You are on page 1of 4

วิธีการปรับสภาพน้ำ และบำบัดน้ำเสี ย โดยวิธีชีวภาพ

1. การปรับค่ า pH ของน้ำ
        ใช้เครื่ องมือ หรื ออุปกรณ์ วัดค่า pH ของน้ำ วัดดูวา่ สภาพน้ำของเป็ นกรด
หรื อด่าง (ใช้อุปกรณ์วดั น้ำ โดยใช้น ้ำยาวัดค่า pH โดยนำน้ำในบ่อมาใส่ จานหลุมพลาสติก แล้วจึงหยดน้ำยาตรวจสอบ pH 1
หยด แล้วปล่อยให้น ้ำยากับน้ำในบ่อผสมกัน แล้วจึงใช้แผ่นตรวจสอบสี เทียบสี ดูกนั น้ำที่ได้ อ่านค่าดู ถ้าต่ำกว่า 7 ก็เป็ นกรด
ถ้าสูงกว่า 7 ก็เป็ นด่าง
        ถ้ าน้ำเป็ นกรด วิธีแก้ไข คือ ใส่ ปนู ต่าง ๆ ได้แก่
        ปูนโดโลไมท์ - มีความเป็ นด่างต่ำ แต่จะมีแร่ ธาตุเป็ นอาหารของแพลงตอนพืช พวกแมกนีเซี ยม แคลเซี ยม
        ปูนขาว - มีความเป็ นด่างสูง แต่มีแร่ ธาตุอาหารต่ำ ใช้ปรับสภาพน้ำที่เป็ นกรดมา ก แต่ใช้ตอ้ งระมัดระวัง
        ปูนมาร์ ล - มีความเป็ นด่างต่ำ มีแร่ ธาตุพวกแคลเซี ยมมาก ถ้ากรณี น ้ำมีอลั คาไลน์สูงมากไม่ควรใช้
        ปูนเปลือกหอยเผา - มีความเป็ นด่างสูง มีแร่ ธาตุอาหารสู ง ใช้ปรับสภาพน้ำที่เป็ นกรดมาก ๆ การใช้ตอ้ งค่อย ๆ ใช้
        ซึ่ งการปรับสภาพน้ำนั้นต้องดูจากสิ่ งแวดล้อมด้วยว่า ควรจะใช้ปูนชนิดไหน เพราะแต่ละอย่างมีคุณสมบัติไม่เหมือนกัน
และราคาแตกต่างกัน การใช้ควรใช้ดว้ ยความระมัดระวัง เพราะถ้าใส่ มากไปก็เป็ นโทษเหมือนกัน
        ถ้ าน้ำเป็ นด่ าง วิธีแก้ไข คือ ใส่ พวกกรดต่าง ๆ ได้แก่
        น้ำส้ มสายชู 5 % - มีความเป็ นกรดเจือจางต้องใช้ผสมกับน้ำแล้วค่อย ๆ สาดปรับสภาพให้ได้ 7 จึงหยุด ต้องใช้ดว้ ยความ
ระมัดระวังใส่ ไปวัดค่า pH ไป
        น้ำสั บปะรด - มีความเป็ นกรดเจือจาง ใช้ผสมน้ำสาดเช่นกัน
        การรักษาค่าระดับ pH ของน้ำ เมื่อคงที่แล้ว ควรใส่ จุลินทรี ยน์ ้ำ เพิม่ ลงไป เพื่อเพิม่ ปริ มาณของแพลงค์ตอน และรักษา
ระบบนิเวศน์ของน้ำให้คงที่อยูเ่ สมอ ซึ่ งจะใส่ มากหรื อน้อยต้องดูสภาพของสิ่ งแวดล้อมเพราะเป็ นการสิ้ นเปลือง และการถ่าย
น้ำบ่อยจะทำให้สตั ว์น ้ำเกิดความเครี ยด และมักจะไม่กินอาหาร ทำให้อตั ราการเจริ ญเติบโตไม่ต่อเนื่อง ซึ่ งจะสังเกตจากการ
เลี้ยงบ่อปูน ถ้าเปลี่ยนถ่ายน้ำบ่อยจะสังเกตว่า อัตราการเจริ ญเติบโตของสัตว์น ้ำไม่ค่อยโตเท่าที่ควร ดังนั้นควรจะเลี้ยงแบบ
ระบบปิ ด คือ รักษา และควบคุมระบบน้ำตั้งแต่ครั้งแรกจนถึงวันที่จบั ขาย และตัวแปรของแหล่งน้ำได้ ซึ่ งถ้าท่านไม่มีเครื่ อง
มือตรวจสอบ สารเคมีต่าง ๆ ทำให้อาจจะเกิดสารปนเปื้ อนในตัวสัตว์น ้ำได้

2. การปรับค่ าอัลคาไลน์ ของน้ำ


         ผูเ้ ลี้ยงสัตว์น ้ำส่ วนใหญ่มกั จะไม่ค่อยให้ความสำคัญของค่าอัลคาไลน์ เพราะไม่
ทราบว่าค่าอัลคาไลน์คืออะไร ค่าอัลคาไลน์ คือปริ มาณแร่ ธาตุอาหาร เช่น แมกนีเซี ยม แคลเซี ยม โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ฯลฯ
ที่มีส่วนในการเสริ มสร้างผิวหนัง หรื อผิวหนังของสัตว์ และพืชน้ำ ซึ่ งมีความสำคัญต่อระบบนิเวศน์ของน้ำด้วย ดังนี้เพื่อใน
การปรับค่า pH แล้วทุกครั้ง ควรจะต้องวัดค่าอัลคาไลน์ควบคู่ไปด้วย ซึ่ งวิธีวดั ค่าอัลคาไลน์ กระทำได้ดงั นี้
         1. นำหลอดทดสอบล้างให้สะอาด แล้วเอาน้ำที่ตอ้ งการหาค่าอัลคาไลน์ ใส่ ลง ในหลอดทดลอง ขนาด 5 มิลลิลิตร
         2. หลังจากนั้น เอาน้ำยาอินดิเคเตอร์มาหยดใส่ น้ำที่ตอ้ งการ 1 หยด น้ำใน หลอดทดลองจะเปลี่ยนเป็ น สี ฟ้าแกมน้ำเงิน
         3. เมื่อน้ำกลายเป็ นสี ฟ้า ให้เอาน้ำยาไตแตรนท์ มาหยดใส่ ในหลอดทดลอง
หยดใส่ ทีละ 1 หยด แล้วเขย่าให้เข้ากัน ค่อย ๆ หยดทีละ 1 หยดแล้วเขย่าไปเรื่ อย นับไปจนน้ำที่หยดน้ำยาเปลี่ยนเป็ นสี ส้ม ว่า
ได้กี่หยด ให้คูณกับ 18 จะได้ค่าอัลคาไลน์ที่อยากทราบ เช่น เมื่อหยดน้ำยาไตแตรนท์หยดลงไปที่หลอดทดสอบแล้วนับทีละ
หยด จนถึงหยดที่ 5 น้ำที่ทดสอบเปลี่ยนเป็ นสี ส้ม ให้เอา 5 คูณ 18 จะได้คา่ อัลคาไลน์ เท่ากับ 90 มิลลิกรัม/น้ำ 1 ลิตร
         ซึ่ งค่าอัลคาไลน์ ในน้ำที่ดีควรอยูท่ ี่ 80-150 ซึ่ งถ้าอัลคาไลน์ในน้ำสู งไป หรื อต่ำไปมีวธิ ี แก้ไข ดังนี้
         ค่ าอัลคาไลน์ ต่ำกว่า 80 ผนังของแพลงค์ตอนจะไม่แข็งแรง สี น ้ำจะไม่เขียว ผิวหนังหรื อค่าอัลคาไลน์ ให้ใส่ สารเพิ่มอัล
คาไลน์ หรื อถ้ากรณี ที่ยงั ไม่ปล่อยสัตว์น ้ำ อาจจะใช้พวก มูลสัตว์ เช่นมูลไก่ มูลหมู มูลวัว ใส่ ลงไปในน้ำ แล้วเติมจุลินทรี ยไ์ ป
ช่วยย่อยสลาย จะเป็ นการเพิ่มแร่ ธาตุของแพลงค์ตอนทำให้มีค่าอัลคาไลน์ดีข้ ึน
         ค่ าอัลคาไลน์ สู งเกินกว่า 200 ซึ่ งมักจะเกิดจาก น้ำบาดาล หรื อน้ำใต้ดิน หรื อแหล่งน้ำ ที่มี่การซึ มมาจากพื้นที่การเกษตร
น้ำนาข้าว ซึ่ งมีการใส่ ปุ๋ยในนา แล้วเมื่อน้ำเอ่อ หรื อมีฝนตากซุก น้ำจากนาข้าวจะไหลมาสู่ แหล่งน้ำ เช่นว่าคลอง ห้วย บึง ซึ่ ง
ถ้ามีคา่ อัลคาไลน์ในน้ำมากเกินไปจะเป็ นผลทำให้เกิดแพลงค์ตอนบูมมากเกินไป เมื่อแพลงค์ตอน บูมมากเวลาตายจะตาย
พร้อม ๆ กันทำให้เกิดเป็ นขี้แดด หรื อขี้ตะไคร่ ลอยอยูห่ น้าน้ำ ซึ่ งจะทำให้มีข้ ีแดดมากจะบังหน้าน้ำ ทำให้แสงแดดไม่สามารถ
ส่ องถึงใต้น ้ำได้ น้ำจะค่อย ๆ ทำให้แพลงค์ตอนที่เหลือไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ ออกซิ เจนในน้ำก็จะค่อยลดลง ๆ เปลี่ยน
เป็ นสี น ้ำตาล และดำในที่สุด ซึ่ งถ้าค่าอัลคาไลน์มากเกินไปก็จะทำให้สตั ว์น ้ำกระดองแข็ง หรื อกุง้ ลอกคราบไม่ออก เปลือกไข่
ของสัตว์น ้ำจะแข็ง วิธีบ ำบัด คืออาจจะใส่ เกลือ เพื่อลดปริ มาณแพลงค์ตอนลงแล้วใส่ จุลินทรี ยใ์ ห้ยอ่ ยมากขึ้น ห้ามใส่ พวกปูน
ทุกชนิด เพราะจะเป็ นการเพิ่มแร่ ธาตุอาหารของแพลงค์ตอน ซึ่ งมีเกินพอแล้ว
        ดังนั้น การตรวจสอบค่าอัลคาไลน์ จึงควรกระทำไปพร้อมกับการวัดค่า pH ของน้ำทุกครั้ง แต่ในการบำบัดต้องดูจาก
สภาพแวดล้อม และคำนึงถึงแหล่งที่มาของน้ำ ประกอบการพิจารณาด้วย

วิธีบำบัดน้ำเสี ย โดยวิธีชีวภาพ (ข้ อมูลสำคัญในการเลีย้ งสั ตว์ น้ำ)


         ในการบำบัดน้ำเสี ยต้องคำนึงถึงค่า pH และค่าอัลคาไลน์น ้ำประกอบการบำบัดด้วยทุกครั้ง ซึ่ งน้ำเสี ยส่ วนใหญ่อาจจะ
เกิดจากสาเหตุหลายประการดังนี้
         1. การตกหล่ นของอาหาร การเน่าเสี ยของน้ำในบ่อเลี้ยง เกิดจากการสะสมของอาหารที่สตั ว์น ้ำกิน รวมทั้งสิ่ งขับถ่ายต่าง
ๆ ของสัตว์น ้ำนั้นเอง และในบางครั้งสัตว์น ้ำในบ่อเลี้ยงอาจตายลงโดยผูเ้ ลี้ยงไม่รู้ และเกิดการเน่าขึ้นได้ ซึ่ งการเน่าและหมัก
ของสิ่ ง ปฎิกลู จะทำให้เกิดแก๊สแอมโมเนีย ก๊าซไฮโดรเจน ซัลไพค์ ก๊าซไนไตรท์ ซึ่ งเป็ นอันตรายกับสัตว์น ้ำได้ โดยแยก
ประเภทอันตรายของก๊าซแต่ละชนิดดังนี้
         ก๊ าซแอมโนเนีย เกิดจากการเน่าเสี ยของเศษอาหาร และมูลของสัตว์น ้ำ ทับ ถมกันเป็ นระยะเวลาหลายเดือน จะมีการ
เปลี่ยนปฎิกริ ยาทางเคมี ออกมาเป็ นรู ปก๊าซแอมโมเนีย ซึ่ งก่อให้เกิดผลร้ายต่อระบบการหายใจ และทำให้เกิดการระคายเคือง
ต่อผิวหนัง ถ้ามีมากจะออกฤทธิ์ ท ำให้กดั บริ เวณผิวหนังสัตว์น ้ำ เป็ นช่องแผล และจะเป็ นทางเข้าสู่ ร่างกายสัตว์น ้ำของเชื้อโรค
จะทำให้เกิดเป็ นแผลหลุม จุดแดง ๆ เป็ นจ้ำ ๆ เป็ นตุ่มมีน้ำเหลือง และเป็ นโรคผิวหนังต่าง ๆ มีผลทำให้สตั ว์น ้ำนั้นอ่อนแอ
ป่ วย และตายได้
         ก๊ าซไนไตรท์ เป็ นการเปลี่ยนกระบวนการ หรื อถ่ายสสารจากก๊าซแอมโมเนีย แตกตัวเปลี่ยนมาเป็ นก๊าซไนไตรท์ ซึ่ งจะ
ออกฤทธิ์ อย่างร้ายแรง เมื่อสภาพน้ำมีคา่ pH ต่ำหรื อมีความเป็ นกรด แต่ถา้ น้ำเป็ นด่างก๊าซไนไตรท์จะไม่ออกฤทธิ์ ซึ่ งเมื่อออก
ฤทธิ์ จะทำให้ระบบทางเดินหายใจของสัตว์น ้ำ จะทำให้เกล็ดเลือดเป็ นพิษ สัตว์น้ำจะหายใจไม่ออก และจะมีเลือดไหลออก
จมูกและปาก ซึ่ งถ้ามีก๊าซไนไตรท์ตอ้ งรี บบำบัดน้ำเสี ยทันที อนึ่ง ก๊าซไนไตรท์ กับก๊าซแอมโมเนีย สามารถเปลี่ยนสถานะกัน
ไปมาได้
         ในการเลี้ยงสัตว์น ้ำนั้น ต้องรู้จกั ถึงคุณสมบัติของก๊าซ 2 ชนิดนี้ เพราะถ้าเลี้ยงสัตว์น ้ำ น้ำที่เน่าเสี ยจะพบก๊าซทั้ง 2 ชนิดนี้
เสมอ จะรู ้ได้ตอ้ งมีเครื่ องมือวัดแอมโมเนีย และเครื่ องมือวัดไนไตรท์
         2. การมีสารเจือปนมากับแหล่งน้ำ ซึ่ งในแหล่งน้ำก่อนที่จะเติมลงไปในบ่อเลี้ยง
สัตว์น ้ำ ควรจะมีการวัดค่า pH กับค่าอัลคาไลน์ในน้ำเสี ยก่อน ซึ่ งบางครั้งอาจจะไม่ทราบว่าในแหล่งน้ำที่มานั้นมีการตกค้าง
ของสารเคมี หรื อมีปุ๋ยที่ปนมากับน้ำหรื อไม่ ซึ่ งถ้ามีสารเคมีปนเปื้ อนเข้ามาจะทำให้แพลงค์ตอนพืชตายทับถม กลายเป็ นขี้
แดด และนาน ๆ เข้าจะทำให้น ้ำเปลี่ยนสี ได้

        3. การใช้ ปูนมากเกินขนาด บางครั้งการที่ตอ้ งการปรับสภาพน้ำอาจทำให้ผเู ้ ลี้ยง


ใสปูนมาก จนเกินความพอดี ถ้าปูนมีมากเกินไป จะทำให้เกิดภาวะบูมของแพลงค์ตอน จะทำให้น ้ำหนืดเขียวขึ้นอยูร่ ะยะหนึ่ง
หลังจากนั้นจะเปลี่ยนเป็ นตะกอน หรื อขี้แดด

        4. การใช้ ยาฆ่ าเชื้อ หรือสารเคมี มากเกินขนาด ในระบบนิเวศน์ของน้ำ มี สิ่ งมีชีวิตที่ช่วยตรึ งให้ระบบนิเวศน์ของน้ำคงที่
ประกอบไปด้วยแพลงค์ตอนพืช จุลินทรี ย ์ และแบคทีเรี ย ซึ่ งในธรรมชาติถา้ น้ำดี จุลินทรี ยม์ ีอากาศหายใจเพียงพอจะเบียด
แบคทีเรี ย ไม่ให้เกิดหรื อเกิดก็นอ้ ย ดังนั้นเมื่อใส่ ยาฆ่าเชื้อหรื อสารเคมีลงไปในน้ำ ฤทธิ์ของยาก็จะทำลายระบบนิเวศน์ท้ งั หมด
หรื อเรี ยกว่าระบบน้ำล้ม เพราะแพลงค์ตอนพืชตาย จุลินทรี ยต์ าย แบคทีเรี ยตาย จะไม่มีผยู ้ อ่ ยสลาย และผูผ้ ลิตที่สร้าง
ออกซิ เจนในน้ำ เมื่อไม่มีออกซิเจน สัตว์น้ำก็อยูไ่ ม่ได้ ขณะเดียวกัน แบคทีเรี ยที่ไม่ตอ้ งใช้ออกซิ เจนในการหายใจก็จะเกิด
แทนที่กจ็ ะเข้าเกาะกินสัตว์น้ำ ทำให้เกิดโรคร้ายแกสัตว์น ้ำ การใช้สารเคมี หรื อยาฆ่าเชื้อจึงต้องระมัดระวังในการใช้ ทางที่ดี
ไม่ควรที่จะใช้ ยกเว้นว่า ระบบนิเวศน์ของน้ำนั้นเน่าเสี ยหมดแล้ว ถึงควรที่จะล้างระบบ แล้วรอให้ฤทธิ์ ของยาหมดแล้ว จึง
ต้องรี บสร้างแพลงค์ตอนพืชขึ้นมา เพื่อเร่ งการสร้างระบบนิเวศน์ของน้ำขึ้นมาทดแทนใหม่

        5. ผักตบชวา มากเกินไป ผักตบชวาเป็ นพืชที่ลอยอยูผ่ วิ น้ำ ซึ่ งมีท้ งั ประโยชน์ และโทษในบ่อเลี้ยงสัตว์น ้ำ ซึ่ งแยกได้ดงั นี้
        ประโยชน์ ของผักตบชวา โดยดูดรับเอาปุ๋ ยไนเตรทที่ได้จากขบวนการย่อย สลายไนโตรเจนไปใช้ โดยดูดซึ มของเสี ยไว้
เหมือนฟองน้ำ เมื่อเราดึงผักตบชวาออกจากบ่อก็เหมือนเราดึงของเสี ยจากบ่อไปทิ้ง
        โทษของผักตบชวา ปัญหาของผักตบชวาที่มากเกินไป ผักตบจะโตขึ้นถ้าไม่มีการควบคุมหรื อจำกัดบริ เวณผักตบชวาจะ
ปกคลุมผิวหน้าน้ำทั้งหมด ทำให้น ้ำขาดแสงแดด ขาดออกซิ เจน และถ้าผักตบชวาขึ้นเต็มที่ ถ้าเราไม่ดึงออก รากที่สะสมของ
เสี ยเมื่อเก็บไม่อยู่ จะปล่อยของเสี ยเหล่านั้นลงในน้ำ เป็ นการเพิ่มปริ มาณของเสี ย และแอมโมเนียในน้ำแบบฉับพลัน เหมือน
การปล่อยระเบิดเวลา ดังนั้น ถ้าจะใช้ผกั ตบชวาจึงควรใช้ไม่เกิน 25 % ของพื้นที่ ที่อยูอ่ าศัยของสัตว์น ้ำ
         สาเหตุที่ท ำให้เกิดน้ำเสี ยที่กล่าวมาเป็ นข้อสรุ ปเบื้องต้น ซึ่ งมีตวั แปรที่ท ำให้น ้ำเสี ยอีกมาก แต่ที่กล่าวมาเป็ นสาเหตุหลัก
ๆ เท่าที่พบ ซึ่ งเมื่อท่านเข้าใจ และรู้ที่มาของน้ำเสี ยแล้ว ถึงค่อยมาทำความเข้าใจกับวิธีบ ำบัด

วิธีบำบัดน้ำเสี ยแบบชีวภาพ

         ทัว่ ๆ ไปน้ำที่จะเลี้ยงกุง้ ปลา ตะพาบน้ำ หรื อสัตว์น ้ำทุกชนิด ต้องมีการตรวจวัดคุณภาพน้ำก่อนที่จะนำลงไปเลี้ยง เมื่อ
ปรับได้ที่แล้ว ปัญหาที่ตามมาก็คือ คุณภาพน้ำ จะเริ่ มเสี ยตั้งแต่วนั แรกที่ปล่อยสัตว์น ้ำ แต่จ ำนวนน้อยเพราะมีระบบนิเวศน์ที่
สมดุลย์แก้ปัญหา กุง้ ปลา หรื อสัตว์น ้ำเมื่อกินแล้วก็ตอ้ งถ่ายออกมาสะสมนานวันคุณภาพน้ำเสื่ อม ระบบนิเวศน์ไม่สมดุลย์ สิ่ ง
หนึ่งสิ่ งใดมากเกิน ขาดความพอดีในน้ำ ถ้าเรามีแหล่งน้ำพอเพียงที่จะมาเติมน้ำเข้า ถ่ายน้ำออกขอให้ใช้วธิ ี น้ ี เป็ นวิธีที่ดีที่สุด
ในการเลี้ยงสัตว์น ้ำทุกชนิด แต่ถา้ เราไม่มีแหล่งน้ำที่จะมาเติมน้ำถ่ายเท เราต้องป้ องกันอย่าให้คุณภาพของน้ำเสี ยความสมดุลย์
ในระบบนิเวศน์ ตั้งแต่วนั แรกที่ปล่อยสัตว์น ้ำถึงวันที่จบั ขาย ถ้าท่านทำได้จะเกิดผลสำเร็ จเป็ นอย่างสู งด้วย การป้ องกัน และ
จัดการ ควบคุมการให้อาหารไม่ให้ตกหล่นลงไปในบ่อ ควบคุมขี้ของสัตว์น ้ำไม่ให้เน่าเสี ย ถ้าทำได้สองอย่างนี้ ปั ญหาอื่นจะ
เกิดน้อยมาก แทบจะกล่าวได้วา่ เป็ นการแก้ปัญหาได้ตรงประเด็น ผลที่ตามมาคือ ไม่สิ้นเปลืองอาหาร น้ำในบ่อไม่เน่าเสี ย
ตะพาบไม่ป่วย ไม่ตอ้ งใช้ยา ไม่ตอ้ งใช้สารเคมี อัตราการตายน้อยมากหรื อไม่มีเลย ต้นทุนต่ำ ได้ก ำไรศึกษาข้อมูลข้างต้นให้ดี
เนื่องจากทำให้ท่านเสี ยค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงน้อยมาก หากท่านป้ องกันไม่ได้ ขอให้ศึกษาบำบัด แบบชีวภาพ ตามข้อมูลที่จะ
กล่าวถึงนี้ ก่อนอื่นผูเ้ ลี้ยงสัตว์น ้ำต้องมีอุปกรณ์ตรวจวัด คุณภาพน้ำอย่างน้อย 4 ชนิดคือ

1. น้ำยาตรวจวัดความเป็ นกรด - ด่างในน้ำ


2. น้ำยาวัดหาค่าแร่ ธาตุอาหารในน้ำ (อัลคาไลน์)
3. น้ำยาตรวจวัดหาค่าก๊าซแอมโมเนีย
4. น้ำยาตรวจวัดหาค่าก๊าซไนไตรท์ การที่มีอุปกรณ์ตรวจวัด 4 ชนิดนี้ ทำให้

ผูเ้ ลี้ยงสามารถรู ้สภาพน้ำในบ่อว่ามีปัญหาอะไร เราจะได้แก้ปัญหานั้น ทำให้ไม่ตอ้ งเสี ยเงินลงบ่อ โดยไม่รู้วา่ ใส่ วตั ถุแต่ละ
ชนิดแล้วแก้ปัญหาในบ่อได้จริ งหรื อไม่ ด้วยการเอาน้ำยามาตรวจวัดคุณภาพน้ำทุก ๆ ครั้งก่อนและหลังบำบัด วิธีปรับความ
เป็ นกรด -- ด่าง แร่ ธาตุอาหาร (อัลคาไลน์) วิธีบ ำบัดก๊าซพิษต่าง ๆ ที่อยูใ่ นบ่อแบบชีวภาพ น้ำก็คือ ใช้สิ่งที่มีชีวิตมารักษา
(จุลินทรี ย)์ ปรับพื้นฐานก๊าซพิษที่มีให้เปลี่ยนเป็ นก๊าซที่เป็ นคุณประโยชน์ กับระบบนิเวศน์ นั้นก็คือ อาหารตะพาบที่หล่น ขี้
สัตว์น ้ำ ซากแพลงค์ตอนต่าง ๆ ที่หล่นไปก้นบ่อถ้าไม่มีจุลินทรี ยก์ ลุ่มที่ดีไปย่อย หรื อมีนอ้ ยไปย่อยไม่ทนั ก็จะมีแบคทีเรี ยอีก
กลุ่มเข้ามาแย่งอาหาร และซากต่าง ๆ เหล่านี้ ไปเป็ นก๊าซพิษทันที แต่ถา้ เราส่ งจุลินทรี ยเ์ ข้าไปแย่งอาหาร และซากต่าง ๆ เหล่า
นี้ได้ จุลินทรี ยก์ ลุ่มนี้กจ็ ะย่อยให้เป็ นก๊าซพิษทันที แต่ถา้ เราส่ งจุลินทรี ยเ์ ข้าไปแย่งอาหาร และซากต่าง ๆ เหล่านี้ได้ จุลินทรี ย ์
กลุ่มนี้กจ็ ะย่อยให้เป็ นก๊าซที่ดี (ไนโตรเจน) แพลงค์ตอนก็จะเจริ ญเติบโตได้ดี ก็ท ำหน้าที่สงั เคราะห์แสง แล้วเปลี่ยนเป็ น
อากาศให้กบั สัตว์น ้ำ ๆ ก็จะแข็งแรงเจริ ญเติบโต เชื้อแบคทีเรี ยก็จะอ่อนแอกับสภาพน้ำที่ดี และหยุดการแพร่ ขยายพันธุ์ หรื อ
ขยายน้อยมาก เนื่องจากสภาพน้ำดี จึงขอให้ผเู้ ลี้ยงรักษาระบบนิเวศน์ตรงนี้ ให้ได้ ทำให้ไม่ตอ้ งใช้สารเคมี - ยาต่าง ๆ
ธรรมชาติรักษาธรรมชาติ นั้นก็คือ ทำสภาพน้ำให้ดี สัตว์น้ำทุกชนิดก็จะแข็งแรงสร้างภูมิตน้ ทานโรคได้เป็ นอย่างดี
สภาพน้ำสี เขียวเข้มหนืด เกิดจากอาหารตกหล่นไปในบ่อน้ำมาก ทำให้ขยาย
ได้รวดเร็ ว ปั ญหาน้ำสี เขียวเข้าหนืด หรื อมีซากแพลงค์ตอนลอยปิ ดหน้าน้ำ (ขี้แดด) เกิดจากอาหาร และขี้ปลา กุง้ ที่หล่นไป
ก้นบ่อทำให้มีแร่ ธาตุอาหาร (อัลคาไลน์) มาก ทำให้แพลงค์ตอนพืชเกิดมากเกินความสมดุลย์ในระบบนิเวศน์จะรับได้วิธีแก้ข้ ี
แดด ถ้ามีซากแพลงค์ตอนพืช (ขี้แดด) มาก ให้เปิ ดหน้าน้ำด้วยการซ้อนขี้แดดออกทิ้ง หรื อใช้ไม่ปาดให้ไปรวมอยูท่ ี่มุมหนึ่ง
มุมหนึ่งของบ่อแล้วใช้เครื่ องดูดน้ำหน้าผิวทิ้ง ตรวจสอบดูวา่ ก้นบ่อมีก๊าซพิษหรื อไม่ จุลินทรี ยน์ ้ำ เพื่อไปย่อยสลายซากพืช
ซากสัตว์ที่เน่าอยูท่ ี่กน้ บ่อ ให้เปลี่ยนสภาพเป็ นก๊าซที่เป็ นประโยชน์ (ก๊าซไนโตรเจน) ขณะที่
จุลินทรี ยท์ ำงานจะมีข้ ีแดดลอยขึ้นมามากกว่าปกติไม่ตอ้ งตกใจ ให้ใส่ ทุกวัน และให้ดูดขี้แดดทุก ๆ วัน หลังจากสภาพน้ำดี
แล้ว ให้ใส่ จุลินทรี ย ์ เพียงเล็กน้อยแต่ทุกวัน น้ำจะไม่เสี ย

วิธีแก้ น้ำสี เขียวหนืด


         ให้ใช้เกลือผงละลายน้ำแล้วสาดลงไปในบ่อ เกลือจะไปทำให้แพลงค์ตอนพืชตาย สี น ้ำจะเปลี่ยนเป็ นสี ด ำ เนื่องจากแพ
ลงค์ตอนพืชมีธาตุเหล็ก ดังนั้นจึงต้องรี บใส่ จุลินทรี ยน์ ้ำ ไปย่อยซากแพลงค์ตอนทันทีก่อนที่ซากแพลงค์ตอนที่ตายจะเกิดเป็ น
ก๊าซพิษ ขณะที่ใช้จุลินทรี ยน์ ้ำ เปลี่ยนสี และฟองเกิดขึ้นก็ไม่ตอ้ งตกใจ หลังจากสภาพน้ำดีแล้ว ให้ใส่ จุลินทรี ยท์ ุกวันแต่ไม่ตอ้ ง
มาก

ที่มา http://members.thai.net/sahakorn/kaset/rewater.html

You might also like