You are on page 1of 39

By bobbyredcar

political science

2
0
1
9
แนวคิดทางการเมือง (Political Concept)
แนวคิดทางการเมือง (Political Concept)
ยุคกรีก -เพลโต, อริสโตเติล, กลุ่มอิพิคิวเรียน, กลุ่มซินนิค, กลุ่มสโตอิค
ยุคโรมัน -ซิเซโร, นักบุญออกัสติน, นักบุญโทมัส อะไควนัส
ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ -แมคเคียวเวลลี, มาร์ติน ลูเธอร์,ฌอง โบแด็ง
ยุคสมัยใหม่ -โทมัส ฮอบส์, จอห์น ลอค
ยุคแห่งความรุ่งโรจน์ -มองเตสกิเออร์, รุสโซ
ยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม -คาร์ล มาร์กซ์

โสคราตีส (Socrates) - โสเครติส (4 มิถุนายน 470 ปีก่อนคริสตกาล - 7 พฤษภาคม 399 ปีก่อนคริสตกาล)


- เป็นนักปราชญ์ของกรีกโบราณและเป็นชาวเมืองเอเธนส์ ซึ่งถือกันว่าเป็นผู้วางรากฐานของปรัชญาตะวันตก
- สอนให้คนแสวงหาความจริงในสิง่ ต่างๆ โดยเริ่มจากการรูจ้ ักตนเอง
- ใช้ชีวิตกับการสนทนาปรัชญา
- วิธีการสนทนาของโสเครตีสเป็นการซักถามหรือไต่ถามด้วยการใช้หลักของเหตุและผลที่เรียกว่า “ ตรรกวิทยา ”
- โสเครตีสไม่ชอบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยในยุคของเอเธนส์ ที่เปิดโอกาสให้พลเมืองที่มีความรู้น้อยเข้ามามีส่วนร่วมในการปกครองประเทศโดยตรง การ
ปกครองที่ดีควรปกครองโดยราชาปราชญ์ หรือการปกครองในระบอบ อภิชนาธิปไตย

ยุคกรีก
เพลโต (Plato) - เป็นลูกศิษย์ของโสเครตีส (Socrates) แต่โสเครตีสถูกตัดสินประหารชีวิตจากสภาว่ามีความผิดในข้อหาบ่อนทําลายความสงบสุขของประชาชน เขาจึงได้รับโทษโดยการให้ดื่มยาพิษ
ตาย ในการนี้จึงทําให้เพลโต ต่อต้านการปกครองในลักษณะคนหมูม่ ากหรือประชาธิปไตย เพราะเห็นว่าระบอบประชาธิปไตยคือระบอบของคนหมู่มาก ซึ่งคนหมู่มากอาจจะเป็นกลุ่ม
คนที่ไม่มีความรู้กไ็ ด้ เขาสนับสนุนกษัตริย์นักปราชญ์ (philosopher king)
- เขียนหนังสือ The Republic “อุตมรัฐ“หรือรัฐในอุดมคติ คือลักษณะของรัฐที่ดีที่จะทําให้คนมีความสุข ซึ่งเพลโตต้องการให้มีขนึ้ เป็นบทประพันธ์ชิ้นสําคัญของเพลโต (Plato)
ปราชญ์ชาวกรีกผูไ้ ด้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในนักคิดผู้ทรงอิทธิพลตลอดกาลของโลกตะวันตก กล่าวกันว่า รีพับลิก ประพันธ์ขึ้นในช่วงที่ความคิดของเพลโตกําลังผลิบาน โดยมี โสเครติส
(Socrates) เป็นผู้ดําเนินเรื่อง เขียนออกมาในรูปแบบของการสนทนา (dialogue) ครอบคลุมปัญหาทางปรัชญา ทฤษฎีความรู้ จิตวิทยา และการเมือง
- เป็นอาจารย์ของอริสโตเติล เป็นนักเขียน และเป็นผู้ก่อตั้งอาคาเดมีซึ่งเป็นสํานักวิชาในกรุงเอเธนส์ งานหลักเพลโตในอาคาเดมีคือ กล่าวคําบรรยายแก่นักศึกษา ในการบรรยาย
แต่ละครั้ง เพลโตไม่มีต้นฉบับของคําบรรยาย และการบรรยายบางครั้งก็เปิดให้บุคคลภายนอกเข้าฟังได้
- คําว่า “รัฐ” (Polis) เพลโตหมายถึง “นครรัฐ” ของกรีกโบราณอย่างสปาร์ตาและเอเธนส์ การปกครองที่ดีในรัฐการปกครองของเพลโตอยู่ในรัฐที่เพลโตคิดมีอยู่ในรัฐ อุดมคติ
หรือรัฐในความคิดของเพลโต

อริสโตเติล (Aristotle) - ได้รับการยกย่องว่าเป็นคนแรกที่เป็นนักวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง เป็นบิดาแห่งวิทยาศาสตร์และบิดาแห่งชีววิทยา


- เป็นมหาบุรุษผู้ทรงอิทธิพลต่อความคิดของผู้คนมากที่สุดในประวัตศิ าสตร์
- กษัตริย์ Philip II แห่ง Macedonia เชิญอริสโตเติลให้มาเป็นอาจารย์สอน Alexander ลูกชายวัย 13 ปีที่ภายหลังเป็นจอมจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช
(Alexander the Great)
- อริสโตเติลมองว่า “มนุษย์เป็นสัตว์การเมือง” โดยได้ให้คาํ อธิบายไว้ว่า มนุษย์จะพัฒนาความเป็นมนุษย์ได้ก็ต่อเมื่อมารวมตัวกันเป็นสังคม เป็นเมือง
- อริสโตเติล ได้จําแนกลักษณะการปกครองของรัฐต่างๆ โดยใช้ คุณภาพของการปกครองและจํานวนผู้ปกครองเป็นเกณฑ์ แบ่งโดยเกณฑ์คุณภาพ 1. รูปแบบการปกครองที่ดี
2. รูปแบบการปกครองที่ไม่ดี แบ่งโดยเกณฑ์จํานวนผู้ปกครอง

ระบบการปกครองที่ดีที่สุดตามทรรศนะของเขา
คือ Polity เป็นการผสมผสานระหว่างระบบคณาธิปไตย
และระบบประชาธิปไตย ซึ่งเป็นแนวทางสายกลางระหว่าง
การปกครองโดยคนร่ํารวย(คณาธิปไตย) กับการปกครองโดย
ระบบการปกครองที่เลวที่สุดตามทรรศนะของเขา คือระบบ คณาธิปไตย อริสโตเติลอธิบายว่าเป็นการ คนจน(ประชาธิปไตย) ซึ่งจะให้โอกาสแก่ราษฎรทุกคนได้มี
ปกครองโดยคนกลุ่มน้อยทีป่ กครองเพื่อผลประโยชน์ของพวกพ้องตัวเองลักษณะเด่นที่เห็นได้ชัดของคณาธิปไตย คือ ส่วนร่วม ในการปกครองโดยยุติธรรม โดยยึดรัฐธรรมนูญ
การปกครองอยู่ในมือของกลุ่มคนที่มีอํานาจครอบงําทางเศรษฐกิจ เป็นกลุ่มคนที่มีฐานะมั่งคั่งร่ํารวย เขามีอคติต่อผู้ที่ทํา เป็นหลัก
หน้าที่ปกครองรัฐ ซึ่งมาจากชนชั้นเศรษฐี
กลุ่มอิพิคิวเรียน - มีแนวคิดว่า “การมีส่วนร่วมทางการเมือง มีแต่จะนําความทุกข์ยากมาให้ และทําให้เสียเวลาในการแสวงหาความสุข”
- รัฐปรัชญาของพวกเอพิคิวเรียนส์ เป็นปรัชญาที่อยู่สดุ โต่ง (Extreme) กว่ารัฐปรัชญาของเพลโตและอริสโตเติล
- รัฐปรัชญาของพวกเอพิคิวเรียนส์ จึงเป็นปรัชญาประเภท ปฏิเสธนิยม (Negativism) ที่แนะนํามนุษย์ให้หลีกหนีความทุกข์ยากลําบากมากกว่าที่จะแนะนําให้มนุษย์แก้ปญ
ั หาที่เผชิญหน้า

กลุ่มซินนิค -เป็นพวกกลุ่มคนต่างด้าว
-แนวคิดสําคัญ คือ 1.ต่อต้านการแบ่งชนชั้นและพวกผู้ดี 2.มีแนวคิด อนาธิปไตย คือการไม่มีผู้ปกครอง
-คือกลุ่มที่เน้นความหลุดพ้นจากกิเลสอันเป็นเหตุให้เกิดความสงบทางจิต

กลุ่มสโตอิกซิสม์ (Stoicism) - ผู้ตั้งลัทธิ = เซโน (Zeno. 334-261 B.C.)


- เป็นลัทธิที่เชื่อถือธรรมชาติและกฎธรรมชาติ สนับสนุนความสุขของปัจเจกชนอย่างแข็งขัน และวัตถุประสงค์ของลัทธินี้อยู่ที่ต้องการทําให้ชีวิตของปัจเจกชนเป็นชีวิตที่ดีมี
ความสุข แต่ก็ให้สํานึกถึงประโยชน์ส่วนรวมด้วย
- ถือหลักธรรมในการกําจัดกิเลสตัณหา มีความอดทนอย่างนักบวช อาจเรียกลัทธินี้ว่า “ลัทธินิยมขันติธรรมหรือขันติวาทะ”
- ลัทธินี้พยายามหาความหมายของคําว่า ความดีของมนุษย์ และมนุษย์จะเป็นคนดีได้อย่างไร ลัทธินี้ถือว่ามนุษย์เป็นนายผู้ถือโชคชะตาชีวิตของตนเอง (Man is the master of
his own fate) ไม่มีอํานาจลึกลับสิ่งใดมาบงการชีวิตมนุษย์ได้
-ธรรมชาติเป็นสิ่งสมบูรณ์ (Absolute) และเป็นสิ่งที่เกื้อกูลต่อสังคมและมนุษย์การขัดขวางหรือการต้านทานกฎธรรมชาติ จะเป็นภัยและมีอันตราย การปฏิบตั ิไปตามกฎธรรมชาติ
จะมีแต่ผลดี ** พวกสโตอิกส์เชื่อในภราดรของมนุษย์ว่า จะนําไปสู่แนวคิดเรื่องรัฐโลก (The World State)
- หลังจากที่อาริสโตเติลได้ถึงแก่อสัญกรรมไปแล้ว ก็ได้มาถึงยุคศาสนา (Religious Period) ปรัชญาของพวกสโตอิกส์ได้รับการนิยมยกย่อง กลายมาเป็นปรัชญาของนักปกครอง
ชาวโรมันในเวลาต่อมา
ยุคโรมัน
ซิเซโร - เป็นนักการเมืองและนักกฎหมายที่มีชื่อเสียงของบโรมันได้บรรยายถึงกฎธรรมชาติตามแนวความคิดของสํานักสโตอิค
- ความผิดพลาดประการหนึ่ง ของมนุษย์คือ ความหลงผิดว่าประโยชน์ส่วนตัวของเราจะได้มาก็โดยการบดขยี้คนอื่น เท่านั้น
- คํากล่าวของซิเซโร เป็นการยืนยังถึงหลักการของแนวความคิดเรื่องกฎหมายธรรมชาติ โดยที่พระเจ้าเป็นผู้สร้างกฎอันเป็นสากลขึ้นมาเพื่อปกครองโลก ถือเป็นหลัก
ธรรมนูญของโลก

นักบุญออสติน - เป็นนักเทววิทยาศาสนาคริสต์ยคุ แรก งานเขียนของท่านมีอิทธิพลอย่างมากต่อศาสนาคริสต์ตะวันตกและปรัชญาตะวันตก ได้รับแต่งตั้งเป็นบิชอปแห่งฮิปโปในปี ค.ศ. 396


- ออกัสตินถือเป็นปิตาจารย์ที่สําคัญที่สุดของคริสตจักร ผลงานที่สําคัญ 2 เรื่องคือ เทวนครและคําสารภาพบาป ซึ่งเป็นที่นิยมศึกษาอยูแ่ ม้จนทุกวันนี้
- เป็นบิดาของการปฏิรูปศาสนาฝุายโปรเตสแตนต์
- มนุษย์ต้องแสวงหาพระเจ้า
- ผลงานสําคัญ คําสารภาพ (Confessions), นครของพระเจ้า (Of the City of God), ว่าด้วยพระตรีเอกภาพ (On the Trinity)

นักบุญโทมัส อะไควนัส - เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกสังกัดคณะดอมินิกัน


- แนวความคิดของเขา รับอิทธิพลมาจากอริสโตเติล
- หนังสือปรัชญาและเทวศาสตร์ทที่ ่านเขียนเป็นคําสอนที่สมบูรณ์ทสี่ ุดอันดับหนึ่งสังคยานาวาติกันที่2ก็ได้อ้างอิงคําสั่งสอนของท่านอย่างมากทีเดียว ท่านได้รับเกียรติด้วยการที่
พระศาสนาจักรขนานนามท่านว่า " นักปราชญ์เทวดา"
ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
Nicolo Machiavelli - เขาถูกมองว่า เป็นผู้เสนอทฤษฎีการเมืองแบบใช้อํานาจ และเป็นผู้เพิกเฉยจริยธรรม จากหลักปรัชญาการเมืองของเขาที่บอกว่า รัฐเป็นสิ่งที่ มีความสําคัญในตัวเอง
( ค.ศ. 146-1527) การเมืองอนุญาตให้ผู้ปกครองทําได้ทุกอย่างเพื่อ ผลประโยชน์ของรัฐ นั่นหมายความว่า รัฐสามารถใช้ความรุนแรงในการปกครอง เพื่อเสถียรภาพของรัฐเอง
- คํากล่าวอันเป็นที่รู้จัก "เจ้าผู้ปกครองจะต้องเลียนแบบหมาจิ้งจอกและสิงห์โต ด้วยว่าสิงห์โตไม่อาจปกปูองตัวเองจากกับดัก และหมาจิ้งจอกไม่อาจปูองกันตัวเองจากหมา
ปุา ดังนั้นเราต้องเป็นหมาจิ้งจอกในการระแวดระวังกับดัก และเป็นสิงห์โตเพื่อที่จะทําให้หมาปุากลัว"
- งานชิ้นสําคัญทีส่ ุดของเขา The Prince เขียนในปลายปี 1513 (ตั้งใจผลิตหนังสือเล่มนี้เพราะหวังจะกลับไปรับข้าราชการอีก ) ต้องการเสนอแนะวิธีในการปกครอง
นครของเจ้า ซึ่งทําให้เขานั้นกลายเป็น บิดาแห่งบิดารัฐศาสตร์ยุคใหม่ หนังสือได้ถูกแปลเป็นภาษาไทยโดย สมบัติ จันทรวงศ์ ภายใต้ชื่อ เจ้าผู้ปกครอง
- มีความคิดว่า ธรรมชาติของมนุษย์นั้นเต็มไปด้วยความเห็นแก่ตัว เปลี่ยนไปเปลี่ยนมาขึ้นอยู่กับผลประโยชน์ของตัวเอง ทะเยอทะยาน
- ยกย่องการปกครองแบบราชาธิปไตยอันมีการสืบต่อตําแหน่งทางสายเลือดไม่ใช่การแต่งตั้งหรือเลือกตั้ง ****

Martin Luther - บาทหลวงชาวเยอรมัน ผู้รเิ ริ่มขวบนการปฏิรูปคริสต์ศาสนา ซึ่งในสมัยนั้นมีแต่นิกายโรมันคาทอลิก (ศตวรรษที1่ 5-16)


(ค.ศ.1463-1560) - ก่อตั้งลัทธิลูเธอแรน (Lutheranism) เป็นส่วนหนึ่งของขบวนการโปรเตสแตนต์ (Protestant) ในหลายๆประเทศในยุโรป
- เขาไม่พอใจพวกบาทหลวงโดยเฉพาะ เรื่องการขายใบไถ่บาป เรียกร้องให้เกิดการปฏิรูปศาสนจักร ไม่ยอมรับในอํานาจของพระสันตะปาปา
- ประกาศ “ข้อวินิจฉัย 95 เรื่อง” (The 95 Theses) ปิดไว้ที่ประตูห้ น้าโบสถ์เมืองวิตเตนเบิร์ก ซึ่งมีเนื้อหาประณามการขายใบไถ่บาป และการกระทําทีไ่ ม่เหมาะสมอื่นๆ
- ข้อสรุป** การปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ เริ่มโดย มาร์ติน ลูเทอร์ เมื่อปี ค.ศ. 1517 เพื่อแก้ไขความเสื่อมโทรมของนิกายโรมันคาทอลิก และสถาบันสันตะปาปา มา
เสร็จสิ้นลงด้วยสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย ค.ศ. 1648ผลจากการปฏิรปู คือการแยกตัว จากนิกายคาทอลิกมาเป็น นิกายโปรเตสแตนต์

ฌ็อง บอแด็ง (Jean Bodin) - นักปรัชญาการเมืองของโลกตะวันตก ชาวฝรั่งเศส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 หรือประมาณ พ.ศ. 2100
- ริเริ่มใช้คําว่า “อานาจอธิปไตย” ในความหมายที่เข้าใจได้ในปัจจุบนั คือ “อํานาจอธิปไตยนั้นเป็นอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ”
- เสนอปรัชญาเกีย่ วกับทฤษฎีอํานาจอธิปไตยไว้ว่า อํานาจอธิปไตยเป็นเครื่องหมายที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างรัฐกับสังคมอื่น ๆ ทีค่ รอบครัวหลายครอบครัวอยูร่ ่วมกัน
พรรณนาว่าครอบครัวเป็นพลเมืองของรัฐ ซึ่งต้องยอมอยู่ภายใต้อํานาจขององค์อธิปัตย์ หรือผู้ปกครองที่มีอํานาจสูงสุด
- ยังอธิบายเกี่ยวกับรัฐไว้ว่า รูปแบบของรัฐบาลจะเป็นรูปใดนั้น จะขึ้นอยู่กับว่าอํานาจอธิปไตยเป็นของใคร หากเป็นของรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อํานาจของรัฐก็จะเป็นของ
กษัตริย์
ยุคสมัยใหม่
Thomas Hobbes - เขียนหนังสือเล่มสําคัญ “Leviathan” ปีค.ศ.1651 ในช่วงที่อังกฤษในยุคนั้นกําลังเผชิญกับสงครามการเมืองที่รุนแรง ประชาชนได้เรียกร้องให้ยุตคิ วามยุ่งเหยิงวุ่นวาย
(1588-1679) ดังกล่าวโดยการเรียกร้องให้มีรัฐบาลกลางที่เข้มแข็งเพื่อยุติและปูองกันไม่ให้เกิดความวุ่นวายและต้องยุติให้ได้
- เสนอว่าเมื่อมนุษย์เป็นผลของการเคลื่อนไหวของส่วนต่างๆของร่างกายและมนุษย์สามารถถูกผลักดันให้เข้าสูส่ ังคมในมิตติ ่างๆได้นนั้ มนุษย์ก็สามารถถูกผลักให้กลายเป็น
ส่วนหนึ่งของรัฐ
- จากหนังสือ Leviathan จึงมองว่าองค์อธิปัตย์(sovereignty)หรืออํานาจอธิปไตยเท่านั้นมีหน้าที่ในการใช้อํานาจในการควบคุมพลเรือน ทหาร ตุลาการ และทางองค์กร
ศาสนา
- จริยศาสตร์ของฮอบส์ อยู่ในแนว “อัตนิยม” (Egoism) การ กระทาของมนุษย์ล้วนเป็นไปเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตัวเอง ทั้งสิ้น

John Locke - เป็นนักปรัชญา ชาวอังกฤษ ในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 17


(1632-1714) - มีแนวคิด เรื่องของอิสรภาพ เสรีภาพ อันเป็นสิทธิขั้นมูลฐานของมนุษย์, รัฐบาลต้องจัดตั้งโดยความยินยอมของประชาชนและต้องรับผิดชอบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของ
ประชาชน, ประชาชนมีสิทธิล้มรัฐบาลได้ ถ้ารัฐบาลขาดความชอบธรรมและความยุติธรรม, อํานาจจะต้องถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ อํานาจในการตรากฎหมายเป็นของฝุาย
นิติบัญญัติและอํานาจในการบังคับใช้กฎหมายเป็นของฝุายบริหารและตุลาการ, ประชาชนมีสิทธิจัดตั้งรัฐบาลใหม่ขึ้นเพื่อทําหน้าทีป่ กปูองผลประโยชน์ของประชาชนและมี
อํานาจอย่างจํากัด
- ไม่เห็นด้วยกับโทมัส ฮอบส์ ที่บอกว่าให้รวมอํานาจปกครองไว้ที่บุคคลเพียงคนเดียว
- ผลงานที่สําคัญ ได้แก่ An Eassy Concerning Human Understanding, Two Treatises of Civil Government

ยุคแห่งความรุ่งโรจน์
Baron de Montesquieu - นักวิพากษ์สังคมและนักคิดทางการเมืองชาวฝรั่งเศส มีความสนใจหลายด้าน ประวัติศาสตร์ การเมือง กฎหมาย และทรงอิทธิพลมากคนหนึ่งในบรรดานักคิดในยุโรป
(1689 - 1755) - งานเขียนชิ้นสําคัญ คือ The spirit of the laws เผยแพร่ในปีค.ศ.1748 นําเสนอแนวคิดที่เชื่อว่าจะช่วยทําให้ระบบการปกครองแบบเสรีเป็นจริง นั่นคือการแบ่งแยกอานาจ
3ฝุาย คือฝุายบริหาร ตุลาการและนิติบัญญัติ (พื้นฐานของการวางโครงสร้างระบบการปกครองแบบประชาธิปไตย)
- The Spirit of Law มีอิทธิพลต่อการร่างรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาและของฝรั่งเศสในระยะนั้น
- มองเตสกิเออร์ เห็นว่าเสรีภาพคือการที่จะทําในสิ่งที่ต้องการและไม่บังคับให้กระทําในสิ่งที่ไม่ต้องการ จะต้องมีกฎหมายมาเป็นตัวกลางคอยกําหนดว่า ประชาชนควรทํา
หรือไม่ควรทําอะไร เพื่อมิให้เสรีภาพของคนหนึ่งไปรบกวนเสรีภาพของคนอื่นและระบบกฎหมายนี้จะไม่เกิดกับระบอบทรราชที่ใช้กําลังอํานาจทําให้ประชาชนหวาดกลัว
Jean Jacqnes Rousseau - นักเขียน นักทฤษฎีการเมือง นักประพันธ์เพลง นักปรัชญาสังคมชาวสวิสเชื้อสายฝรั่งเศส ผู้มีอิทธิพล French Revolution ใน คศ.1789
(1712-1778 ) - รุสโซเชื่อว่าธรรมชาติของมนุษย์เป็นคนดีแต่สังคมทําให้มนุษย์เป็นคนเลว แปดเปื้อน และมนุษย์ มีเสรีภาพตามธรรมชาติโดยไม่จํากัดแต่เมื่อมนุษย์มารวมกันเป็นสังคม
จึงต้องมีการจํากัดสิทธิเสรีภาพบางส่วนโดยการทํา สัญญาประชาคม (The social Contract ) เพื่อไม่ให้เกิดการลิดรอนสิทธิเสรีภาพของกันและกัน
- “ มนุษย์เกิดมาพร้อมเสรีภาพแต่ทุกหนทุกแห่ง เขาต้องตกอยู่ในเครื่องพันธนาการ”
- สอนให้คนกลับไปหาธรรมชาติ (Back to Nature) เป็นการยกย่องคุณค่าของคนว่า“ธรรมชาติของคนดีอยู่แล้วแต่สังคมทําให้เป็นคนเลว“ และ "เหตุผลมีประโยชน์แต่
มิใช่คําตอบของชีวิต มนุษย์จึงควรต้องพึ่งความรู้สึก สัญชาตญาณและอารมณ์ของตนเองให้มากกว่าเหตุผล"
- เน้นเรื่อง “เจตจํานงร่วมของประชาชน”(General Will) คือ อํานาจสูงสุดในการปกครอง
- มนุษย์เป็นผู้จดั ตั้งรัฐบาล ถ้ารัฐบาลทําผิดสัญญาประชาคม ประชาชนมีสิทธิล้มรัฐบาลได้

ยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม
Karl Marx - เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนักสังคมนิยมปฏิวัติชาวเยอรมัน
(1818-1883)
สรุปแนวคิดคาร์ล มาคส์ได้ ดังนี้
- ประวัติศาสตร์ของมนุษย์เป็นการต่อสูร้ ะหว่างชนชั้น โดยนับต้องแต่แรกเริ่มจนถึงปัจจุบัน เช่น ทาสกับนาย ไพร่กับผู้ดี นายจ้างกับลูกจ้าง โดยจะมีคนนึงเป็นผู้ขม่ เหง และ
อีกคนหนึ่งเป็นผู้ถูกข่มเหง
- โลกของนายทุน ในโลกปัจจุบันเกิดชนชั้นใหม่ที่มีบทบาทในสังคมมาก ได้แก่พวกนายทุน นายทุนเอาเปรียบชนชั้นแรงงานทุกวิถีทาง อํานาจของนายทุนคืออํานาจทาง
เศรษฐกิจและการเมือง โดยกษัตริย์และผู้ปกครองก็อยู่ภายใต้อิทธิพลนายทุนด้วย
- พวกนายทุนทั้งหลายมักเรียกร้องเสรีภาพ เช่น การค้าขายอย่างเสรี การแข่งขันเสรี แต่แท้จริงแล้วเป็นการเรียกร้องให้ตัวเองเอาเปรียบผู้อื่น
- นายทุนเป็นพวกไร้ศลี ธรรม มองเห็นความสัมพันธ์ของมนุษย์เป็นเพียงการสะสมเงินทอง ส่วนคุณค่าทางจิตใจ ความเมตตาปรานีหรือมนุษยธรรมแทบจะไม่มีอยู่ในสํานึกของ
นายทุน
- ชนชั้นกรรมาชีพจะชนะนายทุนในที่สุด ในตอนแรกสังคมอาจมีหลายชนชั้น แต่สุดท้ายจะเหลือเพียง นายทุน และ กรรมาชีพ ซึ่งจะถูกนายทุนข่มเหงตลอดเวลา จนต้อง
รวมตัวเป็นสหภาพกรรมกร และกลายมาเป็นพรรคการเมือง จนมีอํานาจเอาชนะนายทุนได้
- ไม่มีทรัพย์สินส่วนตัว ลักษณะที่สําคัญทีส่ ุดของระบอบคอมมิวนิสต์คือ การล้มล้างทรัพย์สินส่วนตัว เพราะสิ่งนี้คือ สัญลักษณ์แห่งความเห็นแก่ตัว ของนายทุน
การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้น ( พ.ศ. 1792 -1841 )
- ปกครองแบบปิตุราชาธิปไตย / ราชาธิปไตย คือพระมหากษัตริย์ทรงมี
ฐานะเป็นผู้ปกครองสูงสุด ทรงเป็นผู้ใช้อํานาจอธิปไตย
- king ในสมั ย สุ โ ขทั ย ตอนต้ น จึ ง มี พ ระนามนํ า หน้ า ว่ า พ่ อ ขุ น
- king ยึดหลักธรรมทางศาสนาในการบริหารบ้านเมือง และทรงชักชวน
ให้ประชาชนปฏิบัติธรรมเพื่อที่จะสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข
-มีก ารปกครองแบบทหารแอบแฝงอยู่ ด้ว ยเนื่ องจากในระยะแรกตั้ ง
สุโขทัยมีอาณาเขตแคบ ๆ ต้องช่วยกันปูองกันประเทศ ช่วงสงครามชาย
กรุงสุโขทัย ฉกรรจ์ทุกคนต้องเป็นทหาร โดยพระมหากษัตริย์เป็นจอมทัพ
ในสมัยนี้จํานวนพลเมืองยังไม่มากและอยู่ในระหว่างการก่อร่างสร้างตัว
เมื่อแรกตั้งยังมีอาณาเขตไม่กว้างขวาง การปกครองในระยะแรกจึงยังเป็น
การปกครองระบบแบบครอบครัว ผู้นําของอาณาจักรทําตัวเหมือนบิดา การปกครองในสมั ย สุ โ ขทั ย ตอนปลาย ( พ.ศ. 1841-1981 )
ของประชาชน มีฐานะเป็นพ่อขุน มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับประชาชน พ่อขุนรามคําแหงสวรรคตในพ.ศ. 1841อาณาจักรสุโขทัยระส่ําระสาย
- พระมหากษัตริย์รัชกาลต่อมาเริ่มอ่อนแอ / ไม่สามารถรักษาความ
หลังสมัยพ่อขุนรามคําแหงสถานการณ์ของบ้านเมืองเปลี่ยนแปลงไป จึงเริ่มใช้การปกครองที่เป็นแบบแผน มั่ น คงของอาณาจั ก ร / เมื อ งหลายเมื อ งแยกตั ว ออกเป็ น อิ ส ระ
มากขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นาํ กับประชาชนแตกต่างไปจากเดิม ความพยายามที่จะเพิม่ พูนอํานาจของ - สมัยพระยาลิไทย ยกกําลังเข้ายึดเมืองสุโขทัยและปราบศัตรูจนราบ
กษัตริย์ให้สูงทรงมีฐานะเป็นธรรมราชา และทรงใช้หลักธรรมมาเป็นแนวทางในการปกครอง คาบบ้านเมืองจึงสงบลง
- การปกครองแบบธรรมราชา (อาศัยพระพุทธศาสนา) พระมหากษัตริย์
ตั้งมั่นอยู่ในทศพิธราชธรรม
1792 - 1981
- ปกครองแบบ กระจายอํานาจ
1. เมืองหลวง หรือเมืองราชธานี สุโขทัยเป็นราชธานี เป็นศูนย์กลาง
ทางการปกครองพระมหากษัตริย์ปกครองเอง
2.เมืองลูกหลวง หรือเมืองหน้าด่าน คือ ทิศเหนือ-เมืองศรีสัชนาลัย, ทิศ
ตะวันออก-เมืองสองแคว, ทิศใต้-เมืองสระหลวง, ทิศตะวันตก-เมือง
นครชุม
3. เมืองพระยามหานคร หัวเมืองชั้นนอก พระมหากษัตริย์ตั้งขุนนางชั้น
ผู้ใหญ่หรือผู้เหมาะสมไปปกครอง ขึ้นตรงต่อพระมหากษัตริย์
4. เมือ งประเทศราช คื อ เมื อ งที่ อ ยู่น อกอาณาจั ก ร ชาวเมื อ งเป็ น
ชาวต่างชาติต่างภาษา ยามสงครามต้องส่งกองทัพและเสบียงอาหารมา
ช่วย
อยุธยาตอนต้น พ.ศ. 1893 – 1991
อยุธยาตอนกลาง พ.ศ. 1991 – 2072
อยุธยาตอนปลาย พ.ศ. 2072 – 2310

ตอนต้น ตอนกลาง ตอนปลาย

สมัยพระเจ้าอู่ทอง - รัชกาลพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้า สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถขึ้นครองราชย์ (พ.ศ. 1991 - 2031) สมัยสมเด็จพระเพทราชาถึงสมัยสมเด็จพระที่นั่งสุรยิ าศน์


สามพระยา) รูปแบบการปกครอง รับอิทธิพลจากเขมร อาณาจักรกว้างขวางกว่าเดิม บรรดาเมืองประเทศราชและเมือง อมรินทร์ หรือพระเจ้าเอกทัศ (พ.ศ. 2231 - 2310)
และสุโขทัย พระยามหานคร มักฉวยโอกาสแยกตนเป็นอิสระ พระองค์ทรง รูปแบบการปกครองในสมัยอยุธยาตอนปลาย ยังคงยึดการ
ปรับปรุงการปกครองใหม่
การปกครองส่วนกลาง จัดการบริหารแบบจตุสดมภ์ จัดการปกครองแบบรวมอํานาจเข้าสู่ส่วนกลางตามทีส่ มเด็จ
แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบเป็นกรมสําคัญ 4 กรม การปกครองส่วนกลาง พระบรมไตรโลกนาถทรงวางรากฐานไว้คงใช้มาตลอด แต่ได้
- กรมเวียงหรือกรมเมือง มีขุนเวียงเป็นหัวหน้า ทําหน้าที่ ฝุายทหาร มีสมุหพระกลาโหมเป็นหัวหน้า ดูแลราชการฝุายทหาร มีการแก้ไขปรับปรุงให้เหมาะกับสภาพบ้านเมือง
เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของราษฎร ทั่วราชอาณาจักร เพื่อเตรียมไพร่พลและกําลังอาวุธไว้ให้พร้อม
- กรมวัง มีขุนวังเป็นหัวหน้าดูแลรักษาพระราชวัง จัด เพรียง สามารถสูร้ บในยามเกิดสงครามได้ สมัยสมเด็จพระนารายณ์ (พ.ศ. 2199 – 2231) ยกเลิกการ
งานพระราชพิธีต่างๆ และพิจารณาพิพากษาคดี ฝุายพลเรือน มีสมุหนายกเป็นหัวหน้า ดูแลการทํางานจตุสดมภ์ แยกความรับผิดชอบ ของงานด้านพลเรือน และงานด้าน
- กรมคลัง ขุนคลังเป็นหัวหน้า รับผิดชอบด้านการเงิน เดิม แต่พระบรมไตรโลกนาถทรงเปลี่ยนชื่อ และปรับปรุงหน้าที่ ทหาร โดยให้สมุหกลาโหมรับผิดชอบทั้งด้านทหารและพล
และการต่างประเทศ / เก็บภาษีอากร ของหน่วยงานทั้ง 4 ใหม่ เรือน ปกครองหัวเมืองฝุายเหนือและหัวเมืองอีสาน ส่วนหัว
- กรมนา ขุนนาเป็นหัวหน้า ดูแลสวนไร่นา และจัดเตรียม กรมเวียง (นครบาล) รักษาความสงบสุขของราษฎรในเขตราชธานี
เมืองตอนกลาง และหัวเมืองชายทะเลตะวันออก ให้อยู่ใน
เสบียงอาหารยามบ้านเมืองมีศึกสงคราม กรมวัง (ธรรมาธิกรณ์) งานราชพิธี และพิพากษาคดีความ
อํานาจของเมืองหลวงโดยตรง **แต่เมื่อให้สมุหกลาโหมคุม
กรมคลัง (โกษาธิบดี) ดูแลรายรับรายจ่าย จัดเก็บอากร ติดต่อ
การปกครองส่วนภูมภิ าค จัดตามแบบอาณาจักร กําลังทหารไว้มาก ทําให้สามารถล้มราชวงศ์กษัตริย์ลงได้
ค้าขายกับต่างประเทศ
สุโขทัย กรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลาง จัดแบ่งออกเป็น
กรมนา (เกษตราธิการ) ส่งเสริมให้ราษฎรทําไร่ ทํานา เก็บข้าว
เมืองหน้าด่าน มีหน้าทีป่ ูองกันราชธานี
ขึ้นฉางหลวง เพื่อใช้เป็นเสบียงในยามศึกสงคราม
หัวเมืองชั้นใน ขุนนางปกครอง ขึ้นตรงต่อเมืองหลวง
หัวเมืองชั้นนอกหรือเมืองพระยามหานคร เป็นเมือง การปกครองส่วนภูมภิ าค ยกเลิกเมืองลูกหลวงหรือเมืองหน้าด่าน
ขนาดใหญ่ ที่มีประชาชนคนไทยอาศัย อยู่ห่างจากราช ทั้ง 4 ทิศ โดยแบ่งเขตของการปกครองเป็น 3 เขต
ธานี มีเจ้าเมืองปกครอง /ผูส้ ืบเชื้อสายจากเจ้าเมืองเดิม 1) หัวเมืองชั้นใน ได้แก่ เมืองที่อยู่ใกล้ราช
เมืองประเทศราช เป็นเมืองทีอ่ ยู่ชายแดนของอาณาจักร 2) หัวเมืองชั้นนอกแบ่งเป็นเมืองชั้นเอก โท ตรี
ต่างชาติต่างภาษา มีเจ้าเมืองเป็นคนท้องถิ่น จัดการ 3) หัวเมืองประเทศราช ได้แก่ เมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยา
ปกครองภายในของตนเอง แต่ตอ้ งส่งเครื่องบรรณาการ
การปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ใหญ่บา้ นปกครองดูแล ตําบลมีกํานัน
มาถวายตามกําหนด
ดูแล แขวงมีหมื่นแขวงดูแล และเมืองมีเจ้าเมืองดูแล
1-3 ( 2325-2394)

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟูาจุฬาโลกมหาราช ขึ้นครองราชย์ ใน พ.ศ.2325 โปรดเกล้าฯ ให้ยา้ ย การปกครอง


ราชธานีใหม่จากกรุงธนบุรมี ายังฝัง่ ตะวันออก (ฝั่งซ้ายของแม่น้ําเจ้าพระยา) และสร้างกรุงเทพฯเป็น สมัยรัชกาลที่ 1-3 พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอํานาจ
ราชธานี เนื่องจากพระราชวังของกรุงธนบุรีคับแคบ มีวัดขนาดอยู2่ ด้านยากแก่การขยาย มีลักษณะ สูงสุดในการปกครองประเทศ การจัดระเบียบการปกครอง
เป็นท้องคุ้ง น้ํากัดเซาะตลิ่งพังได้งา่ ย และกรุงธนบุรีไม่เหมาะทางด้านทําเลที่ตั้งยุทธศาสตร์ มีแม่น้ํา ยังคงยึดถือตามแบบอย่างสมัยอยุธยาตอนปลาย
เจ้าพระยาผ่ากลาง เปรียบเสมือนเมืองอกแตก เมื่อใดที่ข้าศึกยกทัพมาตามลําแม่น้ําก็สามารถตีถึงใจ
การปรับปรุงกฎหมาย
กลางเมืองได้โดยง่าย
- พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟูาจุฬาโลกฯโปรดเกล้าฯให้
รวบรวมและชําระกฎหมายเก่าที่ใช้กันมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรี
อยุธยา และคักลอกไว้ 3 ฉบับ ทุกฉบับประทับตราคชสีห์
ตราราชสีห์ และตราบัวแก้ว จึงเรียกว่า กฎหมายตราสาม
ดวง หรือประมวลกฎหมายทีร่ ัชกาลที่ 1 ใช้เป็นหลัก
ปกครองประเทศมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 ก่อนที่ จะมีการ
ปฏิรูปกฎหมายไทยและการศาลให้เป็นระบบสากล

การฟื้นฟูด้านสังคมและวัฒนธรรม
การฟื้นฟูเศรษฐกิจ การดําเนินชีวิตของผู้คน ยังคงคล้ายกับสมัยอยุธยาตอน
ฟื้นตัวในตอนปลายรัชกาลที่ 2 เป็นต้นมา และเจริญรุ่งเรืองอย่างมากในสมัยรัชกาลที่ 3 ผลผลิตทางการเกษตรและการค้าทางเรือสําเภากับ ปลาย โดยพยายามรักษารูปแบบทางวัฒนธรรม ประเพณี
ต่างประเทศขยายตัวขึ้นมาก รายได้ของประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีที่มา 2 ทาง คือรายได้จากการค้ากับต่างประเทศ และรายได้ เดิมในสมัยอยุธยาไว้ ประชาชนส่วนใหญ่ใช้ชีวิตในสังคม
ภายในประเทศ เป็นรายได้ของรัฐที่ได้จากภาษีอากรภายในประเทศและมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา มี 4 ประเภท คือ ชนบท /เป็นสังคมเกษตรกรรม /ยึดระบบอาวุโส
จังกอบ - ภาษีค่าผ่านด่าน เก็บจากพ่อค้าที่นําสินค้าบรรทุกใส่ยานพาหนะเดินทางผ่านด่านที่ตั้งเก็บภาษีทั้งทางบกและทางน้ํา ในอัตรา 10 หยิบ 1 มีการแบ่งชนชั้น เช่นเดียวกับสมัยอยุธยา เรียงตามลําดับ
อากร - ภาษีที่รัฐเรียกเก็บจากราษฎรในการประกอบอาชีพต่างๆ เช่น อากรสวน อากรต้มกลั่น เป็นต้น ได้แก่ พระมหากษัตริย์ เชื้อพระวงศ์ ขุนนาง ไพร่ และทาส
ส่วย - สิ่งของหรือเงินที่ราษฎรนํามาทดแทนแรงงานหรือทดแทนการเข้าเวรรับราชการ ถ้าเป็นสิ่งของได้แก่ ดีบุก พริกไทย มูลค้างคาว ฯลฯ สําหรับพระสงฆ์ถือว่าเป็น ชนชั้นพิเศษ ได้รับการเคารพนับ
ฤชา - ค่าธรรมเนียมที่ทางราชการเรียกเก็บจากราษฎร เป็นค่าบริการที่ทางราชการจัดทําให้ เช่น การออกโฉนดที่ดิน ถือ
สงครามกับพม่า เฉพาะในรัชกาลที่ 1รบกันถึง 7 ครั้ง เนื่องจากพระเจ้าปะดุง กษัตริย์พม่าต้องการทําลายอาณาจักรไทยไม่ให้ฟื้นตัวขึ้นอีก สงครามส่วนใหญ่ จึงปรากฏในลักษณะที่พม่าเป็นฝุายรุกรานไทยครั้ง
สําคัญคือ สงคราม 9 ทัพ พ.ศ. 2328 พม่ายกทัพมาถึง9ทัพ กระจายกําลังเข้ามาตามเส้นทางต่างๆ จากภาคเหนือจนถึงใต้ แต่รัชกาลที่ 1 ทรงเปลี่ยนยุทธวิธีการรบใหม่ โดยไม่ตั้งรับในกรุงเหมือนที่เคยทําให้สมัย
อยุธยา แต่ให้จัดทัพออกไปขับไล่ขา้ ศึกถึงชายแดน พม่าจึงเป็นฝุายปราชัยถูกทัพไทยตีแตก ผลของสงคราม 9 ทัพ ส่งผลทางด้านจิตวิทยาทําให้คนไทยเลิกกลัวพม่า เชื่อมัน่ ในตัวผู้นําและมีความกล้าหาญดังที่เกิดกับ
วีรสตรี 2 ท่าน คือ คุณหญิงจัน(ท้าวเทพกษัตรีย์)และ นางมุก (ท้าวศรีสุนทร) นําไพร่พลต่อสู้กับข้าศึกเพื่อปูองกันเมืองถลาง
สงครามท่าดินแดง พ.ศ. 2329 โดยพระเจ้าปะดุงต้องการแก้ตัวในคราวสงคราม 9 ทัพ มีการเตรียมเสบียงสะสมอาหารอย่างพร้อมมูลและมีไพร่พลมากกว่าครั้งก่อน รัชกาลที่ 1 โปรดฯ ให้ยกกําลังไปขับไล่พม่าที่ท่า
ดินแดง (กาญจนบุรี) พม่าพ่ายแพ้และสูญเสียอย่างยับเยิน ทําให้พม่าไม่คดิ ยกทัพมาตีไทยอีกเลย

ความสัมพันธ์ของไทยกับโปรตุเกส ความสัมพันธ์ของไทยกับอังกฤษ ความสัมพันธ์ของไทยกับสหรัฐอเมริกา


ชาวตะวันตกชาติแรกที่เข้ามาติดต่อค้าขายกับไทย** แต่ มีทั้งด้านการค้าและการเมือง การติดต่อการค้าระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกาเริม่ อย่างเป็น
การค้าไม่เจริญเมื่อเทียบกับอังกฤษและสหรัฐอเมริกา สมัยรัชกาลที่ 1 พระยาไทรบุรีให้องั กฤษเช่าเกาะหมาก (ปีนัง) ทางการในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยพ่อค้าอเมริกันชื่อ กัปตันเฮล
สมัยรัชกาลที่ 2 อังกฤษส่งทูตชื่อ จอห์น ครอเฟิร์ต มาเจรจาตก เดินทางเข้ามาค้าขายในกรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ.2364 ได้นําปืน
สมัยรัชกาลที่ 1 โปรตุเกสแต่งทูตอัญเชิญพระราชสาสน์มา
ลงเรื่องการค้าใน พ.ศ. 2364 โดยขอให้ไทยเก็บสินค้าขาเข้าใน คาบศิลามาถวาย 500 กระบอก จึงได้รับพระราชทาน
เจริญไมตรีต่อไทยเมื่อ พ.ศ. 2329 และขอตั้งโรงสินค้าที่
อัตราที่แน่นอน และยกเลิกการผูกขาดของพระคลังสินค้า และ บรรดาศักดิ์เป็น “หลวงภักดีราชกปิตัน”
กรุงเทพฯ ทางฝุายไทยให้การต้อนรับอย่างดี
ขอให้ไทยยอมรับอธิปไตยของไทรบุรี การเจรจาของทั้งสองฝุาย
สมัยรัชกาลที่ 2 ฝุายไทยซื้ออาวุธปืนจากโปรตุเกสไว้คอย มิชชันนารีชาวอเมริกันรุ่นแรกเดินทางเข้ามาเผยแพร่คริสต์
ไม่ประสบความสําเร็จ
ปูองกันพระนคร และอนุญาตให้พอ่ ค้าชาวโปรตุเกตเข้ามา ศาสนาในเมืองไทย เมื่อ พ.ศ. 2371 ในสมัยรัชกาลที่ 3 ได้นํา
สมัยรัชกาลที่ 3 ทําสัญญาทางการค้าระหว่างกันที่เรียกว่า
ค้าขายในเมืองไทย /ตั้งสถานกงสุลในกรุงเทพฯ ได้ คาโลส วิทยาการสมัยใหม่ของโลกตะวันตกเข้ามาเผยแพร่
“สัญญาเบอร์น”ี เมื่อ พ.ศ. 2369 ถือว่าเป็นสนธิสญ
ั ญาฉบับแรกที่
เดอ ซิลเวรา เป็นกงสุลประจาเมืองไทยเป็นคนแรก ต่อมา
ไทยกับประเทศตะวันตกในสมัยรัตนโกสินทร์ ส่วนใหญ่เน้น สนธิสัญญาทางการค้าฉบับแรกทีท่ ํากับสหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ.
ได้รับแต่งตั้งเป็น “หลวงอภัยพานิช”
ผลประโยชน์ทางด้านการค้าเป็นสําคัญ และเป็นสัญญาทีฝ่ ุายไทย 2375 เอดมันด์ รอเบิร์ตส์ เป็นทูตเข้ามาเจรจาทางการค้ากับ
ไม่เสียเปรียบ ไทย โดยยึดเอาสนธิสญ
ั ญาเบอร์นที ี่ไทยทํากับอังกฤษเป็นหลัก
ในการเจรจา
4- 2475

รัชกาลที่ 4 ** สนธิสัญญาเบาว์ริงค์
- คบค้ากับชาวตะวันตก เพื่อความอยู่รอดของชาติ เนื่องจากทรง สาระสาคัญ อังกฤษขอตั้งสถานกงสุลในไทย /คนอังกฤษมีสิทธิเช่าที่ดิน /คนอังกฤษสามารถสร้างวัด และเผยแพร่คริสต์
ตระหนักถึงภัยจากลัทธิจักรวรรดินิยม ซึ่งกําลังคุกคามอยู่ในขณะนั้น ศาสนา /เก็บภาษีขาเข้าได้ไม่เกินร้อยละ 3 /ถ้าไทยทําสนธิสญั ญากับประเทศอื่น ๆ ที่มผี ลประโยชน์เหนือประเทศ อังกฤษ จะต้องทํา
- ทําสนธิสัญญาเบาว์ริงค์ กับอังกฤษ ใน พ.ศ. 2398 โดยพระนางเจ้า ให้อังกฤษด้วย /สนธิสญ
ั ญานี้ จะแก้ไขเปลีย่ นแปลงไม่ได้ จนกว่าจะใช้แล้ว 10 ปี และในการแก้ไข ต้องยินยอมด้วยกันทั้งสองฝุาย และ
วิกตอเรีย ได้แต่งตั้งให้ เซอร์ จอห์น เบาริง เป็นราชทูตเข้ามาเจรจา ต้องบอกล่วงหน้า 1 ปี
- เปิดโอกาสให้ราษฎร เข้าเฝูาได้โดยสะดวก ให้ราษฎรเข้าเฝูาถวาย
ข้อดี
ฎีการ้องทุกข์ได้
รอดพ้นจากการเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ
- ตรากฎหมายขึ้นหลายฉบับ เพื่อให้ทันสมัยและเหมาะสมกับสภาพ
การค้าขยายตัวมากขึ้น เปลี่ยนแปลงการค้าเป็นแบบเสรี
บ้านเมือง เช่น กฎหมายเกี่ยวกับมรดก สินสมรส ฯลฯ
อารยธรรมตะวันตก เข้ามาแพร่หลาย สามารถนํามาปรับปรุง
- เปลี่ยนการใช้เงินพดด้วงมาเป็นเงินเหรียญ และขุดคลอง ตัดถนน
บ้านเมือง ให้เจริญก้าวหน้ามาขึ้น
เพิ่มขึ้นหลายสาย
- ตั้งโรงเรียนชายขึ้นที่ตาํ บลสําเหร่ ซึ่งปัจจุบัน คือ โรงเรียนกรุงเทพค ข้อเสีย
ริสเตียนวิทยาลัย ส่วนโรงเรียนสตรีแห่งแรกในไทย คือ โรงเรียนกุล
ไทยเสียสิทธิทางการศาลให้อังกฤษ และคนในบังคับอังกฤษ
สตรีวังหลัง (ปัจจุบัน คือ โรงเรียนวัฒนาวิทยา)
อังกฤษ เป็นชาติที่ได้รับสิทธิพิเศษหลายอย่าง
- ประกาศใช้พระราชบัญญัติ ลักษณะการปกครองสงฆ์เป็นฉบับแรก
อังกฤษ เป็นฝุายได้เปรียบ จึงไม่ยอมทําการแก้ไข
โดยมีสมเด็จพระสังฆราช เป็นผู้ปกครองบังคับบัญชาสูงสุด
- เริ่มมีการก่อสร้างแบบ ตะวันตก เช่น พระราชวังสราญรมย์ พระนคร
คีรีที่เพชรบุรี ด้านจิตรกรรม ได้แก่ ภาพเขียนฝาผนังในพระอุโบสถ
และวิหารวัดบวรนิเวศวิหาร จิตรกรเอกในสมัยนี้ ได้แก่ ขรัวอินโข่ง
การปกครองสมัยรัชกาลที่ 5
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั
พระราชกรณียกิจ
เลิกทาสและไพร่ในประเทศไทย/ การปูองกันการเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิฝรั่งเศสและจักรวรรดิองั กฤษ /ประกาศให้มีการนับถือศาสนาโดยอิสระในประเทศ/ ใช้ธนบัตรและเหรียญ
บาท /ใช้ระบบเขตการปกครองใหม่ เช่น มณฑลเทศาภิบาล จังหวัด/ มีการสร้างรถไฟ สายแรก คือ กรุงเทพฯ ถึง อยุธยา ลงวันที่ 1 มีนาคม ร.ศ.109 ซึ่งตรงกับ พุทธศักราช 2433/
ก่อตั้งการประปา/ การไฟฟูา/ ไปรษณียโ์ ทรเลข/ โทรศัพท์ /การสื่อสาร/ การรถไฟ/ ขุดคลองหลายแห่ง เช่น คลองประเวศบุรรี มย์ คลองสําโรง คลองแสนแสบ คลองนครเนื่องเขต
คลองรังสิตประยูรศักดิ์ คลองเปรมประชากร และ คลองทวีวัฒนา /ขุดคลองส่งน้ําประปา
การยกเลิกระบบไพร่ โดยให้ไพร่เสียเงินแทนการถูกเกณฑ์ นับเป็นการเกิดระบบทหารอาชีพในประเทศไทย นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเลิกทาสแบบค่อยเป็นค่อยไป เริ่มจากออกกฎหมายให้ลูกทาสอายุครบ 20 ปีเป็นอิสระ
จนกระทั่งออกพระราชบัญญัติเลิกทาส ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) ซึ่งปล่อยทาสทุกคนให้เป็นอิสระและห้ามมีการซื้อขายทาส
การปฏิรูปการปกครอง
พ.ศ. 2417 ตั้งสภาที่ปรึกษาขึ้นมาสองสภา ได้แก่ สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน และสภาที่ปรึกษาในพระองค์
ตั้งขุนนางระดับพระยา 12 นายเป็น "เคาน์ซิลลอร์" ให้มีอํานาจขัดขวางหรือคัดค้านพระราชดําริได้
ตั้งพระราชวงศานุวงศ์ 13 พระองค์ และขุนนางอีก 36 นาย ช่วยถวายความคิดเห็นหรือเป็นกรรมการดําเนินการต่าง ๆ /แต่ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุรยิ วงศ์ (ช่วง บุนนาค) ขุนนางสกุลบุนนาค
และกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ เห็นว่าสภาที่ปรึกษาเป็นความพยายามดึงพระราชอํานาจของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว ทําให้เกิดความขัดแย้งที่เรียกว่า วิกฤตการณ์วังหน้า
พ.ศ. 2427 ทรงปรึกษากับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ อัครราชทูตไทยประจําอังกฤษ ซึ่งพระองค์เจ้าปฤษฎางค์ พร้อมเจ้านายและข้าราชการ 11 นาย ได้กราบทูลเสนอให้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็น
แบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ แต่พระองค์ทรงเห็นว่ายังไม่พร้อม แต่ก็โปรดให้ทรงศึกษารูปแบบการปกครองแบบประเทศตะวันตก
พ.ศ. 2431 ทรงเริ่มทดลองแบ่งงานการปกครองออกเป็น 12 กรม (เทียบเท่ากระทรวง) /ทรงตั้ง "เสนาบดีสภา" หรือ "ลูกขุน ณ ศาลา" ขึ้นเป็นฝุายบริหาร
พ.ศ. 2435 ได้ตั้งองคมนตรีสภา เดิมเรียกสภาที่ปรึกษาในพระองค์ เพื่อวินิจฉัยและทํางานให้สําเร็จ และรัฐมนตรีสภา หรือ "ลูกขุน ณ ศาลาหลวง" ขึ้นเพื้อปรึกษาราชการแผ่นดินที่เกี่ยวกับกฎหมาย นอกจากนี้ยัง
ทรงจัดให้มี "การชุมนุมเสนาบดี" อันเป็นการประชุมปรึกษาราชการที่มุขกระสัน พระที่นั่งดุสติ มหาปราสาท

ตั้งกระทรวงขึ้นอย่างเป็นทางการจานวน 12 กระทรวง อันประกอบด้วย


1.กระทรวงมหาดไทย ดูแลกิจการพลเรือนทั้งหมดและบังคับบัญชาหัวเมืองฝุายเหนือและชายทะเลตะวันออก 2.กระทรวงนครบาล รับผิดชอบกิจการในพระนคร
3.กระทรวงโยธาธิการ รับผิดชอบการก่อสร้าง 4.กระทรวงธรรมการ ดูแลการศาสนาและการศึกษา
5.กระทรวงเกษตรพานิชการ รับผิดชอบงานที่ในปัจจุบันเป็นของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงพาณิชย์ 6.กระทรวงยุติธรรม ดูแลเรื่องตุลาการ
7.กระทรวงมรุธาธร ดูแลเครื่องราชูปโภคของพระมหากษัตริย์ 8.กระทรวงยุทธนาธิการ รับผิดชอบปฏิบัติการการทหารสมัยใหม่ตามแบบยุโรป
9.กระทรวงพระคลังสมบัติ รับผิดชอบงานที่ในปัจจุบันเป็นของกระทรวงการคลัง 10.กระทรวงการต่างประเทศ (กรมท่า) รับผิดชอบการต่างประเทศ
11.กระทรวงกลาโหม รับผิดชอบกิจการทหาร และบังคับบัญชาหัวเมืองฝุายใต้ 12.กระทรวงวัง รับผิดชอบกิจการพระมหากษัตริย์
** วิกฤตการณ์วังหน้า หลังจากวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) ทรงให้กระทรวงมหาดไทยรับผิดชอบกิจการพลเรือนเพียงอย่างเดียว และให้กระทรวงกลาโหม
ทรงริ เ ริ่ ม ปฏิ รู ป ปรั บ ปรุ ง การปกครอง รับผิดชอบกิจการทหารเพียงอย่างเดียว ยุบกรม 2 กรม ได้แก่ กรมยุทธนาธิการ โดยรวมเข้ากับกระทรวงกลาโหม และกรมมรุธาธร โดยรวมเข้ากับ
ประเทศให้ ทั น สมั ย โดยการดึ ง อํ า นาจเข้ า กระทรวงวัง และเปลี่ยนชื่อกระทรวงเกษตรพานิชการ เป็น กระทรวงเกษตราธิการ ด้านการปกครองส่วนภูมภิ าค มีการรวมอํานาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ทําให้
ศู น ย์ ก ลาง ทรงตั้ ง ระบบหอรั ษ ฎากรพิ พั ฒ น์
ไทยกลายมาเป็นรัฐชาติสมัยใหม่ โดยการลดอํานาจเจ้าเมือง และนําข้าราชการส่วนกลางไปประจําแทน ทรงทําให้นครเชียงใหม่ (พ.ศ. 2317–2442)
(ปัจจุบันคือ กระทรวงการคลัง) เพื่อรวมรวมการ
รวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสยาม ตลอดจนทรงแต่งตั้งให้พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นประจักษ์ศิลปาคม ไปประจําที่อุดรธานี เป็นจุดเริ่มต้นของการ
เก็บภาษีมาอยู่ที่เดียวกัน ซึ่งกระทบกระเทือนต่อ
การเก็บรายได้ สร้างความไม่พอใจแก่เจ้านายและ ปกครองแบบเทศาภิบาล
ขุ น นางเก่ า แก่ เ ป็ น อั น มาก โดยเฉพาะ กรม
พระราชวังบวรสถานมงคล เกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ มี ** กรมพระราชวังบวรสถานมงคล
การสะสมอาวุธ มีความขัดแย้งระหว่างวังหลวงกับ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่า วังหน้า เป็นตําแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสําหรับพระมหาอุปราช และมี
วั ง หน้ า ทั้ ง ยั ง ทรงระแวงว่ า จะถู ก ปลดออกจาก ฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไปตําแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมา
ตํ า แหน่ ง เนื่ อ งจากไม่ ไ ด้ รั บ การทรงแต่ ง ตั้ ง จาก สมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" หลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จ
พระมหากษัตริย์โดยตรงจนเกือบจะเกิดสงคราม พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่ได้ทรงแต่งตั้งผู้ใดขึ้นดํารงตําแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลอีก จนกระทั่ง พ.ศ. 2429 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
กลางเมือง สถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟูามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟูามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งเป็น พระองค์
แรกที่ทรงดํารงตําแหน่งสยามมกุฎราชกุมาร ทําให้ตําแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลถูกยกเลิกตั้งแต่นั้นมา

พ.ศ. 2437 ทรงกําหนดให้เทศาภิบาลขึ้นกับกระทรวงมหาดไทย ยกเลิกระบบกินเมือง และระบบหัวเมืองแบบเก่า (ได้แก่ หัวเมืองชั้นใน ชั้นนอก และ


เมืองประเทศราช) จัดเป็นมณฑล เมือง อําเภอ หมู่บ้าน ระบบเทศาภิบาลดังกล่าวทําให้สยามกลายเป็นรัฐชาติที่มั่นคง มีเขตแดนที่ชัดเจนแน่นอน
นับเป็นการรักษาเอกราชของประเทศ และทําให้ราษฎรมีคณ ุ ภาพชีวิตดีขึ้น
พ.ศ.2440 เสด็จประพาสยุโรปพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงเป็นพระมหากษัตริยไ์ ทยพระองค์แรกที่ทรงเดินทางไปถึง
ทวีปยุโรป การเสด็จฯ เยือนครั้งประวัติศาสตร์ในปี 2440 ถือเป็นทั้งเรื่องใหญ่และใหม่มากในสมัยนั้น
พ.ศ.2441 แยกการศึกษาออกเป็น 2 ประเภท คือ การศึกษาสามัญและการศึกษาพิเศษ การจัดการศึกษานี้เป็นผลให้ในที่สดุ พวกขุนนางต้องเสื่อม
อิทธิพลไป และสามัญชนมีโอกาสเลื่อนฐานะในสังคมของตนได้
พ.ศ. 2446 มีพระราชบัญญัติ ลักษณะเกณฑ์ทหาร การปกครองฝุายทหาร และพลเรือน
พ.ศ.2448 ประกาศใช้พระราชบัญญัติจดั การสุขาภิบาล โดยเริม่ เป็นครั้งแรกที่ ท่าฉลอม จ.สมุทรสาคร
การปกครองสมัยรัชกาลที่ 6
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ประเทศไทยเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1
การปกครอง และการเปลี่ยนแปลง
ด้านการปกครอง ทรงปลูกฝังประชาธิปไตยให้กับประชาชน ทรงสร้างดุสิตธานีเป็นที่ทดลองการปกครองแผนใหม่ทรงตรา พ.ศ. 2457 สงครามโลกครั้ ง ที่ ห นึ่ ง ได้ เ ริ่ ม ปะทุ ขึ้ น
พระราชบัญญัตินามสกุล ขึ้นเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2445 ทรงประกาศใช้วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าอยู่หัว ทรงให้ความสนใจ
พ.ศ. 2468 พระราชบัญญัติการเกณฑ์ทหารเข้าประจําการ และติ ด ตามข่ า วการสงครามอย่ า งใกล้ ชิด พระองค์ ท รง
พ.ศ. 2460 ให้เลิกโรงหวย ก.ข. โรงบ่อนการพนันต่างๆ ธงชาติให้เลิกเครื่องหมายเดิม เปลี่ยนเป็นธงไตรรงค์โปรดให้ เล็งเห็นการณ์ไกลในการให้ประเทศสยามประกาศตัวเข้า
หนังสือพิมพ์เอกชนออกแสดงความคิดเห็นได้ การเปลี่ยนแปลงการใช้ วัน เดือน ปี เช่น วันขึ้นปีใหม่ ให้นับเอา 1 เมษายน ร่วมกับฝุายสัมพันธมิตร เพราะถ้าฝุายสัมพันธมิตรได้รับชัย
พ.ศ. 2432 เป็นวันขึ้นปีใหม่และให้เลิกใช้จ.ศ. ให้ใช้พุทธศักราชแทน ชนะ จะมีผลดีในการที่ประเทศไทยจะเรียกร้องสิทธิต่างๆ
พ.ศ. 2453 จัดตั้งกองเสือปุา เช่ น ขอแก้ ไ ขสนธิ สั ญ ญาที่ ไ ม่ เ ป็ น ธรรมที่ ทํ า ไว้ กั บ นานา
พ.ศ. 2454 โปรดให้ตราข้อบังคับเกี่ยวกับลักษณะการปกครองลูกเสือขึ้น ประเทศ ซึ่งเหตุการณ์ก็เป็น ดังที่พระองค์ท รงคาดไว้ คื อ
ฝุ า ยสั ม พั น ธมิ ต รได้ รั บ ชั ย ชนะ การตั ด สิ น พระทั ย ของ
ด้านการศึกษา ทรงโปรดยกโรงเรียนมหาดเล็กเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือน ภายหลังให้ยกโรงเรียนนี้เป็นจุฬาลงกรณ์
พระองค์ ใ นครั้ ง นั้ น ปรากฏว่ า ได้ รั บ การคั ด ค้ า นจาก
วิทยาลัย เริม่ ต้นฝึกหัดครูชายและหญิง และโปรดให้หัวเมืองต่างๆ มีการศึกษาถึงชั้นมัธยมบริบรู ณ์
ประชาชนทั่วไปเนื่องจากในสมัยนั้นมีคนสยามไปศึกษาต่อ
พ.ศ. 2461 โปรดให้ออกพระราชบัญญัติ โรงเรียนราษฎร์
ที่ ป ระเทศเยอรมนี เ ป็ น จํ า นวนมาก จึ ง นิ ย มและเคารพ
พ.ศ. 2464 โปรดให้ออกพระราชบัญญัติประถมศึกษา
เยอรมนีเป็นเสมือนครูบาอาจารย์ และเยอรมนีไม่เคยสร้าง
ด้านศาสนา พระองค์ทรงได้ทํานุบํารุงทางวัด แล้วยังให้พระภิกษุได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวาง พระองค์ทรงสั่งสอน ความเจ็บช้ําน้ําใจให้สยามมาก่อน
ข้าราชการในเรื่องศาสนาด้วยพระองค์เอง และพระราชนิพนธ์หนังสือเรื่องพระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
เพิ่มเติม ** พ.ศ. 2524 องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์
ด้านการคมนาคม ได้โปรดให้ขยายทางรถไฟสายใต้ไปจนติดต่อกับทางรถไฟสายมลายูของอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ. 2464 และ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ( UNESCO) ได้ยกย่องพระ
ขยายทางรถไฟสายเหนือ ถึงเชียงใหม่ ทางรถไฟสายตะวันออกถึงกบินทร์บุรี พร้อมกับทรงโปรดให้เชื่อมทางรถไฟสายต่างๆ เกียรติคุณของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า
ไว้ที่สถานีกรุงเทพฯเป็นชุมทางแห่งเดียว และได้โปรดให้สร้างสะพานพระราม 6 ขึ้น เพื่อเชื่อมทางรถไฟสายใต้ให้ถึงสถานี ทรงเป็ น บุ ค คลสํ า คั ญ ของโลก ผู้ มี ผ ลงานดี เ ด่ น ด้ า น
กรุงเทพฯ วัฒนธรรม ในฐานะที่ทรงเป็นนักปราชญ์ นักประพันธ์ กวี
และนักแต่งบทละครไว้เป็นจํานวนมาก
ด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2454 ทรงตั้งโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โดยใช้ทุนทรัพย์ส่วนพระองค์
การปกครองสมัยรัชกาลที่ 7
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
เมื่อได้เสด็จขึน้ ครองราชย์แล้ว โปรดแต่งตั้งสภา
อภิรัฐมนตรีขึ้นให้มีหน้าที่ให้คําปรึกษาราชการ ( 7)
และบริหารการเมือง โปรดให้ร่วมการศึกษาวิทยุ 2468 – 2475
คมนาคมกับต่างประเทศ พระองค์เริ่มจัด
งบประมาณของประเทศขึ้นเพราะขณะนั้นได้
เกิดเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก พระองค์เริ่มต้นตัด
ทอนงบประมาณแผ่นดินเป็นครั้งแรก เหตุการณ์
ตั้งอภิรัฐมนตรีสภา เปรียบดังที่ปรึกษาราชการชั้นสูงแก่พระองค์ อภิรัฐมนตรีชุดแรกที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตาม
นี้เป็นมูลเหตุของการปฎิวัติใน ปีพ.ศ. 2475
ประองค์ทรงตัดทอนรายจ่ายของพระองค์เอง พระราชดํารัสเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ.2468 ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยนั้น ประกอบด้วยพระบรมวงศ์ 5 พระองค์
ข้าราชการที่รับราชการที่จนล้นงานก็ให้ออกจาก 1. สมเด็จเจ้าฟูาฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช 2468 – 2471
กระทรวงทบวงกรมต่างๆ เป็นจํานวนมาก 2. สมเด็จเจ้าฟูาฯ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต 2468 – 2475
3. สมเด็จเจ้าฟูาฯ กรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ 2468 – 2475
4. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ 2468 - 2475
5. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทรบุรีนฤนาถ 2468 – 2475

การเปลีย่ นแปลงการปกครอง

หลังจากที่พระองค์ทรงครองราชย์ได้ 7 ปี ก็ได้มีการเปลี่ย นแปลงการปกครองไปสู่ระบบประชาธิปไตยขึ้นเมื่อวันที่ 24


มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดยบุคคลคณะหนึ่งซึ่งชื่อว่า "คณะราษฎร" มีพระยาพหลพลพยุหเสนากับพวกเป็นผู้ก่อการยึดอํานาจ
การปกครองประเทศซึ่ งพระองค์ ก็ ย อมรั บ รองอํ า นาจของคณะราษฎร ที่ จ ะจํ า กั ด พระราชอภิ สิ ท ธิ ข องพระองค์ โดย
คณะราษฎรได้ ใ ห้ คํ า มั่ น สั ญ ญาแก่ ป ระชาชนชาวไทยว่ า จะแก้ ไ ขภาวะทางเศรษฐกิ จ ที่ ต กตํ่ า ให้ ดี ขึ้ น พระบ าทสมเด็ จ
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวให้ เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และได้พระราชทาน
รัฐธรรมนูญฉบับถาวรให้เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 / พ.ศ. 2476 ได้เกิดกบฎวรเดชขึ้น รัฐบาลแห่งคณะราษฎรได้ทํา
การปราบปรามจนสําเร็จ
คณะราษฎร กลุ่มบุคคลผู้เป็นนักศึกษาจากต่างประเทศที่มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยได้คดิ กันว่าการปกครองระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ลา้ สมัย ไม่อาจทําให้ประเทศชาติเจริญก้าวหน้าได้ เพราะ
ปัญหาทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง มิได้รับการแก้ไข ในระบอบการปกครองเก่า และเชื่อมั่นว่า หากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบใหม่แล้วจะแก้ปญ
ั หาดังกล่าวได้และทําให้ประเทศมีความเจริญรุ่งเรือง
อย่างรวดเร็วทัดเทียมอารยประเทศตะวันตก ประกอบกับบุคคลกลุม่ นี้มีความไม่พอใจพระราชวงศ์ ขณะศึกษาอยูไ่ ด้รับอุดมการณ์ทางการเมืองแบบใหม่ด้วย เหล่านี้มสี ่วนผลักดันให้มีการเตรียมการเปลีย่ นแปลงการ
ปกครองโดยเริ่มต้นประชุมวางแผนที่บ้านนักเรียนไทยในฝรั่งเศส เมือ่ พ.ศ.2467
ผู้เข้าร่วมประชุม มีดังนี้ **ควรแม่น 1. นายปรีดี พนมยงค์ 2. ร.ท.แปลก ขีตตะสังคะ 3. นายประยูร ภมรมนตรี 4. ร.ท.ทัศนัย นิยมศึก 5. นายตั้ว ลพานุกรม
6. นายแนบ พหลโยธิน 7. หลวงศิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี)

การสละราชสมบัติ หลังจากเหตุการณ์การปฏิวัตสิ ยาม พ.ศ. 2475 พระองค์เสด็จพระราชดําเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารําไพพรรณี พระบรมราชินีไปเจริญทางพระราชไมตรีกับประเทศในแถบ


ยุโรป พร้อมทั้งเสด็จ ประทับที่ประเทศอังกฤษ เพื่อทรงเข้ารับการผ่าตัดและรักษาพระเนตร ในการนีไ้ ด้แต่งตั้งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟูากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ เป็นผู้สาํ เร็จราชการแทนพระองค์ ใน
ระหว่างนี้พระองค์ยังทรงติดต่อราชการกับรัฐบาลผ่านทางผูส้ ําเร็จราชการแทนพระองค์ซึ่งยังคงปรากฏข้อขัดแย้งต่าง ๆ ที่ไม่สามารถหาข้อยุติกันได้ โดยเฉพาะกรณีมีพระประสงค์ให้แก้ไขมาตรา 39 แห่งรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรสยาม ให้กฎหมายใดที่ไม่ทรงลงพระปรมาภิไธยต้องเป็นอันตกไป และสภาผู้แทนราษฎรที่เสนอร่างกฎหมายนั้นต้องถูกยุบ แต่รัฐบาลและสมาชิกรัฐสภาไม่อาจยอมทําตามประสงค์นั้นได้ จึงมี
พระราชดําริที่จะสละราชสมบัตริ ัฐบาลจึงตั้งคณะกรรมการขึ้นหนึ่งคณะโดยมีเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) ประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร ณ ขณะนั้น เป็นประธานคณะกรรมการ พร้อมกับพลเรือตรี หลวง
ธํารงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธํารงนาวาสวัสดิ์) และนายดิเรก ชัยนาม เดินทางมาเข้าเฝูาฯ และไกล่เกลีย่ เพือ่ กราบบังคมทูลให้เสด็จกลับประเทศไทย แต่การเจรจาไม่เป็นผลสําเร็จ พระองค์ทรงตัดสินพระทัยสละราช
สมบัติ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2478ในพระราชหัตถเลขาสละราชสมบัตินั้น ปรากฏข้อความที่ใช้อ้างอิงกันเสมอในเวลาต่อมาว่า
“ข้าพเจ้ามีความเต็มใจที่จะสละอํานาจอันเป็นของ ข้าพเจ้าอยู่แต่เดิมให้แก่ราษฎรโดยทั่วไป แต่ขา้ พเจ้าไม่ยินยอมยกอํานาจทั้งหลาย
ของข้าพเจ้าให้แก่ผู้ใด คณะใดโดยเฉพาะเพือ่ ใช้อาํ นาจนั้นโดย สิทธิขาด และโดยไม่ฟังเสียงอันแท้จริงของราษฎร... ...บัดนี้ ข้าพเจ้าเห็น
ว่า ความประสงค์ของข้าพเจ้า ที่จะให้ราษฎรมีสิทธิออกเสียง ในนโยบายของประเทศไทยโดยแท้จริงไม่เป็นผลสําเร็จ และเมื่อข้าพเจ้า
รู้สึกว่า บัดนี้ เป็นอันหมดหนทาง ทีข่ ้าพเจ้าจะช่วยเหลือ ให้ความคุ้มครองแก่ประชาชนได้ตอ่ ไปแล้ว ข้าพเจ้าจึงขอสละราชสมบัติ และ
ออกจากตําแหน่งพระมหากษัตริย์ แต่บัดนี้เป็นต้นไป”— ประชาธิปก ปร

หลังจากมีพระราชหัตเลขาสละราชสมบัติ พระองค์ทรงกลับไปใช้พระนามและพระราชอิสริยยศเดิม ได้แก่ สมเด็จเจ้าฟูาประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา มีคํานําหน้าพระนามว่า สมเด็จพระ


บรมราชปิตลุ า[31] และไม่ทรงตั้งรัชทายาทเพื่อพระราชทานวโรกาสให้รัฐบาลและสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้คัดเลือกพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่เอง คณะรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรจึงได้
อัญเชิญเสด็จพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล พระราชนัดดา (หลาน) พระองค์เดียวในสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ซึ่งพระองค์เป็นเจ้านายเชื้อพระบรมวงศ์พระองค์ที่
1 ในลําดับพระราชสันตติวงศ์แห่งกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. 2467 ขึ้นทรงราชย์สืบพระราชสันตติวงศ์ต่อไป ตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2478
2475
นายกรัฐมนตรีไทย 1.พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)

ระยะเวลาดารงตาแหน่ง
สมัยที่ 1 28 มิถุนายน 2475 - 9 ธันวาคม 2475
สมัยที่ 2 10 ธันวาคม 2475 - 1 เมษายน 2476
สมัยที่ 3 1 เมษายน 476 - 20 มิถุนายน 2476

- นายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย หลังการเปลีย่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิ.ย.2475


- เคยรับตําแหน่งผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ สังกัดกระทรวงยุติธรรม, อาจารย์สอนวิชากฎหมาย, อธิบดีศาลฎีกา, เสนาบดีกระทรวงการคลัง
- ขณะเกิดการปฏิวัตเิ ปลีย่ นแปลงการปกครองนั้น พระยามโนปกรณ์นิติธาดา กําลังดํารงตําแหน่งเสนาบดีกระทรวงการคลัง
- พ.ศ. 2461 ได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจาก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ ัว ให้ดํารงตําแหน่งที่ปรึกษาราชการในพระองค์
- เป็น “ประธานคณะกรรมการราษฎร” ซึ่งเป็นตําแหน่งสูงสุดในการบริหาร เทียบเท่ากับตําแหน่ง “นายกรัฐมนตรี” ในปัจจุบัน
- เป็นผู้ร่างรัฐธรรมนูญคนสําคัญในฉบับที่ 2 (ฉบับถาวร ฉบับแรก )
- ออก “พระราชกฤาฎีกาปิดสภาผู้แทนราษฎร” และงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476 และตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ โดยมีพระยามโนปกรณ์นติ ิธาดาเป็น
นายกรัฐมนตรี อีกครั้ง
- ออก พระราชบัญญัติว่าด้วยคอมมิวนิสต์ เป็นครั้งแรก
2.พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง
สมัยที่ 1 21 มิถุนายน 2476 - 16 ธันวาคม 2476
สมัยที่ 2 16 ธันวาคม 2476 - 22 กันยายน 2477
สมัยที่ 3 22 กันยายน 2477 - 9 สิงหาคม 2480
สมัยที่ 4 9 สิงหาคม 2480 - 21 ธันวาคม 2480
สมัยที่ 5 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 16 ธันวาคม 2481
- ฉายา "เชษฐบุรุษประชาธิปไตย"
- ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ท่านได้ดาํ รงตําแหน่งแม่ทัพใหญ่ และได้รับยศ พลเอก (พล.อ.)
- เป็นหนึ่งในคณะราษฎรฝุายทหารชั้นผู้ใหญ่ และเป็น 1 ใน 4 ทหารเสือ (อีก 3 คน ได้แก่ พระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ) พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) และพระประศาสน์
พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น))
- ได้รับพระราชทาน วังปารุสกวัน จากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าให้เป็นที่พํานัก ซึ่งท่านได้ใช้ที่นี่เป็นที่พํานักพักอาศัยตราบจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต
- คติประจําใจ "ชาติเสือต้องไว้ลาย ชาติชาย ต้องไว้ชื่อ"
- เคยดํารงตําแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, กระทรวงกลาโหม, กระทรวงการต่างประเทศ, กระทรวงการคลัง, กระทรวงธรรมการ, กระทรวงเกษตราธิการ, ผู้บัญชาการ
ทหารบก
- ภายหลังการอสัญกรรม ได้มีการเปลี่ยนชื่อถนนตามนามสกุลของท่าน คือ ถนนพหลโยธิน และมีการสร้างโรงพยาบาลและใช้ชื่อเป็นการระลึกถึงท่าน คือ โรงพยาบาลพหลพล
พยุหเสนา ที่จังหวัดกาญจนบุรซี ึ่งจังหวัดกาญจนบุรีได้รับการการถือจากท่านว่าเป็นภูมลิ ําเนาแห่งหนึ่งของท่าน นอกจากนี้ยังมีสะพานพหลพลพยุหเสนา ในเทศบาลเมืองกาญจนบุรี
และปัจจุบัน มีการสร้างพิพิธภัณฑ์พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา อยู่ภายในศูนย์การทหารปืนใหญ่ ค่ายพหลโยธิน

3.จอมพล ป. พิบูลสงคราม (แปลก พิบูลสงคราม)


ระยะเวลาดารงตาแหน่ง
สมัยที่ 1 16 ธันวาคม 2481 -6 มีนาคม 2485
สมัยที่ 2 7 มีนาคม 2485 -1 สิงหาคม 2487
สมัยที่ 3 8 เมษายน 2491 - 24 มิถุนายน 2492
สมัยที่ 4 25 มิถุนายน 2492 - 29 พฤศจิกายน 2494
สมัยที่ 5 29 พฤศจิกายน 2494 - 6 ธันวาคม 2494
สมัยที่ 6 6 ธันวาคม 2494 - 23 มีนาคม 2495
สมัยที่ 7 24 มีนาคม 2495 - 26 กุมภาพันธ์ 2500
สมัยที่ 8 21 มีนาคม 2500 - 16 กันยายน 2500

- มีชื่อจริงว่า แปลก เนื่องจากเมื่อแรกเกิดบิดามารดาเห็นว่าหูทั้งสองข้างอยู่ต่ํากว่านัยน์ตา ผิดไปจากบุคคลธรรมดา


- จัดตั้งมหาวิทยาลัยเฉพาะวิชา เช่น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหิดล) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นต้น
- พ.ศ. 2484 ญี่ปุนยกพลขึ้นบกในประเทศไทย จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ให้ญปี่ ุนเดินทัพผ่านไทย และในที่สุดได้ทําสัญญาพันธมิตรทางการทหารและเศรษฐกิจกับญีป่ ุน ซึ่งเป็นผลให้
ภายหลังเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 เสร็จสิ้นลง จอมพลแปลก พิบูลสงคราม จึงต้องตกเป็นผู้ต้องหาอาชญากรสงคราม และถูกจับกุมขังเป็นเวลาหลายเดือน
- ฉายา จอมพลคนหัวปี, กัปตัน, ทําเนียบตราไก่, นายกตลอดกาล, จอมพลกระดูกเหล็ก
- ออกประกาศรัฐนิยม 12 ฉบับ อาทิ สั่งห้ามประชาชนกินหมากโดยเด็ดขาด ให้ผู้หญิงเลิกนุ่งโจงกระเบน เปลีย่ นมานุ่งผ้าถุงแทน ให้สวมหมวก สวมรองเท้า ไม่ส่งเสริมศิลปะและ
ดนตรีไทยเดิมแต่ส่งเสริมดนตรีสากล ฯลฯ
- ออกกฎหมายคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ มีการสงวนอาชีพบางอย่างไว้เฉพาะคนไทย และปลูกฝังให้ประชาชนนิยมใช้สินค้าไทย ด้วยคําขวัญว่า "ไทยทํา ไทยใช้ ไทยเจริญ"
- เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่จากวันที่ 1 เมษายน ตามโบราณราชประเพณีพระราชจักรีวงศ์ เป็นวันที่ 1 มกราคมของทุกปี เพื่อให้สอดคล้องกับหลักโลกตะวันตก โดยเริ่มเปลีย่ นในปี พ.ศ. 2484
- จัดตั้งสภาวัฒนธรรมแห่งชาติขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2485
- เปลี่ยนชื่อประเทศสยามมาเป็นประเทศไทย
- คําขวัญ ในสมัยนั้นว่า "มาลานําไทยสู่มหาอํานาจ" หากผู้หญิงคนใดไม่ใส่หมวกจะถูกตํารวจจับและปรับ
- วางระเบียบการใช้คําแทนชื่อเป็นมาตรฐาน เช่น ฉัน, ท่าน, เรา - สั่งให้ข้าราชการไทยกล่าวคําว่า "สวัสดี" ในโอกาสแรกที่พบกัน และมีการตัดตัวอักษรที่ออกเสียงซ้ํากันจึงมีการ
เปลี่ยนแปลงการสะกดคํามากมาย เช่น กระทรวงศึกษาธิการ เขียนเป็น กระซวงสึกสาธิการ เป็นต้น
- ได้ประกาศนโยบายจัดตั้งตลาดนัดทั่วประเทศทุกสุดสัปดาห์ ในกรุงเทพฯ มีการจัดตลาดนัดขึ้นทีส่ นามหลวง ซึ่งเรียกว่า ตลาดนัดสนามหลวง หรือ ตลาดนัดกรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน
ตลาดนัดสนามหลวงได้ย้ายออกไปจากบริเวณสนามหลวงแล้ว โดยไปอยู่ที่ ตลาดนัดจตุจักร แทน
- เกิดบ้านพักคนชราบางแค หรือ บ้านบางแค ปี 2496
- อธิบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คนที่ 5
- เคยดํารงตําแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวงกลาโหม, กระทรวงการต่างประเทศ, กระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวง
วัฒนธรรม, กระทรวงสหกรณ์, ผู้บัญชาการทหารสูงสุด, บัญชาการทหารบก
4.พันตรี ควง อภัยวงศ์ (หลวงโกวิทอภัยวงศ์)
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง
สมัยที่ 1 1 สิงหาคม 2487 - 31 สิงหาคม 2488
สมัยที่ 2 31 มกราคม 2489 - 24 มีนาคม 2489
สมัยที่ 3 10 พฤศจิกายน 2490 - 9 กุมภาพันธ์ 2491
สมัยที่ 4 21 กุมภาพันธ์ 2491 - 8 เมษายน 2491
- ผู้ก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์คนแรก
- 7 กันยายน พ.ศ. 2488 รัฐบาลไทยได้ประกาศยกเลิกคําว่า "ประเทศไทย" (ไทยแลนด์) ให้ใช้คําว่า "สยาม" เหมือนเดิม โดยใช้ "ไทย" เป็นชื่อเชื้อชาติ ส่วนคําว่า"สยาม" เป็นชื่อประเทศ
- 2489 ได้ออกนโยบายฟื้นฟูขนบธรรมเนียมประเพณีไทยในด้านๆต่างๆดังนี้ 1. การฟื้นฟูวันสงกรานต์เป็นวันปีใหม่ตามประเพณีไทย ควบคู่กับวันขึ้นปีใหม่แบบสากล 2. การยกเลิก
การใช้ภาษาวิบัติที่ใช้กันมาตั้งแต่ยคุ จอมพล ป. โดยรณรงค์ส่งเสริมให้ใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง 3. การนําบรรดาศักดิ์ไทยกลับมาใช้และได้มีการคืนบรรดาศักดิ์ให้แก่ผู้ที่ถูกยกเลิก โดยได้มี
พระราชบัญญัติคืนยศ บรรดาศักดิ์ เครื่องราชอิสสริยาภรณ์ และสิทธิในการรับเบี้ยหวัดบําเหน็จและบํานาญ พุทธศักราช 2489 เพื่อนิรโทษกรรมแก่ผตู้ ้องโทษทางการเมือง
4. ฟื้นฟูกีฬาพืน้ บ้าน เช่น กีฬาไก่ชน
- มี "พ.ร.บ.ปักป้ายข้าวเหนียว" ที่เสนอโดย นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ ส.ส.อุบลราชธานี - ฉายา โหรหน้าสนามกีฬา, ตลกหลวง
5.ทวี บุณยเกตุ ระยะเวลาดารงตาแหน่ง 31 สิงหาคม 2488-17 กันยายน 2488

- ดํารงตําแหน่ง 17 วัน นับเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีระยะเวลาดํารงตําแหน่งสั้นที่สุด


- ในรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิตธิ าดา เป็นนายกรัฐมนตรี นายทวีได้รับแต่งตั้งเป็นหนึ่งในคณะกรรมการพิจารณาร่างเค้าโครงเศรษฐกิจแห่งชาติ เป็นผู้หนึ่งที่มีแนวความคิดสอดคล้อง
กับนายปรีดี พนมยงค์
- นายทวีได้รับแต่งตั้งเป็นประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 ใช้เวลาร่างถึง 10 ปี
- นายทวี บุณยเกตุ ได้ก่อตั้งมูลนิธทิ างการศึกษาชื่อ มูลนิธิ ทวี บุณยเกตุ
- นายทวี บุณยเกตุ ดํารงตําแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึงปี พ.ศ. 2489 นับเป็นคนที่ 2 ของมหาวิทยาลัย (ต่อจาก พลเรือเอกสินธุ์ กมลนาวิน)
- รับตําแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการในรัฐบาล นายปรีดี พนมยงค์

6.หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง
สมัยที่ 1 17 กันยายน 2488 - 31 มกราคม 2489
สมัยที่ 2 15 กุมภาพันธ์ 2518 - 14 มีนาคม 2518
สมัยที่ 3 21 เมษายน 2519 - 23 กันยายน 2519
สมัยที่ 4 5 ตุลาคม 2519 - 6 ตุลาคม 2519

- ผู้ร่วมก่อตั้งและอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
- มีน้องชายที่มีชื่อเสียงคู่กันคือ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี
- เป็นพลเรือนคนแรกที่ดํารงตําแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
- เป็นผู้นําฝุายค้านในสภาผู้แทนราษฎรคนแรกอย่างเป็นทางการ
- มีฉายาว่า ฤาษีเลี้ยงลิง
- วันที่ 6 ตุลาคม 2519 คณะปฏิรปู การปกครองแผ่นดินเข้ายึดอํานาจ โดยการนําของ พลเรือเอก สงัด ชลออยู่
- รัฐบาลนี้มีบทบาทอย่างมาก คือได้เจรจาเพื่อทําสัญญายกเลิกสถานการณ์สงครามกับฝุายสัมพันธมิตร (สมัยสงครามโลก)
7. ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ (หลวงประดิษฐ์มนูธรรม)
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง
สมัยที่ 1 24 มีนาคม 2489 - 8 มิถุนายน 2489
สมัยที่ 2 11 มิถุนายน 2489 - 21 สิงหาคม 2489

- ผู้นําคณะราษฎร สายพลเรือน
- 2477 ได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองและดํารงตําแหน่งผู้ประศาสน์การของมหาวิทยาลัยแห่งนี้เป็นคนแรก
- พ.ศ. 2484 ในขณะที่เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผูส้ ําเร็จราชการ แทนพระองค์
- ได้ก่อตั้งขบวนการเสรีไทยในประเทศ ติดต่อประสานงานกับขบวนการเสรีไทยในประเทศ ติดต่อประสานงานกับขบวนการเสรีไทยภายนอกประเทศ ภายใต้การนําของหม่อม
ราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่องปรีดี พนมยงค์ ไว้ในฐานะ "รัฐบุรุษอาวุโส"
- เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารชาติไทย (ปัจจุบัน คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย)
- เกิดการรัฐประหาร พ.ศ. 2490 เขาต้องลี้ภัยการเมืองไปยังประเทศจีนและฝรั่งเศสรวมระยะเวลากว่า 30 ปี และไม่ได้กลับสู่ประเทศไทยอีกเลยจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรม
- 2542 ที่ประชุมสมัยสามัญครั้งที่ 30 ขององค์การยูเนสโก ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ได้มีมติประกาศให้ปรีดี พนมยงค์ เป็น "บุคคลสาคัญของโลก"
- ได้รับแต่งตั้งจากสภาผู้แทนราษฎรให้เป็น เลขาธิการคนแรกของสภาผู้แทนราษฎรสยาม
- เป็นผูร้ ิเริม่ ให้สตรีมสี ิทธิ์ในการออกเสียงเลือกตั้งและสมัครรับเลือกตั้งผู้แทนราษฎรได้เช่นเดียวกับเพศชาย
- เป็นผู้นําเอาวิชา "กฎหมายปกครอง" (droit administratif) มาสอนเป็นคนแรก ณ โรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม
- พ.ศ. 2476 ได้เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจ หรือที่เรียกกันว่า "สมุดปกเหลือง" ต่อรัฐบาลเพื่อใช้เป็นนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ ตามหลัก 6 ประการของคณะราษฎร โดยดําเนิน
เศรษฐกิจแบบสหกรณ์ แต่ไม่ทําลายกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของเอกชน
- ปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สาํ เร็จราชการแทนพระองค์ และหัวหน้าขบวนการเสรีไทยในรหัสนามว่า "รู้ธ" (Ruth) ทํางานในสองบทบาทตลอดสงครามมหาเอเชียบูรพา โดยถือความลับ
สุดยอดเป็นหัวใจของการปฏิบตั ิงาน
– เคยดํารงตําแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง, กระทรวงการต่างประเทศ, กระทรวงมหาดไทย
8. ถวัลย์ ธารงนาวาสวัสดิ์
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง
สมัยที่ 1 23 สิงหาคม 2489 - 30 พฤษภาคม 2490
สมัยที่ 2 30 พฤษภาคม 2490 - 8 พฤศจิกายน 2490

- จัดตั้ง องค์การสรรพาหาร
- ฉายา "นายกฯลิ้นทอง"
- พ.ศ. 2490 เกิดการรัฐประหาร โดยการนําของจอมพล ผิน ชุณหะวัณ และพันเอกกาจ กาจสงคราม
- เคยดํารงตําแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม, กระทรวงการต่างประเทศ, กระทรวงมหาดไทย, เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
- เป็นสมัยที่ไทยเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาขาติ

9. พจน์ สารสิน
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง สมัยที่ 1 21 กันยายน 2500 - 26 ธันวาคม 2500

- เริ่มบทบาททางการเมืองด้วยการสนับสนุนของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยการแต่งตั้งให้เป็นสมาชิกวุฒิสภา เมื่อปี พ.ศ. 2490


- พ.ศ. 2491 รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
- พ.ศ. 2492 ได้ดํารงตําแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
- พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2500 ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งเอกอัครราชทูตไทยประจําสหรัฐอเมริกาและทําหน้าที่ผู้แทนของประเทศไทยประจําองค์การสหประชาชาติ
- พ.ศ. 2500 ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่ง เลขาธิการองค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ส.ป.อ.)
- เคยดํารงตําแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ, อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น
10.ถนอม กิตติขจร
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง
สมัยที่ 1 1 มกราคม 2501 - 20 ตุลาคม 2501
สมัยที่ 2 9 ธันวาคม 2506 - 7 มีนาคม 2512
สมัยที่ 3 7 มีนาคม 2512 - 17 พฤศจิกายน 2514
สมัยที่ 4 18 พฤศจิกายน 2514 -17 ธันวาคม 2515
สมัยที่ 5 18 ธันวาคม 2515 - 14 ตุลาคม 2516

- เคยดํารงตําแหน่งผู้บัญชาการทหารบก, อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ผู้บัญชาการทหารสูงสุด, นายกสภามหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่


- สมัยรัฐบาลถนอม มีการสร้างเขือ่ น อาทิ เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนอุบลรัตน์
- 2514 จอมพล ถนอม กิตติขจร ได้ทํารัฐประหารรัฐบาลของตนเอง
- จอมพลถนอม กิตติขจร ได้จดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2511 คือ “พรรคสหประชาไทย” ดํารงตําแหน่งหัวหน้าพรรค
- ยึดหลักการพัฒนาตามแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 1 ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี
- จอมพล ถนอม กิตติขจร พ้นตําแหน่งนายกรัฐมนตรี เมื่อเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516

11. สฤษดิ์ ธนะรัชต์


ระยะเวลาดารงตาแหน่ง 9 กุมภาพันธ์ 2502 - 8 ธันวาคม 2506
- ผู้ริเริม่ การจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรก
- ก่อตั้งสํานักงบประมาณ ,ธนาคารทหารไทย , ตั้งบริษัท ทิพยประกันภัย จํากัด
- เจ้าของคําพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว"
- เป็นหัวหน้าปราบกบฏวังหลวง
- ได้รับพระราชทานยศ จอมพล พร้อมกับ พลเรือเอก หลวงยุทธศาสตร์โกศล
- พ.ศ. 2502 จอมพลสฤษดิ์ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดํารงตําแหน่งรักษาราชการแทน อธิบดีกรมตํารวจ แทน พลตํารวจเอกไสว ไสวแสนยากร
- ใช้ "รัฐธรรมนูญมาตรา 17" การปราบปรามการกระทําอันเป็นคอมมิวนิสต์
- จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ได้นําหลักการฝึกบุคคลท่ามือเปล่า (Without Weapon) จากการฝึกของกองทัพสหรัฐมาใช้ในกองทัพไทยเป็นครั้งแรก อันได้แก่ ท่าตรง, ตามระเบียบ พัก
และต่อมาได้นํามาใช้ในองต์กรต่างๆอาทิ โรงเรียน องค์กรต่างๆ เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยและฝึกความมีวินัยตามโนบายในขณะนัน้
- จอมพลสฤษดิ์มีอนุภรรยาจํานวนมาก และมีบุตรหลายคน สมรสครั้งสุดท้ายกับนางสาววิจิตรา ชลทรัพย์ หรือ ท่านผู้หญิงวิจิตรา ธนะรัชต์
- เปลี่ยนวันชาติเป็น 5 ธันวาคม
- เคยได้รับตําแหน่งผู้บัญชาการทหารบก , ผู้บญ ั ชาการทหารสูงสุด ,รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ,รักษาราชการนายกรัฐมนตรี ,อธิบดีกรมตํารวจ
- เคยได้รับฉายาวีรบุรุษมัฆวานฯ ,จอมพลผ้าขาวม้าแดง
** ช่วงปี 2500 สถานการณ์ลุกลาม เกิดความวุ่นวายอย่างหนัก จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้แต่งตั้งให้ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้บัญชาการ 3 เหล่าทัพ เพื่อคอยควบคุมสถานการณ์
แต่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์สั่งการไม่ให้ทหารทําอันตรายประชาชนที่เดินขบวนชุมนุมประท้วง และยังเป็นผู้นําประชาชนเข้าพบจอมพล ป. ที่ทําเนียบอีก ทําให้กลายเป็นขวัญใจของประชาชนทันที จนได้รับฉายาใน
ตอนนั้นว่า "วีรบุรุษมัฆวานฯ"

เพิ่มเติม ** รถตุ๊กๆ
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรี ได้มีคําสั่งให้ประกาศห้ามใช้รถสามล้อวิ่งในถนนสายต่างๆ โดยการยกเลิกการจดทะเบียนจักรยานสามล้อและจักรยานสามล้อส่วนบุคคลที่ใช้ในจังหวัดพระนครและธนบุรี
ทั้งนี้ก็ด้วยเหตุผลเกีย่ วกับปัญหาการจราจร ปัญหาทางสังคมอันเนื่องมาจากการอพยพของคนต่างจังหวัดเข้ามาประกอบอาชีพนี้ และปัญหาความสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง โดยได้นํารถบรรทุก
สามล้อยี่ห้อไดฮัทสุที่นําเข้าจากประเทศญี่ปุนมาดัดแปลงใช้แทนและได้ทดลองใช้เป็นครั้งแรกในย่านเยาวราช
เพิ่มเติม **"ไทมส์"นาเรื่องฉาวโฉ่ของสฤษดิ์พิมพ์แพร่ทั่วโลก”
นิตยสาร "ไทมส์" ของอเมริกา ซึ่งจําหน่ายทั่วโลก นําเรื่องราวของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ตีพิมพ์แพร่ไปทั่วโลกอย่างกว้างขว้าง เหมือนไฟลามทุ่งมีทั้งเรื่อง และลงภาพประกอบอย่างเต็มภาคภูมิ "สฤษดิ์ ยืนเคียง
ข้างวิจิตรา ระริกระรื่นในยามสุขทีม่ ีชีวิตอยู่” ในหัวเรื่องว่า "อนุภรรยากับกองมรดกมหาศาลของจอมพล" พร้อมกับลงภาพจอมพลสฤษดิ์กับท่านผู้หญิงวิจิตราสมัยเมือ่ ความหลังยังหวานชื่น กําลังชี้ชวนกันให้
ชมกระถางต้นกระบองเพชรอยู่ นักเขียน "ไทมส์" บรรยายเรื่องราวไว้ว่าระหว่างที่นอนเจ็บอยู่ทโี่ รงพยาบาลที่กรุงเทพ นายกรัฐมนตรีสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ของไทยกอดภรรยาคนสวยของเขาไว้ในวงแขน และร้องเพลง
เก่าเพลงหนึ่งกับเธอ เนื้อร้องขึ้นต้นว่า "ร้อยชู้หรือจะสูเ้ มียตน" สฤษดิ์นับเป็นสุภาพ เรียบร้อยด้วยประการทั้งปวง แต่เมื่อถึงอสัญกรรมเมื่อเดือนธันวาคม ศกก่อน ด้วยโรคตับแข็งและโรคอื่น เพราะใช้ชีวิตอย่าง
โชกโชน ซื่อของบรรดาสาวทั้งหลายร้อยกว่าคนยอมรับว่าได้รับความรักจากเขา พร้อมกันนั้นก็ขอส่วนแบ่งจากกองมรดกก็ปรากฎขึ้นตามหนังสือพิมพ์ฉบับต่างๆ ในกรุงเทพ ในจํานวนนี้เป็นเหล่าภรรยาลับวงใน ผู้
ใกล้ชิด 51 คน ซึ่งคนไทย พากันเรียกว่า "อนุภรรยา"

12. สัญญา ธรรมศักดิ์


ระยะเวลาดํารงตําแหน่ง
สมัยที่ 1 15 ตุลาคม 2516 - 22 พฤษภาคม 2517
สมัยที่ 2 27 พฤษภาคม 2517- 26 มกราคม 2518
- รัฐบาลชุดนี้ได้ถูกสื่อมวลชนตั้งฉายาให้ว่า "รัฐบาลท่านพระครู" เนือ่ งจากนายกรัฐมนตรีเป็นบุคคลทีธ่ รรมะธรรมโม
- แม้ได้เข้ามาบริหารราชการแล้วก็ตาม แต่สถานการณ์ในประเทศยังคงระอุอยู่ เพราะเหตุความวุ่นวายต่าง ๆ และรัฐบาลเสนอกฎหมายผ่านสภาถึง 3 ฉบับ แต่ไม่ผ่านการพิจารณาจาก
สภานิตบิ ัญญัติแห่งชาติ จึงได้รับฉายาใหม่ว่า "รัฐบาลมะเขือเผา"
- เคยได้รับตําแหน่งประธานศาลฎีกา ,คณบดีคณะนิติศาสตร์ ,อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ,กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ,ปลัดกระทรวง
ยุติธรรม ,รองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ
- ได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี
- 19 ธันวาคม 2516 มีการประชุมสมัชชาแห่งชาติ ณ สนามราชตฤณมัยสมาคม (สภาสนามม้านางเลิง้ ) เพื่อเลือกตั้งสมาชิสภานิติบญ ั ญัติแห่งชาติ (ทําหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญ)
- ตอนเป็นนายกรัฐมนตรี สมัยที่ 2 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2517 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญที่มคี วามเป็นประชาธิปไตยมากทีส่ ุดฉบับหนึ่ง โดยสาระสําคัญ
กําหนดให้มี 2 สภาคือ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒสิ ภา ข้าราชการประจําจะดํารงตําแหน่งทางการเมือง เช่น รมต. สส. สว. ในขณะเดียวกันไม่ได้ และเป็นครั้งแรกที่กําหนดให้ชายหญิง มี
สิทธิเท่าเทียมกัน เป็นครั้งแรกที่กาํ หนดให้มผี ู้นําฝุายค้านในสภาฯ
13. หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง สมัยที่ 1 17 มีนาคม 2518 - 12 มกราคม 2519

- เป็นนักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็น ปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย


- เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง"
เพิ่มเติม **
ปลายปี พ.ศ. 2551 กระทรวงวัฒนธรรมเสนอชื่อหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์เป็นบุคคลสําคัญของโลกต่อยูเนสโก โดยมีทั้งเสียงสนับสนุนและคัดค้าน ต่อมาในวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ.
2552 ยูเนสโกได้ประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์เป็นบุคคลสําคัญของโลก ใน 4 สาขา ได้แก่ การศึกษา วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ และสื่อสารมวลชน ในวาระ
ครบรอบ 100 ปี ชาตกาล พ.ศ. 2554 โดยได้รับการประกาศพร้อมกันกับเอื้อ สุนทรสนาน ซึ่งได้รับในวาระครบรอบ 100 ปี ชาตกาล พ.ศ. 2553
- อาจารย์พิเศษของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ ประจํา พ.ศ. 2528
- พ.ศ. 2488-2489 เป็นผูร้ ิเริม
่ จัดตั้งพรรคการเมืองพรรคแรกในเมืองไทย ชื่อ "พรรคก้าวหน้า"
- ได้ร่วมในคณะผู้ก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ดํารงตําแหน่งเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์คนแรก
- ได้ริเริม
่ จัดตั้งพรรคกิจสังคม
-ดํารงตําแหน่ง ประธานสภานิติบญ ั ญัติแห่งชาติ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
- ประพันธ์นวนิยายสี่แผ่นดิน
– จัดทําโครงการเงินผัน (พัฒนาท้องถิ่น,นั่งรถประจําทางฟรี)
– เกิดเหตุการณ์ที่เรียกว่า “มายาเกรซ” เนื่องจากสหรัฐอเมริกา เข้ามาใช้อู่ตะเภาเป็นฐานอํานวยการส่งทหารอเมริกันเข้ายึดเรือบรรทุกอาวุธชื่อมายาเกรซ ของอเมริกา คืนจากเขมร
แดง โดยมิแจ้งรัฐบาลไทย
14.ธานินทร์ กรัยวิเชียร
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง สมัยที่ 1 : 8 ตุลาคม 2519-20 ตุลาคม 2520
- ศาสตราจารย์สอนวิชากฎหมายทีม่ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - อดีตองคมนตรี
- ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานองคมนตรี (แทน พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ )
- รัฐบาลของนายธานินทร์ กรัยวิเชียร มีนโยบายโดดเด่นคือการต่อต้านภัยคุกคามของลัทธิคอมมิวนิสต์ที่กําลังมีอิทธิพลอย่างสูงในขณะนั้น นโยบายปราบปรามยาเสพติด โดยจัดตั้ง
สํานักงาน ปปส.ขึ้น
- นโยบายด้านการปราบปรามคอรัปชั่น รัฐบาลของนายธานินทร์ กรัยวิเชียร นับว่าเป็นรัฐบาลเผด็จการพลเรือนที่ใช้อํานาจจัดการประชาชนในข้อหาคอมมิวนิสต์ จนมีประชาชน
ส่วนหนึ่งหนีข้อหานี้เข้าปุาไปเป็นจํานวนมาก
- ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิตบิ ัญญัติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2516
15.เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง สมัยที่ 1 12 พฤศจิกายน 2520 - 29 กุมภาพันธ์ 2523
- ดํารงตําแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ,รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย,ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
- เคยร่วมรบในสมรภูมเิ กาหลีรุ่นแรก ในตําแหน่งผู้บังคับกองพันทหารราบ ผลัดที่ 3 สร้างเกียรติภมู ิอย่างมาก จนหน่วยใต้บังคับบัญชาได้ฉายาว่า "กองพันพยัคฆ์น้อย"
- จัดตั้งหน่วยงานสําคัญ ๆ เพิ่มขึ้นอีกหลายหน่วยงาน เช่น การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงาน และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- ฉายา "อินทรีแห่งทุ่งบางเขน"
- ในระหว่างที่ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีอยู่นั้น ภาพที่ติดตาของพลเอกเกรียงศักดิ์ คือ การทําแกงเขียวหวานใส่บรั่นดีระหว่างออกเยี่ยมประชาชนตามทีต่ ่าง ๆ อันเป็นสูตรของ
พลเอกเกรียงศักดิ์เอง
- มีการนําเสนอร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมให้แก่นักศึกษาที่ถูกจําคุกเนือ่ งจากเหตุการณ์ชุมนุม 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อีกด้วย ซึ่งรัฐสภาก็ได้ผ่านร่างดังกล่าว
ในปี พ.ศ. 2521 โดยมีเหตุผลสําคัญคือเพื่อความปรองดองของประเทศ ซึ่งทําให้นักศึกษาที่ถูกจับทั้งหมดได้รับการปล่อยตัว

16.พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง
สมัยที่ 1 3 มีนาคม พ.ศ. 2523 - 29 เมษายน พ.ศ. 2526
สมัยที่ 2 30 เมษายน พ.ศ. 2526 - 4 สิงหาคม พ.ศ. 2529
สมัยที่ 3 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2531

- อดีตผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
- บุคลิกส่วนตัวพลเอกเปรมเป็นคนพูดน้อย ในขณะดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย จะให้สัมภาษณ์แก่สื่อมวลชนน้อยมาก จนถูกหนังสือพิมพ์ในขณะนั้นเรียกขานว่า
เตมีย์ใบ้ และได้รับอีกฉายาหนึ่งว่า นักฆ่าแห่งลุ่มน้ําเจ้าพระยา
- พ.ศ. 2531 ได้รับโปรดเกล้าฯ ยกย่องให้เป็นรัฐบุรุษ
- 2541 มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้เป็นประธานองคมนตรี - นามสกุล "ติณสูลานนท์" พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานให้
- รับตําแหน่งรัฐมนตรีเป็นครั้งแรกในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ในตําแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
-ดํารงตําแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ,ผู้บัญชาการทหารบก
- นํานโยบายการใช้ "การเมืองนําการทหาร" ตามคําสั่งสํานักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523 เป็นผลให้พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยอ่อนกําลังลงและสลายตัว
17.พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531 – 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
- เดิมมีชื่อว่า "สมบุญ ชุณหะวัณ" เป็นบุตรของจอมพลผิน ชุณหะวัณ
- ดํารงตําแหน่งรองนายกรัฐมนตรี ,รัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม
- ดํารงตําแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
- เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดํารงตําแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒนา
-นโยบาย "เปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า"
- คาดหมายโดยทั่วไปว่าประเทศไทยจะเป็น "เสือตัวที่ 5" ของเอเชีย (Fifth Asian Tiger) ต่อจาก "4 เสือเศรษฐกิจของเอเชีย" คือ เกาหลีใต้ ฮ่องกง สิงคโปร์ และไต้หวัน
- มีชื่อที่เรียกเป็นทีร่ ู้จักทั่วไปว่า "น้าชาติ" มีคําพูดติดปากเมื่อให้สัมภาษณ์สื่อมวลชนว่า "No Problem" หมายถึง "ไม่มีปญ
ั หา" จนเป็นที่จดจําได้ทั่วไป ซึ่งศิลปินเพลง แอ๊ด คาราบาว
ได้นําไปประพันธ์เป็นเพลงล้อเลียนการเมืองชื่อ "โนพลอมแพลม"
- ถูกโจมตีว่ามีการทุจริต หาผลประโยชน์ในโครงการลงทุนของรัฐ จนมีคํากล่าวโจมตีการทํางานของคณะรัฐมนตรี รัฐบาลพลเอกชาติชายว่าเป็น "บุฟเฟ่ต์คาบิเนต"
- ขณะที่การทํางานของสภาผู้แทนราษฎร ที่มสี ัดส่วน ส.ส. ฝุายรัฐบาล เป็นจํานวนมากก็ถูกโจมตีว่ามีสภาพเป็น "เผด็จการรัฐสภา"
- ถูกยึดอํานาจการปกครองโดย คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ภายใต้การนําของ พล.อ. สุนทร คงสมพงษ์ พล.อ. สุจินดา คราประยูร พล.อ.อ. เกษตร โรจนนิล และ
พล.อ. อิสระพงศ์ หนุนภักดี ที่ต่อมานําไปสู่เหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ในปี พ.ศ. 2535

18. อานันท์ ปันยารชุน


ระยะเวลาดารงตาแหน่ง
สมัยที่ 1 2 มีนาคม 2534 - 22 มีนาคม 2535
สมัยที่ 2 10 มิถุนายน 2535 - 22 กันยายน 2535

- เอกอัครราชทูตไทยประจําสหประชาชาติ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศเยอรมนี


- ได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการรัฐกิจ ประจําปี พ.ศ. 2540
- ฉายา รัฐบาลโปร่งใส , ผู้ดีรัตนโกสินทร์
19.สุจินดา คราประยูร
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง 7 เมษายน พ.ศ. 2535 – 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
- พลเอก สุจินดา เป็นบุคคลสําคัญในคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติที่เข้ายึดอํานาจการปกครองจากพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อวันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534
- เมื่อเข้าดํารงตําแหน่งกล่าวว่า "เสียสัตย์เพื่อชาติ" ทั้งที่เคยพูดว่าจะไม่รับตําแหน่งนายกรัฐมนตรี
- มีเชื้อสายจีน โดยมีแซ่โล้ว อันเป็นแซ่เดียวกับพลตรี จําลอง ศรีเมือง
- ดํารงตําแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบก , ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
- เกิดเหตุพฤษภาทมิฬ 2535

20.ชวน หลีกภัย
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง สมัยที่ 1 23 กันยายน 2535 - 12 กรกฎาคม 2538
สมัยที่ 2 9 พฤศจิกายน 2540 - 17 พฤศจิกายน 2543

- เมื่อยังเด็ก ชวนมีชื่อเรียกในครอบครัวว่า "เอียด" หมายถึง เล็ก เนือ่ งจากเป็นคนรูปร่างเล็ก


- ประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย
- หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ใน พ.ศ. 2534
- ดํารงตําแหน่งรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง ได้แก่ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงกลาโหม
- ดํารงตําแหน่งรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี
- ผู้นําฝุายค้าน ใน พ.ศ. 2533
- รัฐบาลชวนสมันแรกถือนโยบายการปฏิรปู ที่ดินเป็นสําคัญ ในการแจกจ่ายที่ดินให้แก่เกษตรกรผู้ยากไร้ อย่างไรก็ตามเมื่อเกิดข้อผิดพลาด กรณี สปก.4-01 เป็นเหตุให้รัฐบาลนี้ต้องยุบ
สภาในเวลาต่อมา
- เป็นนักการเมืองที่มือสะอาด จนได้รับฉายา Mr. Clean (นายสะอาด)
- อาจารย์พิเศษแผนกนิติเวช คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
21.บรรหาร ศิลปอาชา
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 -
ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา
- 2537 บรรหารได้ขึ้นดํารงตําแหน่งหัวหน้าพรรคชาติไทย
- เป็นผู้นําฝุายค้านในสภาผู้แทนราษฎรสมัยรัฐบาลชวน หลีกภัย
- เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
- ริเริ่มให้มรี ่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540

ฉายา มังกรสุพรรณ ,ปลาไหล, มังกรการเมือง, เติ้ง หรือ เติ้งเสี่ยวหาร– เกิดจากสื่อมวลชนขนานนาม เพราะมีนายบรรหารลักษณะคล้าย “เติ้งเสี่ยวผิง” อดีตผู้นําของจีน
- มีสโลแกนหาเสียงว่า “สัจจะนิยม สร้างสังคมให้สมดุล”

22.ชวลิต ยงใจยุทธ
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง 25 พฤศจิกายน 2539 – 8 พฤศจิกายน 2540
- อดีตรองนายกรัฐมนตรี , อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม , อดีตผู้บญ ั ชาการทหารบก , อดีตรักษาการผู้
บัญชาการทหารสูงสุด
- ฉายา “ขงเบ้งแห่งกองทัพบก” และ “บิ๊กจิ๋ว” "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล
- รัฐบาลของพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นรัฐบาลที่มสี ่วนรับผิดชอบต่อวิกฤตการณ์ทางการเงิน เมื่อปี พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) ที่ทําให้ประเทศไทยล้มละลาย และลุกลามไป
ทั่วโลกและส่งผลต่อสหรัฐอเมริกา
- ประกาศลดค่าเงินบาท
23.ทักษิณ ชินวัตร
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง
สมัยที่ 1 17 กุมภาพันธ์ 2544 – 11 มีนาคม 2548
สมัยที่ 2 11 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 19 กันยายน พ.ศ. 2549
- 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนําของพลตรี จําลอง ศรีเมือง
- ตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541
- ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ
- เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดํารงตําแหน่งจนครบวาระคนแรก
- เป็นผู้สนับสนุนแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.)
- พ.ศ. 2523 ทักษิณ เริม่ ต้นทําธุรกิจส่วนตัวหลายอย่าง ควบคูไ่ ปกับการรับราชการตํารวจ เช่น ค้าขายผ้าไหม กิจการโรงภาพยนตร์ ธุรกิจคอนโดมิเนียม แต่กลับประสบความล้มเหลว
เป็นหนี้สินกว่า 50 ล้านบาท ในระหว่างนั้นจึงได้ลาออกจากราชการ ขณะมียศเป็นพันตํารวจโท
- ดํารงตําแหน่งรองนายกรัฐมนตรี , รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ,กระทรวงการต่างประเทศ
- อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี พ.ศ.2551 , อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา , เคยรับตําแหน่งหัวหน้าพรรคพลังธรรมแทนพลตรีจําลอง
- ได้รับการยกย่องให้เป็น 1 ในบุคคล 50 คน ซึ่งมีอิทธิพลมากที่สุดในโลก ของ นิตยสารไทม์ (พ.ศ. 2538)
- ผู้ก่อตั้งมูลนิธิไทยคม เพื่อสนับสนุนการศึกษาผ่านดาวเทียม ปัจจุบนั เปลี่ยนรูปแบบมาเป็น สนับสนุนการศึกษาของเยาวชนในหลายรูปแบบ เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กชนบทผู้ยากไร้ มี
โอกาสเรียนต่อในท้องถิ่น
24.สุรยุทธ์ จุลานนท์
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง 1 ตุลาคม 2549 – 29 มกราคม 2551
- มาจากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรปู การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549
- นํา พ.ร.บ.คุ้มครองเงินฝาก มาใช้ - ห้ามการโฆษณาเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ทุกชนิด แต่สามารถโมษณาได้ในเวลา22.00เป็นต้นไป
- ยกเลิกโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค เปลี่ยนเป็น รักษาฟรีทุกโรค และให้คนไทยห่างไกลจากโรค
- จัดรายการที่ให้ข้อมูลข่าวสารของรัฐบาลให้แก่ประชาชน คือ รายการสายตรงทําเนียบ และรายการ เปิดบ้านพิษณุโลก ออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย
- เนื่องจากรัฐบาลของ พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ ประกอบไปด้วยรัฐมนตรีที่เป็นผู้สูงอายุ และข้าราชการประจําที่เกษียณอายุแล้วจํานวนมาก สื่อมวลชนจึงตั้งฉายาให้ว่า "รัฐบาลขิงแก่"
แต่ก็มีสื่อมวลชนบางแขนง ตั้งฉายาให้ว่า ยุทธ ยายเที่ยง เนื่องจากมีคดีพัวพันเกี่ยวกับการโกงที่ดินเขายายเที่ยง และโดยที่นายกรัฐมนตรีเองถูกมองว่ามุ่งเน้นการรักษาคุณธรรม
จริยธรรม และในขณะเดียวกันก็ทาํ งานเชื่องช้า ทําให้ได้รับฉายาจากนายธีรยุทธ บุญมี อาจารย์ประจํามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าเป็น "ฤๅษีเลี้ยงเต่า" โดยตั้งล้อกับฉายาของ ม.ร.ว.
เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี ที่เคยได้รับฉายาว่า "ฤๅษีเลี้ยงลิง"
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ,ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ,ผู้บญ ั ชาการทหารบก
- ฉายา "บิ๊กแอ้ด"
- ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารประเทศ
25.สมัคร สุนทรเวช
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง 29 มกราคม 2551 – 9 กันยายน. 2551
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม , รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย , ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
- หัวหน้าพรรคพลังประชาชน , หัวหน้าพรรคประชากรไทย
- เสนอแนวคิดสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่
- ลดราคาสินค้าหมูเนื้อแดงขายจาก 120 บาท ต่อ กก. เหลือเพียง 98 บาท ต่อ กก.
- เสนอให้มีเปิดการบ่อนกาสิโนอย่างถูกต้องตามกฎหมายในประเทศไทย ซึ่งก็ได้รับทั้งความเห็นชอบและคัดค้านจากหลาย ๆ ฝุายเป็นอย่างมาก
- เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกทีเ่ คยดํารงตําแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ

26.สมชาย วงศ์สวัสดิ์
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง 18 กันยายน 2551 – 2 ธันวาคม 2551
- ในขณะที่สมชายดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทําเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร
สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทําการแทน
-อดีตรองนายกรัฐมนตรี ,กระทรวงศึกษาธิการ , กระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา
-อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม , ปลัดกระทรวงแรงงาน
- เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
- พ้นจากตําแหน่งนายกฯ เพราะศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้ยุบพรรคการเมืองที่ตนสังกัดอยู่

27.อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง 17 ธันวาคม 2551 – 5 สิงหาคม 2554
-หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ที่มีวาทศิลป์ในการพูด
-อดีตอาจารย์ประจําโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า และ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
-สมัยนายกอภิสิทธิ์กองทัพไทยปะทะกับกัมพูชาหลายครั้งระหว่าง พ.ศ. 2552−2553 ซึ่งเป็นการสู้รบนองเลือดที่สุดในรอบกว่าสองทศวรรษ
-ถูกตั้งข้อกล่าวหาฆ่าคนจากการสลายการชุมนุมเมื่อ พ.ศ. 2553 ซึ่งทําให้มีผู้เสียชีวิต 90 คน
-จัดทําพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับแรกของไทย
28.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
วาระการดารงตาแหน่ง 5 สิงหาคม 2554 – 7 พฤษภาคม 2557
- นายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของไทย
- อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
- พ้นจากตําแหน่งนายกรัฐมนตรีดว้ ยการยุบสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และรักษาการในตําแหน่งนายกรัฐมนตรี จนกระทั่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจาก
การรักษาการในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
– เผชิญปัญหามหาอุทกภัย ปี 2554
- 23 มกราคม 2558 สภานิติบัญญัติแห่งชาติลงมติถอดถอนยิ่งลักษณ์ออกจากตําแหน่งฐานละเลยต่อหน้าที่ต่อโครงการรับจํานําข้าว เป็นผลให้เธอถูกห้ามเล่นการเมืองห้าปี
นอกจากนี้ ยังถูกแจ้งข้อกล่าวหาทางอาญาต่อโครงการ ซึ่งอาจส่งผลให้ได้รับโทษจําคุกอีกหากพบว่ามีความผิด

29.พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา
วาระการดารงตาแหน่ง 24 สิงหาคม 2557 – ปัจจุบัน
- ทํารัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557
- หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
– อดีตผู้บัญชาการทหารบก
- แต่งเพลง คืนความสุขให้ประเทศไทย, เพราะเธอคือ...ประเทศไทย, ความหวังความศรัทธา, สะพาน, ใจเพชร, สู้เพื่อแผ่นดิน
รัฐธรรมนูญ
ฉบับที่ 1 พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475
(39 มาตรา) ถือเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกแห่งราชอาณาจักรสยาม ประกาศใช้เมือ่ วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระอักษรกํากับต่อท้ายชื่อพระราชบัญญัตินั้นว่า
"ชั่วคราว" สืบเนื่องมาจากพระองค์ทรงเห็นว่าหลักการประชาธิปไตยของผู้ก่อการฯ ไม่พ้องกันกับพระประสงค์ของพระองค์ แต่พระองค์ก็ทรงลงพระปรมาภิไธยเพราะเหตุการณ์ฉุกเฉินในขณะนั้น
ต่อมาได้ยกเลิก รัฐธรรมนูญฉบับนี้ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2475 เนื่องจากได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวร โดยมีนายกรัฐมนตรีที่บริหารประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญนี้ คือ พระยามโนปกรณ์
นิติธาดา โดยมีระยะเวลาบังคับใช้ 5 เดือน 13 วัน

ฉบับที่ 2 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475


(68 มาตรา) ประกาศใช้เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475 ร่างโดยสภาผู้แทนราษฎร แต่สภาผู้แทนราษฎรในครั้งนี้ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นบุคคลสําคัญของคณะราษฎรเกือบทั้งหมด จึงยังผลให้หลักการและ
แนวทางในการปกครองไทยที่กําหนดไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ มีความคล้ายคลึงกับรัฐธรรมนูญฉบับที่ 1แต่สิ่งที่แตกต่างคือมีการกําหนดหลักการปกครองตามแนวของ “การปกครองในระบบ
รัฐสภา” และเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2482 มีการแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามประเทศจาก “สยาม” เป็น “ไทย” ตามข้อเสนอของรัฐบาล ซึง่ มีพลตรี หลวงพิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ยังผลให้
ชื่อของรัฐธรรมนูญต้องเปลี่ยนเป็น “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย” ไปด้วย

ฉบับที่ 3 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489


(96 มาตรา) เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 10 พฤษภาคม 2489รัฐบาลของดร. ปรีดี พนมยงค์ ได้ให้เหตุผลในการนํารัฐธรรมนูญฉบับนี้ขึ้นใช้แทนรัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 ว่ารัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 ใช้มานานกว่า 14 ปีแล้ว
สมควรจะได้มีการปรับปรุงบทเฉพาะกาล และรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้บัญญัติให้มี 2 สภา คือ สภาผู้แทนราษฎรกับวุฒสิ ภา ประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการเลือกตั้งทั้งสิ้น กําหนดคุณสมบัติของผู้ที่
จะเป็นสมาชิกวุฒิสภาสูงกว่าของผู้ที่จะเป็นสมาชิกสภาผู้แทน นอกจากนั้น รัฐธรรมนูญฉบับนี้ยังได้มบี ทบัญญัติหา้ มมิให้ข้าราชการประจําเข้าดํารงตําแหน่งทางการเมืองในขณะเดียวกัน คือ
ข้าราชการประจําจะเป็นรัฐมนตรีหรือสมาชิกรัฐสภาในขณะเดียวกันไม่ได้ซึ่งย่อมหมายความว่า รัฐธรรมนูญฉบับนีต้ ้องการให้แยกข้าราชการประจํากับข้าราชการการเมืองออกจากกันโดยเด็ดขาด
นั่นเอง และรัฐธรรมนูญฉบับนี้เป็นรัฐธรรมนูญฉบับถาวรทีม่ ีอายุสั้นทีส่ ุด คือ มีอายุเพียง 18 เดือนเท่านัน้ ก็ถูกประกาศยกเลิกโดยคณะรัฐประหาร เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490
ฉบับที่ 4 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490
(98 มาตรา) มีอีกชื่อว่า รัฐธรรมนูญใต้ตมุ่ ได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2490 หรือหนึ่งวันหลังการรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน มีจอมพล ป.พิบูลสงคราม ผู้บัญชาการทหารแห่งประเทศไทย หรือ ผู้
บัญชาการทหารบก ในปัจจุบันเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการรวมระยะเวลาที่ใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ 1 ปี 4 เดือน 14 วัน

ฉบับที่ 5 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492


(118 มาตรา) หากเทียบรัฐธรรมนูญสี่ฉบับก่อนหน้าถือได้ว่าเป็นฉบับที่ดีที่สดุ จัดร่างโดยสภาผู้แทนราษฎร และประกาศและบังคับใช้เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2492 และถูกยกเลิกเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2494 โดยจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ทํารัฐประหารตนเอง ซึง่ ได้มีการกําหนดสิทธิเสรีภาพ ตลอดจนหน้าที่ของชนชาวไทย ให้มั่นคงขึ้น จัดให้มี แนวนโยบายแห่งรัฐ เป็นแนวทางสําหรับการ
ตรากฎหมายและการบริหารราชการ ห้ามรัฐมนตรีเป็นข้าราชการประจํา ห้ามรัฐมนตรีเป็นกรรมการที่ปรึกษาตัวแทนหรือลูกจ้างของบุคคล หรือห้างหุ้นส่วนหรือองค์การใด ๆ ซึ่งดําเนินธุรกิจเพือ่
การค้ากําไร เพื่อปูองกันผลประโยชน์ทับซ้อนและการทุจริต

ฉบับที่ 6 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2495


(123 มาตรา) ได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2495 สืบเนื่องจากภายหลังการ รัฐประหารตัวเอง ของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในชื่อ คณะบริหารประเทศชั่วคราว เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ.
2494 ได้มีการประกาศยกเลิก รัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2492 ที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อข้าราชการประจําทางคณะบริหารประเทศชั่วคราวจึงนํารัฐธรรมนูญ ปี 2475 แก้ไขเพิ่มเติม ปี 2483 มาปรับปรุง
แก้ไขเพิ่มเติมโดยกําหนดให้ข้าราชการประจําสามารถเป็นนักการเมืองและรัฐมนตรีได้นอกจากนี้ยังให้มี ส.ส. 2 ประเภทคือ ส.ส. ประเภทที่ 1 มาจากการเลือกตั้งโดยประชาชนและ ส.ส. ประเภทที่
2 มาจากการแต่งตั้ง รวมระยะเวลาประกาศใช้ทั้งสิ้น 6 ปี 7 เดือน 12 วัน

ฉบับที่ 7 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502


(20 มาตรา) เมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2502 โดยมี จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ หัวหน้าคณะปฏิวัติเป็นผูล้ งนามรับสนองพระบรมราชโองการโดยเป็นฉบับชั่วคราว โดยมาตราทีส่ ําคัญทีส่ ุดคือมาตรา 17 ที่ได้ให้
อํานาจของนายกรัฐมนตรีทั้งในทางบริหาร นิติบญั ญัติ และตุลาการธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรฉบับนี้ประกาศใช้มายาวนานถึง 9 ปี 4 เดือน 23 วันจึงได้ถูกยกเลิกไปเมื่อได้มีการ
ประกาศใช้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2511
ฉบับที่ 8 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511
(182 มาตรา) ซี่งได้มรี ัฐพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมือ่ วันที่ 20 มิถุนายน 2511 มีนาย ทวี บุณยเกตุ ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญเป็นผู้รับสนอง พระบรมราชโองการ รัฐธรรมนูญ
ฉบับนี้เริ่มต้นร่างเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2502 โดย สภาร่างรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีสมาชิกทั้งสิ้น 240 คนเพื่อใช้แทน ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502 ซึ่งใช้อยู่ขณะนั้น แต่
รัฐธรรมนูญฉบับนี้ก็ใช้เวลาร่างยาวนานถึง 9 ปี 16 วัน ภายหลังจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้ประมาณ 4 เดือน พระราชบัญญัติพรรคการเมือง ก็ได้ประกาศใช้เมื่อวันพุธที่ 9 ตุลาคม 2511
โดยพรรคการเมืองพรรคแรกที่จดทะเบียนก่อตั้งภายใต้พระราชบัญญัตินี้คือ พรรคสหประชาไทย ซึ่งจดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 24 ตุลาคม 2511 และมี จอมพลถนอม กิตติขจร
นายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าพรรค รัฐธรรมนูญฉบับนีส้ ิ้นสุดลงแล้วโดยการปฏิวตั ิตัวเองของ จอมพลถนอม กิตติขจร เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514 และได้มีการประกาศใช้คําสั่งและประกาศของ
คณะ ปฏิวตั ิเป็นกฎหมายปกครองประเทศแทน

ฉบับที่ 9 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515


(23 มาตรา) คณะรัฐประหารได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้เป็นแนวทางในการบริหารประเทศไปพลางก่อนโดย ประกาศใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ภายหลังจาก การปฏิวตั ิยึดอํานาจตัวเองของ จอม
พลถนอม กิตติขจร เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 เป็นผลสําเร็จโดยจอมพลถนอมเป็นผู้รับสนอง พระบรมราชโองการ ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับที่ 9 มีเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ทสี่ ําคัญคือ
“เหตุการณ์ 14 ตุลาคม2516” ซึ่งเป็นเหตุให้จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องพ้นจากอํานาจ ในหลวงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้นาย สัญญา ธรรมศักดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี เข้ามาคลี่คลาย
สถานการณ์

ฉบับที่ 10 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517


(238 มาตรา) รัฐธรรมนูญฉบับนี้เกิดหลังจากเหตุการณ์ วันมหาวิปโยค 14 ตุลาคม 2516 ประกาศใช้เป็นรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2517 เนื่องจากคณะกรรมการได้ใช้รัฐธรรมนูญฉบับ 2492 เป็น
แนวทางในการ พิจารณารัฐธรรมนูญฉบับนี้จึงวางแนวการปกครองไว้คล้ายกับรัฐธรรมนูญฉบับปี 2492 คือ ยึดถือหลักการของ "ระบบรัฐสภา" เป็นหลักในการปกครอง โดยมี สาระสําคัญ สรุปดังนี้
รัฐสภา ประกอบด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎรรัฐสภาจะประชุมร่วมกัน หรือแยกกันย่อมเป็นไปตามบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ วุฒสิ ภา ประกอบด้วยสมาชิกจํานวน 100 คน ซึง่
พระมหากษัตริย์ทรงเลือกและ แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิ มีอายุไม่ตา่ํ กว่า 35 ปีบริบูรณ์วาระในการดํารงตําแหน่ง คราวละ 6 ปี ในวาระแรกเมื่อครบ 3 ปี ให้ออกจากตําแหน่งกึ่งหนึ่งโดยวิธีจับ สลาก
และได้กําหนดให้วฒุ สิ ภามีอํานาจในการออกกฎหมายและควบคุมการบริหาร งานของคณะรัฐมนตรีเกือบเท่ากับสภาผู้แทนราษฎร สภาผู้แทนราษฎร ประกอบด้วย สมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้ง มี
จํานวนไม่น้อยกว่า 240 คน แต่ไม่เกิน 300 คน จํานวน ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้คํานวณตาม เกณฑ์ จํานวนราษฎรที่กําหนดไว้ใน กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร
วาระในการดํารงตําแหน่งคราว ละ 4 ปี คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอีกไม่เกิน 30 คน มีหน้าที่ในการบริหาร ราชการแผ่น ดิน พระมหากษัตริย์ทรงตั้ง นายกรัฐมนตรี
จะต้องเป็นสมาชิกสภาผู้ แทนราษฎรและรัฐมนตรีอีกไม่น้อยกว่ากึงหนึ่งของจํานวนรัฐมนตรีทั้งหมด จะ ต้องเป็นสมาชิกวุฒิสภาหรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประธานรัฐสภาเป็นผูล้ ง นามรับสนอง
พระบรมราชโองการตั้ง นายกรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญฉบับนี้กําหนด ไว้ว่าห้ามข้าราชการประจําดํารงตําแหน่งรัฐมนตรีและสมาชิกรัฐสภาโดยเด็ดขาด ซึ่งเท่ากับมอบอํานาจให้แก่ประชาชนอย่างเต็มที่
นอกจากนั้นรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ยังได้วางหลักประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชนไว้อย่างกว้างขวาง
ฉบับที่ 11 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519
(29 มาตรา) ภายหลังจากการยึดอํานาจ หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ได้มีคําสั่ง 6/2519 ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2519 แต่งตั้ง คณะเจ้าหน้าที่ทํางานกฎหมาย ขึ้นมา เพื่อทําหน้าที่ร่าง
รัฐธรรมนูญ และต่อมาได้ประกาศใช้ รัฐธรรมนูญฉบับนี้ในวันที่ 22 ตุลาคม 2519 หลังจากประกาศใช้ได้ 11 เดือน 28 วัน พล.ร.อ.สงัด ชะลออยู่ หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินก็
ทํารัฐประหารซ้ํา และยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวนี้ไป

ฉบับที่ 12 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520


(32 มาตรา) ได้ประกาศใช้ใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 ภายหลังจากการ ปฏิวัตยิ ดึ อํานาจจากรัฐบาลนาย ธานินทร์ กรัยวิเชียร โดย พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ หัวหน้า
คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 เป็นผลสําเร็จซึ่งหลังจากนั้น อีก 2 วันคือวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 พล
เอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เลขาธิการ คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน และ ผู้บญ
ั ชาการทหารสูงสุด ได้รับการแต่งตั้ง เป็น นายกรัฐมนตรี ธรรมนูญฉบับนีไ้ ด้บญ
ั ญัติไว้ทั้งสิ้น 32 มาตรา
และได้นํารัฐธรรมนูญมาตรา 17 สมัยจอมพลสฤษดิ์กลับมาใช้

ฉบับที่ 13 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521


(206 มาตรา) สภานิตบิ ัญญัติแห่งชาติ ได้ตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้จนแล้วเสร็จ จากนั้นสภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาและให้ความเห็นชอบ เมื่อได้มติเห็นชอบแล้ว ได้จึ้นทํล
เกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย ให้ประกาศใช้เมื่อ 22 ธันวาคม 2521 โดยได้สิ้นสุดการใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ เมื่อคณะรักษาความสงบเรียบร้อย (รสช.) นําโดย พล.อ.
สุนทร คงสมพงษ์ ได้ทําการรัฐประหาร ยึดอํานาจจาก พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น และประกาศยกเลิกเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2534 รวมเวลา 12 ปี 2 เดือน 1 วัน

ฉบับที่ 14 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534


(33 มาตรา) ภายหลังจากที่ ร.ส.ช. ได้ทําการยึดอํานาจแล้ว ก็กําหนดให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2521และวุฒสิ ภา สภาผู้แทนราษฎร คณะรัฐมนตรีสิ้นสุดลง โดยชี้แจงถึงเหตุผลและ
ความจําเป็นของการเข้ายึดและควบคุมอํานาจในการปกครอง ประเทศจากนั้น ร.ส.ช. จึงได้นําร่างธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2534 ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพือ่ ทรงลงพระ
ปรมาภิไธย และประกาศใช้ เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2534 รัฐธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรฉบับนี้ มีระยะเวลาการใช้บังคับสั้นมาก คือ เพียง 9 เดือน กับอีก 8 วัน เท่านั้น ก็จึงถูก
ยกเลิกไป จากผลของการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2534 เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2534

ฉบับที่ 15 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534


(223 มาตรา) ประกาศใช้ เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2534 นั้นในที่สุด เมื่อรัฐธรรมนูญนี้ มีผลบังคับใช้ บทบัญญัติมาตรา 159 ก็ได้เปิดโอกาสให้เชิญบุคคลภายนอกมาเป็นนายกรัฐมนตรีได้ และหลังจากที่มี
การเลือกตั้งทั่วไปตามรัฐธรรมนูญนี้ เนื่องด้วยปัญหาบางประการ ทําให้พรรคการเมืองที่ได้เสียงข้างมากในฐานะพรรคแกนนําในการจัดตั้งรัฐบาล ได้เชิญนายทหารในคณะ ร.ส.ช. คือ พล
เอก สุจินดา คราประยูร ให้มาเป็นนายกรัฐมนตรี พร้อมกับเหตุผลทีว่ ่า “เสียสัตย์เพื่อชาติ” ซึ่งนับว่าเป็นการทวนกระแสกับความรู้สึกของประชาชนไม่น้อยประชาชนซึ่ง รวมตัวกัน
ประท้วง ในช่วงระหว่าง วันที่ 17 ถึง 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 แต่ทว่ากลับเป็นการนําไปสู่เหตุการณ์นองเลือดที่เรียกกันว่า เหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ในที่สุด ซึ่งต่อมา สถานการณ์ต่างๆ
ก็บีบรัดจนทําให้พลเอกสุจินดาต้องลาออกจากตําแหน่งนายกรัฐมนตรีไปอย่างใจจํายอมรัฐธรรมนูญฉบับประวัติศาสตร์นี้ มีระยะเวลาใช้บังคับรวมทั้งสิ้น 5 ปี 10 เดือน 2 วัน ซึ่งได้ถูก
"ยกเลิก" เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2540 โดยการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
ฉบับที่ 16 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
(336 มาตรา) เป็นกฎหมายสูงสุดว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองประเทศไทยที่เป็นลายลักษณ์ อักษร ฉบับที่ 16 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่ 11
ตุลาคม พ.ศ. 2540 ปัจจุบันรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้สิ้นสุดลงแล้ว ด้วยการรัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549รัฐธรรมนูญฉบับ พ. ศ. 2540 นี้ถือเป็นรัฐธรรมนูญที่ริเริ่มขึ้นโดย
พรรคชาติไทย นายบรรหาร ศิลปอาชานายก รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวถูกเรียกว่าเป็น "รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน" เนื่องจากการมีส่วนร่วมของประชาชนในการร่าง

ฉบับที่ 17 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549


(39 มาตรา) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 102 ก ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 มี 39 มาตราเป็นรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวที่หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ หลังจากที่ได้กระทําการรัฐประหารเป็นผลสําเร็จ เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549คณะ ปฏิรูปการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ได้แต่งตั้งทีมงานนักกฎหมายเพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวนี้ ซึ่งเริ่มต้น ประกอบด้วยนายมีชัย ฤชุพันธุ์ ซึ่งเป็นผู้ร่างรัฐธรรมนูญ
หลายฉบับ, นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ และวิษณุ เครืองาม แต่หลั งการประกาศชื่อ สองคนนี้ได้ลาออกเนื่องจากได้รับเสียงวิจารณ์ว่าเคยร่วมงานกับขั้วอํานาจเก่า ของรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร
ภายหลังนายมีชัยได้ลาออกจากการเป็นหัว หน้าทีมร่างรัฐธรรมนูญ โดย คปค. ได้แต่งตั้งนายจรัญ ภักดีธนากุล ซึ่งในช่วงนั้นดํารงตําแหน่งเลขาธิการประธานศาลฎีกา ทําหน้าที่แทน

ฉบับที่ 18 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550


(309 มาตรา) จัดร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ในระหว่าง พ.ศ. 2549-2550 ภายหลังการรัฐประหารในประเทศโดย คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข (คปค.) เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 โดยร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550และมีผล
ใช้บังคับเป็นกฎหมายทันที แทนที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549
ฉบับที่ 19 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
(48 มาตรา) จัดร่างโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) คณะผู้ยึดอํานาจการปกครองหลังรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระราชทานพระบรมราชานุญาตและลงพระปรมาภิไธยเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 โดยมีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติเป็นผู้ รับสนองพระ
บรมราชโองการรัฐธรรมนูญฉบับนี้ถูกวิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าไม่เป็นประชาธิปไตยและยิ่งเสริมอํานาจของทหาร โดยมาตรา 48 ซึ่งนิรโทษกรรมความผิดของทหารทั้งในอดีตและอนาคต และ
ให้สิทธิคณะรักษาความสงบแห่งชาติในการออกคําสัง่ ใดๆ เพื่อการปฏิรูปหรือความมั่นคง และคําสั่งเหล่านั้นถือว่าชอบด้วยกฎหมาย มาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ที่ให้อํานาจแก่หัวหน้าคณะ
รักษาความสงบแห่งชาติเหนืออํานาจของฝุายบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการซึ่งคล้ายคลึงกับธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502 มาตรา 17 ที่จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็น
ผู้ร่าง ทําให้ผู้เผด็จการสั่งการฆ่าคนนอกกระบวนการยุติธรรมได้ โดยจอมพลสฤษดิ์ สั่งประหารชีวิตบุคคลจํานวนมากที่ถูกกล่าวหาความผิดอาญาโดยไม่มีการไต่สวนในศาลอย่างเหมาะสม
อาชญากรรมที่ถูกกล่าวหานั้นมีตั้งแต่วางเพลิง เป็นคอมมิวนิสต์ ประกาศตนเป็นนักบุญซึ่งจอมพลสฤษดิ์ เห็นว่าเป็นภัยคุกคามต่อราชบัลลั งก์ นักการเมืองจากพรรคเพื่อไทยและพรรค
ประชาธิปัตย์แสดงความกังวลต่อมาตรานี้ และขอให้ คสช. ใช้อํานาจในมาตรานี้ตามความจําเป็น

ฉบับที่ 20 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560


(279 มาตรา) ร่างโดยคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ มีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระราชโองการ โดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้
ลงนามคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจํานวน 21 คนโดย มีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นประธาน รัฐธรรมนูญฉบับนี้ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงลง
พระปรมาภิไธยเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560 ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม พระราชวังดุสิต กรุงเทพมหานคร

You might also like