You are on page 1of 15

Slide PPT61-NEW

วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสาร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
2
หน่วยการเรียนรู้ที่

บรรยากาศ

ตัวชี้วัด
• สร้างแบบจำลองที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศกับความสูงจากพื้นโลก
• สร้างแบบจำลองทีอ่ ธิบายการแบ่งชั้นบรรยากาศ และเปรียบเทียบประโยชน์ของบรรยากาศแต่ละชั้น
• อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศจากข้อมูลที่รวบรวมได้
บรรยากาศ 2 ไอน้ำ
ไอน้ำในอากาศมีการกระจายตัวแตกต่างกันทั้งในแนวตั้งและ
หมายถึง ชั้นแก๊สชนิดต่าง ๆ หรืออากาศ แนวนอนไอน้ำจะหนาแน่นมากที่สุดที่ความสูง 2-3 กิโลเมตร
จากพื้นโลก ความหนาแน่นของไอน้ำจะลดลงตามระดับความสูง
ที่ห่อหุ้มดาวเคราะห์ทั้งหมด บรรยากาศ และบริเวณที่ใกล้แหล่งน้ำจะมีไอน้ำสูงกว่าบริเวณที่อยู่ไกลแหล่งน้ำ ลมพาความชื้น
มีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตเป็นอย่างมาก ไอน้ำควบแน่นเป็นหยาดน้ำฟ้า
ไอน้ำจากการระเหยของน้ำในแหล่งน้ำ
จะตกกลับคืนสู่ทะเล มหาสมุทร และแหล่ง
การระเหย
องค์ประกอบของบรรยากาศ น้ำต่าง ๆ บนผิวโลกในรูปของหยาดน้ำฟ้า
(เช่น ฝน ลูกเห็บ หิมะ เป็นต้น)

1 อากาศแห้ง
พื้นผิวโลกประกอบด้วยส่วนที่เป็นน้ำ
21% 70 เปอร์เซ็นต์ น้ำจากแหล่งน้ำต่าง ๆ
โดยเฉพาะทะเลและมหาสมุทรจะ
ระเหยเป็นไอน้ำสู่บรรยากาศ
วัฏจักรของน้ำบนผิวโลก
21%

3 อนุภาคฝุ่นต่าง ๆ
เป็นของแข็งขนาดเล็กมาก แบ่งเป็น 2 ชนิด
78%
อนุภาคฝุ่นที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ไนโตรเจน เช่น ละอองเกสรพืชไฟป่า ผงฝุ่นที่เกิดจากภูเขาไฟ เป็นต้น
ออกซิเจน อนุภาคฝุ่นที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
อาร์กอน คาร์บอนไดออกไซด์และอื่น ๆ เช่น ละอองเกสรพืชไฟป่า ผงฝุ่นที่เกิดจากภูเขาไฟ เป็นต้น อนุภาคฝุ่นช่วยให้น้ำยึดเกาะ
องค์ประกอบต่างๆ ของบรรยากาศ
ต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
1 แก๊สไนโตรเจน
เป็นแก๊สที่พืชสามารถนำไปใช้ในการเจริญเติบโต
2 แก๊สออกซิเจน แก๊สออกซิเจน
เป็นแก๊สที่สิ่งมีชีวิตนำไปใช้ในกระบวนการหายใจเพื่อให้ได้พลังงาน ขณะเดียวกัน
พืชจะสร้างและปล่อยแก๊สออกซิเจนออกสู่อากาศจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืช
3 แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
เป็นแก๊สที่พืชนำไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อสร้าง พืชใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
อาหารของพืช และเป็นแก๊สที่เกิดจากการหายใจของสิ่งมีชีวิต ในการสังเคราะห์ด้วยแสง
4 ไอน้ำในอากาศ
ช่วยลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่ส่งมายังพื้นโลกและดูดกลืน
ความร้อนที่แผ่ออกมาจากโลก ทำให้อุณหภูมิในตอนกลางวันและ
กลางคืนไม่แตกต่างกันมากนัก
สัตว์และพืชใช้แก๊ส
ออกซิเจนในการหายใจ
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
C lip
VD O
การแบ่งชั้นบรรยากาศ
รังสีจากดวงอาทิตย์
รังสีจากดวงอาทิตย์ 100%

บรรยากาศสะท้อนรังสี 6%

เมฆสะท้อนรังสี 20%

บรรยากาศดูดกลืนรังสี 19%

พื้นผิวสะท้อนรังสี 4%
พื้นผิวดูดกลืนรังสี 51%

พื้นผิวของโลกที่แตกต่างกัน จะมีการสะท้อนและดูดกลืนรังสีจากดวงอาทิตย์แตกต่างกัน ทำให้อุณหภูมิของอากาศเหนือบริเวณนั้นแตกต่างกัน เกิดเป็น


ปรากฏการณ์ต่างๆ ในบรรยากาศซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน
อุณหภูมิของอากาศ คือ ระดับความร้อนเย็นของอากาศ
ปัจจัยที่ทำให้อุณหภูมิของอากาศเกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
1 รังสีจากดวงอาทิตย์ 2 ความสูงจากระดับน้ำทะเล
เมื่อความสูงจากระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้น อุณหภูมิอากาศ
จะลดลง การเปลี่ยนแปลงนี้จะเกิดขึ้นที่ระดับความสูง
พลังงานที่โลกได้รับจากดวงอาทิตย์นี้ก่อให้
ไม่เกิน 10 กิโลเมตรจากผิวโลก เช่น ยอดเขาคิลิมันจาโร
เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ มากมาย รวมไปถึง
อยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตรซึ่งเป็นเขตร้อนแต่เนื่องจากยอดเขา
การเกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนโลกด้วย
สูงถึง 5,895 เมตร จึงทำให้อุณหภูมิต่ำและมีหิมะปกคลุม
บริเวณยอดเขา

3 เมฆปกคลุมท้องฟ้า 4 ลักษณะของพื้นที่
ในบริเวณที่ชุ่มชื้น เช่น ประเทศไทย ท้องฟ้าจะมีเมฆปกคลุมมาก ในช่วงกลางวันเมฆจะ ลักษณะพื้นที่แตกต่างกัน จะสามารถดูดกลืนและคายรังสีความร้อนได้แตกต่างกัน ดังนี้
ดูดกลืนรังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์ ทำให้บริเวณนั้นมีอุณหภูมิไม่สูงมากนัก ส่วนกลางคืน • พื้นที่ที่มีสีอ่อน จะสะท้อนรังสีความร้อนจาก
เมฆทำหน้าที่คล้ายผ้าห่มสะท้อนรังสีความร้อนที่แผ่กระจายออกจากผิวโลกไว้ ดวงอาทิตย์ได้มากกว่าการดูดรังสีความร้อน
รังสีจากดวงอาทิตย์ • พื้นที่ที่มีสีเข้ม จะดูดกลืนรังสีความร้อนจาก
ดวงอาทิตย์ได้มากกว่าการสะท้อนรังสีความร้อน
กลางคืน
• พื้นน้ำ จะดูดกลืนความร้อนช้า แต่เก็บความร้อน
ได้นานกว่าพื้นดิน
รังสีความร้อนที่โลกคายออกมา
กลางวัน • เมืองใหญ่ ส่วนใหญ่เป็นสิ่งก่อสร้างที่ทำจาก
บริเวณที่มีเมฆปกคลุม เมฆจะช่วยให้อุณหภูมิผิวโลกไม่ร้อนหรือเย็นเกินไป พื้นผิวสีเข้มดูดกลืนความร้อนได้ดีกว่าพื้นผิวสีอ่อน คอนกรีต ต้นไม้น้อย อากาศจึงร้อน
เครื่องมือที่ใช้วัดอุณหภูมิของอากาศ

เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิสูงสุด - ต่ำสุด
ดรรชนี
• ประกอบด้วย เทอร์มอมิเตอร์ 2 อัน คือ เทอร์มอมิเตอร์ที่แสดงอุณหภูมิต่ำสุด (min)
และเทอร์มอมิเตอร์ที่แสดงอุณหภูมิสูงสุด (max) เทอร์มอมิเตอร์ทั้ง 2 อัน มีหน่วยวัด ดรรชนี
อุณหภูมิเป็นองศาเซลเซียส (°C) หรือองศาฟาเรนไฮต์ (°F)
• เริ่มจากกดปุ่มตรงกลางหรือใช้แม่เหล็กที่ติดมากับเทอร์มอมิเตอร์ หรือดูดแท่งดรรชนี
ทั้งสอง ให้สัมผัสผิวหน้าปรอท ตั้งเทอร์มอมิเตอร์ทิ้งไว้ตามช่วงเวลาที่กำหนด จากนั้น เทอร์มอมิเตอร์ เทอร์มอมิเตอร์
อ่านค่าอุณหภูมิสูงสุดและต่ำสุดที่ปลายด้านล่างของแท่งดรรชนี วัดอุณหภูมิต่ำสุด วัดอุณหภูมิสูงสุด

เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิสูงสุด - ต่ำสุด
ความดันอากาศ คือ แรงที่อากาศกระทำต่อพื้นที่ผิวหนึ่ง ๆ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความดันอากาศ
1 จำนวนโมเลกุลของอากาศ 2 อุณหภูมิ 3 ความสูง
แรงดันอากาศ แรงดันอากาศ
ภายนอก จากตัวอย่างการเป่าลูกโป่ง ยิ่งเพิ่มจำนวน บริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำความดันอากาศ ยิ่งระดับความสูงเพิ่มมากขึ้น ความดันอากาศ
ภายใน
โมเลกุลของอากาศมากขึ้นก็จะทำให้เกิด จะเพิ่มมากขึ้น จะยิ่งมีค่าลดลง
ความดันอากาศมากยิ่งขึ้น

เครื่องมือที่ใช้วัดความดันอากาศ คือ บารอมิเตอร์


บารอมิเตอร์ปรอท แอนิรอยด์บารอมิเตอร์
• ประกอบด้วยหลอดแก้วกลวง ภายในบรรจุปรอท ปลายด้านหนึ่งปิดอีกด้านที่เป็น • ประกอบด้วยตลับโลหะที่ทำด้วยอะลูมิเนียม ภายในตลับเป็นสุญญากาศ ผิวด้านนอก
ปากหลอดแก้วจะคว่ำอยู่ในภาชนะที่บรรจุปรอท ทำให้เป็นคลื่น ยึดด้านหนึ่งของตลับติดกับสปริงที่ต่อไปยังคานและเข็มชี้

ระดับปรอท เข็มชี้บอกระดับ
ในหลอดแก้วสูงขึ้น ระดับปรอท
ในหลอดแก้วต่ำลง
ตลับโลหะ
ความดัน ความดัน
อากาศสูงขึ้น อากาศต่ำลง
แรงดันอากาศภายนอกที่สูงขึ้น
จะดันตลับโลหะให้ยุบตัว

หลักการทำงานของบารอมิเตอร์ปรอท แอนิรอยด์บารอมิเตอร์ หลักการทำงานของแอนิรอยด์บารอมิเตอร์


ความชื้นอากาศ คือ ปริมาณไอน้ำที่มีอยู่ในอากาศบริเวณใดบริเวณหนึ่ง
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความชื้นอากาศ การคายน้ำของพืช การระเหยของน้ำ
ในแหล่งน้ำ

1 อุณหภูมิของอากาศ 2 ปริมาณไอน้ำในอากาศ

เครื่องมือที่ใช้วัดความชื้นของอากาศ เรียกว่า ไฮกรอมิเตอร์ ไอน้ำในอากาศที่ได้จากการระเหยของแหล่งน้ำและการคายน้ำของพืช

ไฮกรอมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก - กระเปาะแห้ง ไฮกรอมิเตอร์แบบเส้นผม หรือบารอเทอร์มอไฮโกรกราฟ


• อาศัยหลักการของการยืดและหดตัวของเส้นผมเมื่อได้รับความชื้น มีลักษณะทั่วไป
• อาศัยหลักการระเหยของน้ำในการทำงาน ประกอบด้วย ซึ่งเส้นผมที่ใช้จะต้องเป็นเส้นผมที่สะอาดปราศจากไขมันของมนุษย์เส้นเดียว หรือ
เทอร์มอมิเตอร์ธรรมดา เรียกว่า เทอร์มอมิเตอร์แบบ หลายเส้น
กระเปาะแห้ง อีกอันหนึ่งมีผ้าเปียกหุ้มที่กระเปาะ และ เข็มบันทึกกราฟความชื้น
มีด้ายดิบต่อไปยังน้ำในถ้วยที่วางไว้ใต้เทอร์มอมิเตอร์
เรียกว่า เทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียก
เส้นผม

กระเปาะแห้ง กระเปาะเปียก

ไฮกรอมิเตอร์ ไฮกรอมิเตอร์แบบเส้นผม โครงสร้างไฮกรอมิเตอร์แบบเส้นผม


ลม
พื้นผิวโลกที่แตกต่างกันสามารถดูดซับรังสีจากดวงอาทิตย์ได้ต่างกัน เป็นผลให้อากาศที่อยู่เหนือพื้นที่ดังกล่าวมีอุณหภูมิและความดันอากาศแตกต่างกัน ความแตกต่างนีท้ ำให้เกิด
การเคลื่อนที่ของอากาศ
• บริเวณที่มีอุณหภูมิอากาศสูง อากาศจะได้รับความร้อน ทำให้อากาศขยายตัวและลอยตัวสูงขึ้น บริเวณนั้นจึงมีความดันอากาศต่ำ
• บริเวณที่มีอุณหภูมิอากาศต่ำ ความดันอากาศจะสูง อากาศที่มีอุณหภูมิต่ำจะเข้าไปแทนที่อากาศที่มีอุณหภูมิสูง ทำให้เกิดลมขึ้น

อากาศที่มีอุณหภูมิสูง
ลอยตัวสูงขึ้น

อากาศที่มีอุณหภูมิต่ำเข้ามา
แทนที่อากาศที่มีอุณหภูมิสูง

H
บริเวณที่มีความดันอากาศสูง
L
บริเวณที่มีความดันอากาศต่ำ
(high pressure, H) (low pressure, L)
เครื่องมือที่ใช้วัดทิศทางและอัตราเร็วของลม
1 ศรลม หัวลูกศร
• ใช้วัดทิศทางของลม
• เมื่อมีลมพัดมาลมจะดันบริเวณหางศรลม ทำให้หัวลูกศรที่เป็น
ปลายแหลมหันชี้ไปทางทิศลมที่พัดมา หางศรลม
• ศรลมขนานกับทิศทางที่ลมพัดมา

2 มาตรวัดความเร็วลม หรือแอนีมอมิเตอร์ (anemometer) ลมปะทะด้านเว้าของถ้วย


• หรือแอนีมอมิเตอร์ (anemometer)
• ใช้วดั ความเร็วลมเมื่อมีลมพัดมาปะทะด้านเว้าของถ้วย จะทำให้
ถ้วยหมุนรอบแกนกลาง
• ความเร็วในการหมุนแสดงถึงความเร็วลม สามารถอ่านค่าความเร็ว
ลมได้จากตัวเลขที่หน้าปัดเครื่อง

3 แอโรเวน (aerovane)
• บอกได้ทั้งความเร็วและทิศทางของลม หัวเป็นใบพัด
• ส่วนหัวเป็นใบพัดใช้ในการวัดความเร็วลม ส่วนหางจะแบนช่วย
ให้แอโรเวนเบนชี้ไปทางด้านที่ลมพัดมาเพื่อบอกทิศทางลม
การเกิดเมฆ
เมื่อไอน้ำในอากาศลอยตัวไปจนถึงระดับอากาศที่มีอุณหภูมิต่ำ จนกระทั่ง ประเภทของเมฆตามระดับความสูงของฐานเมฆ
อากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะควบแน่นจนเป็นละอองน้ำหรือน้ำแข็งขนาด
เล็ก ละอองน้ำหรือน้ำแข็งที่ลอยอยู่ในอากาศนี้หากอยู่รวมกันจะเรียกว่า 1 2 3
เมฆ (cloud) เมฆชั้นสูง เมฆชั้นกลาง เมฆชั้นต่ำ
เมฆแบ่งตามรูปร่างได้เป็น 3 ประเภท เกิดที่ระดับสูงจากพื้นโลกไม่เกิน 2
เกิดที่ระดับสูงจากพื้นโลกมากกว่า เกิดที่ระดับสูงจากพื้นโลก 2 – 6
6 กิโลเมตร ได้แก่ เมฆซีร์โรคิวมูลัส กิโลเมตร ได้แก่ เมฆอัลโตคิวมูลัส กิโลเมตร ได้แก่ สเตรตัส สเตรโตคิวมูลัส
ซีร์โรสเตรตัส และซีร์รัส และอัลโตสเตรตัส และนิมโบสเตรตัส เมฆคิวมูโลนิมบัส
1 ซีร์รัส (cirrus) และคิวมูลัส
ลักษณะเป็นริ้ว ๆ คล้ายขนสัตว์
ลักษณะท้องฟ้าและปริมาณเมฆ
แจ่มใส โปร่ง มีเมฆบางส่วน มีเมฆเป็นส่วนมาก มีเมฆมาก
2 คิวมูลัส (cumulus) มีเมฆเต็มท้องฟ้า

ลักษณะเป็นก้อน

3 สเตรตัส (stratus)
ลักษณะเป็นแผ่นหรือชั้น
น้อยกว่า 1/10 มากกว่า 1/10 มากกว่า 3/10 มากกว่า 5/10 มากกว่า 8/10 10/10
ของท้องฟ้า ถึง 3/10 ถึง 5/10 ถึง 8/10 ถึง 9/10
ชนิดของเมฆ
เมฆชั้นสูง ซีร์รัส (cirrus)
ฐานเมฆอยู่ในระดับสูงกว่า 6 กิโลเมตร
อุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง จึงประกอบ
ด้วยผลึกน้ำแข็งเกือบทั้งหมด ซีรโ์ รคิวมูลัส
(cirrocumulus)
ซีร์โรสเตรตัส
(cirrostratus)

เมฆชั้นกลาง อัลโตคิวมูลัส
อัลโตสเตรตัส
ฐานเมฆอยู่ในระดับสูง 2 – 6 กิโลเมตร (altocumulus)
(altostratus)
ประกอบด้วยผลึกน้ำแข็งและละอองน้ำ

เมฆชั้นต่ำ คิวมูโลนิมบัส
นิมโบสเตรตัส สเตรโตคิวมูลัส คิวมูลัส (cumulonimbus)
ฐานเมฆอยู่ในระดับความสูงต่ำกว่า 2
(nimbostratus) (stratocumulus)
กิโลเมตร ประกอบด้วยละอองน้ำ (cumulus)
เกือบทั้งหมด
สเตรตัส (stratus)
C lip
VD O
ฝน

You might also like