You are on page 1of 28

ตัวแสดง ในความสัมพันธ์

ระหว่างประเทศ
1.ตัวแสดงที่เป็นรัฐ (State actor) 2.ตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ (Non-state actor)
- เป็นตัวแสดงที่สําคัญที่สุด 2.1 องค์การระหว่างประเทศ (International Organization)เกิดขึ้น
- รัฐดําเนินนโยบายต่างประเทศเพื่อผลประโยชน์แห่งชาติของรัฐ จากการรวมตัวของสมาชิกที่เป็นรัฐ และดําเนินการอย่างเป็นทางการ
- ไม่มีอะไรบังคับรัฐได้ เพราะรัฐมีอํานาจอธิปไตย โดยรัฐบาลของรัฐสมาชิก มีทั้งองค์การระดับโลก และระดับภูมิภาค
- IR ระหว่างรัฐ เป็นตัวกําหนดความเป็นไปของระบบระหว่างประเทศ แต่ละองค์กรมีจุดเน้นในภารกิจที่แตกต่างกัน เช่น ด้านการเมือง ด้าน
ความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ ด้านอื่นๆดังนั้น มีวิธีแบ่งประเภทองค์การ
- รัฐ เกิดขึ้นจาก “สนธิสัญญาเวสต์ฟาเลีย” (Westphalia Treaty ระหว่างประเทศ ได้ 2 แบบ
1648) เป็นที่มาของหลักการที่ว่า - แบ่งตามพื้นที่ ระดับภูมิภาค – ระดับโลก
° รัฐต้องมีดินแดนที่แน่นอน - แบ่งตามหน้าที่หรือภารกิจ เช่น ด้านการเมือง ความมั่นคง
° รัฐต้องมีรัฐบาลเป็นของตัวเอง เศรษฐกิจ สาธารณสุข ฯลฯ
° รัฐต้องมีประชากร 2.2 บรรษัทข้ามชาติ (Multinational Corporation : MNC) คือ
° รัฐต้องมีอํานาจอธิปไตย องค์กรธุรกิจที่ดําเนินกิจการในหลายรัฐ
2.3 องค์การข้ามชาติ (Transnational Organization) คือ ตัวแสดงที่
รูปแบบของรัฐ มีบทบาทกว้างขวางเกินขอบเขตของรัฐใดรัฐหนึ่ง คือมีกิจการในรัฐอื่น
- รัฐเดี่ยว (Unitary State) รัฐที่มีเพียงรัฐบาลเดียวใช้อํานาจปกครอง ด้วย เช่น
ดินแดนทั้งหมด - กลุ่มเชื้อชาติ เช่น Zionism
- รัฐรวม (Composite State) รัฐที่มีรัฐบาลกลางกับรัฐบาลท้องถิ่น - ขบวนการก่อการร้าย เช่น Al Qaeda
° สหพันธรัฐ (Federal state) - กลุ่มการกุศล และกลุ่มศาสนา
รัฐที่เกิดจากการรวมตัวกันของรัฐเล็ก รัฐบาลท้องถิ่นมอบอํานาจ 2.4 ปัจเจกบุคคล (Individual) ได้แก่ บุคคลที่ดําเนินกิจกรรมบาง
อธิปไตยบางส่วนให้รัฐบาลกลางดูแล คือ ด้านกลาโหม และด้านการ ประการ และมีผลในระดับระหว่างประเทศ เช่น เจ้าหญิงไดอานา ซึ่ง
ต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ทําการรณรงค์การเลิกใช้กับระเบิด
° สมาพันธรัฐ (Confederal State )
รัฐที่เกิดจากการรวมตัวกันของรัฐเล็ก มารวมตัวกันโดยสนธิสัญญา
บางอย่าง เช่น สวิตเซอร์แลนด์ และ อเมริกาสมัย 13 รัฐ
** รัฐจะมีอานาจมากหรือน้อย ขึ้นอยูก่ ับปัจจัยดังนี้
1. ขนาด + ที่ตั้งของประเทศ
2. สิ่งแวดล้อมทางการเมือง + ยุทธศาสตร์
3. ทรัพยากรธรรมชาติ
4. เศรษฐกิจ การค้า และ อุตสาหกรรม
5. แสนยานุภาพของกองทัพ
6. ความสงบและเอกภาพภายในรัฐ
7. ผู้นําของรัฐ
8. ทรัพยากรมนุษย์
รูปแบบของรัฐ

รัฐเดี่ยว (เอกรัฐ) รัฐรวม (สหพันธรัฐ)


- รัฐที่มีรัฐบาลกลางเพียงรัฐเดียวใช้อํานาจอธิปไตยปกครองดินแดนทั้งหมด มีรัฐบาล 2 ระดับ คือ รัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่นของแต่ละมลรัฐ
- รัฐอาจจะจัดระบบการปกครองให้มีหน่วยปกครองระดับรองกระจายอยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของ - รัฐบาลกลางของรัฐรวมจะใช้อํานาจอธิปไตยในส่วนที่เกี่ยวกับผลประโยชน์ของรัฐ
รัฐ เพื่อให้บริการหรือให้ความสะดวกแก่คนในรัฐ ทั้งหมด หรือผลประโยชน์อันเป็นส่วนรวมของรัฐ เช่น การติดต่อกับต่างประเทศ การ
- การปกครองแบบนี้มักเกิดขึ้นในประเทศที่มีอาณาเขตไม่กว้างขวางมาก ท้องถิ่นมีลักษณะไม่ รักษาความมั่นคงของชาติ การเงินและการคลัง เป็นต้น
ต่างกันมาก และประชาชนในรัฐมีความเกี่ยวข้องผูกพันกันในทางประวัติศาสตร์ - รัฐบาลท้องถิ่นมีอํานาจในการดําเนินกิจการอันเกีย่ วข้องกับท้องถิ่นโดยเฉพาะ เช่น การ
จัดการศึกษา การรักษาความสงบภายใน การรักษาสุขภาพของประชาชนเป็นต้น
ข้อดีมี ข้อดี
- ความเป็นเอกภาพสูง เนื่องจากรวมอํานาจไว้ที่ศูนย์กลาง - การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นไปอย่างทั่วถึง สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
- มีความเป็นปึกแผ่น มั่นคง - ลดภาระของรัฐบาลกลาง
- ประหยัดงบประมาณในการปกครองประเทศ
- ปฏิบัติงานเป็นระบบเดียวกัน
ข้อเสีย ข้อเสีย
- การจัดบริการสาธารณะทุกเรื่องตลอดทั่วประเทศ ก่อให้เกิดความล่าช้าในการวินิจฉัยสั่งการ
- อํานาจการปกครองของส่วนกลางน้อยลง ซึ่งอาจทําลายเอกภาพความมั่นคงของรัฐได้
- หารรัฐนั้นมีอาณาเขตกว้างขวาง อาจทําให้การดูแลและการบริหารไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่มีศึกสงครามหรือภาวะฉุกเฉิน และอาจทําให้สิ้นเปลือง
ค่าใช้จ่าย
ประเทศที่มีรปู แบบของรัฐเดีย่ ว ประเทศที่มีรปู แบบของรัฐรวม
ไทย ฝรั่งเศส ตุรกี ญี่ปุน ลิกเตนสไตน์ สเปน ลาว โมนาโก มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา พม่า แคนาดา อินเดีย เยอรมนี
นิวซีแลนด์ สิงคโปร์ อิตาลี สวีเดน นอร์เวย์ ฟิลิปปินส์ เดนมาร์ก อินโดนีเซีย อังกฤษ ออสเตรเลีย รัสเซีย สวิตเซอร์แลนด์ จีน
ตูนิเซีย
Taliban Hezbollah
ขบวนการก่อการร้าย ความเป็ น มา : ทาลี บั น หรื อ พวกกบฏหั ว รุ น แรงในประเทศ ความเป็นมา : ก่อตั้งขึ้ นในปี ค.ศ.1982 โดยชาวมุสลิมหัวรุนแรงนิกาย
Afghanistan ได้ชื่อ Taliban มาจากคําว่า Talib ซึ่งมีรากศัพท์มาจาก Shiite กลุ่ม Islamic Jihad เพื่อตอบโต้ในเหตุการณ์ที่อิสราเอลรุกราน
Aden Abyan Islamic Army ภาษาอาหรับที่แปลว่า นักเรียน แต่เดิมนั้นพวก Taliban เป็นนักเรียน เลบานอน ซึ่งมี Sheikh Mohammed Hussein Fadlallah เป็นหัวหน้า
ความเป็นมา : เป็นองค์กรกองกําลังทางทหารมุสลิมซึ่งมี ที่ตั้งอยู่ทาง ในโรงเรียนศาสนาอิสลามในประเทศปากีสถาน ในปี 1993 นักเรียน องค์กร ปัจจุบันมีฐานที่มั่นอยู่ในเขตผู้ลี้ภัยชาวเลบานอน กรุงเบรุต และทาง
ใต้ของประเทศเยเมน ซึ่งก่อตั้งโดย Zein al-Abideen al-Mehdar นอกกลุ่ ม นี้ เมื่ อ เดิ น ทางกลั บ ประเทศอั ฟ กานิ ส ถานได้ นํ า ความคิ ด ตอนใต้ของเลบานอน
หรือที่รู้จักในนาม Abu El-Hassan El-Mohader เดือนธันวาคม ทางการเมืองมาพัฒนาประเทศพวกเขาตั้งกลุ่ม ต่อต้านทางทหารด้วย วัตถุประสงค์ : มีจุดมุ่งหมายที่จะก่อตั้งรัฐอิสลามรูปแบบเดียวกับอิหร่าน
1998 ภายหลังก่อคดีลั กพาตัวชาวต่างชาติจํานวน 16 คนในเมือง พวกทาลี บั น มี ค วามเชื่ อ ทางศาสนาอิ ส ลาม ลั ท ธิ ซุ ห นี่ และเชื่ อ ว่ า และตั้งตนเป็นศัตรูกับอิสราเอล นอกจากนั้นองค์กร HIZBOLLAH ยังมี
Abyan เพื่อเรียกค่าไถ่ได้ถูกรัฐบาลเยเมนกวาดล้างและได้เสียชีวิต ศาสนาเป็นส่วนหนึ่งของ กฏหมายและการปกครอง ในปี 1996 พวก บทบาทในการเมืองของเลบานอนอีกด้วย อาทิ ในการเลือกตั้งภายในของ
พร้อมกับตัวประกันอีก 4 คน ภายหลังองค์กรดังกล่าวยังต้องสงสัยว่า ทาลิบ านยึ ดอํ านาจควบคุม การเมื องและการทหารของประเทศได้ ประเทศ ในปี ค.ศ.2005 มีสมาชิกขององค์กรได้รับเลือกจํานวน 14 ที่นั่ง
มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งกั บ USS Cole bombing ในเมื อ งAden สําเร็จ นักเรียนกลุ่มนี้ได้ชื่อว่าเป็นพวกหัวรุนแรง เนื่องจากพวกเขาชิง จากจํานวนสมาชิกในรัฐสภา 128 ที่นั่ง
วัตถุประสงค์ : ประกาศตัวเป็นแนวร่วม al-Jihad และพร้อมต่อสู้กับ อํานาจด้วยความความรุนแรง และเป็นพวกเถรตรง มีความเชื่อมั่นใน
Abu Sayyaf Group (ASG : al Harakat al Islamiyya)
ความไม่เชื่อเกี่ ย วกั บแนวคิดดังกล่าวในประเทศเยเมนรวมถึงชาติ อุดมการณ์ของตน และไม่ยอมอ่อนข้อให้กับผู้ใด เหมือนที่เขาเรียกว่า
ความเป็นมา : เป็นกลุ่มมุสลิมแบ่งแยกดินแดนหัวรุนแรง ซึ่งแยกตัวออก
อาหรับ extremist หรือสุดขั้วในภาษาอังกฤษ
จากกลุ่ม Moro National Liberation Front ในปี ค.ศ.1991 โดยมีที่ตั้ง
วัตถุประสงค์ : ยึดอํานาจควบคุมการเมืองและการทหารของประเทศ
Al-Qaeda ทางภาคใต้ของฟิลิปปินส์ เนื่องจากถูก Christian นิกายคาทอลิกเข้ามาแย่ง
อัฟกานิสถาน
ความเป็นมา : องค์กรก่อการร้าย Al Qaeda แต่เดิมเป็นองค์กร ดินแดน และครอบครองดินแดนจนกลายเป็นเมืองของชาวคาทอลิก (Abu
ความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการทหารของอิสลาม ซึ่งก่อตั้งขึ้น HAMAS (Harakat al-Muqawama al-Islamiyya) Sayyaf เป็นภาษาอาราบิก หมายถึง ผู้ถือดาบ Bearer of the sword)
ในปี ค.ศ.1988 โดย Abdullah Yusuf Azzam และเหล่าพันธมิตร ความเป็นมา : กลุ่ม HAMAS เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางทหารที่ยิ่งใหญ่ ผู้นําคนแรกของกลุ่ม Abu Sayyaf คือ Abdurajak Janjalani เป็นชาว
Afghan Arabs ภายหลังสงครามโซเวียตในอัฟกานิสถานสิ้นสุดลง และทรงอิทธิพลที่สุดของปาเลสไตน์ ก่อตั้งในปี ค.ศ.1978 โดย มุสลิ มในฟิ ลิปปิ นส์ ผู้เ คยเข้า ร่ว มสงครามโซเวีย ตในอัฟ กานิส ถาน โดยมี
(Osama Bin Laden คือผู้นําคนปัจจุบัน) Sheikh Ahmed Ismail Yassin โดยหลังจากการตายของผู้นํา Muhammad Jamal Khalifa นักธุรกิจซาอุดิอาระเบียที่อาศัยอยู่ใน
วั ต ถุ ป ระสงค์ : เป็ น องค์ ก รก่ อ การร้ า ยที่ นํ า ชาวมุ ส ลิ ม ต่ อ สู้ กั บ ปาเลสไตน์ Yasser Arafat กลุ่ม HAMAS ได้กลายเป็นกลุ่มที่ทรง ฟิลิปปินส์เป็นผู้ให้การสนับสนุนด้านเงินทุน
สหรัฐอเมริกาและเหล่าพันธมิตร และขับไล่ชนชาติตะวันตก และ อิทธิพลทางด้านการเมืองของปาเลสไตน์ วัตถุประสงค์ : ก่อความรุนแรงหลายรูปแบบแก่ชาวคริสเตี ยน ทั้งนี้เพื่อ
บุคคลที่มิใช่ชาติมุสลิมออกจากชาติมุสลิม โดยมีเปูาหมายอยู่ที่การ วัตถุประสงค์ : เป็นกลุ่มที่รวมแนวคิดกู้ชาติของปาเลสไตน์ กับหลัก ต้องการแบ่งแยกดินแดนทางภาคใต้ให้อยู่ในความปกครองของชาวมุสลิม
โจมตีพลเมืองและเปูาหมายทางทหารที่สําคัญในหลายประเทศ หนึ่ง ของศาสนาอิสลามโดยมีพันธสัญญาของกลุ่มในการทําลายล้างชาติ นอกจากนี้ยังมีความสัมพันธ์กับกลุ่มก่อการร้ายข้ามชาติซึ่งเป็นชาวมุสลิมหัว
ในการก่อวินาศกรรมที่สําคัญที่สุด คือ การก่อวินาศกรรมเมื่อวันที่ อิสราเอล และแทนที่ด้วยรัฐอิสลามปาเลสไตน์ ณ เขต West Bank รุนแรง รวมทั้งเคยวางแผนที่จะลอบปลงพระชนม์สมเด็จพระสันตะปาปา
11 กันยายน 2001 ณ สหรัฐอเมริก า การวินาศกรรมในครั้งนั้น และ Gaza ซึ่งจะไม่มีการต่อรองหรือเจรจาใดๆ ทั้งสิ้น จอห์นปอลที่ 2 ในระหว่างเสด็จเยือนฟิลิปปินส์ และวางแผนก่อวินาศกรรม
ตามมาซึ่งการที่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาประกาศสงครามกับ Al Qaeda กับสถานที่สําคัญ ๆ อีกหลายแห่ง โดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกากล่าวหาว่ากลุ่ม
ซึ่งถูกเรียกว่า War on Terror ก่อการร้าย Abu Sayyaf เป็นกลุ่มก่อการร้ายเครือข่ายของ Osama Bin
Laden
ISIS (Islamic State of Iraq and Syria)

2549 กลุ่มอัลกออิดะห์ในอิรักซึ่งอยู่ภายใต้การนําของ อาบู มูซาบ อัล-


ซาคาวี มีเปูาหมายสําคัญคือการรวมกลุ่มผู้ทําสงครามต่อต้านชาวมุสลิม
เริ่มแรกเกิดจากความร่วมมือของประมุขของประเทศในยุโรปหลังสงครามนโป
ชีอะห์เข้าด้วยกัน และก็ประสบผลอย่างน่าพอใจเมื่อสามารถระเบิด
เลียนสิ้นสุดลง เกิดการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนา ( ค.ศ 1815 )
มัสยิดอัล-อัสกอรี มัสยิดสําคัญของชาวชีอะห์ในเมืองซามาร์ราได้สําเร็จ
องค์การระหว่างประเทศจึงเกิดขึ้น ต่อมาเมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้
แต่ในเวลาต่อมา อัล-ซาคาวี ถูกสังหารโดยกองกําลังสหรัฐฯ ทําให้กลุ่ม ก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติขึ้ นจัดเป็ นองค์ก ารระหว่า งประเทศที่ ให้ความ
นักรบอัลกออิดะห์ในอิรักพลอยแตกฉานซ่านเซ็นและอ่อนแอลงจนแทบ ร่ ว มมื อ ทั้ งทางด้ า นการเมื อ ง สั งคมและเศรษฐกิ จ แต่ ใ นปั จ จุ บั น องค์ ก าร
ถูกทําลายราบคาบ แต่ก็ไม่เป็นเช่นนั้น เมื่อในที่สุดกองทัพสหรัฐฯ ได้จาก ระหว่างประเทศทํางานเฉพาะด้านเป็นส่วนใหญ่
อิรักไปพร้อมกับผู้เชี่ยวชาญสถานการณ์สงครามและการรับมือกลุ่มนักรบ
อิสลาม ความขาดแคลนทหารมากประสบการณ์ของอิรัก ประกอบกับ
การแบ่งแยกย่อยของกองทัพไปตามแนวเขตแดนต่าง ๆ ความขาดแคลน
องค์การระหว่างประเทศ หมายถึง องค์การที่ประเทศหรือรัฐ ตั้งแต่สองรัฐขึ้นไปรวมกันจัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นกลไกอย่างหนึ่งใน
ยุทโธปกรณ์สําหรับใช้ในยามจลาจล และความหย่อนประสิทธิภาพของ
การลาดตระเวน ทําให้ในเวลาเพียงไม่นานกลุ่มอัลกออิดะห์ก็ก่อตัวขึ้น การดําเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมทั้งสนับสนุนความร่วมมือและพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
ใหม่ ภายใต้ชื่อ ISI (กลุ่มรัฐอิสลามในอิรัก) ก่อนจะ เพิ่ม ซีเรีย (Syria) และสังคมของรัฐสมาชิกและมวลมนุษยชาติ
เข้าไปในภายหลัง กลายเป็น ISIS อย่างที่เรารู้จักในปัจจุบัน
บทบาทขององค์การระหว่างประเทศ
กลุ่ม ISI ใช้ประโยชน์จากความหวาดวิตกชาวมุสลิมสุหนี่ ที่เกรงว่าพวก - องค์การระหว่างประเทศทางสังคม มีหน้าที่และบทบาทสําคัญในการแก้ปัญหาทางสังคม วัฒนธรรมและมนุษยธรรม อัน
ตนจะถูกข่มเหงกดดันจากรัฐบาลของนายนูริ อัล-มาลิกิ ซึ่งเป็นชาวมุสลิม เนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีเพื่อก่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้าและดํารงชีวิตอย่างมีความสุข
ชีอะห์ ประกอบกับการจับนักการเมืองอาวุโสที่เป็นชาวสุหนี่และการ ของมวลมนุษยชาติ เช่น วางมาตรฐานการปฏิบัติของรัฐในเรื่องเกี่ยวกับกิจการภายในของรัฐ เช่น สิทธิมนุษยชน แรงงาน
ปราบปรามการลุกฮือของชาวสุหนี่ คอยปลุกระดมและรวบรวมพรรค
- มุ่งแก้ปัญหาเศรษฐกิจของสังคมโลก ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจและให้ปฏิบัติตามกติกา เช่น เป็นตัวกลางทางการเงิน
พวกภายใต้แนวคิดเดียวกันขึ้นมา
ตลอดจนอํานวยความสะดวกด้านการเงิน ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประเทศที่กําลังพัฒนานําไปลงทุนพัฒนาประเทศ
วัตถุประสงค์ : คือการจัดตั้งรัฐอิสลามขึ้นมา ISIS ได้สร้างกฎหมายของ
- มุ่งเพื่อรักษาสันติภาพและประสานความสัมพันธ์ระหว่างประเทศให้เกิดความมั่นคง เช่น ยุติกรณีพิพาทด้วยสันติวิธี โดยวิธี
ตนเองที่เรียกว่า กฎชารีอะห์ (Sharia law) อันตราขึ้นจากบัญญัติศาสนา
อิสลาม เพื่อควบคุมผู้คน ชารีอะห์เป็นกฎหมายที่เข้มงวดกวดขัน ลงโทษ ทางการทูต การไกล่เกลี่ย การเจรจา และการประนีประนอม สนับสนุนการลดกําลังอาวุธ และการควบคุมอาวุธ การห้ามทดลอง
กันอย่างรุนแรงจริงจัง และควบคุมครอบคลุมทุกด้านของชีวิต ไม่ใช่เพียง อาวุธนิวเคลียร์ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงร่วมกัน
มิติทางศาสนา
อาบู บัค อัล-บัคดาดี ผู้นํากลุ่ม ISIS
สานักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่ง - มีภารกิจหลักคือ เป็นผู้นําและประสานงานในการรวบรวมความช่วยเหลือจากนานาประเทศ เพื่อปกปูองและแก้ปัญหาของผู้ลี้ภัยทั่วโลก และการปกปูอง
สหประชาชาติ (United Nations High สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ลี้ภัย โดยเฉพาะสิทธิที่จะอาศัยอยู่อย่างปลอดภัยในรัฐอื่น เพื่อเตรียมพร้อมสําหรับทางออกที่ยั่งยืน ซึ่งได้แ ก่การเดินทางกลับภูมิลําเนา
Commissioner for Refugees : เดิมโดยสมัครใจ (voluntary repatriation) การตั้งถิ่นฐานในรัฐผู้รับ (local integration) หรือการไปตั้งถิ่นฐานในประเทศที่สาม (third country
UNHCR) resettlement)
- ก่อตั้งขึ้นในช่วงต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง เพื่อช่วยเหลือชาวยุโรปพลัด ถิ่นอันเนื่องมาจากความขัดแย้งดังกล่าว ได้รับการผ่านมติและนํามาใช้ในวันที่ 28
กรกฎาคม ในปีพ.ศ. 2499
- พ.ศ. 2497 ยูเอ็นเอชซีอาร์ซึ่งเป็นองค์กรใหม่ในขณะนั้นได้รับรางวัลโนเบลในสาขาสันติภาพสําหรับการริเริ่ม การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ลี้ภัยในยุ โรป และ
ได้รับรางวัลโนเบลอีกในปีพ.ศ. 2524 สําหรับการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ลี้ภัยทั่วโลก

องค์การแรงงานระหว่างประเทศ - เกิดขึ้นพร้อมกับการก่อตั้งสันนิบาตชาติ (The League of Nations) เมื่อ พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919) ภายใต้สนธิสัญญาแวร์ซายส์ (Treaty of Versailles)
(International Labour - ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศผู้ก่อตั้งที่ได้เข้าร่วมการเป็นสมาชิกขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
Organization : ILO) - วางรากฐานทางด้านแรงงานระหว่างประเทศ เป็นกิจกรรมหลักขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ ทางด้านสิทธิมนุษยชน เช่น ความปลอดภัยในการ
ทํางาน ค่าแรงที่ยุติธรรม และสภาพการทํางานที่เหมาะสม

องค์การอนามัยโลก (World Health - เป็นทบวงการชํานาญพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งรับผิดชอบการประสานงานด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ


Organization : WHO) - ก่อตั้งเมื่อ 7 เมษายน ค.ศ. 1948 สํานักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และมีสํานักงานส่วนภูมิภาคตั้งอยู่อีกใน 6 เมือง ได้แก่บราซาวีล
, วอชิงตัน ดี.ซี., ไคโร, โคเปนเฮเกน, นิวเดลี และ มะนิลา
- มีหน้าที่อํานวยความช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ ตามความต้องการเมื่อได้ร้องขอมา จัดให้บริการด้านสุขภาพอนามัยแก่ประเทศต่างๆทั่วโลก ส่ งเสริมและ
ประสานงานด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ระหว่างชาติเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพต่างๆ อันไม่อาจดําเนิ นไปได้โดยลําพังของแต่ละประเทศ และทําหน้าที่
แก้ปัญหาโรคที่ยังไม่สามารถรักษาได้ เช่น ซาร์ส ไข้หวัดนก

องค์การอาหารและการเกษตรแห่ง - เป็นหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติที่มีเปูาหมายในการพัฒนามาตรฐานอาหารและสารอาหาร รวบรวม วิเคราะห์ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้าน


สหประชาชาติ (Food and Agriculture โภชนาการ อาหาร การเกษตร ปุาไม้และประมง ให้ประเทศต่าง ๆ เพื่อนําไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการกําหนดนโยบายการเกษตร
Organization : FAO) - ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ในเมือง ควิเบกซิตี รัฐควิเบก ประเทศแคนาดา และในปี พ.ศ. 2490 ได้ย้ายสํานักงานใหญ่มาที่ วอชิงตัน ดี.ซี. และใน
ปัจจุบันสํานักงานใหญ่อยู่ที่โรม ประเทศอิตาลี
องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และ - เป็นทบวงการชํานัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488
วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United - มีสํานักงานใหญ่อยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
Nations Educational Scientific - ปัจจุบัน ยูเนสโกมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 195 ประเทศ ประเทศไทยเข้าเป็นรัฐสมาชิกขององค์การยูเนสโกเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2492 (ลําดับที่ 49)
and Cultural Organization- - โดยปกติ ยูเนสโกจะใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ แต่ในระหว่างการประชุมสมัยสามัญของยูเนสโกและการประชุมคณะกรรมการ
UNESCO) บริหารของยูเนสโก จะใช้ภาษาทีเ่ กี่ยวข้องถึง 6 ภาษา คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเชีย อาหรับ สเปน และจีน

องค์การการค้าโลก (World Trade - ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1995 อันเป็นผลมาจากการเจรจาการค้าพหุภาคีรอบอุรุกวัย ภายใต้การประชุมของความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศลุ กากรและ
Organization : WTO) การค้าหรือแกตต์ (General Agreement on Tariffs and Trade : GATT)
- ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิก WTO เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2538 เป็นสมาชิกลําดับที่ 59 มีสถานะเป็นสมาชิกก่อตั้ง
- มีสมาชิกผู้ก่อตั้ง 81 ประเทศ ปัจจุบันมีสมาชิก 164 ประเทศและดินแดน
- เลขาธิการคนปัจจุบันชื่อนายโรแบร์ตู อาเซเวดู เอกอัครราชทูตบราซิล
- ทําหน้าที่ดูแลข้อตกลงย่อย 3 ข้อตกลง คือ ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าและภาษีศุลกากร (General Agreement on Tariff and Trade; GATT) ที่
ดําเนินการมาก่อนหน้านี,้ ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ (General Agreement on Trade in Services; GATS) และ ความตกลงว่าด้วยการค้าที่
เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญาของการค้า (The agreement on Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights; TRIPS)

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ - ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2487 จากการประชุม United Nations Monetary and Financial Conference หรือ ที่รู้จักดีในนามของ Bretton
(International Monetary Woods Conference
Fund : IMF) - สํานักงานใหญ่อยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา และและมีฐานะเป็นทบวงการชํานัญพิเศษของสหประชาชาติ
- ทําหน้าที่สนับสนุนความร่วมมือทางการเงินระหว่างประเทศ สนับสนุนการค้าระหว่างประเทศให้ขยายตัวอย่างสมดุล เสริมสร้างเสถียรภาพในอัตรา
แลกเปลีย่ นเงินตราระหว่างประเทศ สนับสนุนการจัดตั้งระบบการชําระเงินระหว่างประเทศ และให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประเทศสมาชิกที่ประสบ
ปัญหาดุลการชําระเงิน

ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย - มีจุดมุ่งหมายเพื่อสนับสนุนระบบเศรษฐกิจ และการพัฒนาของประเทศแถบเอเชียและแปซิฟิก ผ่านการให้เงินกู้ และความสนับสนุนด้านเทคนิค


(The Asian Development - ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2509 โดยความช่วยเหลือของสหประชาชาติ มีประเทศเข้าร่วมก่อตั้ง 32 ประเทศ -
Bank : ADB) สํานักงานใหญ่อยู่ที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์
ผลกระทบของลัทธิดาร์วินที่มีต่อโลก ลัทธิดาร์วิน
“The White Man’s Burden” เกิดแนวคิดในระบบธุรกิจการค้าสมัยใหม่ของโลกทุนนิยม
ภาระของคนผิวขาว ระบบของธุ ร กิ จ หรื อ อุ ต สาหกรรมขนาดใหญ่ เ ป็ น การ
เติง้ เสีย่ ว ผิง
แนวคิดที่ว่าด้วย “ภาระคนขาว” ที่มาจากบทกวีซึ่งเขียน สะท้ อนถึ งการอยู่ รอดของผู้ที่ เหมาะสมที่สุ ดตามกฎของ
โดย รัดยาร์ด คิปลิง (Rudyard Kipling) เขียนขึ้นปี ธรรมชาติ ดั งนั้ น จึ งเป็ น ความชอบธรรมที่ จ ะต้ อ งแข่ งขั น
ค.ศ 1899 กลายมาเป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการสร้าง พัฒนาการผลิตของตนให้เหนือกว่าคู่แข่ง
ลัทธิจักรวรรดินิยมสมัยใหม่ และยังกลายเป็นรากฐาน
ความชอบธรรมให้สหรัฐอเมริกา เพื่อที่จะได้ก้าวขึ้นมามี เกิดการขยายตัวของลัทธิจักรวรรดินิยมมีผู้นําทฤษฎีของ
บทบาทหน้าที่ในสังคมโลก ดาร์วินไปขยายว่าคนผิวขาวเป็นชนชาติที่เหนือกว่าคนผิว
ดําและคนผิวเหลือง และนําไปอ้างว่าเป็น “ภาวะของคนผิว “Four Modernizations”
ขาว”ซึ่งมีสิทธิอันชอบธรรมที่จะเข้าไปปกครองดินแดนที่ล้า
นโยบายสีท่ นั สมัย
“ลัทธิไตรราษฎร์แผนใหม่”
ดร.ซุน ยัดเซ็น ได้ปรับปรุงใหม่ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ หลังและด้อยความเจริญในทวีปแอฟริกาและเอเชีย ในยุคที่เติ้ง เสี่ยวผิง ขึ้นมามีอํานาจ ในจีน ปี 1976 ซึง่ เป็นช่วงที่จีนกําลังดําเนิน
ลัทธิไตรราษฎร์แผนใหม่แห่งการปฏิวัติประชาธิปไตยของ นโยบายปฏิรูปความเจริญของบ้านเมือง ให้ทันสมมัย โดยเปิดประเทศรับ
เป็นผลให้
ชนชั้นนายทุนประเทศกึ่งเมืองขึ้นว่า วิทยาการจากภายนอกเข้ามาเพื่อพัฒนาให้ทัดเทียมกับประเทศตะวันตก หรือ
ชาติ ม หาอํ า นาจในยุ โ รปแข่ งขั น กั น ล่ า อาณานิ ค มในช่ ว ง
1. ลั ท ธิ ป ระชาชาติ มี ค วามหมาย 2 ด้ า นคื อ ปลดแอก พัฒนาจีนให้เป็นประเทศสังคมนิยมที่ทันสมัย โดยเน้นการพัฒนา 4 ด้าน
ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา /การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
ตนเองจากการถูกครอบงําของบรรดาจักรวรรดินิยม และ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การปูองกันประเทศ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเชื่ อ ที่ ว่ า ชนผิ ว ขาวเป็ น เผ่ า พั น ธุ์ ที่ เ กิ ด จากการ
การปลดแอกประชาชนที่ถูกกดขี่ให้มีความเสมอภาคกัน
เลือกสรรแล้ว ของธรรมชาติ ทําให้เกิ ดการสังหารผู้ คนใน
2. ลัทธิประชาสิทธิ คือ ประชาชนทุกคนมีสิทธิเสมอภาค ดินแดนอาณานิคมต่างๆรวมทั้งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว
กันโดยถ้วนหน้า ไม่ใช่ปล่อยให้อํานาจถูกผูกขาดไว้กับกลุ่ม ในยุโรปเกือบ6ล้านคนในสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2
Cobra Gold :CG
บุคคลหรือชนชั้นใด
คอบร้าโกลด์ ?
3. ลัทธิประชาชีพ คือ การเฉลี่ยสิทธิที่ดินและควบคุม ทุน เป็นการฝึกร่วม/ผสมทางการทหารระดับ พหุภาคีที่จดั ขึ้นเป็นประจําทุกปีในประเทศไทย เริ่มครั้งแรกจากการฝึกทวิภาคีระหว่าง
ดึงที่ดิ นที่ถูก ผูกขาดไว้ ในมื อคนกลุ่มน้อ ยออกมาปั นส่ว น ประเทศไทยกับสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2525 ต่อมาได้มีประเทศอืน่ ๆ เข้าร่วม ได้แก่ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย เกาหลีใต้ และญี่ปนุ
กระจายสิทธิการถือครองที่ดินทํากินให้คนส่วนใหญ่ของ
วัตถุประสงค์ คือ ปรับปรุงการทํางานร่วมกัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างชาติต่าง ๆ และช่วยส่งเสริมความสงบ
ประเทศ “ชาวนาต้องมีที่นาเป็นของตนเอง” ต่อสู้กับทุน
สุขและความมั่นคงในภูมิภาค การตอบสนองที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพหลังเหตุการณ์คลื่นสึนามิทเี่ กิดจากแผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย
เอกชนที่ควบคุมชีวิตของประชาชนคนส่วนใหญ่ไว้ในมือ พ.ศ. 2547 ส่วนหนึ่งเป็นผลที่ได้รบั จากการฝึกร่วมนี้
ลัทธิมอนโร เป็นการประกาศหลักการที่กําหนดความสัมพันธ์ของสหรัฐอเมริกากับละตินอเมริกา ได้รับชื่อจาก ประธานาธิบดีเจมส์มอนโร ผู้ซึ่งกล่าวสุนทรพจน์ต่อรัฐสภาครั้งแรกในปี ค.ศ. 1823ให้
ความสําคัญกับความคิดที่ว่าทวีปอเมริกาควรจะเป็นอิสระจากยุโรป ดังนั้นเขาจึงประกาศสนับสนุนประเทศลาตินอเมริกามั่นใจว่าความพยายามใด ๆ ในการล่าอาณานิคมของยุโรปจะเข้าใจได้ว่าเป็นการกระทํา
ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อสหรัฐอเมริกา ลัทธิมอนโรสรุปไว้ในวลี "อเมริกาเพื่อชาวอเมริกัน" ตามแนวคิดนี้สหรัฐอเมริกาสันนิษฐานว่ามีสถานะแข็งขันในการต่อต้านการแทรกแซงจากภายนอกในประเทศอเมริกา
นโยบายเพือ่ นบ้านทีด่ ี ปี 1934 ประธานแฟรงคลินรูสเวลต์ได้กาํ หนดนโยบายเพื่อนบ้านที่ดีและยกเลิกหลักคําสอนของมอนโร ตามประกาศใหม่นไี้ ม่มปี ระเทศใดมีสิทธิ์แทรกแซงการตัดสินใจของอีกประเทศ

Agent Orange "ฝนเหลือง"


" ขบวนการไซออนิสต์ ในยุค สงครามเวียดนาม ระหว่างปี 2504-2518 ฝนเหลืองเป็นสารกําจัดวัชพืชชนิด
รุนแรงที่ทหารอเมริกันใช้ฉีดพ่นเหนือผืนปุาอันกว้างใหญ่ของเวียดนามใต้ เพื่อทําลาย
(Zionism) " ลัทธิ ปุาที่หลบซ่อนของทหารเวียดกง แม้ว่าเหตุการณ์จะผ่านไปแล้ว 20 ปีเศษ แต่
ก่อการร้ายโลกเพือ่ จะครอง ผลกระทบของฝนเหลืองต่อระบบนิเวศ สภาพแวดล้อม และสุขภาพของคนใน
เวียดนามใต้ ยังคงปรากฎให้เห็นชัดเจน
โลก!
ขบวนการไซออนิสต์เริม่ ปรากฏเป็นรูปธรรมในปี ค.ศ.1897 เมือ่ นักหนังสือพิมพ์ชาวออสเตรีย เชื้อ
สายยิว ชื่อ ธีโอดอร์ เฮอร์ตเซิล (Theodore Hertzl) ได้จดั ประชุมใหญ่ผู้นํายิวคนสําคัญ ๆ ขึ้นเป็น 8888
ครั้งแรก ที่เมืองบาเซิล ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ มีผู้เข้าร่วมมากกว่าสามร้อยคน และที่ประชุมครั้งนั้นได้มี เหตุการณ์ 8/08/1988
มติให้จัดตั้งองค์การหนึ่งขึ้นมาเรียกว่า “องค์การไซออนิสต์สากล” (The world Zionist Organization) เป็นการประท้วงรัฐบาลที่เกิดขึ้นตั้งแต่ต้นปี 1988 ซึ่งทําให้ความสัมพันธ์ระหว่างนักศึก ษา
และกองทั พ แย่ ล งจนถึ งขั้ น แตกหั ก นํ า ไปสู่ ก ารปราบปรามนั ก ศึ ก ษาและประชาชนผู้
ประท้วงครั้งใหญ่ เมื่อปลายเดือนกรกฎาคม นายพลเน วิน ลาออกจากทุกตําแหน่งใน
“ ไม่วา่ แมวขาวหรือแมวดา ขอเพียงจับหนูได้กค็ อื แมวทีด่ ี ”ประโยคยอดนิยมของ รัฐบาลและกองทัพ แต่ก่อนที่เน วินจะลาออก เขาได้กล่าวสุนทรพจน์และทิ้งประโยค
ท่านผูน้ าเติง้ ที่คนุ้ หูกนั เป็ นอย่างดีนี ้ ท่านได้กล่าวอย่างเป็ นทางการครัง้ แรกเมื่อปี ค.ศ. 1962 ซึง่ สําคัญไว้ว่า “เมื่อกองทัพยิง คือยิงเพื่อฆ่า” (“When the army shoots, it shoots to
ขณะนัน้ จีนกาลังประสบกับปั ญหาผลผลิตทางการเกษตรตกต่า และบรรดาผูบ้ ริหารของประเทศต่าง kill.”) หลังจากนั้นไม่นาน กองทัพพม่าภายใต้การนําของผู้บัญชาการคนใหม่ พลเอก
ระดมความคิดเพื่อแก้วิกฤติที่เกิดขึน้ ทัศนะของเติง้ เสีย่ ว ผิงขณะนัน้ คือ “ในการจะฟื ้ นคืน เส่ง ลวิน ก็ทําตามที่ เน วิน เคยขู่ไว้จริง คือกองทัพไม่ได้ยิงเพื่อขู่ แต่ยิงเพื่อฆ่าเท่ านั้น
อุตสาหกรรมเกษตร มวลชนจานวนมากเรียกร้องขอได้รบั การจัดสรรพืน้ ที่ทากินของตนเอง และผล ตลอดปี 1988 การปะทะกันระหว่างกองทัพกับนักศึกษาทําให้มีผู้เสียชีวิตมาก ถึง
การสารวจยังได้สนับสนุนแนวคิดนี ้ ซึง่ ในช่วงระยะก้าวผ่านของแต่ละยุคสมัย หากวิธีการใดเป็ นผลดี 3,000 คน
แก่อตุ สาหกรรมการเกษตร ก็ให้ใช้วิธีการนัน้ กล่าวคือ ควรยึดแนวทางการปฏิบตั ิตามสถานการณ์ที่
เกิดขึน้ จริง ไม่ใช่คิดหรือปฏิบตั กิ นั อย่างสูตรตายตัว”
The Mount Rushmore National
ประเทศแลนด์ลอ็ ก : ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล
Memorial :
อนุสรณ์สถานแห่งชาติเขารัชมอร์ ทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาใต้
แกะสลั ก โดยชาวเดนมาร์ ก -อเมริ กั น ชื่ อ Gutzon คาซัคสถาน คอซอวอ ชาด โบลิเวีย
Borglum และลูกชายของเขาประติมากรรมเป็นใบหน้า คีร์กีซสถาน เช็กเกีย เซาท์ซูดาน ปารากวัย
ของอดีตประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา 4 ท่าน ได้แก่ เติร์กเมนิสถาน เซอร์เบีย ไนเจอร์
จอร์ จ วอชิงตั น (1732-1799), โทมัส เจฟเฟอร์ สั น ทาจิกิสถาน มอลโดวา บอตสวานา
(1743-1826) ทีโอดอร์ รูสเวล (1858-1919) และ อับ เนปาล มาซิโดเนีย บุรุนดี
ราฮัม ลินคอล์น (1809-1865) ภูฏาน ลักเซมเบิร์ก ลิก บูร์กินาฟาโซ
มองโกเลีย เตนสไตน์ ซิมบับเว
การก่อสร้างอนุสรณ์เริ่มต้นขึ้นในปี 1927 โดยแต่ละคน ลาว นครรัฐวาติกัน ยูกันดา
จะเป็นตัวแทนของอุดมการณ์ในแต่ละด้านของประเทศ อัฟกานิสถาน สโลวาเกีย รวันดา
ใบหน้าที่แกะสลักไว้เป็นท่านแรกคือ จอร์จ วอชิ งตัน อุซเบกิสถาน สวิตเซอร์แลนด์ เอธิโอเปีย
ประธานาธิ บ ดี ค นแรกของอเมริ ก าได้ รั บ เลื อ กเป็ น อาเซอร์ไบจาน ออสเตรีย
ประธานาธิบดีเมื่อปีค.ศ.1779 ด้านการสร้างชาติ อาร์มีเนีย ฮังการี
ท่านที่สองคือ โธมัส เจฟเฟอร์สัน ประธานาธิบดีคนที่
ผูน้ า 10 ประเทศในอาเซียน
สาม เกิดเมื่อปีค.ศ.1743 เจฟเฟอร์สันได้รับเลือกเป็น
ประธานาธิ บ ดี ถึ ง 2 สมั ย ติ ดกั น เป็ น ตั ว แทน ด้ า น นายก ไทย ประยุทธ์ จันทร์โอชา
ปรัชญาการเมือง นายก บรูไน สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านฮัสซานัล โบลเกียห์
นายก เวียดนาม เหวียน ซวน ฟุก
ท่านทีส่ ามคือ ธีโอดอร์ รูสเวลท์ ประธานาธิบดีคนที่ 26
นายก กัมพูชา สมเด็จอัคคมหาเสนาบดีเดโชฮุน เซน
ผู้ที่ทําให้โครงการขุดคลองปานามาสําเร็จลงได้ในปีค.ศ.
นายก สิงคโปร์ ลี เซียน ลุง
1903 เป็นตัวแทน ด้านการแผ่ขยายและอนุรักษ์
นายก ลาว ทองลุน สีสุลดิ
ท่านสุดท้ายคือ อับราฮัม ลินคอล์น ท่านผู้นี้ได้รับเลือก นายกมาเลเซีย มาฮาดีร์ บิน โมฮามัด
ให้เป็นประธานาบดีของอเมริกา เมื่อปีค.ศ.1860 และ ประธานาธิบดี พม่า วี่น-มหยิ่น
คนที่16 ของประเทศ เป็นตัวแทนด้านการสงวนรักษา ประธานาธิบดีอินโดนีเซีย นายโจโค วิโดโด
ประธานาธิบดี ฟิลิปปินส์ โรดรีโก ดูแตร์เต
ออสเตรีย-ฮังการี
สงครามโลกครั้งที่ 1 ประกาศสงครามกับ รุสเซียและฝรั่งเศส
เยอรมันเข้าช่วยเหลือออสเตรีย-ฮังการี-เยอรมัน
บุกผ่านเบลเยี่ยมเพื่อต่อสู้กับฝรั่งเศส
(World War : ค.ศ. 1914-1918) เซอร์เบีย (เข้ากับ เข้าช่วยเหลือ
-สาเหตุ : ปัญหาแหลมบอลข่าน (แถวตุรกี เซอร์เบียร์) ดินแดน พวกสลาฟ) เซอร์เบีย
ทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ,ผลจากการปฏิวตั ิ แต่เบลเยี่ยมได้รับความเป็น
อุตสาหกรรม, ลัทธิชาตินิยม (ความต้องการที่จะเป็นอาณาจักร กลางจากอังกฤษ-ดังนั้นอังกฤษ
เดียวกัน) ,แข่งขันด้านเศรษฐกิจ การเมือง แสนยานุภาพ เพื่อ ลาดับเหตุการณ์การเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 1 ประกาศสงครามกับเยอรมัน
เสริมสร้างอํานาจ ,ลัทธิจักรวรรดินิยม

-ชนวนสงคราม : การลอบปลงพระชนม์เจ้าชายฟรานซิส เฟอร์ดิ อังกฤษและฝรั่งเศสจึงประกาศสงครามกับออสเตรีย-


นานด์ องค์รัชทายาทของจักรวรรดิออสเตรีย- ฮังการี ขณะเสด็จ ฮังการี (การแบ่งฝุายในสงครามโลกครั้งที่ 1 อาศัย
ประพาสนครหลวงแคว้นบอสเนีย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 ผลประโยชน์เป็นสําคัญ)

-สาเหตุที่อเมริกาเข้าร่วมสงคราม เพราะเรือดําน้ําเยอรมันโจมตี เรือ ฝุายมหาอํานาจ ออสเตรีย-ฮังการี เยอรมัน


**เพิ่มเติม สนามเพลาะ คือแนวตั้งรับในการทําสงคราม
ต่างชาติโดยไม่มีขอบเขต กลาง ตุรกี บัลกาเรีย
ด้วยการขุดหลุมเพลาะ เป็นแนวยาวเหยียดหลาย
-ประธานาธิบดี วูดโรว์ วินสัน ประกาศหลัก 14 ประการ
แนวสลับซับซ้อนกัน ไป ด้านหน้าทําการสร้างลวดหนาม
-รัฐสภาอเมริกันไม่อนุมตั ิให้อเมริกาเข้าร่วมสมาชิกองค์การสันนิบาต ฝุายสัมพันธมิตร เซียร์เบีย รุสเซีย (รัสเซีย) ฝรั่งเศส อังกฤษ
ไว้ต้านทานทหารของฝุายข้าศึก ทหารจะอาศัยอยู่ในรูที่
ชาติ เพราะยึดลัทธิมอนโร ญี่ปุน อิตาลี โปรตุเกต โรมาเนีย ไทย จีน
ขุดเข้าไปใต้ดินเพื่อหลบลูกกระสุนปืนใหญ่ของข้าศึกและ
-ประเทศไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 1 เหตุผลทีไ่ ทยต้องเข้าร่วม 1 : ใช้หลับนอนอยู่อาศัย พอข้าศึกบุก ก็จะเข้าไปประจําใน สหรัฐอเมริกา
สงครามโลกครั้งที่1 ตรงกับรัชสมัยของรัชกาลที่ ๖ โดยไทยต้องเข้า สนามเพลาะทําการยิงปืนยาวสกัดข้าศึกที่ดาหน้าฝุาแนว
ร่วมฝุายสัมพันธมิตร เพราะต้องการแก้ไขความไม่เป็นธรรมของ ลวดหนาม เข้ามารวมทั้งใช้ปืนกลและปืนใหญ่ของฝุาย -ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
สนธิสัญญาเบาร์ริ่งสมัยรัชกาลที่ ๔ เดียวกันช่วยยิงสกัดข้าศึกด้วย พอจะทําการรุกทหารก็จะ 1 ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประเทศคู่สงครามทั้ง 2 ฝุาย
ผลของการเข้าร่วมสงครามโลกครัง้ ที่ 1ของประเทศไทย โดยไทยเข้า ขึ้นจากสนามเพลาะของตนวิ่งข้ามเขตปลอดคน(No man 2. ประเทศผู้แพ้สงครามถูกบังคับให้ทําสนธิสญ
ั ญา ได้แก่
ร่วมสงคราม อยู่ฝาุ ยสัมพันธมิตร และได้รับการยกเลิกสนธิสญ ั ญา land) สนธิสัญญาแวร์ซายส์ ทํากับ ประเทศเยอรมัน
บาวริ่ง จากการช่วยเหลือของ ดร.ฟรานซิส บี แซร์ (พระยากัลยาณ สนธิสัญญาตรีอานอง ทํากับ ประเทศฮังการี
ไมตรี) ไทยได้รับเงินค่าปฏิกรรมสงครามมาจํานวน 2,000,000 บาท สนธิสัญญาเนยยี ทํากับ ประเทศบัลแกเรีย
และไทยได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การสันนิบาต สนธิสัญญาแซงต์แยร์แมง ทํากับ ประเทศออสเตรีย
สนธิสัญญาแซฟส์ ทํากับ ประเทศตุรกี
สงครามโลกครั้งที่ 2 (Second World War : ค.ศ.1939-1945)
สาเหตุ : ความไม่เป็นธรรมของสนธิสัญญาแวร์ซายส์, ความล้มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติ, ปัญหาทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ทําให้เกิดการต่อสู้กันระหว่างลัทธิคอมมิวนิสต์ กับลัทธิฟาสซิสต์-
ข้อตกลงมิวนิก : อังกฤษและฝรั่งเศสให้เยอรมันครองแคว้นซูเดเตน แต่ห้ามไปบุกรุกเชโกสโลวาเกีย
ชนวนสงคราม : เกิดจากเยอรมนีโจมตีโปแลนด์ในเดือนกันยายน ค.ศ.1939 และเรียกร้องขอดินแดนฉนวน ดานซิก คืนทําให้อังกฤษและฝรั่งเศส ซึ่งสนับสนุนโปแลนด์ ประกาศสงครามกับเยอรมนีทันที ต่อมาเมื่อการ
รบขยายตัว ทําให้นานาประเทศทีเ่ กี่ยวข้องถูกดึงเข้าร่วมสงครามเพิม่ ขึ้น
เหตุที่อเมริกาเข้าร่วม : ญี่ปุนโจมตี Pearl Habour ( 7december1941)

กลุ่มประเทศฝุายพันธมิตร อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียต รวมทั้งยัง


มีประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ เข้าร่วมสมทบด้วยอีกจํานวนมาก
กลุ่มประเทศฝุายอักษะ เยอรมนี ญี่ปุน และอิตาลี

ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
1.มีการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ (UN : United Nations)เพื่อดําเนินงานแทนองค์การสันนิบาตชาติ ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อรักษาสันติภาพของโลกและให้กลุ่มสมาชิกร่วมมือช่วย เหลือกัน และสนับสนุนสันติภาพของ
โลก รวมทั้งการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ซึ่งนับว่ามีความเข้มแข็งกว่าเดิม เพราะสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งและมีกองทหารของสหประชาชาติ
2.ทําให้เกิดสงครามเย็น(Cold War)
3.ฝุายสัมพันธมิตรชนะ มีการนําอาวุธที่ทันสมัยและระเบิดปรมาณูมาใช้ทําให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมากกว่าสงครามโลกครั้งที่ 1
4.การเกิดประเทศเอกราชใหม่ๆ ประเทศที่เคยตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตกต่างประกาศเอกราชของตนเอง ทั่วโลก โดยเฉพาะในเอเชีย และ แอฟริกา และบางประเทศถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน เช่น เยอรมนี
เกาหลี เวียดนาม
5.สภาพเศรษฐกิจตกต่าํ ทั่วโลก
6.ความสูญเสียทางด้านสังคมและทางจิตวิทยา
7.เกิดมหาอํานาจของโลกใหม่ คือ สหรัฐอเมริกา และ สหภาพโซเวียต

สาเหตุที่ไทยเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง เพราะเรามีกําลังน้อยเมื่อญี่ปุนบุกจึงไม่สามารถต่อต้านได้ และเพื่อปูองกันมิให้ตกอยู่ใต้อิทธิพลของญี่ปุนในด้านเศรษฐกิจและการเมือง


ผลของสงครามต่อไทย 1. ไทยต้องส่งทหารไปช่วยญี่ปุนรบ
2. ได้ดินแดนเชียงตุง และสี่จังหวัดภาคใต้ที่ต้องเสียแก่อังกฤษกลับมา แต่ต้องคืนให้เจ้าของเมื่อสงครามสงบลง
3. เกิดขบวนการเสรีไทย ซึ่งให้พ้นจากการยึดครอง
4. ไทยได้รับเกียรติเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ - เข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2489 (ค.ศ. 1946) นับเป็นลําดับที่ 55
** The ‘Truman Doctrine’
สงครามเย็น (Cold War : 1947-1991)
ลัทธิทรูแมน : นโยบายที่อเมริกาสนับสนุนรัฐบาลกรีซ และตุรกีโดยให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและ
สงครามเย็น หมายถึง สงครามที่มหาอํานาจทั้งสองทําการต่อสู้กัน โดยใช้เครื่องหมายทุกอย่าง การทหาร เพื่อปูองกันไม่ให้ประเทศทั้ง 2 อยู่ภายใต้อิทธิพลของโซเวียต สหรัฐอเมริกาจะโต้ตอบการ
ยกเว้นอาวุธปรมาณู หรือหมายถึงความขัดแย้งระหว่างสหรัฐอเมริกาและรัสเซีย โดยไม่ใช้อาวุธ คุกคามของประเทศคอมมิวนิสต์ทุกรูปแบบและทุกสถานที่ และตามที่สหรัฐ จะเห็นสมควร โดยไม่จํากัด
ต่อสู้กันโดยตรง แต่ใช้วิธีการโฆษณาชวนเชื่อการแทรกซึมบ่อนทําลาย การประนาม การแข่งขัน ขนาด เวลา และสถานที่
กันสร้างกําลังอาวุธ และแสวงหาอิทธิพลในประเทศเล็ก
** The ‘Marshall Plan’
สาเหตุของสงครามเย็น แผนการที่อเมริกาประกาศจะทุ่มเงินมหาศาลช่วยเหลือฟื้นฟูเศรษฐกิจทุกๆประเทศในยุโรปตะวันตก เพื่อ
สงครามเย็นมีสาเหตุมาจากความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมืองของประเทศมหาอํานาจ เป็นการต่อต้านการขยายตัวของคอมมิวนิสต์และถ่วงดุลอํานาจยุโรป
ทั้งสอง ที่ ยึ ด ถื อเป็ น แนวทางในการดํ าเนิ น นโยบายต่า งประเทศ และความขั ด แย้ งทางด้ า น
** The ‘Molotou Plan’
ผลประโยชน์และเขตอิทธิพล เพื่อครองความเป็นผู้นําของโลก โดยพยายามแสวงหาผลประโยชน์
แผนการที่โซเวียตประกาศจะทุ่มเงินมหาศาลช่วยเหลือฟื้นฟูเศรษฐกิจทุกๆประเทศในยุโรปที่บอบช้ําจาก
และเขตอิทธิพลในประเทศต่าง ๆ ทั้งนี้เป็นผลมาจากการที่ผู้ยิ่งใหญ่หรือผู้นําทางการเมืองของ
สงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อเป็นการต่อต้านการขยายตัวของประชาธิปไตย
โลกในสมัยก่อน คือ อังกฤษ เยอรมัน ได้หมดอํานาจในภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

ลักษณะของสงครามเย็น
วิกฤตการณ์เบอร์ลิน
1.การแข่งขันสร้างพันธมิตรทางทหาร
2.การแข่งขันด้านอุดมการณ์ เบอร์ลินเป็นชื่อเมืองหลวงของเยอรมัน หลัง
3.การแข่งขันด้านเทคโนโลยี (ด้านอวกาศ การทหาร) WW.I เยอรมันถูก4 มหาอํานาจแบ่งยึดครอง
4.การทําสงครามตัวแทน คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส อเมริกา และรัสเซีย แต่
เยอรมั น ฝั่ ง ตะวั น ออกเป็ น ของรั ส เซี ย ซึ่ ง
ปกครองโดยระบอบคอมมิวนิสต์ และเยอรมัน
ฝั่งตะวันตกเป็นประชาธิปไตย ทําให้ประชาชน
อพยพย้ า ยไปอยู่ เ ยอรมั น ฝั่ ง ตะวั น ตก ทํ า ให้
รัสเซียสร้างกําแพงเบอร์ลินขึ้นมาปิดล้อม
สนธิสัญญาแอตแลนติก (The North Atlantic Treaty Organization) หรือ NATO คือ การรวมกลุ่มทางการทหารที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อต่อต้านการรุกรานจากฝุายคอมมิวนิสต์

สนธิสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact Treaty Organization) หรือ Warsaw Pact คือ การรวมกลุ่มทางการทหารที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อต่อต้านการรุกรานจากฝุายประชาธิปไตย

การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ EEC (Europe Economic Cooperation) เป็นการร่วมมือทางเศรษฐกิจของกลุ่มเสรีนิยมประชาธิปไตยยุโรป ต่อมาภายหลังเป็นชื่อเป็น European Union : EU


COMECON เป็นการร่วมมือทางเศรษฐกิจของกลุ่มคอมมิวนิสต์ ต่อมาภายหลังCOMECON ถูกยกเลิกไปเพราะสหภาพโซเวียตล่มสลายทางเศรษฐกิจ

โครงการอวกาศ Sputnik I (1957) ในปี 2501 อเมริกา ได้ส่งดาวเทียมไปโคจรรอบโลกสําเร็จ อเมริกาก่อตั้ง NASA เป็นการสํารวจอวกาศ และใช้ชื่อย่อย เรียกว่า โครงการ Apollow เพื่อส่งมนุษย์ไปลงดวง
จันทร์ ซึ่งต่อมาอเมริกาได้ส่งมนุษย์ไปดวงจันทร์ได้สําเร็จ คือ Neal Armstrong ด้วยยาน Apollw 11 ในปี พ.ศ.2512 เมื่อรัสเซียเห็นว่าอเมริกาก้าวหน้าทางโครงการอวกาศจึงทุ่มเงินมหาศาลพัฒนาโครงการ
Meer แต่สุดท้ายโครงการ Meer ต้องยุติลงเพราะรัสเซียประสบปัญหาการล่มสลายทางเศรษฐกิจ

ทฤษฎีโดมิโน : ความหมาย คือ ทฤษฎีที่ยกอุทาหรณ์จากเกมไพ่ต่อ สงครามเกาหลี ค.ศ. 1950-1953 เป็นสงครามระหว่าง


สงคราม ตัวแทน แต้ม ซึ่งถ้ามีไพ่ล้มหนึ่งใบ ไพ่ใบอืน่ ๆ จะล้มเป็นแถบติดต่อเป็น เริ่มตั้งแต่ 25 มิ.ย. 1950 – 27 ก.ค.1953 เป็นหนึ่งในสงคราม
สงครามเวียดนาม ค.ศ. 1960 -1975 ลูกโซ่ เกิดจากความเชื่อถือที่ว่า เมื่อประเทศใดตกอยู่ภายใต้ ตัวแทน ช่วงสงครามเย็นเกาหลีเหนือใช้ยุทโธปกรณ์ของโซเวียต
1941 ได้เกิดขบวนการเวียดมินห์เพื่อขับไล่ฝรั่งเศส โดยมีผู้ที่มสี มญา ระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์จะทําให้ประเทศอื่น ๆ บุกข้ามเส้นขนานที่ 38 ลงมา สามารถยึด กรุงโซลได้
ว่า โฮจิมินห์ เป็นผู้นํา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เวียดมินห์ยดึ เดียน กลายเป็นคอมมิวนิสต์ไปด้วย สหรัฐอเมริกาภายใต้การนําของประธานาธิบดี แฮร์รี เอส. ทรู
เบียนฟูได้ ฝรั่งเศสกับเวียดนามก็ได้ทําสัญญาสงบศึกที่กรุงเจนีวา แมน ได้สั่งการให้นายพลดักลาส แมกอาร์เธอร์ ผู้บัญชาการ
ทฤษฎีการสกัดกั้น : นายจอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส (John Foster
เมื่อปี 1954 เรียกว่า อนุสัญญาเจนีวา ภาคพื้นแปซิฟิกในขณะนั้น ให้ทําการตอบโต้กองทัพอเมริกันบุก
Dulles) อดีตรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาได้มี
มีสาระสําคัญคือ ให้แบ่งเวียดนามออกเป็นสองส่วน คือ เวียดนาม เกาหลีเหนือถึงแม่น้ํายาลู ชายแดนระหว่างเกาหลีเหนือกับจีน
ทฤษฎีต่อต้านทฤษฎีโดมิโน คือ ทฤษฎีการสกัดกั้น
เหนือ และเวียดนามใต้ โดยใช้เส้นรุ้งที่ ๑๗ เหนือ ซึ่งผ่านเมืองกวาง โซเวียตให้ความช่วยเหลือ จีนปะทะกับทหารอเมริกัน กองทัพ
(Containment Policy)
ตรี ตามแนวแม่น้ําเบนไฮ เป็นเส้นแบ่งเขตแดน จีนก็ล่าถอยไปอยู่ในเทือกเขา กองทัพสหประชาชาติบุกข้ามแม่
-การสิ้นสุดสงคราม น้ํายาลู
ประธานาธิบดี จอห์นสัน ของสหรัฐฯ ได้ตดั สินใจทําสงครามโดย
สหรัฐฯ และชาติพันธมิตรฝุายโลกเสรีได้ถอนกําลังทั้งหมด ออก
เปิดเผยระหว่างสหรัฐฯ และเวียดนามเหนือ จึงเริม่ ต้นตั้งแต่ -ผลของสงคราม
จากเวียดนามใต้ กองทัพเวียดนามเหนือและเวียดกงเข้ายึดกรุง
กุมภาพันธ์ 1965 • ฝุายเกาหลีเนือเสียชีวิตในสงครามทั้งหมด 1,066,000 นาย ส่วน
ไซ่ง่อนได้เมื่อ ๓๐ เมษายน ๒๕๑๘ และเวียดนามเหนือสามารถ
ฝุายเกาหลีใต้เสียชีวิตประมาณ 941,356–1,139,518 นายทหารฝุาย
รวมเวียดนามใต้เข้าด้วยกัน เมื่อ ๓ กรกฎาคม ๒๕๑๘ และ
• ฝุายประชาธิปไตยที่ให้ความช่วยเหลือเวียดนามใต้ ไทยจํานวน 1,294 นาย
ประกาศใช้ชื่อประเทศใหม่ว่า สาธารณรัฐเวียดนาม
• ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สเปน ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)
และไทย -การสิ้นสุดของสงครามเกาหลี
•2 กันยายน 1976 ลงนามระหว่างเกาหลีเหนือกับสหประชาชาติ
แบ่งเขตแดนระหว่างเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้อย่างเป็นทางการ
การสิ้นสุดสงครามเย็น สงครามอิรัก (ค.ศ.2003-2011)
สหภาพโซเวียตในยุคที่ มิคกาฮิล กอร์บาซอฟ (Mikhail Gorbachev) เป็นผู้นําได้ดําเนินการปฎิรูป เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในประเทศอิรัก ด้วยการรุกรานอิรักโดยสหรัฐอเมริกาซึ่งมีประธานาธิบดี
บ้านเมืองหลายด้าน และเป็นจุดเริม่ ต้นทําให้สภาวะสงครามเย็นเริ่มคลี่คลายตัวลง สรุปได้ดังนี้ จอร์จ ดับเบิลยู. บุชเป็น ผู้นํา และ สหราชอาณาจักรซึ่งมีนายกรัฐมนตรี โทนี แบลร์ เป็นผู้นํา
1. การใช้นโยบายปฏิรูปการเมืองและเศรษฐกิจของสหภาพโซเวียตให้เป็นเสรีประชาธิปไตยมากขึ้นใน สงครามคราวนี้อาจเรียกชื่ออื่นว่า การยึดครองอิรัก, สงครามอ่าวครั้งที่สอง หรือ ปฏิบัติการเสรีภาพ
ปี ค.ศ. 1985 เรียกว่า “นโยบายเปิด-ปรับ” หรือกลาสนอสต์-เปเรสทรอยกา อิรัก
-เริ่มด้วยสหรัฐอเมริกาถูกเครื่องบินชนตึกเวิล์ดเทรดที่นิวยอร์ก
2. การรวมเยอรมนีตะวันออกเข้ากับตะวันตกเป็นประเทศเดียวกันได้สําเร็จใน ค.ศ. 1990
–อเมริกาโจมตีอัฟกานิสถาน โดยให้เหตุผลว่าอัฟกานิสถานให้ที่พักพิงแก่ขบวนการก่อการร้ายที่มี บิน
3. การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ.1991 คือการยุติการรวมตัวเป็นสหภาพโซเวียตของ 15 ลาเดน เป็นผู้นํา
สาธารณรัฐและทําให้เกิดรัฐเอกราช 15 ประเทศ สาเหตุของการล้มสลายของสหภาพโซเวียต คือ –UN เข้าดําเนินการตรวจสอบอาวุธในประเทศอิรัก แต่ไม่พบคลังอาวุธทําลายร้ายแรง
ปัญหาเงินเฟูอและความตกต่ําทางเศรษฐกิจ และปัญหาการเมืองภายใน –กองทัพอเมริกาและสัมพันธมิตรได้แก่ อังกฤษและออสเตรเลียําด้ร่วมกันบุกโจมตีอิรักโดยไม่ผ่านการ
อนุมติจากคณะรัฐมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ
4. การก่อรัฐประหารเพื่อโค่นล้มรัฐบาลของพวกคอมมิวนิสต์หัวเก่า
-ภายหลังสงครามสิ้นสุด UN ได้เข้าไปจัดตั้งรัฐบาลใหม่ให้กับอิรัก โดยส่งทหารช่าง แพทย์ และ
พยาบาลไปร่วมฟื้นฟูอิรัก
สงครามอ่าวเปอร์เซีย (Persian Gulf War ค.ศ.1980-1991)
ชื่อรหัสปฏิบัติการโล่ทะเลทรายเป็นปฏิบัติการนําสู่การสั่งสมกําลังและการปูองกันของซาอุดีอาระเบีย สงครามนี้ยังมีชื่ออื่น เช่น สงคราม
อ่าวเปอร์เซีย, สงครามอ่าวครั้งที่หนึ่ง, สงครามคูเวต, สงครามอิรักซึ่งคําว่า "สงครามอิรัก" ต่อมาใช้เรียกการบุกครองอิรักเมื่อปี 2546 แทน*

ปัญหาระหว่าง อิรักและอิหร่าน ซึ่งเกิดจากปัจจัยต่างๆ ดังนี้


-ปัญหาการแย่งดินแดนบริเวณที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก
-ปัญหาความแตกต่างระหว่างเชื้อชาติ
-จังหวัดชายแดนของอิหร่านมีแหล่งน้ํามันสําคัญทําให้อิรักต้องการเข้าครอบครอง
-ผู้นําของทั้ง 2 ประเทศนับถือศาสนาอิสลามต่างนิกายกัน
บุคคลสาคัญของโลก
1.วูดโรว์ วินสัน อดีตประธานาธิบดีผิวสีคนแรกของประเทศแอฟริกาใต้ ผู้นําต่อต้านการเหยียดสีผิว
2.มหาตมะ คานธี ผู้นําชาวอินเดียสู่อิสรภาพ หลังจากที่ประเทศอินเดียต้องอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษมานานถึง ปีและเป็นผู้นําอิสรภาพสู่ชาวอินเดียโดยการยกเลิกระบบชนชั้นวรรณะใน
ประเทศอินเดีย
3.มิคาอิล กอร์บาชอฟ อดีตประะธานาธิบดีของสหภาพโซเวียต และยังเป็นผู้นําคนสุดท้ายที่ปกครองด้วยระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์
4.มาร์ติน ลูเธอร์ คิง เป็นแรงขับเคลื่อนสําคัญในการเรียกร้องสิทธิมนุษยชน เพื่อร่วมต่อต้านการเหยียดสีผิวในประเทศสหรัฐอเมริกา และในปี 1964 เขาได้รับรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ
5.วูดโรว์ วิลสัน ประกาศ หลัก 14 ประการ เพื่อเป็นแนวทางในการเจรจารักษาสันติภาพ หลังสงครามโลกครั้งที่ 1
6.เบอร์นาร์ด บารุก ผู้ริเริ่มใช้คําว่า Cold War (อดีตที่ปรึกษาของประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี.รุสเวลท์)
7.แฟรงคลิน ดี.รุสเวลท์ ผู้ริเริ่มใช้คําว่า “United Nations”
8.อินทิรา คานธี อดีตนายกรัฐมนตรีอินเดียทีด่ ํารงตําแหน่งถึง 3 วาระติดต่อกัน และเป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกใน ประเทศอินเดีย
9.ออง ซาน ซูจี ผู้เป็นศูนย์กลางการเคลื่อนไหวเพือ่ เรียกร้องประชาธิปไตยของพม่า เป็นหนึ่งในผู้นํากลุม่ ต่อต้านผู้นําทหารที่ถือครองอํานาจในพม่า
10.โจเซฟ สตาลิน ปกครองโซเวียตอย่างน่าหวาดกลัว ผู้คนนับล้านเสียชีวิตเพราะการกระทําของเขา
11.โรนัล เรแกน เกิดโครงการ STAR WAR (โครงการระบบปูองกันทางยุทธศาสตร์ที่ติดตั้งในอวกาศ)
12.มิคาอิล กอร์บาชอฟ เสนอนโยบาย Glasnost-Perestroika
13.วินสตัน เชอร์ชิลล์ นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรถึงสองสมัย ที่มีชื่อเสียงในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขายังได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม เมื่อ พ.ศ. 2496
14.อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ หัวหน้าพรรคนาซี และผู้นําสูงสุดของเยอรมนี ตั้งแต่ปี 1933-1945
15.แฮร์รี เอส ทรูแมน เป็นผู้ตดั สินใจทิ้งระเบิดปรมาณู 2 ลูกในเมืองฮิโรชิมาและเมืองนางาซากิของญี่ปุน และนําชัยชนะเหนือเยอรมนีและญี่ปุนมาสู่ชาวอเมริกัน
16.เติ้ง เสี่ยว ผิง เสนอนโยบาย 4 ทันสมัย
17.จอห์น เอฟ.เคเนดี้ ยื่นคําขาดให้โซเวียตถอนอาวุธนิวเคลียร์ออกไปจากประเทศคิวบาสําเร็จในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1962 ที่เรียกว่าวิกฤตการณ์คิวบา
18.เฮนรี่ ฟอร์ด ผู้ก่อตั้งบริษัท ฟอร์ด มอเตอร์ (Ford Motor) ที่ประสบความสําเร็จอย่างสูงในวงการรถยนต์
19.นิกิตา ครุสชอฟ เสนอหลักการ Peaceful Co-existence ในปีค.ศ.1956
20.จอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส ผู้เสนอ ทฤษฎีโดมิโน
วันประหารชีวิตพระเจ้าชาลส์ที่ 1
อารยะขัดขืน (civil disobedience)
อารยะขัดขืน (civil disobedience) แปลตามตัวคือ ประชาชนไม่เชือ่ ฟังรัฐหรือผู้มีอํานาจ จึงแสดงออก วันที่ 30 มกราคม ปี 1649 (วันประหารชีวิต พระเจ้าชาลส์ที่ 1)ถือเป็ น
ด้วยการไม่ปฏิบตั ิตามกฎกติกาต่าง ๆ ของรัฐ หรือก็คือการทําในสิ่งที่ตนรู้อยู่แล้วว่าขัดต่อกฎหมาย แต่กระทําอย่าง เหตุการณ์ที่สําคัญที่สุดอีกเหตุการณ์หนึ่งในประวัติศาสตร์ประเทศอังกฤษ
เปิดเผยต่อสาธารณะ และประกาศล่วงหน้า เพื่อแสดงเจตนารมณ์ตอ่ สู้ต่อต้านผู้มีอํานาจอย่างสันติวิธี โดยมี เมื่อพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งประเทศอังกฤษถูกประหารชีวิต ซึ่งถือเป็นกษัตริย์
เปูาหมายเพื่อทําให้เกิดความเปลีย่ นแปลงในกฎหมายหรือนโยบายบางประการของรัฐบาล คนแรกที่ถูกตัดสินประหารชีวิต ด้วยข้อหากบฏต่อแผ่นดิน ซึ่งเวลานั้นถือว่ามี
โดยหนึ่งในต้นแบบทีส่ ําคัญของ อารยะขัดขืน คือ การต่อสู้แบบอหิงสาของ มหาตมะ คานธี ซึ่งเป็นหลักการในการ เหตุการณ์วุ่นวายต่างๆทั้งความขัดแย้งทางด้านความคิดทางการเมืองและ
ต่อสู้ทางการเมืองเพื่อปลดปล่อยอินเดียจากการเป็นอาณานิคมของอังกฤษ สมัยนั้นคานธีต่อต้านการปกครองที่ไม่ ศาสนา รวมไปถึงเกิดสงครามกลางเมืองอีกต่างหาก ภายหลังจากที่ทําการ
ยุติธรรม โดยเหตุการณ์ที่สําคัญคือ อังกฤษได้สั่งห้ามคนอินเดียทําเกลือใช้เอง ทั้ง ๆ ที่ยุคนั้นเกลือมีความสําคัญมาก ประหารแล้ว ระบอบการเมืองของประเทศอังกฤษเริ่มเข้าสู่สาธารณรัฐมาก
โดยเฉพาะการใช้ถนอมอาหาร นั่นก็เพื่อบังคับให้คนอินเดียต้องซื้อเกลือจากอังกฤษ และอังกฤษก็เพิ่มภาษีให้ชาว ขึ้น
อินเดียต้องซื้อในราคาที่แพงขึ้น เรือ่ งนี้ ทําให้คานธีรู้สึกถึงความไม่ยตุ ิธรรมทีเ่ กิดขึ้น ทั้ง ๆ อินเดียก็สามารถทําเกลือ
เองได้

9/11 รางวัลแมกไซไซ (Ramon Magsaysay Award) รางวัลรามอน แมกไซไซ หรือ รางวัลแมกไซไซ (Ramon Magsaysay Award) เป็น
วันที่ 11 กันยายน ปี 2001 (เหตุการณ์ถล่ม รางวัลที่ก่อตั้งขึ้น เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 1957 โดยคณะกรรมการของกองทุนร็อกกี้เฟลเลอร์ บราเธอร์ส (Rockefeller Brothers Fund) ซึ่งมี
ตึกเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์)หรือรู้จักกันดีใน สํานักงานอยู่ในนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกาโดยการสนับสนุนของรัฐบาลฟิลิปปินส์ รางวัลนี้ได้ก่อตั้งขึ้นเพื่อเชิดชูเกียรติแก่ นายรามอน
เหตุการณ์ 9/11 เป็นเหตุการณ์ที่ใครๆก็คาด แมกไซไซ อดีตประธานาธิบดีของฟิลิปปินส์ และเพื่อเป็นแบบอย่างอันดีงามของการอุทิศตนทํางานบริการประชาชนในสังคมประชาธิปไตย โดยมี
ไม่ถึงว่าจะเกิดขึ้นเมื่อประเทศมหาอํานาจอย่า มูลนิธิรางวัลรามอน แมกไซไซ (Ramon Magsaysay Award Foundation) เป็นผู้มอบรางวัลแก่บุคคลและนิติบุคคลในเอเชีย ที่ประสบ
งอเมริกาถูกท้าทายด้วยการเอาเครื่องบินไป ความสําเร็จอันดียิ่งในแต่ละสาขา โดยไม่คํานึงถึงเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา และเพศ แบ่งเป็น 6 สาขาด้วยกัน ได้แก่
พุ่งชนตึกเวิลด์เทรด 2 ตึกจนถล่มลงมา ซึ่งตึก 1.บริการรัฐกิจ (Government Service) ประกอบด้วยด้านการบริหาร ด้านตุลาการ ด้านการออกกฎหมาย ด้านการทหาร
เวิลด์เทรดนับได้ว่าเป็นตึกที่สูงที่สดุ ในเวลานั้น 2.บริการสาธารณะ (Public Service)
และก็เป็นสัญลักษณ์ความยิ่งใหญ่ของประเทศ 3.ผู้นําชุมชน (Community Leadership)
อเมริกาเองด้วย ทําให้เกิดสงครามการก่อการ 4.วารสารศาสตร์,วรรณกรรม และศิลปะการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์ (Journalism, Literature and Creative Communication arts) เช่น การ
ร้ายตามมาจนถึงทุกวันนี้ เขียน การตีพิมพ์ ภาพถ่าย หรือการถ่ายทอดทางวิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ หรือการแสดงศิลปะ
5.สันติภาพและความเข้าใจระหว่างประเทศ (Peace and International Understanding) การมีส่วนร่วมในการพัฒนาความสัมพันธ์ สันติภาพ
ความสามัคคี ซึ่งเป็นรากฐานสําหรับการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งในและระหว่างประเทศ
6.ผู้นําในภาวะฉุกเฉิน (Emergent Leadership)
รางวัลโนเบล เป็นรางวัลประจําปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย เนลสัน แมนเดลา เป็นประธานาธิบดีคนแรกที่ได้รับเลือกตั้งตามกระบวนการทางประชาธิปไตย
พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับ อย่างถูกต้อง ก่อนหน้าการดํารงตําแหน่งนี้นี้ เขาได้เป็นที่รู้จักกันทั้งในและนอกประเทศในฐานะที่เคย
มนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจํานงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาว เป็นนักเคลื่อนไหวตัวยงเพื่อ ต่อต้านการถือผิวในประเทศแอฟริกาใต้ จากที่แรกเริ่มเป็นผู้เคลื่อนไหว
สวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมท์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1895 แต่การมอบรางวัลในสาขาฟิสิกส์ ในทางสันติ ได้กลายมาเป็นผู้นํากลุ่มกองกําลังติดอาวุธของพรรคสมัชชาแห่งชาติแอฟริกา และได้มีส่วน
สาขาเคมี สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ สาขาวรรณกรรม และสาขาสันติภาพ เริ่มมอบรางวัลครั้ง ร่วมในกิจกรรมต่อต้านใต้ดินโดยใช้อาวุธ เช่น การก่อวินาศกรรม ในช่วงเวลาดังกล่าว ผู้นําต่างชาติที่
แรกในปี ค.ศ. 1901การมอบรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพจัดขึ้นที่เมืองออสโล ประเทศนอร์เวย์ ส่วน นิยมการถื อผิว ในประเทศแอฟริ กาใต้ เช่น มาร์ กาเรต แทตเชอร์ และโรนัล ด์ เรแกน ได้ประณาม
สาขาอื่น ๆ จัดที่เมืองสต๊อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ผู้ได้รับรางวัลโนเบลในแต่ละสาขานั้นถือว่าเป็น กิจกรรมเหล่านี้ว่าเป็นการก่อการร้าย
เกียรติยศสูงสุดในสาขาวิชาชีพนั้นๆ
อหิงสา
การมอบรางวัลโนเบลจัดขึ้นเป็นประจําทุกปี ในวันที่ 10 ธันวาคม โดยผู้พระราชทานคือ สมเด็จ อหิงสา หรือ อหึงสา หมายถึงการไม่เบียดเบียน, การเว้นจากการทําร้าย คําว่า "อหิงสา" ยังหมายถึง
พระราชาธิบดีแห่งราชอาณาจักรสวีเดน ถึงแม้ว่าบางปีรางวัลบางสาขาอาจไม่มีการตัดสิน แต่มี การไม่ใช้ความรุนแรง และในศาสนาแบบอินเดียหลายศาสนา มโนทัศน์ดังกล่าวใช้กับสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ข้อกําหนดว่าระยะการเว้นการมอบรางวัลต้องไม่เกิน 5 ปี สําหรับผู้ได้รับรางวัลจะได้รับเหรียญ รวมทั้งสัตว์
รางวัลโนเบล ใบประกาศเกียรติคุณ เงินรางวัลประมาณ 10 ล้านโคร์นหรือประมาณ 44 ล้านล้าน
ล้านล้านล้านล้านบาท อหิงสาเป็นคุณธรรมหลักอย่างหนึ่ง และเป็นความเชื่อสําคัญของศาสนาแบบอินเดียที่สําคัญ (ศาสนา
ฮินดู ศาสนาพุทธและศาสนาเชน) อหิงสาเป็นมโนทัศน์หลายมิติ ได้รับบันดาลใจจากข้อตั้งที่ว่าสิ่งมีชีวิต
สนธิสัญญาลิสบอน ทั้งปวงล้วนมีเสี้ยวหนึ่งของพลังงานวิญญาณเทวะ การทําร้ายสิ่งอื่นจึงเป็นการทําร้ายตนเอง อหิงสายัง
สนธิสัญญาลิสบอน (Treaty of Lisbon) เป็นความตกลงระหว่างประเทศซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม เกี่ยวข้องกับแนวคิดที่ว่า ความรุนแรงใด ๆ มีผลกรรมสะท้อนกลับมา ขณะที่ปราชญ์ฮินดูสมัยโบราณ
สนธิสัญญาสองฉบับที่เป็นรากฐานทางกฎหมายของสหภาพยุโรป (EU) อันได้แก่สนธิสัญญามาสท บุกเบิกและพัฒนาหลักการอหิงสา มโนทัศน์ดังกล่าวกลายมามีสถานะพิเศษในปรั ชญาจริยธรรมของ
ริชท์ (พ.ศ. 2536) และ สนธิสัญญาโรม (พ.ศ. 2501) สนธิสัญญาลิสบอนได้รับการลงนามโดยผู้แทน ศาสนาเชน มหาตมา คานธีขึ้นชื่อมากที่สุดว่าเป็นผู้เชื่อในหลักอหิงสาอย่างแรงกล้า
จาก 28 รัฐสมาชิกในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และเริ่มบังคับใช้ในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552
การลอบสังหารจอห์น เอฟ. เคนเนดี เกิดขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506
สาระสําคัญที่เปลี่ยนแปลงไป อาทิการลงมติในคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป จากเดิมใช้ระบบแบ่ง
เวลา 12.30 น. ตามเวลาท้องถิ่น (เวลา 18.30 น. ตามเวลาสากลเชิงพิกัด) ณ เดลลีย์พลาซา เมือง
ช่ ว งประชากรเพื่ อ กํ า หนดจํ า นวนเสี ย งลงคะแนน มาเป็ น ระบบคะแนนเสี ย งถ่ ว งน้ํ า หนั ก ตาม
แดลลัส รัฐเทกซัส ประธานาธิบดีเคนเนดีถูกยิง ถึงแก่ชีวิตระหว่างที่นั่งขบวนรถประธานาธิบดีไปกับ
ประชากรของแต่ละประเทศ การใช้ระบบใหม่นี้ทําให้บรรดาชาติที่มีประชากรเป็นอันดับต้นๆอย่าง
ภรรยาของเขา แจ็กเกอลีน เคนเนดี โอนาสซิส
เยอรมนี, ฝรั่งเศส, สหราชอาณาจักร, อิตาลี, สเปน ได้รับผลประโยชน์จากอํานาจลงคะแนนที่
การสืบสวนของรัฐบาล สรุปว่าประธานาธิบดีถูกลอบสังหารโดยลี ฮาร์วีย์ ออสวอลด์ ซึ่งในเวลาต่อมา
เพิ่มขึ้น ในขณะที่ชาติที่มีประชากรน้อยสูญเสียอํานาจในการลงคะแนนบางส่วนไป สนธิสัญญาฉบับ
ออสวอล์ดถูกฆาตกรรมโดยแจ๊ค รูบี้ ก่อนที่เขาจะต้องขึ้นศาล ในช่วงแรกที่มีการเปิดเผยผลการสืบสวน
นี้ยังเปิดทางให้มีร่างกฎหมายสหภาพว่าด้วยสิทธิ ซึ่งบังคับใช้เป็นกฎบัตรสิทธิขั้นพื้นฐาน และยังระบุ
ข้อสรุปนี้ได้รับการยอมรับจากสาธารณชนอเมริกัน แต่ในภายหลัง ผลสํารวจที่มีการจัดทําขึ้นระหว่าง
ถึงสิทธิของรัฐสมาชิกที่จะออกจากการเป็นสมาชิกภาพไว้อย่างชัดแจ้ง
พ.ศ. 2509 ถึง พ.ศ. 2547 เปิดเผยว่าชาวอเมริกันประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์มีความเชื่อตรงกันข้ามกับ
ข้อสรุปที่ได้จากการสื บสวนดังกล่าว การลอบสังหารนี้ยังคงเป็นประเด็นการอภิปรายในวงกว้าง และ
ก่อให้เกิดประเด็นเรื่องทฤษฎีสมคบคิดและการจัดฉากอย่างนับไม่ถ้วน
วันสาคัญ ปฏิวัติกามะหยี่ 1989 :
4 กุมภาพันธ์ วันมะเร็งโลก วาเคลฟ ฮาเวล เป็นนักคิดนักเขียน เขาเขียนบทละคร เขียนเรียงความ เขียนกวี เป็นพลเมืองผู้ไม่เห็นด้วยกับระบอบ
1 มีนาคม วันมิตรภาพโลก การปกครองที่เป็นอยู่เป็นนักการเมือง เป็นประธานาธิบดีคนสุดท้ายของเชโกสโลวาเกีย และประธานาธิบดีคนแรกของ
สาธารณรัฐเชก ภายหลังสโลวาเกียแยกตัวเป็นประเทศอิสระในปี 2536
8 มีนาคม วันสตรีสากล
21 มีนาคม วันสากลแห่งการยุติการแบ่งแยกเชื้อชาติ แต่โลกจดจําและยกย่องเขาในฐานะสัญญลักษณ์แห่งการต่อสู้กับสหภาพโซเวียตในยุคสงครามเย็นและผู้นาํ การปฏิวัติ
22 มีนาคม วันอนุรักษ์น้ําโลก กํามะหยี่ หรือ Velvet Revolution ที่เปลี่ยนระบบการปกครองของเชโกสโลวาเกียจากระบอบเผด็จการภายใต้พรรค
คอมมิวนิสต์มาเป็นระบบการเมืองเสรีแบบตะวันตกโดยไม่มีการสูญเสียเลือดเนื้อ
5 มิถุนายน วันสิ่งแวดล้อมโลก
11 กรกฎาคม วันประชากรโลก การปฏิวัติกํามะหยี่ได้กลายเป็นศัพท์ทั่วไปทางการเมือง ที่หมายถึงการเคลื่อนไหวโดยสันติวิธีเพื่อประชาธิปไตยและ
16 กันยายน วันโอโซนโลก เสรีภาพของประชาชนผู้มีความคิดที่แตกต่างจากผู้ปกครอง คนที่ใช้คํานี้เป็นคนแรกคือ ริตา ไคลโมวา ล่าม
24 ตุลาคม วันสหประชาชาติ ภาษาอังกฤษชาวเชก ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ต่อต้านระบอบคอมมิวนิสต์ และหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองได้รบั การ
แต่งตั้งให้เป็นทูตประจําสหรัฐอเมริกา
3 ธันวาคม วันต่อต้านคอรัปชั่นโลก
4 ธันวาคม วันสิ่งแวดล้อมไทย “บทละครและข้อเขียนของฮาเวลเป็นสิ่งที่สร้างแรงบันดาลใจและจุดประกายการเคลื่อนไหวอย่างสันติเพื่อต่อต้าน
ระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์ และค่อยๆ บ่มเพาะการปฏิวัติกํามะหยี่ให้เติบโตอย่างมีพลัง เขาได้ก่อตัง้ กลุ่ม Civic
Forum ซึ่งเป็นแนวร่วมเพื่อต่อต้านระบอบอํานาจนิยมในเชโกสโลวาเกีย ทําให้ถูกจับเข้าคุกช่วงสั้นๆ อีกครั้ง ก่อนจะ
ถูกปล่อยตัวในฤดร้อนของปี 2532 และอีก 6 เดือนต่อมา เขาตอบรับคําเชิญของขบวนการนักศึกษาเป็นผู้นํา การ
ปฏิวัติกํามะหยี่และสามารถนําเชโกสโลวาเกียเปลี่ยนผ่านจากระบอบคอมมิวนิสต์ไปสู่ระบบประชาธิปไตยแบบหลาย
พรรคได้สําเร็จโดยไม่เสียเลือดเนื้อ”

ฮาเวลเป็นประธานาธิบดีของเชโกสโลวาเกียจนถึงเดือนกรกฎาคมปี 2535 ในช่วงนี้สโลวาเกียได้แยกตัวออกเป็น


สาธารัณรัฐสโลวัก โดยที่เขาไม่เห็นด้วยแต่ก็ไม่สามารถยับยั้งได้ เขาลงรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีของสาธารณรัฐเชก
2 สมัยคือในปี 2536 และ 2541 ก่อนที่จะยุติบทบาททางการเมืองในปี 2546
จุดเปลีย่ นสําคัญของจอร์เจีย คือ การปฏิวัติกุหลาบ (Rose Rose Revolution : การปฏิวัติกุหลาบ ภายหลังการ
Revolution) ในปี 2003 โดยมีสาเหตุมาจากการเลือกตั้งที่ไม่โปร่งใส เลือกตั้งประธานาธิบดีจอร์เจียเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2546 ผลปรากฏว่า
และเกิดการชุมนุมประท้วงครั้งใหญ่เพื่อเรียกร้องให้ประธานาธิบดีลาออก ซึ่ง นาย Eduard Shevardnadze ประธานาธิบดีจอร์เจียในขณะนั้น ชนะการ
ผลลัพธ์คือ ประธานาธิบดีลาออก และนําไปสู่การเลือกตั้งใหม่ เลือกตั้งอย่างไม่โปร่งใส จึงเกิดการชุมนุมประท้วงครั้งใหญ่เพื่อเรียกร้องให้
ประธานาธิบดี Shevardnadze ซึ่งมีกําหนดครบวาระในปี 2548 ลาออกจาก
ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า นายมิเคอิล ซาคาชวีลี (Mikhail Saakashvili) ตําแหน่ง ต่อมา เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2546 นาย Mikheil Saakashvili
ผู้นําพรรคฝุายค้าน และผู้นําการโค่นล้มอดีตประธานาธิบดี ได้รับชัยชนะใน ผู้นําฝุายค้าน ได้นําผู้ประท้วงราว 30,000 คน บุกเข้าไปในอาคารรัฐสภา
การเลือกตั้งอย่างท่วมท้น โดยได้รบั คะแนนเสียงสูงถึงร้อยละ 96.3 และเมื่อ ในขณะที่สมาชิกรัฐสภาชุดใหม่ที่เพิ่งได้รับเลือกตั้งเข้ามากําลังร่ วมในการเปิด
เขาเข้ารับตําแหน่งอย่างเป็นทางการ เขาได้ประกาศว่า รัฐบาลจะเร่งแก้ไข ประชุมสภาสมัยแรก ทําให้ประธานาธิบดี Shevardnadze ซึ่งกําลังกล่าว
ปัญหาคอร์รัปชัน ปรับปรุงระบบเงินเดือนและเงินบํานาญข้าราชการ และ ปราศรัยอยู่นั้น ต้องหลบหนีออกจากรัฐสภา และประกาศภาวะฉุกเฉินและได้
ฟื้นฟูเศรษฐกิจ ลาออกจากตําแหน่งในเวลาต่อมา ทั้งนี้ การประกาศลาออกดังกล่าว เกิดขึ้น
หลังจากการหารือกับนาย Igor Ivanov รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ
การปฏิวัติดอกมะลิ /การปฏิวัติตูนิเซีย /การ ต่างประเทศรัสเซีย ซึ่งได้เดินทางไปจอร์เจียและพบหารือกับบุคคลสําคัญ
ปฏิวัติซีดีบูซีด เป็นการรณรงค์การต่ อต้ านของพลเมื อง (civil ต่างๆ ของฝุายจอร์เจีย
resistance) อย่างเข้มข้น รวมถึงชุดการเดินขบวนตามท้องถนนซึ่งเกิดขึ้นใน
ประเทศตูนิเซีย เริ่มต้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 และนําไปสู่การโค่นล้ม
ประธานาธิบดี ซึ่งครองอํานาจมาอย่างยาวนาน ซีน อัลอาบิดีน บิน อะลี
(Zine El Abidine Ben Ali) ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2554 การเดินขบวน
ตามท้องถนนและความไม่สงบอื่น ๆ ยังดําเนินต่อมาจนถึงปัจจุบัน

เป็นเหตุมาจากภาวะการว่างงานที่สูง ภาวะเงินเฟูออาหาร การฉ้อราษฎร์บัง ภายหลัง เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2547 จอร์เจียได้จัดการเลือกตั้งประธานาธิบดี


หลวง การขาดเสรีภาพในการแสดงออกตลอดจนเสรีภาพทางการเมืองอื่น ๆ ขึ้นใหม่ ผลการเลือกตั้ง ปรากฏว่า นาย Mikhail Saakashvili ผู้นําพรรคฝุาย
และคุณภาพชีวิตที่เลว การประท้วงครั้งนี้เป็นคลื่นความไม่สงบทางสังคม ค้าน และผู้นําในการโค่นล้มอดีตประธานาธิบดี Shevardnadze ได้รับชัย
และการเมืองครั้งใหญ่ที่สุดในรอบสามทศวรรษ ชนะในการเลือกตั้งอย่างท่วมท้น โดยได้รับคะแนนเสียงสนับสนุน ถึงร้อยละ
96.3 นาย Saakashvili ได้ปฏิญานตนเข้ารับตําแหน่งประธานาธิบดีจอร์เจีย
และได้ส่งผลให้เกิดการเสียชีวิตและบาดเจ็บจํานวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผล อย่ า งเป็ น ทางการเมื่ อ วั น ที่ 25 มกราคม 2547 และได้ แ ถลงนโยบายว่ า
มาจากพฤติกรรมของตํารวจและกองกําลังความมั่นคงต่อผู้ประท้วง การ รัฐ บาลจะเร่ งแก้ ไ ขปั ญ หาการฉ้ อ ราษฎร์ บั งหลวง ปรับ ปรุ งระบบการจ่ า ย
ประท้ ว งเกิ ด ขึ้ น จากการจุ ด ไฟเผาตั ว เองของ มุ ฮั ม มั ด อั ล บู อ ะซี ซี เงินเดือนและเงินบํานาญ และฟื้นฟูเศรษฐกิจ ในด้านนโยบายต่างประเทศ
(Mohamed Al-Bouazizi) และนําไปสู่การโค่นประธานาธิบดี บิน อะลีลง นาย Saakashvili สนับสนุนการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปและนาโต้ของ
จากตําแหน่ง การประท้วงดังกล่าวเป็นแรงบันดาลใจแก่พฤติกรรมคล้ายกัน จอร์เจีย แต่ก็ยังคงให้ความสําคัญกับการรักษาสัมพันธ์อันดีกับรัสเซีย ในฐานะ
ทั่วโลก ประเทศเพื่อนบ้านที่สําคัญด้วย
“ ” คือ กองกําลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครอง การปฏิวัติซินไฮ่ /การปฏิวัติ ค.ศ. 1911 /การปฏิวัติจีน เป็น
ราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชา การปฏิวัติซึ่งโค่นล้มราชวงศ์ชิง ราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองจีน การปฏิวัติได้
ประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เปลี่ยนการปกครองของประเทศไปสู่ประชาธิปไตยและสถาปนาสาธารณรัฐจีน
การปฏิวัตินไี้ ด้ชื่อว่าซินไฮ่เพราะมีขึ้นใน ค.ศ. 1911 ซึ่งตรงกับอักษรซินไฮ่ใน
เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสําเร็จเชิงอํานาจของพรรคการเมืองลัทธิ
แผนภูมสิ วรรค์ในปฏิทินจีน
คอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์
กัมพูชา” รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง การปฏิวัติครั้งนี้เป็นปฏิกริ ิยาต่อสามปัจจัยหลัก: (1) ความเสื่อมของรัฐชิงและ
"สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวตั ิ ความไม่สามารถปฏิรูปและนําพาจีนสู่ความทันสมัยเพื่อเผชิญหน้ากับการท้า
แบบเบ็ดเสร็จ" ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัว ทายของต่างชาติ, (2) เพื่อย้อนความเสื่อมโทรมภายใน และ (3) ความไม่พอใจ
ขับเคลื่อน ของชาวจีนฮั่นซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ต่อชนกลุ่มน้อยแมนจูที่เป็นชนชั้น
ปกครอง
หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน พ.ศ. 2522
อํานาจการปกครองของเขมรแดงก็สิ้นสุดลง เนื่องจากการบุกยึด ปัจจุบัน ทั้งสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันและสาธารณรัฐประชาชนจีนบน
กัมพูชาของกองกําลังจากสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม แต่อย่างไรก็ แผ่นดินใหญ่มองว่าตนเป็นผู้สืบทอดการปฏิวตั ิซินไฮ่และยังคงเคารพอุดมการณ์
ตาม ปฏิบตั ิการเคลื่อนไหวแบบต่อต้านของเขมรแดง โดยเฉพาะบริเวณ ของการปฏิวัติ รวมทั้งชาตินิยม สาธารณรัฐนิยม การทําให้จีนทันสมัยและความ
ภาคตะวันตกของกัมพูชา ซึ่งมีฐานที่มั่นอยู่ในราชอาณาจักรไทย ก็ยังคง สามัคคีแห่งชาติ วันที่ 10 ตุลาคมในไต้หวันเป็นวันดับเบิลเท็น (Double Ten
ดําเนินต่อมาในช่วงทศวรรษที่ 90 จนกระทั่ง พ.ศ. 2539 พล พต หัวหน้า Day) วันชาติของสาธารณรัฐจีน ในจีนแผ่นดินใหญ่ ฮ่องกงและมาเก๊า วัน
ขบวนการในขณะนั้น ก็ยุติการทํางานของเขมรแดงลงอย่างเป็นทางการ เดียวกันนี้ยังมักเฉลิมฉลองเป็นวันครบรอบการปฏิวัติซินไฮ่ ชาวจีนโพ้นทะเล
หลังจากที่มีการลงนามในข้อตกลงสันติภาพ จํานวนมากยังเฉลิมฉลองในไชนาทาวน์ทั่วโลก
พรรคก๊กมินตั๋งแห่งประเทศจีน เป็นพรรคการเมืองแนวอนุรักษนิยมของสาธารณรัฐจีนซึ่งยังคงดํารงอยู่ในไต้หวัน
ปัจจุบันพรรคก๊กมินตั๋งเป็นพรรคการเมืองฝุายค้านในสภานิติบญ
ั ญัตหิ ยวนของไต้หวัน

พรรคก๊กมินตั๋งโดยเริ่มแรกนั้นเป็น "พันธมิตรปฏิวัติประชาธิปไตยจีน" หรือ (ถงเหมิงฮุ่ย) เป็นขบวนการเคลื่อนไหวประชาธิปไตยหลักใน


การโค่นล้มราชวงศ์ชิงเริ่มมีบทบาทในการลุกฮือที่อู่ชางในปี ค.ศ. 1911 และประกาศก่อตั้งสาธารณรัฐจีนบนแผ่นดินใหญ่

พรรคก๊กมินตั๋งได้ถูกก่อตั้งขึ้นโดย ซ่ง เจี่ยวเหริน และ ดร.ซุน ยัตเซ็น หลังจากการปฏิวัติซินไฮ่ ในปี ค.ศ. 1911 ดร.ซุนได้ชนะผลการ
เลือกตั้งดํารงตําแหน่งประธานาธิบดีชั่วคราวแห่งสาธารณรัฐจีนคนแรก แต่ต่อมาเขาก็ยกตําแหน่งประธานาธิบดีให้แก่ยฺเหวียน ชื่อไข่ทํา
ให้ประเทศจีนแตกแยกเป็นขุนศึกประจําแคว้นต่างๆ หรือที่เรียกว่าสมัยขุนศึก ต่อมาพรรคก๊กมินตั๋งภายใต้การนําของเจียง ไคเชกได้
ประกาศเจตนารมณ์รวมแผ่นดินจีนอีกครั้ง ทางพรรคได้จดั ตั้งกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีนซึ่งประสบความสําเร็จในการเดินทางกรีฑาทัพ
ไปทางเหนือเพื่อปราบเหล่าขุนศึกและรวมประเทศจีนแผ่นดินใหญ่ทงั้ หมดในปี ค.ศ. 1928 ยุติความโกลาหลของยุคขุนศึก

เมื่อรวบรวมแผ่นดินจีนสําเร็จพรรคก๊กมินตั๋งได้กลายมาเป็นพรรคการเมืองหลักที่ปกครองจีนแผ่นดินใหญ่จนกระทั่งถึงปี ค.ศ. 1949


เมื่อพรรคก๊กมินตั๋งได้พ่ายแพ้สงครามกลางเมืองจีนให้กับพรรคคอมมิวนิสต์จีนซึ่งเป็นพรรคคู่แข่ง ทําให้พรรคก๊กมินตั๋งได้ลี้ภัยหนีไป
เกาะไต้หวันและตั้งรัฐบาลสาธารณรัฐจีนขึ้นใหม่ปกครองในฐานะรัฐเผด็จการพรรคเดียว ขณะที่พรรคคอมมิวนิสต์ที่ยึดแผ่นดินใหญ่ได้
ตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนขึ้น ส่วนสาธารณรัฐจีนทีไ่ ต้หวันภายใต้พรรคก๊กมินตั๋งยังคงมีที่นั่งในองค์การสหประชาชาติในฐานะรัฐบาล
ตัวแทนของประเทศจีนที่ถูกต้อง (พร้อมด้วยการสนับสนุนจากตะวันตก) จนถึงปี ค.ศ. 1971

ไต้หวันได้ตดั สินใจยุติสถานะเป็นรัฐภายใต้พรรคการเมืองเดียวในปี ค.ศ. 1986 และเริ่มการปฏิรูปประชาธิปไตยทางการเมืองที่เริ่มต้น


ขึ้นในปี ค.ศ. 1990 ได้มีการคลายอิทธิพลอํานาจของพรรคก๊กมินตั๋ง อย่างไรก็ตามพรรคก๊กมินตั๋งยังคงเป็นหนึ่งในพรรคการเมืองหลัก
ของไต้หวันโดยมี หม่า อิงจิ่ว ได้ชนะการเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีในปี ค.ศ. 2008 และได้ชนะการเลือกตั้งอีกครั้งในปี ค.ศ. 2012 โดย
เป็นสมาชิกพรรคก๊กมินตั๋งคนที่เจ็ดที่ดํารงตําแหน่งประธานาธิบดี

ในการเลือกตั้งทั่วไปและการเลือกตั้งประธานาธิบดีปี ค.ศ. 2016 พรรคก๊กมินตั๋งได้พ่ายแพ้ในการเลือกตั้งให้กับพรรคประชาธิปไตย


ก้าวหน้า (DPP) ซึ่งทําให้พรรคประชาธิปไตยก้าวหน้าได้รับการควบคุมทั้งสภานิตบิ ัญญัติหยวนและ ไช่ อิงเหวิน ได้รับเลือกตั้งเป็น
ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน
Nobel Prize รางวัลโนเบล "ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ"

เป็นรางวัลประจําปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย 1906 Theodore Roosevelt ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา


พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือ ผู้ให้ความร่วมมือในการร่างสนธิสญ
ั ญาสันติภาพ
สร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม
1919 Woodrow Wilson ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา, ผู้ให้
ตามเจตจํานงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมท์
การสนับสนุนหลักของสันนิบาติชาติ
โดยก่อตั้งขึ้น ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1895 แต่การมอบรางวัลในสาขาฟิสิก ส์
สาขาเคมี สาขาสรี ร วิ ท ยาหรื อ การแพทย์ สาขาวรรณกรรม และสาขา 1954 ข้าหลวงใหญ่ผลู้ ี้ภยั แห่งสหประชาชาติ
สันติภาพ เริ่มมอบรางวัลครั้งแรกในปี ค.ศ. 1901
1964 Martin Luther King Jr.ป็นศาสนาจารย์และนักต่อสู้เพื่อ
การมอบรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพจัดขึ้นที่เมือง ออสโล ประเทศนอร์เวย์ สิทธิมนุษยชน ชาวผิวสี
ส่ว นสาขาอื่ น ๆ จั ดที่ เ มือ ง สต็ อกโฮล์ ม ประเทศสวีเดน ผู้ไ ด้ รับ รางวั ล
1991 ออง ซาน ซูจี "สําหรับการต่อสู้ที่ไม่รุนแรงในการเรียกร้อง
โนเบลในแต่ละสาขานั้นถือว่าเป็นเกียรติยศสูงสุดในสาขาวิชาชีพนั้น ๆ
ประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน"
การมอบรางวัลโนเบลจัดขึ้นเป็นประจําทุกปี ในวันที่ 10 ธันวาคม โดยผู้
1993 เนลสัน แมนเดลา สําหรับงานเพื่อสันติในการยุติการเหยียด
พระราชทานคือ สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งราชอาณาจักรสวีเดน
สีผิว และการวางรากฐานมูลนิธิเพือ่ ประชาธิปไตยใหม่ของแอฟริกาใต้
ประวัติ : รางวัลโนเบลเป็นความตั้งใจก่อนเสียชีวิตของ อัลเฟรด โนเบล
2009 บารัก โอบามา พยายามในการสร้างความเข้มแข็งให้กับการ
(Alfred Nobel) นักเคมีชาวสวีเดน ผู้คิดค้นระเบิดไดนาไมต์ ซึ่งรู้สึกเสียใจ
ทูตระหว่างประเทศและความร่วมมือระหว่างผูค้ นทั่วโลก
จากการที่ระเบิดของเขาถูกนําไปใช้ในการคร่าชีวิตมนุษย์ เขาจึงมอบ 94%
ของทรัพย์สินมาให้เป็นเงินทุนในรางวัลโนเบล 5 สาขา (เคมี, การแพทย์, 2012 สหภาพยุโรป สําหรับเวลา 6 ทศวรรษในการผลักดันให้เกิด
วรรณกรรม, สันติภาพ และฟิสิกส์) สันติภาพและสิทธิมนุษยชนในยุโรป

สําหรับสาขาเศรษฐศาสตร์นั้น ได้เพิ่มเข้ามาเมื่อ พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) 2014 มะลาละห์ ยูซัฟซัย สําหรับการต่อสู้ต่อการปราบเด็กและ
โดยธนาคารแห่งชาติสวีเดน เยาวชน ตลอดจนเพื่อสิทธิได้รับการศึกษาของเด็กทุกและ เป็นผูไ้ ด้รบั
รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพอายุนอ้ ยที่สุด ด้วยวัย 17 ปี

2018 เดนิส มูเควกี/นาเดีย มูราด "สําหรับความพยายามในการ


หยุดยั้งการใช้ความรุนแรงทางเพศเป็นเครื่องมือในสงคราม"
"ข้าพเจ้ามีความฝันว่า วันหนึง่ ประเทศนีจ้ ะลุกขึน้ ยืนหยัดและจรรโลง
ความหมายทีแ่ ท้จริงของบทบัญญัตแิ ห่งความเท่าเทียมกันของมนุษย์"

คํากล่าวของ ดร. มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ ที่ขึ้นต้นด้วยประโยคว่า “I Have a Dream” หรือ “ข้าพเจ้ามีความฝัน” ในสุนทรพจน์ที่
กล่าวไว้ระหว่างการเดินขบวนครั้งใหญ่ในกรุงวอชิงตัน เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พุทธศักราช 2506 หรือ ค.ศ 1963 กลายเป็นแรงบันดาลใจ
ให้กับผู้คนหลายล้านคน และยกระดับสังคมอเมริกันในด้านสิทธิพลเมืองมายาวนาน

ก่อนหน้านี้ สาธุคุณ มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ (Martin Luther King Jr.) เริ่มเป็นที่รู้จักในปี ค.ศ 1955 เมื่อทําหน้าที่เป็นผู้นําการคว่ําบาตร
รถโดยสารประจําทางในเมืองมอนท์โกเมอรี (Montgomery) รัฐอะลาบามา (Alabama) เพื่อกดดันให้ยุติการแบ่งแยกที่นั่งตามสีผิวของ
ผู้โดยสาร

จนกลายเป็นสัญลักษณ์ของการเคลื่อนไหวเรียกร้องสิทธิพลเมืองในอเมริกา ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1950 – 1960 ในปี ค.ศ.1983 รัฐบาล


กลางสหรัฐฯ ได้ประกาศให้ วัน Martin Luther King Jr. เป็นวันหยุดประจําปี โดยนับเอาวันจันทร์ที่สามของเดือน ม.ค ของทุกปี เพื่อให้
ประชาชนอเมริกันได้ร่วมรําลึกถึง ดร. คิงและต่อมาในปี พ.ศ. 2537 หรือ ค.ศ 1994 รัฐบาลได้ประกาศให้วันนี้เป็นวันบําเพ็ญประโยชน์
แห่งชาติด้วย

Malcolm X (มัลคอล์ม เอ็กซ์)


ชาวอเมริกันผิวดํา นักต่อสู้ต่อต้านลัทธิเหยียดผิวที่มีชื่อเสียงมากที่สดุ คนหนึ่งในประวัติศาสตร์สหรัฐอเมริกา ก่อนจบชีวิตด้วยการถูกยิงในวัย
เพียง 40 ปี มัลคอล์ม เดิมเป็นคริสเตียน และเปลียนเข้ารับแนว the Nation of Islam ของคนดํา และช่วงท้ายชีวิตได้หันมารับอิสลามแนว
กระแสหลัก ดังนั้น เขาจึงถูกรู้จักกันในฐานะมุสลิมที่โดดเด่นที่สุดคนหนึ่งของสหรัฐอเมริกาเช่นเดียวกัน
ลาดับการสืบทอดตาแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐ
ลําดับการสืบทอดตําแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา (อังกฤษ: United States presidential line of succession) เป็นลําดับข้าราชการ
ในรัฐบาลกลางที่จะเป็นหรือรักษาการแทนประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา เมื่อประธานาธิบดีไม่อาจปฏิบตั ิหน้าที่ได้ ตาย ลาออก หรือถูกถอด
จากตําแหน่งหน้าทีเ่ มื่อมีการฟูองให้ขับออกจากตําแหน่งและมีการพิพากษาลงโทษในภายหลัง

ลําดับการสืบทอดตําแหน่งประธานาธิบดีนี้มีระบุไว้ในรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา และรัฐบัญญัติการสืบทอดประธานาธิบดี ค.ศ. 1947


(Presidential Succession Act of 1947) ซึ่งมีการแก้ไขเพิม่ เติมในภายหลังเพื่อให้รวมตําแหน่งใหม่ในคณะรัฐมนตรีเข้าไว้ด้วย การสืบทอด
นั้นเป็นไปตามลําดับดังนี้ คือ รองประธานาธิบดี, ประธานสภาผู้แทนราษฎร, ประธานวุฒิสภาชั่วคราว, และสมาชิกคณะรัฐมนตรีซึ่งปัจจุบันมี
15 คน

ลําดับการสืบทอดตําแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐ ตามทีร่ ะบุในรัฐธรรมนูญ

1.รองปธน.

2.ปธ.สภาผู้แทนราษฎร

3.ปธ.วุฒิสภา

4.รมว.ตปท.

5.รมว.คลัง

7.รมว.กลาโหม
บุรุษผู้ปลดปล่อยทาสของโลก : อับราฮัม ลินคอน เรื่องน่ารู้ของ ธีโอดอร์ รูสเวลท์
สหรัฐอเมริกานับเป็นประเทศแรกที่มีการปลดปล่อยทาสให้เป็นอิสระ - เป็น 1 ใน 4 ประธานาธิบดีสหรัฐที่รูปใบหน้าได้รับการสลักไว้ที่อนุสรณ์สถานแห่งชาติ เมานต์รัชมอร์ (Mount
และถือเป็นแบบแผนให้ประเทศอื่นๆดําเนินรอยตามอย่างแพร่หลาย Rushmore) ชื่อของเขาถูกตั้งเป็นชื่อเรือดําน้ํา และเรือบรรทุกเครื่องบิน
แม้กระทั่งในประเทศไทยที่ได้มีการประกาศเลิกทาสอย่างเป็นทางการใน - ทีโอดอร์ รูสเวลต์ เป็นนักอนุรักษนิยม สนับสนุนการใช้กฎหมายก้าวหน้าเพื่อช่วยเหลือคนยากจน เขาดํารงตําแหน่ง
สมัยของรัชการที่ 5 โลกในอดีตถูกปกครองด้วยคนเพียงไม่กี่กลุ่ม และ รองประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา คนที่ 25 และได้รับแต่งตั้งเป็นประธานาธิบปีคนที่ 26 ภายหลังการลอบสังหาร
เกือบทั้งหมดมาจากชนชั้นสูงหรือพวกมีอันจะกินทั้งหลายที่ตั้งตนขึ้นมา ประธานาธิบดี วิลเลียม แมกคินลีย์ ในปี ค.ศ. 1901 และได้รับเลือกตั้งอีกหนึ่งสมัย ทีโอดอร์ รูสเวลต์ ลาออกจาก
เป็ น ใหญ่ แ ละมี อํ า นาจมากมาย กลายเป็ น ชนชั้ น ปกครองที่ ส ามารถ พรรครีพับลิกัน และลงสมัครรับเลือกตั้งในนามพรรคก้าวหน้า (Progressive Party) ในปี ค.ศ. 1912 แต่ไม่ได้รับ
ควบคุมคนส่วนใหญ่ได้ และเป็นเช่นนี้มาช้านานทําให้เกิดการแบ่งขั้วของ เลือกตั้ง ผู้ที่ชนะเลือกตั้ง คือ ประธานาธิบดี วูดโรว์ วิลสัน จากพรรคเดโมแครต ทีโอดอร์ รูสเวลต์ เป็นผู้ผลักดันให้
ผลประโยชน์มาทุกยุคทุกสมัย จากผลของการแบ่ งชนชั้นทําให้เกิดทาส โครงการขุดคลองปานามาสําเร็จในปี ค.ศ. 1903 (พ.ศ. 2446)
ขึ้ น ทั่ ว โลก ไม่ ว่ า จะเป็ น ทางอเมริ ก า ยุ โ รป เอเชี ย หรื อ แอฟริ ก า ซึ่ ง - รูสเวลต์เป็นประธานาธิบดีที่มีความสามารถมากคนหนึ่งของอเมริกา มีบทบาทและทรงอิทธิพลคนหนึ่ง ที่สําคัญเขายัง
โดยเฉพาะแอฟริกานั้นได้มีการนําเอาชนเผ่าพื้นเมืองหรือคนผิวดํามาเป็น ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ซึ่งเป็นรางวัลอันทรงเกียรติสูงสุดในปี ค.ศ. 1905 อีกด้วย
ทาสอยู่ทั่วไปตามไร่นาหรือวงการอุตสาหกรรมทั่วทุกแห่ง - เป็นประธานาธิบดีคนที่ 26 ของสหรัฐอเมริกา และเขาได้ดํารงตําแหน่งติดต่อกันถึง 2 สมัย 8 ปี
อย่ า งไรก็ ต ามการกดขี่ ใช้ แ รงงานทาสอย่ า งไม่ เ ป็ น ธรรม โดยไม่ ไ ด้ - รูสเวลท์ เป็นหนึ่งในประธานาธิบดีอเมริกาผู้มีชื่อเสียงเและสําคัญมากที่สุดผู้หนึ่ง รูสเวลท์เป็นนักชาตินยิ มหัวรุนแรง
คํานึงถึงสิทธิความเท่าเทียมกันของมนุษย์ทําให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบ และเป็นผู้นําที่กระฉับกระเฉง การจัดการสําคัญของการบริหารของรูสเวลท์ก็เพื่อจะสร้างความเสมอภาคในเรื่อง
ทําลายจิตใจชนชั้นล่างที่ไม่สามารถต่อสู้หรือเรียกร้องสิ่งใดๆ จนยากที่ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เขาเชือ่ ว่าเขาควรเป็นตัวแทนประชาชนทุกคน ไม่ว่าจะเป็น ชาวนา ผู้ใช้แรงงาน และ
คนในยุคปัจจุบันจะสามารถจินตนาการถึงความรุนแรงได้ และเมื่อกว่า คนงานคอขาว หรือนักธุรกิจ รูสเวลท์เรียกชื่อโปรแกรมนี้ว่าการจัดการที่เสมอภาค ปีค.ศ. 1902 เขาชักชวนประเทศ
150 ปี ที่ ผ่ า นมานี้ เ องที่ผู้ นํ า ของสหรั ฐ อเมริ ก าได้ป ระกาศเลิ ก ทาส เยอรมันให้ตดั สินการโต้แย้งระหว่างอเมริกาและเวเนซูเอลา ในปี 1903 เขาได้คลองปานามา เมื่อเกิดสงครามโลกครั้ง
ท่ า มกลางการสู ญ เสี ย ผลประโยชน์ ข องผู้ มี อํ า นาจและผู้ มี อั น จะกิ น ที่ 1 ในปี 1914 ตอนแรกรูสเวลท์ปฏิเสธที่จะเข้าข้างฝุายใด แต่หลังจากสองสามเดือนผ่านไป เขาก็ตัดสินใจว่า
ทั้งหลายทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา จนเป็นมูลเหตุที่ก่อให้เกิดการ ผลประโยชน์ของอเมริกาและโลกต้องได้รับชัยชนะเหนือเยอรมันเป็นดีที่สุด
ลอบสังหารประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาคนที่ 16 คนนี้ จากผู้ที่มี
ความคิดเป็นพวกหัวรุนแรงและผู้สูญเสียผลประโยชน์ในดินแดนแถบนี้

อับราฮัม ลินคอล์น ถือได้ว่าเป็นต้นแบบของการเลิกทาสของโลกนําไปสู่


การสร้างความเสมอภาคและเท่าเทียมกันในหมู่มวลมนุษยชาติไปทั่วโลก
ในเวลาต่อมา และยังทําให้สิทธิเสรีภาพของคนในยุคปัจจุบันเบ่งบานถึง
ขีดสุด เขากล่าวไว้ว่า “รัฐบาลของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อ
ประชาชน” อันเป็นนิยามของระบอบประชาธิปไตยที่กระชับและให้
ความหมายชัดแจ้งที่สุด
การลอบสังหารจอห์น เอฟ. เคนเนดี
เหตุการณ์การลอบสังหารจอห์น เอฟ. เคนเนดี ประธานาธิบดีลาํ ดับที่ 35 แห่งสหรัฐอเมริกา เกิดขึ้นเมือ่ วันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506
เวลา 12.30 น. ตามเวลา ณ เดลลีย์พลาซา เมืองแดลลัส รัฐเท็กซัส ประธานาธิบดีเคนเนดีถูกยิงถึงแก่ชีวิตระหว่างที่นั่งขบวนรถประธานาธิบดีไป
กับภรรยาของเขา แจ็กเกอลีน เคนเนดี โอนาสซิส การสืบสวนของคณะกรรมการวอร์เรน ซึ่งกินเวลา 10 เดือนระหว่าง พ.ศ. 2506-พ.ศ. 2507 การ
สืบสวนของคณะกรรมการสมาชิกผู้แทนราษฎรสหรัฐว่าด้วยการลอบสังหารประธานาธิบดี (HSCA) ระหว่าง พ.ศ. 2519-พ.ศ. 2522 และการสืบสวน
ของรัฐบาล สรุปว่าประธานาธิบดีถูกลอบสังหารโดยลี ฮาร์วีย์ ออสวอลด์ ซึ่งในเวลาต่อมาออสวอล์ด ถูกฆาตกรรมโดยแจ๊ค รูบี้ ก่อนที่เขาจะต้อง
ขึ้นศาล ในช่วงแรกที่มีการเปิดเผยผลการสืบสวน ข้อสรุปนีไ้ ด้รับการยอมรับจากสาธารณชนอเมริกัน แต่ในภายหลัง ผลสํารวจทีม่ ีการจัดทําขึ้น
ระหว่าง พ.ศ. 2509 ถึง พ.ศ. 2547 เปิดเผยว่าชาวอเมริกันประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์มคี วามเชื่อตรงกันข้ามกับข้อสรุปทีไ่ ด้จากการสืบสวนดังกล่าว
[1][2] การลอบสังหารนี้ยังคงเป็นประเด็นการอภิปรายในวงกว้าง และก่อให้เกิดประเด็นเรื่องทฤษฎีสมคบคิดและการจัดฉากอย่างนับไม่ถ้วน

ใน พ.ศ. 2522 คณะกรรมการสมาชิกผู้แทนราษฎรสหรัฐว่าด้วยการลอบสังหารประธานาธิบดี ค้นพบว่ารายงานการสืบสวนของเอฟบีไอและ


คณะกรรมการวอร์เรนมีข้อบกพร่องอย่างร้ายแรง คณะกรรมการฯ ยังสรุปด้วยว่ามีการยิงปืนใส่ไม่ต่ํากว่า 4 นัด ซึ่งเป็นไปได้สูงว่าอาจมีฆาตกร
สองคน และทฤษฎีสมคบคิดดังกล่าวเกิดขึ้นจริง[3] อย่างไรก็ดี ผลการศึกษาในภายหลัง ซึ่งรวมถึงผลการศึกษาของสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ
สหรัฐอเมริกา[4] ได้ตั้งข้อสงสัยเกีย่ วกับความถูกต้องของหลักฐานที่คณะกรรมการฯ ใช้เพื่อสนับสนุนทฤษฎีกระสุนสี่นัดดังกล่าว

ความพยายามลอบสังหารโรนัลด์ เรแกน
ความพยายามลอบสังหารเรแกน เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2524 เพียง 69 วันหลังโรนัลด์ เรแกนเข้ารับตําแหน่งประธานาธิบดีแห่ง
สหรัฐอเมริกา ขณะเดินทางออกจากการปราศรัยที่โรงแรมวอชิงตันฮิลตันในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประธานาธิบดีเรแกนและคนอื่นอีกสามคนถูกยิง
ได้รับบาดเจ็บโดย จอห์น ฮิงคลีย์ จูเนียร์ (John Hinckley, Jr.) เรแกนปอดทะลุ แต่การรักษาทางการแพทย์ในทันทีทําให้เขาฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว ฮิง
คลีย์ถูกตัดสินว่าไม่มีความผิดด้วยเหตุความวิกลจริต และยังถูกจํากัดอยู่ในสถานจิตเวชแห่งหนึ่ง

เหตุจูงใจเบื้องหลังการก่อเหตุดังกล่าวเกิดจากความหลงใหลของฮิงคลีย์ต่อนักแสดงหญิง โจดี ฟอสเตอร์ เขาเชื่อว่าหากเขากลายเป็นบุคคล


แห่งชาติ เขาจะเท่าเทียมกับฟอสเตอร์ และเริ่มติดตามประธานาธิบดีจิมมี คาร์เตอร์ ก่อนหันความสนใจมายังโรนัลด์ เรแกน

เรแกนเป็นประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนแรกในตําแหน่งที่รอดชีวติ จากการถูกยิงในความพยายามลอบสังหาร
Watergate scandal
คดีวอเตอร์เกต
คือเหตุอื้อฉาวทางการเมืองระหว่างช่วงต้นคริสต์ทศวรรษที่ 1970 ในสหรัฐอเมริกา เหตุอื้อฉาวเริ่มต้นขึ้นด้วยการจับกุมชายห้าคนในคดีลักลอบโจรกรรมข้อมูลในที่
เป็นเหตุการณ์สืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ลักลอบโจรกรรมสํานักงานใหญ่ของพรรคเด ทําการใหญ่พรรคเดโมแครต ณ อาคารวอเตอร์เกตคอมเพลกซ์ เมื่อวันที่ 17
โมแครต ณ อาคารวอเตอร์เกตคอมเพลกซ์ในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เมื่อเดือนมิถุนายน มิถุนายน ค.ศ. 1972 โดยสํานักงานสอบสวนกลางแห่งสหรัฐอเมริกา (เอฟบีไอ)
ค.ศ. 1972 ในขณะที่คณะทํางานของประธานาธิบดีริชาร์ด นิกสัน พยายามปกปิด เชื่อมโยงเส้นทางการเงินของคนร้ายทั้งห้าคนจนสาวไปถึงกองทุนหนึ่ง ซึ่งเป็น
หลักฐานถึงการข้องเกี่ยวในเหตุโจรกรรมดังกล่าว จนในที่สุดเรื่องอื้อฉาวนี้นําไปสู่ กลุ่ มระดมทุน สํ าหรั บการลงชิ งตํา แหน่ งประธานาธิบ ดีส มั ยที่ ส องของนิก สั น
การลาออกของประธานาธิบดีริชาร์ด นิกสัน เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1974 ซึ่งเป็น ขณะที่ ห ลั ก ฐานทั้ งหมดพุ่ งชี้ ไ ปยั งคณะทํ า งานของประธานาธิ บ ดี รวมไปถึ ง
การลาออกครั้ ง แรกและครั้ งเดี ย วของประธานาธิ บ ดี ใ นประวั ติ ศ าสตร์ อ เมริ กั น พนักงานเบิกความฟูองในคณะทํางานสืบสวนคดีวอเตอร์เกตซึ่งตั้งโดยวุฒิสภา
เหตุการณ์นี้ยังนําไปสู่การฟูองร้อง, การไต่สวน, การลงโทษ และการจําคุกบุคคลที่มี ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1973 คณะสอบสวนเปิดเผยว่าภายในห้องทํางานของ
ส่วนเกี่ยวข้องทั้ง 43 คน รวมไปถึงคณะทํางานระดับสูงของรัฐบาลนิกสันอีกหลาย ประธานาธิ บ ดีนิ ก สัน มี ระบบบั น ทึก เสี ยงอยู่ และได้บั น ทึก การสนทนาต่ า งๆ
สิบคน เอาไว้มากมายใจความจากเทปบันทึกเสียงเหล่านั้นชี้ให้เห็นว่ าประธานาธิบดีนิก
สันเคยพยายามที่จะปกปิดถึงการมีส่วนรู้เห็นในการโจรกรรมข้อมูล ณ ที่ทําการ
พรรคเดโมแครตหลังจากมีการต่อสู้ฟูองร้องคดีความจํานวนมากมายหลายรอบ
ในชั้นศาล ศาลฎีกาสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกามีคําตัดสินให้ประธานาธิบดีต้องส่ง
มอบเทปบันทึกเสียงทั้งหมดแก่พนักงานสื บสวนของรัฐ นิกสันจึงต้องจํายอมส่ง
มอบเทปตามคําตัดสิน

หลังจากเผชิญแรงกดดันจากสังคม, การฟูองร้องในสภาผู้แทนราษฎร และมี


ความเป็นไปได้สูงว่าวุฒิสภาจะมีมติลงโทษประธานาธิบดี นิกสันจึงลาออกจาก
การเป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา ณ วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1974ซึ่ง
ประธานาธิบดีคนต่อมา เจอรัลด์ ฟอร์ด ได้ทําการนิรโทษกรรมให้แก่นิกสัน

คดีดังกล่าวนี้ถูกสอบสวนโดยผลมาจากการที่ เดอะวอชิงตันโพสต์ หนังสือพิมพ์


ชื่อดังของอเมริกา คอยผลักดันและติดตามข่าวสารโดยตลอด ทําให้สํานักงาน
สืบสวนสอบสวนกลางหรือเอฟบีไอ จําเป็นต้องทําการสืบสวนและผลักดันตนเอง
ให้พ้นจากอํานาจของนิกสัน

You might also like