You are on page 1of 5

Article 1 Article 2 Article 3

A Critical Review of Research on An Analysis of Meaning EFL Learners’ Negotiation of


Negotiation of Meaning in Second Negotiation Strategies Used in Meaning
Language Learning Conversation by Undergraduate
EFL Students
จุดประสงค์ในการวิจัย: จุดประสงค์ในการวิจัย: จุดประสงค์ในการวิจัย:
เพื่อทบทวนวิพากษ์งานวิจัยเกี่ยวกับการใช้
กลวิธีในการเจรจาต่อรองเชิงความหมาย
(NM) ในบริบทของผู้เรียนภาษาที่สอง
(EFL/ESL)
Discussion: Discussion: Discussion:
งานวิจัยนีไ้ ด้ทบทวนงานออกมาเพื่อ
ให้เห็นว่า การเจรจาต่อรองเชิงความหมาย
มีประโยชน์ต่อผู้เรียนในการเรียนรู้ภาษาที่
สอง ทัง้ การสื่อสารแบบต่อหน้า (face to
face) และการสื่อสารผ่านช่องทาง
คอมพิวเตอร์ (computer-mediated-
communication) นอกจากนี ้ ยัง
อภิปรายถึงเครื่องมือที่งานวิจัยส่วนใหญ่ใช้
เพื่อให้ผู้เรียนดึงกลวิธีการเจรจาต่อรอง
ออกมาระหว่างสนทนา นั่นคือ การใช้
Information gap ซึ่งสามารถนำกลวิธีที่ผู้
เรียนใช้มาจัดประเภทของการเจรจาต่อ
รองเชิงความหมายได้ ทัง้ นีผ
้ ู้วิจัยได้พิสูจน์
Theorical framework ที่นำมาจาก
Long (1996) Interaction hypothesis
in SLA ภายใต้ช่ อ
ื Three C’s ว่า
สมมติฐานนีเ้ กิดขึน
้ จริงในงานวิจัยที่ศึกษา
ผู้วิจัย: ผู้วิจัย: ผู้วิจัย:
Rudi Hartono (2017) Rudi Hartono and Diemroh Ihsan Samira Saeed Rashid Al Hosni
(2017) (2014)
กลุ่มตัวอย่าง: กลุ่มตัวอย่าง: กลุ่มตัวอย่าง:
8 งานวิจัยที่ผ่านมาเกี่ยวกับการใช้กลวิธีใน
การเจรจาต่อรองเชิงความหมาย (ในหน้าที่
2-3)
เครื่องมือในการทำวิจัย: เครื่องมือในการทำวิจัย: เครื่องมือในการทำวิจัย:
ไม่ได้กล่าวถึงแต่ผู้วิจัยอาจจะรวบรวมทำ
เป็ นตารางสังเคราะห์งานวิจัยใน 5
ประเด็น คือ
1) ทฤษฎีที่นำมาใช้งานงานวิจัย
2) ประเภทของ Interaction
3) ประเภทของ Communication
tasks
4) ระดับความสามารถในการใช้ภาษา
อังกฤษของผู้เรียน และ
5) กลวิธีในการเจรจาต่อรอง
เนื้อหา: เนื้อหา: เนื้อหา:
สังเคราะห์ 8 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการ
เจรจาต่อรองเชิงความหมายในบริบท
EFL/ESL ของผู้ใหญ่ที่มีการสนทนากัน
หรือในห้องเรียนที่มีการใช้
Communication tasks
ระยะเวลาในการทำวิจัย: ระยะเวลาในการทำวิจัย: ระยะเวลาในการทำวิจัย:
ไม่ได้ระบุระยะเวลา
ผลการวิจัย: ผลการวิจัย: ผลการวิจัย:
สรุปงานได้ 4 ประเด็นดังนี ้
1) ประเภทของ Communication
tasks
- Information gap task ทำให้มี
โอกาสเกิด NM มาก
2) ประเภทของ Interaction
- NM สามารถเกิดขึน
้ ได้ทงั ้ การ
สื่อสารแบบต่อหน้า (face to
face) และการสื่อสารผ่านช่อง
ทางคอมพิวเตอร์ (computer-
mediated-communication)
3) ระดับความสามารถในการใช้ภาษา
อังกฤษของผู้เรียน
- ระดับความสามารถทางการใช้
ภาษาอังกฤษของผู้เรียนมีผล
การการเกิด NM
4) กรอบแนวคิดงานวิจัย
- Three C’s ว่าสมมติฐานนีเ้ กิด
ขึน
้ จริงในงานวิจัยที่ศึกษา โดย
นำแนวคิดของ Long (1996)
Interaction hypothesis in
SLA มาวิเคราะห์

ข้อจำกัดและข้อเสนอแนะ: ข้อจำกัดและข้อเสนอแนะ: ข้อจำกัดและข้อเสนอแนะ:


1. นำ NM มาศึกษาในสถานการณ์จริง
เช่น การสนทนาในครอบครัว นอก
เหนือจากกระบวนการเรียนปกติ
2. หา Communication tasks แบบ
อื่นมาใช้กับ L2 learners เพื่อให้
เกิด NM
3. หาคุณลักษณะอื่นๆมาเพิ่มเติม เช่น
เหตุหรือปั จจัยในการเกิดกลวิธีใน
การเจรจาต่อรองเชิงความหมาย
และ Non-verbal signals

You might also like