You are on page 1of 4

ขอสอบแขงขัน ดาราศาสตรโอลิมปก ระดับชาติ ครั้งที่ 2

ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ปการศึกษา 2548


ขอสอบ ภาคปฏิบัติการ

ขอที่ 1

สมมุติวานักเรียนไปเที่ยวเมือง Quito ประเทศ Ecuador ซึ่งอยูที่ละติจูด 0 องศา ลองจิจูด 78 องศา 30


ลิปดาตะวันตก ในการไปครั้งนี้มีเพื่อนๆ ซึ่งอยากรูเรื่องดาราศาสตรไปดวย นักเรียนจึงตองวางแผนวาจะดูดาวอะไร
ในคืนวันที่ 3 พฤษภาคม 2548 โดยในคืนนั้นทองฟาปราศจากแสงไฟรบกวน ทําใหเห็นดาวไดอยางชัดเจน โดยมี
ขอมูลของดาวบางดวงดังนี้

โชติมาตรสัมบูรณ . ระยะหาง
ชื่อดาว R.A. Dec
(Absolute Magnitude) (ปแสง)
Delta-Vir 12h 56m 3°22' - 0.6 203
Beta-Sco 16 h 06 m - 19°49' - 3.53 530
Gamma-Eri 3 h 58 m - 13°30' - 1.2 221
Alpha-Boo 14 h 16 m 19°9' - 0.33 37
U Cen 12 h 34 m - 54°41' - 0.01 1,591
Beta-Aqr 21 h 32 m - 5°33' - 3.5 1 615
กําหนดให

• เวลาประจําเขต (Zone Time) = เวลาสากล (UT) – 5


• เวลาที่ทําการสังเกต 21:00 - 24:00 น. ตามเวลาประจําเขต
• ดวงจันทรแรม 10 ค่ํา

ใหนักเรียนแสดงวิธีคํานวณและตอบคําถามตอไปนี้

ขอ 1.1 นักเรียนสามารถเห็นดาวดวงใดดวยตาเปลา เพราะเหตุผลใด

ขอ 1.2 นักเรียนสามารถเห็นดาวดวงใดผานเมอริเดียนของผูสังเกตดวยตาเปลา และผานในเวลาใด

ขอ 1.3 ดาวดวงใดไมสามารถสังเกตเห็นไดดวยตาเปลา เพราะเหตุผลใด


ขอที่ 2.

จากรูปที่ 1 ซึ่งแสดงภาพถายของกาแลกซี่ NGC 2903วันที่เทาใดบาง


สเปกตรัมในรูปที่ 2 ถึง 4 แสดงถึงความเขมแสงสัมพัทธ โดยที่ แถบดําที่แกน x แสดงถึงความยาวคลื่นนิ่งของธาตุ
ที่เขียนไว ซึ่งก็คือ Ca-K/H, H?, และ H? ใน Balmer series

ขอ 2.1 หาคา Redshifts ของแตละสเปกตรัมเมื่อเทียบกับคาความยาวคลื่นนิ่ง (Lamda0) และอธิบายผลการ


คํานวณ

ขอ 2.2 หาคาความเร็วของกาแลกซี่นี้

You might also like