เปนเหตุใหสายไฟฟามีระยะหยอนยานของสายสูงกวาปกติ ทําใหระยะหางทางไฟฟาใน
แนวดิ่งเหนือพื้นดินหรือทางสัญจรมีคาไมเพียงพอตามมาตรฐาน กฟภ. ได
ดังนัน้ การขึงสายไฟฟาโดยใชแรงดึงไมวา จะไดจากการคํานวณ หรือทีไ่ ดจากตารางความเคนที่ใช
งานของสาย สมควรอยางยิ่งที่จะตองใชคาที่สอดคลองกับอุณหภูมิลอมรอบที่วดั ไดทหี่ นางานกอสรางจริง
ซึ่งจะทําใหคาแรงดึงในสายและระยะหยอนยานของสายมีการเปลี่ยนแปลงคาอยูในชวงที่ออกแบบไว ผล
จะทําใหโครงสรางเสารวมทั้งระยะหางทางไฟฟาในแนวดิ่งเหนือพื้นดินหรือทางสัญจรมีคาเพียงพอเสมอ
ซึ่งตอไปนี้จะไดกลาวถึงคําแนะนําในการขึงสายไฟฟาทีถ่ ูกตองตามมาตรฐาน กฟภ. โดยกําหนดไวเปน
กฎและขอบังคับทั่วไปสําหรับมาตรฐานการกอสรางขอแนะนําในการขึงสายไฟฟา ตามแบบมาตรฐาน
เลขที่ SO2-015/19101 (การประกอบเลขที่ 9401) ทั้งนี้ไดดัดแปลงคําแนะนําบางขอเพื่อใหสอดคลองกับ
การกอสรางระบบสายสง 115 kV และจะตองถือปฏิบัติอยางเครงครัดเพื่อความถูกตองและปลอดภัย
ซึ่งรายละเอียดทั้งหมดมีดังนี้
คําแนะนําในการขึง (พาด) สายไฟฟา
1. ในการขึงสายไฟฟาหรือสายลอฟาใหใชรอกรองรับสาย
2. ตองปองกันสายไมใหชํารุดเนื่องจากการครูดกับพื้นดิน หรือสิ่งอื่นในขณะขึงสาย
3. จัดลอที่มวนสายใหอยูในทิศทางที่คลี่สายออกไดตั้งฉากกับแกนลอ
4. สายใหมทยี่ ังไมเคยขึงมากอน อยาขึงใหระยะหยอนยาน (sag) หยอนกวาคาที่อานไดจาก
กราฟการหยอนยานของสาย
5. สายใหมทยี่ ังไมเคยขึงมากอน ตองขึงใหระยะหยอนยานไดตามคาในกราฟการหยอนยาน
ขั้นสุดทายโดยคิดที่อุณหภูมติ ่ํากวาอุณหภูมิลอมรอบกลาวคือ สายอะลูมิเนียมเปลือย , สาย
อะลูมิเนียมแกนเหล็ก และสายอะลูมิเนียมเจือ กําหนดใหต่ํากวา 10 องศาเซลเซียส เชน ถา
อุณหภูมิลอมรอบวัดได 30 องศาเซลเซียส ใหใชอณ ุ หภูมิในกราฟการหยอนยานของสายที่
184

คา 20 องศาเซลเซียส สวนสายลวดเหล็กตีเกลียว กําหนดใหต่ํากวา 5 องศาเซลเซียส เชน


ถาอุณหภูมิลอมรอบไววดั 30 องศาเซลเซียส ใหใชอุณหภูมใิ นกราฟการหยอนยานของสาย
ที่คา 25 องศาเซลเซียส
6. สายที่เคยขึงมาแลว ขึงใหระยะหยอนยานเปนไปตามคาในตารางการหยอนยานขั้นสุดทาย
7. ระยะระหวางจุดที่ตอสายกับจุดเขาปลายสาย หรือจุดที่ลกู ถวยรองรับไมควรนอยกวา 4 เมตร
8. ระยะชวงเสาในการขึงสาย ใหดใู นแบบมาตรฐานการกอสรางระบบสายสง 115 kV ที่
เกี่ยวของ เชน แบบการกอสรางตามแบบการประกอบเลขที่ 5151
9. ในการจัดเก็บสายหรือลอมวนสาย อยาใหลอมวนสายผุและตองปองกันไมใหสายชํารุดใน
ระหวางทีเ่ ก็บ

ในคําแนะนําดังกลาวทั้ง 9 ขอ ใชสําหรับการขึงสายไฟฟาเปนไปตามหลักการที่ถูกตอง ทั้งนี้


เพื่อใหสายไฟฟาหลังจากขึงสายแลวอยูใ นสภาพที่สมบูรณที่สุด ในดานทางกายภาพเพื่อไมใหสายไฟฟา
มีรอยถลอกหรือชํารุด ซึ่งเปนสาเหตุใหเกิดปรากฏการณทางไฟฟาดานตางๆ ตามมา เชน รอยขรุขระจะ
ทําใหแรงดันไฟฟาวิกฤติที่ลดลง (แรงดันไฟฟาที่ทนตอการเกิดเบรกดาวนลดลง) โอกาสที่จะเกิดการ
ลัดวงจรระหวางเฟสมีสูงขึ้น รวมทั้งทําใหเกิดกําลังสูญเสียที่เกิดจากโคโรนาเพิ่มขึ้น และอื่นๆ ดังนั้น
ในการขึงสายทุกๆ ครั้งจะตองปฏิบัติตามคําแนะนําอยางเครงครัด ซึ่งภายหลังจากไดทราบคําแนะนําใน
การขึงสายแลว ตอไปจะกลาวถึงวิธีขึง (พาด) สายและการวัดระยะหยอนยานของสาย โดยกําหนดไว
เปนแบบมาตรฐานเลขที่ Z00/13012 (การประกอบเลขที่ 9402) ซึ่งไดระบุเกีย่ วกับเครือ่ งมือที่ใชงาน ซึ่ง
เครื่องมือที่จําเปนตองใชโดยหามขาดคือ เทอรโมมิเตอร และตารางการหยอนยานของสาย สวน
เครื่องมืออื่นๆ ตามที่ระบุไวอาจจะไมตองนํามาใชในงานกอสรางในปจจุบันได เชน ไมวดั ระดับมีลูกน้ํา
หรือ สกรูแคลมป เนื่องจากการขึงสายโดยวิธีอื่นอาจจะมีความเหมาะสมมากกวา แตในทุกๆ วิธีการ
ขึงสายก็มีวิธีการปฏิบัติเหมือนกันคือ อันดับแรกตองหาระยะหยอนยานของสายจากกราฟการหยอนยาน
ของสายเสียกอน โดยตองทราบขนาดของสายไฟฟาทีใ่ ชงาน ระยะชวงเสา และอุณหภูมิลอมรอบ ซึ่งเมื่อ
ไดระยะหยอนยานแลวก็ทําการขึงสายซึ่งอาจมีไดหลายวิธี แตสุดทายแลวจะตองมีการปรับจุดต่ําสุดของ
สายใหมีระยะหยอนยานของสายเปนไปตามกราฟการหยอนยานของสายชนิดนั้นๆ แตในบางครั้งการ
ขึงสายที่ตองใชคาระยะหยอนยานของสายอาจจะทําใหไมสะดวกในการใชงานได เชน มีอุปกรณใชงาน
ไมครบ หรืออุปกรณชํารุด ดังนั้นจึงมีอกี หนึ่งวิธีสําหรับการขึงสายคือ การใชคาแรงดึงขณะขึงสายแทน
การใชคาระยะหยอนยานของสาย ซึ่งแรงดึงขณะขึงสายจะไดจากคาความเคนใชงานในตารางความเคนที่
ใชงานคูณดวยพื้นทีห่ นาตัดจริงของสาย หรือไดจากสมการ (5.5) และจะใชไดนาโมมิเตอร (dynamometer)
เปนตัวดูคาแรงดึงขณะขึงสายเพื่อใหเปนไปตามที่กําหนดไว ดังนัน้ ทีห่ นางานควรจะตองพิจารณาถึงความ
เหมาะสมในการหาวิธีการขึงสายวาแบบใดจะมีความคลองตัวและสะดวกมากกวาก็ควรจะใชวิธีการนั้น
185

สําหรับสูตรที่ใชในการคํานวณระยะหยอนยานของสาย ที่กําหนดไวในแบบมาตรฐานเลขที่
SO2-015/19101 (การประกอบเลขที่ 9401) จะมีอยู 2 สูตร คือ สูตรในการหาคาระยะหยอนยานของสาย
ซึ่งจะเหมือนกับสมการ (5.4) และสูตรในการหาคาความเคนในสาย f1 หรือ f2 ซึ่งจะมีทั้งตัวแปรและ
รูปแบบของสมการเชนเดียวกับสมการ (5.20) และ (5.21) เพียงแตในสูตรความเคนตามสมการ (5.22) นี้
เมื่อไดคาความเคนในสายออกมาแลวจะตองคูณดวยพืน้ ที่หนาตัดจริงของสายก็จะไดคาแรงดึงในสาย
เพื่อใชงานตอไป สําหรับเอกสารอางอิงเรื่องความเคนสูงสุดของสายที่ยอมใหได กําหนดเปนไปตาม
มาตรฐาน วีดอี ี 0210/5.69 (VDE 0210/5.69) และความยาวระยะชวงเสากําหนดเปนไปตามมาตรฐาน วีดีอี
0210/5.62 (VDE 0210/5.62)

5.9 การหาคาแรงลมปะทะเสาไฟฟาและปะทะสายไฟฟา
ความหมายของแรงลม (wind force) คือ เมื่อมีลมพัดปะทะวัตถุหรือพื้นผิวใดๆ จะเกิดแรง
กระทําตอพื้นผิวนั้น มีขนาดเปนแรงตอหนวยของพื้นที่ ซึ่งมักจะใชคาเปนกิโลกรัมตอตารางเมตร
(kg/m2) หรือ ปอนดตอตารางนิ้ว (lb/in2) โดยขนาดของแรงลมที่กระทําตอวัตถุทลี่ มพัดกระทบจะมีคา
นอยหรือมากขึ้นอยูกับความเร็วของลมนั้น เชน ลมพัดแรงคือลมที่มีความเร็วมากจะทําใหเกิดแรง
กระทําที่พื้นผิวของวัตถุมากตาม โดยความเร็วของลมในปจจุบนั จะพิจารณาไดจากขอมูลของกรม
อุตุนิยมวิทยา ซึ่งไดกาํ หนดเปนตารางชือ่ วาสัญลักษณทแี่ สดงบนบก โดยจะอธิบายปรากฏการณตางๆ ที่
เปนผลของลมในระดับความเร็วตางๆ ซึ่งในการคํานวณหาแรงลมหรือ wind force ที่ปะทะเสาไฟฟา
(Pปะทะเสา) หรือปะทะสายไฟฟา (Pปะทะสาย) ของ กฟภ. จะอธิบายไดดังนี้

1. การหาคาแรงลมปะทะเสาไฟฟา (Pปะทะเสา)
จะเริ่มตนโดยที่ กฟภ. ไดกําหนดความเร็วลมตามมาตรฐาน National Electrical Safety Code
(NESC) ประเทศสหรัฐอเมริกา ใชกฎขอที่ 250C ซึ่งเปนกรณี Extreme wind loading เนื่องจากมีความสูง
ของเสา คอร. เหนือพืน้ ดิน หรือ จุดติดตัง้ สายไฟฟาเกิน 18 เมตร (60 ฟุต) ( กฟภ.ใชเสา คอร.ขนาด
22.00 เมตร) จึงตองใชกฎขอที่ 250 C ซึ่งคาแรงลมปะทะเสาที่ไดจะเปนสภาวะที่ไมมีน้ําแข็งเกาะ
(without ice) และจะนําคาทีไ่ ดไปใชคํานวณหาโมเมนตท่เี กิดบนเสา คอร. ขนาด 22.00 เมตร ตอไป ซึ่ง
ดูรายละเอียดการคํานวณโมเมนตทเี่ กิดบนเสา คอร. ไดในหัวขอ 5.10 ดังนั้นจะไดวา

โหลดที่ถูกลมปะทะ (ปอนด) = 0.00256 x V2 x kZ x GRF x I x Cd x A (5.23)

โดยที่ kZ = Velocity Pressure Exposure Coefficient


V = Basic Wind Speed ที่ 10 เมตรจากพื้นดิน (ไมลตอชั่วโมง)
186

GRF = Gust Response Factor


I = Importance Factor
Cd = Shape Factor
A = Projected wind area (ตารางฟุต)

สําหรับคาตัวแปรตางๆ จะหาไดจากตารางตางๆ ในกฎขอ 250 C โดยจะใชความสูง (height :


h) ที่คาระหวาง 15 ถึง 25 เมตร ซึ่งจะไดวา kZ (structure) = 1.10 , GRF (structure) = 0.93 , I = 1.0 , Cd =
1.6 และคา Basic Wind Speed จะกําหนดที่ 60 ไมลตอ ชั่วโมง (mile/h) หรือ 96.6 กิโลเมตรตอชั่วโมง
(km/h) ซึ่งในสวนของความเร็วลมที่ใชงานที่ 60 ไมลตอชั่วโมง หรือ 96.6 กิโลเมตรตอชั่วโมง จะใช
ตามมาตรฐาน NESC ในกรณีแรงลมปะทะในแนวราบ (horizontal wind pressure) ประเภทต่ําไมมี
น้ําแข็งเกาะ (light loading districts without ice) ซึ่งมีคา 9 ปอนดตอตารางฟุต และเมื่อไดคาทั้ง
หมดแลวก็นําไปแทนในสมการ (5.23) ซึ่งจะไดวา

โหลดที่ถูกลมปะทะ (ปอนด) = 0.00256 x (60)2 x 1.10 x 0.93 x 1.0 x 1.60 x A


= 0.004 x (60)2 x 1.10 x 0.93 x 1.0 x A
= 15.08 x A
จากสูตร P(ปะทะเสา) = โหลดที่ถูกลมปะทะ (ปอนด) / A
ดังนั้น P(ปะทะเสา) = 15.08 ปอนด/ตารางฟุต (lb/ft2)
15.08/ 2.204
หรือ =
(0.3048 x 0.3048)
= 73.64 กิโลกรัม / ตารางเมตร (kg/m2)
≅ 80 กิโลกรัม / ตารางเมตร
ดังนั้นแรงลมปะทะเสา P(ปะทะเสา) มีคาเทากับ 80 กิโลกรัม / ตารางเมตร โดยเหตุผลที่ปด ขึ้นให
เปนเลขจํานวนเต็มก็เพื่องายตอการจําและคํานวณ ซึ่งในหัวขอตอไปจะไดเห็นการแทนคาแรงลม
ดังกลาวนีเ้ พื่อหาคาแรงดัด (bending moment : B.M.) ที่เกิดขึ้นจริงบนเสา คอร.

2. การหาคาแรงลมปะทะสายไฟฟา (Pปะทะสาย)
ในการหา Pปะทะสาย จะใชสมการเดียวกันกับกรณีหาคา Pปะทะเสา และคาตัวแปรตางๆ จะหาได
จากตารางตางๆ ในกฎขอ 250 C โดยจะใชความสูง (height : h) ที่คาระหวาง 15 ถึง 25 เมตร
เชนเดียวกันเพียงแตคาของตัวแปร kZ (structure) , GRF(structure) และ Cd จะเปลีย่ นไป ดังนั้นจะไดวา kZ
(wire) = 1.20, I = 1.0 , Cd = 1.0 (สายไฟมีลักษณะกลม) , Basic Wind Speed = 60 ไมลตอชั่วโมง หรือ
187

96.6 กิโลเมตรตอชั่วโมง และคา GRF (wire) = 0.80 ที่ระยะชวงเสา (L) ระหวาง 75 ถึง 150 เมตร ทั้งนี้
เนื่องจากทางตรงมีระยะ 80 เมตร หลังจากนั้นนําคาทั้งหมดแทนในสมการ (5.23) จะไดวา

โหลดที่ถูกลมปะทะ (ปอนด) = 0.00256 x (60)2 x 1.20 x 0.80 x 1.0 x 1.0 x A


= 8.847 x A
จากสูตร P(ปะทะสาย) = โหลดที่ถูกลมปะทะ (ปอนด) / A
ดังนั้น P(ปะทะสาย) = 8.847 ปอนด/ตารางฟุต (lb/ft2)
8.847/ 2.204
หรือ =
(0.3048 x 0.3048)
= 43.208 กิโลกรัม / ตารางเมตร (kg/m2)
≅ 40 กิโลกรัม / ตารางเมตร
ดังนั้นแรงลมปะทะสาย P(ปะทะสาย) มีคาเทากับ 40 กิโลกรัม / ตารางเมตร โดยเหตุผลที่ปดลงให
เปนเลขจํานวนเต็มก็เพื่องายตอการคํานวณและเพื่อจําไดงายวาแรงลมปะทะเสา P(ปะทะเสา) มีคาเทากับ
80 กิโลกรัม / ตารางเมตร และแรงลมปะทะสาย P(ปะทะสาย) มีคาเทากับ 40 กิโลกรัม / ตารางเมตร ซึ่ง
แรงลมปะทะสายมีคาเปนครึ่งหนึ่งของแรงลมปะทะเสา แตการปดตัวเลขลงดังกลาวก็จะยังคงทําให
โครงสรางเสามีความมั่นคงแข็งแรงเพียงพอ ซึ่งในหัวขอตอไปจะไดเห็นการแทนคาแรงลมดังกลาวนี้
เพื่อหาคาแรงดัด (bending moment : B.M.) ที่เกิดขึ้นจริงบนเสา คอร.

5.10 ความมั่นคงแข็งแรงของเสาไฟฟาคอนกรีตอัดแรง (คอร.)


ในหัวขอ 5.9 ที่ผานมาไดทราบถึงที่มาของแรงดันลม (P) ปะทะสายไฟฟาและเสาไฟฟาที่ กฟภ.
ใชงาน สําหรับในหัวขอนี้จะกลาวถึงความสามารถในการรับแรงดัด (bending moment : B.M.) ของเสา
คอนกรีตอัดแรง (คอร.) ที่มีการติดตั้งสายไฟฟาและอุปกรณตางๆ บนเสาไฟฟา ซึ่งความหมายของ B.M.
จะหมายถึงเมื่อมีแรงลมกระทําตอวัสดุที่ยดึ อยูกับทีใ่ นลักษณะทีแ่ รงนั้นพยายามทําใหวตั ถุนั้นหมุนไปตาม
ทิศทางของแรงที่มากระทํา ซึ่งเปนผลคูณระหวางแรงทีก่ ระทํากับระยะหางในแนวตัง้ ฉากจากแนวแรงไป
ยังจุดหมุน เปนไปตามสมการ

B.M. = FxS (5.24)

โดยที่ B.M. = แรงดัด (bending moment : B.M.) ตัน –เมตร (T-m) หรือ กิโลกรัม-เมตร (kg-m)
F = แรงทีก่ ระทําตอวัตถุ (horizontal force applied) กิโลกรัม (kgf)
S = ระยะหางในแนวตัง้ ฉากจากจุดทีแ่ รงกระทําไปยังจุดหมุน เมตร (m)
(perpendicular distance to the point where the failure may occur)
188

เพื่อที่จะเขาใจไดงายขึ้น ขอใหดใู นรูปที่ 5-8 ซึ่งเปนการยกตัวอยางการปกเสาขนาดยาว 1 เมตร


ยึดแนนกับพื้นที่จุด A และมีแรงขนาด 2 กิโลกรัมกระทําที่จุด B ซึ่งอยูที่ปลายเสา ดังรูป

รูปที่ 5-8

จากสูตรขางตน
B.M. ที่เกิดขึ้นที่จุด A = FxS
= 2x1
= 2 กิโลกรัม-เมตร

จากรูปที่ 5-8 หากพิจารณาเปนการฝงเสาคอนกรีตในพืน้ ดิน จะแทนคาใหมโดยใชความสูงของ


เสาคอนกรีต (H) แทนคา S ดังนั้นจะเขียนสมการใหมไดวา

B.M. = FxH (5.25)

โดยที่ B.M. = แรงดัด (bending moment : B.M.) ตัน –เมตร (T-m) หรือ กิโลกรัม-เมตร (kg-m)
F = แรงทีก่ ระทําตอเสาคอนกรีต กิโลกรัม (kgf)
H = ความสูงของเสาคอนกรีตที่อยูเหนือพื้นดิน เมตร (m)

โดยทั่วไปวัตถุแตละชนิดจะมีความสามารถในการรับ B.M. ไมเทากัน ซึ่งวัตถุจะสามารถรับคา


B.M. ไดสูงสุดอยูคาหนึ่ง ถาหากแรงที่มากระทําทําใหเกิด B.M. มีคาสูงเกินกวาที่วตั ถุนั้นจะรับได วัตถุ
นั้นก็จะเกิดการแตกหักหรือราวซึ่งขึ้นอยูกับวาจะเปนวัตถุชนิดใด ในที่นี้ กฟภ. ไดใชเสาคอนกรีตอัดแรง
เปนตัวรับ B.M. ที่เกิดขึ้น โดยความสามารถในการรับ B.M. ของเสาคอนกรีตมีหนวยเปน ตัน-เมตร
189

หรือ กิโลกรัม-เมตร (1 ตัน –เมตร เทากับ 1000 กิโลกรัม – เมตร) ทั้งนีค้ า B.M. ที่เกิดขึ้นกับเสาไฟฟาจะ
แบงไดเปน 3 ชนิด คือ
1. B.M. ที่เกิดจากแรงดึงในสายไฟ จะเกิดขึ้นในกรณีที่สายไฟมีการเขาปลายสายที่เสาตน
สุดทายโดยไมมีสายยึดโยง หรือเกิดจากการพาดสายไฟไมเปนแนวตรงทําใหเกิดแรงลัพธ
ตั้งฉากกับหนาเสาเนื่องจากมุมเบี่ยงเบนของสายไฟ
2. B.M. ที่เกิดจากแรงลม โดยจะเกิดเฉพาะเวลาที่มีลมพัดมาปะทะกับเสาไฟฟาหรือสายไฟฟา
รวมทั้งอุปกรณอื่นๆ ดวยทีต่ ิดตั้งอยูบนเสาไฟฟา
3. B.M. ที่เกิดจาก eccentric load โดยเกิดจากการติดตั้งอุปกรณบนเสาไฟฟาทีห่ นักไป
ทางดานใดดานหนึ่งของเสาไฟฟา เชน หมอแปลงไฟฟาชนิดแขวนบนเสา หรือการติดตั้ง
คอนรับสายขางเดียวสําหรับสายสง 115 kV ลักษณะวงจรเดี่ยว

สําหรับความสามารถในการรับ B.M. ของเสาคอนกรีตอัดแรงขนาดตางๆ ของ กฟภ. จะเรียกวา


โมเมนต ซึ่งมีการกําหนดอยู 2 ชื่อ โดยเปนโมเมนต ณ จุดฝงดิน (จุด A) ตามรูปขางตน ดังนี้
1. โมเมนตใชงาน (working moment)
2. โมเมนตสูงสุด (breaking moment)

โดยโมเมนตสงู สุดจะมีคาเปนสองเทาของโมเมนตใชงาน ซึ่งในการออกแบบใชงานเสาไฟฟา


คอนกรีตอัดแรงของ กฟภ. จะตองกําหนดใหคา B.M. ที่ยอมใหเกิดไดไมเกินโมเมนตใชงาน ซึ่งถา B.M.
ที่เกิดขึ้นจริงเริ่มเกินโมเมนตใชงานจะทําใหเสา คอร. เริ่มเกิดรอยราวที่ตัวเสาโดยทีเ่ สายังไมหัก แตถา
B.M. ที่เกิดขึน้ จริงเทากับโมเมนตสูงสุดจะทําใหเสา คอร. หักทันที ยกตัวอยางเชน เสา คอร.ขนาด 22.00
เมตร มีคาโมเมนตใชงานเทากับ 18,000 กิโลกรัม-เมตร และมีโมเมนตสูงสุด เทากับ 36,000 กิโลกรัม-
เมตร ดังนั้นการออกแบบตองกําหนดใหมีคา B.M. ที่เกิดขึ้นจริงไมเกิน 18,000 กิโลกรัม-เมตร เสา คอร.
จึงจะยังมีความมั่นคงแข็งแรงเพียงพอไมเกิดรอยราวขึ้น
ตามที่ไดกลาวแลววา B.M. ที่เกิดขึ้นกับเสาไฟฟาจะแบงไดเปน 3 ชนิด ซึ่งทั้ง 3 ชนิดก็จะตอง
ทําการหาคา F ออกมา เพื่อวาในขั้นตอนสุดทายเมื่อคูณดวยคา H แลว จะไดคา B.M. ที่ไมเกินโมเมนต
ใชงานของเสาคอนกรีต โดยสมการที่ใชหาคา B.M. ของแตละชนิด มีดงั นี้

1. B.M. ที่เกิดจากแรงดึงในสายไฟ จะแบงไดเปน 2 กรณี คือ


1.1 B.M. ที่เกิดจากแรงลัพธเนื่องจากสายไฟฟามีมุมเบีย่ งเบนดึงในสายไฟ (BMθ)
กรณีพาดสายไฟไมเปนแนวตรงทําใหเกิดแรงลัพธตั้งฉากกับหนาเสาเนื่องจากมุมเบี่ยงเบน
ของสายไฟ โดยจะเกิดขึ้นในกรณีทกี่ ารกอสรางปกเสาแลว ทําใหสายไฟฟามีมุมเบีย่ งเบนเกิดขึ้น ซึ่งถา
190

สายไฟฟามีแนวสายที่ตรง ก็จะไมทําใหเกิด B.M. ที่เกิดจากแรงดึงในสายไฟขึ้น โดยมีสมการคือ

θ
BMθ = 2 x T x sin x n x H (5.26)
2

โดยที่
T = แรงดึงในสายไฟฟา (tension) กิโลกรัม (kgf)
θ = มุมเบี่ยงเบนระหวางเสา (สายไฟฟา) องศา (degree)
n = จํานวนสายไฟ เสน (wire)
H = ความสูงจากพื้นถึงจุดยึดคอนสาย เมตร (m)

ทั้งนี้แรงดึงในสาย (T) ที่จะแทนลงในสมการ (5.26) หาไดจากสมการ (5.5) , (5.20) , (5.21)


หรือ (5.22) โดยแรงดึงจะตองมีคาเทากันทั้งสองดานของเสาตนที่กําลังพิจารณา B.M. ที่เกิดขึ้น แตหาก
แรงดึงในสายมีคาไมเทากันจะใชสมการดังกลาวไมได ซึ่งโดยทั่วไปงานกอสรางจะออกแบบใหมี
คาแรงดึงในสายเทากันอยูแ ลว

1.2 B.M. ที่เกิดจากแรงดึงในสายไฟ กรณีสายไฟมีการเขาปลายสายที่เสาตนสุดทายโดย


ไมมีสายยึดโยง
จะเกิดขึ้นในกรณีที่สายไฟฟามีการเขาปลายสายทีเ่ สาตนสุดทายโดยที่ไมมีสายยึดโยง แต
ถามีการติดตั้งสายยึดโยงก็จะไมเกิด B.M. ขึ้นที่เสาไฟฟา เปนเพราะวาสายยึดโยงจะรับแรงดึงใน
สายไฟฟาแลวถายลงชุดสมอบกตอไป สําหรับแรงดึงในสายใหใชสมการ (5.25) ในการคํานวณ โดยที่
F หรือในที่นี้คอื แรงดึงในสายที่เกิดขึ้นจะหาจากสมการ (5.5) , (5.20) , (5.21) หรือ (5.22)

2. B.M. ที่เกิดจากแรงลม
2.1 B.M. ที่เกิดจากแรงลมปะทะเสาไฟฟา (BMP)
ลําดับแรกจะคํานวณหาพื้นที่เสาทีต่ านแรงลม ซึ่งในการคํานวณพืน้ ที่เสาทีร่ ับแรงลมนั้น
จะคํานวณพื้นที่ของหนาเสาที่อยูเหนือระดับพื้นดินขึน้ ไป โดยแสดงดังรูปที่ 5-9
191

รูปที่ 5-9

โดยที่ H = ความสูงของเสาไฟฟา เมตร (m)


h = ความสูงของเสาไฟฟาที่อยูเหนือพื้นดิน เมตร (m)
s = ความลึกของเสาไฟฟาที่ปกลงในดิน เมตร (m)
A = ความกวางของปลายเสาไฟฟา เซนติเมตร (cm)
B = ความกวางของฐานเสาไฟฟา เซนติเมตร (cm)
C = ความกวางของเสาไฟฟาที่ระดับพืน้ ดิน เซนติเมตร (cm)

ซึ่งจากรูปที่ 5-9 จะหาคาความกวางของเสาไฟฟาที่ระดับพื้นดิน ไดคือ

C = A +
(B - A) h เซนติเมตร (cm)
H

เมื่อไดคา C แลว จะหาคาพืน้ ที่เสาที่รับแรงลม (Ap) ไดคอื

Ap = (0.005) (A + C) h ตารางเมตร (m2)

เมื่อไดคา Ap แลวตอไปจะคํานวณหาจุดศูนยถวงของเสาไฟฟา (center of gravity : CG) โดย


จุดศูนยถวงของเสาไฟฟาจะเปนจุดที่สมมติใหแรงลมที่ปะทะเสากระทําตอเสาที่จุดนี้ ซึ่งในความเปน
จริงเมื่อมีลมปะทะเสาแรงลมจะกระทําทั่วพื้นผิวของเสาที่รับลม แตการที่กําหนดใหแรงลมกระทําที่จุด
CG จุดเดียวก็เพื่อสะดวกในการคํานวณ โดยคา CG ที่คํานวณไดจะเปนจุดศูนยกลางของพื้นที่เสาสวนที่
รับลมที่อยูเหนือพื้นดินขึ้นไป ดังนั้นตําแหนงจุด CG เหนือพื้นดินคํานวณไดจากสูตร
192

CG = h - h . 2C + A เมตร (m)
3 C+A

ดังนั้น B.M. ที่เกิดจากแรงลมปะทะเสาไฟฟา จะไดจากสมการ

BMP = Pปะทะเสา x Ap x CG (5.27)

โดยที่ Pปะทะเสา = แรงลมที่ปะทะเสาคอนกรีต (ดูในหัวขอ 5.9) กิโลกรัม (kgf)

2.2 B.M. ที่เกิดจากแรงลมปะทะสายไฟฟา (BMC)


ซึ่งเริ่มตนดวยการนําสมการ (5.25) มาพิจารณาคือ

B.M. = FxH

ดังนั้นเปลี่ยนคา F เปนแรงลมทั้งหมดที่กระทําตอสายในชวงระยะที่ลมปะทะ (Lwind) ซึ่ง


หาคา B.M. ที่เกิดจากแรงลมปะทะสายไฟฟา ไดวา

BMC = (WW x Lwind x n) x H


= (Pปะทะสาย x d x Lwind x n) x H
= Pปะทะสาย x d x Lwind x n x H (5.28)

โดยที่ Pปะทะสาย = แรงลมที่ปะทะสายไฟฟา กิโลกรัม (kgf)


d = เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา เมตร (m)
Lwind = ชวงระยะที่ลมปะทะ เมตร (m)
n = จํานวนสายไฟฟา เสน (wire)
H = ความสูงของเสาไฟฟา เมตร (m)

โดยที่ Pปะทะสาย สามารถดูรายละเอียดการหาไดในหัวขอ 5.9 และตัวแปร Pปะทะสาย นี้ก็เปนตัวแปร


เดียวกันกับในหัวขอ 5.2 ที่ไดกลาวไปแลว
เนื่องจากสายไฟฟาแตละเสนจะติดตั้งที่ระดับความสูงตางๆ กัน การคํานวณ B.M. ที่เกิดจาก
แรงลมกระทําที่สายไฟฟาจะตองคํานวณทีละเสน จากนัน้ จึงนํามารวมกันเปนผลรวมของ B.M. ที่เกิด
จากแรงลมปะทะสายไฟฟา
193

3. B.M. ที่เกิดจาก eccentric load


จะเกิดขึ้นมากตามน้ําหนักอุปกรณและสายไฟฟาที่ตดิ ตัง้ บนเสาไฟฟา ซึ่งสามารถ
คํานวณได 2 สวน คือ

BMel = BMcp + BM1p

โดยที่ BMcp = Eccentric Load conductor of pole (B.M. ที่เกิดจากสายไฟฟา)


BMlp = Eccentic load of insulation of pole (B.M. ที่เกิดจากลูกถวย
ฉนวนไฟฟา)

3.1 BMcp (eccentric Load conductor of pole)


โดยที่จะมีคานี้เกิดขึ้นไดเมื่อมีการยึดสายอยูหางจากเสาไฟฟาเทานั้น ซึ่งมีสมการดังนี้

BMcp = W x Lwind x l x n (5.29)

โดยที่ W = น้ําหนักสายตอความยาว กิโลกรัม/เมตร (kg/m)


Lwind = ชวงระยะที่ลมปะทะ เมตร (m)
1 = ระยะหางระหวางจุดยึดสายไฟฟากับเสาไฟฟา เมตร (m)
n = จํานวนสายไฟฟา เสน (wire)

3.2 BMip (eccentric load of insulation of pole)


ซึ่งจะคิดเฉพาะลูกถวยระบบ 115 กิโลโวลต สวนลูกถวยระบบ 22-33 กิโลโวลต จะมี
น้ําหนักนอยมาก จึงไมนํามาคิด โดยมีสมการดังนี้

BMip = Wi x l x n (5.30)

โดยที่ Wi = น้ําหนักของชุดพวงลูกถวย กิโลกรัม (kg)


1 = ระยะหางระหวางจุดยึดชุดพวงลูกถวยกับเสาไฟฟา เมตร (m)
n = จํานวนลูกถวยฉนวนไฟฟา ลูก (piece)
194

เมื่อไดทราบแลววา B.M. ที่เกิดขึ้นแตละชนิดเกิดขึ้นไดอยางไร และมีสมการอยางไรที่ใชใน


การหาคา โดยในการคํานวณงานหนึ่งๆ จะมี B.M. รวมที่เกิดขึ้น (BMTOTAL) บนเสาไฟฟาเพียงคาเดียว
เสมอซึ่งไดจาก B.M. ที่เกิดขึ้นในขอ 1, 2 และ 3 รวมกัน แลวจึงนําคา BMTOTA นี้ไปตรวจสอบกับคา
โมเมนตใชงานของเสาไฟฟาที่ใชงาน ซึ่งจะตองไมใหคา B.M. ที่คํานวณไดมีคาเกินโมเมนตใชงานของ
เสาไฟฟานั้นๆ จึงเปนผลใหเสาไฟฟามีความมั่นคงแข็งแรงเพียงพอ และตอไปนีจ้ ะแสดงตัวอยางการ
คํานวณหาคา B.M. ที่เกิดขึ้นกับเสาไฟฟาชนิดคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 22.00 เมตร ที่ใชในระบบ
สายสง 115 kV

5.11 การคํานวณความมั่นคงแข็งแรงของเสาไฟฟาคอนกรีตอัดแรง (คอร.)


ในหัวขอนี้จะไดกลาวถึงตัวอยางการคํานวณเพื่อหาคา B.M. ที่เกิดขึน้ กับเสาไฟฟา ซึ่งเปนการ
คํานวณหาคา B.M. ที่เกิดขึ้นกับเสาไฟฟาตามทฤษฎีที่ไดกลาวไปแลวในหัวขอ 5.10 โดยในที่นี้จะ
คํานวณใหดูเพียง 2 ตัวอยาง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

ตัวอยางที่ 1 จงคํานวณหาคา B.M. ที่เกิดขึน้ กับเสาไฟฟาชนิดคอนกรีตอัดแรงขนาด 22.00 เมตร


ระบบสายสง 115 kV ลักษณะวงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เปนโครงสรางแบบ SD-TG-3 สําหรับกอสราง
ในชวงทางตรง 80 เมตร ที่มุมเบี่ยงเบนระหวางเสา 0 องศา ซึ่งใชขอมูลในแบบเลขที่ SA1-015/48001
(การประกอบเลขที่ 5151) โดยสรุปขอมูลของสายชนิดตางๆ ทั้งหมดไดเปนตารางดังนี้

ขนาด ขนาด จํานวน น้ําหนัก DIA. ระยะ ความสูง


สาย สายจริง สาย (OD) ชวงเสา จุดติดตั้ง
ที่ ชนิดของสาย
ของสาย สูงสุด
(มม2) (มม2) (เสน) (กก./ม) (ม) (ม) (ม)
I สายลอฟาลวดเหล็กตีเกลียว 35 32.46 1 0.274 0.0075 80 21.80
II สายอะลูมิเนียมเปลือย 115 kV 400 389.14 6 1.075 0.02565 80 17.30*
สายเคเบิลอากาศ 33 kV และ 185 184.54 3 1.1145 0.0323
III 40 9.85
สายลวดเหล็กตีเกลียว 50 46.88 1 0.392 0.009
IV สายเคเบิลอากาศ 33 kV 185 184.54 3 1.1145 0.0323 40 9.85
V สายแรงต่ําหุมฉนวน PVC 95 94.76 5 0.361 0.01485 40 6.90*
VI สายโทรศัพทหุมฉนวน - - 1 - 0.055 40 5.90

* หมายถึง ความสูงเฉลี่ยของสายแตละเฟสในกลุมวงจรไฟฟานั้นๆ
195

วิธีคํานวณ
1. คํานวณหาคา B.M. ที่เกิดจากแรงลัพธเนื่องจากสายไฟฟามีมุมเบี่ยงเบน (BMθ) สําหรับ
ในชวงทางตรง ซึ่งจากสมการ (5.26) คือ

θ
BMθ = 2 x T x sin x n x H กก.-ม.
2

ทั้งนี้คาแรงดึงในสายที่นํามาแทนในสูตร จะไดมาจากนําคาความเคนที่ใชงานคูณกับพื้นที่
หนาตัดจริง ทีอ่ ุณหภูมิเฉลี่ย 27OC โดยคาความเคนใชงานจะหาไดจากตารางความเคนที่ใชงานของสาย
แตละชนิดตามที่ระบุในหัวขอ 5.7 สวนสายชนิดใดไมมีระบุไวใหไปดูในแบบมาตรฐานระยะหยอน
ยานของสายแตละชนิด สําหรับสายเคเบิลอากาศทั้ง 2 วงจร คาความเคนใชงานจะคิดจากสายลวดเหล็ก
ตีเกลียวเนื่องจากแรงดึงในสายที่เกิดขึ้นเปนของสายลวดเหล็ก ตีเกลียวไมใชสายเคเบิลอากาศ และแรง
ดึงสําหรับสายโทรศัพทหุมฉนวนจะใชคาเดียวกันกับสายแรงต่ําหุมฉนวน PVC ซึ่งตอไปทําการแทน
คาขอมูลสายแตละชนิดลงในสมการ จะไดวา
0
BMθ สายลอฟา = 2x(2,082.2 x 0.3246)x sin x1x21.8 = 0 กก.-ม.
2
0
BMθ สายสง 115 kV เฟส A = 2x (379.44x3.8914) x sin x2x19.8 = 0 กก.-ม.
2
0
BMθ สายสง 115 kV เฟส B = 2x (379.44x3.8914) x sin x2x17.3 = 0 กก.-ม.
2
0
BMθ สายสง 115 kV เฟส C = 2x (379.44x3.8914) x sin x2x14.8 = 0 กก.-ม.
2
0
BMθ สายลวดเหล็กตีเกลียว 50 มม2 = 2x (1,718.14x0.4688) x sin x1x9.85 = 0 กก.-ม.
2
0
BMθ สายเคเบิลอากาศ 1 วงจร = 2x (222.98 x1.8454) x sin x 3 x 9.85 = 0 กก.-ม.
2
0
BMθ สายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส N = 2x (422.80x0.9476) x sin x 1 x 7.3 = 0 กก.-ม.
2
0
BMθ สายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส A = 2x (422.80x0.9476) x sin x 1 x 7.1 = 0 กก.-ม.
2
0
BMθ สายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส B = 2x (422.80x0.9476) x sin x 1 x 6.9 = 0 กก.-ม.
2
196

0
BMθ สายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส C = 2x (422.80x0.9476) x sin x 1 x 6.7 = 0 กก.-ม.
2
0
BMθ สายไฟดับถนน = 2x (422.80x0.9476) x sin x 1 x 6.5 = 0 กก.-ม.
2
0
BMθ สายโทรศัพท = 2x (422.80x0.9476) x sin x 1 x 5.9 = 0 กก.-ม.
2
BMθ total = 0 กก.-ม.

2. คํานวณหาคา B.M. ที่เกิดจากแรงลม


2.1 คํานวณคา BMP (B.M. เกิดจากแรงลมปะทะเสาไฟฟา คอร. ขนาด 22 ม.) โดยอันดับ
แรกจะหาคาความกวางของเสาไฟฟาที่ระดับพื้นดิน ไดจากสมการคือ

C = A +
(B - A) h ซม.
H

โดยขอมูลของเสา คอร. ขนาด 22.00 เมตร คือ A = 25 เซนติเมตร , B = 44 เซนติเมตร ,


h = 20 เมตร และ H = 22 เมตร ดังนั้นจะไดวา

(44 - 25) 20
C = 25 +
22
= 42.27 ซม.

เมื่อไดคา C แลว จะหาคาพืน้ ที่เสาที่รับแรงลม (Ap) ไดจากสมการคือ

Ap = (0.005) (A + C) h ม2

ดังนั้นแทนคาจะไดวา

Ap = (0.005) (25 + 42.27) 20


= 6.727 ม2

เมื่อไดคา Ap แลวตอไปจะคํานวณหาคา CG จากสูตร


197

CG = h - h . 2C + A
3 C+A

ดังนั้นแทนคาจะไดวา
20 2x42.27 + 25
CG = 20 - .
3 42.27 + 25

= 9.144 ม.
ดังนั้น B.M. ที่เกิดจากแรงลมปะทะเสาไฟฟา จะหาไดจากสมการ (5.27)

BMP = Pปะทะเสา x Ap x CG

ดังนั้น BMP = 80 x 6.727 x 9.144


= 4,920.93 กก.-ม.

2.2 คํานวณคา BMC (B.M. เกิดจากแรงลมปะทะสายไฟฟา) โดยจากสมการ (5.28)

BMC = Pปะทะสาย x d x Lwind x n x H

ทําการแทนคาขอมูลสายแตละชนิดลงในสมการ จะไดวา

(80 + 80)
BMc ของสายลอฟา = 40x0.0075x x1x21.8 = 523.20 กก.-ม.
2
(80 + 80)
BMc ของสายสง 115 kV เฟส A = 40x0.02565x x2x19.8 = 3,250.36 กก.-ม.
2
(80 + 80)
สายสง 115 kV เฟส B = 40x0.02565x x2x17.3 = 2,839.96 กก.-ม.
2
(80 + 80)
สายสง 115 kV เฟส C = 40x0.02565x x2x14.8 = 2,429.56 กก.-ม.
2
(40 + 40)
BMc ของสายลวดเหล็กตีเกลียว = 40 x 0.009 x x1x9.85 = 141.84 กก.-ม.
2
(40 + 40)
BMc ของสายเคเบิลอากาศ = 40 x 0.0323 x x6x9.85 = 3,054.29 กก.-ม.
2
198

(40 + 40)
BMc ของสายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส N = 40x0.01485x x 1 x 7.3 = 173.44 กก.-ม.
2
(40 + 40)
สายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส A = 40x0.01485x x 1 x 7.1 = 168.69 กก.-ม.
2
(40 + 40)
สายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส B = 40x0.01485x x 1 x 6.9 = 163.94 กก.-ม.
2
(40 + 40)
สายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส C = 40x0.01485x x1x6.7 = 159.19 กก.-ม.
2
(40 + 40)
สายไฟดับถนน = 40x0.01485x x1x6.5 = 154.44 กก.-ม.
2
(40 + 40)
BMc ของสายโทรศัพท = 40x0.055x x1x5.9 = 519.20 กก.-ม.
2
BMc total = 13,578.10 กก.-ม.

3. คํานวณหาคา B.M. ที่เกิดจาก eccentric load (BMol) ซึ่งหาไดดงั นี้


3.1 BMcp (eccentric Load conductor of pole) โดยจากสมการ (5.29)

BMcp = W x Lwind x l x n

โดยจะพิจารณาเฉพาะสายไฟฟาของระบบสายสง 115 kV เทานั้น ดังนั้นจะไดวา

(80 + 80)
BMcp ของสายสงระบบ 115 kV = 1.075 x x 2 x 6 = 1,032 กก.-ม.
2

3.2 BMip (eccentric load of insulation of pole) โดยจากสมการ (5.30)

BMip = Wi x l x n

โดยจะพิจารณาเฉพาะลูกถวยระบบ 115 กิโลโวลต สวนลูกถวยระบบ 22 - 33 กิโลโวลต จะ


มีน้ําหนักนอยมากจึงไมนํามาคิด ซึ่งมีขอมูลคือน้ําหนักของชุดพวงลูกถวย แบบ ค. (แบบ 52-3)
ประมาณ 6 กิโลกรัม/ลูก ระยะหางระหวางจุดยึดชุดพวงลูกถวยกับเสาไฟฟา 2 เมตร และจํานวนลูกถวย
ฉนวนไฟฟาทีใ่ ชงานทั้งหมดจํานวน 21 ลูก ดังนั้นจะไดวา
199

BMip = 6 x 2 x 21 = 252 กก.-ม.

ดังนั้นผลรวม B.M. ที่เกิดจาก eccentric load จะไดวา

BMel = BMcp + BMip


= 1,032 + 252
= 1,284 กก.-ม.

ดังนั้น BMT = BMθ + BMp + BMc + Bmel


= 0 + 4,920.93 + 13,578.10 + 1,284
= 19,783.03 กก.-ม.

ดังนั้น B.M. ที่เกิดขึ้นจริงเมื่อมีลมปะทะสายไฟฟา เสาไฟฟาและชุดพวงลูกถวยระบบ


115 kV จะมีคา 19,783.03 กิโลกรัม-เมตร ซึ่งจะเกินโมเมนตใชงานของเสา คอร. ขนาด 22.00 เมตร ที่
กําหนดไวเปน 18,000 กิโลกรัม-เมตร แตในการคํานวณที่กําหนดใหความเร็วลมมีคา เปน 96.6 กิโลเมตร
ตอชั่วโมง (60 ไมลตอชั่วโมง) ตามที่กําหนดไวในหัวขอ 5.9 นั้น ในความเปนจริงมีโอกาสนอยมากที่จะ
เกิดลมความเร็วขนาดนี้ และขณะที่เกิดลมพัดจริง ๆ ความเร็วที่ปลายเสาและโคนเสาตางกัน เพราะวาโคน
เสาจะมีตนไมและสิ่งกอสรางกีดขวางทางลมอยู ทําใหความเร็วลมโคนเสาจะมีอตั ราเร็วนอยกวาปลาย
เสา ประกอบกับปลายเสามีพื้นที่ ๆ จะรับแรงลมนอยกวาโคนเสา เนื่องจากที่ปลายเสาจะเล็กกวาโคนเสา
ฉะนั้นโอกาสที่จะเกิด B.M. ที่เกิดจากแรงลมจะมีนอยกวาที่คํานวณไวมาก ดังนัน้ เสา คอร. ขนาด 22.00
เมตร จึงยังมีความมั่นคงแข็งแรงเพียงพอสําหรับใชประกอบเปนแบบโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับ
ทางตรง

ตัวอยางที่ 2 จงคํานวณหาคา B.M. ที่เกิดขึน้ กับเสาไฟฟาชนิดคอนกรีตอัดแรงขนาด 22.00 เมตร ระบบ


สายสง 115 kV ลักษณะวงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เปนโครงสรางแบบ SD-SA-2 สําหรับกอสรางในชวง
ทางโคงที่มีมุมเบี่ยงเบน 10 องศา ซึ่งใชขอมูลในแบบเลขที่ SA1-015/48001 (การประกอบเลขที่ 5151)
โดยสรุปขอมูลของสายชนิดตางๆ และระยะชวงเสาสูงสุดทั้งหมดไดเปนตารางดังนี้
200

ขนาด ขนาด จํานวน น้ําหนัก DIA. ระยะ ความสูง


สาย สายจริง สาย (OD) ชวงเสา จุดติดตั้ง
ที่ ชนิดของสาย
ของสาย สูงสุด
(มม2) (มม2) (เสน) (กก./ม) (ม) (ม) (ม)
I สายลอฟาลวดเหล็กตีเกลียว 35 32.46 1 0.274 0.0075 40 21.80
II สายอะลูมิเนียมเปลือย 115 kV 400 389.14 6 1.075 0.02565 40 17.30*
สายเคเบิลอากาศ 33 kV และ 185 184.54 3 1.1145 0.0323
III 40 9.85
สายลวดเหล็กตีเกลียว 50 46.88 1 0.392 0.009
IV สายเคเบิลอากาศ 33 kV 185 184.54 3 1.1145 0.0323 40 9.85
V สายแรงต่ําหุมฉนวน PVC 95 94.76 5 0.361 0.01485 40 6.90*
VI สายโทรศัพทหุมฉนวน - - 1 - 0.055 40 5.90
* หมายถึง ความสูงเฉลี่ยของสายแตละเฟสในกลุมวงจรไฟฟานั้นๆ

วิธีคํานวณ
จากขอมูลของสายดังกลาวและตารางระยะหยอนยานของสาย สําหรับกอสรางในชวงทางโคงแบบ
ไมรับแรงดึงในแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/48001 (การประกอบเลขที่ 5151) จะทําการหาคาแรงดึง
ในสายโดยใชสมการ (5.5) จะไดวา

ที่ ชนิดของสาย แรงดึงในสายสําหรับทางโคง


I สายลอฟาลวดเหล็กตีเกลียว 0.274 x 40 2 /8/0.75 = 73.07 กก.
II สายอะลูมิเนียมเปลือย 115 kV 1.075 x 40 2 /8/1.50 = 143.33 กก.
สายเคเบิลอากาศ 33 kV และสาย
III (0.392+ 3x1.1145) x 40 2 /8/1.25 = 597.68 กก.
ลวดเหล็กตีเกลียว
IV สายเคเบิลอากาศ 33 kV 1.1145 x 40 2 /8/0.75 = 297.20 กก.
V สายแรงต่ําหุมฉนวน PVC 0.361 x 40 2 /8/0.75 = 96.27 กก.
VI สายโทรศัพทหุมฉนวน กําหนดไวไมเกิน 145 กก.

ตอไปจะทําการหา B.M. ทั้งหมดที่เกิดขึ้น เชนเดียวกับตัวอยางที่ 1 ซึ่งจะไดวา


201

1. คํานวณหาคา B.M. ที่เกิดจากแรงลัพธเนื่องจากสายไฟฟามีมุมเบี่ยงเบน (BMθ ) ซึ่งในชวง


ทางตรงไดกําหนดไว 10O ซึ่งจากสมการ (5.26) คือ

θ
BMθ = 2 x T x sin x n x H กก.-ม.
2

ทําการแทนคาขอมูลสายแตละชนิดลงในสมการ จะไดวา

10
BMθ สายลอฟา = 2 x 73.07 x sin x 1 x 21.8 = 277.66 กก.-ม.
2
10
BMθ สายสง 115 kV เฟส A = 2 x 143.33 x sin x 2 x 19.8 = 989.36 กก.-ม.
2
10
BMθ สายสง 115 kV เฟส B = 2 x 143.33 x sin x 2 x 17.3 = 864.44 กก.-ม.
2
10
BMθ สายสง 115 kV เฟส C = 2 x 143.33 x sin x 2 x 14.8 = 739.52 กก.-ม.
2
BMθ สายลวดเหล็กตีเกลียว และ สายเคเบิลอากาศ
10
= 2 x 597.68 x sin x 9.85 = 1,026.19 กก.-ม.
2
10
BMθ สายเคเบิลอากาศ = 2 x 297.20 x sin x 3 x 9.85 = 1,530.84 กก.-ม.
2
10
BMθ สายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส N = 2 x 96.27 x sin x 1 x 7.3 = 122.50 กก.-ม.
2
10
BMθ สายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส A = 2 x 96.27 x sin x 1 x 7.1 = 119.14 กก.-ม.
2
10
BMθ สายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส B = 2 x 96.27 x sin x 1 x 6.9 = 115.78 กก.-ม.
2
10
BMθ สายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส C = 2 x 96.27 x sin x 1 x 6.7 = 112.43 กก.-ม.
2
10
BMθ สายไฟดับถนน = 2 x 96.27 x sin x 1 x 6.5 = 109.07 กก.-ม.
2
10
BMθ สายโทรศัพท = 2 x 145 x sin x 1 x 5.9 = 149.12 กก.-ม.
2
BMθ total = 6,156.06 กก.-ม.
202

2. คํานวณหาคา B.M. ที่เกิดจากแรงลม


2.1 คํานวณคา BMP (B.M. เกิดจากแรงลมปะทะเสาไฟฟา คอร. ขนาด 22 ม.) ซึ่งจะมีคา
เทากันกับตัวอยางที่ 1 ซึ่งมีคา 4,920.93 กก.-ม.

ดังนั้น BMP = 4,920.93 กก.-ม.

2.2 คํานวณคา BMC (B.M. เกิดจากแรงลมปะทะสายไฟฟา) โดยจากสมการ (5.28)

BMC = Pปะทะสาย x d x Lwind x n x H

ทําการแทนคาขอมูลสายแตละชนิดลงในสมการ จะไดวา
(40 + 40)
BMc ของสายลอฟา = 40x0.0075x x1x21.8 = 261.60 กก.-ม.
2
(40 + 40)
BMc ของสายสง 115 kV เฟส A = 40x0.02565x x2x19.8 = 1,625.18 กก.-ม.
2
(40 + 40)
สายสง 115 kV เฟส B = 40x0.02565x x2x17.3 = 1,419.98 กก.-ม.
2
(40 + 40)
สายสง 115 kV เฟส C = 40x0.02565x x2x14.8 = 1,214.78 กก.-ม.
2
(40 + 40)
BMc ของสายลวดเหล็กตีเกลียว = 40 x 0.009 x x1x9.85 = 141.84 กก.-ม.
2
(40 + 40)
BMc ของสายเคเบิลอากาศ = 40 x 0.0323 x x6x9.85 = 3,054.29 กก.-ม.
2
(40 + 40)
BMc ของสายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส N = 40x0.01485x x 1 x 7.3 = 173.44 กก.-ม.
2
(40 + 40)
สายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส A = 40x0.01485x x 1 x 7.1 = 168.69 กก.-ม.
2
(40 + 40)
สายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส B = 40x0.01485x x 1 x 6.9 = 163.94 กก.-ม.
2
(40 + 40)
สายแรงต่ําหุมฉนวนเฟส C = 40x0.01485x x1x6.7 = 159.19 กก.-ม.
2
(40 + 40)
สายไฟดับถนน = 40x0.01485x x1x6.5 = 154.44 กก.-ม.
2
203

(40 + 40)
BMc ของสายโทรศัพท = 40x0.055x x1x5.9 = 519.20 กก.-ม.
2
BMc total = 9,056.57 กก.-ม.

3. คํานวณหาคา B.M. ที่เกิดจาก eccentric load (BMol) ซึ่งหาไดดงั นี้


3.1 BMcp (eccentric Load conductor of pole) โดยจากสมการ (5.29)

BMcp = W x Lwind x l x n

โดยจะพิจารณาเฉพาะสายไฟฟาของระบบสายสง 115 kV เทานั้น ดังนั้นจะไดวา


(40 + 40)
BMcp ของสายสงระบบ 115 kV = 1.075 x x 2 x 6 = 516 กก.-ม.
2

3.2 BMip (eccentic load of insulation of pole) โดยจากสมการ (5.30)

BMip = Wi x l x n

โดยจะพิจารณาเฉพาะลูกถวยระบบ 115 กิโลโวลต สวนลูกถวยระบบ 22 - 33 กิโลโวลต จะมี


น้ําหนักนอยมากจึงไมนํามาคิดเชนเดียวกับตัวอยางที่ 1 ดังนั้นจะไดวา

BMip = 252 กก.-ม.

ดังนั้นผลรวม B.M. ที่เกิดจาก eccentric load จะไดวา


BMel = BMcp + BMip
= 516 + 252
= 768 กก.-ม.

ดังนั้น BMT = BMθ + BMp + BMc + Bmel


= 6,156.06 + 4,920.93 + 9,056.57 + 768
= 20,901.56 กก.-ม.
204

ซึ่ง B.M. ที่เกิดขึ้นจริงเมื่อมีลมปะทะสายไฟฟา เสาไฟฟาและชุดพวงลูกถวยระบบ 115 kV


จะมีคา 20901.56 กิโลกรัม-เมตร ซึ่งจะเกินโมเมนตใชงานของเสา คอร. ขนาด 22.00 เมตร ที่กําหนดไว
เปน 18,000 กิโลกรัม-เมตร แตเสา คอร. ขนาด 22.00 เมตร จะยังมีความมั่นคงแข็งแรงเพียงพอสําหรับใช
ประกอบเปนแบบโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับทางโคง ถึงแมจะมีความเร็วลมเปน 96.6 กิโลเมตรตอ
ชั่วโมง (60 ไมลตอชั่วโมง) ก็ตาม ซึ่งเหตุผลมีเชนเดียวกับตัวอยางที่ 1 ที่ไดกลาวไปแลว
205

บทที่ 6
ระยะหางทางไฟฟา

ระยะหางทางไฟฟาถือเปนเรื่องสําคัญประการหนึ่งที่ผูออกแบบตองใหความสําคัญและ
พิจารณาออกแบบระบบไฟฟาใหมีระยะหางที่ปลอดภัยเพียงพอ เพื่อความปลอดภัยตอชีวิตและ
ทรัพยสินของประชาชนและเพื่อความมั่นคงของระบบไฟฟา การวัดระยะหางทางไฟฟาใหวดั ระยะ
ในแนวตรงจากผิวของสวนที่มีแรงดันไฟฟา(สายไฟ ตัวนําไฟฟา และอุปกรณไฟฟา)ไปยังผิวของสวนที่
มีหรือไมมีแรงดันไฟฟา

Clearance
Surface to Surface

รูปที่ 6-1 แสดงวิธีการวัดระยะหางทางไฟฟา

ทั้งนี้ กฟภ. ไดกําหนดมาตรฐานระยะหางทางไฟฟาไว ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA2-


015/45017 (การประกอบเลขที่ 9301) โดยมีรายละเอียดดังนี:้
6.1 ระยะหางต่ําสุดในแนวระดับระหวางสายไฟฟากับสิ่งปลูกสราง ตามตารางที่ 6-1

ตารางที่ 6-1 ระยะหางต่ําสุดในแนวระดับระหวางสายไฟฟากับสิ่งปลูกสรางเมื่อสายไฟฟาไมไดยดึ ติดกับ


สิ่งกอสราง
ระยะต่ําสุดในแนวระดับระหวางสายไฟฟา(เมตร)
< 1 kV 11-33 kV 69 115 230
สิ่งปลูกสราง kV kV kV
สายพัน สายหุม สาย สายหุม สาย สายเคเบิล สายเปลือย
รวม ฉนวน เปลือย ฉนวน เคเบิล อากาศ
หลาย ไมเต็ม อากาศ ชนิดพัน
สาย พิกัด เกลียว
1 ผนังดานปดของอาคาร,
สะพานลอยคนเดินขาม
ถนน กรณีที่มีแผงหรือ ผนัง
กั้นระหวางสายไฟฟา กับ 0.30 0.15 1.50 0.60 0.30 0.15 1.80 2.30 3.00
สะพานลอยและปาย
โฆษณาที่ติดกับอาคาร
206

ตารางที่ 6-1 (ตอ) ระยะหางต่ําสุดในแนวระดับระหวางสายไฟฟากับสิ่งปลูกสรางเมื่อสายไฟฟาไมไดยึดติด


กับสิ่งกอสราง

ระยะต่ําสุดในแนวระดับระหวางสายไฟฟา(เมตร)
< 1 kV 11-33 kV 69 115 230
สิ่งปลูกสราง kV kV kV
สายพัน สายหุม สาย สายหุม สาย สายเคเบิล สายเปลือย
รวม ฉนวน เปลือย ฉนวน เคเบิล อากาศ
หลาย ไมเต็ม อากาศ ชนิดพัน
สาย พิกัด เกลียว
2 ผนังดานเปดของอาคาร
เฉลียงระเบียง หรือบริเวณที่
มีคนเขาถึงได, สะพานทุก
ชนิดสําหรับยานพาหนะ
0.90 0.15 1.80 1.50 0.90 0.60 2.13 2.30 3.00
เสาไฟฟา เสาไฟถนน เสา
สัญญาณไฟจราจรตางๆ และ
สิ่งกอสรางอื่น ๆ
หมายเหตุ :
ผนังดานปด ของอาคาร หมายถึง ผนังอาคารที่บุคคลไมสามารถยื่นสวนของรางกายหรื อวัตถุ มาสัม ผัส
สายไฟฟาไดโดยพลั้งเผลอ
ผนั ง ด า นเป ด ของอาคาร หมายถึ ง ผนั ง อาคารที่ บุ ค คลสามารถยื่ น ส ว นของร า งกายหรื อ วั ต ถุ ม าสั ม ผั ส
สายไฟฟาได โดยพลั้งเผลอ

ตารางที่ 6-1 เปนตารางที่แสดงระยะหางต่ําสุดตามแนวระดับระหวางสายไฟฟากับสิ่งปลูกสราง


ของสายไฟฟาทุ ก ชนิ ด และที่ร ะดั บแรงดั น ตางๆ เพื่อ ใหผูออกแบบคํ านึ งถึ งความปลอดภั ย ในการ
ออกแบบระบบไฟฟาใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอม
207

2.30 ผนังดานปด
หรือปายโฆษณา
ที่ติดกับอาคาร

รูปที่ 6-2 ระยะหางต่ําสุดตามแนวระดับระหวางสายไฟฟากับผนังดานปดหรือปายโฆษณาที่ติดกับอาคาร

2.30

2.30

รูปที่ 6-3 ระยะหางต่ําสุดตามแนวระดับระหวางสายไฟฟากับผนังดานเปด เฉลียงระเบียงที่มีคนเขาถึงได


208

6.2 ระยะหางต่ําสุดตามแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับพื้น แหลงน้ํา อาคารหรือสิ่งกอสรางอื่นๆ

ตารางที่ 6-2 ระยะหางต่ําสุดตามแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับพื้น แหลงน้ํา อาคารหรือสิ่งกอสรางอื่นๆ


ระยะต่ําสุดตามแนวดิ่งของสายไฟฟา (เมตร)
< 1 kV 11-33 kV 69 115 230
สิ่งที่อยูใตสายไฟฟา kV kV kV
สายพัน สายหุม สาย สายหุม สาย สายเคเบิล สายเปลือย
รวม ฉนวน เปลือย ฉนวน เคเบิล อากาศ
หลาย ไมเต็ม อากาศ ชนิดพัน
สาย พิกัด เกลียว
1 ทางสัญจรสําหรับคน,
รถยนต หรือยานพาหนะ 3.60 2.90
อื่นใดรวมสิ่งของที่บรรทุก 3.60
แลว สูงไมเกิน 2.45 เมตร 4.60 4.60 4.60 ดู หมาย- 4.90 5.10 5.80
ผาน ดูหมายเหตุ 1 เหตุ 1

2 ทางสัญจรสําหรับ
รถยนต หรือรถบรรทุก 5.50 5.50 6.10 6.10 6.10 5.50 7.00 7.50 9.00
หรือ ยานพาหนะอื่นใด (6.00) (6.00) (7.50) (7.50) (7.50) (6.00) (9.00) (9.00) (9.00)
รวมสิ่งของที่บรรทุกแลว (9.00)* (9.00)* (9.00)*
สูงไมเกิน 4.30 เมตร ผาน
(เหนือทางหลวง)
* สําหรับแรงดัน 33 kV
209

ตารางที่ 6-2 (ตอ) ระยะหางต่ําสุดตามแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับพื้น แหลงน้ํา อาคารหรือสิ่งกอสรางอื่นๆ


ระยะต่ําสุดตามแนวดิ่งของสายไฟฟา (เมตร)
< 1 kV 11-33 kV 69 115 230
สิ่งที่อยูใตสายไฟฟา kV kV kV
สายพัน สายหุม สาย สายหุม สาย สายเคเบิล สายเปลือย
รวม ฉนวน เปลือย ฉนวน เคเบิล อากาศ
หลาย ไมเต็ม อากาศ ชนิดพัน
สาย พิกัด เกลียว
3 แหลงน้ําที่มีเรือแลน
ผานรวมทั้งทะเลสาบ,
สระ,อางเก็บน้ํา,แมน้ํา,
ลําธารและคลองที่มีความ
กวางของผิวน้ําดังตอไปนี้
- ไมเกิน 50 เมตร ให 7.00 6.80 7.70 7.70 7.70 6.80 7.90 8.20 8.90
ถือวาเรือหรือยานพาหนะ
ที่มีความสูงไมเกิน 4.9
เมตร ผาน

- เกินกวา 50 เมตร แต


ไมเกิน 500 เมตร ปกติ
ใหถือวาเรือหรือยานพา
9.40 9.30 10.20 10.20 10.20 9.30 10.40 10.70 11.40
หนะที่มีความสูงไมเกิน
7.3 เมตร ผาน
- เกินกวา 500 เมตร แต
ไมเกิน 5,000 เมตร ปกติ
ใหถือวาเรือ หรือ
11.30 11.10 12.00 12.00 12.00 11.10 12.20 12.50 13.20
ยานพาหนะที่มีความสูง
ไมเกิน 9.0 เมตร ผาน
- เกินกวา 5,000 เมตร
ปกติ ใหถือวาเรือ หรือ
13.10 12.90 13.80 13.80 13.80 12.90 14.00 14.30 15.00
ยานพาหนะ ที่มีความสูง
ไมเกิน 11.0 เมตร ผาน
210

ตารางที่ 6-2 (ตอ) ระยะหางต่ําสุดตามแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับพื้น แหลงน้ํา อาคารหรือสิ่งกอสรางอื่นๆ


ระยะต่ําสุดตามแนวดิ่งของสายไฟฟา (เมตร)
< 1 kV 11-33 kV 69 115 230
สิ่งที่อยูใตสายไฟฟา kV kV kV
สาย สายหุม สาย สายหุม สาย สายเคเบิล สายเปลือย
พัน ฉนวน เปลือย ฉนวน เคเบิล อากาศ
รวม ไมเต็ม อากาศ ชนิดพัน
หลาย พิกัด เกลียว
สาย
- ถามีเรือที่มีความสูง (h) h+ h+ h+ h+ h+ h+ h+
h + 2.90 h + 2.90
เกินกวา 11.0 เมตร ผาน 2.10 2.10 2.90 2.90 3.20 3.50 4.10
4 แหลงน้ําหรือคลองที่ไม
4.40 4.30 5.20 5.20 5.20 4.30 5.40 5.70 6.40
มีเรือแลนผาน
5 เหนือหรือใตหลังคา
หรือสวนของอาคารที่ไมมี
1.10 0.15 3.00 3.00 1.10 0.15 3.40 3.60 4.30
คนเดินหรือไมสามารถ
เขาถึงได
ดูหมายเหตุ 2 ดูหมายเหตุ 2
6 เหนือหรือใตหลังคา 4.60 4.60 4.90 5.10 5.80
หรือระเบียงที่มีคนเดิน 3.50 2.40 3.50 2.40
หมายเหตุ 2 ดูหมายเหตุ 2
หรือ สามารถเขาถึงได
7 เหนือสะพานลอยคน
3.50 2.40 4.60 4.60 3.50 2.40 4.90 5.10 5.80
เดินขามถนนที่ไมมีหลังคา
8 เหนือหลังคา
สะพานลอยคนเดินขาม 1.10 0.15 3.00 3.00 1.10 0.15 3.40 3.60 4.30
ถนน(ดูหมายเหตุ 4)
9 เหนือหรือใตปาย, เสา
โทรทัศน – วิทยุ, ถังซึ่ง 1.10 0.15 2.40 2.40 1.10 0.15 2.60 2.90 3.60
บรรลุสารที่ไมติดไฟ
ดู หมายเหตุ 2 ดูหมายเหตุ 2
10 ขามทางรถไฟหรือ
รถไฟฟา(เหนือระดับสัน
ราง)กรณีที่รวมของที่ 7.00 7.00 9.00 9.00 9.00 9.00 9.50 10.50 11.50
บรรทุกแลวมีความสูง ไม
เกิน 6.10 เมตร
211

ตารางที่ 6-2 (ตอ)ระยะหางต่ําสุดตามแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับพื้น แหลงน้ํา อาคารหรือสิ่งกอสรางอื่นๆ


ระยะต่ําสุดตามแนวดิ่งของสายไฟฟา (เมตร)
< 1 kV 11-33 kV 69 115 230
สิ่งที่อยูใตสายไฟฟา kV kV kV
สายพัน สายหุม สาย สายหุม สาย สายเคเบิล สายเปลือย
รวม ฉนวน เปลือย ฉนวน เคเบิล อากาศ
หลาย ไมเต็ม อากาศ ชนิดพัน
สาย พิกัด เกลียว
11 ขามทางรถไฟ หรือ
รถไฟฟา (เหนือระดับสัน
h1 + h1 + h1 + h1 + h1 + h1 + h1 + h1 + h1 +
ราง) กรณีที่รวมของที่
0.90 0.90 2.90 2.90 2.90 2.90 3.40 4.40 5.40
บรรทุกแลวมีความสูง
(h1) เกินกวา 6.10 เมตร
12 ใตสะพานที่มียาน ไมอนุญาต
1.20 0.15 ไมอนุญาต 2.00 0.15
พาหนะวิ่งผาน ดูหมายเหตุ 3
13 เหนือเสาไฟฟา, เสา
ไฟถนน หรือ เสา 0.60 0.60 1.40 1.40 1.40 0.60 1.90 2.40 3.60
สัญญาณไฟจราจรตางๆ

หมายเหตุ 1 : หากเปนทางสัญจรหรือพื้นที่ซึ่งไมไดจัดไวสําหรับรถยนต หรือ ยานพาหนะอื่นใดผาน ระยะหางต่ําสุด


สามารถลดลงเหลือ 2.60 เมตร
หมายเหตุ 2 : ไมอนุญาตใหใชสายดังกลาวเดินใตหลังคา ระเบียง สวนของอาคาร ปาย เสากาศโทรทัศน – วิทยุ หรือ
ถังซึ่งบรรจุสารที่ไมติดไฟ
หมายเหตุ 3 : อนุญาตใหพาดสายไดชั่วคราวโดยตองขออนุญาตจากการไฟฟาสวนภูมิภาค ทั้งนี้ตองใชระยะหางดังนี้
1) 69 kV ระยะหางไมนอยกวา 2.20 เมตร
2) 115 kV ระยะหางไมนอยกวา 2.50 เมตร
3) 230 kV ระยะหางไมนอยกวา 3.20 เมตร
หมายเหตุ 4 : ใหติดตั้งปายเตือนระวังอันตรายสายไฟฟาแรงสูง
212

สายไฟฟาระบบ 115 kV

7.50 ม. 8.20 ม. 10.50 ม.


5.10 ม. 4.30 ม. (9.00ม.) 4.90 ม.

2.45 ม.

ทางสัญจร ทางสัญจร แหลงน้ํากวาง ขามทางรถไฟ


สําหรับคน มีรถยนต ไมเกิน 50 เมตร เหนือระดับสันราง
รถยนตผาน รถบรรทุกผาน มีเรือผาน
รูปที่ 6-4 ระยะหางตามแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับสิ่งที่อยูใตสายไฟฟา

115 kV

หลังคาสะพานลอย ≥ 3.6
คนเดินขามถนน

รูปที่ 6-5 ระยะหางแนวดิง่ ระหวางสายไฟฟาและสะพานลอยคนเดินขามถนนที่มีหลังคา


213

115 kV

สะพานลอยคนเดินขามถนน
ที่ไมมีหลังคา ≥ 5.10

รูปที่ 6-6 ระยะหางตามแนวดิ่งระหวางสายไฟฟาและสะพานลอยคนเดินขามถนนทีไ่ มมีหลังคา

เหนือทางสัญจร
ขามทาง 7.5 m
หลวง 9 m

รูปที่ 6-7 ระยะหางตามแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับทางสัญจรและทางหลวง


214

6.3 ระยะหางต่ําสุดในแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับสายอื่นๆ ตามตารางที่ 6-3 และ 6-4

ตารางที่ 6-3 ระยะหางต่ําสุดตามแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับสายอื่นๆคนละวงจรที่ไมอยูบ นเสาตนเดียวกัน


ประเภทของสายยึดโยง ระยะต่ําสุดตามแนวดิ่ง (เมตร)
สายโทรคมนาคม
และแรงดันไฟฟา สายยึดโยง สาย 1 kV
และลวดยึด โทรคมนาคม หรือ 11-33 69 115 230 500
โยง นอยกวา kV kV kV kV kV

1. สายยึดโยง และลวด
0.45 0.60 0.60 1.20 1.50 2.00 3.50 4.00
ยึดโยง
2. สายโทรคมนาคม 0.60 0.60 1.20 1.80 2.10 2.60 4.10 5.25
3. 1 kV หรือ นอยกวา 0.60 1.20 0.60 1.20 1.50 2.00 3.50 4.65
4. 11-33 kV 1.20 1.80 1.20 1.20 1.50 2.00 3.50 4.65
5. 69 kV 1.50 2.10 1.50 1.50 1.70 2.30 3.70 4.65
6. 115 kV 2.00 2.60 2.00 2.00 2.30 2.90 4.30 5.25
7. 230 kV 3.50 4.10 3.50 3.50 3.70 4.30 5.80 6.00
8. 500 kV 4.00 5.25 4.65 4.65 4.65 5.25 6.00 -

หมายเหตุ ระยะหางนอยที่สุดระหวางสายลอไฟฟาแรงสูง 500 kV และสายลอฟา เทากับ 4.00 ม.

ตารางที่ 6-4 ระยะหางต่ําสุดตามแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับสายอื่นๆคนละวงจร ที่อยูบนเสาตนเดียวกัน


ประเภทของสายยึดโยง ระยะต่ําสุดตามแนวดิ่ง (เมตร)
สายโทรคมนาคม
และแรงดันไฟฟา 1 kV หรือ
สายโทรคมนาคม
นอยกวา 11-33 kV 69 kV 115 kV

1. สายโทรคมนาคม 0.30 0.60 1.20 1.40 2.40


2. 1 kV หรือ นอยกวา 0.60 0.60 1.20 1.40 2.40
3. 11-33 kV 1.20 1.20 1.30 1.40 2.40
4. 69 kV 1.40 1.40 1.40 1.60 2.40
5. 115 kV 2.40 2.40 2.40 2.40 2.40
หมายเหตุทายตาราง ระยะต่ําสุดในแนวดิ่งระหวางสายไฟฟา 11,22 และ 33 kV อาจจะลดลงเปน 1.00 เมตร
ในกรณีของบัคอารม
215

ตารางที่ 6-3 เปนตารางที่แสดงระยะหางตามแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับสายอื่นๆ ทีไ่ มอยูบน


เสาตนเดียวกัน ตัวอยางการใชงานเชนระยะหางในแนวดิ่งระหวางสายไฟฟา 115 kV ของ กฟภ. ลอดใต
สายไฟฟา 230 kV ของ กฟผ. ตองมีระยะหางต่ําสุด 4.30 เมตร สวนตารางที่ 6-4 เปนตารางที่แสดง
ระยะหางตามแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับสายอื่นๆ ที่อยูบ นเสาตนเดียวกัน ของสายไฟฟาทุกชนิดและ
ระดับแรงดันตางๆ เชนระยะหางระหวางระบบ 115 kV และ 22 kV บนเสาตนเดียวกันตองมีระยะหาง
ต่ําสุด 2.40 เมตร เปนตน

6.4 ระยะหางนอยที่สุดระหวางสายไฟฟาหรือสายอื่นๆ กับสิ่งกอสราง ตามตารางที่ 6-5

ตารางที่ 6-5 ระยะหางนอยที่สุดระหวางสายไฟฟาหรือสายอื่นๆ กับสิ่งกอสราง


ประเภทของ ระยะต่ําสุด (เมตร)
สิ่งกอสรางและสาย สาย 1 kV 11 kV 22 kV 33 kV 69 kV 115 kV 230 kV
ยึดโยง โทรคม หรือ
นาคม นอยกวา
จากผิวของคอนสาย 0.08 0.08 0.09 0.14 0.20 0.38 0.62 1.2
จากผิวของเสา 0.13 0.13 0.14 0.20 0.25 0.43 0.67 1.25
จากสายยึ ด โยงบน 0.15 0.15 0.18 0.29 0.40 0.77 1.23 2.40
เ ส า ต น เ ดี ย ว กั น (0.17) (0.24) (0.31) (0.54) (0.83) (1.56)
(ทั่วไป)
จากสายยึ ด โยงบน 0.15 0.31 0.33 0.44 0.55 0.92 1.39 2.55
เ ส า ต น เ ดี ย ว กั น (0.32) (0.39) (0.46) (0.69) (0.98) (1.71)
(ขนานกับสายไฟฟา)

หมายเหตุ สําหรับการยึดโยงแบบสมอบก ระยะหางนอยที่สุดะหวางสายไฟฟาและสายยึดโยงใหใชคาในวงเล็บ


216

6.5 ระยะหางทางไฟฟาระหวางสายไฟฟาของ กฟภ. กับ สายไฟฟาของ กฟผ.


ในกรณีที่สายไฟฟาของ กฟภ. ลอดใตสายไฟฟา กฟผ. นัน้ นอกจากจะกําหนดคาระยะหางตาม
ตารางที่ 6-3 แลว กฟภ. ยังไดเพิ่มระยะหางอีก 0.50 เมตร เปนคาที่เผื่อไวสําหรับการปฏิบัติงาน ยกเวน
คาบางคาที่ไดมีการคํานวณเผื่อไวแลว มีรายละเอียดตามตารางที่ 6-6 ซึ่งอางอิงจากแบบเลขที่ SA2-
015/45022 (การประกอบเลขที่ 9304) พรอมทั้งตัวอยางการพาดสายระบบจําหนายแรงสูงของ กฟภ.
ลอดใตสายสงของ กฟผ. ดังแสดงในรูปที่ 6-8

ตารางที่ 6-6 ระยะหางทางไฟฟาระหวางสายไฟฟาของ กฟภ. กับ สายไฟฟาของ กฟผ.


ระบบ ระยะหางนอยที่สุด ใหถือปฏิบัติในการ ระยะหางนอย ใหถือปฏิบัติ
แรงดัน ระหวางสายระบบ กอสรางจัดใหมีระยะหาง ที่สุดระหวางสาย ในการกอสรางจัดใหมี
ของสายสง จําหนายแรงดัน นอยที่สุดระหวางสาย สง115 kV ของ ระยะหางนอยที่สุด
ของ กฟผ. 0.4 - 33 kV ของ กฟภ. ระบบจําหนายแรงดัน กฟภ.กับสายสง ระหวางสายสง
กับสายสง 0.4 – 33 kV ของ กฟภ. ของ กฟผ. 115 kV ของ กฟภ.
ของ กฟผ. กับสายสง ของ กฟผ.
กับสายสงของ กฟผ.
(kV) (เมตร) (เมตร) (เมตร)
(เมตร)
115 2.00 2.50 2.90 3.40
230 3.50 4.00 4.30 4.80
500 4.65 4.65 5.25 5.25

รูปที่ 6-8 ระยะหางระหวางสายระบบจําหนายแรงสูงของ กฟภ. กับ สายไฟฟาของ กฟผ.


217

6.6 การตัดตนไมสําหรับแนวสายสง 115 kV

รูปที่ 6-9 การตัดตนไมสาํ หรับแนวสายสง 115 kV

ตารางที่ 6-7 ระยะหางนอยทีส่ ุดสําหรับตนไมกับแนวสายสง 115 kV


ระยะหางจากสายไฟฟา 115 kV ระยะหางนอยสุด (ม.) หมายเหตุ
ถึงสวนบนของตนไม 4.00 ตามตําแหนงที่ 1 และ 2
ถึงดานขางของตนไม 4.00 ตามตําแหนงที่ 3
อางอิงจาก แบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/39009 การประกอบเลขที่ 5155
218

6.7 การกําหนดระยะหางความปลอดภัยนอกเหนือจากที่กําหนดในแบบมาตรฐาน
เนื่องจากระยะหางทางไฟฟาบางคาไมมีกําหนดในแบบมาตรฐาน กฟภ. เชนระยะหางใน
แนวระดับระหวางสายไฟฟา จึงตองมีการกําหนดระยะหางความปลอดภัยโดยใชมาตรฐานอื่นๆ ที่
เชื่อถือได เปนที่ยอมรับในระดับสากลเพื่อใชอางอิง มาตรฐานที่นิยมใชคือ National Electrical Safety
Code (NESC) มาตรฐาน NESC ที่ กมฟ. ใชอางอิงในปจจุบันเปนฉบับป 2002
ใน NESC ป 2002 ไดกําหนดระยะหางในแนวระดับระหวางสายไฟฟาไวในขอ 235
ดังนี้
6.7.1 ระยะหางในแนวระดับ
1) ใน NESC ป 2002 ขอ 235B1a ไดกําหนดระยะหางในแนวระดับระหวาง
สายไฟฟาไว (ภายในวงจรเดียวกันหรือคนละวงจรก็ได) ดังแสดงตามตารางที่ 6-8

ตารางที่ 6-8 ระยะหางระหวางสายไฟฟาในแนวระดับบนโครงสรางเดียวกัน


Class of circuit Clearance Notes
(mm) (in)
Does not apply at conductor
Open communication conductors 150 6
transposition points
Permitted where pin spacings
less than 150 mm (6 in) have
75 3 Been in regular use. Does not
apply at conductor transposition
points.
Railway feeders: Where 250 to 300 mm (10 to 12
0 to 750 V, AWG No.4/0 or larger 150 6 in) clearance has already been
0 to 750 V, smaller than AWG No.4/0 300 12 established by practice, it may be
Over 750 V to 8.7 kV 300 12 continued, subject to the
provisions of Rule 235B1b, for
conductors having apparent sags
not over 900 mm (3 ft) and for
voltages no exceeding 8.7 kV.
219

ตารางที่ 6-8 (ตอ) ระยะหางระหวางสายไฟฟาในแนวระดับบนโครงสรางเดียวกัน


Class of circuit Clearance Notes
(mm) (in)
Supply conductors of the same circuit:
0 to 8.7 kV 300 12
Over 8.7 kV to 50 kV 300 plus 10 per kV 12 plus 0.4 per kV
over 8.7 kV over 8.7 kV
Above 50 kV no value specified no value specified
Supply conductors of the different circuits: For all voltage above 50 kV, the
0 to 8.7 kV 300 12 additional clearance shall be
Over 8.7 kV to 50 kV 300 plus 10 per kV 12 plus 0.4 per kV increased 3 % for each 300 m
over 8.7 kV over 8.7 kV (1000 ft) in excess of 1000 m
Over 50 kV to 814 kV 725 plus 10 per kV 28.5 plus 0.4 per kV (3300 ft) above mean sea level.
over 50 kV over 50 kV All clearances for voltages above
50 kV shall be based on the
maximum operating voltage.
หมายเหตุ อางอิงจากตาราง 235-1 ของ National Electrical Safety Code ป 2002 edition

จากตารางที่ 6-8 เมื่อนําสูตรมาปรับใชกับระดับแรงดันของ กฟภ. จะไดผลลัพธดังนี้


ระยะหางระหวางสายไฟฟาในแนวระดับบนโครงสรางเดียวกัน
Different circuit (คนละวงจร)
สําหรับระบบแรงดัน 22 kV จากสูตรในตารางที่ 6.8 จะได
= 300 plus 10 per kV over 8.7 kV
= 300 + 10 (24 - 8.7)
= 453 mm
สําหรับระบบแรงดัน 33 kV จากสูตรในตารางที่ 6.8 จะได
= 300 plus 10 per kV over 8.7 kV
= 300 + 10 (36 - 8.7)
= 573 mm
สําหรับระบบแรงดัน 115 kV จากสูตรในตารางที่ 6.8 จะได
= 725 plus 10 per kV over 50 kV
= 725 + 10 (123 - 50)
= 1,455 mm
220

Same circuit (วงจรเดียวกัน)


สําหรับระบบแรงดัน 22 kV จากสูตรในตารางที่ 6.8 จะได
= 300 plus 10 per kV over 8.7 kV
= 300 + 10 (24 - 8.7)
= 453 mm
สําหรับระบบแรงดัน 33 kV จากสูตรในตารางที่ 6.8 จะได
= 300 plus 10 per kV over 8.7 kV
= 300 + 10 (36 - 8.7)
= 573 mm
สําหรับระบบแรงดัน 115 kV ไมไดกําหนด

2) NESC ขอ 235B1b ไดกําหนดระยะหางในแนวระดับระหวางสายไฟฟาโดย


พิจารณาถึงระยะ sag ไว ดังแสดงตามตาราง 6-9

ตารางที่ 6-9 ระยะหางระหวางสายไฟฟาในแนวระดับบนโครงสรางเดียวกันเมื่อพิจารณาถึง Sag


สําหรับสายขนาด AWG No. 2 หรือใหญกวา
Voltage Sag (mm)
Between 915 1220 1830 2240 3048 4572 6096 But not
Conductors less than *
(kV)
2.4 370 425 515 590 660 805 925 300
4.16 385 440 530 605 675 820 940 300
12.47 445 500 600 670 735 880 1005 345
13.2 450 510 595 675 740 885 1010 350
13.8 455 510 600 680 745 890 1015 355
14.4 460 515 605 685 750 895 1020 365
24.94 540 595 685 760 835 975 1100 470
34.5 615 670 760 835 905 1050 1170 570
46 705 755 845 925 995 1140 1260 685
* Clearance determined by Table 235-1, Rule 235B1a
221

ระยะหางที่ปรากฏในตาราง 6-9 หาจากสูตร 7.6 mm/kV + 8(2.12S)1/2


เชนที่ระดับแรงดัน 2.4 kV จะไดระยะหาง = 7.6x2.4+8x(2.12x915)1/2 = 370 mm
ในการหาระยะหางสายไฟฟาจะคิดเปรียบเทียบกฎขอ 235B1a และ 235B1b และนําคา
ระยะหางที่มากที่สุดไปใชงาน

ตัวอยางที่ 1 สายไฟฟา ACSR 185 ต.มม ระบบ 22 kV จํานวน 2 วงจร ติดตั้งบนโครงสรางเดียวกัน


ระยะ Span 200 m คา Sag ตามแบบมาตรฐานเลขที่ S02-015/1907 เทากับ 2,700 มม ระยะหาง
ระหวางวงจรในแนวระดับเปนเทาใด
จากกฎ 235B1a จะไดระยะหาง = 300 + 10 (24 - 8.7) = 453 mm
จากกฎ 235B1b จะไดระยะหาง = 7.6x24+8x(2.12x2,700)1/2 = 788 mm
ระยะหางนอยสุดระหวางวงจรและระหวางเฟส = 788 mm
(ในทางปฎิบัตจิ ะกําหนดระยะหางมากกวาคาที่คํานวณได)

ตัวอยางที่ 2 สายไฟฟาอะลูมเิ นียมเปลือย 400 ต.มม ระบบ 115 kV จํานวน 2 วงจร ติดตั้งบน
โครงสรางเดียวกันระยะ Span 80 m คา Sag ตามแบบมาตรฐานเลขที่ S02-015/19089 เทากับ 0.8 ม
ระยะหางระหวางวงจรในแนวระดับเปนเทาใด
จากกฎ 235B1a จะไดระยะหาง = 725 + 10 (123 - 50) = 1,455 mm
จากกฎ 235B1b ใชกับแรงดันระหวางเฟสไมเกิน 46 kV แรงดัน 115 kV จึงไมใชกฎขอนี้
ระยะหางนอยสุดระหวางวงจรและระหวางเฟส = 1,455 mm
(ในทางปฎิบัตจิ ะกําหนดระยะหางมากกวาคาที่คํานวณได)

หมายเหตุ ระยะหางที่คํานวณไดนี้ในทางปฏิบัติจะบวกเพิ่มระยะในการปฏิบัติงานและเผื่อระยะหาง
ความปลอดภัยเขาไปอีกดังนั้นระยะหางทีก่ ําหนดในแบบมาตรฐานจึงไมตรงกับที่คํานวณไดจากสูตร
โดยตรง ทั้งนี้ใหยึดถือระยะหางที่กําหนดในแบบมาตรฐานเปนหลัก

6.7.2 ระยะหางในแนวดิง่ NESC ขอ 235C ไดกําหนดระยะหางระหวางสายไฟฟาใน


แนวดิ่งไว รวมถึงพิจารณาเรื่อง 1800 Out of phase ดวย ดังแสดงในตัวอยางที่ 3 (ยกตัวอยางระดับ
แรงดัน 115 kV กับ 22 kV) และแสดงระยะหางระหวางสายไฟฟาในแนวดิ่งและสูตรตามตารางที่
6-10 โดยในตารางที่ 6-10 ใชกับแรงดัน phase to ground ไมเกิน 50 kV ถาแรงดัน phase to ground
อยูในชวง 50-814 kV ใหบวกเพิ่มอีก 10 mm/kV ในสวนที่เกิน 50 kV
222

ตารางที่ 6-10 ระยะหางระหวางสายไฟฟาในแนวดิง่ (สําหรับแรงดัน phase to ground ไมเกิน 50 kV)

Conductors and cables usually at upper level


Supply cables Open supply conductors
Meeting Rule 0 to Over 8.7 to 50 kV
Conductors and cables 230C1,2, or 3; neutral 8.7 kV Same Utilities Different
usually at lower levels conductors meeting (m) (m) Utilities
Rule 230E1; (m)
communications
cables meeting Rule
224A2a
(m)
1. Communication conductors and cables
a. Located in the communication space 1.00 1.00 1.00 1.00 plus 0.01 per
kV over 8.7 kV
b. Located in the supply space 0.41 0.41 1.00 1.00 plus 0.01 per
kV over 8.7 kV
2. Supply conductors and cables
a. open conductors 0 to 750 V; supply 0.41 0.41 0.41 plus 0.01 per 1.00 plus 0.01 per
cables meeting Rules 230C1, 2, or 3; neutral kV over 8.7 kV kV over 8.7 kV
conductors meeting Rules 230E1
b. Open conductors over 750 V to 8.7 kV 0.41 0.41 plus 0.01 per 1.00 plus 0.01 per
kV over 8.7 kV kV over 8.7 kV
c. Open conductors over 8.7 kV to 22 kV
(1) If worked on energized with live- 0.41 plus 0.01 per 1.00 plus 0.01 per
line tools and adjacent circuits are neither de- kV over 8.7 kV kV over 8.7 kV
energized nor covered with shields or
protectors
(2) If not worked on energized except 0.41 plus 0.01 per 0.41 plus 0.01 per
when adjacent circuits (either above or kV over 8.7 kV kV over 8.7 kV
below) are de-energized or covered by
shields or protectors, or by the use of live-
line tools not requiring line workers to go
between live wires
d. Open conductors exceeding 22 kV, but 0.41 plus 0.01 per 0.41 plus 0.01 per
not exceeding 50 kV kV over 8.7 kV kV over 8.7 kV
223

ตัวอยางที่ 3 ระบบจําหนาย 22 kV พาดอยูใตสายสง 115 kV ระยะหางระหวางเฟส 115 kV กับ 22 kV


ในแนวดิ่งเปนเทาใด

แรงดัน phase to ground สูงสุดของระบบ 115 kV = 115/1.732x1.05(max. operating


voltage) = 69.72 kV (การคูณดวย 1.05 จะคูณเฉพาะในวงจรที่มีแรงดันสูงที่สุดวงจรเดียว)
แรงดัน phase to ground ของระบบ 22 kV = 22/1.732 = 12.7 kV

69.72∠0 0 − 12.7∠180 0 12.7∠180 0 69.72∠0 0


(69.72 + j0) − ( −12.7 + j0)
82.42 + j0
82.42∠0 0
82.42∠0 0 kV

1) จากตารางที่ 6-10 ขอ d


Basic Clearance = 0.41 m
สวนที่เกิน 8.7 kV = (50-8.7)x0.01 = 0.413 m
รวม = 0.823 m
2) addition clearance ในมาตรฐาน NESC ขอ 235C2a สําหรับแรงดัน
ระหวาง 50 kV และ 814 kV ใหบวกเพิ่มอีก 10 mm/kV
=? m ระบบ 115 kV คา phase to ground (1800 out of phase) = 82.42 kV
สวนทีเ่ กิน 50 kV = (82.42-50)x0.01 = 0.3242
1) + 2) = 0.823+0.3242 = 1.1472 m
หรือคิดงายๆ = 0.41+0.01x(82.42-8.7) = 1.1472 m
ระยะหางระหวางสายไฟฟา 115 kV กับ 22 kV นอยสุด = 1.1472 m

หมายเหตุ ระยะหางที่คํานวณไดนี้ในทางปฏิบัติจะบวกเพิ่มระยะในการ
ปฏิบัติงานและเผื่อระยะหางความปลอดภัยเขาไปอีกดังนั้นระยะหางทีก่ ําหนด
ในแบบมาตรฐานจึงไมตรงกับที่คํานวณไดจากสูตรโดยตรง ทั้งนี้ใหยึดถือ
ระยะหางที่กําหนดในแบบมาตรฐานเปนหลัก
224

ตัวอยางที่ 4 ระยะหางระหวางเฟสของระบบ 115 kV ในแนวดิ่งเปนเทาใด

แรงดัน phase to ground สูงสุดของระบบ 115 kV = 115/1.732x1.05(max. operating


voltage) = 69.72 kV (การคูณดวย 1.05 จะคูณเฉพาะในวงจรที่มีแรงดันสูงที่สุดวงจรเดียว)
แรงดัน phase to ground ของระบบ 115 kV = 115/1.732 = 66.4 kV

69.72∠0 0 − 66.4∠180 0 66.4∠180 0 69.72∠0 0


(69.72 + j0) − ( −66.4 + j0)
136.12 + j0
136.12∠0 0
136.12∠0 0 kV

1) จากตารางที่ 6-10 ขอ d


Basic Clearance = 0.41 m
สวนที่เกิน 8.7 kV = (50-8.7)x0.01 = 0.413 m
=?m
รวม = 0.823 m
2) addition clearance ในมาตรฐาน NESC ขอ 235C2a สําหรับแรงดัน
ระหวาง 50 kV และ 814 kV ใหบวกเพิ่มอีก 10 mm/kV
ระบบ 115 kV คา phase to ground (1800 out of phase) = 136.12 kV
สวนทีเ่ กิน 50 kV = (136.12-50)x0.01 = 0.8612
1) + 2) = 0.823+0.8612 = 1.6842 m
หรือคิดงายๆ = 0.41+0.01x(136.12-8.7) = 1.6842 m
ระยะหางระหวางเฟสของสายไฟฟา 115 kV กับ 115 kV
นอยสุด = 1.6842 m (ในการติดตัง้ จริงกําหนดไมนอยกวา 2.5 m)

หมายเหตุ ระยะหางที่คํานวณไดนี้ในทางปฏิบัติจะบวกเพิ่มระยะในการ
ปฏิบัติงานและเผื่อระยะหางความปลอดภัยเขาไปอีกดังนั้นระยะหางทีก่ ําหนด
ในแบบมาตรฐานจึงไมตรงกับที่คํานวณไดจากสูตรโดยตรง ทั้งนี้ใหยึดถือ
ระยะหางที่กําหนดในแบบมาตรฐานเปนหลัก
225

บทที่ 7
การใชงานแบบมาตรฐานการกอสรางระบบสายสง 115 kV ของ กฟภ.

7.1 แบบมาตรฐาน “ ระยะหางระหวางชวงเสาของโครงสรางสายสง 115 kV (กรณีที่กอสรางระบบ


จําหนาย 22,33 kV ใตแนวสายสง 115 kV) โครงสรางเสาสําหรับทางตรงและทางโคง ” แบบ
เลขที่ SA1-015/48001 (การประกอบเลขที่ 5151)

จุดประสงคในการกําหนดแบบมาตรฐาน
เพื่อใชงานรวมกับแบบมาตรฐานโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับทางตรงและทางโคงของ
กฟภ. โดยรูปแบบการจัดวางสายไฟของระบบสายสง 115 kV เปนแบบเรียงลําดับเฟส A,B และ C ใน
แนวดิ่งจากบนลงลาง บนเสาไฟชนิดคอนกรีตอัดแรง (คอร.) ขนาด 22.00 ม. และระบบจําหนายใตแนว
สายสงบนเสาไฟชนิดคอนกรีตอัดแรง (คอร.) ขนาด 12.20 ม. นอกจากนีใ้ นแบบยังไดระบุรายละเอียด
ตางๆที่จําเปน เชน ชนิดวงจรไฟฟา ขนาดและจํานวนสายที่ใชงาน ระยะหางระหวางชวงเสาสูงสุด
ในชวงทางตรงและทางโคงของโครงสรางสายสง 115 kV และโครงสรางระบบจําหนายใตแนวสายสง
115 kV (ตนแซมใตไลน) รวมทั้งรูปแบบการกอสรางในชวงทางตรงและทางโคง ซึ่งแบบดังกลาวมี
ความจําเปนอยางยิ่งสําหรับการออกแบบและการกอสรางในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV ในแนว
ทางตรงและทางโคง ของ กฟภ.
สําหรับกรณีทพี่ ื้นที่กอสรางเปนลักษณะพืน้ ที่บริเวณภูเขานั้น ในบางชวงจะออกแบบ
โครงสรางเสาเปนแบบโครงสรางเหล็ก (steel tower) ที่สามารถกําหนดขอมูลตางๆ ใหมีความเหมาะสม
และสอดคลองกับการจายไฟและสภาพพืน้ ที่กอสราง เชน สายไฟฟา ระยะหางระหวางชวงเสา รวมทั้ง
รูปแบบการจัดวางเรียงสาย หลังจากนัน้ จึงออกแบบเสาโครงสรางเหล็กขึ้นใหมีความแข็งแรงเพียงพอ
ดังนั้นแบบมาตรฐานระยะหางฯนี้จึงไมเหมาะสมที่จะใชรวมกับเสาโครงสรางเหล็ก ใหใช
เฉพาะกับเสาไฟที่เปนชนิดเสาคอนกรีตอัดแรงเทานัน้ แตสามารถนําขอมูลของสายที่ระบุไวในตาราง
ไปใชในการออกแบบเสาโครงสรางเหล็กได
รูปแบบโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับทางตรงและทางโคง ที่ใชงานรวมกับแบบนี้ สามารถ
มีลักษณะวงจรสายไฟฟาไดทั้งหมด 4 รูปแบบ คือ

1. โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว


(Single Circuit Single Conductor ; SS )
2. โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู
(Single Circuit Double Conductor ; SD )
226

3. โครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดี่ยว


(Double Circuit Single Conductor ; DS )
4. โครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาคู
(Double Circuit Double Conductor ; DD )

การใชแบบมาตรฐาน
แผนที่ 1 ของจํานวน 6 แผน
ในแผนที่ 1 ไดระบุรายละเอียดตางๆ เชน วงจรไฟฟาตางๆ ขนาดสายสูงสุดและจํานวนสายทีใ่ ช
งาน ที่สามารถติดตั้งใชงานบนโครงสรางสายสง 115 kV ได โดยสายทีใ่ ชงานจะมีทั้งหมด 6 ชนิด แตละ
ชนิดจะมีขนาดสายสูงสุดและจํานวนเสนเปนไปตามที่ระบุไวในตาราง ตามรูปที่ 7-1

รูปที่ 7-1 แสดงรายละเอียดของสายชนิดตางๆ ที่สามารถติดตั้งได บนโครงสรางสายสง


115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว และวงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู
227

ยกตัวอยางเชน สายไฟทีใ่ ชงานในระบบสายสง 115 kV จะใชเปนสายอะลูมิเนียมตีเกลียว


เปลือย ขนาด 400 ต.มม. ติดตั้งใชงานจํานวนไมเกิน 3 เสน สําหรับโครงสรางสายสง 115 kV วงจร
เดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว (SS) และติดตั้งใชงานจํานวนไมเกิน 6 เสน สําหรับโครงสรางสายสง 115 kV
วงจรเดีย่ ว สายไฟฟาคู (SD) สวนสายชนิดอื่นๆ ก็พิจารณาไดในทํานองเดียวกัน
สวนในตารางตามรูปที่ 7-2 จะแสดงระยะชวงเสาสูงสุดของสายวงจรตางๆ กลาวคือ หากเปน
วงจรระบบ 115 kV ซึ่งหมายถึงสายลอฟาและสายสง 115 kV ในการกําหนดจุดปกเสาจะตองมีระยะหาง
ระหวางเสาไมเกิน 80 ม. (ปกเสาหางกันไมเกิน 80 ม.) สวนสายระบบจําหนาย 22,33 kV สายไฟฟาแรง
ต่ํา และสายสือ่ สารโทรคมมาคม จะตองมีระยะหางระหวางเสาไมเกิน 40 ม. โดยการกําหนดระยะชวง
เสาสูงสุดไวเชนนี้เพื่อใหโครงสรางสายสง 115 kV และโครงสรางระบบจําหนายใตแนวสายสง 115 kV
(ตนแซมใตไลน) มีความปลอดภัยเพียงพอในการรับโหลดที่เกิดจากแรงลมกระทํากับสายไฟฟาและเสา
ไฟฟา นัน่ หมายถึงเสาไฟฟาจะมีโมเมนตใชงานเพียงพอ สําหรับรูปแสดงมุมเบีย่ งเบนระหวางเสาดู
ตัวอยางไดจากรูปที่ 7-3 ในสวนคาแรงดึงในสายสําหรับการกอสรางในชวงทางตรง ใหดูจากแบบ
มาตรฐานการหยอนยานของสายแตละชนิด ซึ่งแสดงไวในรูปแบบกราฟและตาราง สําหรับวิธีพิจารณา
หาคาแรงดึงจากกราฟและตารางในแบบมาตรฐานการหยอนยานของสายสามารถดูไดจากบทที่ 5

รูปที่ 7-2 รูปแสดงตารางระยะชวงเสาสูงสุดของวงจรไฟฟา สําหรับกอสรางในชวงทางตรง


สําหรับโครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว และวงจรเดี่ยว
สายไฟฟาคู

สําหรับแผนผังรูปแบบการปกเสาในชวงทางตรงที่ระยะชวงเสาสูงสุดที่กําหนดไวนี้ สามารถดูได
ในแผนผังที่ 1 ในแผนที่ 5
228

แผนที่ 2 ของจํานวน 6 แผน


ในแผนที่ 2 ไดระบุรายละเอียดสําหรับการกอสรางระบบสายสง 115 kV ชวงกอสรางแบบไม
รับแรงดึง (slack span section) ซึ่งโดยทั่วไปจะหมายถึงการกอสรางในชวงทางโคงโดยใชโครงสราง
สายสง 115 kV สําหรับทางโคง ซึ่งเหตุผลที่ในชวงทางโคงจําเปนตองกอสรางแบบ ไมรับแรงดึง
เนื่องจากในชวงทางโคงโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับทางโคง เชน โครงสรางแบบ SS-SA-2 จะมี
แรงลัพธที่ตั้งฉากกับเสา คอร. เกิดขึ้นเพิม่ อีกหนึ่งแรง โดยเกิดขึ้นเนือ่ งจาก แรงดึงในสายในชวงทาง
โคงมีมุมเบี่ยงเบน หากแรงดึงในสายในชวงทางโคงไมมีมุมเบี่ยงเบนก็จะไมมีแรงลัพธดังกลาวเกิดขึ้น
ดังนั้นเมื่อมีแรงลัพธเพิ่มขึ้นแตโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับทางโคง ยังคงใชเสา คอร. ขนาด 22 ม. ที่
มีโมเมนตใชงานเชนเดียวกับโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับทางตรง จะทําใหเสาไฟมีโมเมนตใชงาน
ไมเพียงพอ จึงทําใหไมมีความมั่นคงแข็งแรงและความปลอดภัย ในการปฏิบัติจึงใชวธิ ีการหยอนหรือลด
แรงดึง (reduce or slack tension) ในสายในชวงทางโคงลง โดยเรียกการกอสรางแบบนี้วา ชวงกอสราง
แบบไมรับแรงดึง หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกวา slack span section
สําหรับรูปแบบกอสรางแบบไมรับแรงดึงตามรูปที่ 7-3 ไดแสดงเปนลักษณะรูปที่มองจาก
ดานบนของโครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู ซึ่งมีใชงานรวม 2 รูปแบบ แตทั้งนี้ใหใช
สําหรับสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยวดวย โดยในแบบไมไดกําหนดชื่อแบบโครงสรางสาย
สง 115 kV ไว ซึ่งในทางปฎิบัติจะตองเลือกแบบโครงสรางสายสง 115 kV ที่มีรูปที่มองจากดานบนให
เหมือนกันและใหเปนไปตามขอแนะนําการใชงานที่ระบุไวทายแบบดวย

รูปที่ 7-3 แสดงรูปดานบนของโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับกอสรางในชวงทางโคง


สําหรับโครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว และวงจรเดี่ยว
สายไฟฟาคู
229

รูปที่ 7-3 แสดงรูปดานบนของโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับกอสรางในชวงทางโคง


สําหรับโครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว และวงจรเดี่ยว
สายไฟฟาคู( ตอ)

สําหรับตารางที่ใชงานที่แสดงไวตามรูปที่ 7-4 ไดระบุรายละเอียดของมุมเบี่ยงเบนระหวางเสา


(หรือมุมเบี่ยงเบนของสาย) ระยะชวงเสาสูงสุด “ L ” และระยะหยอนยาน (sag) ต่ําสุดของสายแตละ
ชนิดที่ติดตั้งบนโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับทางโคง ซึ่งจะสังเกตไดวาระยะหยอนยานที่ระบุนี้จะ
มากกวาในชวงทางตรง (ในกราฟระยะหยอนยานของสาย) ประมาณ 2 เทา ทั้งนี้ก็เพื่อลดแรงดึงใน
สายในชวงทางโคงลงตามเหตุผลที่ไดกลาวมาขางตน ในการใชตารางก็มตี ัวอยางเชน หากกําหนดจุดปก
เสาในชวงทางโคงใหมีมุมเบีย่ งเบนระหวางเสาที่ 5o ดังนั้นเสาไฟฟาที่ปกจะตองมีระยะหางกันไมเกิน
45 ม. และสายแตละชนิดตัง้ แตลําดับที่ 1-6 ใหปลอยสายใหมีระยะหยอนยานไมนอ ยกวาที่ระบุไวใน
ตาราง เชน สายลอฟาก็ตองปลอยสายใหมีระยะหยอนยานไมใหนอยกวา 0.30 ม. สวนสายอื่นๆ ก็ใหดูที่
ระบุไวในตาราง สําหรับสายแตละชนิดตัง้ แตลําดับที่ 1-6 มีลักษณะอยางไรขอใหยอ นกลับไปดูในแผนที่ 1

รูปที่ 7-4 ตารางแสดงคาตางๆ สําหรับกอสรางในชวงทางโคง สําหรับโครงสราง


สายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว และวงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู
230

ปจจุบันในงานกอสรางในชวงทางโคงของ กฟภ. ทีใ่ ชโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับชวง


ทางโคง เสาบางตนในชวงโคงแทบจะไมมีแรงลัพธที่ตั้งฉากกับเสา คอร. เกิดขึ้นเลยโดยใหสังเกตจากลูก
ถวยฉนวนไฟฟาซึ่งจะไมมกี ารเบี่ยงเบนเขาหาเสาหรือเบี่ยงเบนออกจากเสา ดังนั้น เสาตนดังกลาวนี้จะมี
ความปลอดภัยมากกวาเสาตนขางเคียง (โดยเสาตนขางเคียงมีมุมเบี่ยงเบนระหวางเสาเกิดขึ้นอยู) ซึ่ง
ถือวาปกติยังสามารถใชงานไดอยางปลอดภัย และเสาทุกตนในชวงทางโคงก็ยังมีความปลอดภัยหาก
ขั้นตอนการออกแบบและกอสรางใชคาเปนไปตามตารางในรูปที่ 7-4
จากกรณีที่มเี สาในชวงทางโคงบางตนไมมแี รงลัพธในชวงทางโคงเกิดขึน้ เชนเดียวกับเสาตนอืน่ ๆ
การติดตั้งคอนรับสายของสายสง 115 kV จึงสามารถติดตั้งแบบคอนเดีย่ วแทนการติดตั้งเปนแบบคอนคู
ได โดยความมั่นคงแข็งแรงก็ยังมีเพียงพอเนื่องจากระยะชวงเสาสูงสุด “ L ” ในชวงทางโคงจะนอยกวา
ในชวงทางตรง โดยทางโคงจะไมเกิน 45 ม. สวนทางตรงจะไมเกิน 80 ม. ดังนัน้ จึงสามารถติดตั้งเปน
คอนเดี่ยวได ทั้งนี้ใหนําแบบโครงสรางสายสง 115 kV แบบ SS-SA-4 หรือ SD-SA-4 มาใชงาน

แผนที่ 3 ของจํานวน 6 แผน


ในแผนที่ 3 จะระบุรายละเอียดของวงจรไฟฟาตางๆ ขนาดสายสูงสุดและจํานวนสายที่ใชงาน
ที่สามารถติดตั้งใชงานบนโครงสรางสายสง 115 kV ได เชนเดียวกับแผนที่ 1 แตจะใชสําหรับโครงสราง
สายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดี่ยว (DS) และโครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาคู (DD) ดัง
รูปที่ 7-5 การใชงานก็จะเปนทํานองเดียวกันกับสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว ยกตัวอยางเชน สายไฟที่ใช
งานในระบบสายสง 115 kV จะใชเปนสายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย ขนาด 400 ต.มม. ติดตั้งใชงาน
จํานวนไมเกิน 6 เสน สําหรับโครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดีย่ ว (DS) และติดตั้งใชงาน
จํานวนไมเกิน 12 เสน สําหรับโครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาคู (DD) สวนสายชนิดอืน่ ๆ ก็
พิจารณาไดในทํานองเดียวกัน
ซึ่งเหตุผลในการเลือกใชโครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดี่ยว (DS) หรือโครงสราง
สายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาคู (DD) ก็เนื่องมาจากมีการใชโหลดไฟฟาสูงมากกวาที่โครงสรางสาย
สง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว (SS) หรือโครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)
จะรองรับได
231

รูปที่ 7-5 แสดงรายละเอียดของสายชนิดตางๆ ที่สามารถติดตั้งได สําหรับโครงสราง


สายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดีย่ ว และวงจรคู สายไฟฟาคู

สวนในตารางตามรูปที่ 7-6 จะแสดงระยะชวงเสาสูงสุดของสายวงจรตางๆ โดยทุกวงจรไฟฟาทั้ง


วงจรระบบ 115 kV วงจรระบบ 22,33 kV วงจรแรงต่าํ และระบบสื่อสาร จะตองมีระยะหางระหวางเสาไม
เกิน 40 ม. โดยเหตุผลทีก่ ําหนดไวเทานีก้ ็เพือ่ ใหเสาไฟมีความปลอดภัยเพียงพอในการรับโหลด (แรงลม) ที่
กระทํากับสายไฟฟาและเสาไฟฟา สําหรับรูปแสดงมุมเบี่ยงเบนระหวางเสาจะดูตวั อยางไดจากรูปที่ 7-7
ในสวนคาแรงดึงในสายสําหรับการกอสรางในชวงทางตรง ใหดจู ากแบบมาตรฐานการหยอนยานของสาย
แตละชนิด โดยจะแสดงไวในรูปแบบกราฟและตาราง ซึ่งวิธีพิจารณาหาคาแรงดึงจากกราฟและตารางใน
แบบการหยอนยานของสายดูไดจากบทที่ 5 สวนแผนผังรูปแบบการปกเสาในชวงทางตรงที่ระยะชวงเสาที่
กําหนดไวนดี้ ูไดในแผนผังที่ 2 ในแผนที่ 5

รูปที่ 7-6 ตารางแสดงระยะชวงเสาสูงสุดของวงจรไฟฟา ที่กอสรางในชวงทางตรงสําหรับ


โครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดี่ยว และวงจรคู สายไฟฟาคู
232

แผนที่ 4 ของจํานวน 6 แผน


ในแผนที่ 4 ไดระบุรายละเอียดสําหรับการกอสรางระบบสายสง 115 kV ชวงกอสรางแบบไม
รับแรงดึง (slack span section) สําหรับสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดีย่ ว และวงจรคู สายไฟฟาคู
โดยเหตุผลที่ในชวงทางโคงตองกอสรางแบบไมรับแรงดึง จะเหมือนกับกรณีสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว
สายไฟฟาเดี่ยว และวงจรเดีย่ ว สายไฟฟาคู ที่ไดกลาวไปแลว
สําหรับรูปแบบกอสรางแบบไมรับแรงดึงในแผนที่ 4 ดังรูปที่ 7-7 แสดงเปนลักษณะรูปที่มอง
จากดานบนของโครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาคู ซึ่งมีใชงานรวม 2 รูปแบบ แตทั้งนี้
สามารถใชสําหรับสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดี่ยวไดเชนกัน สําหรับคาตางๆ ที่ใชในการ
ออกแบบและกอสรางในชวงทางโคง ก็แสดงไวในตารางตามรูปที่ 7-8 ซึ่งการใชงานก็จะเปนไปใน
ทํานองเดียวกันตามที่ไดยกตัวอยางและอธิบายลักษณะสายสง 115 kV วงจรเดี่ยวไวแลว สําหรับสายแต
ละชนิดตั้งแตลําดับที่ 1-6 ขอใหยอนกลับไปดูในแผนที่ 3 ดวย

รูปที่ 7-7 แสดงรูปดานบนของโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับกอสรางในชวงทางโคง


สําหรับโครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดี่ยว และวงจรคู สายไฟฟาคู
233

รูปที่ 7-8 ตารางแสดงคาตางๆ สําหรับกอสรางในชวงทางโคง สําหรับโครงสราง


สายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดีย่ ว และวงจรคู สายไฟฟาคู

แผนที่ 5 ของจํานวน 6 แผน


ในแผนที่ 5 เปนการระบุระยะหางระหวางชวงเสาของโครงสรางสายสง 115 kV ซึ่งใชเปนเสา
คอร. ขนาด 22.00 ม. และโครงสรางระบบจําหนาย 22,33 kV ใตแนวสายสง 115 kV (เสาตนแซมไลน)
ใชเปนเสา คอร. ขนาด 12.20 ม. โดยในแผนผังที่ 1 แสดงสําหรับโครงสรางสายสง 115 kV ที่กอสราง
ในชวงทางตรง เปนลักษณะวงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว (SS) และวงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD) มีระยะหาง
ชวงเสาไมเกิน 80 ม. และใชเสา คอร. ขนาด 12.20 ม. ปกแซมกึ่งกลางระหวางโครงสรางสายสง 115 kV
มีระยะหางจากโครงสรางสายสง 115 kV แตละตนไมเกิน 40 ม. ตามรูปที่ 7-9

รูปที่ 7-9 แสดงแผนผังสําหรับโครงสรางสายสง 115 kV ที่กอสรางในชวงทางตรง สําหรับ


โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว และวงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู
234

จากรูปที่ 7-9 มีขอสําคัญในการออกแบบใชงานคือ การติดตั้งคอนรับสายของระบบสายสง 115


kV และระบบจําหนาย 22,33 kV ใตแนวสายสง จะตองติดสลับหนาเสาเพื่ออาศัยชวงหนากวางของคอน
รับสายที่ติดตั้งที่เสา คอร. เปนตัวชวยลดทอนแรงดึงในสายไฟลงในกรณีที่ระบบไฟฟาเกิดความผิด
พรองขึ้น เชน สายไฟขาดหรือตึงเกินไป หรือเสาไฟลม ผลที่ไดคือ เสาไฟจะลมหรือหักเปนระยะชวง
สั้นๆ เพียงไมกี่ตน และขอสําคัญอีกประการหนึง่ คือโครงสรางระบบจําหนาย 22,33 kV ใตแนวสายสง
115 kV (เสาตนแซมใตไลน) จะตองมีระยะหางจากโครงสรางสายสง 115 kV ไมเกิน 40 ม. เทานั้น
เนื่องจากหากมีการขยับเสาตนแซมใตไลนไปดานใดดานหนึ่งแลว จะเปนผลใหโครงสรางสายสง 115
kV ตนขางเคียงมีความมั่นคงแข็งแรงไมเพียงพอได กลาวคือโครงสราง สายสง 115 kV บางตนจะรับ
โหลดแรงลมที่ปะทะสายระบบจําหนาย 22,33 kV ที่ติดตั้งอยูบนโครงสรางมากขึ้นกวาที่กําหนดไว
เนื่องจากสายระบบจําหนาย 22,33 kV มีชวงระยะรับลมปะทะมากขึ้นนัน่ เอง จึงตองรักษาระยะหางชวง
เสาของเสาตนแซมใตไลน ใหมีระยะเปนไปตามที่ระบุไวอยางเครงครัด จึงจะทําใหโครงสรางสายสง
115 kV ยังมีความมั่งคงแข็งแรงเพียงพอ
สําหรับในแผนผังที่ 2 ตามรูปที่ 7-10 แสดงโครงสรางสายสง 115 kV ที่กอสรางในชวง
ทางตรง เปนลักษณะวงจรคู สายไฟฟาเดี่ยว (DS) และวงจรคู สายไฟฟาคู (DD) ซึ่งจะใชเพียงเสาคอร.
ขนาด 22.00 ม. โดยไมมีเสา คอร. 12.20 ม. ปกแซมใตไลนสายสง 115 kV เนื่องจากเสา คอร. 22.00 ม.
แตละตนมีโมเมนตใชงานเพียงพอ จึงไมตอ งใชเสา คอร. 12.20 ม. ที่เปนเชนนี้เนื่องจากสายสง 115 kV
วงจรคู สายไฟคู มีการติดตัง้ สายไฟของวงจรระบบ 115 kV เพิ่มขึ้นเปน 12 เสน จึงตองลดระยะหาง
ชวงเสาลงเหลือ 40 ม. เพือ่ ใหเสาไฟมีโมเมนตใชงานเพียงพอ สวนสายสง 115 kV ลักษณะวงจรคู
สายไฟฟาเดี่ยว (DS) ในความเปนจริงจะสามารถเพิ่มระยะหางชวงเสาไดเปน 80 ม. เนื่องจากมีจาํ นวน
สายไฟระบบสายสง 115 kV เทากับลักษณะวงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD) คือจํานวน 6 เสน แตในทาง
ปฏิบัติหากจะเพิ่มสายไฟระบบ 115 kV ใหเปนลักษณะวงจรคู สายไฟฟาคู (DD) จะตองปกเสา คอร.
22.00 ม. แซมกลางเพิ่ม ซึ่งยากในการปฏิบัติ ดังนั้นจึงตองกําหนดใหมีระยะหางชวงเสาสําหรับสายสง
115 kV ลักษณะวงจรคู สายไฟฟาเดี่ยว [DS) ไมเกิน 40 ม. ดวย เผื่อไวรองรับสายสง 115 kV วงจรคู
สายไฟฟาคู ทีจ่ ะเกิดขึ้นในอนาคต สําหรับการติดตั้งคอนรับสายของระบบสายสง 115 kV และระบบ
จําหนาย 22,33 kV ใตแนวสายสง 115 kV ก็จะตองติดสลับหนาเสา โดยมีเหตุผลตามที่ไดกลาวไปแลว
235

รูปที่ 7-10 ตารางแสดงระยะชวงเสาสูงสุดของวงจรไฟฟา สําหรับกอสรางในชวงทางตรง


สําหรับโครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดี่ยว และวงจรคู สายไฟฟาคู

แผนที่ 6 ของจํานวน 6 แผน


ในแผนที่ 6 จะเปนการระบุรายละเอียดเพิม่ เติมในการใชแบบ โดยประเด็นที่สําคัญที่จะกลาวถึง
คือ ความจําเปนที่ตองใชโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับเขาปลายสายสองขาง แบบ SS-DD-3 และ
แบบ SD-DD-3 ที่จุดเปลี่ยนโคง (โคงรูปตัวเอส) สําหรับงานกอสรางสายสง 115 kV ในชวงทางโคงไม
รับแรงดึง ที่กําหนดเชนนี้เนื่องจากมุมเบีย่ งเบนระหวางเสา (θo) แตละชวงในตารางตามรูปที่ 7-4 และ
7-8 จะมีชวงเสาสูงสุด “L” ไมเทากัน แตมีระยะหยอนยานของสาย (sag) เทากัน จึงทําใหมีแรงดึงในแต
ละโคงมีคาไมเทากัน ซึ่งในการออกแบบกําหนดจุดปกเสาโครงสรางสายสง 115 kV ในชวงทางโคงที่มี
หลายโคงตอกัน (จะเปนลักษณะรูปตัวเอส) เปนไปไดยากมากทีจ่ ะออกแบบใหมีมมุ เบี่ยงเบนระหวาง
เสาเทากันเพื่อจะใหมีแรงดึงสายเทากันในทุกชวงโคง ซึ่งมีหลายตัวแปรที่ทําใหมุมเบี่ยงเบนระหวางเสา
ไมเทากัน เชน ความโคงของถนน มีสิ่งปลูกสรางในชวงทางโคง และอื่นๆ เหลานี้เปนสาเหตุทําใหมุม
เบี่ยงเบนระหวางเสามีคาไมเทากัน (การพิจารณามุมเบี่ยงเบนระหวางเสาเพื่อกําหนดจุดปกเสาในชวง
ทางโคง ดูไดจากบทที่ 5)
ดังนั้นเมื่อเปนเชนนี้ จึงจําเปนตองกําหนดจุดปกเสาโครงสรางสายสง 115 kV ใหเหมาะสมใน
แตละชวงโคง ทําใหในบางโคงที่ตอเนื่องกันอาจมีแรงดึงในสายไมเทากันได สําหรับชวงโคงที่
ตอเนื่องกันหากมีแรงดึงในสายไมเทากัน ก็จําเปนตองมีการถายแรงดึงในสายทีไ่ มเทากันที่เสา คอร.
ขนาด 22.00 ม. กอนที่จะพาดสายในชวงโคงถัดไป สําหรับโครงสรางสายสง 115 kV ที่เปนตัวรับแรง
236

ดึงในสายทัง้ สองดานไมเทากัน จําเปนจะตองใชโครงสรางสําหรับเขาปลายสายสองขาง หากยังคงใช


โครงสรางสําหรับทางตรง หรือสําหรับทางโคง ติดตั้งที่จุดเปลี่ยนโคงก็จะทําใหลูกถวยฉนวนเบีย่ งเบน
ไมสมดุล ทําใหอาจมีระยะหางทางไฟฟาไมเพียงพอ เกิดความไมปลอดภัยขึน้ ได และเมื่อมีการถายแรงดึง
ในสายทั้งสองดานที่ไมเทากันลงที่โครงสรางสายสง 115 kV สําหรับเขาปลายสายสองขางที่ทุกจุด
เปลี่ยนโคงแลว หากเกิดความผิดพรองในระบบไฟฟาขึน้ เชน สายไฟขาดในชวงโคงใดๆ ในชวงโคง
ถัดไปก็จะไมเกิดอันตรายขึ้นได เนื่องจากแรงดึงในสายไดถูกตัดออกโดยโครงสรางสายสงสําหรับเขา
ปลายสายสองขางนี้
สําหรับในหมายเหตุขออื่นๆ ก็ใหดําเนินการตามที่ระบุไว เพื่อใหระบบไฟฟามีความมั่นคงแต
หากดําเนินการไมถูกตองตามที่กําหนดไวก็จะทําใหระบบไฟฟาเกิดความไมมั่นคงขึน้ ได เชน ที่เสาตน
แซมใตไลนหากตองการใชเสา คอร. ขนาด 12.00 ม. ทีม่ ีโมเมนตใชงานต่ํากวาแทนเสา คอร. 12.20 ม.
ผลที่เกิดขึ้นคือ ในสภาวะปกติเสาตนดังกลาวยังคงตั้งใชงานไดตามปกติ แตเมื่อมีลมพายุพัดผานมา เสา
คอร. ขนาด 12.00 ม. ก็จะลมพังเสียหาย และทําใหเสาโครงสรางสายสง 115 kV ตนขางเคียงไดรับ
ความเสียหายตามไปดวย
สําหรับในสวนตอไป จะไดกลาวถึงโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองใชงานรวมกับ
แบบมาตรฐานนี้ โดยจะเริม่ แนะนําตั้งแตโครงสรางสายสง 115 kV ที่กอสรางในชวงทางตรง จนถึง
โครงสรางสายสง 115 kV ที่กอสรางในชวงทางโคง ซึ่งโครงสรางสายสง 115 kV ที่อยูระหวางชวง
ทางตรง และทางโคง ก็ยังมีอีกหลายโครงสราง เชน โครงสรางสายสง 115 kV เสาตนทางตรงกอนเสา
ตนเขาปลายสาย หรือโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับเขาปลายสายสองขาง กอนเสาชวงทางโคง ซึ่ง
จะมีชื่อเรียกแตกตางกันออกไป โดยรายละเอียดโครงสรางสายสง 115 kV ทั้งหมดจะไดกลาวตอจากนี้
ไป
237

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาสําหรับทางตรง


ชื่อแบบโครงสราง SS-TG-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/33001 (5212)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสรางในพืน้ ที่ราบ ไม
เหมาะในพืน้ ทีบ่ ริเวณภูเขาทีม่ ีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงการประกอบหัวเสา เพื่อใหมี
ระยะหางทางไฟฟามากขึ้น จึงไมควรนํามาออกแบบใชงานในงาน
กอสรางสายสง 115 kV ที่มีการกอสรางใหม
238

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาสําหรับทางตรง


ชื่อแบบโครงสราง SS-TG-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/48002 (5212A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสรางในพืน้ ที่ราบ ไม
เหมาะในพืน้ ทีบ่ ริเวณภูเขาทีม่ ีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสา สามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
239

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาสําหรับทางตรง


ชื่อแบบโครงสราง SS-TG-3
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/35022 (5215)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสรางในพื้นทีร่ าบ ไมเหมาะ
ในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง และเผื่อไวสําหรับเปนสาย
สงวงจรคูในอนาคต
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระดับสูงขึ้น
240

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาสําหรับทางตรง กอนเสา


ตนเขาปลายสาย
ชื่อแบบโครงสราง SS-TG-4
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/36008 (5217)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง กอนเสา
ตนเขาปลายสาย มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสราง
ในพื้นที่ราบ ไมเหมาะในพืน้ ที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง และ
เผื่อไวสําหรับเปนสายสงวงจรคูในอนาคต
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระดับสูงขึ้น
241

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย: มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาตนทางตรง กอนเสาตน
เขาปลายสาย
ชื่อแบบโครงสราง SS-TG-5
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/39014 (5220)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง กอน
เสาตนเขาปลายสาย มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา และ ใช
กอสรางในพื้นที่ราบ ไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงการประกอบหัวเสาเพือ่ ใหมี
ระยะหางทางไฟฟามากขึ้น ดังนั้นในงานการกอสรางระบบสายสง
ใหมใหใชแบบการประกอบเลขที่ 5220A แทน
242

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาตนทางตรง กอนเสาตน


เขาปลายสาย
ชื่อแบบโครงสราง SS-TG-5
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/48004 (5220A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง กอน
เสาตนเขาปลายสาย มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา และ ใช
กอสรางในพื้นที่ราบไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
243

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย: มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาสําหรับทางตรง
ชื่อแบบโครงสราง SS-TG-6
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/41014 (5223)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสรางในพื้นทีร่ าบ ไมเหมาะ
ในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง โดยใชสําหรับเบี่ยงสายออก
จากอาคารหรือสิ่งกอสรางเพื่อเพิ่มระยะหางความปลอดภัยทางไฟฟา
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระดับสูงขึ้น
244

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย: มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาสําหรับเขาปลายสาย
สองขาง กอนเสาชวงทางโคง
ชื่อแบบโครงสราง SS-AS-4
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/39013 (5221)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนเขาปลายสายสองขาง
กอนเสาชวงทางโคง มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสราง
ในพื้นที่ราบ ไมเหมาะใน พืน้ ที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงการประกอบหัวเสา เพื่อใหมี
ระยะหางทางไฟฟามากขึ้น ดังนั้นในงานการกอสรางระบบสายสง
ใหมใหใชแบบการประกอบเลขที่ 5221A แทน
245

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย: มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาสําหรับเขาปลายสาย
สองขาง กอนเสาชวงทางโคง
ชื่อแบบโครงสราง SS-AS-4
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/48005 (5221A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนเขาปลายสายสองขาง
กอนเสาชวงทางโคง มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสราง
ในพื้นที่ราบ ไมเหมาะในพืน้ ที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
246

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย: มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาสําหรับทางโคง ตอจากตน
เขาปลายสายสองขาง
ชื่อแบบโครงสราง SS-SA-4
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/39015 (5222)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางโคง ตอ จากตน
เขาปลายสายสองขาง มุมเบีย่ งเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสราง
ในพื้นทีร่ าบ ไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงการประกอบหัวเสาเพือ่ ใหมี
ระยะหางทางไฟฟามากขึ้น และมีสายยึดโยงเพียง 4 เสน เมื่อตองการ
เพิ่มสายไฟฟาจากสายไฟฟาเดี่ยวเปนสายไฟฟาคูในอนาคตจําเปนตอง
เพิ่มจํานวนสายยึดโยงอีก ดังนั้นในงานการกอสรางระบบสายสงใหม
ใหใชแบบการประกอบเลขที่ 5222A แทน
247

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย: มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาสําหรับทางโคง ตอจากตน
เขาปลายสายสองขาง
ชื่อแบบโครงสราง SS-SA-4
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/49004 (5222A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางโคง ตอจากตนเขา
ปลายสายสองขาง มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา กรณี
ประยุกตใชงานไมมีสายยึดโยงมุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 10 องศาใช
กอสรางในพื้นที่ราบ ไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อม
สายตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กที่โคนเสาไดโดยตรง ปรับปรุงการ
ประกอบหัวเสาใหมเพื่อใหมรี ะยะหางทางไฟฟามากขึ้น และ
เพิ่มสายยึดโยงเปน 7 เสน เพื่อเพิ่มความมัน่ คงแข็งแรงมากขึ้น
248

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาสําหรับทางโคง


ชื่อแบบโครงสราง SS-SA-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/33006 (5213)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางโคง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 30 องศา ใชกอสรางในพืน้ ที่ราบ ไมเหมาะ
ในพื้นทีบ่ ริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง มีมุมสวิงของลูกถวยแขวนเขา
หาเสาไมเกิน 40 องศา หรือมุมสวิงออกจากเสาไมเกิน 45 องศา
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงการประกอบหัวเสา เพื่อใหมี
ระยะหางทางไฟฟามากขึ้น ดังนั้นในงานการกอสรางระบบสายสง
ใหมใหใชแบบการประกอบเลขที่ 5213A แทน
249

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาสําหรับทางโคง


ชื่อแบบโครงสราง SS-SA-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/48003 (5213A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางโคง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 30 องศา มีมุมสวิงของลูกถวยแขวนเขา
หาเสาไมเกิน 40 องศา หรือมุมสวิงออกจากเสาไมเกิน 45 องศา ใช
กอสรางในพืน้ ที่ราบไมเหมาะในพื้นทีบ่ ริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
250

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาสําหรับทางโคง


ชื่อแบบโครงสราง SS-SA-3
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/35026 (5216)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางโคง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 30 องศา มีมุมสวิงของลูกถวยแขวนเขา
หาเสาอยูระหวาง 25 - 55 องศา ใชกอสรางในพื้นที่ราบไมเหมาะใน
พื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดมีการปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระดับสูงขึ้น
251

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาสําหรับทางตรง


ชื่อแบบโครงสราง SD-TG-3
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/33002 (5264)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสรางในพืน้ ที่ราบ ไม
เหมาะในพืน้ ทีบ่ ริเวณภูเขาทีม่ ีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงการประกอบหัวเสาเพือ่ ใหมี
ระยะหางทางไฟฟามากขึ้น ดังนั้นในงานการกอสรางระบบสายสง
ใหมใหใชแบบการประกอบเลขที่ 5264A แทน
252

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาสําหรับทางตรง


ชื่อแบบโครงสราง SD-TG-3
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/48007 (5264A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสรางในพืน้ ที่ราบ ไม
เหมาะในพืน้ ทีบ่ ริเวณภูเขาทีม่ ีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
253

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาตนทางตรง กอนเสาตน


เขาปลายสาย
ชื่อแบบโครงสราง SD-TG-4
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/35004 (5267)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง กอน เสาตน
เขาปลายสาย มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา และใชกอสรางใน
พื้นที่ราบ ไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงการประกอบหัวเสาเพือ่ ใหมี
ระยะหางทางไฟฟามากขึ้น ดังนั้นในงานการกอสรางระบบสายสง
ใหมใหใชแบบการประกอบเลขที่ 5267A แทน
254

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย: มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาตนทางตรง กอนเสาตน
เขาปลายสาย
ชื่อแบบโครงสราง SD-TG-4
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/48009 (5267A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง กอน เสาตน
เขาปลายสาย มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา และใชกอสรางใน
พื้นที่ราบ ไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
255

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาสําหรับทางตรง


ชื่อแบบโครงสราง SD-TG-5
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/35023 (5270)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสรางในพื้นทีร่ าบ ไมเหมาะ
ในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง และเผื่อไวสําหรับเปนสาย
สงวงจรคูในอนาคต
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดมีการปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระดับสูงขึ้น
256

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย: มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาสําหรับทางตรง กอนเสาตน
เขาปลายสาย
ชื่อแบบโครงสราง SD-TG-6
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/36006 (5272)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง กอนเสา
ตนเขาปลายสาย มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสราง
ในพื้นที่ราบ ไมเหมาะในพืน้ ที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง และ
เผื่อไวสําหรับเปนสายสงวงจรคูในอนาคต
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระดับสูงขึ้น
257

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาสําหรับทางตรง


ชื่อแบบโครงสราง SD-TG-7
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/41009 (5277)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชสําหรับเบี่ยงสายออกจากอาคาร
หรือสิ่งกอสรางเพื่อเพิ่มระยะหางทางไฟฟา และใชกอสรางในพื้นที่
ราบ ไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระดับสูงขึ้น
258

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาสําหรับเขาปลายสาย


สองขาง กอนเสาชวงทางโคง
ชื่อแบบโครงสราง SD-AS-3
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/35003 (5266)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนเขาปลายสายสองขาง
กอนเสาชวงทางโคง มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสราง
ในพื้นที่ราบ ไมเหมาะในพืน้ ที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงการประกอบหัวเสาเพือ่ ใหมี
ระยะหางทางไฟฟามากขึ้น ดังนั้นในงานการกอสรางระบบสายสง
ใหมใหใชแบบการประกอบเลขที่ 5266A แทน
259

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย: มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาสําหรับเขาปลายสาย
สองขาง กอนเสาชวงทางโคง
ชื่อแบบโครงสราง SD-AS-3
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/48010 (5266A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนเขาปลายสายสองขาง
กอนเสาชวงทางโคง มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสราง
ในพื้นที่ราบ ไมเหมาะในพืน้ ที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
260

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาสําหรับทางโคง ตอจาก


ตนเขาปลายสายสองขาง
ชื่อแบบโครงสราง SD-SA-3
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/35005 (5268)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางโคง ตอจาก
ตนเขาปลายสายสองขาง มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใช
กอสรางในพื้นที่ราบ ไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงการประกอบหัวเสาเพือ่ ใหมี
ระยะหางทางไฟฟามากขึ้น และมีสายยึดโยงจํานวน 4 เสน ซึ่งใหความ
มั่นคงแข็งแรงระดับหนึ่ง ดังนั้นในงานการกอสรางระบบสายสงใหม
ใหใชแบบการประกอบเลขที่ 5268A แทน
261

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย: มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาสําหรับทางโคง ตอจาก
ตนเขาปลายสายสองขาง
ชื่อแบบโครงสราง SD-SA-3
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/49005 (5268A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางโคง ตอจากตนเขา
ปลายสายสองขาง มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา กรณี
ประยุกตใชงานไมมีสายยึดโยงมุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 10 องศาใช
กอสรางในพื้นที่ราบ ไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อม
สายตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กที่โคนเสาไดโดยตรง ปรับปรุงการ
ประกอบหัวเสาใหมเพื่อใหมรี ะยะหางทางไฟฟามากขึ้น และ
เพิ่มสายยึดโยงเปน 7 เสน เพื่อเพิ่มความมัน่ คงแข็งแรงมากขึ้น
262

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาสําหรับทางโคง


ชื่อแบบโครงสราง SD-SA-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/33007 (5265)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางโคง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 30 องศา มุมสวิงของลูกถวยแขวนเขาหา
เสาไมเกิน 35 องศา หรือมุมสวิงออกจากเสาไมเกิน 45 องศา ใช
กอสรางในพืน้ ที่ราบ ไมเหมาะในพื้นทีบ่ ริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงการประกอบหัวเสาเพือ่ ใหมี
ระยะหางทางไฟฟามากขึ้น ดังนั้นในงานการกอสรางระบบสายสง
ใหมใหใชแบบการประกอบเลขที่ 5265A แทน
263

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาสําหรับทางโคง


ชื่อแบบโครงสราง SD-SA-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/48008 (5265A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางโคง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 30 องศา มุมสวิงของลูกถวยแขวนเขาหา
เสาไมเกิน 35 องศา หรือมีมุมสวิงออกจากเสาไมเกิน 45 องศา ใช
กอสรางในพืน้ ที่ราบไมเหมาะในพื้นทีบ่ ริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
264

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาสําหรับทางโคง


ชื่อแบบโครงสราง SD-SA-4
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/35027 (5271)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางโคง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 30 องศา มุมสวิงของลูกถวยแขวนเขาหา
เสาอยูระหวาง 27 - 50 องศา ใชกอสรางในพื้นที่ราบไมเหมาะใน
พื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระดับสูงขึ้น
265

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาสําหรับเขาปลายสาย


สองขาง กอนเสาชวงทางโคง
ชื่อแบบโครงสราง SD-AS-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/31059 (5261)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนเขาปลายสาย
สองขาง กอนเสาชวงทางโคง ที่มีสายยึดโยงซึ่งเสาตนถัดไปตอง
มีการรองรับสายยึดโยงที่ออกจากปกคอนรับสายตนนี้ มีมุมเบี่ยง
เบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสรางในพื้นที่ราบ ไมเหมาะ
ในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดมีการปรับปรุงการประกอบหัวเสาเพื่อใหมี
ระดับสูงขึ้น
266

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดี่ยว (DS)

หนวย: มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดีย่ ว เสาสําหรับทางตรง
ชื่อแบบโครงสราง DS-TG-1
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/23015 (5301)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง มุมเบีย่ งเบน
ระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสรางในพื้นที่ราบ ไมเหมาะในพื้นที่
บริเวณภูเขาทีม่ ีความลาดชันสูง และเผื่อไวสําหรับระบบ 115 kV
สายไฟฟาคูในอนาคต
หมายเหตุ - เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระยะเหนือผิวจราจรมากขึ้น
- คอนสายแบบเหล็กวัสดุลําดับที่ 2 ใหเปลี่ยนเปนคอนสายแบบ
เหล็กรูปรางน้ํา วัสดุเลขที่ 1010000103
267

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดี่ยว (DS)

หนวย: มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดี่ยว เสาสําหรับทางตรง กอนเสา
ตนเขาปลายสาย
ชื่อแบบโครงสราง DS-TG-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/36010 (5304)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง กอนเสา
ตนเขาปลายสาย มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสราง
ในพื้นที่ราบ ไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง และ
สามารถเพิ่มสายไฟฟาเปนสายไฟฟาคูไดในอนาคต
หมายเหตุ - เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระยะเหนือผิวจราจรมากขึ้น
- คอนสายแบบเหล็กวัสดุลําดับที่ 2 ใหเปลี่ยนเปนคอนสายแบบ
เหล็กรูปรางน้ํา วัสดุเลขที่ 1010000103
268

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดี่ยว (DS)

หนวย: มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดีย่ ว เสาสําหรับทางโคง
ชื่อแบบโครงสราง DS-SA-1
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/23016 (5302)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางโคง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 30 องศา มุมสวิงของลูกถวยแขวนเขาหา
เสาหรือออกจากเสาไมเกิน 45 องศา ใชกอสรางในพื้นที่ราบ ไมเหมาะ
ในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง และสามารถเพิ่มสายไฟฟาเปน
สายไฟฟาคูไดในอนาคต
หมายเหตุ - เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระยะเหนือผิวจราจรมากขึ้น
- คอนสายแบบเหล็กวัสดุลําดับที่ 2 ใหเปลี่ยนเปนคอนสายแบบ
เหล็กรูปรางน้ํา วัสดุเลขที่ 1010000103
269

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาคู (DD)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาคู เสาสําหรับทางตรง


ชื่อแบบโครงสราง DD-TG-3
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/36004 (5358)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใชกอสรางในพืน้ ที่ราบ ไม
เหมาะในพืน้ ทีบ่ ริเวณภูเขาทีม่ ีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระดับสูงขึ้น
270

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาคู (DD)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาคู เสาตนทางตรง กอนเสาตน


เขาปลายสาย
ชื่อแบบโครงสราง DD-TG-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/36003 (5357)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางตรง กอน
เสาตนเขาปลายสาย มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใช
กอสรางในพื้นที่ราบไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระดับสูงขึ้น
271

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาคู (DD)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาคู เสาสําหรับทางโคง


ชื่อแบบโครงสราง DD-SA-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/36005 (5359)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนทางโคง มุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 30 องศา มุมสวิงของลูกถวยแขวนเขาหา
เสาหรือออกจากเสาไมเกิน 45 องศา ใชกอสรางในพื้นที่ราบไม
เหมาะในพืน้ ทีบ่ ริเวณภูเขาทีม่ ีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระดับสูงขึ้น
272

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาคู (DD)

หนวย: มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาคู เสาสําหรับเขาปลายสายสองขาง
แบบเสาคู
ชื่อแบบโครงสราง DD-DD-1
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/25005 (5354)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนเขาปลายสาย
สองขาง กอนเสาชวงทางโคง มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน
2 องศา ใชกอสรางในพื้นที่ราบไมเหมาะในพื้นทีบ่ ริเวณภูเขาทีม่ ี
ความลาดชันสูง
หมายเหตุ -เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงการประกอบหัวเสาเพื่อใหมี
ระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
- อนุญาตใหใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV ลักษณะ
วงจรคู สายไฟฟาเดีย่ ว ได
273

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาคู (DD)

หนวย: มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาคู เสาสําหรับเขาปลายสายสองขาง


กอนเสาชวงทางโคง
ชื่อแบบโครงสราง DD-AS-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/35024 (5356)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนเขาปลายสาย สอง
ขาง กอนเสาชวงทางโคง มุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2 องศา ใช
กอสรางในพืน้ ที่ราบไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ - เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงการประกอบหัวเสาเพือ่ ใหมี
ระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
- อนุญาตใหใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV ลักษณะ
วงจรคู สายไฟฟาเดีย่ ว ได
274

7.2 แบบมาตรฐาน “ ระยะหางระหวางชวงเสาของโครงสรางสายสง 115 kV (กรณีที่กอสรางระบบ


จําหนาย 22,33 kV ใตแนวสายสง 115 kV) โครงสรางเสา สําหรับทางโคง 90O ” แบบเลขที่
SA1-015/47009 (การประกอบเลขที่ 5161)

จุดประสงคในการกําหนดแบบมาตรฐาน
เพื่อใชงานรวมกับแบบมาตรฐานโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับทางโคง 90O ที่ใชกอสราง
บริเวณที่เปนลักษณะพืน้ ราบที่มีอยูทั้งหมดของ กฟภ. เพือ่ เปลี่ยนแนวสายไฟขามทางสัญจร หรืออาจจะ
ขามแมน้ํา คลอง หรือขามสาธารณูปโภคอืน่ ๆ โดยที่สายไฟมีมมุ เลีย้ วของสายอยูระหวาง 45O-135O โดย
รูปแบบการจัดวางสายไฟของระบบสายสง 115 kV เปนแบบเรียงลําดับเฟส A,B และ C ในแนวดิ่งจาก
บนลงลาง บนเสาไฟชนิดคอนกรีตอัดแรง (คอร.) ขนาด 22.00 ม. และระบบจําหนายใตแนวสายสงบน
เสาไฟชนิดคอนกรีตอัดแรง (คอร.) ขนาด 12.20 ม. นอกจากนีใ้ นแบบยังไดระบุรายละเอียดตางๆ ที่
จําเปน เชน ชนิดวงจรไฟฟา ขนาดและจํานวนสายที่ใชงาน ระยะหางระหวางชวงเสาสูงสุดในชวง
ทางตรงและทางโคงของโครงสรางสายสง 115 kV และโครงสรางระบบจําหนายใตแนวสายสง 115 kV
(ตนแซมใตไลน) รวมทั้งรูปแบบการกอสรางในชวงทางโคงมีมุมเลี้ยวของสายอยูระหวาง 45O-135O ซึ่ง
แบบดังกลาวมีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับการออกแบบและการกอสรางในงานกอสรางระบบสายสง 115
kV บนพืน้ ราบที่เปนทางโคงมีมุมเลี้ยวของสายอยูระหวาง 45O-135O ของ กฟภ.
สําหรับกรณีทพี่ ื้นที่กอสรางเปนพื้นที่บริเวณภูเขาในบางชวงจะออกแบบโครงสรางเสาเปน
แบบโครงสรางเหล็ก (steel tower) ที่สามารถกําหนดขอมูลตางๆ ใหมคี วามเหมาะสมและสอดคลองกับ
การจายไฟและสภาพพืน้ ที่กอ สราง เชน สายไฟฟา ระยะหางระหวางชวงเสา รวมทัง้ รูปแบบการจัดวาง
เรียงสาย หลังจากนั้นจึงออกแบบเสาโครงสรางเหล็กขึ้นใหมีความแข็งแรงเพียงพอ
ดังนั้นแบบมาตรฐานระยะหางนี้จึงไมเหมาะสมที่จะใชรวมกับเสาโครงสรางเหล็ก ใหใชเฉพาะ
กับเสาไฟที่เปนชนิดเสาคอนกรีตอัดแรงเทานั้น แตสามารถนําขอมูลของสายที่ระบุไวในตารางไปใชใน
การออกแบบเสาโครงสรางเหล็กได
สําหรับรูปแบบโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับทางโคง 90O ที่ใชงานรวมกับแบบนี้ สามารถ
มีลักษณะวงจรสายไฟฟา ไดเพียง 2 รูปแบบ คือ

1. โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว


(Single Circuit Single Conductor ; SS )
2. โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู
(Single Circuit Double Conductor ; SD )
275

สําหรับโครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดีย่ ว (DS) และโครงสรางสายสง 115 kV


วงจรคู สายไฟฟาคู (DD) จะไมสามารถนํามาใชงานรวมกับแบบมาตรฐานนี้ได
การใชแบบมาตรฐาน
แผนที่ 1 ของจํานวน 4 แผน
ในแผนที่ 1 ไดระบุรายละเอียดตางๆ ไว เชน วงจรไฟฟาตางๆ ขนาดสายสูงสุดและจํานวนสายที่
ใชงาน ที่สามารถติดตั้งใชงานบนโครงสรางเสาเดีย่ ว สําหรับทางโคง 90O ได โดยสายที่ใชงานจะมีทงั้ หมด
6 ชนิด แตละชนิดจะมีขนาดสายสูงสุดและจํานวนเสนเปนไปตามที่ระบุไวในตาราง ตามรูปที่ 7-11

รูปที่ 7-11 แสดงรายละเอียดของสายชนิดตางๆ ที่สามารถติดตัง้ ได บนโครงสราง


เสาเดีย่ ว สําหรับทางโคง 90O วงจรเดีย่ ว สายไฟฟาเดี่ยว และวงจรเดี่ยว
สายไฟฟาคู

สายไฟฟาทีใ่ ชงานในระบบสายสง 115 kV จะใชเปนสายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย ขนาด 400


ต.มม. (ซึ่งตอไปจะเรียกวา สายสง 115 kV) ติดตั้งใชงานจํานวนไมเกิน 3 เสน สําหรับโครงสรางสายสง
115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS) และติดตั้งใชงานจํานวนไมเกิน 6 เสน สําหรับโครงสรางสายสง
276

115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD) สวนสายชนิดอืน่ ๆ ก็พจิ ารณาได ในทํานองเดียวกัน แตในชวงขาม


ทางสัญจรจะลดจํานวนสายลงโดยใหขา มไดเฉพาะสายลอฟาและสายสง 115 kV เทานั้น สวนระบบอื่นๆที่
ติดตั้งอยูใ ตไลนหามพาดสายขามถนนไปพรอมกับสายสง 115 kV เนือ่ งจากจะทําใหระยะเหนือผิวจราจร
ไมเพียงพอ
สวนในตารางตามรูปที่ 7-12 จะแสดงระยะหยอนยานของสายต่ําสุด สําหรับชวงทางตรงและ
ชวงขามทางสัญจร โดยจะแบงออกเปน 2 กรณี คือ กรณีที่มีสายยึดโยง และไมมีสายยึดโยง ที่โครงสราง
เสา ซึ่งในกรณีพาดสายทางตรงที่มีสายยึดโยงนั้น แรงดึงในสายทุกชนิดทุกเสนจะสิ้นสุดลงอยูที่สายยึด
โยง (สายทุกชนิดทีก่ ําหนดในแบบตองทําสายยึดโยง) ดังนั้นสายทุกชนิดกําหนดใหใชแรงดึงในสาย
ตามมาตรฐานระยะหยอนยานของสาย(รูปกราฟระยะหยอนยานของสาย)ได ยกเวนสายสื่อสาร
โทรคมนาคมใหมีระยะหยอนยานของสายไมนอยกวา 0.5 เมตร เนื่องจากไมมีมาตรฐานระยะหยอนยาน
ของสายสื่อสารโทรคมนาคมจึงตองกําหนดแยกตางหาก เมื่อพาดสายทางตรงแลวก็ถึงชวงเลี้ยวโคงขาม
ทางสัญจร แมน้ํา หรืออื่นๆ ซึ่งในแบบไดระบุมุมเลี้ยวของสายอยูระหวาง 45O-135O เนื่องจากในงาน
กอสรางจริง โครงสรางเสาสําหรับทางโคง 90O ในบางครั้งไมสามารถปกตําแหนงใหตรงกันได อาจมี
มุมเยื้องกันไดบาง ดังนั้นจึงไดกําหนดมุมเบี่ยงเบนของสายใหครอบคลุมอยูระหวาง 45O-135O ไวดวย
ซึ่งชวงขามทางสัญจรสายที่ขามไดจะอนุญาตเพียง 2 วงจรไฟฟา คือ สายลอฟาและสายสง 115 kV โดย
ตองมีระยะหยอนยานของสายไมนอยกวา 1.00 และ 2.20 เมตร ตามลําดับ และสามารถขามทางสัญจรที่
มีชวงเสาสูงสุดไดไมเกิน 40 เมตร ที่กลาวมาเปนเฉพาะกรณีที่มีสายยึดโยง สวนกรณีที่โครงสรางเสา
สําหรับทางโคง 90O ไมมีสายยึดโยง จะแตกตางกันเพียงคาแรงดึงในสายที่พาดในชวงทางตรงจะตอง
เปลี่ยนใหมเฉพาะสายลอฟาและสายสง 115 kV เทานั้น สวนสายชนิดอื่นที่ติดตั้งอยูใตไลนใหมแี รงดึง
ในชวงทางตรงเปนไปตามมาตรฐานระยะหยอนยานของสายเหมือนเดิม เพราะวาสายยังคงมีการพาด
สายเดินตรงตอไป ไมขามทางสัญจรเหมือนกับสายลอฟาและสายสง 115 kV เพื่อใหเขาใจงายขึ้น
สามารถดูตามรูปภาพการใชงาน (1) ในแผนที่ 3 ได
สําหรับการกําหนดระยะชวงเสาสูงสุดไวที่ 40 เมตร ในชวงขามทางสัญจรนี้เพื่อใหโครงสราง
เสาสําหรับทางโคง 90O มีความปลอดภัยเพียงพอในการรับโหลด ที่เกิดจากแรงลมปะทะสายไฟฟาและ
เสาไฟฟา รวมทั้งแรงดึงในสายไฟชวงขามทางสัญจรดวย รวมทั้งไดพิจารณาถึงมุมเบี่ยงเบนของสาย
ระหวาง 45O-135O ไวแลว นั่นหมายถึงเสาไฟฟาจะมีโมเมนตใชงานเพียงพอ สําหรับวิธีพิจารณาหา
คาแรงดึงจากกราฟและตารางในแบบมาตรฐานการหยอนยานของสายสามารถดูไดจากบทที่ 5
277

รูปที่ 7-12 ตารางแสดงระยะหยอนยานต่ําสุดของสายชนิดตางๆ


สําหรับโครงสรางเสาเดี่ยว สําหรับทางโคง 90O

แผนที่ 2 ของจํานวน 4 แผน


ในแผนที่ 2 ไดระบุรายละเอียดการใชงานสําหรับโครงสรางเสาคู สําหรับทางโคง 90O
เชนเดียวกับแผนที่ 1 เชน วงจรไฟฟาตางๆ ขนาดสายสูงสุดและจํานวนสายที่ใชงาน ที่สามารถติดตั้งใช
งานบนโครงสรางเสาคู สําหรับทางโคง 90O ได โดยสายที่ใชงานจะมีทั้งหมด 6 ชนิด แตละชนิดจะมี
ขนาดสายสูงสุดและจํานวนเสนเปนไปตามที่ระบุไวในตาราง ตามรูปที่ 7-13

รูปที่ 7-13 แสดงรายละเอียดของสายชนิดตางๆ ที่สามารถติดตัง้ ได บนโครงสรางเสาคู


สําหรับทางโคง 90O วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว และวงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู
278

โดยในแผนที่ 2 เปนการระบุรายละเอียดที่เปนโครงสรางเสาคู ซึ่งหมายถึง โครงสรางนี้จะมี


โมเมนตใชงานสูงกวาแบบเสาเดี่ยว ทําใหโครงสรางเสาคูสําหรับทางโคง 90O สามารถเพิ่มจํานวนสาย
อะลูมิเนียมเปลือย ขนาด 400 ต.มม. ชวงขามทางสัญจร จากเดิมไมเกิน 3 เสน เปนไมเกิน 6 เสน ได
โดยในชวงขามทางสัญจรจะขามไดเฉพาะสายลอฟาและสายสง 115 kV เทานั้นเหมือนกับโครงสราง
เสา สําหรับ 90O แบบเสาเดีย่ ว
สวนในตารางตามรูปที่ 7-14 จะแสดงระยะหยอนยานของสายต่ําสุด สําหรับชวงทางตรงและ
ชวงขามทางสัญจร โดยจะแบงออกเปน 2 กรณีเชนดียวกัน คือ กรณีที่มีสายยึดโยงและไมมีสายยึดโยง
ติดตั้งอยูที่โครงสรางเสา ซึ่งในกรณีพาดสายทางตรงที่มสี ายยึดโยงนั้น จะแตกตางกันที่ระยะหยอนยาน
ของสายเปลือย 115 kV กลาวคือ สามารถลดระยะหยอนยานของสายลงเหลือ 0.8 เมตร ได เนื่องจากเปน
โครงสรางแบบเสาคู ทําใหสามารถเพิ่มแรงดึงในสายขึ้นได สวนสายชนิดอื่นๆ มีขอมูลรายละเอียด
เชนเดิมไมเปลี่ยนแปลง ซึ่งเมื่อพาดสายทางตรงแลวก็ถงึ ชวงเลี้ยวโคงขามทางสัญจร แมน้ํา หรืออื่นๆ
ซึ่งในแบบไดระบุมุมเบี่ยงเบนของสายอยูร ะหวาง 45O-135O สําหรับชวงขามทางสัญจรสายที่ขามไดจะ
อนุญาตเพียง 2 วงจรไฟฟาเชนเดิม คือ สายลอฟาและสายสง 115 kV ซึ่งในชวงขามทางสัญจรจะแบง
การใชงานออกเปน 4 รูปแบบคือ แบบ A, B, C และ D โดยแบบ A และ B จะใชกรณีที่มีสายยึดโยง
สวนแบบ C และ D จะใชกรณีที่ไมมีสายยึดโยง ซึ่งแตละกรณีจะมีระยะหยอนยานของสายลอฟาและ
สายเปลือย 115 kV ตางกัน เนื่องจากจํานวนสายสง 115 kV ที่พาดขามทางสัญจรไมเทากัน ซึ่งเพือ่ ให
เขาใจงายขึน้ ขอใหดูการใชงานในแผนที่ 3-4 ประกอบ แตทั้งนี้ในทุกกรณีก็กําหนดใหระยะชวงขาม
ทางสัญจร เปนระยะในแนวตั้งฉากหรือเปนระยะความกวางของถนน (ระยะชวงเสาในแนวเฉียงจะมี
ระยะมากกวา 80 เมตร)
สําหรับการกําหนดระยะชวงขามทางสัญจรในแนวตั้งฉากสูงสุดไวที่ 80 เมตร นัน้ ก็เพื่อให
โครงสรางเสาสําหรับทางโคง 90O มีความปลอดภัยเพียงพอในการรับโหลด ทีเ่ กิดจากแรงลมปะทะ
สายไฟฟาและเสาไฟฟา รวมทั้งแรงดึงในสายชวงขามทางสัญจรดวย โดยไดพจิ ารณาถึงมุมเบีย่ งเบนของ
สายระหวาง 45O-135O ไวแลว นัน่ หมายถึงเสาไฟฟาจะมีโมเมนตใชงานเพียงพอ สําหรับวิธีพจิ ารณาหาแรง
ดึงจากกราฟและตารางในแบบมาตรฐานการหยอนยานของสายสามารถดูไดจากบทที่ 5
279

รูปที่ 7-14 ตารางแสดงระยะหยอนยานต่ําสุดของสายชนิดตางๆ


สําหรับโครงสรางเสาคู สําหรับทางโคง 90O

แผนที่ 3-4 ของจํานวน 4 แผน


ในแผนที่ 3 และ 4 ดังแสดงในรูปที่ 7-15 เปนการระบุรูปแบบการใชงานของโครงสรางเสา สําหรับ
ทางโคง 90O โดยแยกเปน เสาเดี่ยวสําหรับทางโคง 90O และเสาคูสําหรับทางโคง 90O โดยทั้งเสาเดี่ยว
และเสาคูสําหรับทางโคง 90O กําหนดมีใหใชงานทั้งในกรณีที่มีและไมมีสายยึดโยง โดยการเลือกใชงาน
ตองใหสอดคลองกับสภาพที่กอสรางหนางาน เชน จุดติดตั้งโครงสรางเสา สําหรับทางโคง 90O จะ
สามารถกอสรางไดเปนแบบเสาเดี่ยวหรือเสาคู ถาหากกอสรางเปนเสาคูแลวการปฏิบัติกอสรางจะ
ลําบากหรือไม สิ่งเหลานี้ตองนํามาพิจารณารวมดวย สําหรับในแผนที่ 3-4 นี้ ไดแสดงเปนรูปที่มองจาก
ดานบนของไลนสายสง 115 kV โดยเสาตนที่แสดงเปนสีเขมจะหมายถึงเสาตนที่กาํ ลังพิจารณา ซึ่งก็คือ
โครงสรางเสา สําหรับทางโคง 90O ที่สามารถมีมุมเบี่ยงเบนของสายชวงขามทางสัญจรอยูระหวาง 45O-
135O ได ซึ่งมุมเบี่ยงเบนของสายชวงขามทางสัญจรนอยกวา 45O หรือมากกวา 135O จะทําใหปกของลูก
ถวยแขวนฉนวนไฟฟาและสายไฟฟาเขาใกลผิวเสา คอร. มากเกินไป จะทําใหระยะหางความปลอดภัย
ทางไฟฟาไมเพียงพอ นอกจากนีใ้ นแบบยังไดกําหนดระยะในการปกเสาโครงสรางระบบจําหนายใต
ไลนสายสง 115 kV (เสาตนแซมใตไลน) ไว เพื่อชวยแบงรับโมเมนตที่เกิดขึ้นที่เสา คอร. ขนาด 22.00
เมตร โดยเสาตนแซมใตไลนนี้จะตองมีระยะหางจากโครงสรางสายสง 115 kV เปนไปตามที่ระบุไวใน
แบบดวย เนือ่ งจากหากมีการขยับเสาตนแซม ใตไลนออกหางจากโครงสรางเสาสําหรับทางโคง 90O
มากขึ้นแลว จะทําใหโครงสรางเสาสําหรับทางโคง 90O มีความมั่นคงแข็งแรงไมเพียงพอได ดังนัน้ จึง
ตองรักษาระยะหางชวงเสาของเสาตนแซมใตไลน ใหมีระยะเปนไปตามที่ระบุไวอยางเครงครัด
280

รูปที่ 7-15 รูปแสดงการใชงานโครงสรางเสาเดี่ยวและเสาคู สําหรับทางโคง 90O


281

ซึ่งมีขอควรคํานึงถึงคือ คาระยะหยอนยานของสายที่ระบุไวในตารางในแผนที่ 1 และ 2 นั้นเปน


แบบชวงไมรบั แรงดึง หมายถึง ใหใชแรงดึงนอยกวาปกติที่เปนชวงทางตรง (แรงดึงในชวงทางตรงจะ
กําหนดตามตารางมาตรฐานระยะหยอนยานของสาย สวนแรงดึงในชวงไมรับแรงดึงจะคํานวณจากคา
ระยะหยอนยานของสายที่กําหนดเปนตัวเลขใชงานแทน) ดังนั้นในชวงทางตรงกอนเขาสายที่โครงสราง
เสาสําหรับทางโคง 90O ใหทําการยึดโยง 1 จุดกอนเสมอ นอกจากนีโ้ ครงสรางเสาตนฝงตรงขามทาง
สัญจรกับโครงสรางเสาสําหรับทางโคง 90O จะใชโครงสรางตางๆ ที่เปนเสาเดี่ยวหรือเสาคูก็ได ขึ้นอยู
กับการใชงาน เชน ฝงตรงขามอาจใชเปนโครงสรางเสาเดี่ยวหรือเสาคู สําหรับทางโคง 90O หรือ
โครงสรางเสาเดี่ยวหรือเสาคู สําหรับแยกสาย หรือจะเปนโครงสรางทางตรงก็ไดกรณีที่ขามทางสัญจร
แลวจําเปนตองพาดสายตรงตอไปเขาสถานีไฟฟาของโรงงานหรือบริษทั ฯ ซึ่งสามารถพาดสายในชวง
ขามทางสัญจรโดยใชคาระยะหยอนยานของสายชวงขามทางสัญจรตามแบบมาตรฐานนีไ้ ด แตทงั้ นี้ให
คํานึงถึงระยะหางทางไฟฟาระหวางจุดต่าํ สุดของสายไฟฟาเฟส C กับผิวทางสัญจรสวนที่สูงสุด ใหมี
ระยะหางเพียงพอดวย
สําหรับในสวนตอไป จะไดกลาวถึงโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองใชงานรวมกับ
แบบมาตรฐานนี้ โดยจะเปนโครงสรางเสาเดี่ยว หรือเสาคู สําหรับทางโคง 90O เปนลักษณะวงจรเดี่ยว
สายไฟฟาเดี่ยว โดยรายละเอียดโครงสรางเสาเดี่ยว หรือเสาคู สําหรับทางโคง 90O ทั้งหมดจะไดกลาวตอ
จากนี้ไป
282

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย : มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาเดี่ยว สําหรับทางโคง 90O


ชื่อแบบโครงสราง SS-LA-1
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47004 (5204A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนหัวมุมสําหรับ
ขามทางสัญจร ที่มีมุมเบี่ยงเบนชวงขามทางสัญจรอยูระหวาง
45O- 135O ใชกอสรางในพืน้ ที่ราบ ไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มี
ความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
283

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย : มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาคู สําหรับทางโคง 90O


ชื่อแบบโครงสราง SS-LA-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47005 (5205A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนหัวมุมสําหรับ
ขามทางสัญจร ที่มีมุมเบี่ยงเบนชวงขามทางสัญจรอยูระหวาง
O O
45 - 135 ใชกอสรางในพืน้ ที่ราบ ไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มี
ความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
284

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย : มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาเดี่ยว สําหรับทางโคง 90O
ชื่อแบบโครงสราง SD-LA-1
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47011 (5254A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนหัวมุมสําหรับขาม
ทางสัญจร ที่มีมุมเบี่ยงเบนชวงขามทางสัญจรอยูระหวาง 45O- 135O
โดยสายไฟฟาตามแนวไลนจะเปนสาย ไฟฟาคู สวนชวงขามทาง
สัญจรจะเปนสายไฟฟาเดีย่ ว ใชกอสรางในพื้นที่ราบ ไมเหมาะใน
พื้นที่บริเวณภูเขา ที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
285

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย : มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาคู สําหรับทางโคง 90O


ชื่อแบบโครงสราง SD-LA-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47012 (5255A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนหัวมุมสําหรับขาม
ทางสัญจร ที่มีมุมเบี่ยงเบนชวงขามทางสัญจรอยูระหวาง 45O- 135O โดย
สายไฟฟาตามแนวไลนและชวงขามทางสัญจรจะเปนสายไฟฟาคู ใช
กอสรางในพื้นที่ราบ ไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
ทั้งนี้การประกอบลูกถวยแขวนในชวงขามทางสัญจรจะออกแบบเผื่อไว
สําหรับโครงสรางเสาสําหรับแยกสายในอนาคตไวดว ย
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
286

7.3 แบบมาตรฐาน “ ระยะหางระหวางชวงเสาของโครงสรางสายสง 115 kV (กรณีที่กอสรางระบบ


จําหนาย 22,33 kV ใตแนวสายสง 115 kV) โครงสรางเสา สําหรับแยกสาย ”
แบบเลขที่ SA1-015/47010 (การประกอบเลขที่ 5162)

จุดประสงคในการกําหนดแบบมาตรฐาน
เพื่อใชงานรวมกับแบบมาตรฐานโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับแยกสายสําหรับใชกอสราง
บริเวณที่เปนลักษณะพืน้ ราบที่มีอยูทั้งหมดของ กฟภ. เพือ่ แทปแยกสาย (tap-line) ขามทางสัญจร หรือ
อาจจะขามแมน้ํา คลอง หรือขามสาธารณูปโภคอื่นๆ โดยที่สายไฟมีมมุ เลี้ยวของสายอยูระหวาง 45O-135O
โดยรูปแบบการจัดวางสายไฟของระบบสายสง 115 kV เปนแบบเรียงลําดับเฟส A,B และ C ในแนวดิ่ง
จากบนลงลาง บนเสาไฟชนิดคอนกรีตอัดแรง (คอร.) ขนาด 22.00 ม. และระบบจําหนายใตแนวสายสง
บนเสาไฟชนิดคอนกรีตอัดแรง (คอร.) ขนาด 12.20 ม. นอกจากนี้ในแบบยังไดระบุรายละเอียดตางๆ ที่
จําเปน เชน ชนิดวงจรไฟฟา ขนาดและจํานวนสายที่ใชงาน ระยะหางระหวางชวงเสาสูงสุดในชวง
ทางตรงและทางโคงของโครงสรางสายสง 115 kV และโครงสรางระบบจําหนายใตแนวสายสง 115 kV
(ตนแซมใตไลน) รวมทั้งรูปแบบการกอสรางในชวงแยกสายที่มีมมุ เลีย้ วของสายอยูระหวาง 45O-135O ซึ่ง
แบบดังกลาวมีความจําเปนอยางยิง่ สําหรับการออกแบบและการกอสรางในงานกอสรางระบบสายสง 115
kV บนพืน้ ราบที่เปนทางโคงมีมุมเลี้ยวของสายอยูระหวาง 45O-135O ของ กฟภ.
สําหรับกรณีทพี่ ื้นที่กอสรางเปนพื้นที่บริเวณภูเขาในบางชวงจะออกแบบโครงสรางเสาเปน
แบบโครงสรางเหล็ก (steel tower) ที่สามารถกําหนดขอมูลตางๆ ใหมคี วามเหมาะสมและสอดคลองกับ
การจายไฟและสภาพพืน้ ที่กอ สราง เชน สายไฟฟา ระยะหางระหวางชวงเสา รวมทัง้ รูปแบบการจัดวาง
เรียงสาย หลังจากนั้นจึงออกแบบเสาโครงสรางเหล็กขึ้นใหมีความแข็งแรงเพียงพอ แตสวนใหญแลวใน
งาน กฟภ. จะไมมีการแทปแยกสายบนเสาโครงสรางเหล็ก เนือ่ งจากเสาโครงสรางเหล็กสวนใหญ
ออกแบบติดตัง้ เพื่อเชื่อมไลนระบบสายสง 115 kV ระหวางสถานีไฟฟากับสถานีไฟฟาที่มีระยะทาง
ยาวๆ ไมมีการเชื่อมสถานีไฟฟาในระหวางไลนสายสง ดังนั้นสวนใหญจึงไมมกี ารแทปแยกสายที่เสา
โครงสรางเหล็ก แตสําหรับในเขตชุมชนเมืองแลว ไลนสายสง 115 kV สวนใหญจะออกแบบเพื่อจายไฟ
ไปยังโรงงานอุตสาหกรรม หรือผูใชไฟรายใหญ โดยใชเสาไฟฟาชนิดเสาคอนกรีตอัดแรง ซึ่งลักษณะ
รูปแบบการพาดสายสง 115 kV จะมีหลายรูปแบบ เชน การแทปแยกสายขามถนน การเลี้ยวโคง 90O
รวมทั้งพาดทางตรง ที่อยูในเขตพื้นที่ชุมชน ดังนั้นรูปแบบการแทปแยกสายสง 115 kV จึงมีเฉพาะ
สําหรับเสาไฟฟาชนิดเสาคอนกรีตอัดแรงเทานั้น
สําหรับรูปแบบโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับแยกสาย ที่ใชงานรวมกับแบบนี้สามารถมี
ลักษณะวงจรสายไฟฟา ไดเพียง 2 รูปแบบ คือ
287

1. โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว


(Single Circuit Single Conductor ; SS )
2. โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู
(Single Circuit Double Conductor ; SD )

สําหรับโครงสรางสายสง 115 kV วงจรคู สายไฟฟาเดีย่ ว (DS) และโครงสรางสายสง 115 kV


วงจรคู สายไฟฟาคู (DD) จะไมสามารถนํามาใชงานรวมกับแบบมาตรฐานนี้ได

การใชแบบมาตรฐาน
แผนที่ 1 ของจํานวน 3 แผน
ในแผนที่ 1 ไดระบุรายละเอียดตางๆ ไว เชน วงจรไฟฟาตางๆ ขนาดสายสูงสุดและจํานวนสาย
ที่ใชงาน ที่สามารถติดตั้งใชงานบนโครงสรางเสาเดี่ยว สําหรับแยกสายได โดยสายทีใ่ ชงานจะมีทั้งหมด
6 ชนิด แตละชนิดจะมีขนาดสายสูงสุดและจํานวนเสนเปนไปตามที่ระบุไวในตาราง ตามรูปที่ 7-16

รูปที่ 7-16 แสดงรายละเอียดของสายชนิดตางๆ ที่สามารถติดตัง้ ได บนโครงสรางเสาเดี่ยว


288

สําหรับแยกสาย วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว และวงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู


สายไฟฟาที่ใชงานในระบบสายสง 115 kV จะใชสายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือยขนาด 400
ต.มม. (ซึ่งตอไปจะเรียกวา สายสง 115 kV) ติดตั้งใชงานจํานวนไมเกิน 3 เสน สําหรับโครงสรางสายสง
115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว (SS) และติดตั้งใชงานจํานวนไมเกิน 6 เสน สําหรับโครงสรางสายสง
115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD) สวนสายชนิดอื่นๆ ก็พิจารณาไดในทํานองเดียวกัน แตในชวงขาม
ทางสัญจรจะลดจํานวนสายลงโดยใหขามไดเฉพาะสายลอฟาและสายสง 115 kV เทานั้น สวนระบบ
อื่นๆ ที่ติดตั้งอยูใตไลนหามพาดสายขามถนนพรอมกับสายสง 115 kV เนื่องจากจะทําใหระยะเหนือผิว
จราจรไมเพียงพอ
สวนในตารางตามรูปที่ 7-17 จะแสดงระยะหยอนยานของสายต่ําสุด สําหรับชวงทางตรงและ
ชวงขามทางสัญจร โดยแรงดึงในสายทุกชนิดทุกเสนในชวงทางตรงจะเทากัน ทําใหเกิดแรงสมดุลที่
โครงสรางเสาทําใหเสาตั้งตรงอยูได (แรงดึงในสายดานหนึ่งของโครงสรางเสาสําหรับแยกสาย จะ
เปรียบไดกับแรงในสายยึดโยงกรณีที่เปนโครงสรางเสาสําหรับทางโคง 90O) ดังนั้นสายทุกชนิด
กําหนดใหใชแรงดึงในสายตามมาตรฐานระยะหยอนยานของสาย (รูปกราฟระยะหยอนยานของสาย)ได
ยกเวนสายสื่อสารโทรคมนาคมใหมีระยะหยอนยานของสายไมนอยกวา 0.5 เมตร เนื่องจากไมมีมาตรฐาน
ระยะหยอนยานของสายสื่อสารโทรคมนาคมจึงตองกําหนดแยกตางหากเชนเดียวกับที่ระบุไวในแบบการ
ใชงานของโครงสรางเสา สําหรับทางโคง 90O เมื่อพาดสายทางตรงแลวก็ถึงชวงแทปสายแยกขามทาง
สัญจร แมน้ํา หรืออื่นๆ ซึ่งในแบบไดระบุมุมเลี้ยวของสายอยูระหวาง 45O-135O เนื่องจากในงานกอสราง
จริง โครงสรางเสาสําหรับแยกสาย ในบางครั้งไมสามารถปกตําแหนงใหตรงกันได อาจมีมุมเยื้องกันได
บาง ดังนั้นจึงไดกําหนดมุมเบี่ยงเบนของสายใหครอบคลุมอยูระหวาง 45O-135O ไวดวย ซึ่งชวงขามทาง
สัญจรสายที่ขามไดจะอนุญาตเพียง 2 วงจรไฟฟา คือ สายลอฟาและสายสง 115 kV โดยตองมีระยะหยอน
ยานของสายไมนอยกวา 1.00 และ 2.20 เมตร ตามลําดับ และสามารถขามทางสัญจรที่มีชวงเสาสูงสุดได
ไมเกิน 40 เมตร เพื่อใหเขาใจงายขึ้นสามารถดูตามรูปภาพการใชงาน (1) ในแผนที่ 3 ได
สําหรับการกําหนดระยะชวงเสาสูงสุดไวที่ 40 เมตร ในชวงขามทางสัญจรนี้เพื่อใหโครงสราง
เสาสําหรับแยกสายมีความปลอดภัยเพียงพอในการรับโหลด ที่เกิดจากแรงลมปะทะสายไฟฟาและเสา
ไฟฟา รวมทั้งแรงดึงในสายไฟชวงขามทางสัญจรดวย รวมทั้งไดพิจารณาถึงมุมเบี่ยงเบนของสาย
ระหวาง 45O-135O ไวแลวเชนเดียวกับโครงสรางเสา สําหรับทางโคง 90O นั่นหมายถึงเสาไฟฟาจะมี
โมเมนตใชงานเพียงพอ สําหรับวิธีพิจารณาหาแรงดึงจากกราฟและตารางในแบบมาตรฐานการหยอน
ยานของสายสามารถดูไดจากบทที่ 5
289

รูปที่ 7-17 ตารางแสดงระยะหยอนยานต่ําสุดของสายชนิดตางๆ สําหรับโครงสรางเสาเดี่ยว


สําหรับแยกสาย

แผนที่ 2 ของจํานวน 3 แผน


ในแผนที่ 2 ไดระบุรายละเอียดการใชงานสําหรับโครงสรางเสาคู สําหรับแยกสาย เชนเดียว กับ
แผนที่ 1 เชน วงจรไฟฟาตางๆ ขนาดสายสูงสุดและจํานวนสายที่ใชงาน ที่สามารถติดตั้งใชงานบน
โครงสรางเสาคู สําหรับแยกสายได โดยสายที่ใชงานจะมีทั้งหมด 6 ชนิด แตละชนิดจะมีขนาดสาย
สูงสุดและจํานวนเสนเปนไปตามที่ระบุไวในตาราง ตามรูปที่ 7-18

รูปที่ 7-18 แสดงรายละเอียดของสายชนิดตางๆ ที่สามารถติดตัง้ ได บนโครงสรางเสาคู


สําหรับแยกสาย วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว และวงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู
290

โดยในแผนที่ 2 เปนการระบุรายละเอียดที่เปนโครงสรางเสาคู ซึ่งหมายถึง โครงสรางนี้จะมี


โมเมนตใชงานสูงกวาแบบเสาเดี่ยว ทําใหโครงสรางเสาคูสําหรับแยกสาย สามารถเพิ่มจํานวนสาย
อะลูมิเนียมเปลือย ขนาด 400 ต.มม. ชวงขามทางสัญจร จากเดิมไมเกิน 3 เสน เปนไมเกิน 6 เสนได โดย
ในชวงขามทางสัญจรจะขามไดเฉพาะสายลอฟาและสายสง 115 kV เทานั้นเหมือนกับโครงสรางเสาสําหรับ
90O แบบเสาเดี่ยว
สวนในตารางตามรูปที่ 7-19 จะแสดงระยะหยอนยานของสายต่ําสุด สําหรับชวงทางตรงและ
ชวงขามทางสัญจร ซึ่งการพาดสายทางตรงก็มีลักษณะเชนเดียวกับกรณีที่เปนเสาเดีย่ ว สําหรับชวงแทป
แยกสายขามทางสัญจร แมนา้ํ หรืออื่นๆ จะมีระยะชวงเสาที่มากขึ้นเปนไมเกิน 80 เมตร จากเดิมเสาเดี่ยว
กําหนดไวที่ 40 เมตร สามารถทํามุมเบี่ยงเบนของสายไดระหวาง 45O-135O สําหรับชวงขามทางสัญจร
สายที่ขามไดจะอนุญาตเพียง 2 วงจรไฟฟาเหมือนเดิม คือ สายลอฟาและสายเปลือย 115 kV ซึ่งในชวง
ขามทางสัญจรจะแบงการใชงานออกเปน 3 รูปแบบคือ แบบ A, B และ C โดยทั้งแบบ A , B และ C ใน
แตละกรณีจะมีระยะหยอนยานของสายลอฟาและสายสง 115 kV ตางกัน เนื่องจากจํานวนสายสง 115 kV
ที่พาดขามทางสัญจรและระยะชวงขามทางสัญจรไมเทากัน ซึ่งเพื่อใหเขาใจงายขึน้ ขอใหดูการใชงาน
ในแผนที่ 3 ประกอบ แตทงั้ นี้ในทุกกรณีก็กําหนดใหระยะชวงขามทางสัญจร เปนระยะในแนวตัง้ ฉาก
หรือเปนระยะความกวางของถนน (ระยะชวงเสาในแนวเฉียงจะมีระยะมากกวา 80 เมตร)
สําหรับการกําหนดระยะชวงขามทางสัญจรในแนวตั้งฉากสูงสุดไวที่ 80 เมตร นั้น ก็เพื่อให
โครงสรางเสาสําหรับแยกสายมีความปลอดภัยเพียงพอในการรับโหลด ที่เกิดจากแรงลมปะทะสายไฟฟา
และเสาไฟฟา รวมทั้งแรงดึงในสายชวงขามทางสัญจรดวย โดยไดพิจารณาถึงมุมเบี่ยงเบนของสาย
ระหวาง 45O-135O ไวแลว นั่นหมายถึงเสาไฟฟาจะมีโมเมนตใชงานเพียงพอ สําหรับวิธีพิจารณาหาแรง
ดึงจากกราฟและตารางในแบบมาตรฐานการหยอนยานของสายสามารถดูไดจากบทที่ 5

รูปที่ 7-19 ตารางแสดงระยะหยอนยานต่ําสุดของสายชนิดตางๆ


บนโครงสรางเสาเดี่ยว และเสาคู สําหรับแยกสาย
291

แผนที่ 3 ของจํานวน 3 แผน


ในแผนที่ 3 เปนการระบุรูปแบบการใชงานของโครงสรางเสา สําหรับแยกสาย โดยแยกเปนสําหรับ
เสาเดี่ยวสําหรับแยกสายและเสาคูสําหรับแยกสาย ซึ่งแสดงไวตามรูปที่ 7-20

รูปที่ 7-20 รูปแสดงการใชงานโครงสรางเสาเดี่ยวและเสาคู สําหรับแยกสาย

โดยการเลือกใชงานเสาเดี่ยวและเสาคูสําหรับแยกสาย ตองใหสอดคลองกับสภาพที่กอสรางหนา
งานดวย สําหรับในแผนที่ 3 นี้ ไดแสดงเปนรูปที่มองจากดานบนของไลนสายสง 115 kV โดยเสาตนที่
แสดงเปนสีเขมจะหมายถึงเสาตนที่กําลังพิจารณา ซึ่งก็คือ โครงสรางเสาสําหรับแยกสาย ที่สามารถมีมุม
เบี่ยงเบนของสายชวงขามทางสัญจรอยูระหวาง 45O-135O ได ซึง่ มุมเบี่ยงเบนของสายชวงขามทาง
292

สัญจรนอยกวา 45O หรือมากกวา 135O จะทําใหปกของลูกถวยแขวนฉนวนไฟฟาและสายไฟฟาเขาใกล


ผิวเสา คอร. มากเกินไป จะทําใหระยะหางความปลอดภัยทางไฟฟาไมเพียงพอเชนเดียวกับโครงสราง
เสา สําหรับทางแยก นอกจากนี้ในแบบยังไดกําหนดระยะในการปกเสาโครงสรางระบบจําหนายใตไลน
สายสง 115 kV (เสาตนแซมใตไลน) ไว เพื่อชวยแบงรับโมเมนตที่เกิดขึ้นที่เสา คอร. ขนาด 22.00 เมตร
โดยเสาตนแซมใตไลนนจี้ ะตองมีระยะหางจากโครงสรางสายสง 115 kV เปนไปตามที่ระบุไวในแบบ
ดวย เนื่องจากหากมีการขยับเสาตนแซมใตไลนออกหางจากโครงสรางเสาสําหรับแยกสายมากขึ้นแลว
จะทําใหโครงสราง เสาสําหรับแยกสายมีความมั่นคงแข็งแรงไมเพียงพอได ดังนัน้ จึงตองรักษาระยะหาง
ชวงเสาของเสาตนแซมใตไลน ใหมีระยะเปนไปตามที่ระบุไวอยางเครงครัด
ซึ่งมีขอควรคํานึงถึงเชนเดียวกับโครงสรางเสาสําหรับทางโคง 90O ก็คอื โครงสรางเสาตนฝง
ตรงขามกับโครงสรางเสาสําหรับแยกสายจะใชโครงสรางแบบตางๆ ทีเ่ ปนเสาเดีย่ วหรือเสาคูก็ได ขึน้ อยู
กับการใชงาน เชน ฝงตรงขามอาจใชเปนโครงสรางเสาเดี่ยวหรือเสาคู สําหรับทางโคง 90O หรือ
โครงสรางเสาเดี่ยวหรือเสาคู สําหรับแยกสาย หรือจะเปนโครงสรางทางตรงก็ไดกรณีที่ขามทางสัญจร
แลวจําเปนตองพาดสายตรงตอไปเขาสถานีไฟฟาของโรงงานหรือบริษทั ฯ ซึ่งสามารถพาดสายในชวง
ขามทางสัญจรโดยใชคา ระยะหยอนยานของสายชวงขามทางสัญจรตามแบบมาตรฐานนีไ้ ด แตทั้งนี้ให
คํานึงถึงระยะหางทางไฟฟาระหวางจุดต่ําสุดของสายไฟฟาเฟส C กับผิวทางสัญจรสวนที่สูงสุด ใหมี
ระยะหางเพียงพอดวย
สําหรับในสวนตอไป จะไดกลาวถึงโครงสรางสายสง 115 kV ของ กฟภ. ที่ตองใชงานรวมกับ
แบบมาตรฐานนี้ โดยจะเปนโครงสรางเสาเดี่ยว หรือเสาคู สําหรับแยกสาย เปนลักษณะวงจรเดี่ยว
สายไฟฟาเดี่ยว โดยรายละเอียดโครงสรางเสาเดี่ยว หรือเสาคู สําหรับแยกสายทั้งหมดจะไดกลาวตอจาก
นี้ไป
293

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย : มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาเดี่ยว สําหรับแยกสาย


ชื่อแบบโครงสราง SS-TL-1
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47007 (5210A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนในชวง ทางตรง
สําหรับแทปแยกสายขามทางสัญจร ที่มีมุมเบี่ยงเบนชวง ขามทาง
สัญจรอยูระหวาง 45O- 135O ใชกอสรางในพื้นที่ราบ ไมเหมาะใน
พื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
294

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว (SS)

หนวย : มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว เสาคู สําหรับแยกสาย
ชื่อแบบโครงสราง SS-TL-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47008 (5211A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนในชวง ทางตรง
สําหรับแทปแยกสายขามทางสัญจร ที่มีมุมเบี่ยงเบนชวง ขามทาง
สัญจรอยูระหวาง 45O- 135O ใชกอสรางในพื้นที่ราบ ไมเหมาะใน
พื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
295

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย : มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาเดี่ยว สําหรับแยกสาย


ชื่อแบบโครงสราง SD-TL-1
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47015 (5259A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนในชวงทางตรง
สําหรับแทปแยกสายขามทางสัญจร ที่มีมุมเบี่ยงเบนชวงขามทาง
O O
สัญจรอยูระหวาง 45 - 135 โดยสายไฟฟาตามแนวไลนจะเปน
สายไฟฟาคู สวนชวงขามทางสัญจรจะเปนสายไฟฟาเดีย่ วใชกอสราง
ในพื้นที่ราบไมเหมาะในพืน้ ที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
296

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย : มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาคู สําหรับแยกสาย


ชื่อแบบโครงสราง SD-TL-2
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/47016 (5260A)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนในชวงทางตรง
สําหรับแทปแยกสายขามทางสัญจร ที่มีมุมเบี่ยงเบนชวงขามทางสัญจร
อยูระหวาง 45O- 135O โดยสายไฟฟาตามแนวไลนจะเปนสายไฟฟาคู
สวนชวงขามทางสัญจรจะเปนสายไฟฟาเดี่ยวหรือสายไฟฟาคูก็ได ใช
กอสรางในพื้นที่ราบไมเหมาะในพื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ใชเสา คอร. รุนใหมที่มีกราวดเพลทในเสา การ
ปรับปรุงคากราวดไมตองทํากราวดนอกเสาโดยสามารถตอเชื่อมสาย
ตอลงดินเพิ่มที่แผนเหล็กทีโ่ คนเสาไดโดยตรง และไดปรับปรุง
การประกอบหัวเสาใหม เพือ่ ใหมีระยะหางทางไฟฟามากขึ้น
297

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย : มิลลิเมตร
โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาคู สําหรับแยกสาย
ชื่อแบบโครงสราง SD-TL-3
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/32043 (5263)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนในชวงทางตรง
สําหรับแทปแยกสายขามทางสัญจร ที่มีมุมเบี่ยงเบนชวงขามทาง
สัญจรอยูระหวาง 45O- 135O ใชกอสรางในพื้นที่ราบ ไมเหมาะใน
พื้นที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง โดยสายไฟฟาตามแนวไลนจะ
เปนสายไฟฟาคู สวนชวงขามทางสัญจรจะเปนสายไฟฟาเดีย่ วหรือ
สายไฟฟาคูกไ็ ด
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระดับสูงขึ้น
298

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย : มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาเดี่ยว สําหรับแยกสาย


ชื่อแบบโครงสราง SD-TL-4
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/40014 (5275)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนในชวงทางตรง
สําหรับแทปแยกสายขามทางสัญจร ที่มีมุมเบี่ยงเบนชวงขามทาง
สัญจรอยูระหวาง 45O- 135O โดยสายไฟฟาตามแนวไลนจะเปน
สายไฟฟาคู สวนชวงขามทางสัญจรจะเปนสายไฟฟาเดีย่ วใชกอสราง
ในพื้นที่ราบไมเหมาะในพืน้ ที่บริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระดับสูงขึ้น
299

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย : มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาคู สําหรับแยกสาย


ชื่อแบบโครงสราง SD-TL-5
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/40015 (5276)
การใชงาน ใชในงานกอสรางระบบสายสง 115 kV เปนเสาตนในชวงทางตรง
สําหรับแทปแยกสายขามทางสัญจร ที่มีมุมเบี่ยงเบนชวงขามทาง
สัญจรอยูระหวาง 45O- 135O โดยสายไฟฟาตามแนวไลนจะเปน
สายไฟฟาคู สวนชวงขามทางสัญจรจะเปนสายไฟฟาเดี่ยวหรือ
สายไฟฟาคูกไ็ ด ใชกอสรางในพื้นที่ราบไมเหมาะในพืน้ ทีบ่ ริเวณภูเขา
ที่มีความลาดชันสูง
หมายเหตุ เปนโครงสรางที่ยังไมไดมีการปรับปรุงจุดติดตั้งระบบจําหนายแรงต่ํา
เพื่อใหมีระดับสูงขึ้น
300

7.4 แบบมาตรฐาน “ระยะหางระหวางชวงเสาสําหรับโครงสรางสายสง 115 kV แบบ 2 ชั้น”


แบบเลขที่ SA1-015/42001 (การประกอบเลขที่ 5160)

จุดประสงคในการกําหนดแบบมาตรฐาน
เพื่อใชงานรวมกับแบบมาตรฐานโครงสรางสายสง 115 kV แบบ 2 ชั้น สําหรับทางตรงและทาง
โคงที่เปนลักษณะพืน้ ราบที่มอี ยูทั้งหมดของ กฟภ. โดยรูปแบบการจัดวางสายไฟของระบบสายสง 115
kV เปนแบบสามเหลี่ยม บนเสาไฟชนิดคอนกรีตอัดแรง (คอร.) ขนาด 22.00 ม. และระบบจําหนายใต
แนวสายสงบนเสาไฟชนิดคอนกรีตอัดแรง (คอร.) ขนาด 12 ม. 12.20 ม. 14 ม. หรือ 14.30 ม. นอกจากนี้
ในแบบยังไดระบุรายละเอียดตางๆที่จําเปน เชน ชนิดวงจรไฟฟา ขนาดและจํานวนสายที่ใชงาน
ระยะหางระหวางชวงเสาสูงสุดในชวงทางตรงและทางโคงของโครงสรางสายสง 115 kV และ
โครงสรางระบบจําหนายใตแนวสายสง 115 kV (ตนแซมใตไลน) รวมทั้งรูปแบบการกอสรางในชวง
ทางตรงและทางโคง ซึ่งแบบดังกลาวมีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับการออกแบบและการกอสรางในงาน
กอสรางระบบสายสง 115 kV บนพืน้ ราบที่เปนทางตรงและทางโคง ของ กฟภ. รูปแบบโครงสรางสายสง
115 kV แบบ 2 ชั้นสําหรับทางตรงและทางโคง ที่ใชงานรวมกับแบบนี้สามารถมีลักษณะวงจรสายไฟฟาได
ทั้งหมด 2 รูปแบบ คือ
1. โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว
(Single Circuit Single Conductor ; SS )
2. โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู
(Single Circuit Double Conductor ; SD )

การใชแบบมาตรฐาน
แผนที่ 1 ของจํานวน 4 แผน
ในแผนที่ 1 ไดระบุรายละเอียดตางๆ เชน วงจรไฟฟาตางๆ ขนาดสายสูงสุดและจํานวนสายทีใ่ ช
งานที่สามารถติดตั้งใชงานบนโครงสรางสายสง 115 kV แบบ 2 ชั้น วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดีย่ ว ไดโดย
สายที่ใชงานจะมีทั้งหมด 5 ชนิด แตละชนิดจะมีขนาดสายสูงสุดและจํานวนเสนเปนไปตามที่ระบุไวใน
ตาราง ตามรูปที่ 7-21
301

รูปที่ 7-21 แสดงรายละเอียดของสายชนิดตางๆ ที่สามารถติดตัง้ ได บนโครงสรางสายสง 115 kV


วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว

ยกตัวอยางเชน สายไฟทีใ่ ชงานในระบบสายสง 115 kV จะใชเปนสายอะลูมิเนียมตีเกลียว


เปลือย ขนาด 400 ต.มม. ติดตั้งใชงานจํานวนไมเกิน 3 เสน ระบบจําหนายใตแนวสายสงจํานวนสูงสุด
ไมเกิน 2 วงจร โดยใชสายอะลูมิเนียมเปลือย ขนาด 185 ต.มม. 1 วงจร และใชสายเคเบิลอากาศ ขนาด
185 ต.มม. 1 วงจร สวนสายชนิดอื่นๆ ก็พจิ ารณาไดในทํานองเดียวกัน
สวนตารางตามรูปที่ 7-22 จะแสดงระยะชวงเสาสูงสุดของสายวงจรตางๆ กลาวคือ หากเปนวงจร
ระบบ 115 kV ซึ่งหมายถึงสายลอฟาและสายอะลูมเิ นียมเปลือย 115 kV ในการกําหนดจุดปกเสาจะตองมี
ระยะหางระหวางเสาไมเกิน 80 ม. (ปกเสาหางกันไมเกิน 80 ม.) สวนวงจรระบบ 22,33 kV วงจรแรงต่าํ และ
ระบบสื่อสาร กรณีที่ใชเสา คอร. 12 ม. หรือ 14 ม. เปนเสาแซมใตไลนจะตองมีระยะหางระหวางเสาไมเกิน
27 ม. กรณีที่ใชเสา คอร. 12.20 ม. หรือ 14.30 ม. เปนเสาแซมใตไลนจะตองมีระยะหางระหวางเสาไมเกิน
40 ม. โดยการกําหนดระยะชวงเสาสูงสุดไวเชนนีเ้ พื่อใหโครงสรางสายสง 115 kV และโครงสรางระบบ
จําหนายใตแนวสายสง 115 kV (ตนแซมใตไลน) มีความปลอดภัยเพียงพอในการรับโหลด ทีเ่ กิดจากแรงลม
กระทํากับสายไฟฟาและเสาไฟฟา นัน่ หมายถึงเสาไฟฟาจะมีโมเมนตใชงานเพียงพอ สําหรับรูปแสดงมุม
เบี่ยงเบนระหวางเสาดูตวั อยางไดจากรูปที่ 7-23 ในสวนแรงดึงในสายสําหรับการกอสรางในชวงทางตรง
ใหดูจากแบบมาตรฐานการหยอนยานของสายแตละชนิดซึง่ แสดงไวในรูปแบบกราฟและตารางสําหรับวิธี
พิจารณาหาแรงดึงจากกราฟและตารางในแบบมาตรฐานการหยอนยานของสายสามารถดูไดจากบทที่ 5
302

รูปที่ 7-22 รูปแสดงตารางระยะชวงเสาสูงสุดของวงจรไฟฟา สําหรับกอสรางในชวงทางตรง


สําหรับโครงสรางสายสง 115 kV แบบ 2 ชัน้ วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว

รายละเอียดสําหรับการกอสรางระบบสายสง 115 kV ชวงกอสรางแบบไมรับแรงดึง (slack


span section) ซึ่งโดยทั่วไปจะหมายถึงการกอสรางในชวงทางโคงโดยใชโครงสรางสายสง 115 kV
สําหรับทางโคง ซึ่งเหตุผลที่ในชวงทางโคงจําเปนตองกอสรางแบบไมรับแรงดึง เนื่องจากในชวงทาง
โคงจะมีแรงลัพธที่ตั้งฉากกับเสาเกิดเพิ่มขึน้ อีกหนึง่ แรง โดยเกิดจากแรงดึงในสายในชวงทางโคงมีมุม
เบี่ยงเบน ดังนัน้ เมื่อมีแรงลัพธเพิ่มขึ้นแตโครงสรางสายสง 115 kV ยังคงใชเสา คอร. ขนาด 22 ม. ที่มี
โมเมนตใชงานเชนเดียวกับโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับทางตรง จึงใชวิธีลดระยะหางระหวางเสา
และลดแรงดึงในสาย (reduce or slack tension) ในชวงทางโคงลงโดยเรียกการกอสรางแบบนี้วา ชวง
กอสรางแบบไมรับแรงดึง หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกวา slack span section
สําหรับรูปแบบกอสรางแบบไมรับแรงดึงตามรูปที่ 7-23 ไดแสดงเปนลักษณะรูปที่มองจาก
ดานบนของโครงสรางสายสง 115 kV แบบ 2 ชั้น วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว การกอสรางในชวงนี้จะไม
มีการปกเสาแซมไลน ในแบบไมไดกําหนดชื่อแบบโครงสรางสายสง 115 kV ไว ซึ่งในทางปฏิบัติ
จะตองเลือกแบบโครงสรางสายสง 115 kV ที่มีรูปที่มองจากดานบนใหเหมือนกันและใหเปนไปตาม
ขอแนะนําการใชงานที่ระบุไวทายแบบดวย
303

รูปที่ 7-23 แสดงรูปดานบนของโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับกอสรางในชวงทางโคง


สําหรับโครงสรางสายสง 115 kV แบบ 2 ชัน้ วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว

สําหรับตารางที่ใชงานทีแ่ สดงไวตามรูปที่ 7-24 ไดระบุรายละเอียดของมุมเบี่ยงเบนระหวางเสา


(หรือมุมเบี่ยงเบนของสาย) ระยะชวงเสาสูงสุด “ L ” และระยะหยอนยาน (sag) ต่ําสุดของสายแตละชนิดที่
ติดตั้งบนโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับทางโคง ซึ่งจะสังเกตไดวา ระยะหยอนยาน ที่ระบุนี้จะมีคา
มากกวาในชวงทางตรง (ในกราฟระยะหยอนยานของสาย) ประมาณ 2 เทา ทัง้ นี้กเ็ พือ่ ลดแรงดึงในสายใน
ชวงทางโคงลงตามเหตุผลที่ไดกลาวมาขางตน ในการใชตารางก็มีตวั อยางเชน หากกําหนดจุดปกเสา
ในชวงทางโคงใหมีมมุ เบีย่ งเบนระหวางเสาที่ 5o ดังนัน้ เสาไฟฟาที่ปก จะตองมีระยะหางกันไมเกิน 50 ม.
และสายแตละชนิดตัง้ แตลําดับที่ 1-5 ใหปลอยสายใหหยอนยานไมนอยกวาที่ระบุไวในตาราง เชน
สายลอฟาก็ตอ งปลอยใหสายมีระยะหยอนยานไมใหนอยกวา 0.50 ม. เปนตน แตเพื่อใหงา ยในการ
ปรับปรุงระบบสายสงจาก วงจรเดีย่ ว สายไฟฟาเดี่ยว ไปเปน วงจรเดีย่ ว สายไฟฟาคู ในอนาคต ในการ
ออกแบบระยะหางระหวางเสา และระยะหยอนยานของสายใหพจิ ารณาออกแบบตามตารางในรูปที่ 7-24

รูปที่ 7-24 ตารางแสดงคาตางๆ สําหรับกอสรางในชวงทางโคง สําหรับโครงสราง


สายสง 115 kV แบบ 2 ชั้น วงจรเดี่ยว สายไฟฟาเดี่ยว
304

แผนที่ 2 ของจํานวน 4 แผน


ในแผนที่ 2 ไดระบุรายละเอียดตางๆ เชน วงจรไฟฟาตางๆ ขนาดสายสูงสุดและจํานวนสายทีใ่ ช
งานที่สามารถติดตั้งใชงานบนโครงสรางสายสง 115 kV แบบ 2 ชั้น วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู ได โดยสาย
ที่ใชงานจะมีทงั้ หมด 5 ชนิด แตละชนิดจะมีขนาดสายสูงสุดและจํานวนเสนเปนไปตามที่ระบุไวใน
ตาราง ตามรูปที่ 7-25

รูปที่ 7-25 แสดงรายละเอียดของสายชนิดตางๆ ที่สามารถติดตัง้ ได บนโครงสรางสายสง 115 kV


วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู
ยกตัวอยางเชน สายไฟที่ใชงานในระบบสายสง 115 kV จะใชเปนสายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย
ขนาด 400 ต.มม. ติดตั้งใชงานจํานวนไมเกิน 6 เสน ระบบจําหนายใตแนวสายสงจํานวนสูงสุดไมเกิน 2 วงจร
โดยใชสายอะลูมิเนียมเปลือย ขนาด 185 ต.มม. 1 วงจร และใชสายเคเบิลอากาศ ขนาด 185 ต.มม. 1 วงจร สวน
สายชนิดอื่นๆ ก็พิจารณาไดในทํานองเดียวกัน
สวนตารางตามรูปที่ 7-26 จะแสดงระยะชวงเสาสูงสุดของสายวงจรตางๆ กลาวคือ หากเปนวงจร
ระบบ 115 kV ซึ่งหมายถึงสายลอฟาและสายอะลูมิเนียมเปลือย 115 kV ในการกําหนดจุดปกเสาจะตองมี
ระยะหางระหวางเสาไมเกิน 80 ม. (ปกเสาหางกันไมเกิน 80 ม.) สวนวงจรระบบ 22,33 kV วงจรแรงต่ํา และ
ระบบสื่อสาร กรณีที่ใชเสา คอร. 12 ม. หรือ 14 ม. เปนเสาแซมใตไลนจะตองมีระยะหางระหวางเสาไมเกิน 27
ม. กรณีที่ใชเสา คอร. 12.20 ม. หรือ 14.30 ม. เปนเสาแซมใตไลนจะตองมีระยะหางระหวางเสาไมเกิน 40 ม.
โดยการกําหนดระยะชวงเสาสูงสุดไวเชนนี้เพื่อใหโครงสรางสายสง 115 kV และโครงสรางระบบจําหนายใต
แนวสายสง 115 kV (ตนแซมใตไลน) มีความปลอดภัยเพียงพอในการรับโหลด ที่เกิดจากแรงลมกระทํากับ
สายไฟฟาและเสาไฟฟา นั่นหมายถึงเสาไฟฟาจะมีโมเมนตใชงานเพียงพอ สําหรับรูปแสดงมุมเบี่ยงเบน
ระหวางเสาดูตวั อยางไดจากรูปที่ 7-26 ในสวนคาแรงดึงในสายสําหรับการกอสรางในชวงทางตรง ใหดูจาก
305

แบบมาตรฐานการหยอนยานของสายแตละชนิดซึ่งแสดงไวในรูปแบบกราฟและตารางสําหรับวิธีพจิ ารณา
หาคาแรงดึงจากกราฟและตารางในแบบมาตรฐานการหยอนยานของสายสามารถดูไดจากบทที่ 5

รูปที่ 7-26 รูปแสดงตารางระยะชวงเสาสูงสุดของวงจรไฟฟา สําหรับกอสรางในชวงทางตรง


สําหรับโครงสรางสายสง 115 kV แบบ 2 ชัน้ วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู
สําหรับตารางที่ใชงานที่แสดงไวตามรูปที่ 7-27 ไดระบุรายละเอียดของมุมเบี่ยงเบนระหวางเสา
(หรือมุมเบี่ยงเบนของสาย) ระยะชวงเสาสูงสุด “ L ” และระยะหยอนยาน (sag) ต่ําสุดของสายแตละชนิดที่
ติดตั้งบนโครงสรางสายสง 115 kV สําหรับทางโคง ซึ่งจะสังเกตไดวาระยะหยอนยานที่ระบุนี้จะมีคา
มากกวาในชวงทางตรง (ในกราฟระยะหยอนยานของสาย) ประมาณ 2 เทา ทั้งนี้ก็เพื่อลดแรงดึงในสายในชวง
ทางโคงลงตามเหตุผลที่ไดกลาวมาขางตน ในการใชตารางก็มีตัวอยางเชน หากกําหนดจุดปกเสาในชวงทาง
โคงใหมีมุมเบีย่ งเบนระหวางเสาที่ 5o ดังนั้นเสาไฟฟาที่ปกจะตองมีระยะหางกันไมเกิน 45 ม. และสายแตละ
ชนิดตั้งแตลําดับที่ 1-5 ใหปลอยสายใหมีระยะหยอนยานไมนอยกวาที่ระบุไวในตาราง เชน สายลอฟาก็ตอง
ปลอยสายใหมรี ะยะหยอนยานไมใหนอยกวา 0.75 ม. เปนตน

รูปที่ 7-27 ตารางแสดงคาตางๆ สําหรับกอสรางในชวงทางโคง สําหรับโครงสราง


สายสง 115 kV แบบ 2 ชั้น วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู
สําหรับในสวนตอไป จะไดกลาวถึงโครงสรางสายสง 115 kV แบบ 2 ชั้น ของ กฟภ. ที่ตองใช
งานรวมกับแบบมาตรฐานระยะหางระหวางชวงเสาสําหรับโครงสรางสายสง 115 kV แบบ 2 ชัน้ โดย
รายละเอียดทั้งหมดจะไดกลาวตอจากนี้ไป
306

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย : มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาสําหรับทางตรง


ชื่อแบบโครงสราง SD-TG-8
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/42008 (5285)
การใชงาน ใชในการกอสรางระบบสายสง 115 kV ชวงทางตรงมุมเบี่ยงเบนระหวาง
เสาไมเกิน 2 องศา บริเวณที่ระดับผิวดินเดิมต่ํากวาผิวจราจรไมเกิน 2
เมตร โดยยังคงใชฐานรากแบบธรรมดา โครงสรางสายสงตนกอน
โครงสรางนี้ ควรเปนโครงสราง SD-DD-3 หรือ SD-TG-4
หมายเหตุ การเรียงลําดับเฟส ใหเฟส A อยูคอนบนดานถนน เฟส B อยูคอนบน
ดานอาคาร เฟส C อยูคอนลางดานติดถนน
307

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย : มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู เสาสําหรับทางโคง


ชื่อแบบโครงสราง SD-SA-6
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/42009(5283)
การใชงาน ใชในการกอสรางระบบสายสง 115 kV ชวงทางโคงมุมเบี่ยงเบนระหวาง
เสาตั้งแต 2 องศาถึง 30 องศา บริเวณที่ระดับผิวดินเดิมต่ํากวาผิวจราจร
ไมเกิน 2 เมตร โดยยังคงใชฐานรากแบบธรรมดา โครงสรางสายสงตน
กอนโครงสรางนี้ ควรเปนโครงสราง SD-TG-8
หมายเหตุ การเรียงลําดับเฟส ใหเฟส A อยูคอนบนดานถนน เฟส B อยูคอนบน
ดานอาคาร เฟส C อยูคอนลางดานติดถนน
308

โครงสรางสายสง 115 kV วงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู (SD)

หนวย : มิลลิเมตร

โครงสราง 115 kV วงจรเดีย่ ว สายไฟฟาคู เสาสําหรับยกระดับความสูงการพาดสาย


ชื่อแบบโครงสราง SD-IH-1
แบบเลขที่ (การประกอบเลขที่) SA1-015/31069 (5429)
การใชงาน ใชในการกอสรางระบบสายสง 115 kV บริเวณที่ตองการยกระดับของ
สายใหสูงขึ้นเพื่อเพิ่มระยะหางความปลอดภัยทางไฟฟา หรือตนเขา
ปลายสายสองขางสําหรับชวงทางตรงมุมเบี่ยงเบนระหวางเสาไมเกิน 2
องศา บริเวณทีร่ ะดับผิวดินเดิมต่ํากวาผิวจราจรไมเกิน 2 เมตร โดยยังคง
ใชฐานรากแบบธรรมดา
หมายเหตุ การเรียงลําดับเฟส ใหเฟส A อยูคอนบน เฟส B อยูคอนลางดาน
อาคาร เฟส C อยูคอนลางดานติดถนน

You might also like